ใบความรู้ที่ ๒๕ ๔๕
พจนานุกรม
พจนานุกรม คอื หนงั สอื ทรี่ วบรวมค�ำ ศพั ท์โดยเรยี งล�ำ ดับค�ำ ตาม
ตัวอักษรก�ำ หนด เสยี งอ่าน ความหมาย ไวยากรณ์
ตัวอย่างประโยค และท่มี าของคำ�เพื่อใช้เป็นที่
คน้ คว้าหาความหมายของคำ�
หลกั ในการคน้ หาคำ�
๑) เรยี งตามลำ�ดบั ตัวพยัญชนะ ก – ฮ
ตัว ฤ ฤา จะอยูห่ ลังตวั ร ตัว ฦ ฦา จะอยู่หลังตัว ล
เช่น กนิ
ขนื
ครู
๒) ค�ำ ทใ่ี ช้พยญั ชนะตน้ เดียวกันจะเรยี งค�ำ พยัญชนะ
๓) ถา้ เปน็ อกั ษรน�ำ หรอื อกั ษรตาม ซงึ่ ตัวหนา้ เป็นตัวเดยี วกัน ให้
ดตู วั ที่ ๒ เช่น องุ่น
อยา่ ง
อรอ่ ย
๔๖
หลกั ในการคน้ หาคำ�
๔) ถา้ เป็นค�ำ ท่มี ีตัวสะกดใหด้ วู ่าตัวสะกดตวั ใดมากอ่ น
เช่น ขน
ขม
๕) คำ�ทขี่ ้ึนตน้ พยญั ชนะตามดว้ ยพยญั ชนะ จะมากอ่ นค�ำ ที่
ขึน้ ต้นดว้ ยพยัญชนะและตามดว้ ยสระ
พยัญชนะตามดว้ ยพยัญชนะ เช่น กรง
พยัญชนะตามด้วยสระ เช่น กะทิ
๖) คำ�ทีม่ ี –็ (ไมไ้ ตค่ ู)่ จะมาก่อนค�ำ ทีม่ รี ปู วรรณยกุ ต์
เช่น แข็ง แข่ง แข้ง
ประโยชน์ของพจนานุกรม
๑. ใชต้ รวจสอบการอา่ นและการเขยี นให้ถกู ต้อง
๒. ใชใ้ นการค้นหาความหมายของคำ�ศพั ท์
๓. ค้นหาหนา้ ทข่ี องคำ�ตามหลกั ไวยากรณ์
๔๗
ใบงานท่ี ๒๔.๑
๑) โยงเสน้ เครอื่ งหมายวรรคตอนกับช่ือเครื่องหมายวรรคตอน
. นขลิขติ
! ปรศั นี
? ทวภิ าค
() มหัพภาค
ฯลฯ ไปยาลใหญ่
: อัศเจรีย์
“” ไม้ยมก
/ อัญประกาศ
จลุ ภาพ
ๆ ทบั
,
๔๘
ใบงานท่ี ๒๔.๒
๑) ทำ�เครื่องหมาย / หน้าข้อท่ถี กู x หน้าข้อทีผ่ ิด
๑. บา้ นเลขท่ี ๑๕,๒๐
๒. พอ่ มเี งนิ ๒,๐๐๐ บาท
๓. ใสน่ า้ํ ในอตั ราสว่ น ๑:๓
๔. โอย้ ! เจบ็
๕. กรงุ เทพ:
๖. ค.ร.ม. ยอ่ มาจาก คณะรฐั มนตรี
๗. “พอ่ ซอ้ื รถใหมแ่ ลว้ ๆ”
๘. วนั จนั ทร.์ วนั องั คาร.วนั พธุ .
๙. ฉนั พดู วา่ “สวสั ดคี ะ่ ”
๑๐. ปลามหี ลายพนั ธ์ุ เชน่ ปลาดกุ ปลากะพง
ปลานลิ ฯลฯ
๔๙
ใบงานท่ี ๒๔.๓
๑) เขยี นคำ�เตม็ จากอักษรย่อที่กำ�หนดให้
อักษรยอ่ ค�ำ เต็ม
ชม.
รร.
น.ส.พ.
กทม.
เม.ย.
อ.
น.ส.
ครม.
พ.ศ.
๕๐
ใบงานที่ ๒๕.๑
๑) เรียงค�ำ ที่กำ�หนดตามพจนานกุ รม
ลงิ มะพร้าว ดอกไม้ เสยี ง ประตู กวาง ทหาร
เรือใบ หมอน ไอน้าํ ใจ ชาม คิ้ว นก
สแี ดง ต้นไม้ ฉลาด งาม เตียง ขาว
๑ _____________ ๑๑ _____________
๒ _____________ ๑๒ _____________
๓ _____________ ๑๓ _____________
๔ _____________ ๑๔ _____________
๕ _____________ ๑๕ _____________
๖ _____________ ๑๖ _____________
๗ _____________ ๑๗ _____________
๘ _____________ ๑๘ _____________
๙ _____________ ๑๙ _____________
๑๐ _____________ ๒๐ _____________
ใบงานที่ ๒๕.๒ ๕๑
๑) เรียงค�ำ ทกี่ ำ�หนดให้ถกู ตอ้ งตามลำ�ดบั พจนานกุ รม
๑ กระเปา๋ กลม ก้งุ
๒ เงิน ง่าย งาม
๓ แมว เมฆ แมลงวัน
๔ แม่เลี้ยง แมช่ ี แมม่ ด
๕ วทิ ยา วชิ า วินาที
๖ สุนขั สิงโต สำ�ลี
๗ หนอน หนาม หนกั
๘ ใบไม้ บันได บุคลกิ
๙ ข้าวต้ม ขอทาน ขยัน
๑๐ คา้ งคาว ครอบครัว คล่ืนไส้
๕๒ แบบทดสอบบทที่ ๑๐
เรอ่ื ง เครอื่ งหมายวรรคตอน และพจนานกุ รม
ค�ำ ช้แี จง : ให้นักเรียนทำ�เคร่ืองหมาย X ทบั ข้อทม่ี ีค�ำ ตอบท่ถี ูกต้อง
๑. จากภาพข้อใดเปน็ ชือ่ ของ
๔. “ ” มชี อื่ วา่
เคร่อื งหมาย !
ก. อศั เจรยี ์ ก. จลุ ภาค
ข. ปรัศนี ข. มหัพภาค
ค. นขลิขติ ค. ปรศั นี
ง. จลุ ภาค ง. อญั ประกาศ
๒. จากภาพขอ้ ใดเปน็ ช่ือของ ๕. ปรศั นีมีชอื่ อีกอยา่ งหนึ่งว่า
เครอื่ งหมาย ( ) ก. เคร่ืองหมายตกใจ
ข. เครือ่ งหมายคำ�ถาม
ก. บพุ สญั ญา ค. เครอ่ื งหมายวงเล็บ
ข. จลุ ภาค ง. เครอ่ื งหมายจุดลกู นา้ํ
ค. นขลขิ ติ
ง. อศั เจรยี ์ ๖. จุด มหี ลกั การใชอ้ ยา่ งไร
๓. , มีชือ่ วา่ ก. ใชเ้ ขยี นไวห้ ลงั ตวั อักษรยอ่
ข. ใชเ้ ขยี นหลังตวั เลขเพือ่ บอก
ก. นขลขิ ติ
ข.จลุ ภาค ลำ�ดบั ข้อ
ค. มหพั ภาพ ค. ใช้เขียนค่นั ชั่วโมงกบั นาที
ง. อญั ประกาศ ง. ถกู ทุกข้อ
๗. ( ) วงเล็บ ขอ้ ใดเป็นหลกั ๑๐. ข้อใดใช้เครอ่ื งหมายผดิ ๕๓
การใช้ ก. โอย้ ! เจ็บจงั
ก. ใช้คน่ั ค�ำ หรอื กล่มุ ค�ำ ข. (เธอช่ืออะไร)
ข. ใชเ้ พ่ือต้องการเน้นค�ำ หรือ ค. ฉันชอบละครเรือ่ ง
ขอ้ ความ “บุพเพสนั นิวาส”
ค. ใชเ้ พื่อก�ำ กับข้อความเพ่ืออธิบาย ง. เขาชอบไปเท่ยี วทะเล , ภเู ขา
ให้ชดั เจน และ นาํ้ ตก
ง. ใช้เขยี นหลงั ข้อความท่ีจะมี
ตัวอยา่ งหรอื ข้อชี้แจง ๑๑. ขอ้ ใดใชเ้ ครอ่ื งหมายถกู ตอ้ ง
๘. ข้อใดใช้ ไม้ยมก ( ๆ) ถูกต้อง ก. พศ = พทุ ธศักราช
ข. ขันติ ฯ ความอดกล้ัน
ก. เดก็ ๆตอ้ งไปโรงเรยี น ค. บ้านเลขที่ 16/30
ข. พต่ี น่ื ๆตอนเชา้ ทกุ วนั ง. พอ่ มเี งิน ๑๐๐:๐๐๐
ค. ทห่ี า้ งสรรพสนิ คา้ มขี องนาๆ
ประการ ๑๒. คำ�ใด ยอ่ คำ�หนา้ และคำ�หลัง
ง. แมไ่ กอ่ ยใู่ นตะกรา้ ไข่ ๆ มา ไม่ถูกตอ้ ง
สห่ี า้ ใบ ก. ม.ค. มีนาคม
ข. มิ.ย. มถิ ุนายน
๙. เตมิ เคร่ืองหมายหลงั ขอ้ ความ ค. เม.ย เมษายน
“เครอ่ื งครัวมหี ลายชนิด เชน่ เตา ง. ก.พ. กมุ ภาพนั ธ์
หมอ้ ชาม ช้อน ______”
ก. ? ๑๓. ค�ำ ยอ่ ขอ้ ใดถูกต้อง
ข. ฯลฯ
ค. ( ) ก. ช.ม. ช่วั โมง
ง. / ข. รร. โรงแรม
ค. อจ. อาจารย์
ง. ก.ท.ม. กรงุ เทพมหานคร
๕๔
๑๔. ขอ้ ใดกลา่ วถึงพจนานุกรม ๑๗. ข้อใดเรยี งล�ำ ดบั ตามพจนานกุ รม
ก. หนงั สือท่รี วบรวมค�ำ ตา่ งๆใน
ไดถ้ ูกต้อง
ภาษาใดภาษาหนึง่ ก. ขวาน มะพร้าว บ้าน
ข. พจนานุกรมจะมีข้อมูลของคำ� ข. ดอกไม้ สรอ้ ย ลำ�ไย
และชนดิ ของคำ� ค. กระโปรง ฆอ้ ง ชาม
ค. พจนานกุ รมจะเรยี งลำ�ดบั ของ ง. กล้วย ครัว นํา้
ตวั อักษรและสระ
ง. ถกู ทุกขอ้ ๑๘. ขอ้ ใดเรียงล�ำ ดับพจนานกุ รม
๑๕. พจนานกุ รมจะเรยี งล�ำ ดบั เร่ือง เปน็ ล�ำ ดบั แรก
ก. หวี
ใดกอ่ น ข. หรู
ก. สระ ค. หวาน
ข. พยญั ชนะ ง. หนาว
ค. วรรณยกุ ต์
ง. ตวั สะกด ๑๙. ข้อใดเรียงล�ำ ดบั ตามพจนานกุ รม
๑๖. ตวั ฤ ฤา จะเรียกอย่างไร ได้ถกู ตอ้ ง
ก. ก้าง กะทิ กม้ หนา้
ข. กงสลุ กรง กระจก
ก. จะอยหู่ นา้ ร ค. กระปิ กรน กระบอก
ข. จะอยหู่ ลงั ร ง. กวาง กลิน่ กรณุ า
ค. จะอยหู่ นา้ ล
ง. จะอยหู่ ลงั ล ๒๐. ตวั ยอ่ ในพจนานกุ รมขอ้ ใดผิด
ก. น. ค�ำ นาม
ข. ก. ค�ำ กริยา
ค. ว. ค�ำ วเิ ศษณ์
ง. อ. สรรพนาม
๕๕
๕๖
๑๑บทที่
บทกลอน วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
ครดู ารานำ�แผ่นบทดอกสรอ้ ยสภุ าษิต มาตดิ บนกระดานใหน้ กั เรยี นอา่ น
แมวเหมียว
แมวเอ๋ยแมวเหมียว
รูปร่างประเปรียวเป็นหนักหนา
ร้องเรียก เหมียว เหมียว เดี๋ยวก็มา
เคล้าแข้งเคล้าขาน่าเอ็นดู
รู้จักเอารักเข้าต่อตั้ง
คํ่า คํ่า ซํ้านั่งระวังหนู
นับว่ามันกตัญญู
คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย
ครดู ารา : นี่เปน็ บทรอ้ ยกรอง เป็นลกั ษณะของค�ำ ประพันธ์ที่มีคำ�
สัมผัสคล้องจองกัน เชน่
ตา หา
แดง แสง
รำ� จ�ำ
รูป จูบ
มาก ยาก
๕๗
ให้นกั เรยี นยกตวั อยา่ งคำ�คลอ้ งจองโดยครูจะบอกค�ำ ให้
ครูดารา : ทอง
นักเรยี น : จอง , มอง , ของ , ลอง , สอง …
ครูดารา : สี่
นกั เรยี น : ดี , ตี่ , มี , ป่ี , มี
ครดู ารา : วนั นนี้ ักเรยี นจะไดเ้ รยี นเรื่อง ค�ำ คลอ้ งจอง คำ�สมั ผัส
ไดเ้ รยี นเก่ยี วกับคำ�กลอน และโคลง ทส่ี ำ�คัญนักเรยี น
จะไดแ้ ต่งกลอนครจู ะให้นกั เรยี นดบู ทกลอน
ดวงดาวพราวฟา้ เดือนจา้ สกุ ใส
ส่องสว่างกลางไพร พาใจเบกิ บาน
กลอนเรยี กวา่ กลอน ๔ บท หนึง่ บทมี ๔ วรรค
วรรคหนึ่งมี ๔ ค�ำ มีค�ำ ท่สี ัมผัสกนั คือคำ�วา่
ฟา้ จ้า , ไพร ใจ และใส ไพร
ทคร่๒ี ูด๖า.ร๑าใ–ห๒้น๖กั เ.๒รียนศกึ ษาใบความรูท้ ่ี ๒๖ และท�ำ ใบงาน
๕๘
ครูดารา : นกั เรียนเคยไดย้ ินวรรณคดไี ทยเรื่อง ขุนช้างขนุ แผน
เเละเรอ่ื งพระอภัยมณไี หม
นักเรียน : เคยเรยี นแตจ่ ำ�เรอ่ื งไม่ได้ เพราะครเู คยเล่าเร่อื งให้
ฟังยอ่ ๆ
ครดู ารา : ครจู ะเลา่ เรือ่ งขนุ ช้างขุนแผน และพระอภยั มณีให้
นักเรียนฟัง (ครูดาราเล่าเรอ่ื งขุนช้างขุนแผน และพระ
อภัยมณี) เร่ืองขุนชา้ งขนุ แผน และเร่อื งพระอภัยมณีมี
บทกลอนท ่ี ไพเราะมาก
ครูดารา : ครูยังมเี ร่อื งวรรณคดี ท่อี ยากแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี นไปหา
อ่านอกี เช่น เรื่อง
- เงาะป่า
- นิทานทองอิน
- รามเกียรติ์
- ราชาธิราช
- ไชยเชษฐ์
ค๒ร๗ูด.๑าร–าใ๒ห๗น้ .ัก๒เรแียลนะศนกึ กั ษเรายีใบนคทว�ำ าแมบรบูท้ ท่ี ๒ดส๗อบแทลา้ว้ ยทบำ�ทใบงานท่ี
๕๙
ใบความรทู้ ่ี ๒๖
คำ�คล้องจอง
คำ�คลอ้ งจอง คอื คำ�ทม่ี เี สียงสมั ผัสกัน มีเสียงสระเดียวกัน ถา้ มี
ตวั สะกดต้องเป็นตัวสะกดในมาตราเดยี วกัน
เช่น
คำ�คลอ้ งจองไม่มีตัวสะกด
มา ตา น้า ปา่ ม้า ผ้า ฯลฯ
ค�ำ คลอ้ งจองท่มี ีตัวสะกด วง จง ลิง ยงิ
มาตราแม่ กง ชน บน เรียน เขยี น
มาตราแม่ กน
๖๐
การแบง่ ค�ำ คล้องจอง
๑. คำ�คลอ้ งจอง ๑ พยางค์ ดี ปี หวี หน่ี
คำ�คลอ้ งจองท่ไี มม่ ีตวั สะกด กาง วาง ร้อง ฟัง
คำ�คล้องจองทม่ี ีตวั สะกด
แสงเทยี น เวียนวน ๒. คำ�คลอ้ งจอง ๒ พยางค์
สายนํา้ ฉํ่าชน่ื
ดอกไม้ ในสวน
ทอ้ งทุ่ง รุ่งเช้า
๓. ค�ำ คลอ้ งจอง ๓ พยางค์
สายลมโบก โยกพล้วิ ไหว เจอคนดี มีความสขุ
พส่ี อนน้อง ลองฝกึ หดั เปน็ นกั เรยี น ตอ้ งเขยี นอา่ น
๔. คำ�คล้องจอง ๔ พยางค์
รกั ววั ใหผ้ ูก รักลูกใหต้ ี
ฉันรักพอ่ แม่ ดแู ลไมห่ า่ ง
๖๑
คำ�สัมผสั
ค�ำ สัมผัส คอื คำ�ทีม่ ีเสยี งคลอ้ งจองกัน
ค�ำ สมั ผสั แบ่งได้ ๒ ประเภท
๑. สัมผัสนอก คือ ค�ำ คล้องจองทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งวรรค
เปน็ ค�ำ สมั ผสั สระ เปน็ สมั ผัสบังคบั ขาดไม่ได้
เด็กเอ๋ยเด็กน้อย ความรู้เรายงั ด้อยเรง่ ศกึ ษา
เม่อื เติบใหญเ่ ราจะไดม้ วี ชิ า เป็นเคร่ืองหาเลี้ยงชพี สำ�หรบั ตน
๒. สมั ผสั ใน คอื คำ�คล้องจองท่ีอยใู่ นสระเดยี วกัน จะทำ�ให้
บทกลอนไพเราะขนึ้ จะมหี รอื ไมก่ ไ็ ด้ไม่บังคับ
กอ้ ยกุ้งปรุงประทิ่น วางถึงลนิ้ ด้นิ แดโดย
รสทิพยห์ ยิบมาโรย ฤาจะเปรยี บเทียบทนั ขวัญ
๖๒ กลอน
กลอน คือ ลกั ษณะของคำ�ประพันธท์ ี่เรียบเรยี งใหค้ �ำ สมั ผสั กนั
ตามลักษณะของบทกลอนแต่ละประเภท และ
ลกั ษณะการแต่ง
กลอน ๔ สภุ าพ
บทหน่ึงมี ๔ วรรค วรรคหนงึ่ มี ๔ ค�ำ คำ�สุดทา้ ยของวรรค
หน้าทุกวรรค ตอ้ งสมั ผสั กบั ค�ำ ที่ ๒ ของวรรคหลงั คำ�สุดทา้ ย
ของวรรคทสี่ องต้องสัมผสั กบั คำ�สดุ ท้ายของวรรคท่สี าม
ดวงจนั ทรว์ ันเพ็ญ ลอยเดน่ บนฟ้า
แสงนวลเยน็ ตา พาใจหฤหรรษ์
ชักชวนเพ่ือนยา มาเลน่ รว่ มกนั
เดก็ นอ้ ยสุขสนั ต์ บันเทิงเริงใจ
กลอน ๘ ๖๓
บทหนึง่ มี ๔ วรรค วรรคละ ๘ คำ� ค�ำ สดุ ทา้ ยของวรรค
หนา้ ทุกวรรค จะสัมผสั กบั ค�ำ ท่ี ๓ หรือ ๕ ของวรรคหลัง ค�ำ
สดุ ท้ายในวรรคที่ ๒ จะสัมผัสกบั คำ�สดุ ท้ายในวรรคท่ี ๓
มุง่ เข้มแข็งแขง่ ได้ ใหย้ ่ังยนื มงุ่ พลิกฟื้นคนื สุขทกุ แห่งหน
มุ่งถาวรสอนงานการพงึ่ ตน มุ่งปวงชนพ้นทกุ ข์สุขหัวใจ
๖๔
กลอนสักวา
บทหนึง่ มี ๔ คำ�กลอน หรอื ๘ วรรค ต้องขึน้ ตน้ ดว้ ยค�ำ
วา่ สกั วา และลงทา้ ยดว้ ยเอย
สักวา
เอย
สกั วาหวานอ่ืนมีหม่นื แสน ไม่เหมือนแม้นพจมานทีห่ วานหอม
กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะนอ้ มจติ โนม้ ด้วยโลมลม
แมน้ ล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม ดงั ดูดดื่มบอระเพด็ ต้องเข็ดขม
ผู้ดีไพรไ่ ม่ประกอบชอบอารมณ์ ใครฟังลมเมนิ หน้าระอาเอย
๖๕
กลอนดอกสรอ้ ย
บทหนง่ึ ใช้ ๔ คำ�กลอน หรอื ๘ วรรค ขึ้นตน้ ดว้ ยคำ� ๔ คำ�
เอาคำ� ๒ ค�ำ เป็นตัวต้งั แลว้ เขยี นค�ำ หน้าซ้าํ กนั ๒ ครง้ั โดยเอาค�ำ
ว่า “เอย๋ ” มาแทรก เชน่ เเมวเอ๋ยแมวเหมยี ว และลงทา้ ยดว้ ยค�ำ
ว่า เอย
เอย๋
ความเอ๋ยความดี อยู่คงทีค่ ู่โลกเปน็ แกน่ สาร
ประทบั จติ มวลมนุษย์ตลอดกาล ชนกลา่ วขานเชิดชพู ร้อมบูชา
ทำ�ความดถี ึงแสนยากล�ำ บากเหลอื ทั้งนา่ เบือ่ เข็นครกขนึ้ ภูผา
ผลความดีประดบั ไว้ในโลกา ยง่ิ สูงคา่ นำ�ทางสร้างความดีเอย
๖๖
กลอนบทละคร
กลอนบทละคร วรรคหน่งึ มี ๖ ตวั ๘ ค�ำ วรรคแรกของ
กลอนโดยมีค�ำ หนา้ เช่น เมอ่ื น้นั ( ใชก้ บั ตวั เอก เชน่ พระเอก
นางเอกพระเจา้ แผน่ ดิน ) บัดนัน้ ( ใชก้ บั ตวั ละครทไี่ มส่ ำ�คญั
เช่น ทหารคนใช้ )
เมือ่ นัน้ พระบตุ รมี ีศกั ด์เิ ฉิดฉัน
ได้ฟังถอ้ ยคำ�ที่ร�ำ พนั เห็นเขารเู้ ทา่ ทนั ก็อายใจ
ครั้นจะเลา่ บอกออกให้รู้ กอ็ ดสูหนักหนาไมว่ า่ ได้
แต่ความรกั เหลือรักต้องหกั ใจ อรทัยจึงกลา่ ววาที ฯ
๖๗
ค�ำ ประพันธ์
คำ�ประพนั ธ์ คอื ถอ้ ยคำ�ทีแ่ ต่งข้ึนโดยเรยี บเรยี งตามข้อ
บังคับ มกี ารจำ�กัดคำ� และวรรค ใหเ้ ปน็ บท
รอ้ ยกรอง ได้แก่ กลอน โคลง กาพย์ ฉันท์
ร่าย
หลกั ในการแต่งค�ำ ประพันธ์
๑ วางแผนวา่ จะแตง่ ค�ำ ประพันธเ์ กี่ยวกับอะไรและจะใช้
ค�ำ ประพนั ธ์ประเภทไหน
๒ เขยี นโครงเรือ่ งเป็นรอ้ ยแกว้
๓ แต่งคำ�ประพนั ธ์ตามเร่อื งท่ีเรยี บเรยี งไว้
๔ ตรวจทานแก้ไขคำ�คลอ้ งจอง สำ�นวนภาษา และปรบั ปรุง
ใหด้ ขี ้นึ
๖๘ ใบความรู้ที่ ๒๗
วรรณคดี วรรณกรรมไทย
วรรณคดี หมายถึง หนังสอื ที่ไดร้ ับการยกย่องว่าแต่งดี อาจ
เป็นบทรอ้ ยแก้ว หรอื ร้อยกรองมกี ารใช้
ภาษาและค�ำ ที่ดี เน้ือหาดี ท�ำ ให้ผอู้ ่าน
อ่านแลว้ มีความเพลดิ เพลิน
วรรณกรรม หมายถึง งานหนังสือ งานประพันธ์ ทกุ ชนิด ทั้งที่
เป็นบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง
วรรณกรรมพ้ืนบ้าน หมายถงึ ผลงานทีเ่ กิดข้ึนจากการใช้ภาษาโดยการพดู
และการเขยี นของ กลมุ่ ชนในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ แบ่งเปน็ ๗ ประเภท คอื
๑. นิทานพื้นบ้าน เปน็ เร่ืองเล่าทสี่ บื ทอดตา่ งๆกันมาเปน็ นิทานจกั รวงษ์ ๆ
๒. ต�ำ นานพน้ื บา้ น เร่อื งเลา่ เก่ยี วกับประวัติความเป็นมาของสถานที่
ตา่ ง ๆ บคุ คลเปน็ ความเช่อื
๓. บทสวดหรือบทกลอนในพิธกี รรม เป็นค�ำ สวดทีใ่ ชป้ ระกอบพธิ ีกรรม
๔. บทรอ้ งพื้นบ้าน ค�ำ ร้องทถี่ ่ายทอดกันมาในโอกาสตา่ ง ๆ เชน่ บทกลอ่ ม
เด็กบทรอ้ งเลน่
๕. ส�ำ นวนสภุ าษิต คำ�พดู ทส่ี บื ทอดกันมา มกั มีตัวคล้องจอง
๖. ปรศิ นาค�ำ ทาย เป็นคำ�หรือข้อความทีต่ อ้ งเปน็ ค�ำ ถาม
๗. ตำ�รา องค์ความรู้มกี ารเขียนเปน็ บนั ทึกในเอกสารโบราณ เช่น ต�ำ รา
โหราศาสตร์
๖๙
วรรณคดีและวรรณกรรม ทถ่ี กู กำ�หนดใหน้ กั เรียนในระดบั ประถมศึกษา
ได้เรยี น เชน่
ดอกสร้อยสุภาษิต เดก็ น้อย
เพลงกล่อมเด็ก นกเอ้ยี งเลย้ี งความเฒา่
บทร้องเล่นของเดก็ มดแดง
นิทานอีสป สภุ าษติ สอนหญงิ
บทละครนอก เป็นต้น
บทละครเรอ่ื ง เจา้ ทองดี
บทละครเรอ่ื ง เจ้าเน้ือเย็น
บทละครเรอื่ ง นกกาเหว่า
นทิ านทองอิน เปน็ ตน้
ราชาธิราช กุ๊กก๊กุ ไก่
นทิ านคำ�กลอนเรอื่ ง งกู ินหาง
รรี ขี ้าวสาร
เปน็ ตน้
กระตา่ ยกับเตา่
ราชสหี ก์ ับหนู
หมาปา่ กบั ลกู แกะ
อึง่ ตา่ งกับววั
เป็นตน้
เร่ืองไชยเชษฐ์ รชั กาลท่ี ๒
เงาะปา่ รัชกาลที่ ๕
สังขท์ อง รชั กาลที่ ๒
รามเกยี รต์ิ รชั กาลที่ ๑
รชั กาลท่ี ๖
เจ้าพระยาพระคลงั (หน)
พระอภัยมณี สุนทรภู่
๗๐ บทร้อยกรอง วรรณคดรี อ้ ยแก้ว
ดอกสรอ้ ยสุภาษติ
นกเอย้ี งเลย้ี งเฒา่ มดแดง
นกเอย๋ นกเอย้ี ง มดเอย๋ มดแดง
คนเขา้ ใจวา่ เจา้ เลย้ี งซง่ึ ควายเฒา่ เลก็ เลก็ เรย่ี วแรง แขง็ ขยนั
แตน่ กเอย้ี งนน้ั เลย่ี งท�ำ งานเบา ใครกลา้ํ กลาย มาท�ำ รา้ ย ถงึ รงั มนั
แมอ้ าหารกไ็ ปเอาบนหลงั ควาย กว็ ง่ิ พรกู รกู นั มาทนั ที
เปรยี บเหมอื นคนท�ำ ตนเปน็ กาฝาก
รมู้ ากเอาเปรยี บคนทง้ั หลาย สไู้ ดห้ รอื มไิ ดใ้ จสาหสั
หนง่ึ งานหนกั คอยสมคั รงานสบาย ปากกดั กน้ ตอ่ ยไมถ่ อยหนี
จงึ นา่ อายเพราะเอาเยย่ี งนกเอย้ี งเอยฯ ถา้ รงั เราใครกลา้ มาราวี
หลวงวจิ ติ รวาทการ ตอ้ งตอ่ ตที รหดเหมอื นมดเอย ฯ
นายทดั เปรยี บ
๗๑
เพลงกล่อมเดก็
นกกาเหวา่
กาเหวา่ เอย ไขใ่ หแ้ มก่ าฟกั
แมก่ ากห็ ลงรกั คดิ วา่ ลกู ในอทุ ร
คาบเอาขา้ วมาเผอ่ื คาบเอาเหยอ่ื มาปอ้ น
ถนอมไวใ้ นรงั นอน ซอ่ นเหยอื มาใหก้ นิ
ปกี เจา้ ยงั ออ่ นคลอแคล ทอ้ แทจ้ ะสอนบนิ
แมพ่ าไปกนิ ทป่ี ากนา้ํ พระคงคา
กนิ กงุ้ แลกนิ กง้ั กนิ หอ้ ยกระพงั แมงดา
กนิ แลว้ กโ็ ผมา จบั ทต่ี น้ หวา้ โพทอง
ยงั มนี ายพราน เทย่ี วเยย่ี มเยย่ี มมองมอง
ยกเอาปนื ขน้ึ สอ่ ง จอ้ งเอาแมก่ าด�ำ
ตวั หนง่ึ วา่ จะตม้ อกี ตวั หนง่ึ นน้ั วา่ จะย�ำ
กนิ นางแมก่ าด�ำ คา่ํ วนั นอ้ี แุ มน่ า
เจา้ เนอ้ื เยน็
เจา้ เนอ้ื เยน็ เอย
แมม่ ใิ หไ้ ปเลน่ ทห่ี าดทราย
ครน้ั วา่ นา้ํ ขน้ึ มา
มนั จะพาเจา้ ลอยหาย
แสนเสยี ดาย
เจา้ คนเดยี วเอย
๗๒ บทเพลงเลน่ ของเด็ก
กกุ๊ กกุ๊ ไก่ รรี ขี า้ วสาร
กกุ๊ กกุ๊ ไก่ เลย้ี งลกู มาจนใหญ่ รรี ขี า้ วสาร
สองขนานขา้ วเปลอื ก
ไมม่ นี มใหล้ กู กนิ เลอื กทอ้ งใบลาน
ลกู กร็ อ้ ง เจย๊ี บ เจย๊ี บ เกบ็ เบย้ี ใตถ้ นุ รา้ น
ลกู รอ้ งเจย๊ี บ เจย๊ี บ เจย๊ี บ เจย๊ี บ ทานคนขา้ งหลงั ไว้
แมก่ เ็ รยี กไปคยุ้ ดนิ
ท�ำ มาหากนิ ตามประสาไกเ่ อย
นทิ านอีสป
ราชสหี ก์ บั หนู
ราชสหี เ์ จา้ ปา่ ตวั หนง่ึ ก�ำ ลงั นอนหลบั มหี นตู วั หนง่ึ วง่ิ ไปบนรา่ งของราชสหี ท์ �ำ ใหร้ าชสหี ์
ตกใจตน่ื และโกรธและตะปบจบั หนไู ว้ เจา้ หนรู อ้ งออ้ นวอนขอชวี ติ วา่ “ทา่ นไดโ้ ปรดไวช้ วี ติ
ขา้ ดว้ ยเถดิ แลว้ สกั วนั ขา้ จะกลบั มาชว่ ยเหลอื ทา่ นเปน็ การตอบแทน”
ราชสหี ห์ วั เราะลน่ั “หนตู วั เลก็ นดิ เดยี วจะเชน่ เจา้ จะชว่ ยอะไรเจา้ ปา่ อยา่ งขา้ ได้ แต่
เอาเถอะ เมอ่ื เจา้ ไมไ่ ดต้ ง้ั ใจ ขา้ กจ็ ะปลอ่ ยเจา้ เอาบญุ แลว้ กนั ”
ขณะทร่ี าชสหี อ์ อกลา่ เหยอ่ื บงั เอญิ พลาดทา่ ไปตดิ กบั ดกั ของนายพรานเขา้ ราชสหี ์
พยายามดน้ิ หนเี ทา่ ไรกไ็ มห่ ลดุ จงึ ไดแ้ ตร่ อ้ งค�ำ รามอยา่ งสน้ิ หวงั
เจา้ หนไู ดย้ นิ เสยี งรอ้ งของราชสหี ก์ จ็ �ำ ได้ รบี วง่ิ มาชว่ ยกดั แทะบว่ งทลี ะเสน้ จนขาดออก
ในทส่ี ดุ ราชสหี จ์ งึ รอดชวี ติ มาได้
นทิ านเรอ่ื งนส้ี อนใหร้ วู้ า่ : อยา่ ดถู กู ผทู้ ด่ี อ้ ยกวา่ เรา เพราะเขาอาจจะชว่ ยเหลอื เราได้
บทละครนอก ๗๓
เรอ่ื ง ไชยเชษฐ์
ผแู้ ตง่ : พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั
ไชยเชษฐเ์ ปน็ เรอ่ื งราวของ หญงิ งาม ชอ่ื จ�ำ ปาทอง เปน็ ธดิ าของทา้ วอภยั นรุ าช
เมอื งเวสาลี เวลารอ้ งไหจ้ ะมดี อกจ�ำ ปารว่ งมาแทนหยดนา้ํ ตา นางจ�ำ ปาทองเลย้ี งจระเข้
ไวด้ เู ลน่ จระเขน้ น้ั กอ่ ความเดอื ดรอ้ นแกป่ ระชาชนเปน็ อนั มาก ทา้ วอภยั นรุ าชจงึ ขบั นาง
ออกจากเมอื ง นางจ�ำ ปาทองออกจากเมอื งไปกบั นางแมวชอ่ื วฬิ า ทง้ั สองหลงทางและ
ผจญภัยต่าง ๆ จนไปพบพระโคดมฤาษีและขอความช่วยเหลือ ต่อมาท้าวสิงหล
ทราบขา่ วนางจงึ ไดข้ อมาเลย้ี งเปน็ บตุ รบญุ ธรรม ทา้ วสงิ หลรกั นางจ�ำ ปาทองดงั บตุ รแี ทๆ้
และประทานนามใหใ้ หมว่ า่ สวุ ญิ ชา ฝา่ ยไชยเชษฐเ์ ปน็ โอรสทา้ วธรรมมกึ เจา้ เมอื งเหมนั ต์
พระไชยเชษฐเ์ ปน็ โอรสของทา้ วธรรมนกึ เจา้ เมอื งเหมนั ต์ พระไชยเชษฐม์ สี นมอยู่ ๗ คน
วนั หนง่ึ พระองคไ์ ปเทย่ี วปา่ พระอนิ ทรร์ วู้ า่ พระไชยเชษฐแ์ ละนางสวุ ญิ ชาเปน็ คกู่ นั จงึ ให้
พระมาตลุ แี ปลงเปน็ กวางทองลอ่ พระไชยเชษฐไ์ ปยงั เมอื งสงิ หล เมอ่ื ไชยเชษฐพ์ บนางสุ
วญิ ชาทง้ั สองกร็ กั ใคร่ ดว้ ยความเหน็ ชอบของบดิ าของทง้ั สองฝา่ ย ทง้ั สองจงึ ไดอ้ ภเิ ษก
สมรสและมาอยเู่ มอื งเหมนั ต์
ฝ่ายนางสนมทั้งเจ็ดเกิดความอิจฉาริษยานางสุวิญชา คอยปองร้ายอยู่เสมอ
เม่อื นางสุวญิ ชามีครรภแ์ ก่ จึงสรา้ งข่าวลวงใหพ้ ระไชยเชษฐ์ไปเสาะหาช้างเผอื ก เมือ่
นางสวุ ญิ ชาประสตู พิ ระโอรส นางสนมทง้ั เจด็ จงึ น�ำ พระกมุ ารใสห่ บี ฝงั ไวใ้ นปา่ แลว้ น�ำ
ทอ่ นไมใ้ สพ่ านไว้ จากนน้ั จงึ บอกพระไชยเชษฐว์ า่ นางสวุ ญิ ชาคลอดลกู เปน็ ทอ่ นไม้ เมอ่ื
พระไชยเชษฐ์เห็นเช่นนั้นจึงขับไล่นางไปจากเมือง นางสุวิญชากับนางวิฬาจึงตามหา
พระโอรสแลว้ กลบั เมอื งสงิ หล ทา้ วสงิ หลประทานชอ่ื พระโอรสวา่ นารายณธ์ เิ บศร์
พระไชยเชษฐ์สำ�นึกผิดจึงออกตามหานางสุวิญชาและพระโอรส เมื่อพระไชยเชษฐ์
พบพระนารายณธ์ เิ บศรแ์ ละทราบวา่ เปน็ โอรสของตน จงึ ใหพ้ ระโอรสชว่ ยเหลอื ทา้ ยสดุ
พระไชยเชษฐก์ ไ็ ดค้ นื ดกี บั นางสวุ ญิ ชาและอภเิ ษกกนั อกี ครง้ั
๗๔ บทละคร
เรอ่ื ง สงั ข์ทอง
ตอนกำ�เนิดพระสังข์ ณ เมอื งยศวมิ ล พระนางจันเทวีพระมเหสี ได้ประสตู ิ
โอรสออกมาเป็นหอยสังข์ สรา้ งความอบั อายแก่ทา้ ยศวมิ ลเจา้ เมอื งเป็นอนั มาก
จังขบั แมล่ กู ออกไปอยูใ่ นป่า พระนางจนั ทา มเหสีรองร้วู ่าพระสังข์อย่ใู นหอยจึง
ไดจ้ บั ไปถว่ งนา้ํ แตพ่ ญานาคชว่ ยไวไ้ ด้ และไดส้ ง่ ไปอยทู่ เ่ี มอื งยกั ษก์ บั นางพนั ธรุ ตั พอ
พระสังขร์ ูว้ ่าเป็นยกั ษ์จงึ หนี ทำ�ให้นางพันธุรัตเสียใจจนตรอมใจตาย ก่อนตาย
ไดม้ อบชุดเงาะ เกือกแก้ว และไมเ้ ทา้ วิเศษที่มฤี ทธ์ิ เหาะเหินเดินอากาศได้
พร้อมท้ังมอบมนต์เรยี กเนือ้ เรียกปลาให้
ตอนเลอื กคู่ พระสังขเ์ ดนิ ทางถงึ เมอื งสามล และไดใ้ ส่ชดุ เงาะเข้าพิธเี ลือก
คู่ครองของพระธิดาทง้ั ๗ และรจนาธดิ าองคส์ ดุ ท้องไดเ้ ลือกเจ้าเงาะ ทำ�ให้ท้าว
สามลไมพ่ อใจ ใหแ้ ขง่ หาเน้อื หาปลากับเขยท้งั ๖ พระสังขใ์ ช้มนตว์ เิ ศษหาได้
มากกว่าทุกคน ท้าวสามลยง่ิ ไม่พอใจคดิ ประหารเจ้าเงาะ พระอนิ ทรจ์ งึ ช่วยเหลือ
ดว้ ยการแปลงกายเปน็ เหล่าเทวดาบกุ เมอื งสามล จนกระทง่ั พระสงั ข์ถอดรปู
เงาะมาชว่ ยรบจนชนะ
สดุ ทา้ ย ท้าวยศวมิ ลพระบดิ าของพระสังข์ รู้ความจรงิ จึงออกตามหา
พระนางจันเทวจี นพบ และติดตามหาพระสังข์ จนถึงเมอื งสามล พระนางจันเทวี
จงึ ปลอมเปน็ แม่ครวั สลักฟกั ทองเปน็ เรือ่ งราวทั้งหมด พระสงั ขจ์ ึงได้พบกบั แม่
อกี ครงั้
บทเสภา เร่ือง ขนุ ช้างขนุ แผน ๗๕
ดคู รึ้มครึกพฤกษาปา่ สงดั จังหรดี รอ้ งก้องเสยี งเคยี งเรไร
ดุเหว่ารอ้ งมองเมียงเสยี งว่าแม อยนู่ ่ีแน่แม่จ๋าจงมารบั
ไม่แกวง่ กวดั ก้านกง่ิ ประวงิ ไหว ทงั้ ลองไนเรอ่ื ยแร่แวแววับ
ยืนชะแงแ้ ลดเู งย่ี หตู รับ วิ่งกระสับกระสนวนเวยี นไป
ลกู เห็นแต่แมค่ ุณค่อยอุ่นใจ ชว่ ยสอนใหพ้ ลายงามเรยี นความรู้
อันตำ�รบั ตำ�ราสารพดั ลูกเกบ็ จดั แจงไว้ท่ใี นตู้
ถ้าลืมหลงตรงไหนไขออกดู ทัง้ ของครูของพ่อตอ่ กันมา
แล้วลูบหลงั สั่งความพลายงามน้อย เจา้ จงคอ่ ยราํ่ เรยี นเขยี นคาถา
ร้สู ิ่งไรไมส่ ูร้ ู้วชิ า ไปเบอ้ื งหน้าเติบใหญ่จะให้คณุ
ถงึ วนั ดนี ิมนตข์ รัวเกิดเฒ่า อย่วู ดั เขาชนไก่ใกล้กับบ้าน
พอพิณพาทย์คาดตระสะธุการ ทา่ นสมภารพาสงฆส์ ิบองคม์ า
นง่ั สวดมนต์จนจบพอพลบคํา่ ก็ซดั น้าํ มนต์สาดเสียงฉาดฉ่า
๗๖
วรรคทอง ในวรรณคดไี ทย
แลว้ สอนวา่ อยา่ ไว้ใจมนุษย ์ มันยากสดุ ลกึ ลาํ้ เหลอื ก�ำ หนด
ถึงเถาวลั ยพ์ ันเกยี่ วท่เี ลยี้ วลด กไ็ ม่คดเหมอื นหนงึ่ ในนาํ้ ใจคน
มนุษย์นีท้ ่ีรกั อยู่สองสถาน บิดามารดารักมักเปน็ ผล
ที่พ่งึ หนงึ่ พ่งึ ไดแ้ ต่กายตน เกิดเปน็ คนคดิ เห็นจงึ เจรจา
แมน้ ใครรักรกั มง่ั ชงั ชังตอบ ใหร้ อบคอบคิดอา่ นนะหลานหนา
รสู้ ง่ิ ไรไม่สู้ร้วู ิชา รรู้ ักษาตัวรอดเปน็ ยอดดี
สภุ าษิตสอนหญิง: สนุ ทรภู่
ถงึ หนา้ วงั ดงั หนงึ่ ใจจะขาด คดิ ถึงบาทบพติ รอดิศร
โอ้ผ่านเกล้าเจา้ ประคณุ ของสุนทร แตป่ างก่อนเคยเฝ้าทกุ เชา้ เย็น
พระนิพพานปานประหนงึ่ ศรี ษะขาด ดว้ ยทุกข์ยากยากแคน้ ถงึ แสนเข็ญ
ท้ังโรคซ้าํ กรรมซัดวิบตั ิเป็น ไมเ่ ล็งเหน็ ท่ซี ่ึงจะพง่ึ พา
พระอภัยมณี : สุนทรภู่
๗๗
เปน็ มนษุ ย์สดุ นยิ มเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหวิ เพราะชิวหา
แม้นพดู ดีมคี นเขาเมตตา จะพดู จาพเิ คราะห์ใหเ้ หมาะความ
นิราศเจ้าฟ้า: สนุ ทรภู่
มสี ลึงพงึ ประจบใหค้ รบบาท อยา่ ให้ขาดส่ิงของตอ้ งประสงค์
จงมักนอ้ ยกนิ นอ้ ยคอ่ ยบรรจง อยา่ จ่ายลงใหม้ ากจะยากนาน
ไมค่ วรซอื้ กอ็ ย่าไปพิไรซื้อ ให้เปน็ มอื้ เปน็ คราวท้งั คาวหวาน
เม่อื พ่อแมแ่ ก่เฒา่ ชรากาล จงเลี้ยงทา่ นอยา่ ใหอ้ ดระทดใจ
ด้วยชนกชนนีนัน้ มีคุณ ได้การุญเล้ียงรกั ษามาจนใหญ่
อุ้มอทุ รป้อนขา้ วเป็นเทา่ ไร หมายจะไดพ้ ึง่ พาธดิ าดวง
นิราศเมืองแกลง: สนุ ทรภู่
จะพดู จาปราศรัยกบั ใครนน้ั อยา่ ตะคน้ั ตะคอกใหเ้ คืองหู
ไม่ควรพดู อื้ออึงขนึ้ มึงกู คนจะหลลู่ ว่ งลามไม่ขามใจ
ขุนช้างขุนแผน
๗๘
ใบงานท่ี ๒๖.๑
๑) ให้ฝึกอา่ นบทรอ้ ยกรอง
ถึงมว้ ยดินส้นิ ฟ้ามหาสมทุ ร
ไมส่ นิ้ สุดความรักสมคั รสมาน
แม้เกิดในใต้ฟ้าสุธาธาร
ขอพบพานพิศวาสไม่คลาดคลา
แม้เน้ือเยน็ เป็นห้วงมหรรณพ
พขี่ อพบศรสี วสั ดเ์ิ ปน็ มัจฉา
แม้เป็นบัวตวั พเ่ี ป็นภุมรา
เชยผกาโกสุมประทุมทอง
แมเ้ ปน็ ถ้าํ อำ�ไพใคร่เปน็ หงส์
จะร่อนลงสงิ สูเ่ ปน็ คู่สอง
ขอตดิ ตามทรามสงวนนวลละออง
เป็นค่คู รองพิศวาสทุกชาตไิ ป
พระอมัยมณี : สุนทรภู่
๗๙
ใบงานท่ี ๒๖.๒
๑) ใหน้ ักเรยี นเลอื กคำ�ทกี่ ำ�หนดไปเตมิ ในช่องวา่ งให้คลอ้ งจอง
แจม่ ใส ลอยลม เรยี นรู้ ใจดี
ปลิวไสว ฉาํ่ เยน็ ไมตรี เดินทาง
๑ นา้ํ ใจ ___________
๒ ยม้ิ แยม้ ___________
๓ พากเพยี ร ___________
๔ นกนอ้ ย ___________
๕ ลมพลว้ิ ___________
๖ สายนา้ํ ___________
๗ คนไทย ___________
๘ เพลดิ เพลนิ ___________
๘๐
ใบงานที่ ๒๖.๓
๑) ให้นักเรียนฝึกแต่งกลอนสภุ าพมา ๑ บท
๘๑
ใบงานที่ ๒๗.๑
๑) โยงเส้นช่ือเรื่องวรรณคดกี บั ขอ้ ความอธบิ ายเรื่อง
เปน็ วรรคดที ใ่ี ห้อารมณส์ ะท้อนภาพการ สภุ าษติ สอนหญงิ
ด�ำ เนนิ ชีวติ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ
ความเชอื่ ของคนไทยในอดตี
เปน็ เรื่องที่มีเคา้ โครงมาจากอนิ เดยี เน้อื เร่อื ง ราชาธริ าช
เป็นการทำ�สงครามระหวา่ งมนษุ ยก์ บั ยกั ษ์ รามเกยี รต์ิ
แกน่ สำ�คญั ของเรื่อง คือ ธรรมมะยอ่ มชนะ ขุนชา้ งขนุ แผน
อธรรม
เป็นค�ำ สอนใหค้ ติเตือนใจแนวทางปฏบิ ัตทิ ั้ง
กาย วาจา ใจ สอดคล้องกับขนบธรรมเนยี ม
ประเพณไี ทย ใชไ้ ดต้ ลอดกาล
เรื่องมาจากพงศาวดาร มอญ ตวั เอก คือ
มะกะโท เร่อื งน้ีแสดงให้เหน็ ถึงความมานะ
พยายามจนประสบความส�ำ เร็จ
๘๒
ใบงานที่ ๒๗.๒
๑) อา่ นบทร้อยกรอง แล้วเขียนวา่ มาจากวรรณคดเี รอ่ื งใด
แมร่ กั ลูกลกู กร็ ู้อยวู่ ่ารัก คนอ่นื สกั หมื่นแสนไมแ่ ม้นเหมือน
จะกินนอนวอนว่าเมตตาเตือน จะจากเรอื นร้างแมไ่ ปแต่ตัว
แม่วนั ทองของลกู จงกลบั บ้าน เขาจะพาลวา้ วนุ่ แม่ทนู หัว
จะก้มหน้าลาไปมไิ ดก้ ลัว แมอ่ ยา่ มัวหมองนักจงหักใจ
จะพดู จาปราศรัยกับใครน้ัน
อย่าตะคนั้ ตะคอกให้เคอื งหู
ไมค่ วรพูดอื้ออึง้ ขน้ึ มงึ กู
คนจะหลู่ลว่ งลามไม่ขามใจ
แล้วสอนวา่ อยา่ ไว้ใจมนษุ ย์
มนั แสนสุดลกึ ล้าํ เหลอื ก�ำ หนด
ถงึ เถาวลั ยพ์ นั เกย่ี วท่เี ลี้ยวลด
กไ็ มค่ ดเหมือนหนึ่งในนาํ้ ใจคน
๘๓
เร่ือง
ช้าหน่อยแม่นางกอ็ ยเอย อยา่ ท�ำ ใจนอ้ ยหน้าตาบูดบง้ึ
ย้มิ เสียใหแ้ ฉ่งอยา่ แสร้งมึนตึง ช้าหน่อยแม่นางกอ็ ยเอย ฯ
เร่ือง หนมุ านผู้ชาญชยั ศรี
บดั น้นั ขนุ กระบรี่ า่ ยวทิ ยามนต์
ไดฟ้ งั อสรุ าพาที
๘๔ แบบทดสอบบทที่ ๑๑
เร่ือง ค�ำ คลอ้ งจอง และ วรรณกรรมไทย
คำ�ช้แี จง : ให้นกั เรยี นทำ�เครื่องหมาย X ทับขอ้ ทม่ี คี ำ�ตอบท่ีถกู ตอ้ ง
๑. ข้อใดเปน็ ลกั ษณะของค�ำ ๔. ข้อใดเปน็ คำ�คล้องจอง
คลอ้ งจอง ก. ดินสอสี ปากกาแดง
ก. คำ�ที่มีสมั ผสั ข. ดอกบานช่ืน สวยในสวน
ข. ค�ำ ทป่ี ระสมดว้ ยสระเดยี วกนั ค. นกบนิ วอ่ น ตอนร่งุ เช้า
ค. คำ�ท่ีมตี วั สะกดมาตราเดียวกนั ง. พ่อขบั รถ แม่ไปตลาด
ง. ถูกทุกขอ้
๒. ข้อใดไมใ่ ชค่ ำ�คล้องจอง ๕. ค�ำ คลอ้ งจองที่กำ�หนดเปน็
ก. ดดี สี ตเี ปา่ ค�ำ คลอ้ งกีพ่ ยางค์
ข. ใจดี สเู้ สอื ฉนั มนี กนอ้ ย ตอ้ งคอยดูแล
ค. ปากเปน็ เอก เลขเปน็ โท ก. ๒ พยางค์
ง. วา่ วตวั นอ้ ย ลอยลม่ิ ลม ข. ๔ พยางค์
ค. ๖ พยางค์
๓. ขอ้ ใดคลอ้ งจองกับคำ�วา่ “ขยนั ง. ๘ พยางค์
เรียน”
ก. ใฝร่ ู้
ข. เจยี มตวั
ค. เตยี งนอน
ง. เพยี รศกึ ษา
๘๕
๖. ข้อใดเปน็ แผนผังของกลอน ๔ ๘. ขอ้ ใดแบ่งวรรคตอนการอา่ น
สุภาพ กลอนสุภาพไดถ้ กู ต้อง
ก. ก. แม้นใคร/รักมงั่ ม่งิ /ชงั ชงั ตอบ
ข. ข. แม้นพดู /ตัวตังตาย/ท�ำ ลายมิตร
ค. ถึงบางพูด/พูดด/ี เปน็ ศรศี ักด์ิ
ง. รู้สิง่ /ใด ไม่ส้/ู ร้วู ชิ า
๙. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักการออกเสยี ง
ค. บทร้อยกรอง
ง. ก. ท�ำ เสียงให้ไพเราะผูฟ้ งั เหน็
ภาพพจน์
๗. บทกลอนทก่ี ำ�หนดใหค้ ือ ข. ออกเสียงใหช้ ัดเจนและดงั เพื่อ
ให้ทุกคนได้ยนิ
เหวยเหวยอจี นั ทรา ขน้ึ หนา้ เถยี งผวั
อบุ าทวช์ าตชิ ว่ั ใสหวั มงึ ไป ค. รู้จักเอื้อนเสยี งหรือหลบเสยี ง
ให้ไพเราะ
ง. ออกเสียงใหถ้ กู จงั หวะและเว้น
วรรคตามประพันธ์
ก. กลอน ๔ สภุ าพ
ข. กลอน ๘
ค. กลอนสกั วา
ง. กลอนดอกสรอ้ ย
๘๖
เมือ่ น้นั นางมณโฑเยาวยอดเสนห่ ์ ๑๓. ขอ้ ใดไมใ่ ชน่ ทิ านอีสป
พนิ จิ พิศดโุ ยธา เห็นหมูวานรชาญฉกรรจ์ ก. เงาะปา่
คือศรีสุครีพมพูพาน หนุมานองคตแข่งขัน ข. กวางสามพน่ี อ้ ง
พวกพลเยียดยดั แจกัน เฝ้าพระทรงธรรมส์ ีกร ค. หมาปา่ กบั ลูกแกะ
รามเกยี รต์ิ : รัชกาลที่ ๑ ง. กวางสามพน่ี อ้ ง
๑๐. ลักษณะเดน่ ของกลอนละคร คือ ๑๔. ขอ้ ใดไม่ใช่ลกั ษณะของนทิ าน
ก. คำ�สัมผสั คล้องจอง พ้ืนบ้าน
ข. การไมก่ ำ�หนดจ�ำ นวนค�ำ ก. มุ่งเสนอขอ้ เทจ็ จรงิ
ค. การสอื่ ความไม่ต้องชดั เจน ข. ไปปรากฏชือ่ ผูแ้ ตง่
ง. การใชค้ ำ�นำ�ข้นั ตน้ บทใหม่ ค. ใชถ้ อ้ ยคำ�ทเี่ ขา้ ใจง่าย
๑๑. วรรณคดี คอื ง. เปน็ การเลา่ ดว้ ยปาก
ก. หนงั สอื เลม่ ทม่ี เี นอ้ื หามากทส่ี ดุ สืบตอ่ กันมา
ข. หนงั สอื ทเ่ี ขยี นเปน็ บทรอ้ ยแกว้
๑๕. ข้อใดเปน็ วรรณกรรมพื้นบ้าน
ทง้ั หมด ก. สารคดี นทิ าน
ค. หนงั สอื ทป่ี ระพนั ธต์ อ้ งเปน็ ข. สำ�นวนสุภาษิต สารคดี
พระมหากษตั รยิ ์ ค. นวนยิ าย ปริศนาคำ�ทาย
ง. หนงั สอื ทไ่ี ดร้ บั การยกยอ่ งวา่ แตง่ ดี ง. นิทานพนื้ บา้ น เพลงกล่อม
เดก็
๑๒. ขอ้ ใดเปน็ บทรอ้ งเล่นของเด็ก
๑๖. ข้อใดเปน็ วรรณกรรม
ก. กกุ๊ กกุ๊ ไก่ ก. ไชยเชษฐ์
ข. งกู นิ หาง ข. สงั ข์ทอง
ค. รรี ขี า้ วสาร ค. พระอภัยมณี
ง. ถกู ทกุ ขอ้ ง. พระมหาชนก
๑๗. ข้อใดไม่ใช่คุณค่าทางอารมณ์ ๘๗
ทางวรรณกรรมในทอ้ งถนิ่
๑๙. “ใดใดในโลกล้วน อนัจจงั ”
ก. เงาะปา่ หมายถึง
ข. กวางสามพน่ี อ้ ง ก. ทกุ สง่ิ ยอ่ ยมีการเปล่ียงแปลง
ค. หมาป่ากบั ลูกแกะ ข. บาปกบั บุญ เปน็ ของไม่แน่นอน
ง. กวางสามพนี่ ้อง ค. โลกมีการเปลยี่ นแปลงทงั้ นาํ้
และอากาศ
แล้วสอนว่าอยา่ ไว้ใจมนุษย์ ง. จิตใจคนแปรเปลี่ยนงา่ ย
มนั แสนสุดลกึ ลํา้ เหลอื กำ�หนด
ถึงเถาวลั ยพ์ นั เกย่ี วที่เล้ียวลด ๒๐. บทรอ้ ยกรองนีส้ อนเรอื่ งอะไร
ก็ไมค่ ดเหมือนหนึ่งในน้าํ ใจคน ก. อะไรกเ็ กดิ ขึน้ ได้ในโลกนี้
ข. คนเราเกดิ มามเี งาติดตามตวั
พระอภัยมณี:สุนทรภู่ ค. ทำ�ความดี ละเว้นความชั่ว
ง. ท�ำ บญุ มากจะได้ราํ่ รวย
๑๘. กลอนบทนี้เปรยี บเหมือน
สภุ าษติ ข้อใด
ก. งมเข็มในมหาสมุทร
ข. รกั ววั ให้ผูก รักลกู ใหต้ ี
ค. คนล้มอย่าขา้ ม ไมล้ ม้ จงึ ข้าม
ง. อยา่ ไวใ้ นทาง อย่าไว้ใจคน
จะจนใจเอง
อ่านบทร้อนกรองแลว้ ตอบคำ�ถาม
ข้อ ๑๙ - ๒๐
สงิ่ ใดในโลกล้วน อนจิ จัง
คงแค่บาปบญุ ยัง เทยี่ งแท้
คอื เงาติดตวั ตรัง ตรงึ แนน่ อยูน่ า
ตามแต่บุญบาปแล ้ ก่อเกอื้ รกั ษา
ลิลติ พระลอ
๘๘
บทท่ี ๑๒ ๘๙
ทักษะเพื่อการสอื่ สาร
ครดู าราเล่านทิ านชาดกเร่ือง กวางสามพี่น้อง ให้นักเรียน
ฟงั เม่ือเลา่ จบ ครูดาราถามคำ�ถามนกั เรยี น
ครดู ารา : คติสอนใจที่ไดจ้ ากการฟงั
นักเรยี น : ความเมตตาเปน็ สงิ่ ดี
ครูดารา : กวางขนทอง มนี สิ ัยอย่างไร
นักเรยี น : รักพอ่ แม่ รกั น้อง
ครดู ารา : แล้วนายพราน โหดรา้ ยไหม
นกั เรยี น : นายพรานมีจติ เมตตา จงึ ปลอ่ ยกวางขนทองไป
ครูดารา : นักเรียนเก่งมาก ท่ฟี งั นิทานและเขา้ ใจจับประเด็น
ได้ถกู ต้อง ทักษะการฟงั เปน็ ทักษะที่สำ�คญั เปน็
พ้นื ฐานทีจ่ ะนำ�ไปสการพฒั นาทกั ษะอื่น ๆ เวลา
นกั เรยี นฟังเรื่องอะไร นักเรียนตอ้ งมสี มาธิ ฟังเรอื่ ง
ให้จบแลว้ จะจับประเด็นได้
๙๐
ครดู ารา : นอกจากทกั ษะการฟังแลว้ ทกั ษะการพดู การอา่ น
และการเขยี น ก็เป็นทกั ษะสำ�คญั เปน็ เรือ่ ง
การสื่อสาร เปน็ ทกั ษะทนี่ ักเรียนต้องได้รบั การฝึก
และรู้จักมารยาทของการพัฒนาทกั ษะนนั้ ๆ วา่
จะตอ้ งทำ�อย่างไร
ทกั ษะการพดู เวลานกั เรียนจะพดู อะไร นกั เรียน
ตอ้ งคิดก่อนพดู พดู โดยเรียงลำ�ดบั เนื้อหาใหต้ อ่
เน่ือง ไม่พูดวกวนสับสน ควรใช้ถ้อยค�ำ ทีส่ ุภาพ
รจู้ กั ขอบคุณ เมอ่ื ได้รับคำ�ชมเชยและผรู้ ูจ้ กั ใชค้ �ำ
ขอโทษ เมอ่ื พดู ผดิ พลาด
ครูดาราน�ำ แผน่ กระดาษใหญ่ ติดบนกระดาน
ในทส่ี ดุ เสยี งทุกอย่างก็หมด เด็กดีเปน็ ศรแี ก่ชาติ เดก็ ฉลาดชาตเิ จริญ
ไปคงเหลอื แตเ่ สยี งลม เสยี ง ยามศกึ เรารบ ยามสงบเราเตรยี ม
ฝนและเสยี งกระแสน้ํากระทบ ขบั เร็วชิดขวา ขบั ช้าชดิ ซ้าย
ผ่านต้นอ้อ ต้นแขม และราก สะอาดกายเจรญิ วยั สะอาดใจเจริญสขุ
ล�ำ พูทรี่ มิ ตล่ิง ธรรมชาตยิ งั คง
สำ�แดงอำ�นาจอนั มหมึ า โดย
ปราศจากการรบกวนจาก
มนุษย์
๙๑
ครูดารา : นักเรยี นดูข้อความในกระดาษ นักเรยี น บอกครูได้
ไหมวา่ แผน่ แรกขอ้ ความเปน็ ความเรยี ง เรยี กว่า
นกั เรยี น : บทรอ้ ยแก้ว
ครูดารา : เกง่ มากคะ่ แผ่นที่ ๒ เรยี กว่า
นักเรยี น : บทรอ้ ยกรอง
ครูดารา : ถกู ตอ้ งคะ่ ดงั นั้นหนังสอื หรอื ขอ้ ความที่เราเห็น
กนั อยู่ท่วั ไป จะมลี ักษณะเปน็ บทร้อยแกว้ ซ่ึงเปน็
ตามเร่อื งท่ไี มบ่ งั คับ สัมผสั และบทร้อยกรอง ซ่งึ
เป็นการเรยี บเรียงถอ้ ยคำ�ตอ้ งเปน็ ตามขอ้ กำ�หนด
ของคำ�ประพันธ์แตล่ ะประเภท การอ่านมที ง้ั
การอา่ นออกเสียงและการอา่ นในใจ ซง่ึ ในการ
อ่านก็หลักของ การอ่าน
ดังนนั้ บทเรยี นทจ่ี ะเรยี นตอ่ ไปนี้ กเ็ ปน็ เร่ืองของ
ทกั ษะการ สอื่ สาร คอื ทกั ษะการฟัง การพูด
การอา่ น และการเขยี น
ครจู ะให้นักเรยี น ศึกษาใบความรู้ที่ ๒๘ และทำ�ใบงาน
ที่ ๒๘.๑ – ๒๘.๒ จากน้นั นกั เรียนทำ�แบบทดสอบทา้ ย
บท
๙๒
ใบความรทู้ ี่ ๑
ทักษะการฟงั
ทักษะการฟงั
ทที่สกั ะษดะวกกาแรลฟะังรเวปด็นเรก็วรมะาบกวทนีส่ กดุ าแรลระบั เสปาน็ รทจาักกษทะเ่ีพสน้ืียฐงทานไ่ี ดสย้ำ�ินคญัเปท็น่ีจทะักนษ�ำ ะไป
สูก่ ารพัฒนาทักษะอืน่ ๆ เพราะถ้าฟังไดช้ ัดกย็ ่อมออกเสียงได้ถูกต้อง
เขา้ ใจความเหมาะทอ่ี ่านและทเ่ี ขยี นดว้ ย
จดุ มงุ่ หมายของการฟงั
๑. เพือ่ แสวงหาความรู้ ช่วยเพ่ิมพนู ความรู้
๒. เพอ่ื ความบนั เทิง ผอ่ นคลาย เสริมจนิ ตนาการ
๓. เพอ่ื น�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ ในชีวติ ประจ�ำ วัน หรือน�ำ ไปประกอบ
อาชีพได้
ลกั ษณะการฟังทด่ี ี
๑. ต้องตง้ั ใจฟัง มีสมาธกิ บั เรอ่ื งทฟ่ี ัง
๒. ฟังเร่อื งให้จบเพือ่ จับประเดน็ ของเรือ่ ง
๓. แยกแยะ พิจารณาไตรต่ รอง เพื่อความถูกตอ้ ง
๔. จดบันทึกใจความท่ีฟงั เพอ่ื อาจนำ�ไปเผยแพรใ่ หผ้ ู้อื่นตอ่ ไป
๕. มีมารยาทในการฟงั ตง้ั ใจฟัง ไม่รบกวนผู้อนื่
๙๓
กิจกรรมการฟงั
- ฟงั พอ่ แม่ ครู เพือ่ น ฯลฯ
- ฟงั ขา่ ว บทความ
- ฟงั เพลง
- ฟังรายงาน
- ฟังการประชุม
- ฟงั คำ�ถาม
- ฟังเรื่องสน้ั นิทาน
- ฟังโฆษณา
- ฟงั ค�ำ สง่ั / ค�ำ แนะน�ำ
ฯลฯ
๙๔
ใบความรทู้ ี่ ๒
ทกั ษะการพูด
การสกง่ าสราพรดูสง่ เไปปน็ ยทังผัก้ฟูษงัะกกาารรพสูดอ่ื เสปา็นรกทาี่ใชรสก้ ื่อันคแวพารม่หหลมาายยเขปอ็นงทมักนษษุ ะย์
โดยการใช้ภาษาถอ้ ยค�ำ นํ้าเสยี ง และกริยาทา่ ทางเป็นเคร่อื ง
ถา่ ยทอดความคดิ ความรู้ และความรสู้ กึ ของตนไปสูผ่ ฟู้ ัง
จ๑ุด. มเพงุ่ อื่หใมหาค้ ยวขาอมงรกูแ้ าลระพขดูอ้ เทจ็ จรงิ แกผ่ ูฟ้ งั และนำ�ไปใช้ประโยชน์
๒. เพอื่ แสดงความคดิ เหน็ หรือชแ้ี นะเรอ่ื งใดเรื่องหน่ึงของตนให้
แก่ผฟู้ งั
๓. เพอื่ การสื่อสารให้ผู้ฟงั เข้าใจความต้องการของตนโดยการพดู
โนม้ น้าวจติ ใจ เชน่ พวกนกั การเมอื ง หรอื การพูดโฆษณา
สนิ ค้า
๔. เพอ่ื การตอบปัญหา หรอื ตอบคำ�ถามตา่ งๆแกผ่ ฟู้ งั ทีอ่ ยากฟัง
ล๑ัก. ษกาณระพกูดาทรด่ี พมี ูดกี ทาด่ีรเี ตรียมเนอ้ื หาสาระที่จะพูดใหก้ ารพดู ท่ี
เหมาะสมกบั โอกาสและเวลามีจดุ มงุ่ หมายในการพดู
๒. การพดู ที่ดใี ชถ้ ้อยค�ำ ท่ดี ี คิดกอ่ นท่ีจะพดู มีประโยชน์แกผ่ ูฟ้ ัง
๓. การพูดที่ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษาไทย เสยี งชัดเจน กริยา
สหี นา้ และทา่ ทางดี