The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรอบหลักสูตรท้องถิ่น 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Preeyada Tapingkae, 2022-03-21 03:45:51

กรอบหลักสูตรท้องถิ่น 2563

กรอบหลักสูตรท้องถิ่น 2563

กรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถ่ิน 2563

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)

เอกสารลาํ ดบั ท่ี 13/๒๕๖3
กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
สํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา เชียงใหม่ เขต 4





คํานาํ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ได้ มี ค า ส่ั ง ใ ห้ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) หลักสูตรน้ีเปน็ หลักสูตรที่กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน และได้ให้เขตพื้นท่ีการศึกษามีบทบาทในการกาหนดกรอบหลักสูตร
ระดับท้องถ่ิน โดยมีองค์ประกอบสาคัญของกรอบหลักสูตรระดับท้องถ่ิน สามประการคือ เป้าหมาย/
จดุ เน้น สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่ิน และการประเมนิ คุณภาพการศึกษาระดับท้องถ่นิ

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ได้พัฒนาหลักสูตรในส่วนท่ี
สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน โดยได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการร่วมกัน
คิดและจัดทากรอบหลักสตู รระดบั ทอ้ งถนิ่ เพือ่ ให้สถานศกึ ษาภายในเขตพืน้ ท่ไี ด้ใช้เปน็ แนวทางในการจดั
การเรียนการสอนในเรื่องเก่ียวกับท้องถ่ินในแง่มุมต่าง ๆ ท้ังด้านวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม การท่องเท่ียว
และบุคคลสาคัญ ฯลฯ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เร่ืองราวของชุมชน ท้องถ่ิน ซ่ึงเป็นสภาพแวดล้อมในชีวิต
จริงของตนเอง ทาใหเ้ กิดความรักผูกพันกับทอ้ งถ่นิ มคี วามภาคภูมิใจในบ้านเกิดของตนเองเป็นสมาชิกที่ดี
ของชุมชน ตลอดจนสามารถแกป้ ัญหา พัฒนาชีวิตตนเอง พฒั นาอาชีพ ครอบครวั และสังคมของตนเองได้
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ได้นาเสนอและได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ปราชญ์ท้องถ่ิน คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ผู้มีส่วน
เก่ียวข้องทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงใหม่ เขต 4 ไว้ ณ โอกาสน้ี และหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นแนวทางให้สถานศึกษาได้นาไปใช้
ประโยชนใ์ นการจัดทาสาระการเรียนรูท้ ้องถิ่นและหลกั สตู รสถานศึกษาต่อไป

(นายไพโรจน์ เดชะบญุ )
รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา รักษาราชการแทน
ผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4

สารบัญ ๓

คํานาํ ข
สารบญั
บทท่ี 1 บทนํา หน้า

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ข
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 1
แผนภมู ิการบรหิ ารจดั การหลักสูตรระดับท้องถ่ิน
นิยามและความหมาย 1
บทท่ี 2 กรอบหลักสตู รระดับท้องถ่นิ 4
เป้าหมาย/จดุ เน้น 5
กรอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา 6
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 6
การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาระดบั ท้องถนิ่
บทท่ี 3 แนวทางการจดั ทําสาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ ของสถานศกึ ษา 6
แนวการดาเนินงานของสถานศกึ ษา 10
ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ ของการจัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถิน่ 12
บทท่ี 4 สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ 12
สาระการเรียนร้ภู าษาไทย 14
สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 15
สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา 16
สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา 22
สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ 26
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 43
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 44
ภาคผนวก 54
ขอ้ มูลสารสนเทศของท้องถิ่น 57
ขอ้ มลู เน้ือหาสาระท้องถิน่ ของโรงเรียนในสังกดั 61
คาสง่ั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 62
คณะผจู้ ัดทา 71
152
155



บทที่ 1

บทนาํ

กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใช้หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ในโรงเรยี นทว่ั ไปในปีการศกึ ษา 2561 โดยไดก้ าหนดหลกั การข้อหน่งึ ว่า
เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกบั
สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ จงึ เพิ่มบทบาทหน้าท่ีของเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาในการกาหนดกรอบ
หลักสตู รระดับท้องถน่ิ เพอื่ เป็นกรอบแนวทางใหส้ ถานศกึ ษานาไปจดั ทาสาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่นและ
หลักสตู รสถานศึกษาของโรงเรียน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)

ไดก้ าหนดผลทจ่ี ะเกิดกบั ผูเ้ รยี นในระดับประเทศ ไว้ ดงั นี้

วิสยั ทัศน์

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มุง่ พฒั นาผูเ้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์
ทมี่ ีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มน่ั
ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ มีความรู้และทกั ษะพน้ื ฐาน
รวมท้ัง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผเู้ รยี น
เป็นสาคญั บนพืน้ ฐานความเชื่อวา่ ทุกคนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลกั การ

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มีหลกั การทส่ี าคัญ ดงั นี้
1. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาเพอื่ ความเปน็ เอกภาพของชาติ มจี ดุ หมายและมาตรฐานการ

เรยี นรู้เป็นเปา้ หมายสาหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน
ของความเปน็ ไทยควบคู่กับความเปน็ สากล

2. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ทป่ี ระชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ

3. เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สงั คมมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา
ให้สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของท้องถิน่

4. เป็นหลกั สตู รการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยนุ่ ทง้ั ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั
การเรยี นรู้

5. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั
6. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลุม่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์



จุดหมาย

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนให้เปน็ คนดี มปี ัญญา มคี วามสขุ
มศี ักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กาหนดเป็นจดุ หมายเพื่อให้เกดิ กับผเู้ รียนเมือ่ จบ
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ดังน้ี

1. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ่ ึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มีวนิ ัยและปฏบิ ัติตน
ตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมี
ทักษะชวี ติ

3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี มีสขุ นิสยั และรักการออกกาลังกาย
4. มคี วามรกั ชาติ มจี ติ สานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มั่นในวิถชี วี ติ และ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
5. มีจติ สานกึ ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษ์และพฒั นาสิ่งแวดล้อม
มีจติ สาธารณะท่ีมุง่ ทาประโยชนแ์ ละสร้างส่งิ ท่ดี งี ามในสงั คม และอยู่รว่ มกันในสงั คมอย่างมีความสขุ

สมรรถนะสําคัญของผเู้ รยี น และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ในการพัฒนาผเู้ รียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มุ่งเน้นพฒั นาผูเ้ รียนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานท่กี าหนด ซงึ่ จะชว่ ยให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ดงั น้ี

สมรรถนะสาํ คัญของผูเ้ รียน

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มุ่งให้ผูเ้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลยี่ นข้อมูล
ขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอ่ รอง
เพ่ือขจดั และลดปัญหาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรบั หรือไม่รบั ข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตผุ ลและ
ความถกู ตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ิธกี ารสอ่ื สาร ที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนเอง
และสังคม
2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรหู้ รือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ
ทเี่ ผชญิ ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เข้าใจ
ความสมั พนั ธแ์ ละการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรมู้ าใชใ้ น
การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตดั สนิ ใจท่ีมีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้นตอ่ ตนเอง
สงั คมและสิง่ แวดล้อม



4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยรู่ ว่ มกัน
ในสังคมดว้ ยการสร้างเสรมิ ความสัมพนั ธ์อนั ดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ
อยา่ งเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก
หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สาร
การทางาน การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ม่งุ พัฒนาผู้เรยี นให้มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อน่ื ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสตั ยส์ ุจริต
3. มวี ินยั
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มจี ิตสาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม
บริบทและจดุ เนน้ ของตนเอง

สาระการเรยี นรู้
การพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ ความสมดลุ ตอ้ งคานึงถงึ หลกั พฒั นาการทางสมองและพหุปญั ญา
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผเู้ รียนเรยี นรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดงั นี้
1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา
6. ศลิ ปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาต่างประเทศ

การระดมความคิดเห็น

สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ไดด้ าเนนิ การจดั ประชุมระดม
ความคดิ เหน็ การจัดการเรียนการสอนสาระท้องถ่ิน ในหวั ข้อ“จวนกันแอว่ ผ่อ น้าฟ้าปา่ ดอย ฮักษาฮตี ฮอย
สืบลกู สู่หลาน” โดยนมิ นต์ พระสงฆ์ และเชญิ ขา้ ราชการบานาญ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่
ผู้ประกอบการ ท่องเท่ียว ศิลปนิ ส่ือมวลชน ผู้บริหารโรงเรยี น ครู นักวชิ าการ ครู และ นกั เรยี น ครัง้ แรก



เมอ่ื วนั ท่ี 3 ตุลาคม 2551 ณ ศนู ย์พัฒนาส่ือและนวัตกรรมทางการศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 และได้ทาการประชาพจิ ารณ์โดยเชญิ ตวั แทนจาก 5 อาเภอ
ในเขตพืน้ ทบี่ รกิ าร มาวพิ ากษ์และให้ข้อเสนอแนะ จนไดก้ รอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ ของเขตพ้ืนที่
การศึกษาขนึ้ ภายใตน้ โยบายให้สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ืออนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรม ส่งิ แวดล้อม และ
สง่ เสริมการท่องเท่ียวภายในท้องถนิ่ ของตน

สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 ได้จดั ทากรอบหลักสตู รระดับ
ท้องถ่ินเพ่ือให้สถานศึกษาได้นาไปใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางในการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษาและ
จัดการเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาผูเ้ รียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มีความรู้และสามารถอนรุ ักษ์
ศิลปวัฒนธรรม สิง่ แวดลอ้ ม และมีส่วนรว่ มในการสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยว ตลอดจนมีคุณภาพ ดา้ นความรู้
และทักษะท่ีจาเปน็ สาหรบั การดารงชวี ิตในสังคมท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลง และแสวงหาความรู้เพอ่ื พัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนือ่ งตลอดชวี ิต ซ่ึงสถานศกึ ษาต้องเลือกสาระการเรียนรู้ที่กาหนดให้ในกรอบหลักสตู ร
ระดบั ท้องถ่นิ ของเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ท่ีเหมาะสม และตรงกับความต้องการของท้องถนิ่ ของตน โดยให้
ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ สิ่งทใ่ี กล้ตวั ก่อนแล้วจึงขยายความรู้กวา้ งออกไป จากระดับหมบู่ า้ น ตาบล อาเภอ และ
จังหวัด หรือภาค ในระดับประเทศสง่ิ ท่ีผเู้ รียนควรร้นู น้ั หลกั สูตรแกนกลางไดก้ าหนดสาระการเรยี นรู้
แกนกลางไว้แล้ว

ในการบริหารจดั การหลกั สูตรระดบั ท้องถน่ิ ของเขตพนื้ ที่การศึกษา สานักงานเขตพนื้ ที่
การศึกษามีหน้าที่สง่ เสริมสนับสนุน ในการพฒั นาบุคลากร งบประมาณสนับสนุนจัดทากรอบหลกั สตู ร
ระดับท้องถน่ิ วจิ ยั และพัฒนาปรบั ปรงุ และกากบั ดูแลคุณภาพ ดงั แผนภมู ิต่อไปน้ี

แผนภมู ิ การบริหารจัดการหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถิ่น

สพท. /หนว่ ยงานระดับท้องถนิ่

สง่ เสรมิ สนับสนุน จัดทํากรอบหลกั สตู รระดับท้องถน่ิ กาํ กับดแู ล
คุณภาพ

• พัฒนาบุคลากร คณะกรรมการระดบั เขตพ้ืนที่ • การประกันคุณภาพ
• สนับสนุนงบประมาณ การศึกษา พิจารณาให้ความ การศึกษา
เหน็ ชอบ
ทรพั ยากร • การประเมนิ คุณภาพ
• ดาเนินงานแบบมีสว่ นรว่ ม สถานศกึ ษาพฒั นาหลักสูตร ผ้เู รียนระดับท้องถิ่น
• เผยแพรค่ วามรดู้ ้านวชิ าการ สถานศกึ ษาให้สอดคล้องกบั
ความต้องการของทอ้ งถิ่น • นิเทศตดิ ตามการใช้
นยิ ามและความหมาย หลักสตู ร
วิจัยและพัฒนาปรบั ปรงุ
• วิจยั ประเมินผลการ
ใช้หลกั สตู ร



1. “ทอ้ งถ่นิ ” หมายถึง บริเวณสถานที่รวมทัง้ สภาพแวดล้อมและสังคมวฒั นธรรมที่ผูเ้ รียน
สว่ นมากมีวถิ ชี ีวติ เก่ียวข้อง คุ้นเคยมาต้ังแต่กาเนิด มีขอบข่ายครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ
จงั หวัด และภมู ิภาคของท้องถ่ินนั้น ๆ

2. “สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่ ” หมายถึง รายละเอยี ดของข้อมูลสารสนเทศรวมทงั้ เนื้อหา
องค์ความรู้ทีเ่ ก่ยี วกบั ท้องถน่ิ ในดา้ นต่างๆ เช่น สภาพภูมปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ ทรัพยากร สง่ิ แวดลอ้ ม
ประวัติความเป็นมา สภาพเศรษฐกจิ สงั คม การดารงชีวิต การประกอบอาชพี ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปญั ญา ฯลฯ ตลอดจนสภาพปัญหาและสงิ่ ที่ควรไดร้ ับการถ่ายทอดพัฒนาในชมุ ชน และ
สังคมนน้ั ๆ ที่สถานศึกษากาหนดขึน้ เพื่อจะนาไปใช้จัดประสบการณ์ให้ผ้เู รยี นได้เรียนรเู้ กี่ยวกบั ท้องถ่ิน
ของตนเอง

3. “กรอบสาระการเรยี นร้ทู อ้ งถนิ่ ” หมายถึง ขอบขา่ ยของเนื้อหาการเรียนร้ทู ้องถนิ่ ที่
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง วิเคราะหก์ าหนดขน้ึ เพือ่ อานวยประโยชน์ให้
สถานศกึ ษานาไปจดั ทารายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ท้องถิน่ ตามสภาพความพร้อมและความต้องการของ
สถานศกึ ษา

4. “สถานศึกษา” หมายถงึ หน่วยงานที่มหี น้าท่ีนาสาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่นไปจัดประสบการณ์
ใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรเู้ กีย่ วกับท้องถิน่ ของตนเอง

5. “หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง” หมายถงึ หน่วยงานท่ีมีหนา้ ที่จัดทากรอบสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
ซงึ่ อาจเป็นสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา หรอื กลมุ่ สถานศกึ ษาร่วมกันจดั ทา หรือสถานศึกษาและ
สานกั งานเขตพืน้ ทรี่ ่วมกันจัดทา

6. “ข้อมูลสารสนเทศของท้องถ่ิน” หมายถึง รายละเอียดของข้อมลู สารสนเทศในท้องถิน่
ซึ่งครอบคลมุ ท้ังข้อมลู ในดา้ นสภาพเศรษฐกิจ สังคม การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปัญญา บคุ คล ตลอดจนสภาพปญั หาในชมุ ชนและสงั คมนัน้ ๆ



บทที่ 2

กรอบหลักสูตรระดบั ท้องถิน่

สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหมเ่ ขต 4 ไดก้ าหนดกรอบหลักสตู รระดบั
ทอ้ งถนิ่ เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นในสังกัดทกุ คนได้เรียนรู้เกย่ี วกับชมุ ชน ท้องถนิ่ ตามภาระหน้าท่ีที่กาหนดไว้ใน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) สถานศกึ ษาใน
สงั กัดควรนากรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถน่ิ ของเขตพื้นที่การศึกษาไปส่หู ลกั สูตรสถานศกึ ษาและจัดการ
เรยี นการสอน เพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย/จดุ เนน้ ของเขตพนื้ ที่การศกึ ษาทีก่ าหนดไว้ ส่วนสาระการเรยี นรู้
ท้องถนิ่ ในสว่ นของหมู่บา้ น ตาบล อาเภอทีส่ ถานศกึ ษาเห็นว่ายังขาดหายไป ใหส้ ถานศึกษาเพิ่มเตมิ ไดใ้ น
ส่วนของสถานศึกษาเพิ่มเติม

เป้าหมาย/จุดเน้น

สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 ไดก้ าหนดเป้าหมาย/จดุ เนน้ ของ
กรอบหลกั สตู รระดับท้องถิ่น ดงั น้ี

1. มุง่ พฒั นาผู้เรยี นใหเ้ กิดความรักและภาคภูมใิ จในท้องถ่ินของตนเอง มีความรแู้ ละ
ความสามารถในการอนุรักษ์ ส่งเสรมิ สืบสาน เผยแพร่ศิลปวฒั นธรรม อนุรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม และมสี ่วนร่วม
ในการสง่ เสริมการท่องเที่ยว

2. มุ่งพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี วามสามารถในการอา่ น คิด เขียน และแสวงหาความรู้ดว้ ยวธิ ีการที่
หลากหลาย โดยเน้นวิธีการทางวิทยาศาสตรแ์ ละการทางานรว่ มกัน

กรอบหลักสตู รท้องถนิ่ สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4

เพือ่ ให้เน้ือหาสาระในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย/จดุ เนน้ ของเขต
พื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 จึงได้ดาเนนิ การประชมุ ระดมความคิดจากฝ่ายต่าง ๆ อาทิ
ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ครู ผู้ปกครอง ปราชญใ์ นท้องถน่ิ ศลิ ปนิ นักธรุ กจิ นกั วิชาการ ไดม้ ีสว่ นรว่ มใน
กระบวนการจดั ทา เพ่ือให้ได้แนวคิด มมุ มองท่ีหลากหลาย ครอบคลุมเร่อื งสาคัญท่ีผู้เรยี นควรเรยี นรใู้ น
ทอ้ งถน่ิ ไดส้ รปุ เป็นกรอบหลักสูตรระดบั ท้องถ่ินและสาระการเรยี นรู้ เป็น 4 ด้าน ดงั น้ี

วฒั นธรรม
ศกึ ษาเกยี่ วกับ ประวตั คิ วามเปน็ มา ลกั ษณะของงาน/กระบวนการขนั้ ตอน ข้อด/ี คณุ ค่า/
ประโยชน์/การนาไปใช้ การอนุรกั ษ/์ เผยแพร่ ในเนอื้ หาสาระตอ่ ไปน้ี

กรอบหลักสตู รระดับทอ้ งถิ่น ๑๐
• ศลิ ปวัฒนธรรม
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

• ประตมิ ากรรม เช่น พระพุทธรปู พระสงิ ห์
พระเจา้ ทันใจ ฯลฯ

• วรรณกรรม เชน่ เพลงกล่อมลกู
เพลงล่องแม่ปงิ เพลงพื้นบา้ น ฯลฯ
คา่ วฮ่า กะโลง เจย้ี กอ้ ม จอ๊ ย
ซอตา่ ง ๆ เช่น ซอเสเลเมา ซอน้อยใจยา
ซอเจ้าสุวตั รนางบัวคา ซอหงส์หนิ ซอพม่า
ซอเชยี งใหม่ ฯลฯ
นิทาน สภุ าษิต
อักษรล้านนา เชน่ ตัว๋ เมอื ง ป๊บั สา

• สถาปตั ยกรรม เชน่ บ้านโบสถ์ วิหาร เจดีย์
สงิ่ กอ่ สรา้ ง ฯลฯ

• จิตรกรรม เช่น ภาพวาด ลายฉลุ ตามบ้าน
วัด โบสถ์ วหิ าร ศาลา การตกแต่งลวดลาย
ลา้ นนา ฯลฯ

• นาฏกรรม เช่น ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเจิง ฟ้อนดาบ
รามวย กลองสะบดั ชยั ฟ้อนเทียน ฯลฯ

• หตั ถกรรม เชน่ การแกะสลกั ไม้ การปน้ั
การจกั สาน การตีมีด ฯลฯ

• คหกรรม เชน่ การประกอบอาหาร ลาบ
แกงอ่อม ใส้อว่ั แกงโฮะ แกงแค ฯลฯ

• การละเล่น เชน่ ไมต้ ่อขา เดินกะลา ฯลฯ
• มารยาทและการแต่งกาย เชน่ มารยาท

ด้าน กาย วาจา และใจ การแตง่ กายชุด
หมอ้ ฮ่อม ผ้าซิ่น การกราบ การไหว้ ฯลฯ

กรอบหลักสูตรระดับทอ้ งถิ่น ๑๑
• ประเพณี/พิธีกรรม/ความเช่ือ
สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่นิ
• อาชพี • การทาํ บุญ เช่น ขน้ึ บ้านใหม่ แต่งงาน
งานปอย การทาบุญงานศพ การทาบญุ
หาคนตาย สลากภตั ต์
• การนับถือผี เชน่ ผปี ู่ย่า ผีมด ผีกะ ฯลฯ
• การนบั วันเดือนปี เช่น เดือนเกีย๋ ง เดือนยี่
วนั ดี วันเสีย ฯลฯ
• เทศกาล เช่น ปี๋ใหมเ่ มือง
• พิธีกรรม เชน่ การข้ึนท้าวท้ังสี่ การทา
เคร่ืองแตง่ ดา สูมาแมพ่ ระธรณี เจ้าที่
การบวชตน้ ไม้
• เกษตรกรรม เชน่ การทานา ทาสวนลาไย
การทาเหมืองฝาย เช่นฝายแมว้ แต ต๊างนา
• หตั ถกรรม เช่น การแกะสลักไม้ การทอผ้า
การปนั้ ดิน

ส่ิงแวดล้อม
ศกึ ษาเกยี่ วกบั ที่ตง้ั ความเปน็ มา ลักษณะภูมิประเทศ ปัญหา/การจดั การ ขอ้ ดี/คุณค่า/
ประโยชน์/การนาไปใช้ การอนรุ กั ษ์/เผยแพร่ ในเนื้อหาสาระต่อไปนี้

กรอบหลักสูตรระดับท้องถ่ิน สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ
• ทรพั ยากรธรรมชาติ
• นํา้ เชน่ แมน่ ้าขาน แมน่ า้ วาง แมน่ า้ กวง
แม่น้าตาช้าง ชลประทานแม่แตง แมน่ ้าปงิ
หนองสะเรยี ม ฯลฯ

• ป่าไม้ เชน่ ป่าไมส้ ัก ปา่ ในเขตอุทยาน
ดอยสเุ ทพ-ปยุ ปา่ ไมใ้ นท้องถิ่น ฯลฯ

• ภูเขา เชน่ เทือกเขาถนนธงชัย ฯลฯ

• ถาํ้ เช่น ถา้ ต๊ักแตน ถ้าดอยโตน ดอยถา้ ฯลฯ

• ดนิ เช่น ดินใช้ปั้นหมอ้ ป้ันตกุ๊ ตา ฯลฯ

การทอ่ งเท่ียว
ศึกษาเกย่ี วกบั ที่ตั้ง ความเปน็ มา ลกั ษณะปัญหา การจัดการ การพัฒนา การประชาสัมพันธ์
มารยาท/การบริการ/การหารายได้ ภาษา/วฒั นธรรม ขอ้ ดี/คุณคา่ /ประโยชน์ การนาไปใช้ การอนุรกั ษ์/
เผยแพร่ ในเน้ือหาสาระต่อไปน้ี

๑๒

กรอบหลักสตู รระดับท้องถิ่น สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน
• แหล่งท่องเที่ยว
• แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ เชน่
ดอยอนิ ทนนท์ อุทยานแหง่ ชาตอิ อบขาน
ปางชา้ งแมว่ าง ฯลฯ

• แหล่งท่องเท่ียวทางศลิ ปวัฒนธรรม และ
ประวตั ศิ าสตร์ เช่น วัดขนุ คง วัดต้นเกวน๋
วดั นา้ บอ่ หลวง วัดพระบาทย้ังหวีด
วัดพระธาตุดอยน้อย วดั พระธาตุดอยสเุ ทพ
วดั เจ็ดยอด วัดเจดยี ห์ ลวง วดั เชียงมนั่
วัดพระเจ้าเก้าตื้อฯลฯ เวยี งกมุ กาม
เวยี งท่ากาน อนสุ รณ์สถานทหารญี่ปนุ่ ฯลฯ

• แหล่งท่องเที่ยวทเี่ ป็นแหลง่ เรียนรแู้ ละสนิ ค้า
หัตถกรรม เชน่ สวนราชพฤกษ์ เชียงใหม่
ไนท์ซาฟารี บ้านถวาย บ้านกิว่ แล
บา้ นเหมอื งกุง ฯลฯ

บุคคลสาํ คัญ
ศกึ ษาเกี่ยวกบั ประวตั ิ ผลงาน แนวคิด/ขอ้ ปฏิบัติ/การนาไปใช้ ในเน้อื หาสาระตอ่ ไปนี้

กรอบหลักสูตรระดับทอ้ งถิน่ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่
• ในอดตี
• บรรพชติ เช่น ครบู าศรวี ิชัย ครบู าธรรมทนิ
กรอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ (วดั สันคะยอม) ครูบาอนิ ทจักรรกั ษา
• ปจั จบุ นั (วดั น้าบอ่ หลวง) พระศริ ิมงั คลาจารย์ ฯลฯ

• ฆราวาส เชน่ พระเจา้ พรหมมหาราช
ราชวงศเ์ ม็งราย พระนางจามเทวี
วงศเ์ จ้าเช้อื เจด็ ตน พระเจา้ กาวิละ
เจ้าศรหี มน่ื วณสี อน (นายอาเภอสนั ปา่ ตอง)

สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ

• บรรพชติ เช่น ครูบาดวงดี สุภัทโท
(วดั ทา่ จาป)ี ฯลฯ

• ฆราวาส เช่น พ่อครูคา กาไว
พอ่ ครูเจรญิ มาลาโรจน์
พ่อหนานสะอาด ทองขันธ์
พ่ออุย้ ใจ๋คา ตาปัญโญ
พ่อครปู ระพนั ธ์ แก้วเก๋
พอ่ ครสู รุ ินทร์ หนอ่ คา
พอ่ ครูมนูญ วณสี อน ฯลฯ

๑๓

การประเมินคุณภาพการศกึ ษาระดบั ท้องถนิ่

การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาระดบั ท้องถิน่ เพื่อให้ได้ข้อมลู ทจ่ี ะเป็นตวั บง่ ชถี้ ึงความก้าวหนา้
และความสาเร็จทางการเรยี นของผู้เรยี น ซึ่งสถานศึกษาต้องจดั ใหม้ กี ารประเมินผลการเรียน ขอ้ มูลท่ีได้
จากการประเมนิ จะนาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นคณุ ภาพการจดั การ ศึกษาของสถานศกึ ษา
และเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เป็นตัวบง่ ชคี้ ณุ ภาพการศกึ ษาข้ันพื้นฐานในภาพรวมและ ใช้เป็นข้อมูลประกอบ
การตดั สินใจในการกาหนดนโยบาย วางแผน ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ต่อไป

การดาํ เนินงานประเมินคุณภาพผู้เรียน
การประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี นและการรายงานผลการศึกษาระดับท้องถิน่ เปน็ กลไกสาคญั

ในการควบคุมคุณภาพการศกึ ษา ดงั นน้ั จึงระบุไวใ้ นกรอบหลักสูตรท้องถิน่ เพื่อใหส้ ถานศึกษาในสังกัด
ได้ทราบการประเมนิ จะประเมินตามมาตรฐานและตัวชว้ี ัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้แกนกลางการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน ท่มี ีสาระท้องถนิ่ ที่ปรากฏอยู่ ซ่ึงมี 3 แนวทาง คอื

1. สอดแทรกในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้พื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ ประเมนิ ตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ัด
ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทสี่ อดแทรก ในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)

2. จัดทาเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม ประเมนิ ตาม จุดประสงคแ์ ละเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ในรายวิชา
เพม่ิ เติมนั้น ๆ

3. จดั ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ประเมนิ ตาม จุดประสงค์และเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ในกิจกรรม
พฒั นาผู้เรยี นน้นั ๆ

ในการประเมินแตล่ ะแนวทางของการจัดหลักสูตร ประเมินโดยดาเนนิ การ ดังนี้
1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับท้องถนิ่ เป็นผู้กาหนดมาตรฐานหลักสตู รระดบั ท้องถน่ิ
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 พรอ้ มท้งั ตัวชวี้ ัด หลักเกณฑ์ แนวทางและ
วิธีการทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ดังน้ี

1.1 กาหนดตัวชวี้ ัดความสามารถตามมาตรฐานหลกั สตู รระดบั ท้องถ่นิ
1.2 กาหนดแนวทางและวิธกี ารประเมินทีเ่ หมาะสม เชน่

1.2.1 ความสามารถจรงิ ของผเู้ รียนในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางการเรียนในสาระหลกั สตู ร
ระดับทอ้ งถ่นิ

1.2.2 การมอบหมายใหผ้ ู้เรยี นไปศึกษาค้นคว้า แลว้ เขยี นเป็นรายงาน
1.2.3 ผลงานเชงิ ประจกั ษต์ ่าง ๆ ท่ีรวบรวมและนาเสนอในรปู ของแฟ้มสะสมงาน
1.2.4 การทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบแบบเขียนตอบหรอื การใหผ้ เู้ รยี นเขียนความเรยี ง
1.2.5 วิธีการอื่น ๆ ท่เี ห็นวา่ เหมาะสม
1.3 เกณฑ์การตดั สินคุณภาพตามมาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั ตามหลกั สตู รระดับท้องถน่ิ ทมี่ คี วาม
เหมาะสม
1.4 แนวทางการซอ่ มเสรมิ ปรับปรงุ ผู้เรยี นทีย่ ังไม่ได้คณุ ภาพตามมาตรฐานขน้ั ตา่ ของ
สถานศกึ ษา
2. ประกาศแนวทางและวธิ ีการประเมนิ ดังกล่าว ใหผ้ ูเ้ กีย่ วข้องไดร้ บั ทราบ และชีแ้ จงให้เกดิ
ความเขา้ ใจ

๑๔

3. แตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนินการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนระดับท้องถิน่ เพ่ือทาหนา้ ที่ในการ
จดั ทาเคร่ืองมือประเมิน รวบรวมขอ้ มลู และตัดสินผลการประเมนิ

การตัดสินการประเมินคุณภาพการศึกษาระดบั ทอ้ งถิ่น ตดั สนิ ตามเกณฑท์ ี่คณะกรรมการบรหิ าร
หลักสูตรระดับท้องถ่ินกาหนด

๑๕

บทที่ 3

แนวทางการจดั ทําสาระการเรียนรูท้ ้องถ่นิ ของสถานศึกษา

แนวทางการดาํ เนนิ งานของสถานศกึ ษา

การนาสาระการเรยี นรู้ท้องถ่ินไปจัดประสบการณ์การเรียนร้ใู ห้ผ้เู รยี นนั้น สถานศกึ ษา หรอื
ครูผสู้ อนสามารถนารายละเอียดสาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น ไปวางแผนจัดประสบการณใ์ ห้ผ้เู รียนได้เรียนรู้
เก่ยี วกบั ท้องถนิ่ ของตนเองในกล่มุ สาระการเรยี นรูต้ ่าง ๆ ใหบ้ รรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไวต้ าม
โครงสรา้ งของหลักสตู รทสี่ ถานศึกษากาหนด โดยครผู ูส้ อนสามารถดาเนินการไดห้ ลายลักษณะ เชน่

1. จัดทํารายวิชาเพ่ิมเติม ซึ่งครูผ้สู อนอาจจัดทารายวชิ าท่ีเป็นสาระการเรียนรู้พืน้ ฐาน หรือ
รายวชิ าทเ่ี ป็นสาระการเรยี นรู้เพิ่มเติมของสถานศกึ ษานน้ั ๆ ก็ได้ ในการจัดทาครผู ูส้ อนอาจปรบั ปรงุ
พัฒนารายวชิ าท่ีมีอยู่เดมิ หรือจดั เป็นรายวิชาใหม่ เพื่อให้ผู้เรยี นมคี ณุ ภาพบรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และระดับช้นั น้ัน ๆ

2. สอดแทรกในกลมุ่ สาระการเรยี นรูพ้ ้ืนฐาน โดยปรบั กิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื กจิ กรรม
เสรมิ หรือบรู ณาการ ในรายวชิ าต่าง ๆ เพ่อื ให้ผเู้ รยี นมปี ระสบการณ์การเรยี นรเู้ กี่ยวกับท้องถนิ่
ของตนเอง ตามมาตรฐานการเรียนรทู้ กี่ าหนดไวใ้ นกลุม่ สาระการเรียนรูแ้ ละระดับชว่ งช้นั น้ัน ๆ ทง้ั นี้
ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ครผู ู้สอนอาจเชญิ วิทยากร ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ หรอื พานกั เรียนออกไป
เรยี นรสู้ ภาพจริงในทอ้ งถ่นิ ก็จะทาให้การเรียนรมู้ ีความหมายตอ่ ผเู้ รยี นมากย่งิ ขนึ้

3. จัดในกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน โดยจัดชมรม ชมุ นุม กลุ่มสนใจ กจิ กรรมในวิชาลูกเสือ
เนตรนารี เปน็ ต้น

การจัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศกึ ษาในกรณสี อดแทรกในกลุ่มสาระการเรียนรู้
พน้ื ฐาน สามารถดาเนินการ โดยมีแนวทางการดาเนนิ การ ดังนี้

1. ควรดาํ เนนิ งานในรปู คณะกรรมการระดับสถานศกึ ษา ซึ่งประกอบดว้ ยครู ผู้บริหาร
ผนู้ าทางศาสนา ผู้นาชุมชน และผู้ทรงคุณวฒุ ิท่ีมคี วามรแู้ ละประสบการณห์ ลากหลาย เพอื่ จะไดร้ ว่ มกนั
พจิ ารณาจัดทาสาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ ใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษาและสภาพของชมุ ชนตาม
กรอบสาระการเรยี นรู้ท้องถ่ินทส่ี านักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษากาหนดไว้

2. วิเคราะห์กรอบสาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ ทสี่ าํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษากําหนดไว้
เพื่อทจ่ี ะให้ทราบถงึ เปา้ หมาย/จดุ เน้นของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาในการกาหนดขอบขา่ ยรายละเอยี ดของ
เนอื้ หาองค์ความรู้เกี่ยวกับท้องถน่ิ ของสถานศึกษา ดงั ตัวอย่างทใ่ี หไ้ วใ้ นบทท่ี 4 ของเอกสารฉบับน้ี

คณะกรรมการดาเนนิ งานของสถานศึกษา ควรจะศึกษาวิเคราะหถ์ ึงกรอบสาระการเรียนรู้
ทอ้ งถิน่ ดังกลา่ วและนาไปร่วมพจิ ารณาในการจัดทารายละเอยี ดของเน้ือหาองคค์ วามรเู้ ก่ียวกบั ท้องถ่นิ ให้
เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา/ชุมชนรวมท้ังต้องสอดรบั กบั กรอบสาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่นดังกลา่ ว
ด้วย

3. วเิ คราะห์หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เพอื่ จะไดท้ ราบถงึ
จุดเนน้ หรอื ประเด็นที่สถานศึกษาให้ความสาคญั และแนวทางการจดั ทาสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ นว้ี ่าควร
จะอยู่ในกลมุ่ สาระการเรียนรใู้ ด เป็นรายวิชาพ้ืนฐาน หรือรายวิชาเพ่มิ เตมิ และควรจะมเี นื้อหามาก
น้อยอย่างไร ตามที่หลักสตู รสถานศึกษากาหนดไว้ รายละเอียดสาระการเรียนร้ทู ้องถนิ่ ทีอ่ าจปรากฏอยู่

๑๖

ในสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ ของสถานศึกษา ซง่ึ แตล่ ะแหง่ อาจมรี ายละเอยี ดสาระ การเรียนรู้ ไม่
เหมอื นกัน เชน่

- ประเพณีปใี หม่ของชาวไทยภูเขา
- ประเพณีการแตง่ งานของชาวไทยลอื้
- ประเพณตี านก๋วยสลาก
- ภาษาและวรรณกรรมล้านนา
- ดนตรพี ้ืนเมืองล้านนา
- ผลิตภณั ฑ์ สนิ คา้ ทอ้ งถ่ินอาเภอหางดง
- การคา้ การให้บริการของชุมชนหม่บู า้ นต้นแกว้
- การทอ่ งเท่ยี วเชิงอนุรักษ์อาเภอแมว่ าง

ฯลฯ
4. ศึกษา / วิเคราะหข์ ้อมูลสารสนเทศของสถานศกึ ษาและชมุ ชน เพือ่ นามาเปน็ ข้อมูลจดั ทา
สาระการเรียนร้ทู ้องถ่ินของสถานศกึ ษาใหส้ มบรู ณ์ขนึ้
5. จดั ทาํ สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ ของสถานศกึ ษา เมอ่ื คณะกรรมการไดว้ ิเคราะห์/สงั เคราะห์
กรอบสาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ /ขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศึกษา/ชุมชน และวเิ คราะห์หลักสูตร
สถานศกึ ษาทราบแล้ววา่ ในกลุม่ สาระการเรยี นรู้ใด ช้นั ปใี ดบ้างท่จี ะต้องจดั ทาสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน
และจะจัดทาเป็นรายวชิ าพนื้ ฐานหรอื รายวชิ าเพิ่มเติม จากน้นั จงึ รว่ มกนั พจิ ารณากาหนดเนื้อหา
องค์ความรูเ้ ก่ยี วกับท้องถิน่ อย่างเหมาะสมใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ท และจุดเน้นของสถานศึกษา ตลอดจน
สภาพของชมุ ชนซ่ึงอาจจดั ทารายละเอียดสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ ของสถานศึกษา จาแนกตามกลุม่ สาระ
การเรียนรู้และจดั ทาเป็นช่วงชั้นหรือเปน็ ช้นั ปีก็ได้
ท้ังน้ี สถานศึกษาใดทข่ี าดความพร้อมและยงั มิไดจ้ ัดทารายละเอียดสาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
อาจพิจารณาเลือกใชร้ ายละเอียดข้อมลู องคค์ วามรตู้ ามกรอบสาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น ท่ีสานักงานเขต
พ้ืนทีก่ ารศกึ ษารวบรวมไว้ หรือพิจารณาเลอื กใชข้ ้อมลู สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ ของสถานศึกษาอ่ืน ๆ
ในชุมชนเดยี วกันจดั การเรียนการสอนก็ได้

การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้เกยี่ วกบั ท้องถิ่นน้ี ครูผู้สอนอาจพัฒนาสื่อ สิง่ พิมพ์หรือ
จัดทาสือ่ ประกอบการเรียนรู้อื่น ๆ ใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาค้นคว้าหรือเรียนรดู้ ว้ ยตนเองด้วยกไ็ ดแ้ ละเมื่อ
ดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ้องถ่นิ ของสถานศึกษาแล้ว ควรมีการปรบั ปรงุ และพฒั นาแผนการ
จัดการเรียนร้ใู ห้มีความเหมาะสมและเปน็ ปัจจบุ ันอยเู่ สมอ

การจัดทารายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ ของสถานศกึ ษากรณีจัดทารายวิชาเพ่มิ เติม
ควรเริม่ ข้ันตอน ดังนี้

1. กาํ หนดตวั ช้วี ดั รายชน้ั ปี/รายภาค ระบถุ งึ ความรู้ความสามารถของผูเ้ รียนทจ่ี ะเกดิ ข้ึน
หลังจากการเรียนรู้ในแตล่ ะชั้นป/ี ภาคนน้ั

2. กาํ หนดสาระการเรยี นรรู้ ายปี/รายภาค จากมาตรฐานและตวั ช้ีวัดทก่ี าหนดไว้ให้
สอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ินและความต้องการของชมุ ชนน้ัน

3. กาํ หนดเวลา กาหนดเวลาและหน่วยกติ ใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกับมาตรฐานและ
ตัวชีว้ ดั และสาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่

4. จดั ทําคาํ อธบิ ายรายวิชา โดยนาเอามาตรฐานและตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ เวลาและ
หนว่ ยกิตมาเขียนเปน็ คาอธบิ ายรายวชิ า

๑๗

5. จัดทาํ หน่วยการเรียนรู้ โดยการนาเอาสาระการเรยี นรู้รายปี / รายภาค ไปบูรณาการ
จัดทาเป็นหนว่ ยการเรยี นรู้
ตวั ชี้วดั ความสาํ เรจ็ ของการจดั ทาํ สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น

ระดับสถานศกึ ษา : มเี อกสารสาระการเรียนร้ทู ้องถน่ิ ของสถานศกึ ษาท่ีสอดรบั กับเป้าหมาย/
จดุ เนน้ และกรอบหลักสตู รระดับทอ้ งถ่ินของเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา จดุ เนน้ ของสถานศึกษาและชุมชนซ่งึ
ครู ผสู้ อนสามารถนาไปวางแผนจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ใหก้ บั ผ้เู รียนได้

คร/ู อาจารย์ผูส้ อน : มหี น่วยการเรยี นรู้/แผนการจัดการเรียนร/ู้ ส่ือการเรยี นรู้ และมกี ารจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน ตามสาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่ ทีป่ รากฏในหนว่ ยการเรียนรู้/แผนการจัดการ
เรียนรู้ อย่างมปี ระสิทธผิ ล

ผูเ้ รยี น : มคี วามรู้ ความเข้าใจและมีทกั ษะการปฏบิ ัตใิ นประเด็นสาคญั เกี่ยวกบั สาระ
การเรียนรทู้ อ้ งถิ่นตามมาตรฐานการเรยี นร้ขู องกลุ่มสาระการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ทีห่ ลกั สตู รสาระการเรียนรู้
ทอ้ งถิน่ ระดบั เขตพื้นท่กี ารศึกษากาหนดและสถานศึกษากาหนดไว้

๑๘

บทท่ี 4

สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ

ในบทนจ้ี ะเป็นการนาเสนอตัวอยา่ งการวเิ คราะห์สาระการเรียนร้ทู ้องถ่ิน ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) สาหรับสถานศึกษานาไปจดั ทา
กรอบหลกั สตู ร ท้องถิน่ ของสถานศึกษา ในแนวทางที่ 1 คือสอดแทรกในกลุ่มสาระการเรยี นรพู้ น้ื ฐาน
8 กลมุ่ สาระ โดยยดึ มาตรฐาน การเรยี นรกู้ ลุ่มสาระต่าง ๆ และตวั ช้วี ัดเป็นหลัก และนาสารการเรยี นรู้
แกนกลางมาเปรยี บเทยี บ สถานศึกษาสามารถกาหนดหรือเลอื ก สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่ ตามความ
ต้องการ ในสว่ นของหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ หรือจังหวดั ที่เห็นว่ายังขาดหายไป ให้สถานศึกษาเพ่มิ เติมได้
ในส่วนของสถานศกึ ษาเพิ่มเติม

แนวทางท่ีสถานศึกษาจะนากรอบหลักสูตรระดบั ทอ้ งถ่ินระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาไปสู่หลักสตู ร
สถานศึกษาและการจดั การเรียนร้นู นั้ มี 3 แนวทาง สถานศกึ ษาสามารถจัดหนง่ึ แนวทาง หรอื ทกุ
แนวทางก็ได้ ขนึ้ อยู่กับความต้องการจาเปน็ ของท้องถิน่ และสถานศกึ ษานนั้ ๆ คือ

1. สอดแทรกในกลมุ่ สาระการเรียนรู้พนื้ ฐาน 8 กลุ่มสาระ
2. จดั ทาเปน็ รายวิชาเพ่มิ เตมิ
3. จดั ในกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
จากแนวทาง 3 แนวทางดังกลา่ ว สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4
ไดน้ าเสนอเปน็ แนวทางใหส้ ถานศึกษา จดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษาในสว่ นของสถานศึกษาต้องการเพิ่มเตมิ
คอื แนวทางท่ี 1 สอดแทรกในกลุ่มสาระการเรยี นรูพ้ ื้นฐาน 8 กลุม่ สาระ โดยยดึ มาตรฐานและตัวชี้วดั
ของกลุ่มสาระต่างๆเป็นหลัก แล้วดึงเอาส่วนท่เี ป็นเนื้อหาสาระท้องถนิ่ ออกมาใหช้ ัดเจน ดังจะไดน้ าเสนอ
ตอ่ ไปนี้

๑๙

สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

สาระท่ี 1 การอ่าน

มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรูแ้ ละความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ญั หาในการ
ดาเนินชวี ิต และมีนสิ ัยรักการอ่าน

ชน้ั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ

ป.3 1. อ่านออกเสียงคา  การอ่านออกเสียงและการบอก

ข้อความ เรอ่ื งสนั้ ๆ ความหมายของคา คาคล้อง

และบทร้อยกรองง่ายๆ จอง ข้อความ และบทร้อย

ได้ถูกตอ้ ง คล่องแคลว่ กรองง่ายๆ ทปี่ ระกอบด้วยคา

2. อธบิ ายความหมาย พ้ืนฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไมน่ ้อย

ของคาและขอ้ ความที่ กวา่ ๑,๒๐๐ คา รวมทั้งคาท่ี

อา่ น เรียนรูใ้ นกล่มุ สาระการเรียนรู้อ่ืน

ประกอบดว้ ย

- คาทม่ี ีตวั การันต์

- คาทีม่ ี รร

- คาที่มพี ยัญชนะและสระไม่

ออกเสียง

- คาพอ้ ง

- คาพเิ ศษอ่ืนๆ เชน่ คาท่ใี ช้ ฑ

ฤ ฤๅ • อ่าน เขยี น สระ พยัญชนะ
ป.4 1. อา่ นออกเสียงบทร้อย  การอา่ นออกเสยี งและการบอก คาและประโยค ภาษาลา้ นนา
แก้วและ บท ความหมายของบทรอ้ ยแก้ว

ร้อยกรองได้ถกู ต้อง และบทร้อยกรองท่ี

2. อธบิ ายความหมาย ประกอบด้วย

ของคา ประโยค และ - คาท่มี ี ร ล เปน็ พยญั ชนะต้น

สานวนจากเร่ืองท่ีอา่ น - คาท่มี พี ยัญชนะควบกล้า

- คาท่ีมีอักษรนา

- คาประสม

- อกั ษรย่อและเคร่ืองหมาย

วรรคตอน

- ประโยคที่มีสานวนเป็นคา

พังเพย สภุ าษติ ปรศิ นาคา

ทาย และเครื่องหมายวรรค

ตอน

 การอา่ นบทร้อยกรองเป็น

ทานองเสนาะ

๒๐

ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ

ป.5 1. อา่ นออกเสียงบทร้อย  การอา่ นออกเสียงและการบอก

แก้วและ บท ความหมายของบทรอ้ ยแกว้

รอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง และบทร้อยกรองท่ี

2. อธิบายความหมาย ประกอบด้วย

ของคา ประโยคและ - คาทม่ี พี ยัญชนะควบกลา้

ขอ้ ความทเ่ี ป็นการ - คาทม่ี อี ักษรนา

บรรยาย - คาที่มตี ัวการันต์

และการพรรณนา - อักษรย่อและเครอ่ื งหมาย

วรรคตอน

- ข้อความท่ีเป็นการบรรยาย

และพรรณนา

- ข้อความที่มีความหมาย

โดยนัย

 การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็

ทานองเสนาะ • อา่ น เขียน สระ พยัญชนะ

ป.6 1. อ่านออกเสยี งบทร้อย  การอา่ นออกเสียงและการบอก คาและประโยค ภาษาล้านนา
แกว้ และ บท ความหมายของบทร้อยแกว้

รอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง และบทร้อยกรอง ประกอบด้วย

2. อธิบายความหมาย - คาท่ีมพี ยัญชนะควบกล้า

ของคา ประโยคและ - คาท่ีมอี ักษรนา

ข้อความท่เี ปน็ โวหาร

- คาท่ีมีตัวการันต์

- คาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ

- อักษรย่อและเครอ่ื งหมาย

วรรคตอน

- วัน เดอื น ปแี บบไทย

- ข้อความที่เปน็ โวหารต่างๆ

- สานวนเปรียบเทยี บ

 การอ่านบทรอ้ ยกรองเปน็
ทานองเสนาะ

ม.1 1. อา่ นออกเสยี งบทร้อย  การอ่านออกเสยี ง ประกอบด้วย

แก้ว และ บท - บทร้อยแก้วที่เปน็ บทบรรยาย

รอ้ ยกรองได้ถูกต้อง - บทรอ้ ยกรอง เช่น กลอน

เหมาะสมกับเร่ืองท่ี สุภาพ กลอนสกั วา กาพยย์ านี

อา่ น 11 กาพยฉ์ บงั 16 กาพย์

สุรางคนางค์ 28 และโคลงส่ี

๒๑

ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถิน่

สุภาพ

2. จับใจความสาคญั จาก  การอา่ นจบั ใจความจากสื่อ

เรื่องที่อ่าน ต่างๆ เชน่ • อา่ น เขยี น คา ประโยค

ม.2 1. อ่านออกเสียงบทร้อย  การอ่านออกเสยี ง ประกอบด้วย บทร้อยกรอง ภาษาล้านนา

แกว้ และ บท - บทร้อยแก้วท่ีเป็นบทบรรยาย

รอ้ ยกรองได้ถูกต้อง และบทพรรณนา

- บทรอ้ ยกรอง เชน่ กลอนบท

ละคร กลอนนิทาน กลอน

เพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง

2. จบั ใจความสาคัญ สรุป  การอา่ นจับใจความจากส่อื

ความ และอธบิ าย ต่างๆ เช่น

รายละเอยี ดจากเรอ่ื งท่ี - วรรณคดีในบทเรยี น

อา่ น - บทความ

- บันทึกเหตกุ ารณ์

- บทสนทนา

- บทโฆษณา

- งานเขยี นประเภทโน้มน้าวใจ

- งานเขยี นหรือบทความแสดง

ข้อเทจ็ จรงิ

- เรอื่ งราวจากบทเรยี นในกลุ่ม

สาระการเรียนร้ภู าษาไทย

และกล่มุ สาระการเรยี นรู้อน่ื

ม.3 1. อา่ นออกเสยี งบทร้อย  การอ่านออกเสยี ง ประกอบดว้ ย • อ่าน เขยี น บทร้อยกรอง
แกว้ และ บท - บทร้อยแกว้ ทเ่ี ป็นบทความ
ภาษาลา้ นนา
รอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง ท่วั ไปและบทความปกิณกะ

และเหมาะสมกบั เร่อื ง - บทร้อยกรอง เชน่ กลอนบท

ทอี่ ่าน ละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี

11 กาพยฉ์ บงั 16 และโคลงสี่

สุภาพ

2. ระบคุ วามแตกต่างของ  การอา่ นจับใจความจากสือ่

คาทีม่ ีความหมาย ตา่ งๆ เชน่

โดยตรงและ - วรรณคดีในบทเรียน

ความหมายโดยนัย - ข่าวและเหตกุ ารณ์สาคญั

5. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และ - บทความ

๒๒

สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน
รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ

ป.3 1. คัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็  การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็ม

บรรทัด บรรทดั ตามรปู แบบการเขยี น

ตัวอักษรไทย

ป.4 1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม • อา่ น เขียน สระ พยัญชนะ
บรรทดั และคร่ึงบรรทดั บรรทดั และครงึ่ บรรทดั ตาม
ประโยค ภาษาล้านนา
รปู แบบการเขียนตัวอกั ษรไทย

ป.5 1. คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็ม  การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็ม

บรรทัด และครง่ึ บรรทดั บรรทัดและ คร่ึง

บรรทัดตามรปู แบบการเขียน

ตัวอักษรไทย

ป.6 1. คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็  การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็ม • อา่ น เขียน สระ พยัญชนะ
บรรทดั และคร่งึ บรรทัด บรรทัดและ ครึ่ง
คา ประโยค บทความ
บรรทัดตามรปู แบบการเขียน ภาษาล้านนา
2. เขียนสือ่ สารโดยใชค้ าได้ ตัวอักษรไทย

ถูกต้องชดั เจน และ  การเขียนส่ือสาร เช่น

เหมาะสม - คาขวญั

- คาอวยพร

- ประกาศ

ม.1 1. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง  การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด บรรทัดตามรูปแบบการเขียน
ตัวอักษรไทย
2. เขียนสอ่ื สารโดยใช้  การเขยี นสื่อสาร เชน่

ถ้อยคาถกู ต้องชัดเจน - การเขียนแนะนาตนเอง

เหมาะสม และสละสลวย - การเขียนแนะนาสถานท่ี

สาคญั ๆ

- การเขียนบนสอื่

อิเล็กทรอนิกส์

๒๓

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ
ม.2 1. คดั ลายมือตัวบรรจงครึ่ง  การคัดลายมือตวั บรรจงครึ่ง
• อ่าน เขยี น
บรรทัด บรรทัดตามรปู แบบการเขยี น บทรอ้ ยกรอง ภาษาลา้ นนา
2. เขยี นบรรยายและ ตวั อกั ษรไทย
 การเขยี นบรรยายและ
พรรณนา พรรณนา

ม.3 1. คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึง  การคดั ลายมอื ตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด บรรทัดตามรปู แบบการเขียน
ตัวอักษรไทย
2. เขยี นขอ้ ความโดยใช้
ถ้อยคาได้ถกู ต้องตาม  การเขียนข้อความตาม
ระดบั ภาษา สถานการณ์และโอกาสต่างๆ
เชน่
สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย - คาอวยพรในโอกาสต่างๆ
- คาขวัญ- คาคม- โฆษณา
- คตพิ จน์- สุนทรพจน์

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถนิ่

ป.3 6. เลือกใชภ้ าษาไทย  ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาลา้ นนา
• ภาษาถิน่
มาตรฐานและ ภาษาถิน่  ภาษาถน่ิ

ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ

ป.4 7. เปรียบเทียบภาษาไทย  ภาษาไทยมาตรฐาน

มาตรฐานกบั ภาษาถิ่นได้  ภาษาถ่ิน

ป.5 3. เปรยี บเทียบภาษาไทย  ภาษาไทยมาตรฐาน

มาตรฐานกบั ภาษาถนิ่  ภาษาถ่ิน

๒๔

สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณคา่
และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง

ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ

ป.2 2. ร้องบทรอ้ งเล่นสาหรับ  บทร้องเล่นทีม่ ีคุณค่า

เดก็ ในท้องถ่ิน - บทรอ้ งเล่นในท้องถ่นิ

- บทรอ้ งเลน่ ในการละเล่น

ของเด็กไทย • บทรอ้ งเลน่ ในทอ้ งถิน่

ป.3 2. ร้จู กั เพลงพน้ื บา้ นและ  วรรณคดี วรรณกรรม และ • เพลงพื้นบา้ น
เพลงกล่อมเด็ก เพื่อ เพลงพน้ื บา้ น • เพลงกล่อมเด็กพ้ืนบ้าน

ปลกู ฝังความชื่นชม - นิทานหรือเร่ืองในท้องถ่ิน

วัฒนธรรมท้องถ่ิน - เรอ่ื งสั้นง่ายๆ ปรศิ นาคา

ทาย

- บทร้อยกรอง

- เพลงพื้นบา้ น

- เพลงกล่อมเดก็

- วรรณกรรมและวรรณคดีใน

บทเรียนและ ตามความ

ป.4 3. ร้องเพลงพ้นื บ้าน สนใจ
 เพลงพื้นบ้าน

ป.6 2. เล่านิทานพน้ื บา้ น  วรรณคดีและวรรณกรรม

ท้องถิน่ ตนเอง และ เช่น • เพลงพ้ืนบา้ น

นทิ านพื้นบ้านของ - นิทานพ้ืนบา้ นท้องถ่ิน • เพลงท้องถนิ่
• นทิ านพืน้ บา้ น
ท้องถนิ่ อน่ื ตนเองและท้องถนิ่ อนื่

3. อธบิ ายคุณคา่ ของ - นทิ านคติธรรม

วรรณคดี และ - เพลงพน้ื บา้ น

วรรณกรรมท่ีอ่านและ - วรรณคดีและวรรณกรรมใน

นาไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ บทเรียนและตามความ

จริง สนใจ

ม.2 2. วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์  การวเิ คราะห์คุณคา่ และ

วรรณคดีวรรณกรรม ข้อคิดจากวรรณคดี

และวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ที่ วรรณกรรม และวรรณกรรม

อา่ น พร้อมยกเหตผุ ล ท้องถิน่

๒๕

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่น
ประกอบ

ม.3 1. สรปุ เน้ือหาวรรณคดี  วรรณคดี วรรณกรรม และ • วรรณกรรมท้องถน่ิ
วรรณกรรมและ วรรณกรรมท้องถ่ินเก่ยี วกบั
วรรณกรรมท้องถิ่นใน
ระดับทย่ี ากย่ิงขึ้น - ศาสนา
- ประเพณี
ม.4- 5. รวบรวมวรรณกรรม - พิธกี รรม
6 พื้นบา้ นและอธิบายภมู ิ
- สุภาษติ คาสอน
ปญั ญาทางภาษา - เหตุการณใ์ นประวตั ศิ าสตร์
- บนั เทงิ คดี
 วรรณกรรมพืน้ บา้ นทีแ่ สดง
ถงึ
- ภาษากบั วฒั นธรรม

- ภาษาถิ่น

สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

สาระที่ 2 ชีวิตกบั สิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 2. 1 เข้าใจส่งิ แวดล้อมในท้องถน่ิ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ แวดล้อมกบั สิ่งมชี ีวติ
ความสัมพันธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้
และจติ วทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสิง่ ทเ่ี รยี นรแู้ ละนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ

ป. 6 3. สบื ค้นขอ้ มูลและ • สิ่งมชี วี ติ ท่อี าศัยอยู่ในแต่ละ • ความสัมพันธร์ ะหว่าง
อธบิ ายความสมั พนั ธ์ แหล่งท่ีอย่จู ะมี โครงสรา้ ง ส่ิงมชี วี ิตในทอ้ งถิน่ กบั
ระหวา่ ง การดารงชวี ติ ทีเ่ หมาะสมต่อการดารงชีวติ สภาพแวดลอ้ ม
ของสิ่งมชี ีวติ กบั สภาพ ในแหล่งทอี่ ยนู่ ัน้ และ
แวดล้อมในท้องถ่นิ สามารถปรบั ตัวให้เข้ากบั
สภาพแวดล้อมเพือ่ หาอาหาร
และมชี วี ติ อยรู่ อด

๒๖

สาระท่ี 2 ชีวิตกบั สิง่ แวดล้อม

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ การใชท้ รัพยากรธรรมชาติในระดบั ท้องถน่ิ
ประเทศ และโลกนาความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม
ในท้องถ่นิ อย่างย่งั ยืน

ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ

ป. 3 1. สารวจ • ดนิ หิน นา้ อากาศ ปา่ ไม้ • ดิน หิน นา้ อากาศ ปา่ ไม้

ทรพั ยากรธรรมชาติ สตั วป์ ่าและแรจ่ ดั เปน็ สตั ว์ป่าและแร่ในท้องถิ่น

และอภิปรายการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติทม่ี ี

ทรพั ยากร ความสาคัญ • ดนิ หนิ นา้ อากาศ ปา่ ไม้
ธรรมชาติในท้องถ่ิน สัตว์ป่าและแรใ่ นท้องถ่ิน
2. ระบกุ ารใช้ • มนษุ ยใ์ ช้
ทรพั ยากรธรรมชาติใน • ดิน หิน น้า อากาศ ป่าไม้
ทรพั ยากรธรรมชาติ ทอ้ งถิ่นเพื่อ ประโยชน์ต่อ สัตวป์ า่ และแร่ ในท้องถน่ิ
ท่ีกอ่ ให้เกิดปัญหา การดารงชีวิต
สิง่ แวดลอ้ ม ใน
ทอ้ งถน่ิ • มนุษยน์ า
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้
3. อภปิ รายและ อยา่ งมากมายจึงสง่ ผล
นาเสนอการใช้ กระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อม ใน
ทรพั ยากรธรรมชาติ ทอ้ งถ่ิน
อยา่ งประหยัด มนุษย์ต้องช่วยกนั ดแู ล
คุ้มค่า และมสี ่วน และรู้จักใช้
ร่วมในการปฏิบตั ิ ทรัพยากรธรรมชาติอยา่ ง

ประหยดั และคุ้มคา่

เพ่ือให้มีการใช้ได้นาน

และยัง่ ยนื

ป. 6 1. สบื คน้ ขอ้ มูลและ • ทรพั ยากรธรรมชาตติ ่าง ๆ • ดนิ หิน น้า อากาศ ปา่ ไม้
อภิปรายแหลง่
ในแตล่ ะท้องถน่ิ มี สตั ว์ป่าและแรใ่ นท้องถ่ิน
ทรัพยากรธรรมชาติ ประโยชน์ตอ่ การดารงชวี ติ เชน่ ดอยอินทนนท์
ในแตล่ ะท้องถน่ิ ท่ี
เปน็ ประโยชน์ตอ่ ของสิง่ มชี ีวิต พนื้ ทปี่ ่าแม่วาง
การดารงชวี ิต ดอยสเุ ทพ แม่น้าปงิ
5. มีส่วนรว่ มในการ • รว่ มจดั ทาโครงการ แมน่ า้ วาง นา้ แมต่ าช้าง
ดแู ลรกั ษา เฝา้ ระวังรักษาคณุ ภาพ น้าแม่สะลาบ
สง่ิ แวดล้อมใน ของสิ่งแวดล้อมในท้องถน่ิ หนองสะเรียม ฯลฯ
อยา่ งยงั่ ยนื

ทอ้ งถน่ิ

๒๗

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่ิน

ม. 3 1. วิเคราะหส์ ภาพปัญหา • สภาพปัญหาสิง่ แวดล้อมและ • ดิน หิน นา้ อากาศ ปา่ ไม้
สิง่ แวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาตใิ นท้องถนิ่ สัตวป์ า่ และแร่ในท้องถิ่น
ทรัพยากรธรรมชาติ เกดิ จากการกระทาของธรรมชาติ เชน่ ดอยอนิ ทนนท์
ในท้องถ่ิน และ
และ มนุษย์ พน้ื ที่ปา่ แมว่ าง
เสนอแนวทางในการ
แกไ้ ขปญั หา • ปัญหาสง่ิ แวดล้อมและ ดอยสเุ ทพ แม่นา้ ปิง
6. อภปิ รายและมสี ่วน ทรพั ยากรธรรมชาติที่ แมน่ ้าวาง น้าแมต่ าช้าง
รว่ มในการดแู ลและ เกดิ ข้ึน ควรมแี นวทางใน นา้ แม่สะลาบ
อนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อม การดูแลรกั ษาและป้องกัน หนองสะเรียม ฯลฯ
ในท้องถิน่ อย่าง
ยั่งยนื • การดแู ลและอนุรกั ษ์
สิ่งแวดล้อมในท้องถน่ิ ให้
ยั่งยืน ควรไดร้ ับความ

ร่วมมือจากทกุ ฝ่ายและ

ต้องเปน็ ความรับผิดชอบ

ของทกุ คน

ม.4-6 1. วเิ คราะห์สภาพ • ความสัมพันธ์ซง่ึ กันและกนั • ความสัมพนั ธ์ซ่ึงกันและกนั
ปญั หา สาเหตุของ ระหวา่ งสง่ิ มีชวี ติ กับ
ปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม ระหวา่ งสิ่งมชี ีวติ กบั

และ สงิ่ แวดล้อมหรือระหว่าง ส่ิงแวดล้อมหรอื ระหว่าง

ส่งิ มีชวี ติ กบั ส่งิ มชี วี ิต ส่งิ มีชีวิตกบั สิ่งมชี วี ติ
ทรพั ยากรธรรมชาติ ดว้ ยกันมีความสมั พันธ์กัน
ในระดบั ทอ้ งถิน่ หลายระดับ ต้ังแตร่ ะดบั ดว้ ยกันมีความสมั พนั ธ์กนั

ระดับประเทศ และ ทอ้ งถ่นิ ระดบั ประเทศ หลายระดับ ตัง้ แต่ระดับ

ระดับโลก ท้องถน่ิ ระดบั ประเทศ

และระดับโลก และระดับโลก

• การเพมิ่ ขึน้ ของประชากร

มนุษยส์ ่งผลให้มีการใช้

ทรัพยากรธรรมชาตเิ พิม่ ขน้ึ

ทาใหท้ รัพยากรธรรมชาติ

ลดจานวนลง และเกิด

ปญั หามลพษิ ทางด้าน ตา่ ง

ๆ ตามมา

• ปญั หามลพษิ ท่เี กิดขนึ้ มี • ปญั หามลพิษในท้องถ่ิน

ด้วยกนั หลายสาเหตุ บาง

ปัญหามผี ลกระทบเกิดขึ้นใน

ระดบั ท้องถน่ิ บางปัญหาส่ง

๒๘

ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถนิ่

ผลกระทบระดับประเทศ
และบางปญั หามีความ
รนุ แรงจนเปน็ ปญั หาระดบั
โลก

สาระท่ี 6 กระบวนการเปลย่ี นแปลงของโลก

มาตรฐาน ว 6. 1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ บนผวิ โลกและภายในโลก ความสมั พันธข์ อง
กระบวนการต่าง ๆ ท่มี ีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ ภมู ิประเทศ และสณั ฐาน
ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสิง่ ท่เี รยี นร้แู ละ
นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถน่ิ

ป.3 1. สารวจและอธิบาย • น้าพบไดท้ ้งั ท่เี ปน็ ของเหลว • คณุ ภาพของน้าพจิ ารณา
สมบตั ทิ างกายภาพ
ของแข็งและแกส๊ นา้ จาก สี กลิ่น
ของน้าจากแหลง่ น้า
ละลายสารบางอย่างได้ ความโปร่งใสของนา้ ใน
ในท้องถน่ิ และนา
นา้ เปล่ยี นแปลงรูปร่างตาม ท้องถ่นิ เช่น ลาเหมอื ง
ความรไู้ ปใช้
ภาชนะท่ีบรรจุ และรักษา พญาคา แม่นา้ วาง
ประโยชน์
ระดบั ในแนวราบ นา้ ชลประทาน แมน่ ้าปิง

• คุณภาพของน้าพจิ ารณา ฯลฯ

จาก สี กล่ิน ความ

โปรง่ ใสของน้า

• น้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติทีม่ ี

ความจาเป็นต่อชีวิต ทง้ั ในการ

บรโิ ภค อุปโภค จึงต้องใช้อย่าง

ประหยัด

ป.4 2. ระบชุ นิดและสมบตั ิ • ดนิ มีสว่ นประกอบของเศษ • สมบตั ิของดนิ ในท้องถิ่น
ของดนิ ทีใ่ ช้ปลกู พืช หนิ อินทรียวัตถุ นา้ และ
ในท้องถน่ิ
อากาศในสัดสว่ นทแี่ ตกต่าง

กันทาใหเ้ กดิ ดินหลายชนิด

พืชแตล่ ะชนิดเจริญเติบโต

ไดด้ ใี นดินท่ีแตกตา่ งกนั

ดงั นัน้ การปลกู พืชจงึ ควร

เลือกใชด้ นิ ให้เหมาะสม

ป.6 3. สบื คน้ และอธิบาย • มนษุ ย์ควรเรียนรู้และ • ธรณพี ิบัติภยั ที่อาจเกิดขนึ้
ธรณีพบิ ตั ิภยั ทีม่ ผี ล
ปฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภัยจาก ในท้องถ่นิ ได้แก่ นา้ ปา่ ไหล
ต่อมนุษย์และ
ธรณีพบิ ตั ภิ ัยทอี่ าจเกดิ ขน้ึ หลาก น้าท่วม แผน่ ดนิ

๒๙

ชัน้ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ

สภาพแวดลอ้ มใน ในทอ้ งถน่ิ ได้แก่ น้าป่าไหล ถลม่ แผน่ ดินไหว

ท้องถ่นิ หลาก นา้ ท่วม แผน่ ดิน

ถล่ม แผ่นดนิ ไหว สึนามิ

และอ่นื ๆ

ม.2 7.สารวจและอธบิ าย • แหล่งน้าบนโลก มที งั้ น้าจดื • แหล่งนา้ ในท้องถิ่น เช่น
ลกั ษณะแหล่งน้า
นา้ เค็ม โดย ลาเหมอื งพญาคา
ธรรมชาติ การใช้
แหล่งนา้ จืดมอี ยู่ท้งั บนดิน แมน่ ้าวาง นา้ ชลประทาน
ประโยชน์และการอนรุ กั ษ์ ใต้ดนิ และใน
แหล่งนา้ ในท้องถนิ่ แม่น้าปงิ ฯลฯ

บรรยากาศ

• การใช้ประโยชน์ของแหล่ง

น้า ต้องมีการวางแผนการ

ใช้ การอนรุ ักษ์ การ

ปอ้ งกัน การแกไ้ ข และ

ผลกระทบ ดว้ ยวธิ ีการที่

เหมาะสม

สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา

สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนกั และปฏิบตั ิตนเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี และธารงรกั ษาพระพุทธศาสนา
หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถือ

ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถนิ่

ป.3 2. เห็นคุณค่า และปฏิบตั ิ • การอาราธนาศลี • การใสข่ นั ดอก
ตนในศาสนพิธีพิธีกรรม • การสมาทานศลี
และวันสาคญั ทางศาสนา สูมาคุณ 5 โกฐาก
ตามทก่ี าหนดได้ถกู ต้อง • เครอ่ื งประกอบโต๊ะหมู่ โยงขา้ วบาตร
บชู า การจดั โตะ๊ หม่บู ูชา

ป.4 3. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี • การอาราธนาศลี • การอารธนาธรรม

พิธกี รรมและวันสาคัญ • การอาราธนาธรรม แบบล้านนา

ทางศาสนา ตามที่กาหนด • การอาราธนาพระปรติ ร การอฐิษฐาน
การกรวดน้า
ได้ถูกต้อง • ระเบยี บพธิ แี ละการ การแผ่เมตตาเมือง
การวันตาน้อย
ปฏบิ ตั ิตนในวัน

ธรรมสวนะ

ป.5 2. ปฏบิ ัติตนในศาสนพิธี • การมสี ว่ นร่วมในการ • พิธกี ารทาบุญ งานมงคล
พธิ กี รรม และวนั สาคัญ เช่น ทาบุญบ้านใหม่
จัดเตรียมสถานท่ี
ทางศาสนา ตามทก่ี าหนด ประกอบศาสนพิธี
แต่งงาน ฯลฯ

๓๐

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ

และอภปิ รายประโยชน์ที่ พิธีกรรมทางศาสนา

ได้รบั จากการเขา้ ร่วม • พิธถี วายสงั ฆทาน
กิจกรรม เครอ่ื งสังฆทาน

• ระเบียบพิธีในการทาบุญ

งานมงคล

• ประโยชนข์ อง การเขา้

รว่ มศาสนพธิ ี พิธีกรรม

ทางศาสนา หรือกิจกรรม

ในวนั สาคัญทางศาสนา

ป.6 3. อธิบายประโยชน์ของ • ทบทวนการอาราธนาศีล • การอารธนาธรรมแบบ

การเข้าร่วมใน ศาสนพิธี อาราธนาธรรม และ ล้านนา
อาราธนาพระปริตร การอฐิษฐาน
พิธกี รรม และกจิ กรรมใน พิธีทอดผา้ ปา่ การกรวดน้า
พิธีทอดกฐิน การแผ่เมตตาเมอื ง
วันสาคญั ทางศาสนา • ระเบยี บพิธีในการทาบุญ การวันตาน้อย
งานอวมงคล
ตามทกี่ าหนด และปฏิบัติ • การปฏิบัติตนท่ถี ูกต้อง • พธิ กี ารทาบุญ งานมงคล
เชน่ ทาบญุ บ้านใหม่
ตนไดถ้ ูกต้อง • แตง่ งาน ฯลฯ



ในศาสนพิธีพธิ ีกรรม

และวนั สาคัญทางศาสนา

เชน่ วันมาฆบชู า วนั วิ

สาขบชู า วันอัฐมีบูชา วัน

อาสาฬหบชู า วันธรรม

สวนะ

• ประโยชนข์ องการเขา้

ร่วมในศาสนพิธี/

พิธีกรรม และวันสาคัญ

ทางศาสนา

ม.5- 2. ปฏิบัตติ นถูกตอ้ ง • ประเภทของศาสนพธิ ีใน • พิธีการทาบุญ งานมงคล
6 ตามศาสนพิธพี ิธกี รรม พระพุทธศาสนา เช่น ทาบญุ บา้ นใหม่
แตง่ งาน ฯลฯ
ตามหลักศาสนาทีต่ น • ศาสนพิธีเน่ืองด้วยพทุ ธ
นับถอื บญั ญตั ิ เช่น พิธแี สดง

ตนเป็นพุทธมามกะ พิธี

เวียนเทยี น ถวาย

ช้ัน ตวั ช้วี ัด ๓๑

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
สังฆทาน ถวายผ้าอาบ
นา้ ฝน พธิ ีทอดกฐนิ พิธี
ปวารณา เป็นตน้

• ศาสนพธิ ที นี่ า
พระพทุ ธศาสนา เขา้ ไป
เกยี่ วเน่อื ง เช่น การ
ทาบุญเล้ียงพระใน
โอกาสต่างๆ

• ความหมาย ความสาคัญ
คตธิ รรม ในพิธกี รรม
บทสวดมนต์ของนกั เรียน
งานพิธี คณุ คา่ และ
ประโยชน์

• พธิ บี รรพชาอุปสมบท
คุณสมบัติของผู้ขอ
บรรพชาอุปสมบท
เครอ่ื งอฏั ฐบริขาร
ประโยชนข์ องการ
บรรพชาอุปสมบท

• บุญพิธี ทานพิธี กุศลพิธี
• คณุ คา่ และประโยชน์

ของศาสนพธิ ี

สาระที่ 2 หนา้ ท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ในสังคม

มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏิบัตติ นตามหนา้ ทีข่ องการเป็นพลเมืองดี มคี ่านยิ มทีด่ ีงามและธารง
รกั ษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชีวติ อยู่รว่ มกันในสงั คมไทยและสังคมโลกอย่าง
สันตสิ ุข

๓๒

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน

ป.3 1. สรปุ ประโยชนแ์ ละ • ประเพณแี ละวัฒนธรรม • ประเพณี 12 เดอื น เช่น

ปฏบิ ตั ิตนตามประเพณี ในครอบครวั เดอื นย่ี เดอื นสี่เป็ง

และวฒั นธรรมใน เชน่ การแสดงความ ปีใหม่เมือง

ครอบครวั และท้องถ่นิ เคารพและการเช่ือฟัง

ผู้ใหญ่ การกระทา

กิจกรรมรว่ มกัน ใน

ครอบครัว

• ประเพณีและวัฒนธรรม

ในทอ้ งถ่นิ เช่น การเข้า

ร่วมประเพณที างศาสนา

ประเพณเี กี่ยวกับการ

ดาเนินชีวติ

ประโยชนข์ องการปฏบิ ตั ิ

ตนตามประเพณีและ

วฒั นธรรมในครอบครวั

และท้องถ่ิน

4. ยกตวั อยา่ งบุคคลซึ่งมี • บคุ คลท่มี ผี ลงานเปน็ • บุคคลดเี ด่นในหมู่บา้ น เชน่
ผลงานทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ก่ ประโยชน์แกช่ มุ ชนและ พอ่ ดเี ด่น แมด่ เี ดน่
ชมุ ชนและท้องถิ่นของตน ท้องถน่ิ ของตน ผใู้ หญบ่ า้ น ผู้สงู อายุดีเด่น

• ลักษณะผลงานทเี่ ปน็ ฯลฯ

ประโยชนแ์ ก่ชมุ ชนและ

ทอ้ งถน่ิ

ป.4 4. อธิบายความแตกตา่ ง • วฒั นธรรมในภาคตา่ งๆ • ความแตกต่างของคนใน
ทางวัฒนธรรมของกลุ่ม ทอ้ งถนิ่ ในดา้ นวัฒนธรรม
ของไทย ทีแ่ ตกต่างกนั การแตง่ กาย ภาษา อาหาร
คนในท้องถิน่
เชน่ การแต่งกาย

ภาษา อาหาร เช่น ลัวะ ชาวเขา คนเมือง

ป.5 4. มสี ่วนรว่ มในการ • ความสาคัญของภมู ิ • ภมู ิปัญญาท้องถิ่นในชมุ ชน
อนุรกั ษ์และเผยแพรภ่ ูมิ ของตน เชน่ การบวชต้นไม้
ปัญญาท้องถิน่ การใชส้ มุนไพรรักษาโรค
ปัญญาท้องถิ่นของชมุ ชน • ตวั อย่างภมู ปิ ัญญาท้อง ฯลฯ

ถนิ่ ในชุมชนของตน

• การอนรุ ักษ์และเผยแพร่

ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ของ

ชมุ ชน

๓๓

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลติ และการบรโิ ภค การใช้
ทรัพยากร ท่มี อี ยจู่ ากดั ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและคุ้มค่า รวมท้งั เข้าใจหลกั การของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อการดารงชวี ิตอย่างมีดลุ ยภาพ

ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น

ม.2 3. เสนอแนวทางการ • หลกั การและเป้าหมาย • สินคา้ ที่เป็น

พัฒนาการผลิตในทอ้ งถิ่น ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ศลิ ปหัตถกรรม,

ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผลติ ภัณฑใ์ นท้องถ่นิ เชน่

พอเพยี ง • สารวจและวิเคราะห์ ไม้แกะสลกั ฯลฯ

ปญั หาการผลติ สินค้าและ

บริการในท้องถิน่

• ประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งในการ

ผลิตสินค้าและบรกิ ารใน

ทอ้ งถิ่น

ม.3 2. มสี ว่ นรว่ มในการแก้ไข • สารวจสภาพปจั จุบนั ปญั หา • วิเคราะห์ปัญหาในท้องถน่ิ

ปัญหาและพฒั นาท้องถน่ิ ทอ้ งถน่ิ ทง้ั ทางด้านสังคม ทางด้านสังคม เศรษฐกจิ

ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม และสิง่ แวดล้อมโดยใช้

พอเพยี ง • วิเคราะห์ปญั หาของทอ้ งถิน่ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ

โดยใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง

พอเพยี ง

• แนวทางการแกไ้ ขและ

พฒั นาท้องถน่ิ ตามปรชั ญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง

ม.4–6 3. ตระหนักถึงความสาคัญ • วิวัฒนาการของสหกรณ์ใน • ระบบสหกรณใ์ นหม่บู า้ น

ของระบบสหกรณ์ในการ ประเทศไทย ในท้องถน่ิ เชน่ กองทุน

พฒั นาเศรษฐกจิ ในระดบั • ความหมายความสาคญั และ หมู่บา้ น สหกรณ์ร้านค้า

ชมุ ชนและประเทศ หลักการของระบบสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร

• ตัวอย่างและประเภทของ

สหกรณ์ในประเทศไทย

• ความสาคัญของระบบ

สหกรณ์ในการพัฒนา

เศรษฐกิจในชุมชนและ

ประเทศ

๓๔

ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น

4. วิเคราะห์ปญั หาทาง • ปัญหาทางเศรษฐกิจใน • ปัญหาเศรษฐกจิ ในหมูบ่ า้ น

เศรษฐกิจ ใน ชมุ ชน และชุมชน เชน่ รายได้

ชมุ ชนและเสนอแนว • แนวทางการพฒั นา รายจา่ ย การรวมกลุม่

ทางแก้ไข เศรษฐกิจของชุมชน ต่าง ๆ

• ตัวอย่างของการรวมกล่มุ ท่ี

ประสบความสาเรจ็ ในการ

แก้ปัญหาทางเศรษฐกิจของ

ชุมชน

สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้
วธิ ีการทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน

ป.5 1. สืบคน้ ความเป็นมาของ • วิธีการสืบค้นความเป็นมา • ความเป็นมาของ
ท้องถน่ิ โดยใช้หลักฐานที่
ของท้องถ่นิ หมู่บ้าน ชุมชน
หลากหลาย
• หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ เมอื งโบราณ เช่น

ที่มอี ยู่ในทอ้ งถ่ินท่ีเกดิ ข้ึน เวียงกุมกาม

ตามชว่ งเวลาต่างๆ เช่น เวยี งท่ากาน

เครอ่ื งมือเครื่องใช้ อาวธุ เครื่องมอื เครื่องใช้

โบราณสถาน โบราณวตั ถุ อาวธุ โบราณสถาน

• การนาเสนอความเป็นมา โบราณวัตถุ ปับ๊ สา

ของทอ้ งถนิ่ โดยอา้ งอิง

หลกั ฐานที่หลากหลายดว้ ย

วธิ ีการตา่ ง ๆ เช่น การเล่า

เรื่องการเขยี นอย่างงา่ ย ๆ

การจัดนทิ รรศการ

ม.1 2. เทยี บศกั ราชตามระบบ • ท่ีมาของศักราชที่ปรากฏใน • การนับ วัน เดือน ปี
ต่างๆท่ีใช้ศึกษา
เอกสารประวตั ศิ าสตร์ไทย ทางล้านนา เช่น
ประวัติศาสตร์
ไดแ้ ก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ เก๋ยี ง ย่ี ฯลฯ

พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ. • ไจ้ เปา้ ยี เมา้ ฯลฯ

• วิธกี ารเทียบศกั ราชตา่ งๆ

และตวั อยา่ งการเทียบ

ตวั อย่างการใช้ศกั ราช

ต่าง ๆ ท่ีปรากฏในเอกสาร

ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย

๓๕

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ

ม.2 2. วิเคราะหค์ วามแตกต่าง • ตวั อย่างการวิเคราะห์ • เรอื่ งราว ความจรงิ
ระหว่างความจริงกับ
ขอ้ มลู จากเอกสาร ต่าง ๆ ระหวา่ งเรอ่ื งเลา่ อิง
ข้อเทจ็ จริงของเหตุการณ์
ทางประวตั ิศาสตร์ ในสมยั อยธุ ยา และธนบรุ ี ประวัติศาสตร์ กับ
เชอื่ มโยงกบั มฐ. ส 4.3 ) เหตุการณ์จริงทาง
เชน่ ขอ้ ความบางตอน ใน ประวตั ศิ าสตร์ เชน่
พระราชพงศาวดารอยุธยา การสรา้ ง และ
/ จดหมายเหตุชาวต่างชาติ การล่มสลายของ
เวียงกุมกาม ฯลฯ
• ตวั อยา่ งการตีความข้อมลู

จากหลักฐานท่แี สดง

เหตุการณ์สาคัญในสมัย

อยุธยาและธนบรุ ี

• การแยกแยะระหวา่ งข้อมลู

กบั ความคิดเหน็ รวมทัง้

ความจรงิ กบั ข้อเทจ็ จรงิ

จากหลกั ฐานทาง

ประวัติศาสตร์

• ความสาคญั ของการ

วิเคราะห์ข้อมลู และการ
ตีความทางประวตั ิศาสตร์

ม.3 1. วิเคราะห์เร่ืองราว • ขัน้ ตอนของวิธีการทาง • เร่ืองราว ความจรงิ

เหตุการณส์ าคัญทาง ประวัตศิ าสตรส์ าหรับ ระหวา่ งเรื่องเล่าอิง

ประวตั ิศาสตร์ได้อยา่ งมี การศกึ ษาเหตุการณท์ าง ประวัติศาสตร์ กบั

เหตุผลตามวธิ กี ารทาง ประวัตศิ าสตรท์ เี่ กิดขน้ึ ใน เหตุการณ์จริงทาง

ประวตั ิศาสตร์ ท้องถนิ่ ตนเอง ประวัตศิ าสตร์ เชน่

2. ใช้วธิ กี ารทาง • วิเคราะห์เหตุการณส์ าคัญ การสร้าง และการ

ประวัติศาสตรใ์ นการศึกษา ในสมัยรตั นโกสินทร์ โดยใช้ ล่มสลายของ

เร่ืองราวตา่ ง ๆ ทตี่ นสนใจ วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ เวยี งกุมกาม ฯลฯ

 นาวิธกี ารทาง

ประวตั ิศาสตร์มาใช้ใน

การศกึ ษาเรื่องราวท่ี

เกีย่ วขอ้ งกบั ตนเอง

ครอบครวั และทอ้ งถ่นิ

ของตน

๓๖

สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดตี จนถึงปัจจุบนั ในดา้ นความสมั พันธ์และ

การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเน่ือง ตระหนักถงึ ความสาคัญและสามารถ
วเิ คราะหผ์ ลกระทบท่เี กิดข้นึ

ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่นิ
ป.2 1. สืบคน้ ถงึ การเปลย่ี นแปลง
• วิธีการสืบคน้ ขอ้ มูล • ประวตั ิและวถิ ชี ีวิตของคน
ในวิถชี วี ติ ประจาวนั ของคนใน
ชมุ ชน ของตนจากอดีตถึง อยา่ งงา่ ย ๆ เช่น ในชมุ ชน จาดอดตี ถงึ
ปจั จุบัน
การสอบถามพ่อแม่ ผรู้ ู้ ปจั จบุ นั
2. อธิบายผลกระทบของการ
เปล่ยี นแปลง ที่มตี ่อวถิ ชี ีวิตของ • วิถีชวี ติ ของคนในชุมชน
คนในชุมชน
เชน่ การประกอบ

อาชีพ การแตง่ กาย

การสอื่ สาร ประเพณีใน

ชุมชนจากอดตี ถึง

ปจั จุบนั

• สาเหตขุ องการ

เปลี่ยนแปลงวถิ ชี ีวิต

ของคนในชมุ ชน

• การเปลย่ี นแปลงของ

วถิ ีชีวติ ของคนในชุมชน

ทางด้านต่าง ๆ

• ผลกระทบของการ

เปลย่ี นแปลงที่มตี ่อ

วถิ ีชีวติ ของคนในชมุ ชน

๓๗

ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่ิน

ป.3 2. สรุปลักษณะท่ีสาคัญของ • ขนบธรรมเนียม ประเพณี • ขนบธรรมเนยี มประเพณี
ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
และวฒั นธรรมชุมชนของ และวฒั นธรรมของชุมชน
วฒั นธรรมของชมุ ชน
3. เปรียบเทยี บความเหมอื น ตนทีเ่ กิดจากปัจจัยทาง และท้องถิน่ เชน่ การฟอ้ น
ภมู ศิ าสตร์และปัจจัยทาง ผมี ด งานปอยหลวง
และความต่างทางวฒั นธรรม
สังคม ปีใ๋ หมเ่ มือง ปใี๋ หม่ชาวเขา
ของชุมชนตนเองกับชมุ ชนอน่ื ๆ • ขนบธรรมเนยี มประเพณี

และวัฒนธรรมของชุมชน

อ่ืน ๆ ท่ีมคี วามเหมือนและ

ความตา่ งกับชมุ ชนของ

ตนเอง

พฒั นาการของมนษุ ยย์ ุค

กอ่ นประวัตศิ าสตร์และยุค

ประวัตศิ าสตร์ ใน

ดนิ แดนไทย โดยสังเขป

ป. 4 2. ยกตวั อย่างหลักฐานทาง • หลักฐานการตัง้ หลกั แหล่ง • หลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ี่
ประวัติศาสตรท์ ี่พบในท้องถน่ิ ที่ ของมนุษย์ ยุคก่อน พบในท้องถน่ิ เช่น
แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติ ประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดน เวียงกุมกาม เวียงท่ากาน
ในดินแดนไทย ไทยโดยสังเขป อนุสรณ์สถานทหารญ่ีปนุ่
ฯลฯ
• หลกั ฐานทาง
ประวตั ิศาสตรท์ ี่พบใน
ท้องถ่ินที่แสดงพฒั นาการ
ของมนุษยชาตใิ นดินแดน
ไทยโดยสงั เขป

สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาไทย มคี วามรกั ความภูมิใจและ
ธารงความเปน็ ไทย

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่

ป.2 1. ระบบุ ุคคลทที่ าประโยชน์ต่อ • บคุ คลในท้องถ่ินที่ทา • บคุ คลในท้องถิ่น เช่น

ท้องถ่นิ หรือประเทศชาติ คุณประโยชน์ต่อการ พระ ผใู้ หญบ่ ้าน กานนั

สร้างสรรคว์ ัฒนธรรม ปราชญช์ าวบ้าน

และความมน่ั คงของ

ท้องถ่นิ และ

ประเทศชาติในอดีตที่

๓๘

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่

ควรนาเปน็ แบบอย่าง

• ผลงานของบุคคลใน

ท้องถิ่นทนี่ า่ ภาคภมู ิใจ

ป.3 3. เล่าวรี กรรมของบรรพบุรุษ • วีรกรรมของบรรพ • วรี กรรมของบรรพบรุ ุษใน

ไทยท่ีมีส่วนปกป้องประเทศชาติ บรุ ุษไทยที่มสี ว่ น ชมุ ชน ในทอ้ งถน่ิ เชน่

ปกปอ้ งประเทศชาติ ผูก้ ่อต้ังหมู่บ้าน

เช่น ท้าวเทพสตรี ทา้ ว ครูบาศรวี ชิ ยั

ศรีสุนทร ชาวบ้าน พระเจา้ ติโลกราช

บางระจัน พระเจ้าเม็งราย

พระยาพิชัยดาบหกั พระเจา้ กาวลิ ะ

สมเดจ็ พระนเรศวร

มหาราช สมเด็จพระ

เจ้าตากสนิ มหาราช

๓๙

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน

ป.5 4. อธิบายภูมิปญั ญาไทยท่ี • ผลงานของบุคคลสาคญั • วรี กรรมของบรรพบุรุษใน

สาคญั สมยั อยุธยาและธนบรุ ี ในสมยั อยุธยา เชน่ ชมุ ชน ในท้องถนิ่ เช่น ผู้
ที่นา่ ภาคภูมิใจและควรค่าแก่
สมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ก่อตั้งหมูบ่ า้ น ครบู าศรี
การอนุรักษไ์ ว้
๑ สมเดจ็ พระบรมไตร วชิ ยั พระเจ้าติโลกราช

โลกนาถ สมเด็จพระ พระเจ้าเม็งราย พระเจ้า

นเรศวรมหาราช สมเดจ็ กาวิละ

พระนารายณม์ หาราช • ขนบธรรมเนียมประเพณี
ชาวบา้ นบางระจัน
และวัฒนธรรมของชุมชน
เปน็ ตน้ และท้องถิ่น เช่น การฟอ้ น

• ภมู ปิ ัญญาไทยสมัย ผีมด งานปอยหลวง ป๋ี

อยธุ ยาโดยสังเขป ใหมเ่ มือง ปี๋ใหม่ชาวเขา

เชน่ ศิลปกรรม การคา้ • หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์
วรรณกรรม
ท่พี บในท้องถิ่น เชน่

• การกอบกเู้ อกราชและ เวียงกุมกาม เวียงทา่ กาน

การสถาปนา อนุสรณ์สถานทหารญีป่ นุ่

อาณาจักรธนบรุ ี ฯลฯ

โดยสงั เขป

• พระราชประวัติ และ

ผลงานของ พระ

เจ้าตากสนิ มหาราช

โดยสงั เขป

• ภมู ิปัญญาไทยสมยั

ธนบุรโี ดยสงั เขป เช่น

ศลิ ปกรรม การค้า

วรรณกรรม

ป.6 4. อธิบายภูมิปญั ญาไทยที่ • การสถาปนา
สาคญั สมัยรัตนโกสินทร์ทน่ี า่ อาณาจักร
ภาคภูมิใจ และควรคา่ แก่การ รัตนโกสินทร์
อนรุ กั ษ์ไว้ โดยสังเขป

• ปัจจัยที่ส่งเสรมิ ความ
เจริญร่งุ เรอื งทาง
เศรษฐกจิ และการ
ปกครองของไทย
ในสมัยรตั นโกสินทร์

• พัฒนาการของไทย

๔๐

ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ
สมัยรัตนโกสนิ ทร์
โดยสังเขป ตาม
ชว่ งเวลาต่างๆ เช่น
สมัยรตั นโกสนิ ทร์
ตอนต้น สมยั ปฏิรูป
ประเทศ และสมัย
ประชาธิปไตย

• ผลงานของบุคคล
สาคญั ทางดา้ นตา่ งๆ
ในสมัยรัตนโกสนิ ทร์
เช่น พระบาทสมเดจ็
พระพทุ ธยอดฟ้า-
จุฬาโลกมหาราช
สมเด็จพระบวรราช
เจ้ามหาสุรสิงหนาท
พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลา้
เจ้าอยูห่ ัว ฯลฯ

• ภูมิปญั ญาไทยสมัย
รัตนโกสนิ ทร์
เชน่ ศิลปกรรม
วรรณกรรม

๔๑

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน

ม.3 3.วเิ คราะห์ภูมิปัญญาและ • การสถาปนา • บรรพบรุ ุษในชมุ ชน ใน
วัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานครเปน็
และอิทธิพลต่อการพฒั นาชาติ ทอ้ งถ่ิน เช่น ผ้กู อ่ ต้งั

ราชธานีของไทย หม่บู ้าน ครูบาศรวี ิชยั
ไทย • ปจั จัยท่สี ่งผลตอ่ ความ พระเจ้าติโลกราช พระเจ้า
มัน่ คงและความเจรญิ เม็งราย พระเจ้า กาวลิ ะ

รงุ่ เรืองของไทยในสมยั • ขนบธรรมเนยี มประเพณี

รัตนโกสินทร์ และวัฒนธรรมของชุมชน

• บทบาทของ และท้องถิน่ เชน่ การฟ้อน
พระมหากษัตรยิ ์ไทย ผมี ด งานปอยหลวง ป๋ี
ในราชวงศจ์ กั รใี นการ ใหมเ่ มือง ป๋ีใหม่ชาวเขา

สรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ • หลักฐานทางประวัติศาสตร์

และความม่นั คงของ ท่พี บในท้องถนิ่ เช่น

ชาติ เวียงกมุ กาม เวยี งทา่ กาน

• พัฒนาการของไทยใน อนสุ รณ์สถานทหารญป่ี ุ่น
สมยั รัตนโกสินทร์ ฯลฯ

ทางด้านการเมอื ง การ

ปกครอง สังคม

เศรษฐกิจ และความ

สมั พันธร์ ะหว่าง

ประเทศ ตามช่วงสมยั

ตา่ งๆ

• เหตุการณ์สาคัญสมัย

รตั นโกสินทรท์ ม่ี ี

ผลต่อการพฒั นาชาติ

ไทย เชน่ การทา

สนธสิ ัญญาเบาว์รงิ ใน

สมยั รัชกาลท่ี ๔ การ

ปฏริ ูปประเทศในสมัย

รัชกาลที่ ๕ การเขา้

ร่วมสงครามโลกครัง้

โดยวิเคราะห์สาเหตุ

• เหตุการณต์ า่ ง ๆ

 ภูมปิ ญั ญาและ

วฒั นธรรมไทยในสมัย

รัตนโกสนิ ทร์
 บทบาทของไทยตงั้ แต่

เปล่ยี นแปลง

การปกครองจนถึง

ปัจจุบนั ในสงั คมโลก

ชนั้ ตัวช้ีวัด ๔๒

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
ปัจจัย และผลของท่ี ๑
และครัง้ ที่ ๒
โดยวเิ คราะห์สาเหตุ
ปจั จัย และผลของ
เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ

• ภูมิปญั ญาและ
วัฒนธรรมไทยในสมัย
รัตนโกสินทร์

• บทบาทของไทยตงั้ แต่
เปลยี่ นแปลง
การปกครองจนถึง
ปจั จุบนั ในสงั คมโลก

๔๓

ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่

ม.4- 3. วเิ คราะหป์ จั จยั ทสี่ ง่ เสริม • ประเดน็ สาคญั ของ • บรรพบุรุษในชมุ ชน ใน
6 ความสร้างสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาไทย ประวัติศาสตรไ์ ทย เชน่ ท้องถิ่น เชน่ ผ้กู ่อตัง้
และวัฒนธรรมไทย ซ่ึงมผี ลต่อ แนวคดิ เก่ยี วกบั ความ หม่บู ้าน ครบู าศรวี ชิ ยั
สังคมไทยในยคุ ปัจจุบนั พระเจ้าติโลกราช
เป็นมาของชาติไทย

อาณาจักรโบราณใน พระเจา้ เม็งราย

ดนิ แดนไทย และ พระเจา้ กาวิละ

อิทธพิ ลที่มีต่อสงั คมไทย • ขนบธรรมเนยี มประเพณี
ปัจจัยท่มี ผี ลตอ่ การ และวัฒนธรรมของชมุ ชน
สถาปนาอาณาจกั รไทย และท้องถ่ิน เชน่
ในช่วงเวลาตา่ งๆ การฟ้อนผีมด
สาเหตแุ ละผลของการ งานปอยหลวง
ปฏริ ปู ฯลฯ ปี๋ใหมเ่ มือง

• บทบาทของสถาบัน ปใ๋ี หม่ชาวเขา

พระมหากษัตรยิ ใ์ นการ • หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์
พฒั นาชาติไทยในด้าน ทพ่ี บในท้องถิน่ เชน่
ตา่ งๆ เชน่ การป้องกนั เวยี งกมุ กาม
และรักษาเอกราชของ เวยี งท่ากาน
ชาติ การสร้างสรรค์ อนสุ รณ์สถานทหารญป่ี ุ่น
วฒั นธรรมไทย ฯลฯ

• อทิ ธิพลของวฒั นธรรม

ตะวันตก และตะวันออก

ทีม่ ีต่อสังคมไทย

• ผลงานของบุคคลสาคญั

ท้ังชาวไทยและ

ต่างประเทศ ทม่ี สี ว่ น

สร้างสรรค์ วฒั นธรรม

ไทย และ

ประวตั ิศาสตรไ์ ทย

• ปัจจยั ท่ีส่งเสริมความ

สร้างสรรคภ์ มู ิปญั ญาไทย

และวฒั นธรรมไทย ซงึ่ มี

ผลต่อสงั คมไทยในยุค

ปัจจบุ นั

ชั้น ตัวชี้วัด ๔๔

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น

• สภาพแวดลอ้ มท่ีมีผล
ตอ่ การสรา้ งสรรค์ภมู ิ
ปญั ญาและวฒั นธรรม
ไทย

• วิถีชวี ติ ของคนไทยใน
สมยั ต่างๆ

• การสบื ทอดและ
เปลยี่ นแปลงของ
วฒั นธรรมไทย

• แนวทางการอนุรกั ษ์
ภมู ปิ ัญญาและ
วฒั นธรรมไทยและ
การมสี ว่ นรว่ มในการ
อนุรกั ษ์

• วธิ ีการมีสว่ นรว่ ม
อนุรักษภ์ มู ปิ ัญญาและ
วัฒนธรรมไทย

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์

มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งมนุษยก์ ับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อใหเ้ กิด
การสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรม มีจติ สานกึ และมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร
และส่งิ แวดล้อม เพือ่ การพัฒนาทย่ี ัง่ ยนื

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน

ป.2 4. มสี ว่ นรว่ มในการฟ้นื ฟู • การเปล่ยี นแปลงของ • สง่ิ แวดล้อมในโรงเรียน

ปรบั ปรงุ ส่งิ แวดล้อมในโรงเรียน ส่ิงแวดลอ้ ม ชมุ ชน เช่น การกาจัดขยะ
และชมุ ชน
• การรักษาและฟนื้ ฟู การรักษาแหลง่ นา้ ท่ี

สิง่ แวดล้อม สาธารณะ

ป.3 1. เปรยี บเทียบการเปลี่ยนแปลง • สภาพแวดลอ้ มในชมุ ชน • สภาพแวดล้อมในชุมชนใน
สภาพแวดล้อมในชมุ ชนจากอดตี ในอดีตและปจั จุบัน
ถึงปจั จุบัน อดีตและปัจจบุ ัน เช่น

• การเพ่ิมและสูญเสีย ป่าไม้ ภูเขา
5. ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง ส่งิ แวดลอ้ มทาใหช้ ุมชน
ของสงิ่ แวดล้อมในชมุ ชน • แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วธรรมชาติ
เปลย่ี นแปลง แม่นา้ วาง

๔๕

ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ

ป.4 1. อธบิ ายสภาพ แวดล้อมทาง • สภาพ แวดล้อมทาง • แม่น้าแมส่ ะลาบ
กายภาพของชุมชนที่สง่ ผลต่อ กายภาพของชุมชนที่
ลาเหมอื งพญา
การดาเนินชีวิตของคนในจงั หวัด ส่งผลตอ่ การดาเนนิ ชวี ติ ลาคลองชลประทาน

2. อธบิ ายการเปล่ียนแปลงสภาพ ของคนในจงั หวัด เชน่ • เสน้ ทางการคมนาคม
แวดล้อมในจงั หวัดและผลท่ีเกิด ลกั ษณะบา้ น อาหาร การเดนิ ทาง การจราจร
จากการเปล่ยี นแปลงน้ัน
• การเปลย่ี นแปลง • การกาจัดขยะ การลด
สภาพแวดลอ้ มใน มลพษิ
จังหวดั และผลท่ีเกดิ จาก

การเปลยี่ นแปลง เช่น

การต้งั ถิน่ ฐาน

การย้ายถนิ่

3. มีส่วนรว่ มในการอนุรักษ์ • การอนรุ ักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม
สิ่งแวดลอ้ มในจังหวัด
และทรัพยากรธรรมชาติ

ในจงั หวัด

ป.5 1. วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมทาง • สภาพแวดลอ้ มทาง
กายภาพที่มีอิทธพิ ลต่อลักษณะ กายภาพที่มอี ิทธิพลต่อ
การต้งั ถนิ่ ฐานและการย้ายถน่ิ ลกั ษณะการต้ังถิน่ ฐาน
ของประชากรในภูมภิ าค
และการย้ายถน่ิ ของ

ประชากรในภูมิภาค

2. อธบิ ายอทิ ธพิ ลของ • อทิ ธพิ ลของสง่ิ แวดล้อม • สภาพแวดล้อมในชมุ ชนใน
สิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาติท่ี ทางธรรมชาตทิ ่ี อดีตและปัจจบุ นั เช่น ปา่
กอ่ ให้เกิดวถิ ีชวี ิตและการ กอ่ ให้เกิดวถิ ชี ีวิตและ ไม้ ภเู ขา
สร้างสรรค์วฒั นธรรมในภูมภิ าค การสรา้ งสรรค์
วฒั นธรรมในภมู ภิ าค • แหลง่ ท่องเท่ียวธรรมชาติ
3. นาเสนอตวั อย่างทสี่ ะท้อนให้ แมน่ ้าวาง แม่น้าแม่
• ผลจากการรักษาและ สะลาบ ลาเหมอื งพญาคา
เห็นผลจากการรกั ษาและการ การทาลาย ลาคลองชลประทาน
สภาพแวดล้อม
ทาลายสภาพแวดลอ้ ม และ • เส้นทางการคมนาคม
• แนวทางการอนรุ ักษ์และ การเดินทาง การจราจร
เสนอแนวคดิ ในการ รักษาสภาพแวดล้อมใน
ภมู ภิ าค • การกาจดั ขยะ การลด
รกั ษาสภาพแวดล้อมในภูมภิ าค มลพษิ

ป.6 1. วิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ • สง่ิ แวดลอ้ มทาง
ระหวา่ งส่งิ แวดลอ้ มทาง ธรรมชาติ กับ
ธรรมชาติกับส่งิ แวดลอ้ มทาง สงิ่ แวดล้อมทางสังคมใน
สงั คมในประเทศ ประเทศ

• ความสัมพันธ์แล

ผลกระทบ

๔๖

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถิน่

2. อธบิ ายการแปลงสภาพ • ผลท่เี กดิ จากการ
ธรรมชาตใิ นประเทศไทยจาก
ปรบั เปล่ยี น หรอื
อดีตถึงปัจจบุ ัน และผลท่ีเกิดข้ึน ดดั แปลงสภาพ
จากการเปลย่ี นแปลงนั้น
ธรรมชาติในประเทศ

จากอดตี ถึงปจั จุบนั

และผลทเ่ี กดิ ขึ้น

(ประชากร เศรษฐกิจ

สงั คม อาชพี และ

วฒั นธรรม)

3. จดั ทาแผนการใชท้ รัพยากร • แนวทางการใช้ • สภาพแวดล้อมในชุมชนใน
ในชุมชน อดีตและปจั จุบนั เชน่
ทรพั ยากรของคนใน

ชุมชนให้ใช้ได้นานขนึ้ ป่าไม้ ภเู ขา

โดยมจี ติ สานึกรู้คุณค่า • แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วธรรมชาติ
ของทรพั ยากร
แมน่ า้ วาง แม่น้าแม่

• แผนอนุรักษ์ทรยั ากรใน สะลาบ ลาเหมอื งพญาคา

ชมุ ชน หรอื แผนอนุรกั ษ์ ลาคลองชลประทาน

• เสน้ ทางการคมนาคม

การเดินทาง การจราจร

• การกาจดั ขยะ การลด

มลพษิ

สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

สาระที่ ๓ การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเลน่ เกม กฬี าไทย และกีฬาสากล

มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
ป.๑ 1.เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเขา้ รว่ ม  กิจกรรมทางกายท่ีใช้ • การละเลน่ ท้องถิ่น เชน่

กิจกรรมทางกายทีใ่ ช้การ ในการเคล่อื นไหวตาม ไข่เตา่ ไม้โก๋งเก๋ง

เคลอ่ื นไหวตามธรรมชาติ ธรรมชาติ สกิ กะโล้ง มา้ กา้ นกลว้ ย

- การเล่นเกมเบด็ เตล็ด ฯลฯ

ป. ๒ ๑. เล่มเกมเบ็ดเตลด็ และเขา้  การเลน่ เกมเบด็ เตลด็

ร่วมกจิ กรรมทางกายทวี่ ิธีเลน่ และเขา้ รว่ มกจิ กรรม

อาศยั การเคลื่อนไหวเบ้ืองต้นทง้ั ทางกายทว่ี ธิ ีเล่นอาศยั

แบบอยกู่ ับที่ เคล่ือนทีแ่ ละใช้ การเคลือ่ นไหวเบื้องต้น

อุปกรณ์ประกอบ ทง้ั แบบอยู่กบั ท่ี

๔๗

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถนิ่

เคล่ือนท่ี และใชอ้ ุปกรณ์

ประกอบ

ป. ๓ ๑. เคลือ่ นไหวรา่ งกายที่ใช้  กจิ กรรมทางกายท่ีใช้

ทกั ษะการเคล่ือนไหวแบบบังคับ ทกั ษะการเคล่ือนไหว

ทิศทาง ในการเล่นเกม แบบบังคับทศิ ทาง ใน

เบ็ดเตลด็ การเลน่ เกมเบด็ เตล็ด
 เกมเลียนแบบและ
ป. ๔ ๑. เลน่ เกมเลียนแบบและ
กิจกรรมแบบผลัด กิจกรรมแบบผลัด

ป. ๕ ๑. เลม่ เกมนาไปสูก่ ีฬาที่เลือก  เกมนาไปสู่กฬี าและ

และกิจกรรมการเคลื่อนไหว กจิ กรรมแบบผลดั ท่ีมี

แบบผลัด การตี เขย่ี รบั – ส่ง

สิง่ ของ ขว้าง และวงิ่

ป. ๖ ๑. เลน่ กีฬาไทย กฬี าสากล  การเลน่ กฬี าไทย กฬี า

ประเภทบคุ คลและประเภททีม สากล ประเภทบคุ คลและ

ได้อย่างละ ๑ ชนิด ประเภททีม เชน่ กรฑี า

ประเภทลู่และลาน

เปตอง วา่ ยน้า

เทเบลิ เทนนิส

วอลเลย์บอล

ฟุตบอล ตะกรอ้ วง

๔๘

สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ

สาระท่ี 1 ทศั นศิลป์

มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทศั นศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็น
คณุ คา่ งาน ทศั นศิลป์ท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล

ชน้ั ตัวชี้วดั ที่ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่

ป.1 1. ระบุงานทศั นศลิ ป์ใน •งานทัศนศลิ ป์ใน • งานทศั นศิลป์ที่พบใน
ชวี ิตประจาวัน ชวี ติ ประจาวัน ชีวติ ประจาวนั ในบา้ น และใน
หมูบ่ ้าน เชน่ การทอผา้ การปั้น
หล่อ แกะสลัก งานจักสาน
บ้าน โบสถ์ วหิ าร ภาพฝาผนัง
การ แตง่ กาย ฯลฯ

ป.2 1. บอกความสาคัญของงาน •ความสาคัญของงาน • ความเปน็ มาของศลิ ปะแบบ
ทศั นศลิ ป์ที่พบเหน็ ในชวี ิต ทัศนศิลป์ในชีวติ ประจาวัน ลา้ นนาในทอ้ งถิน่ ความสาคัญ
ประจาวนั วธิ กี ารสรา้ ง วสั ดุ อปุ กรณท์ ใ่ี ช้
2. อภปิ รายเกยี่ วกบั งาน •งานทัศนศิลป์ในท้องถ่นิ ในงานทศั นศิลป์ท่ีพบในบา้ น
ทัศนศลิ ป์ประเภทตา่ ง ๆ ในหม่บู ้าน เชน่ การทอผา้
ในทอ้ งถน่ิ โดยเนน้ ถงึ วธิ ีการ •ทม่ี าของงานทศั นศิลป์ใน การปั้น หลอ่ แกะสลัก
สรา้ งงาน และวัสดุ อปุ กรณ์ ทอ้ งถนิ่ งานจักสาน บา้ น โบสถ์ วหิ าร
ทใ่ี ช้ ภาพวาดฝาผนัง การ
•วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ แต่งกาย ฯลฯ
ป.3 1. เล่าที่มาของงานทัศนศลิ ป์ สร้างงานทศั นศิลป์ใน
ในทอ้ งถิ่น ทอ้ งถนิ่ • ความเปน็ มาของศิลปะแบบ
2. อธิบายเกย่ี วกับวสั ดุ ล้านนาในทอ้ งถ่ิน ความสาคัญ
อุปกรณ์ และวธิ ีการสรา้ ง วิธีการสรา้ ง วสั ดุ อุปกรณ์ที่ใช้
ทศั นศลิ ป์ ในทอ้ งถน่ิ ในงานทัศนศลิ ปท์ ี่พบในบ้าน
ในหมูบ่ ้าน เชน่ การทอผา้
การปัน้ หลอ่ แกะสลกั
งานจักสาน บ้าน โบสถ์ วหิ าร
ภาพวาดฝาผนัง การแต่งกาย
ฯลฯ

๔๙

ชน้ั ตวั ชี้วดั ท่ี สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่

ป.4 1. ระบุและอภิปรายเกี่ยวกบั •งานทศั นศิลป์ในวัฒนธรรม • ลกั ษณะรปู แบบของศลิ ปะทีใ่ ช้
งานทัศนศลิ ป์ ในเหตกุ ารณ์ ท้องถนิ่ ประดบั ตกแตง่ ในงานเฉลมิ
และงานเฉลมิ ฉลองของ •งานทัศนศลิ ปจ์ าก ฉลอง ในท้องถ่ิน เชน่ การทา
วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ตงุ ประดับงานปอยหลวง
วฒั นธรรม การแต่งกายในโอกาสงานเฉลิม
2. บรรยายเกีย่ วกบั งาน ฉลองของวฒั นธรรมท้องถ่ิน
ตา่ ง ๆ ฯลฯ
ทศั นศิลป์ที่มาจากวัฒนธรรม
• ความเปน็ มา ลกั ษณะรปู แบบ
ต่าง ๆ ประโยชน์ของศิลปะท่ีมใี นวัด
พพิ ิธภณั ฑ์ หอศิลปะ ฯลฯ
ป.5 1. ระบุ และบรรยายเกย่ี วกับ • ลักษณะรูปแบบของงาน
ลักษณะรปู แบบ ของงาน
ทศั นศิลป์
ทศั นศิลป์ในแหล่งเรียนรู้หรือ •งานทศั นศิลป์ที่สะท้อน
นิทรรศการศลิ ปะ
วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญา
2. อภิปรายเก่ยี วกบั งาน
ในท้องถิน่
ทัศนศลิ ป์ท่ีสะท้อนวัฒนธรรม

และภมู ปิ ัญญา ในท้องถิน่

ป.6 1. บรรยายบทบาทของงาน • บทบาทของงาน • บทบาทอทิ ธิพลของความเชอ่ื ที่
ทัศนศิลปท์ ่ีสะท้อนชวี ิตและ ทศั นศิลปใ์ นชีวิต
สงั คม มผี ลตอ่ การสรา้ งงานทัศนศลิ ป์

และสังคม ในทอ้ งถน่ิ เช่น การทาตุง
2. อภิปรายเกยี่ วกบั อิทธพิ ล • อทิ ธพิ ลของศาสนาท่มี ีตอ่ ประดบั งานปอยหลวง การ
ของความเชื่อความศรัทธา งานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น แต่งกายในโอกาสงานเฉลมิ
ในศาสนาท่ีมผี ลต่องาน
ทศั นศลิ ป์ในทอ้ งถนิ่ • อทิ ธิพลทางวัฒนธรรมใน ฉลอง วฒั นธรรมท้องถน่ิ
3. ระบุ และบรรยายอิทธพิ ล ท้องถ่ินที่มีผลต่อการสร้าง การทอผา้ การปนั้ หลอ่
ทางวัฒนธรรมในทอ้ งถนิ่ ที่มีผล งานทัศนศลิ ป์ แกะสลกั งานจกั สาน บ้าน
โบสถ์ วหิ าร ภาพวาดฝาผนงั
ต่อการสรา้ งงานทศั นศิลป์ของ
ฯลฯ
บคุ คล

๕๐

ชนั้ ตวั ชีว้ ดั ที่ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน

ม.1 1. ระบุ และบรรยายเกย่ี วกับ •ลกั ษณะ รปู แบบงาน • เปรียบเทียบ ลักษณะ รปู แบบ
ลกั ษณะ รปู แบบงานทัศนศิลป์ ทัศนศิลปข์ องชาตแิ ละ
ของชาติและของท้องถน่ิ จุดประสงค์ในการสรา้ งงาน

ทอ้ งถิน่ ทัศนศิลปข์ องลา้ นนาหรือ
ตนเองจากอดีตจนถงึ ปัจจุบัน •งานทศั นศลิ ปภ์ าคตา่ ง ๆ ภาคเหนือกับภาคต่าง ๆ จาก
2. ระบุ และเปรยี บเทยี บ ในประเทศไทย อตดี ถึงปจั จุบนั เช่น การทอผา้
งานทศั นศลิ ป์ของภาคตา่ ง ๆ การป้นั หลอ่ แกะสลกั
ในประเทศไทย • ความแตกตา่ งของงาน งานจกั สาน บา้ น โบสถ์ วหิ าร
3. เปรยี บเทยี บความ ทศั นศลิ ปใ์ นวัฒนธรรม ภาพวาดฝาผนงั การแตง่ กาย
แตกต่าง ของจดุ ประสงค์ใน ไทย และสากล ฯลฯ

การสรา้ งสรรค์

ม.2 1. ระบุ และบรรยายเกย่ี วกับ • วัฒนธรรมท่ีสะทอ้ นใน • อิทธพิ ลภายนอกต่อการ
วฒั นธรรมต่าง ๆ ทสี่ ะทอ้ นถึง งานทศั นศิลปป์ ัจจบุ ัน
งานทศั นศลิ ปใ์ นปัจจุบนั • งานทัศนศลิ ป์ของไทยใน เปลย่ี นแปลงของงานทัศนศิลป์

2. บรรยายถงึ การ แตล่ ะยคุ สมยั ในทอ้ งถิ่นแตล่ ะยคุ สมัย ในด้าน
แนวคิด เน้ืองาน ของ
เปลี่ยนแปลงของงาน • การออกแบบงาน การทอผ้า การป้นั หลอ่
ทศั นศลิ ป์ของไทยในแตล่ ะยุค ทศั นศิลป์ในวฒั นธรรมไทย แกะสลกั งานจกั สาน บ้าน
สมัยโดยเนน้ ถงึ แนวคิดและ และสากล โบสถ์ วหิ าร ภาพวาดฝาผนัง
เนือ้ หาของงาน การแต่งกาย ฯลฯ

3. เปรยี บเทยี บแนวคิดใน

การออกแบบงานทัศนศลิ ป์

ท่มี าจาก วฒั นธรรมไทย

ม.3 1. ศึกษาและอภปิ ราย • งานทศั นศิลป์กบั การ • คุณคา่ ของวัฒนธรรมและความ

เกีย่ วกบั งานทศั นศลิ ป์ ที่ สะท้อนคณุ คา่ ของวัฒนธรรม แตกต่างของ งานทศั นศิลป์
สะท้อนคณุ คา่ ของวฒั นธรรม
2. เปรยี บเทียบความ • ความแตกตา่ งของงาน ลา้ นนากับสากล เชน่ ลวดลาย
แตกตา่ งของ งานทัศนศลิ ป์ ทศั นศิลปใ์ นแตล่ ะยุคสมัย บนผ้าทอ ลวดลายและรูปทรง
ในแต่ละยคุ สมยั ของ ของวฒั นธรรมไทยและ โบสถ์ วิหาร ศาลา ฯลฯ
วัฒนธรรมไทยและสากล สากล


Click to View FlipBook Version