๕๑
ช้ัน ตวั ช้ีวดั ที่ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน
ม.4- 1. วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บ • งานทศั นศลิ ป์รปู แบบ • อิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่าง
6 งานทัศนศลิ ป์ในรปู แบบ
ตะวนั ออกและ ประเทศ ที่มผี ลตอ่ งาน
ตะวนั ออกและรปู แบบ
ตะวนั ตก ทัศนศิลป์ เชน่ การทอผา้ การ
ตะวนั ตก ปนั้ หลอ่ แกะสลกั งานจักสาน
• งานทัศนศลิ ป์ของศิลปิน บ้าน โบสถ์ วิหาร ภาพวาดฝา
2. ระบงุ านทัศนศลิ ปข์ อง ผนงั การแตง่ กาย ฯลฯ
ที่มีช่ือเสียง
ศลิ ปินที่มชี ่อื เสียง และ
บรรยายผลตอบรบั ของสงั คม • อทิ ธพิ ลของวฒั นธรรม
3. อภิปรายเก่ียวกับอิทธิพล ระหวา่ งประเทศท่ีมผี ล
ของวฒั นธรรมระหว่าง ต่องานทัศนศิลป์
ประเทศที่มผี ลต่องาน
ทศั นศิลป์ในสงั คม
สาระท่ี 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรีท่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ภมู ิปญั ญาไทยและสากล
ชนั้ ตัวชี้วัดท่ี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น
ป.1 1.เล่าถงึ เพลงในท้องถิ่น • ทีม่ าของบทเพลงใน • เพลง ในท้องถนิ่ เพลง
2.ระบุสิ่งที่ชน่ื ชอบใน ทอ้ งถิ่น
ดนตรที อ้ งถ่ิน พืน้ เมือง หรือชนเผา่ เช่น
• ความนา่ สนใจของบท เพลงอ่ือจา เพลงแห่
เพลงในท้องถิ่น เพลงนอ้ ยใจยา
ฯลฯ
ป.2 ๑. บอกความสัมพันธ์ของ • บทเพลงในท้องถ่นิ • บทเพลง ในท้องถิ่น เพลง
เสียงรอ้ งเสยี งเคร่ืองดนตรี ลกั ษณะของเสยี งร้องในบท พื้นเมือง หรอื ชนเผ่า เชน่
ในเพลงท้องถ่นิ โดยใช้คา เพลง ลกั ษณะของเสียง
งา่ ย ๆ เพลงอื่อจา เพลงแห่
เครอ่ื งดนตรใี ชใ้ นบทเพลง เพลงนอ้ ยใจยา ฯลฯ
๕๒
ชน้ั ตัวชีว้ ัดท่ี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถนิ่
ป.3 1. ระบลุ กั ษณะเด่นและ • เอกลกั ษณ์ของดนตรใี น • เอกลักษณ์ ของเสียงรอ้ ง ภาษา
เอกลักษณ์ของดนตรใี น
ทอ้ งถ่นิ เนอื้ รอ้ ง และเครอ่ื งดนตรี
ทอ้ งถิน่
2. ระบคุ วามสาคญั และ - ลักษณะเสียงร้องของ วงดนตรีในทอ้ งถ่ิน เชน่
ดนตรีในท้องถน่ิ เพลงอ่ือจา เพลงแห่
ประโยชนข์ องดนตรีต่อ
- ภาษาและเน้ือหาในบท เพลงน้อยใจยา ฯลฯ
การดาเนินชีวิตของคนใน
ทอ้ งถน่ิ ร้องของดนตรีในทอ้ งถนิ่ • การแสดงดนตรีทอ้ งถ่ินใน
- เครือ่ งดนตรีและวง
โอกาสต่าง ๆ เช่น งานทาบญุ
ดนตรใี นทอ้ งถิ่น
งานปอย งานมฑุ ติ าจิตงานศพ
• ดนตรกี บั การดาเนินชีวติ ฯลฯ
ในทอ้ งถิ่น
- ดนตรใี นชีวติ ประจาวัน
- ดนตรใี นวาระสาคัญ
ป.4 1.บอกแหลง่ ท่ีมาและ • ความสัมพนั ธ์ของวิถีชีวิต • เน้อื หาเรอ่ื งราวในบทเพลง กบั
ความสมั พันธข์ องวิถชี ีวิต กับผลงานดนตรี
ไทย ทส่ี ะทอ้ นในดนตรี วถิ ีชีวติ
และเพลงท้องถ่นิ
2. ระบคุ วามสาคญั ในการ - เน้ือหาเร่ืองราวในบท • การแสดงดนตรีท้องถน่ิ ใน
อนุรักษส์ ง่ เสริมวฒั นธรรม เพลง กับวถิ ีชวี ิต โอกาส ตา่ ง ๆ เชน่ งานทาบุญ
ทางดนตรี -โอกาสในการบรรเลง งานปอย งานมฑุ ติ าจติ งานศพ
ฯลฯ
• การอนุรักษ์วฒั นธรรม
ทาง ดนตรี • การอนรุ ักษ์ ส่งเสริม
- ความสาคญั และความ ดนตรีพน้ื เมอื ง
จาเปน็ ในการอนุรักษ์
- แนวทางในการอนรุ กั ษ์
ป.5 1. อธบิ ายความสัมพันธ์ • ดนตรกี บั งานประเพณี • ดนตรีพ้ืนเมืองท่ี สัมพนั ธ์กับ
ระหวา่ งดนตรกี ับประเพณี - บทเพลงในงาน
ในวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ประเพณใี นท้องถิ่น
2. อธิบายคุณค่าของ ประเพณีในท้องถน่ิ • ความเปน็ มาและความสาคัญ
ของดนตรพี ้นื เมอื งตอ่ คนใน
-บทบาทของดนตรีใน
ดนตรที ่ีมาจากวัฒนธรรมท่ี แต่ละประเพณี สงั คม
ต่างกนั • คุณคา่ ของดนตรีจาก
แหล่งวฒั นธรรม
- คุณค่าทางสังคม
- คณุ คา่ ทางประวตั ศิ าสตร์
๕๓
ชัน้ ตวั ชี้วัดที่ สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถ่นิ
ป.6 1. อธบิ ายเร่อื งราวของ • ดนตรีไทยในประวัติ • การใช้ดนตรพี ื้นเมือง ใน
ดนตรไี ทยในประวัติศาสตร์ ศาสตร์
2. จาแนกดนตรีท่มี าจาก เหตกุ ารณส์ าคัญทาง
ยคุ สมัยทต่ี ่างกนั
3. อภิปรายอทิ ธิพลของ -ดนตรีในเหตกุ ารณ์ ประวตั ศิ าสตร์ เช่น การฉลอง
วฒั นธรรมต่อดนตรีใน สาคัญทางประวตั ิศาสตร์ การบรรเลงในงานต่าง ๆ
ทอ้ งถิ่น - ดนตรีในยุคสมยั ต่าง ๆ
อทิ ธิพลของวฒั นธรรมท่ี
มตี อ่ ดนตรี
ม.1 1.อธิบายบทบาท • บทบาทและอิทธพิ ลของ • อิทธพิ ลของดนตรีพนื้ เมอื งตอ่
- ความสมั พนั ธ์และอิทธิพล ดนตรี สงั คมในหมบู่ า้ น ตาบล
ม.3 ของดนตรีท่ีมตี ่อสังคมไทย -บทบาทและอิทธิพล
2. ระบุความหลากหลาย ของดนตรีในสงั คม อาเภอ จังหวัด
ขององคป์ ระกอบดนตรีใน •องค์ประกอบของดนตรี
วัฒนธรรมต่างกนั ใน แต่ละวัฒนธรรม
ม.4-6 5. นาเสนอแนวทางในการ • แนวทางและวธิ ีการใน • การนาเสนอแนวทางในการ
ส่งเสริมและอนรุ ักษด์ นตรี การสง่ เสรมิ อนรุ ักษ์ดนตรี สง่ เสริม และอนุรักษ์ดนตรี
ในฐานะมรดกของชาติ
ไทย พื้นเมือง เช่น การเลน่ ดนตรี
พืน้ เมือง การประดิษฐเ์ ครื่อง
ดนตรีพน้ื เมือง
๕๔
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของ
นาฏศลิ ป์ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นภูมิปญั ญาไทยและสากล
ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ป.1 1. ระบุ และเล่นการละเลน่ • การละเลน่ ของเด็กไทย • การละเลน่ พ้ืนบ้าน เชน่ อุ่มล้ี
ของเด็กไทย ฯลฯ
- วิธีการเล่น
2. บอกส่ิงที่ตนเองชอบใน - กติกา
การแสดงนาฏศิลป์
• การแสดงนาฏศิลป์
ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน
ป.2 1. ระบแุ ละเลน่ การละเล่น • การละเลน่ พืน้ บ้าน • การละเลน่ พน้ื บ้าน เช่น
พน้ื บ้าน อุม่ ลี้ ฯลฯ
- วิธีการเล่น
2. เชอ่ื มโยงสิ่งทพี่ บเห็นใน
- กตกิ า
การละเล่นพื้นบ้านกับสิง่ ท่ี
พบเหน็ ในการดารงชีวิตของ • ท่มี าของการละเลน่
คนไทย พ้ืนบา้ น
3. ระบุส่ิงท่ีช่ืนชอบและ
• การละเลน่ พื้นบ้าน
ภาคภมู ิใจในการละเลน่
พ้ืนบ้าน
ป.3 1. เลา่ การแสดงนาฏศิลป์ท่ี • การแสดงนาฏศิลป์ • นาฏศลิ ป์พนื้ บ้าน เช่น ฟ้อน
เคยเห็นในท้องถน่ิ เลบ็ ฟอ้ นเง้ยี ว ฟ้อนสาวไหม
พืน้ บา้ นหรือท้องถ่นิ ฟอ้ นดาบ ฟ้อนเจงิ ตบมะผาบ
2. ระบุส่ิงทเี่ ป็นลกั ษณะ ฯลฯ
ของตน
เดน่ และเอกลักษณ์ของการ
แสดงนาฏศลิ ป์ • การแสดงนาฏศลิ ป์
3. อธิบายความสาคัญของ - ลกั ษณะ
การแสดงนาฏศิลป์ - เอกลกั ษณ์
• ทีม่ าของการแสดง
- นาฏศิลป์
- ส่งิ ท่เี คารพ
๕๕
ป.4 1. อธบิ ายประวตั คิ วาม • คุณค่า • นาฏศิลป์พน้ื บ้าน เช่น ฟ้อน
เป็นมาของนาฏศิลป์ หรอื ความเป็นมาของนาฏศลิ ป์ เล็บ ฟอ้ นเงย้ี ว ฟ้อนสาวไหม
ชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ • ท่มี าของชดุ การแสดง
กก32วนัฒาาา..รรฏนอเเแปศรธธสรียลิิบรดียนปรางบมแก์ยคเอลคบั วทื่นะวกายี กามาบมารเกครสแแาาาสรรสคดแพดัญงสใงทขนด่ีมองางจาก•แกลาระกทก--าา่อรคนชวนกแมาาาสกมรฏดาเแรศคงสแาิลดสรปงพด์ ขงกอ่องนทเ้อรงียถนน่ิ ฟอ้ นดาบ ฟ้อนเจงิ ตบมะผาบ
ฯลฯ
นาฏศลิ ป์
4.ระบเุ หตผุ ลท่ีควรรกั ษา
และสืบทอดการแสดง
นาฏศิลป์
ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. เปรยี บเทยี บการแสดง • การแสดงนาฏศิลป์ • นาฏศลิ ป์พน้ื บา้ น เช่น
ฟอ้ นเลบ็ ฟอ้ นเง้ียว
ประเภทต่าง ๆ ของไทย ใน ประเภทต่าง ๆ ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนดาบ
ฟ้อนเจงิ ตบมะผาบ ฯลฯ
แต่ละท้องถิน่ - การแสดงพ้ืนบ้าน
• นาฏศิลป์พน้ื บ้าน เช่น
2. ระบหุ รอื แสดงนาฏศลิ ป์ • การแสดงนาฏศลิ ป์ • ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเงีย้ ว
• ฟอ้ นสาวไหม ฟ้อนดาบ
นาฏศลิ ป์พืน้ บา้ นท่ีสะท้อนถึง ประเภทต่าง ๆ
ฟอ้ นเจงิ ตบมะผาบ ฯลฯ
วฒั นธรรมและประเพณี - การแสดงพนื้ บา้ น
• นาฏศลิ ป์พื้นบา้ น เชน่
ป.6 1. อธบิ ายสิ่งท่มี ีความสาคัญ • ความหมาย ความเป็นมา • ฟ้อนเลบ็ ฟอ้ นเง้ียว
• ฟอ้ นสาวไหม ฟ้อนดาบ
ตอ่ การแสดงนาฏศิลป์และ ความสาคญั ของนาฏศลิ ป์
ฟอ้ นเจงิ ตบมะผาบ ฯลฯ
ละคร และละคร
2. ระบปุ ระโยชน์ทไี่ ด้รบั จาก -บุคคลสาคญั
การแสดงหรอื การชมการ - คณุ ค่า
แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละคร • การแสดงนาฏศิลป์และ
ละครในวนั สาคญั ของ
โรงเรียน
ม.1 1. ระบปุ จั จัยทมี่ ผี ลต่อการ • ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อการ
เปลย่ี นแปลงของนาฏศิลป์ เปลย่ี นแปลงของนาฏศลิ ป์
นาฏศลิ ปพ์ น้ื บ้าน ละครไทย นาฏศิลป์พื้นบา้ น ละคร
และละครพนื้ บา้ น ไทย และละครพืน้ บ้าน
2. บรรยายประเภทของ • ประเภทของละครไทยใน
ละครไทยในแตล่ ะยุคสมัย แต่ละยุคสมัย
๕๖
ม.2 1. เปรยี บเทยี บ • นาฏศิลปพ์ ืน้ เมือง • นาฏศลิ ป์พ้ืนบา้ น เชน่
ฟอ้ นเล็บ ฟอ้ นเงยี้ ว
ลักษณะเฉพาะของ - ความหมาย ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนดาบ
ฟ้อนเจิง ตบมะผาบ ฯลฯ
การแสดงนาฏศิลป์จาก - ทมี่ า
• ละครพื้นบา้ น เช่น
วัฒนธรรมตา่ งๆ - วัฒนธรรม น้อยใจยา
2. ระบุหรือแสดงนาฏศลิ ป์ - ลักษณะเฉพาะ
นาฏศิลปพ์ ้ืนบ้าน ละครไทย • รปู แบบการแสดงประเภท
ละครพื้นบ้าน ต่าง ๆ
หรอื มหรสพอื่นที่เคยนยิ มกัน - นาฏศลิ ป์
ในอดีต - นาฏศิลป์พนื้ เมือง
3. อธิบายอิทธพิ ลของ - ละครไทย
วฒั นธรรมที่มีผลต่อเนอื้ หา - ละครพ้ืนบ้าน
ของละคร • การละครสมัยต่าง ๆ
ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ม.3 1. ออกแบบ และ • การออกแบบและ • นาฏศลิ ปพ์ น้ื บ้าน เช่น
ฟอ้ นเล็บ ฟอ้ นเงีย้ ว
สรา้ งสรรค์อปุ กรณ์ สร้างสรรคอ์ ปุ กรณแ์ ละ ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนดาบ
ฟ้อนเจงิ ตบมะพาบ ฯลฯ
และเคร่ืองแต่งกาย เพื่อ เครอ่ื งแต่งกายเพื่อการ
แสดงนาฏศลิ ป์และละคร แสดงนาฏศิลป์ • ละครพ้นื บา้ น เชน่
ที่มาจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ นอ้ ยใจยา
2. อธิบายความสาคัญและ • ความสาคญั และบทบาท
บทบาทของนาฏศิลป์และ ของนาฏศลิ ป์ และการ
การละครในชีวิตประจาวัน ละครในชวี ิตประจาวัน
3. แสดงความคิดเหน็ ใน
• การอนรุ ักษ์นาฏศิลป์
การอนรุ ักษ์
๕๗
ม.4- 1. เปรียบเทียบการนาการ • การแสดงนาฏศิลปใ์ น • นาฏศลิ ป์พนื้ บ้าน เช่น
6 แสดงไปใชใ้ นโอกาสตา่ ง ๆ โอกาสตา่ งๆ ฟ้อนเลบ็ ฟ้อนเงีย้ ว
2. อภิปรายบทบาทของ • บุคคลสาคญั ในวงการ ฟอ้ นสาวไหม ฟ้อนดาบ
บคุ คลสาคญั ในวงการ ฟ้อนเจิง ตบมะผาบ ฯลฯ
นาฏศลิ ปแ์ ละ
นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร • ละครพ้ืนบา้ น เชน่
การละครของไทยในยุค น้อยใจยา
ของประเทศไทยในยคุ สมัย สมยั ตา่ ง ๆ
ต่างๆ
3. บรรยายววิ ัฒนาการของ • ววิ ัฒนาการของนาฏศิลป์
นาฏศิลปแ์ ละการละครไทย และการละครไทยตั้งแต่
ต้งั แตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จบุ นั อดตี จนถงึ ปจั จุบนั
4. นาเสนอแนวคิดในการ
อนุรักษ์ นาฏศลิ ป์ไทย • การอนรุ ักษน์ าฏศลิ ป์
ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ
กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลย
สาระที่ 4 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 4. เขา้ ใจ มีทกั ษะที่จาเปน็ มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยี
เพื่อพฒั นาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติท่ดี ตี ่ออาชีพ
ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ
ป. 5 1. สารวจขอ้ มลู ทีเ่ ก่ียวกับ • อาชีพตา่ ง ๆ ในชุมชน • อาชพี ในหมู่บา้ นในชุมชน เช่น
อาชีพตา่ ง ๆ ในชุมชน ทาสวนลาไย ปลกู ขา้ ว แกะสลัก
- คา้ ขาย คา้ ขาย ฯลฯ
2. ระบคุ วามแตกตา่ ง - เกษตรกรรม
ของอาชีพ
- รบั จ้าง
- รบั ราชการ พนักงานของ
รฐั
- อาชพี อสิ ระ
• ความแตกต่างของอาชีพ
- รายได้
- ลกั ษณะงาน
- ประเภทกิจการ
• ข้อควรคานึงเก่ยี วกับอาชีพ
- ทางานไมเ่ ปน็ เวลา
- การยอมรับนับถือจากสงั คม
- มีความเสย่ี งตอ่ ชวี ิตสูง
ป. 6 1. สารวจตนเองเพื่อ • การสารวจตนเอง
วางแผนในการเลอื กอาชีพ - ความสนใจ ความสามารถ
2. ระบคุ วามรู้
และทักษะ
๕๘
ความสามารถ และ • คุณธรรมในการประกอบ
คุณธรรมท่ีสัมพันธ์กบั อาชพี เชน่
อาชีพท่ีสนใจ - ความซื่อสัตย์
- ความขยนั อดทน
- ความยุตธิ รรม
- ความรับผิดชอบ
ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน
ม. 1 1. อธบิ ายแนวทางการ • แนวทางการเลือกอาชพี • อาชพี ในหม่บู ้านในชมุ ชน เช่น
เลอื กอาชพี
- กระบวนการตัดสนิ ใจเลือก ทาสวนลาไย ปลูกข้าว แกะสลกั
2. มีเจตคตทิ ดี่ ีตอ่ การ
อาชพี ค้าขาย ฯลฯ
ประกอบอาชีพ
• เจตคติทดี่ ตี ่อการประกอบ
3. เหน็ ความสาคัญของ อาชพี
การสรา้ งอาชีพ
- การสรา้ งรายไดจ้ ากการ
ประกอบอาชีพสจุ รติ
• ความสาคัญของการสรา้ ง
อาชพี
- การมรี ายได้จากอาชีพท่ี
สร้างขึ้น
- การเตรียมความพร้อม
ม. 2 1. อธบิ ายการ • การจัดประสบการณ์อาชีพ • อาชพี ในหมูบ่ า้ นในชมุ ชน เช่น
เสริมสรา้ งประสบการณ์ - สถานการณ์แรงงาน ทาสวนลาไย ปลูกขา้ ว แกะสลัก
อาชีพ
- ประกาศรับสมัครงาน คา้ ขาย ฯลฯ
2. ระบุการเตรียมตวั เข้า - ความรู้ความสามารถของ
ส่อู าชีพ ตนเอง
- ผลตอบแทน
• การเตรยี มตวั เขา้ สู่อาชีพ
- การหางาน
- คณุ สมบตั ิท่จี าเปน็
• ทกั ษะทจี่ าเป็นตอ่ การ
ประกอบอาชีพ
- ทกั ษะกระบวนการทางาน
- ทกั ษะกระบวนการ
แกป้ ัญหา
- ทกั ษะการทางานรว่ มกนั
- ทกั ษะการแสวงหาความรู้
- ทักษะการจัดการ
๕๙
ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถนิ่
ม. 3 1. อภปิ รายการหา • การหางานหรือตาแหน่งท่วี า่ ง • อาชีพในหมบู่ ้านในชมุ ชน เชน่
งานด้วยวิธีที่
- สื่อ ส่ิงพมิ พ์ ทาสวนลาไย ปลูกข้าว แกะสลกั
หลากหลาย
- สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ค้าขาย ฯลฯ
2. วิเคราะห์
• แนวทางเขา้ ส่อู าชพี
แนวทางเขา้ สู่อาชีพ - คุณสมบตั ทิ จี่ าเป็น
3. ประเมนิ
- ความมั่นคง
ทางเลือกในการ
- การประเมนิ ทางเลอื ก
ประกอบอาชีพที่
สอดคลอ้ งกบั ความรู้ • การประเมนิ ทางเลือกอาชีพ
ความถนัดและความ - แนวทางการประเมนิ
สนใจของตนเอง - รปู แบบการประเมนิ
- เกณฑก์ ารประเมนิ
ม.4-6 1. อภปิ รายแนวทาง • แนวทางสู่อาชพี • อาชีพในหม่บู า้ นในชุมชน เชน่
สู่อาชพี ท่สี นใจ
- เตรียมตวั หางานและพัฒนา ทาสวนลาไย ปลกู ข้าว แกะสลัก
2. เลอื ก และใช้
บุคลกิ ภาพ ค้าขาย ฯลฯ
เทคโนโลยอี ย่าง
- ลกั ษณะความม่ันคงและ
เหมาะสมกับอาชีพ
ความกา้ วหน้าของอาชพี
3. มีประสบการณ์
- การสมคั รงาน
ในอาชีพท่ีถนัดและ
- การสมั ภาษณ์
สนใจ - การทางาน
4. มคี ุณลักษณะทด่ี ี - การเปลีย่ นอาชพี
ต่ออาชีพ
• การเลอื กและใช้เทคโนโลยี
อย่างเหมาะสมกับอาชีพ
- วิธกี าร
- หลกั การ
- เหตผุ ล
• ประสบการณ์ในอาชีพ
- การจาลองอาชพี
- กจิ กรรมอาชีพ
• คุณลกั ษณะที่ดีต่ออาชีพ
- คุณธรรม
- จรยิ ธรรม ค่านิยม
๖๐
สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพ่อื การสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เหน็ ในเร่ืองต่างๆ โดยการพูด
และการเขยี น
ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น
ม.1 1. พดู และเขยี นบรรยาย • ประโยคและข้อความทใ่ี ชใ้ น • สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ เชน่
เกีย่ วกับตนเอง กิจวัตร การบรรยายเก่ยี วกับตนเอง ประโยคและขอ้ ความทใ่ี ช้ในการ
ประจาวัน ประสบการณ์ กจิ วตั รประจาวัน ประสบการณ์ บรรยายประสบการณ์และ
และสง่ิ แวดลอ้ ม ใกล้ตัว สง่ิ แวดล้อม ใกลต้ ัว เชน่ การ สง่ิ แวดลอ้ มใกลต้ วั เช่นการ
เดินทาง การรับประทาน เดินทางไปแหล่งท่องเทย่ี วการ
อาหาร การเรียน การเลน่ กฬี า รับประทานอาหารการท่องเท่ียว
ฟังเพลง การอ่านหนังสอื การ เชน่ แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วในท้องถ่ิน
ท่องเทย่ี ว การบรกิ าร การทาแผน่ ปลวิ
แผน่ พบั แนะนาสถานท่ีทอ่ งเท่ียว
ม.2 1. พูดและเขยี นบรรยาย • การบรรยายข้อมูลเก่ียวกับ • การบรรยายประสบการณ์ ขา่ ว/
เกยี่ วกับตนเอง กิจวตั ร ตนเอง กิจวัตรประจาวัน เหตุการณ์ที่อย่ใู นความสนใจของ
ประจาวนั ประสบการณ์ ประสบการณ์ ข่าว/เหตกุ ารณ์ สงั คม เชน่ การเดินทางไปแหล่ง
และขา่ ว/เหตุการณ์ ท่ีอยู่ ทอ่ี ยใู่ นความสนใจของสงั คม ทอ่ งเทีย่ วการรับประทานอาหาร
ในความสนใจของสงั คม เช่นการเดินทาง การ การท่องเทีย่ ว เช่น แหล่ง
รับประทาน อาหาร การเล่น ท่องเทย่ี วในท้องถิ่น การบริการ
กีฬา/ดนตรี การฟังเพลง การ การทาแผ่นปลิว แผ่นพบั แนะนา
อา่ นหนงั สือ การท่องเทยี่ ว สถานที่ท่องเที่ยว
การศึกษา สภาพสังคม
ม.3 1. พดู และเขยี นบรรยาย • การบรรยายเกย่ี วกับตนเอง • การบรรยายเกย่ี วกับขา่ ว/
เก่ยี วกบั ตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/ เหตกุ ารณ/์ ประเดน็ ที่อยใู่ นความ
ประสบการณ์ ข่าว/ เหตุการณ/์ ประเดน็ ท่ีอยใู่ น สนใจของสังคม เช่นการเดนิ ทาง
เหตุการณ์ / เรอื่ ง/ ประเด็น ความสนใจของสงั คม เชน่ การ ไปแหลง่ ท่องเที่ยวการรบั ประทาน
ตา่ งๆ ทอี่ ยู่ในความสนใจของ เดนิ ทาง การรบั ประทาน อาหารแหลง่ ท่องเท่ยี วในท้องถ่ิน
สังคม อาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี การบริการ การทาแผน่ ปลิว
การฟังเพลง การอ่านหนงั สือ แผน่ พบั
การท่องเท่ียว การศกึ ษา
สภาพสังคม เศรษฐกจิ
๖๑
ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่
ม.4- 3. พูดและเขยี นแสดงความ • การแสดงความคิดเห็น การให้ • การแสดงความคดิ เหน็ การให้
6 คิดเหน็ เกี่ยวกบั กจิ กรรม
เหตุผลประกอบและยกตัวอย่าง เหตุผลประกอบและยกตวั อย่าง
ประสบการณ์ และ
เก่ียวกับกิจกรรม เก่ยี วกบั กิจกรรมประสบการณ์
เหตกุ ารณ์ ทัง้ ในท้องถน่ิ
ประสบการณ์ และเหตุการณ์ และเหตกุ ารณ์ในท้องถ่นิ สงั คม
สงั คมและโลก พรอ้ มทงั้ ให้ ในทอ้ งถิน่ สงั คม และโลก
เหตผุ ลและยกตวั อย่าง และโลก
ประกอบ
สาระท่ี 4 ภาษากับความสัมพนั ธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ตา่ งๆ ท้งั ในสถานศกึ ษา ชุมชน และสังคม
ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่
ม.1 1. ใช้ภาษาสือ่ สารใน • การใช้ภาษาส่อื สารใน • การใชภ้ าษาสอื่ สารใน
สถานการณ์จรงิ /สถานการณ์
สถานการณจ์ รงิ /สถานการณ์ สถานการณจ์ ริง/สถานการณ์ จาลองในหอ้ งเรียนและ
จาลองทเี่ กดิ ข้นึ ในห้องเรยี น จาลองทเ่ี กิดขนึ้ ในห้องเรียน สถานศึกษาเช่น วันสาคัญใน
และสถานศึกษา ท้องถน่ิ การแนะนาสถานท่ี
และสถานศึกษา ทอ่ งเทย่ี วของทอ้ งถน่ิ อาหารใน
ท้องถิ่นวฒั นธรรมประเพณขี อง
ม.2 1. ใชภ้ าษาส่อื สารใน • การใช้ภาษาสือ่ สารใน ทอ้ งถน่ิ
สถานการณจ์ ริง/สถานการณ์ สถานการณจ์ รงิ /สถานการณ์
จาลองที่เกดิ ขน้ึ ในห้องเรยี น จาลองท่เี กิดขน้ึ ในห้องเรียน • การใช้ภาษาสอ่ื สารใน
สถานศกึ ษา และชมุ ชน สถานศึกษา และชุมชน สถานการณจ์ รงิ /สถานการณ์
จาลองในหอ้ งเรียนและ
สถานศึกษาเชน่ วันสาคัญใน
ทอ้ งถน่ิ การแนะนาสถานที่
ท่องเทีย่ วของท้องถน่ิ อาหารใน
ทอ้ งถน่ิ วฒั นธรรมประเพณีของ
ท้องถนิ่
๖๒
ชัน้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถ่นิ
ม.3 1. ใชภ้ าษาส่อื สารใน • การใช้ภาษาส่ือสารใน • การใช้ภาษาส่ือสารใน
สถานการณ์จรงิ /สถานการณ์ สถานการณ์จรงิ /สถานการณ์ สถานการณ์จริง/สถานการณ์
จาลองทเ่ี กิดข้นึ ในห้องเรียน จาลองท่เี กดิ ขนึ้ ในห้องเรยี น
จาลองในห้องเรยี นและสถาน
สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม สถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม ศึกษาเชน่ วนั สาคัญในทอ้ งถ่ิน
ม.4-6 1. ใช้ภาษาสอ่ื สารใน • การใชภ้ าษาสอ่ื สารใน การแนะนาสถานท่ีทอ่ งเทยี่ ว
สถานการณ์จรงิ /สถานการณ์ สถานการณ์จริง/สถานการณ์ ของท้องถิ่น อาหารในท้องถิน่
จาลองทเ่ี กิดข้ึนในห้องเรียน จาลองเสมือนจริงท่ีเกิดขนึ้ ใน วฒั นธรรมประเพณีของ
สถานศกึ ษา ชมุ ชน และ หอ้ งเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ
สังคม และสังคม
สาระท่ี 4 ภาษากับความสัมพนั ธก์ บั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.2 ใชภ้ าษาต่างประเทศเป็นเคร่ืองมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการ
แลกเปลยี่ นเรียนรูก้ บั สังคมโลก
ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น
ม.3 2. เผยแพร่ / • การใช้ภาษาต่างประเทศใน • การใช้ภาษาต่างประเทศใน
ประชาสัมพันธ์ การเผยแพร/่ ประชาสมั พนั ธ์ การเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสาร
ข้อมูล ขา่ วสารของโรงเรยี น ข้อมูลขา่ วสารของโรงเรยี น ของโรงเรียน ชมุ ชน
ชุมชน และท้องถ่นิ เป็น ชุมชน และทอ้ งถิน่ เชน่ การ ทอ้ งถิน่ /ประเทศชาตเิ ช่น
ภาษาต่างประเทศ ทาหนงั สือเล่มเล็กแนะนา การทาหนงั สือเล่มเลก็ แนะนา
โรงเรียน ชมุ ชน และทอ้ งถิ่น โรงเรียน ชมุ ชนทอ้ งถิน่ /
การทาแผ่นปลวิ ปา้ ยคา ประเทศชาติการทาแผน่ ปลวิ
ขวัญ คาเชิญชวนแนะนา การเขยี นปา้ ยคาขวัญ คาเชิญ
โรงเรยี นและสถานทีส่ าคัญใน ชวน แนะนาโรงเรยี นสถานที่
ชมุ ชนและทอ้ งถ่ิน การ สาคญั ในชมุ ชน ท้องถิ่น/
นาเสนอข้อมลู ข่าวสารใน ประเทศชาติการนาเสนอ
โรงเรียน ชุมชน และท้องถิน่ ขอ้ มลู ขา่ วสารในโรงเรียน
เปน็ ภาษาอังกฤษ ชุมชนท้องถิ่น/ประเทศชาติ
เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ
๖๓
ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถิ่น
ม.4-6 2. เผยแพร่/ประชาสัมพนั ธ์ • การใชภ้ าษาอังกฤษในการ • การใช้ภาษาตา่ งประเทศใน
ขอ้ มลู ข่าวสารของ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
โรงเรยี น ชมุ ชน และ ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน ของโรงเรยี น ชมุ ชน
ท้องถ่นิ /ประเทศชาติ เป็น และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เช่น ท้องถนิ่ /ประเทศชาติเชน่
ภาษาตา่ งประเทศ การทาหนังสือเลม่ เล็กแนะนา การทาหนงั สือเลม่ เลก็ แนะนา
โรงเรียน ชมุ ชน ท้องถิ่น/ โรงเรยี น ชุมชน ทอ้ งถิน่ และ
ประเทศชาติ การทาแผน่ ปลิว ประเทศชาติการทาแผน่ ปลิว
ปา้ ยคาขวัญ คาเชิญชวน การเขยี นป้ายคาขวัญ คาเชิญ
แนะนาโรงเรียน สถานท่ีสาคัญ ชวน แนะนาโรงเรียนสถานท่ี
ในชมุ ชนและท้องถน่ิ / สาคญั ในชมุ ชน ท้องถน่ิ /
ประเทศชาติ การนาเสนอ ประเทศชาติการนาเสนอ
ขอ้ มูลข่าวสารในโรงเรียน ขอ้ มูลข่าวสารในโรงเรียน
ชมุ ชน ท้องถิ่น/ประเทศชาติ ชมุ ชนท้องถนิ่ /ประเทศชาติ
เปน็ ภาษาองั กฤษ เป็นภาษาตา่ งประเทศ
๖๔
ภาคผนวก
➢ ข้อมูลสารสนเทศของท้องถ่ิน
➢ ขอ้ มลู เนอื้ หาสาระท้องถิ่นของโรงเรยี นในสงั กดั
➢ คําสั่งสํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา เชียงใหม่ เขต 4
➢ คณะผู้จัดทํา
๖๕
ข้อมูลสารสนเทศ ขอ้ มลู สารสนเทศของทอ้ งถิน่
วสิ ยั ทศั น์ กลุ่มจังหวดั / จดุ เดน่ /ประเดน็ สาํ คญั /ประเด็นท่ีควรนาํ มาจัดการเรยี นรู้ในท้องถน่ิ
จงั หวัด/สพท. วสิ ยั ทัศน์ ภาคเหนอื ตอนบน 8 จังหวัด(เชียงใหม่ ลาํ พูน ลําปาง แม่ฮ่องสอน
เชียงราย พะเยา แพร่ นา่ น)
“ ประตูทองส่กู ารค้าโลก โดดเดน่ วฒั นธรรมลา้ นนา นา่ อยู่ทุกที่”
วสิ ยั ทัศน์ “นครแหง่ ชวี ิตและความมง่ั คงั่ ”
จังหวัดเชยี งใหม่
1. ศูนยก์ ลางเศรษฐกิจของภูมภิ าคลมุ่ นา้ โขง และเอเชยี ใต้
วสิ ัยทัศน์ 2. พฒั นาสง่ เสรมิ อุตสาหกรรมการผลิตและบริการใหม่บนพนื้ ฐานของ
สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ
อาํ เภอสารภี 3. อนุรักษ์ สืบสาน ถา่ ยทอด พัฒนาและเฝ้าระวงั วฒั นธรรมประเพณี
ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ และการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมประชาชน
4. ฟืน้ ฟู/บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอยา่ งยงั่ ยืน
สรา้ งความมั่นคงของชวี ติ และสงั คมเสริมสร้างสังคมทน่ี า่ อยู่ ลดปัญหาสังคมท่ี
เป็นผลมาจากปญั หาความยากจน ลดปัญหาสงั คมทเี่ ป็นผลมาจากการมีคา่ นิยม
ท่ไี ม่เหมาะสม
5. ประชาชนมคี วามม่ันคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สนิ
6. การบริหารจดั การบ้านเมอื งทีด่ ี
คาํ ขวญั
ดอยสเุ ทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า
บุปผชาติล้วนงามตา นามล้าคา่ นครพิงค์
นักเรียนมีคณุ ธรรมนาความรู้ โรงเรียนมคี วามเข้มแข็ง
ใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม ชื่นชมวฒั นธรรมไทย
ใหโ้ อกาสกบั ทุกคนไดร้ บั การศึกษา
คําขวญั
ต้นยางใหญ่ ลาไยหวาน เมืองโบราณเวยี งกุมกาม
พระนอนบวรงาม เชิดชูนาม สารภี
วิสัยทัศน์
บ้านเมอื งน่าอยู่ เคยี งคู่คุณธรรม
สง่ เสรมิ การศกึ ษา งานเกษตรกรรม และ พฒั นาการท่องเที่ยว
ข้อมูลสารสนเทศ ๖๖
อาํ เภอหางดง
จุดเด่น/ประเด็นสําคัญ/ประเด็นทคี่ วรนํามาจดั การเรียนร้ใู นท้องถ่ิน
อําเภอสันป่าตอง คําขวัญ
อําเภอแม่วาง เศรษฐกจิ ดี สตรีแสนสวย รา่ รวยหัตถกรรม วฒั นธรรมมน่ั คง
กิ่งอําเภอดอยหล่อ หางดงพฒั นา ประชาแจม่ ใส
วิสยั ทศั น์
บุคคลสาํ คัญ ร่ารวยหตั ถกรรม วัฒนธรรมมนั่ คง หางดงพัฒนา
คาํ ขวญั
สภาพภูมปิ ระเทศ/ เมอื งเกา่ เวยี งท่ากาน โบราณพระนอนใหญ่
ภมู อิ ากาศ หนองสะเลยี มลอื นาม สาวงามสนั ป่าตอง
วสิ ยั ทัศน์
ขอ้ มูลสารสนเทศ เมืองแห่งวัฒนธรรม เศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี ิตที่ดี
ทรัพยากรส่ิงแวดลอ้ ม คําขวญั
แดนหอมหวั ใหญ่ พฤกษาลอื ไกล ท่องไพรแมว่ ิน รวมถ่ินแมว่ าง
วิสยั ทศั น์
เกษตรย่งั ยนื เลอ่ื งลอื การท่องเที่ยว
คาํ ขวัญ
พระธาตดุ อยน้อย 100 ปี รสดแี คนตาลูปลาไย
กวา่ งชนเลอ่ื งช่ือลอื ไกล กลองใหญส่ บื สานประเพณี
วสิ ัยทศั น์
ชุมชนเข็มแข็ง ชวี ติ ม่นั คง วฒั นธรรมยง่ั ยนื เศรษฐกิจพอเพียง
1. บคุ คลสาคัญของจงั หวดั
1) พระยามังราย
2) พระเจ้ากอื นา
3) พระเจา้ กาวิละ
4) ครบู าศรีวชิ ัย ฯลฯ
2. บุคคลสาคญั ของท้องถ่นิ
1. สภาพภูมิศาสตร์
2. ที่ต้งั ขนาด และอาณาเขต
3. พกิ ัดภมู ศิ าสตร์
4. ปฐพสี ณั ฐาน
5. ลักษณะภมู ิประเทศ
6. ลกั ษณะภมู ิอากาศ
จุดเดน่ /ประเดน็ สาํ คัญ/ประเด็นท่คี วรนํามาจดั การเรยี นรู้ในท้องถ่นิ
จังหวัดเชยี งใหม่มีทรัพยากรธรรมชาตหิ ลายชนดิ กระจายอยู่ตามพ้ืนที่
ตา่ ง ๆของจงั หวดั ที่สาคัญ ดังน้ี
1. ดนิ
2. นา้
3. ปา่ ไม้
4. แรธ่ าตุ
การประกอบอาชพี ๖๗
สงั คม/การดาํ รงชีวติ / จังหวัดเชียงใหม่มกี ารประกอบอาชพี ดงั น้ี
ประชากร 1. อาชพี เกษตรกรรม
1) การเพาะปลกู ได้แก่ ขา้ ว ถัว่ เหลอื ง ลาไย สม้ ขา้ วโพด ฯลฯ
2) อาชพี ปศุสัตว์ การเล้ยี งสัตว์ ได้แก่ โค กระบือ สุกร ไก่ เปด็
3) การประมง ได้แก่ การประมงตามแหลง่ น้าธรรมชาติและการประมง
แบบอาชพี เสริมรายได้
2. หัตกรรมและอตุ สาหกรรมในครวั เรือน ไดแ้ ก่ การทอผ้าด้วยมอื การทอผา้
ไหม การทอผา้ ฝา้ ย การทอพรม การทอเสอื่ กก การจักสาน การแกะสลักฯลฯ
3. การพาณิชยแ์ ละการตลาด ได้แก่ การค้าของปา่ การค้าไม้
4. อาชพี การคา้ และบรกิ าร
1. สภาพสังคมทว่ั ไป
1) ลกั ษณะการตัง้ บา้ นเรือน
2) การประกอบอาชีพ
3) การศกึ ษา
4) การคมนาคม
5) ประชากร
6) การปกครอง
7) ศาสนา ความเช่ือ จารตี ประเพณี
2. สภาพแวดลอ้ ม
1) สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติและปญั หาท่เี ก่ยี วข้อง
2) การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
๖๘
ขอ้ มูลสารสนเทศ จุดเด่น/ประเดน็ สาํ คญั /ประเด็นทค่ี วรนาํ มาจัดการเรียนรใู้ นท้องถน่ิ
สภาพเศรษฐกจิ
สภาพเศรษฐกิจ
1. รายไดข้ องประชากร
2. ด้านการพาณชิ ยกรรม
3. ด้านอตุ สาหกรรม
4. ดา้ นหตั ถกรรม
5. ด้านการเกษตรกรรม
6. ดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว
เอกลักษณข์ องท้องถิน่ / 1. สัญลักษณ์ของหมู่บ้าน อาเภอ จังหวดั
1) ตราประจา
ประเพณี/ศิลปะ/ 2) ธงประจา
วัฒนธรรม 3) ตน้ ไม้ประจา
4) ดอกไมป้ ระจา
2. คาขวญั ประจาหม่บู ้าน อาเภอ จังหวัด
3. เอกลักษณ์ของท้องถ่นิ
1) เอกลักษณ์ทางธรรมชาติ
1.1) อทุ ยานแหง่ ชาติ
- อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยสุเทพ ปยุ
- อทุ ยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ฯลฯ
1.2) แหลง่ ทอ่ งเท่ียวธรรมชาติ อ่ืน ๆ เชน่
- น้าตกแมก่ ลาง
- น้าตกแมย่ ะ
- น้าตกห้วยแก้ว
- วงั บัวบาน ฯลฯ
1.3) แหล่งทอ่ งเทีย่ วทนี่ ่าสนใจ
- เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
- สวนราชพฤกษ์
- บ้านบอ่ สร้าง
- บา้ นถวาย
๖๙
ข้อมูลสารสนเทศ จุดเดน่ /ประเด็นสาํ คญั /ประเด็นทค่ี วรนํามาจัดการเรยี นร้ใู นท้องถ่ิน
- เวยี งกุมกาม
- พิพธิ ภณั ฑ์สถานจงั หวดั เชียงใหม่
- ศนู ยว์ ฒั นธรรมล้านนาเชยี งใหม่
2) เอกลักษณ์ทางศลิ ปวฒั นธรรม
2.1) งานประเพณีท่สี าคญั
- ปอยหลวง
- สลากภัตต์
- ป๋ใี หมเ่ มือง
- บวชลกู แก้ว
4. มรดกทางธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรมของท้องถ่นิ
1) มรดกทางธรรมชาติ
1.1) พ้ืนท่ปี า่ ไม้
1.2) พืชพรรณไม้
1.3) สัตว์ปา่
1.4) แร่ธาตุ
2) มรดกทางวัฒนธรรม
2.1) โบราณวัตถุ โบราณสถาน
- ชุมชนโบราณหรอื แหล่งโบราณคดี
- เมอื งประวตั ศิ าสตร์
- พิพิธภัณฑ์สถานแหง่ ชาตจิ งั หวดั
- ศนู ย์วัฒนธรรมลา้ นนาเชยี งใหม่
2.2) ศลิ ปหัตกรรมและงานช่างท้องถนิ่
- สถาปัตยกรรมท่อี ยู่อาศัย
- ศิลปกรรมงานช่างฝีมือ
2.3) ภาษาและวรรณกรรม
- ภาษาพูดของกลมุ่ ชนเผ่าต่างๆในจังหวดั เชยี งใหม่
- ภาษาล้านนา (ภาษาถ่นิ )
- วรรณกรรมพืน้ บา้ น
- ตานาน นทิ าน จารึก เพลง ตารายา
๗๐
ข้อมูลสารสนเทศ จดุ เด่น/ประเด็นสาํ คญั /ประเด็นทคี่ วรนาํ มาจัดการเรียนรใู้ นท้องถิน่
ภูมิปญั ญา
2.4) การละเลน่ พ้ืนบ้าน นาฎศิลปพ์ ื้นบา้ น
- การละเลน่ นาฎศลิ ปพ์ ื้นบ้านของเด็ก
- การละเล่น นาฎศลิ ปพ์ ื้นบ้านของผใู้ หญ่
2.5) ศาสนา ความเชอ่ื พิธกี รรม
- ศาสนาในจังหวัดเชยี งใหม่
- ศาสนบคุ คล (บุคคลทางศาสนา พระที่มีช่อื เสียง)
- ศาสนธรรม ( หลักธรรมคาสอน)
- ศาสนสถาน
- ศาสนพิธี (พธิ ีทางศาสนา)
- พธิ ีกรรมและความเชือ่ ทางศาสนา
2.6) ขนบธรรมเนยี มประเพณีท้องถิ่น
- การแตง่ กาย
- การกนิ อยู่
- ประเพณที ่ีคนในท้องถิ่นยดึ ถอื ปฏบิ ัติ เชน่ ประเพณี
เก่ยี วกบั ชีวติ ประเพณีทางสงั คม ฯ
5. รปู แบบของสถาปัตยกรรม เช่น เจดยี ์ กาแพงเมือง
6. เอกลกั ษณ์ทางอาหาร / เครื่องด่ืมท่ีมีในท้องถ่นิ
1. ดา้ นภาษาและวรรณกรรม
1) ภาษาถ่นิ
2) บทภาษิต
3) วรรณกรรมพน้ื บา้ น
4) จารกึ ทีพ่ บในจงั หวัด
5) ปริศนาคาทาย
2. ดา้ นปรัชญา ศาสนา ประเพณี
1) ประเพณี
1.1) ปีใ๋ หมเ่ มือง
1.2) ประเพณีอินทขิล
2) งานมหกรรมชาวบ้านหรือพธิ กี ารแสดง
3) ศาสนา ความเช่อื พิธกี รรม
๗๑
ขอ้ มูลสารสนเทศ จุดเด่น/ประเด็นสําคัญ/ประเด็นท่ีควรนาํ มาจัดการเรียนรใู้ นท้องถ่นิ
3. ด้านศลิ ปกรรม
1) งานฝมี อื ชาวบ้าน
2) เครือ่ งแตง่ กาย
3) การละเลน่ พน้ื บ้านการละเล่นของเด็ก
4) กีฬาพ้นื บา้ น
5) เพลงพืน้ บา้ น เพลงกลอ่ มเด็ก
4. สถาปัตยกรรมทอ่ี ยู่อาศยั ลักษณะการก่อสรา้ งบ้านเรอื น
5. ดา้ นอุตสาหกรรม
6. ด้านหัตถกรรม
1) งานชา่ ง ได้แก่ ชา่ งไม้ ช่างฉลุ
2) งานจักสาน
3) งานถักทอ
4) งานประดษิ ฐ์ตา่ ง ๆ
5) งานปนั้ งานแกะสลัก
6) งานหล่อแบบ
7) งานไม้ เฟอร์นเิ จอร์ เคร่อื งประดับ
8) งานโลหะ วัตถุมงคล การทาวัตถุมงคลท่ีระลึก
9) งานผลติ ภณั ฑ์ หนึง่ ตาบลหน่งึ ผลติ ภณั ฑ์
7. ด้านการทามาหากนิ
1) อาชีพเกษตรกรรม
1.1) การเพาะปลกู
1.2) การเล้ียงสัตว์
2) การประมง
3) หตั ถกรรมและอตุ สาหกรรมในครวั เรอื น
4) การพาณชิ ยแ์ ละการตลาด
5) การรักษาโรค
5.1) การรักษาโรคด้วยยาสมนุ ไพร
5.2) หลักทว่ั ไปในการเก็บส่วนที่ใช้เป็นยาสมุนไพร
5.3) สมนุ ไพรที่ใช้รักษาโรค วธิ ปี รุงยาสมนุ ไพร
ขอ้ มูลสารสนเทศ ๗๒
สภาพปญั หาทีส่ ําคัญ จดุ เดน่ /ประเดน็ สาํ คญั /ประเดน็ ทคี่ วรนํามาจัดการเรยี นรู้ในทอ้ งถน่ิ
ในทอ้ งถ่นิ 8. ด้านการกินอยู่
1) ครวั และเครือ่ งใชใ้ นครวั
2) ขนมไทย
3) การถนอมอาหาร
9. ดา้ นการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
1. สาเหตสุ าคญั ของการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ
1) การเพ่มิ ของประชากรอยา่ งรวดเร็ว
2) การกระจายตัวของประชาชน
3) การขยายตวั ด้านเศรษฐกิจ
4) การใชเ้ ทคโนโลยีในทอ้ งถิน่
2. ปญั หาการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
1) ทรัพยากรดนิ ความสมบูรณข์ องดนิ เสื่อมลง
2) ทรัพยากรนา้ ป่าไมถ้ ูกทาลายลงมากทาให้แหลง่ น้าในจังหวดั
เปลย่ี นแปลง
3) ทรัพยากรป่าไมแ้ ละสัตว์ปา่
4) แรธ่ าตแุ ละพลงั งาน
3. ปัญหาจากส่งิ แวดลอ้ มในท้องถิ่น
1) สง่ิ แวดล้อมท่เี กดิ จากสง่ิ ปฏกิ ลู
2) สง่ิ แวดล้อมเปน็ พิษจากมลภาวะ
3) สารพิษในชวี ติ ประจาวนั
4. ปัญหาจากภยั ธรรมชาตทิ เ่ี กิดข้ึนในทอ้ งถน่ิ
1) ภยั จากลมพายุ
2) ภัยจากนา้ ทว่ ม
3) ภยั จากความแห้งแลง้
ขอ้ มูลสารสนเทศ ๗๓
ทิศทางการพัฒนาของ จดุ เดน่ /ประเดน็ สําคญั /ประเด็นท่คี วรนาํ มาจัดการเรยี นรใู้ นท้องถิ่น
ท้องถิน่ ในอนาคต 5. ปญั หาทางสงั คม
(5 – 10 ปี)
1) ความยากจน
พระมหากรณุ าธคิ ณุ 2) ยาเสพติด
ในการพฒั นาท้องถ่ิน 3) พฤตกิ รรมเสย่ี ง
ด้านอื่น ๆ ทศิ ทางการพัฒนาของท้องถนิ่ ในอนาคต( 5 – 10 ปี) กลมุ่ จงั หวดั
ภาคเหนือตอนบน เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน เชยี งราย
พะเยา แพร่ นา่ น เปน็ พ้ืนท่ีราบลมุ่ ของแม่น้าปิง วงั ยม น่าน มจี ุดเน้นดงั นี้
1. ผลิตผลทางการเกษตรและข้าว เปน็ พืชเศรษฐกจิ ทส่ี าคญั ทง้ั การ
บรโิ ภคภายในประเทศ การส่งออกส่ตู ลาดโลก
2. เป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วมรดกโลกท้งั โบราณสถาน และธรรมชาติ
หลายแห่ง
3. มีแม่น้าหลายสาย เข่อื น และแหลง่ น้าธรรมชาติสาหรับการประมง
และทอ่ งเท่ียว
4. เปน็ ศูนยก์ ลางโครางข่ายการคมนาคมและการพาณชิ กรรม
5. มแี หล่งทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีสาคญั ได้แก่ ภเู ขา บอ่ นา้ รอ้ น ฯลฯ
พระมหากรณุ าธิคุณในการพัฒนาทอ้ งถน่ิ
1. พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั
2. โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
1) ทฤษฎเี กี่ยวกบั นา้ เพื่อการเกษตร
2) โครงการสง่ เสรมิ การใช้ประโยชน์จากแหลง่ นา้
3. แนวพระราชดารเิ ศรษฐกิจพอเพยี ง
1. ศนู ย์สินคา้ หน่ึงตาบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ของแต่ละอาเภอและจงั หวัด
2. ศนู ยอ์ าหารพืน้ บา้ นและพืชผลทางการเกษตร
3. เชยี งใหมไ่ นท์ซาฟารี
4. เครอ่ื งมือการวัดด้วยมาตรการวัดแบบไทยและแบบพน้ื เมือง
1 การช่งั
2 การตวง
3) การวัดตามมาตราไทย
4) การคานวณพ้ืนท/ี่ ปริมาตรไม้
5) การอ่านวัน เดอื น ปที างจนั ทรคติ/แบบลา้ นนา
๗๔
ขอ้ มลู เน้อื หาสาระท้องถนิ่ ของโรงเรยี นในสังกัด
สาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่เขต 4
-----------------------------------------------------------------------------
ข้อมูลเนอื้ หาสาระท้องถิ่นของโรงเรยี นในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่
เขต 4 ทีส่ ถานศกึ ษากาหนดขนึ้ เพื่อนาไปสอดแทรกในหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับใช้จัดประสบการณใ์ หผ้ ้เู รียนได้
เรยี นรู้เกย่ี วกบั ท้องถนิ่ ของตนเอง จาแนกเป็นรายโรงเรยี น ดังนี้
1. โรงเรียนบ้านหนองตอง อาํ เภอหางดง
ภูมิศาสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ท่ัวไป : พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีแม่น้าปิงไหลผ่านทางด้านทิศตะวันออก นอกนั้นเป็นคูคลอง
เล็กๆ ไหลผา่ นอกี หลายสาย
ประวัติศาสตร์
ตาบลหนองตอง แต่เดิมสมัยโบราณเป็นเมืองเมืองหนึ่งชื่อว่า “เมืองมะโน” มีความเจริญรุ่งเรือง มาพร้อมกับ
เมืองหริภุญชัย ราวศตวรรษที่ 13 “เมืองมะโน” มีขนาดกว้าง 900 เมตร ยาว 750 เมตร ทิศตะวันออก
ติดแมน่ ้าปงิ มีการขุดพบวัตถุโบราณมอี ายุราวหรภิ ญุ ชยั ปัจจุบนั ประกอบดว้ ย 14 หม่บู ้าน ได้แก่
1. บ้านตน้ โชค
2. บ้านบวกครก
3. บา้ นหนองตอง
4. บ้านปา่ ลาน
5. บา้ นเกาะ
6. บา้ นทา่ นาค
7. บา้ นหนองช้าง
8. บา้ นเชียงแสน
9. บ้านหนองไคร้
10. บ้านหนองบัว
11. บ้านทงุ่ แพง่
12. บา้ นท่าควาย
13. บ้านคนั ธรส
14. บ้านป่าแดง
รวมมวี ัด จานวน 14 แห่ง
ประเพณวี ัฒนธรรม
มขี นบธรรมเนยี มประเพณวี ัฒนธรรมตามแบบล้านนา
ประชากร : เปน็ คนพื้นเมอื ง
ประเพณีสาคัญ - สรงนา้ พระบรมธาตุ
- สลากภตั
- ประเพณยี ่เี ป็ง
๗๕
ภาษา : ใชภ้ าษาพน้ื เมอื ง
เศรษฐกจิ
การประกอบอาชพี และรายได้ของประชากรสว่ นใหญม่ าจากการเกษตร การค้าขาย การรบั จา้ งท่ัวไป การทา
หัตถกรรม
อาชีพ
1. การเกษตร : การทาสวนลาไย ทานา ปลูกผัก เลยี้ งปลากระชงั ในแม่นา้ ปงิ
2. หตั ถกรรม : การทากระเป๋าจากไมไ้ ผ่ การทาโคมลอย โคมแขวน
3. การคา้ ขาย : ขายผลติ ผลทางการเกษตร ขายอาหาร ขายของทวั่ ไป
สถานทีส่ ําคญั
1. เวียงมะโน : เปน็ เมอื งโบราณยคุ หริภญุ ชยั
2. วัดพระเจ้าเหลี้ยม : วดั ทีม่ ีความยาวนานดา้ นประวัติศาสตร์
สภาพปญั หาในชุมชน
1. ความยากจนทางด้านเศรษฐกจิ ของครอบครวั
2. ความแตกแยกของครอบครัว เดก็ และเยาวชนขาดความอบอ่นุ และไมไ่ ดร้ ับการดแู ลเท่าท่ีควร
2. โรงเรยี นบ้านท้าวบญุ เรอื ง อาํ เภอหางดง
ภมู ิศาสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ท่ัวไป : พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ล้อมรอบด้วยหมู่บ้านจัดสรร 7 โครงการ ร้านค้าต่างๆ มากมาย
และมหี อพกั บา้ นเชา่ มากมาย ตดิ ถนนทางหลวง เลข 108 4 เลน เส้นทางคมนาคมสะดวก
ประวตั ศิ าสตร์
จากอดีตไม่เป็นที่แน่ใจว่า ผู้ท่ีมาบุกเบิกในพ้ืนที่เป็นผู้ใด จากคาบอกเล่าสมัยก่อนที่วัฒนธรรมล้านนารุ่งเรือง มี
บุคคล 3 คน โดยใช้คานาหน้าว่า ท่านท้าว ได้แก่ ท้าวบุญเรือง ท้าวผายู ท้าวคาวัง ได้ปักหลักสร้างถ่ินฐานบนถิ่น
ล้านนา โดยกาหนดให้แยกกันอยู่ จากเหนอื ลงใตม้ ีถ่นิ ฐาน แลว้ จึงตั้งช่ือถ่ินฐานตามช่ือของตนเอง จงึ เชื่อว่าบริเวณ
ทท่ี าจะเป็นหมูบ่ ้านท้าวบุญเรืองและมีการสรา้ งวดั โดยเปลี่ยนท่ีสร้างใหม่ถึง 4 แหล่ง และมาสร้างสาเร็จมาในแห่ง
ท่ี 5 คือ วัดท้าวบุญเรอื ง ในปัจจุบันเปน็ วัดท่ีโครงสรา้ งสวยงามแห่งหน่ึงของตาบลหมู่บ้านแห่งน้ี โรงเรียนก่อตั้ง 1
พฤษภาคม 2465 ณ วดั ชา่ งคาหลวง
ประเพณวี ฒั นธรรม
ชาติพนั ธ์ุ เป็นคนพน้ื เมือง มกี ารอพยพเข้ามาในหมู่บา้ น ชาวไทยใหญ่
ประเพณี - ปอยส่างลอง (วดั ช่างหม้อ)
ภาษา พ้นื เมือง - ไทยใหญ่
บคุ คลสําคญั
1. นายวสันต์ ใบใส ชา่ งไฟฟ้า
2. นางต๊กิ ดนตรีไทย
3. คุณปา้ ผกากรณ์ จนั ทรเ์ รือง ทาขนมไทย
4. พระอาจารย์ใบฎกี าอินสม พนั ธุสา ฐานะจโร
5. นายจันทร์ กนั ชยั จักสาน ครูสอนศาสนา
6 นางสมศรี สรุ ยิ ะวงค์ ตดั ตงุ
เศรษฐกิจ
๗๖
- อาชีพหลักของประชาชน รับจ้าง
- รายไดเ้ ฉลยี่ /คน 300 บาท
- ประชากร 1,500 คน
- ครวั เรือน 638 ครวั เรือน
อาชพี
- รบั จ้าง
- ค้าขาย
- เครอ่ื งป้นั ดินเผา
- จักรสาน
สถานทีส่ ําคัญ
1. วัดทา้ วบุญเรือง
2. วดั กูฮ่อ
3. บ้านถวาย
4. พืชสวนโลก
5. ไนท์ซาฟารี
6. แหล่งปัน้ ดินเผา (นายชน่ื จโิ น)
7. ศูนย์การเรยี นรู้ทางการเกษตรของเทศบาลตาบลบ้านแหวน
8. สถานีตารวจ
สภาพปญั หาในชุมชน
หมูบ่ า้ นมีการเพ่ิมประชากร ทาใหช้ ุมชนแออดั สง่ ผลตอ่ ระบบน้าเสีย เพราะมกี ารก่อสร่างท่ีอยอู่ าศัยเพ่ิมมากขึ้น
3. โรงเรียนวัดพระเจา้ เหล้อื ม อําเภอหางดง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภมู ศิ าสตรท์ วั่ ไป : มีสภาพพืน้ ทเ่ี ปน็ ทรี่ าบ ดนิ เหนียว และดินเหนียวรว่ นปนทราย
แมน่ า้ : แม่นา้ ปิง
ประวตั ศิ าสตร์
เป็นเมอื งเก่าท่ีเรยี กสืบทอดกันมาว่า “เมืองมโน” เป็นเมืองโบราณสมัยหริภุญชัย อยู่ทางเหนือสุด ห่างจากเวียงหริ
ภุญชัยไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 8 กิโลเมตร พบหลักฐานเป็นศิลาจารึก อักษรมอญโบราณ แสดง
ความสัมพันธ์กับหัวเมืองมอญ/พม่า พบเคร่ืองปันดินเผาประเภทหม้อบรรจุอัฐิ ลายขูดขีด ศิลปะหริภุญชัยภายใน
เวยี ง เตม็ ไปหมด สว่ นศิลปะเป็นศลิ ปะล้านนามคี วามสืบเนือ่ งจากยคุ หรภิ ญุ ชยั สู่ยคุ ลา้ นนา
เศรษฐกิจ
1. การเกษตรกรรม : มีรายได้สาคัญจากการจาหน่ายลาไยสด และลาไยแปรรูป ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญ
นอกจากนย้ี ังมกี ารทานาปีละ 1 ครง้ั ทาสวนพรกิ และปลูกถวั่ เหลือง สวนกระเทยี ม เปน็ ต้น
2. การอุตสาหกรรม : มโี รงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง มโี รงงานอุตสาหกรรมทสี่ าคัญ ได้แก่ โรงงานอตุ สาหกรรม
บรรจผุ ลผลิตการเกษตร บรรจกุ ระป๋อง โรงงานอบลาไย โรงสีขา้ ว โรงงานทาเฟอรน์ เิ จอร์ เป็นตน้
อาชพี
เกษตรกรรม (สวนลาไย)
ประเพณวี ัฒนธรรม
๗๗
ประเพณีสาคัญ
- สงกรานต์
- ประเพณีย่ีเป็ง
- ประเพณีสรงนา้ พระธาตุ
- การรดนา้ ดาหวั ผสู้ ูงอายุ
- การถวายสลากภัต
- ประเพณปี อยหลวง
ภาษา : ภาษาพดู ทใี่ ชส้ ว่ นใหญ่ เปน็ ภาษาพ้นื เมือง ท่ีเรยี กวา่ “คาเมอื ง”
บคุ คลสาคัญ: ครบู าศรวี ชิ ยั
สถานทีส่ ําคญั
1. วัดหนองตอง
2. วัดพระเจ้าเหลอื้ ม
3. วัดสะดือเมือง
4. โรงเรียนบ้านป่าตาล อาํ เภอหางดง
ภูมศิ าสตร์
พื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นท่ีราบ มีสิ่งก่อสร้าง เช่น โครงการหมู่บ้านจัดสรร การคมนาคมขนส่งสะดวกสบาย ติดถนน
เชียงใหม่-ฮอด
เศรษฐกิจ
มีการรวมกลุ่มผลิตสินค้าเพ่ือจาหน่ายตามชุมชน ซ่ึงเป็นสินค้าประเภทเคร่ืองปั้นดินเผาที่มีชื่อว่า ตุ๊กตาดินยิ้มบ้าน
ป่าตาล จาหน่ายภายในหมู่บา้ นและชมุ ชนทั้งปลกี และส่ง
อาชพี
1. ทาเครอื่ งปัน้ ดินเผาตุ๊กตาดินยิ้ม
2. ทากอ้ นอิฐ เพ่อื จาหน่ายสร้างรายได้
3. เกษตรกรรม
สถานที่สําคญั
1. วัดลัฎฐวนาราม (ปา่ ตาล)
2. ร้านคา้ ชุมชน
3. โรงหล่อระฆงั
4. เวียงกุมกาม
5. สวนราชพฤกษ์
6. วัดพระธาตุดอยคา
7. สวนสตั ว์เชียงใหม่ ไนทซ์ าฟารี
ประเพณี
1. สงกรานต์
2.ลอยกระทงยี่เป็ง
3.บวชภาคฤดรู อ้ น
สภาพปญั หาชุมชน
๗๘
1. หมอกควัน
2. ชุมชนแออัด
3. การย้ายท่ีอยู่อาศยั
5. โรงเรียนบ้านแสนตอ อําเภอหางดง
ภูมิศาสตร์
พืน้ ท่สี ว่ นใหญเ่ ป็นพนื้ ท่รี าบเชิงเขา มที ุ่งนาและปา่ เขาและเปน็ ท่ีรกรา้ งเพราะมีการซ้ือท่ีดินเพื่อเกง็ กาไร
ภูเขา : เป็นท่รี าบเชงิ เขามีภเู ขาเทอื กเขาถนนธงชัย
แมน่ ้า : มีแมน่ า้ ไหลผ่านและมคี ลองส่งนา้ ไหลผ่านชมุ ชน
ประวัติศาสตร์
ชุมชนบ้านแสนตอ เคยเป็นชานเมืองท่ีผู้นาชุมชนในอดีตสามารถเย่ียมเยือนและเป็นที่ต้ังเพ่ือป้องกันศัตรูจะมา
รกุ รานเมอื งเชียงใหม่
บา้ นแสนตอ เป็นหมูบ่ ้าท่ตี ง้ั อยูใ่ กลเ้ มอื งมีการตดั ไมเ้ พ่ือนาไปสร้างเมอื ง
เศรษฐกจิ
หมูบ่ า้ นแสนตอเป็นชุมชนท่อี ยู่ใกลต้ วั อาเภอ เดนิ ทางสะดวก
สถานทีส่ าํ คญั
อทุ ยานแหง่ ชาติออบขาน
แกนแคนยอน
วัดในชุมชนมี จานวน 3 วดั
เกษตรกรรม ประชาชนทานา ปลกู ไมด้ อกไมป้ ระดบั เลีย้ งไก่
หตั ถกรรม มกี ารสานสุ่มไก่ เครอ่ื งปนั้ ดนิ เผา
อาชีพ
เกษตรกรรม ประชาชนทานา ปลกู ไม้ดอกไมป้ ระดับ ปลูกพชื ผักสวนครวั ตามเศรษฐกจิ พอเพียง เล้ียงไก่รับจ้าง
หตั ถกรรม : สานสุม่ ไก่ เครื่องปนั้ ดินเผา
ประเพณี
- การทาบุญ เชน่ ข้ึนบา้ นใหม่ แต่งงาน งานปอย ทาบญุ งานศพ ทาบุญหาคนตาย สลากภัต
- การนบั ถือผี เชน่ ผีปบู่ า่ ผมี ด ผกี ะ
- การนับวันเดือนปี เช่น เดือนเกยี๋ ง เดอื นย่ี วนั ดี วันเสีย ฯลฯ
- เทศกาล เช่น ปีใหม่เมือง ลอยกระทง (ประเพณยี ่ีเป็ง) ปล่อยโคมลอย
- พิธีกรรม เชน่ การข้นึ ท้าวทั้งส่ี การทาเครื่องแต่งดา สมู าแมพ่ ระธรณี เจ้าท่ี
ศิลปวัฒนธรรม
- ประตมิ ากรรม เชน่ พระพทุ ธรปู พระเจ้าทันใจ
- วรรณกรรม เชน่ เพลงพืน้ บ้าน นิทาน สุภาษิต อกั ษรล้านนา
- สถาปัตยกรรม เช่น บ้าน วหิ าร เจดยี ์ ส่งิ ก่อสร้าง
- จิตรกรรม เชน่ ภาพวาด ลายฉลตุ ามวดั โบสถ์ วิหาร ศาลา
- นาฏกรรม เชน่ ฟ้อนเลบ็ ฟ้อนก๋ายลาย ฟอ้ นสาวไหม
- หตั ถกรรม การปั้นดนิ การจักสาน การหล่อพระ
- คหกรรม เช่น การประกอบอาหาร ลาบ แกงอ่อม ไส้อั่ว แกงโฮ๊ะ แกงแค แกงฮังเล
- มารยาทและการแต่งกาย เช่น มารยาทด้านกาย วาจาและใจ การแต่งกายชดุ หมอ้ ฮ่อม ผา้ ซ่นิ การกราบ การไหว้
๗๙
6. โรงเรยี นบ้านดง อําเภอหางดง
ภูมิศาสตร์
สภาพภูมศิ าสตรท์ วั่ ไป : พนื้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบ บางส่วนเปน็ ทีร่ าบเชิงเขา
ภูเขา : ดอยสุเทพ-ปุย
แมน่ ้า : แม่ท่าชา้ ง และมคี ลองชลประทานไหลผา่ นภายในหม่บู า้ น
ประวัติศาสตร์
ประวัติความเป็นมา : ในอดีตบ้านดง เป็นชุมชนเก่าแก่ ประมาณ 600 ปี (จากข้อมูลประวัติวัดหางดง) มีคาม
เจริญรงุ่ เรอื งด้านพระพุทธศาสนา โดยมแี หลง่ โบราณสถานทส่ี าคัญในชุมชน ได้แก่ วัดหางดง และวดั ท้ายคาวัง
มชี นพน้ื เมอื เดมิ คือ ชาวเผ่าลัวะ ลาว ไต ม่าน เมิง
เศรษฐกิจ
เกษตรกรรม : มคี ลองชลประทานไหลผ่านในชมุ ชน มีพื้นทีเ่ หมาะสมในการประกอบอาชีพดา้ นการเกษตร
คา้ ขาย : ชมุ ชนเป็นศนู ย์กลางของอาเภอ อยู่ใกล้สว่ นราชการ และเป็นทางผ่านการคมนาคมสู่อาเภอใกลเ้ คียงอืน่ ๆ
จงึ ใหต้ อบสนองตอ่ การซื้อขายแลกเปลีย่ น
อาชพี
เกษตรกรรม : มีแหลง่ น้าไหลผ่าน ประชากรสว่ นหนง่ึ มอี าชีพเกษตรกร
ค้าขาย : ชุมชนใกลต้ ลาด ประชากรบางสว่ นนาผลผลติ ออกขาย
รับจ้าง และบริการ : ในชุมชนมบี า้ นจัดสรร สนามกอลฟ์
บ้านดงเปน็ ชุมชนท่มี าแต่โบราณ มีการสบื ทอดขนบธรรมเนยี ม ประเพณมี าชา้ นาน
ชาตพิ นั ธ์ : ลัวะ ลาว ไต ม่าน เมงิ
ประเพณีสําคญั
1.เล้ยี งดงพระเจา้ นั่งโกน๋ : ทาบญุ เล้ียงพระ จดั บชู าพระเจ้านั่งโก๋น
2.ทาบุญดอยขา้ ว : นาข้าวท่ีได้จากการเก็บเกีย่ วมาทาบญุ ถวายพระในวนั เพญ็ เดอื น 4 เพ่อื เป็นศิรมิ งคล
2.ถวายเทยี นพรรษา : ถวายเทียนตามพุทธบชู าในวนั เข้าพรรษา
3.ย่เี ปง็ : จัดกจิ กรรมลอยกระทง บชู าผางประทปี โคมไฟ
บุคคลสาํ คัญ
1.ขุนดงั นคร
2.พอ่ ครูคา กาไวย์ ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาการแสดงพ้ืนบา้ น
สถานทสี่ ําคัญ
1. วดั หางดง
2. วดั ทา้ วคาวัง
3. วดั เวียงดง
4. ดงพระเจ้าน่งั โกน๋
5. ศนู ยก์ ารเรียนรพู้ ่อครูคา กาไวย์
๘๐
7. โรงเรียนวัดศรสี วา่ ง อําเภอหางดง
ภมู ศิ าสตร์
สภาพภมู ศิ าสตรท์ ่วั ไป : พนื้ ท่สี ว่ นใหญ่เปน็ ทร่ี าบสูง
แม่นา้ : ลาเหมือง แมท่ า่ ชา้ ง แม่คาลม เหมอื งกลาง
ประวตั ิศาสตร์
ประวัติความเปน็ มา : ชุมชนในหม่บู ้าน เป็นหม่บู ้านเก่าแก่ มีอายุหลายร้อยปี เดิมเป็นคนพ้ืนเมือง เผ่าลัวะ ตอ่ มามี
การอพยพของพี่น้องไทเขิน จากบริเวณแม่น้าดง มาอยู่หมู่บ้านวัวลาย สมัยพระเจ้ากาวิละ ในยุค “เก็บผักใส่ซ้า
เก็บขา้ ใสเ่ มอื ง” คนชมุ ชนจึงผสมผสาน ระหว่าง ลัวะ และไทยเขิน
เศรษฐกจิ
ทอ่ งเที่ยว :
- โบราณสถาน 700 ปี วดั ทุ่งออ้
- งานจติ รกรรม / งานปัน้ วัดศรสี ว่าง (วัวลาย) , วดั อินเทพฯ , วดั หารแกว้ , วัดศรีลอ้ ม
เกษตรกรรม : เปน็ อาชีพเกษตรกรรม และทาไร่ ทาสวน
หตั ถกรรม : ในหม่บู า้ นมีหัตถกรรมที่นารายไดม้ าใหช้ ุมชน เชน่
- เครื่องปั้นดนิ เผา / ป้นั หม้อ
- งานประติมากรรม (สล่าวัด) ชอ่ ฟ้า ใบระกา
- งานไม้ / งานก่อสร้าง
อาชีพ
1.เคร่อื งปน้ั ดินเผา : ป้นั หมอ้ ตอ่ ม หม้อดอก หม้อแกง โดยมแี หล่งการผลิตในชมุ ชน
2.ฟาร์มเหด็ ลงุ จา
3. โรงงานผลิตแคบหมู ไส้อว่ั
4. โรงงานผลิตลูกชิ้น
5. กลุ่มวสิ าหกิจทาขนมบา้ นทุ่งอ้อ
6. โรงงานทาธปู
7. โรงงานผลิตน้าด่ืม
8. โรงงานผลิตอาหารเสรมิ Hearb
ประเพณวี ฒั นธรรม
มีขนบธรรมเนยี ม ประเพณวี ัฒนธรรม ดงั้ เดมิ ของลา้ นนา และมเี อกลักษณะของตนเอง
1. ชาติพันธ์ : ผสมระหว่าง ลัวะ ไทยเขิน
2. ประเพณี : สงกรานต์ ยีเ่ ป็ง สรงนา้ พระธาตุ จดุ บ้งั ไฟ สลากภัต ปอยหลวง งานบวช เลย้ี งผบี รรพบรุ ษุ
3. ภาษาพน้ื เมอื ง : ใช้คาเมือง
บุคคลสําคัญ
1. นายอภัย ถาจนั ทร์ (ผู้ก่อตง้ั โรงเรยี นครูบาอา้ ย อดีตเจ้าอาวาสวัดศรสี วา่ ง)
2. พอ่ หนอ้ ยหลา้ ปญั ญาแหลม (ผ้รู เิ รม่ิ งานชา่ งในชมุ ชน)
3. คณะลิเกแก้วเลียงทอง
4. ช่างซอ (อนนั ต์ หวั เวยี ง)
5. ดนตรีพ้ืนเมือง (สมมาตร ปญั ญาแหลม)
6. นายลูน ระฤทธิ์ (ลเิ กวงพรนอ้ ยวิลุนศลิ ป์)
7.ครบู าจง (เจา้ อาวาสวัดศรสี ว่าง)
๘๑
8. พระนคร ตกิ ขปญั โญ (ภาษาลา้ นนา)
9. ดรุณี นันโท , วิไล ตมุ้ ผา่ (งานป้นั หมอ้ )
สถานท่ีสาํ คญั
1. วัดศรสี วา่ ง
2. วัดหารแก้ว
3. วดั อนิ เทพ
4. วดั ทุง่ ออ้ หลวง
5. วดั ศรีล้อม
สภาพปัญหาในชมุ ชน
ครอบครัวส่วนใหญ่ มปี ัญหาด้านการหย่าร้างและมฐี านะยากจน
8. โรงเรยี นวดั ประชาเกษม อาํ เภอหางดง
ภมู ิศาสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ท่ัวไป : พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท่ีราบสูงแวดล้อมด้วยธรรมชาติขุนเขา มีที่ราบสูงเชิงเขากระจายอยู่
ท่วั ไป
ภเู ขา : ความสงู เหนอื ระดับนา้ ทะเล
แหลง่ นา้ : ห้วย / อา่ งเกบ็ น้า
ประวัตศิ าสตร์
ประวตั คิ วามเป็นมา :
- ประวัติของหมูบ่ ้านนา้ ซมุ้
- ประวัติของหมบู่ ้านห้วยกว้าง
- ประวตั ขิ องหมบู่ า้ นประชาเกษม
- ประวตั ชิ นเผ่ามง้
เศรษฐกิจ
ทอ่ งเทยี่ ว : ถา้ ตก๊ั แตน
- โครงการหลวงทุ่งเริง
- โครงการหลวงหว้ ยเส้ยี ว
เกษตรกรรม :
- การเกษตร เพาะปลูกพชื เศรษฐกจิ กะหล่าปลี ส้มเขียวหวาน พชื ไร่
หัตถกรรม :
- การปกั ผ้ามง้
- การทาพวงกญุ แจดว้ ยผ้ามง้
อุตสาหกรรม :
- อุตสาหกรรมครวั เรือน การเยบ็ กระเป๋าดว้ ยจักร
อาชพี
1. ปักผ้าม้ง
2. เยบ็ กระเปา๋ ผา้
๘๒
ประเพณีวฒั นธรรม
ชาติพันธ์ุ:
1. ชาตพิ นั ธ์ชุ นเผา่ มง้
2. ชาติพนั ธไุ์ ทยใหญ่
3. ชาติพนั ธคุ์ นพนื้ เมอื ง
ประเพณีสาคัญ :
1. ปใี หม่มง้
2. งานศพ (ชนเผ่ามง้ )
3. เลย้ี งหอพ่อบ้าน
4. สบื ชะตา (ชนเผา่ ม้ง)
5. บายศรีสู่ขวัญ (คนพื้นเมอื ง)
ภาษาทอ้ งถ่ิน :
1. ภาษาม้ง
2. ภาษาเมอื ง
3. ภาษาไทยใหญ่
บคุ คลสาํ คัญ
1. ผ้ใู หญบ่ ้าน
2. ผู้นาทางศาสนาคริสต์ (โบสถ์)
9. โรงเรียนบา้ นตองกาย อาํ เภอหางดง
ภมู ศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตรท์ ัว่ ไป : เปน็ พืน้ ทรี่ าบใกลค้ ลองชลประทาน
เศรษฐกิจ
ทอ่ งเทย่ี ว : อยใู่ กลแ้ หลง่ ท่องเท่ียวทีส่ าคัญ ได้แก่ อทุ ยานราชพฤกษเ์ ชียงใหม่ ไนทซ์ าฟารี และวัดพระธาตุดอยคา
หัตถกรรม : งานไมก้ ลงึ ลงรักปิดทอง
อาชพี
1. เป็นชมุ ชนเกา่ แก่ มีอาชีพกลงึ ไม้มากว่า 100 ปี
2. รบั จา้ งทั่วไป
ประเพณแี ละวัฒนธรรม
มปี ระเพณที ี่เป็นประเพณที ั่วไป เชน่ สงกรานต์ ประเพณียีเ่ ป็ง ประเพณีสรงน้าพระธาตวุ ัดตองกาย
ชาติพันธุ์ : มีชาวพืน้ เมืองและชาวไทใหญ่ทมี่ าอาศัยหอพัก หอ้ งแถว เพ่ือการประกอบอาชพี
ภาษา : มีการใช้ภาษาพื้นเมอื งเป็นส่วนใหญ่ และภาษาไทยใหญ่ทใี่ ช้เฉพาะกลุ่ม
บุคคลสาํ คญั
1. พระครสู ถิต ปญุ ญาธินนั ท์ วดั ดอยแกว้
2. ครบู าดวงดี วนั วุฒิราษฎรบ์ ้านฟอ่ น
สถานท่ีสําคญั
1. อุทยานหลวงราชพฤกษ์
2. เชยี งใหมไ่ นท์ซาฟารี
๘๓
3. วัดพระธาตดุ อยคา
4. วดั อนิ ทราวาส (ตน้ แกวน๋ )
5. ศูนยห์ ตั ถกรรมเคร่ืองปน้ั ดินเผา บ้านเหมอื งกุง และบ้านป่าตาล
6. บา้ นถวาย
สภาพปัญหาในชมุ ชน
พ้ืนทใ่ี นหมู่บ้านมจี ากัด แต่มีประชากรอาศัยอยเู่ ป็นจานวนมาก เป็นชุมชนแออัดถนนคับแคบ
10. โรงเรยี นบ้านนํา้ แพร่ อําเภอหางดง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภมู ิศาสตรท์ ่วั ไป : พืน้ ท่สี ่วนใหญ่เปน็ ท่รี าบเชงิ เขา
เศรษฐกจิ
บ้านน้าแพร่ เป็นชุมชนแหล่งบริการด้านการท่องเท่ียว มีร้านค้าบริการมากมาย เช่น ร้านกาแฟ ร้านอาหาร เช่น
Grand Canyon , Canyon Water Park
เกษตรกรรม : การปลูกลาไยเปน็ พืชเศรษฐกิจ การปลกู ข้าวเพอื่ การบรโิ ภค
อาชพี
1. ประกอบธุรกจิ รา้ นค้า (เจ้าของกิจการ)
2. รับจ้าง (ในรา้ นบริการทวั่ ไป)
ประเพณีและวัฒนธรรม
ชาติพนั ธ์ุ : คนพ้นื เมือง ไทยใหญ่
ประเพณีสาคัญ : สงกรานต์ ตานกว๋ ยสลาก ประเพณยี ี่เป็ง
ภาษา : ภาษาพน้ื เมือง (ลา้ นนา)
สถานท่สี ําคัญ
1. อุทยานหลวงราชพฤกษ์
2. เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
3. วัดพระธาตดุ อยคา
4. วดั ตน้ แกวน๋
สภาพปญั หาในชมุ ชน
คนสว่ นมากในชุมชน ยงั มีปญั หาความยากจน
11. โรงเรยี นบา้ นวงั ศรี อําเภอหางดง
ภมู ศิ าสตร์
สภาพภมู ิศาสตร์ท่ัวไป : เป็นท่ีราบแม่น้าปิงอยูใ่ นเขตระบบชลประทาน
แม่นา้ : แมน่ ้าปิง แม่นา้ ขา่
ประวัตศิ าสตร์
วดั ศรีวารีสถาน
วัดรตั นอารามใหม่
วดั ไชยสถาน
๘๔
สานักสงฆ์พระเจา้ อมลน้ิ
เศรษฐกิจ
ท่องเทยี่ ว :
- ลาไยต้นแรกของประเทศไทย ต้งั อยทู่ ี่กาดสวนเจ้า หมู่ที่ 3
- วัดพระเจา้ อมลิน้ ซ่งึ เปน็ สานกั สงฆ์ ตัง้ อยหู่ มทู่ ่ี 4 บ้านทา่ ศาลา
เกษตรกรรม : อาชพี ของประชากรบางส่วนประกอบอาชพี ทานา
หตั ถกรรม : งานไมแ้ กะสลกั งานแอนตกิ
อาชพี
1. ทานา
2. งานแกะสลัก
3. เล้ียงปลาในกระชัง
ประเพณแี ละวัฒนธรรม
ชาติพันธ์ุ : ประชากรส่วนใหญ่เป็นคนพ้ืนเมือง แต่มีประชากรส่วนน้อยเป็นคนไทยใหญ่ ที่เข้ามาทางานในตาบล
สบแม่ข่า
ประเพณสี าคญั : สรงนา้ พระ สงกรานต์ ประเพณยี ี่เป็ง
ภาษา : ภาษาพ้ืนเมอื ง เรียกวา่ คาเมือง
บคุ คลสาํ คญั
1. นายกองค์การบริหารสว่ นตาบลสบแม่ข่า
2. กานัน
3. ผู้ใหญ่บา้ น
สถานท่ีสาํ คัญ
1. วัดศรวี ารสี ถาน
2. วัดรัตนอารามใหม่
3. วัดไชยสถาน
4. สานักสงฆ์พระเจา้ อมล้ิน
5. องคก์ ารบริหารส่วนตาบล
6. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
12. โรงเรียนบา้ นสันผักหวาน อําเภอหางดง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตรท์ ่ัวไป : พน้ื ทีร่ าบ ชมุ ชนคนเมอื ง มหี มบู่ ้านจดั สรรล้อมรอบ
ประวัติศาสตร์
ต้งั อย่บู รเิ วณวัดเก่แก่ของเมืองเชยี งใหม่ ยคุ เดยี วกบั เวียงกุมกาม เดิมโรงเรียนบ้านสนั ผกั หวาน มเี นินท่ี
ปลกู มะปรางหวาน แต่ภาษาพ้นื เมืองเรยี กวา่ มะผางหวาน เรยี กกันวา่ สันมะผางหวาน (สนั คือ เนิน)
เรยี กตอ่ ๆ กันมา เพ้ียนเป็นสันผกั หวาน
เศรษฐกจิ
เกษตรกรรม
อาชพี
๘๕
1. เกษตรกรรม
2. รบั จ้าง
3. ทางานส่วนตัว (ธรุ กิจ)
4. หตั ถกรรมบ้านถวาย
ประเพณีและวัฒนธรรม
ชาตพิ ันธ์ุ :
- พ้ืนเมือง
- คนตา่ งด้าว
ประเพณี :
- สงกรานต์
- ปอยสา่ งลอง
- ยเ่ี ปง็
- งานหัตถกรรมบา้ นถวาย
ภาษา :
- พื้นเมอื ง / ไทย / ไทยใหญ่
บคุ คลสําคญั
1. พ่อมา ศรีกนั ธา ภูมิปญั ญาชาวบา้ น
2. พอ่ หนานอุทัย ใบชา คนเกา่ แก่ในชมุ ชน ให้ความรู้ประวัตคิ วามเป็นมาของชมุ ชน
สถานท่สี ําคญั
1. วดั ช้างนา้
2. สถูปครบู าจันทร์
สภาพปญั หาในชมุ ชน
ชมุ ชนแออดั มีต่างด้าวมาพกั อาศัยเป็นจานวนมาก
13. โรงเรียนบ้านสันทราย อําเภอหางดง
ประวตั คิ วามเป็นมาท้องถน่ิ
บ้านสันทราย เป็นชุมชนท่ีมีการทาอาชีพหลากหลาย โดยมีอาชีพท่ีคนในชุมชนให้ความสาคัญและสืบทอดกันมา
คอื อาชีพหตั ถกรรม (แกะสลัก) หัตถกรรม (งานสานไม้ไผ่) ซึง่ ในปจั จุบันไดพ้ ัฒนาผลิตภณั ฑ์และสินคา้ ให้เป็นสนิ ค้า
OTOP รวมถึงพัฒนาขน้ึ มาเป็นแหล่งท่องเท่ยี ว
สังคมและวิถชี ีวิต
ในอดีตชุมชนมีลักษณะเป็นชุมชนชานเมืองที่มีการอยู่รวมกันมีความเกื้อกูล มีวัฒนธรรมในการทางานโดยใช้
ทรัพยากรในท้องถิ่นและทักษะฝีมือในการทางาน โดยสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น แต่ในปัจจุบัน ได้มีการเข้ามาของ
แรงงานต่างด้าว เข้ามาอยู่ในสังคมมากขึ้น ลักษณะการทางานได้เปลี่ยนแปลงไปกลายเป็นการทางานโดยใช้
แรงงานมิใช่การใช้ทักษะฝีมือ เด็กและวัยรุ่นไม่เห็นคุณค่าและความสาคัญของงานหัตถกรรมทาให้ทักษะฝีมือเร่ิม
สูญหายนอ้ ยลง
ด้านเศรษฐกิจ
๘๖
เน่ืองจากเป็นชุมชนท่ีมีความหลากหลายของคนในชุมชนส่งผลให้รายได้จะมาจากงานหัตถกรรมงานเกษตรกรรม
และแรงงาน ซ่ึงส่งผลให้ค่าครองชีพในชุมชนสูงแต่รายได้ไม่เพียงพอ คนในชุมชนจึงนิยมทางานท่ีมีรายได้ประจา
มากกว่างานทีใ่ ชฝ้ มี ือ
การพัฒนา (ทกั ษะการเรยี นรู)้
จากจุดเด่นของชุมชนในด้านของงานหัตถกรรม ส่งผลให้ทางโรงเรียนต้องการท่ีจะพัฒนาและต่อยอดทักษะด้าน
งานฝีมือ โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เช่น การออกแบบลวดลายโดยใช้รูปเรขาคณิต ใน
การเพม่ิ มูลค่าและพฒั นาผลติ ภัณฑ์ การยอ้ มสี ตอก เพอ่ื สรา้ งความสวยงามและเพม่ิ มูลคา่ ของสินคา้
14. โรงเรยี นวดั จอมทอง อําเภอหางดง
ประเพณี วฒั นธรรม
ตานกว๋ ยสลาก (สลากภตั )
เป็นประเพณีที่สาคัญของชาวล้านนา จัดกันเป็นประจาทุกปี แสดงออกถึงการระลึกถึงบรรพบุรุษ ญาติมิตร ผู้
ลว่ งลบั ไปดว้ ยการทาบญุ ตานก๋วยสลากและยงั เปน็ การอนรุ ักษ์ประเพณีทีด่ ีงามของล้านนาใหค้ งอยู่สืบไป
อาชีพ
การทาแคบหมู :
แคบหมู เป็นอาหารท่ีข้ึนช่ือของชาวล้านนา ใชร้ ับประทานร่วมกับอาหารอ่ืน ๆ เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากการนาหนัง
หมมู าทอดนา้ มนั สามารถสรา้ งรายได้ใหก้ ับครอบครวั เพราะผคู้ นนยิ มบรโิ ภคและซอ้ื เป็นของฝาก
การทาน้าพรกิ หนุม่ :
น้าพริกหนุ่ม เป็นอาหารพื้นบ้านล้านนาท่ีรู้จักกันแพร่หลาย ทาจากพริกสดที่ยังไม่แก่จัด ผู้คนนิยมบริโภคและซื้อ
เปน็ ของฝาก สรา้ งรายได้ให้กับคนในชมุ ชน
15. โรงเรียนวดั ช่างคํา อาํ เภอหางดง
ประเพณสี รงนํา้ พระธาตวุ ดั ช่างคาํ หลวง
เป็นประเพณีที่สาคัญของชุมชนช่างคาหลวง และได้ปฏิบัติสืบทอดกันมาช้านานทุกปี จะสรงน้าพระธาตุในเดือน
มถิ นุ ายน
การประดษิ ฐ์ตุงล้านนา
ในชมุ ชนมบี คุ คลทมี่ คี วามรู้ความสามารถในการประดษิ ฐ์ตุงลา้ นนา ทค่ี วรสง่ เสริมและอนรุ กั ษ์ไว้
การทําอาหารพนื้ เมือง
แกงฮงั เล เป็นอาหารพนื้ เมืองทีบ่ รรพบรุ ษุ ส่ังสอนลูกหลานสบื ตอ่ กนั มาช้านาน ควรอนรุ ักษไ์ วใ้ หล้ กู หลาน
การแกะสลักไม้
ในชุมชนมีอาชีพแกะสลักไม้ เป็นรูปร่างต่าง ๆ เช่น ของตกแต่งบ้าน เป็นของใช้ ฯลฯ สามารถเป็นอาชพี ทารายได้
ใหช้ มุ ชนอย่างตอ่ เน่ือง
๘๗
16. โรงเรียนบา้ นทรายมูล อาํ เภอหางดง
ประวตั ิศาสตร์
วดั ท่สี าคัญในอาเภอหางดง คือ วดั เวยี งดง้ วัดตน้ แกวน๋ พระเจา้ นั่งโกร๋น
เศรษฐกิจ
ท่องเทีย่ ว : อทุ ยานหลวงราชพฤกษ์ ไนทซ์ าฟารี
หตั ถกรรม : บา้ นถวาย เหมืองกุง เคร่อื งปั้นดนิ เผาบา้ ป่าตาล
ดนตรพี ืน้ เมือง
1. สะล้อ ซอ ซึง
2. กลองสะบดั ชัย
ส่ิงแวดล้อม
1. ทาปยุ๋ หมกั จากใบไม้
2. ปลกู ผักอินทรีย์ (วัดทรายมลู และแปลงสาธิตของหมู่ 3 ต.หางดง)
17. โรงเรียนบ้านฟอ่ น อําเภอหางดง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ : พ้ืนทส่ี ่วนใหญ่ล้อมรอบด้วยภูเขา
ภเู ขา : ดอยหลวง อทุ ยานแหง่ ชาตสิ เุ ทพ-ปุย
แมน่ ้า : แมท่ ่าช้าง
ประวัติศาสตร์
ประวตั ิความเป็นมา : ประชาชนเป็นคนพื้นท่ลี ้านนาไทย ใชภ้ าษาพ้ืนเมืองเปน็ หลกั
เศรษฐกจิ
ชมุ ชนเปน็ แหลง่ ผลิต ดา้ นการเพาะปลกู หตั ถกรรม และแหล่งทอ่ งเที่ยว
ท่องเที่ยว : มีแหล่งท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์และสุขภาพ มีโบราณสถานที่สาคัญ เช่น สวนหลวงราชพฤกษ์ สวนสัตว์
ไนท์ซาฟารี วัดตน้ แกว๋น สวนพฤกษศาสตร์วรรณคดี (ป่าในเมือง) และแหล่งท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ เช่น บ้านกระต่าย
หลองขา้ วหลวง ข้องหลวง บา้ นไรย่ าขงิ
เกษตรกรรม : อาชพี บางสว่ นทาด้านเกษตรกรรมขา้ วสาลพี นั ธุ์พืน้ เมอื ง
หัตถกรรม : มคี วามหลากหลายไดแ้ ก่ งานเคร่ืองปั้นดนิ เผาบ้านเหมืองกา งานสานบ้านร้อยจนั ทร์ งานไม้บ้านถวาย
อาชีพ :
ช่างก่อสรา้ ง
นวด : นวดแผนไทย นวดประคบ ย่าขาง
งานป้ัน : เครื่องป้นั ดนิ เผาบ้านเมอื งกงุ
ประเพณวี ฒั นธรรม
มปี ระเพณีวัฒนธรรม แบบลา้ นนา มีภาษาและอักษรล้านนา
ชาติพนั ธ์ุ : ชนพืน้ เมอื งและชนเผา่ ไทยใหญ่ อาศยั อยู่ร่วมกัน อยา่ งถอ้ ยทีถอ้ ยอาศยั
ประเพณีทส่ี าคญั :
สงกรานต์ : 13-15 เมษายน
ยเี่ ป็ง :
๘๘
สลากภัต : เดอื นสิบเหนอื
ปู่แสะย่าแสะ :
ภาษา : พ้ืนเมอื ง
บุคคลทีส่ ําคัญ
พระครมู งคล ยตคิ ุณ (ดวงดี ยตโิ ก) พระเถระเปน็ ท่เี คารพนับถอื (104 ปี)
สถานท่สี าํ คญั
วดั ต้นแกว๋น เป็นวดั ที่เป็นมรดกของชาติ ขึ้นทะเบียนกรมศิลปกร เป็นตน้ แบบของหอคาหลวงในอุทยานหลวงราช
พฤกษ์
วัดบ้านฟอ่ น มีสถาปัตยกรรมทส่ี วยงาม
วดั หนองควาย เป็นวัดทีม่ ีประวัตเิ ก่าแกเ่ ป็นท่ีมาของชื่อตาบลหนอง มีประวตั ศิ าสตร์เร่ือง หนองควายดา
วัดดอยคา เปน็ วัดทม่ี พี ระเจ้าทันใจเปน็ ที่เคารพสกั การะและเช่ือถือในเรือ่ งโชคลาภของคนทัว่ ไป
วดั ดอยแกว้
วัดดอยเปา
สภาพปัญหาในชมุ ชน
1. ผปู้ กครองในชมุ ชน สว่ นใหญ่มีค่านยิ มนาบตุ รหลานไปเรยี นในโรงเรียนตา่ งบ้าน และเขตอาเภอเมือง
2. นักเรยี นส่วนใหญ่ เป็นเด็กทขี่ าดความพรอ้ มในด้านการเรียนและเป็นเด็กบกพร่องการเรยี น
3. ผปู้ กครองขาดความรู้และขาดความเอาใจใส่
18. โรงเรยี นบา้ นสนั ปา่ สัก อําเภอหางดง
ภมู ิศาสตร์ของอําเภอหางดง
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตภูเขา และเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย และเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตาบลบ้านปง และ
น้าแพร่ ตาบลหนองควาย มีพนื้ ท่ีราบเป็นพ้ืนที่เพาะปลูก เพือ่ อยอู่ าศยั และการพาณิชย์มลี าน้าธรรมชาตทิ ่ีสาคัญ 2
สาย คอื
1. แม่น้าปงิ
2. ลาแมน่ ้าทา่ ช้าง
สภาพภมู ิศาสตรข์ องโรงเรยี นบ้านสนั ปา่ สกั ต้งั อย่เู ขตกึง่ เมอื งกง่ึ ชนบท ด้านหน้าตดิ ถนนสายเชียงใหม่-ฮอด
ประวตั ิความเป็นมาของอําเภอหางดง
เดิมเรียกว่า แขวงแม่ท่าช้าง ข้ึนตรงต่อเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ต่อมาปี 2475 ได้เปลี่ยนช่ือเป็นอาเภอหางดง
พ.ศ. 2481 ยบุ เป็นก่ิงอาเภอ และ พ.ศ. 2490 ยกเป็นอาเภอหางดง มีเน้ือท่ี 30.2 ตร.กม. มีท้งั หมด 11 ตาบล
ได้แก่ ตาบลหางดง ตาบลหนองแกว๋ ตาบลหารแก้ว ตาบลหนองตอง ตาบลขุนคง ตาบลสบแม่ขา่ ตาบลบ้านแหวน
ตาบลสันผกั หวาน ตาบลหนองควาย ตาบลบา้ นปง และตาบลนา้ แพร่
ประวัติความเปน็ มาของโรงเรียนบา้ นสนั ปา่ สัก
ก่อตัง้ ขึ้นเมอ่ื พ.ศ. 2464 เม่ือ 97 ปลี ่วงมาแล้ว ตั้งอยู่ที่หมู่ 11 ตาบลหนองควาย อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่
โดยขนุ สนั ทรายทรงศักด์ิ เป็นผบู้ รจิ าคท่ดี นิ ในการกอ่ สรา้ งโรงเรียน
บคุ คลสาํ คญั ของอําเภอหางดง
ปัจจุบนั นางสาวนติ ิยา พงษพ์ านิช เป็นนายอาเภอ
นายบุญเลิศ คาขาว ปราชญ์ชาวบ้าน บา้ นสันทราย
นายณรงค์ อนุ จะนา ปราชญ์ชาวบ้าน บา้ นตองกาย
๘๙
นายธวัชชัย แกน่ ไชยมี ปราชญช์ าวบ้าน บ้านสบแม่ข่า
นางบวั แกว้ ศรีจนั ทร์ ปราชญ์ชาวบ้าน บา้ นเหมืองกงุ
นายถนอม นางเล็ก ไชยวงค์ ปราชญ์ชาวบา้ น บา้ นสนั ผกั หวานน้อย
นายรตั น์ บัวออน ปราชญช์ าวบ้าน บ้านสนั ทราย
ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ
แกะสลกั ไมบ้ า้ นถวาย
เครอื่ งปั้นดินเผา หม่บู า้ นเหมอื งกงุ
ผลิตภัณฑ์จักสารบ้านร้อยจนั ทร์
บคุ คลสาํ คญั ของโรงเรียนบา้ นสันปา่ สกั
- ขุนสนั ทรายทรงศักด์ิ ผูก้ ่อต้ังโรงเรยี นบ้านสนั ป่าสกั
- นาย.............................. ผบู้ รหิ ารคนแรกของโรงเรยี น
- นายชยั พร นิธวิ ทิ ยา ผู้บรหิ ารคนปจั จุบัน
- พระครสู ถิต ปญุ ญาภนิ ันท์ ประธานกรรมการสถานศึกษา
- นายศกั ด์สิ ิทธ์ิ กระสัมทธ์ิสขุ สนั ต์ ประธานชมรมผปู้ กครอง
ประเพณวี ฒั นธรรม
อาเภอหางดงเป็นเมืองที่มีขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมของล้านนาและภาษาเป็นเอกลักษณ์ของ
ตนเอง
ชาติพันธ์ : อาเภอหางดง มีชนกลุ่มน้อยอยู่ตามบริเวณภูเขา มีภาษา ขนบธรรมเนียมของตนเอง ส่วนใหญ่เป็นคน
พืน้ เมอื ง ล้านนา และแรงงานต่างด้าว สญั ชาติไทยใหญ่
ประเพณีสาคญั
- สงกรานต์
- ประเพณียี่เป็ง
- งานศูนยห์ ตั ถกรรมบา้ นถวาย
- งานปอยสา่ งลอง
- สืบฮีต สานฮอยผ่อกอยวฒั นธรรม วดั ต้นแกวน๋
- งานปอยหลวง
เศรษฐกจิ
อาเภอหางดง เป็นอาเภอที่มีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีความพร้อมทุกด้าน มีการเติบโตอย่าง
อสงั หาริมทรัพย์ บ้านจัดสรร โรงแรม รีสอรท์ ธรุ กิจ ห้างสรรพสินคา้ จานวนมาก
หางดงปัจจุบันมสี ภาพเมอื งที่กลมกลนื กับนครเชียงใหม่ จนเรียกไดว้ า่ คือ เมอื งเดยี วเป็นอาเภอทร่ี องรบั ความเจริญ
ของนครเชียงใหม่
ท่องเท่ียว อาเภอหางดงมีแหล่งท่องเที่ยวสาคัญมาก ทั้งธรรมชาติ โบราณสถาน ทารายได้ให้กับท้องถ่ิน เช่น วัด
พระธาตุดอยคา วัดต้นแกว๋น พืชสวนโลก ไนท์ซาฟารี อุทยานแห่งชาติออบขาน กาดฝร่ัง ศูนย์หัตถกรรมจานวน
มาก
หัตถกรรม อาเภอหางดง มีหัตถกรรมมากมาย ทารายได้มาสู่ชุมชน เช่น แกะสลักไม้ทาเฟอร์นิเจอร์ ทอผ้า
เครอ่ื งปนั้ ดนิ เผา จกั สาน เป็นตน้
เกษตรกรรม อาชีพส่วนใหญ่ ของชาวบ้านอาเภอหางดง ทานา ทาสวนลาไย สวนมะมว่ ง
๙๐
อาชีพ
1. จกั สาน ชุมชนวัดรอ้ ยจันทร์
2. แกะสลกั ไม้ ชาวบา้ นสว่ นใหญ่จะทางานไมส้ ง่ ศูนย์หตั ถกรรมบ้านถวาย
3. ทาเฟอรน์ ิเจอร์ ของตกแตง่ บ้าน
4. เครอ่ื งปั้นดินเผา บ้านเหมืองกงุ บา้ นป่าตาล ตกุ๊ ตายมิ้
5. เกษตรกรรม กระจายทกุ ๆ ตาบล ทาสวน สวนลาไย สวนลิน้ จ้ี ทาไร่ ไร่สตอรเบอร่ี ทานา
6. รับจา้ ง
สภาพปัญหาในชมุ ชน
อาเภอหางดง เปน็ แหล่งจา้ งงานจานวนมาก โรงงานขนาดยอ่ ม RPM ฟารม์ โรงงานเคร่ืองปัน้ ดนิ เผา
จงึ ทาให้มแี รงงานหลงั่ ไหลมาอยู่อาศยั และประกอบอาชีพจานวนมากหลายชาติพันธ์
สถานทีส่ ําคัญ
1. เป็นหตั ถกรรมบ้านเหมืองกงุ ผลติ เครอื่ งปนั้ ดนิ เผา เป็นที่ ผลิต ปนั้ เผา ตกแตง่ เปน็ สินค้าและทอ่ งเท่ียว
2. อทุ ยานหลวงราชพฤกษ์ พืช พนั ธุไ์ ม้ ในประเทศนอก ในประเทศ แหลง่ เรียนรู้
3. เชียงใหม่ไนทซ์ าฟารี สวนสตั ว์กลางคืน สง่ เสริมทอ่ งเท่ียวกลางวนั
4. วัดอนิ ทรวาส (วดั ตน้ แกวน๋ ) วัดเกา่ แก่ ศาลาจตั ุรมุข หลังเดยี วในภาคเหลอื
5. วดั พระธาตดุ อยคา เปน็ ปชู นียสถานโบราณ ควรคา่ แก่การสงั การะบูชา
6. บ้านถวาย เปน็ โรงงานผลิตไม้แกะสลัก เพื่อจาหน่าย เลยี นแบบของเก่า และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเพ่อื ซ้ือสินค้า
แกะสลกั ได้
7. อทุ ยานแหง่ ชาติออบขาน เป็นแหลง่ คดั ธรรมชาติทอ่ี ุดมสมบูรณ์ แหล่งเรียนรู้
19. โรงเรยี นบา้ นปง อําเภอหางดง
ภูมิศาสตร์
สภาพพน้ื ท่โี ดยท่ัวไป พื้นที่ส่วนใหญเ่ ป็นทรี่ าบเชิงภูเขา เป็นที่ราบลมุ่ แม่น้า คือ แม่น้าตาชา้ ง ล้อมรอบไปด้วยภูเขา
ตน้ ไม้ ลาน้า มคี วามอดุ มสมบรู ณ์
ประวัตศิ าสตร์
บ้านปงเป็นเมืองเก่าแกโ่ บราณอายปุ ระมาณร้อยกว่าปี มปี ระวัติความเป็นมา เรื่องราวตา่ งๆ ทน่ี ่าสนใจ มีวัดบ้านปง
อรญั ญาวาส ท่ีวัดท่ีเก่าแก่ เป็นสถานที่สาคัญ เป็นท่ีเคารพสักการะของหมู่บ้านและชุมชน ซ่ึงจะมีโลหะประสาทอยู่
บนยอดดอยบนวดั บ้านปง
อาชีพและเศรษฐกิจ
บ้านปงเป็นแหล่งท่องเที่ยว มีน้าตก ภูเขา มีรีสอร์ท โรงแรม สถานที่ท่องเที่ยวมากมาย และมี วัดบ้านปง
อรัญญาวาสทีม่ ชี ่ือเสียง
เป็นแหลง่ ปูนขาว ซึ่งผลิตและจาหน่ายที่บ้านปง
อาชีพทางเกษตรกรรม ปลูกข้าว ปลูกผัก ผลไม้ เลี้ยงสัตว์ และมีโครงการหลวงห้วยเส้ียวท่ีคอยให้การสนับสนุน
ดแู ลการเกษตรและคอยส่งเสริม
อาชีพรับจา้ งและค้าขาย
ประเพณวี ัฒนธรรม
บ้านปงเป็นเมืองที่เก่าแก่โบราณและมีอารยธรรม มีกลุ่มชาติพันธ์ ได้แก่ ม้ง ไทยใหญ่ พม่า คนพื้นเมือง มีสังคม
ภาษาขนบธรรมเนยี มเป็นของตนเอง
๙๑
1. ประเพณีสาคญั ของบา้ นปง
2. ประเพณีสะเปาเงนิ สะเปาคา
3. ประเพณีขึน้ พระธาตุ วดั บา้ นปง
4. ประเพณสี รงนา้ พระธาตุ
5. ประเพณีตกั บาตรรอบคุตแบบโบราณ
6. ประเพณสี ืบชะตาแบบโบราณ
ภาษาพืน้ เมือง : มภี าษาคาเมืองทใ่ี ช้พูดส่ือสารกัน
สถานท่ีสําคัญ
1. วัดบา้ นปงอรญั ญาวาส ซึง่ จะมโี ลหะประสาทเป็นทีเ่ คารพสกั การะของชมุ ชน
2. วดั อื่นๆ เช่น วัดครี เี ขต วดั ประชาเกษม ทเ่ี ป็นวัดเกา่ แก่
3. ถ้า
4. นา้ ตก
สภาพปญั หาในชมุ ชน
1. มีการรกุ ล้าเขตป่าสงวน เพือ่ ทาธรุ กจิ เชน่ โรงแรม รสี อร์ท และสถานทท่ี อ่ งเที่ยวตา่ งๆ
2. การระเบิดหิน เพอ่ื นาหินไปขายเพื่อสร้างบา้ น อาคารต่างๆ
20. โรงเรียนวดั ศรลี ้อม อาํ เภอหางดง
เศรษฐกจิ
หตั ถกรรม นารายไดเ้ ขา้ สู่ท้องถ่นิ คอื เครื่องปั้นดินเผา บ้านกวน ต.หารแก้ว กล่มุ วิสาหกิจชมุ ชน
ประเพณีวัฒนธรรม
ชาติพันธ์ุ (ไทใหญ่)
ประเพณีสาคญั
1. ประเพณยี ี่เป็ง
2. ประเพณีสงกรานต์
ภาษาพื้นเมือง
ดนตรพี ้ืนเมือง
สถานท่ีสําคญั
1. บ้านรอ้ ยอนั พนั อย่าง
2. วดั ศรีลอ้ ม
ประวตั ศิ าสตร์
เวียงมโน
21. โรงเรียนวดั เวฬวุ นั อาํ เภอสารภี
สภาพภูมศิ าสตร์
พื้นทีส่ ว่ นใหญเ่ ป็นท่ีราบแอง่ กระทะ
ประวตั ศิ าสตร์
๙๒
ประวัติศาสตร์ความเป็นมา : สารภีเป็นอาเภอที่เดิมช่ือ อาเภอยางเนิ้ง สารภีเป็นอาเภอหน่ึงท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดใน
จังหวัดเชียงใหม่ มีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาทุกๆ ด้าน จนกลายเป็นอาเภอขนาดใหญ่ ในแง่
สถานประกอบและอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ โดยได้รับประโยชนจ์ ากนคิ มอตุ สาหกรรมภาคเหนอื จังหวดั ลาพูน
มีจุดเดน่ คอื ถนนสายตน้ ยาง ซ่งึ มอี ายุกว่า 100 ปี เรยี งรายตลอดสองขา้ งทาง
เศรษฐกิจ
อาเภอสารภีเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ใกล้เมือง พืชเศรษฐกิจคือ ลาไย เป็นสินค้าที่มีคุณภาพและส่งออกไป
ต่างประเทศ สรา้ งชอื่ เสียงใหก้ ับอาเภอสารภี
1. เวยี งกุมกาม
2. วดั วาอาราม เชน่ วัดเจดีย์เหลีย่ ม วดั กู่เสือ วัดแสนแดง
3. หตั ถกรรม การทอผา้ พ้ืนเมอื ง มลี าไยอบแห้ง ผลติ ภัณฑ์จากนา้ ผง้ึ
4. เกษตรกรรม ทาสวน ทานา
อาชีพ
1. การทาสวนลาไย
2. การทอผ้าพื้นเมอื ง
3. ผลิตภัณฑ์จากผง้ึ
4. ผลิตภณั ฑ์จากเคร่ืองจกั รสาน
5. ของชารว่ ยจากกระดาษสา
6. โรงงานอุตสาหกรรมทากลอ่ งกระดาษสา ทาไม้กวาด
ประเพณี
ชาตพิ นั ธ์ุ ชนกลุ่มใหญเ่ ป็นคนพ้ืนราบ (เมอื ง) มีสังคม ภาษาเป็นของตนเอง
ประเพณที ีส่ าคญั
1. สรงน้าพระธาตุเวยี งกมุ กาม
2. ตกั บาตรเท่ียงคนื เปง็ พุทธ
3. การบวชต้นยาง สายเชยี งใหม่-ลาพนู
บุคคลสําคัญ
1. พญามังราย เปน็ ผูก้ ่อตงั้ เวยี งกุมกาม
2. นายศรีเลา เกศพรหม เป็นนักอ่านและแปลอักษรคาโบราณพร้อมทั้งภาษาพ้ืนเมืองโบราณ มี
ความรู้เร่อื งวิถชี ีวติ ประเพณีและพิธีกรรมลา้ นนา
สถานที่สาํ คญั
1. เวยี งกุมกามเป็นเมืองทพี่ ญามังรายสร้างข้นึ มโี บราณสถานที่ปรากฏในเวียงกุมกาม และบรเิ วณใกล้เคยี ง
2. วดั ก่เู สือ สร้างขึน้ พ.ศ. 2405 เดมิ ชอ่ื วัดปู่เสือ เมอ่ื ยุคแหง่ เวียงกุมกามล่มสลาย ทาให้กลายเป็นวัดร้าง
ตอ่ มาชาวบา้ นช่วยกันบูรณะและสร้างวดั ใหม่ โดยสร้างเจดยี ์ครอบเจดยี อ์ งคเ์ ดิม และเปลยี่ นชอื่ มาเป็นวดั กูเ่ สือ
3. หมูบ่ ้านจักรสาร (บ้านป่าบง) มชี ื่อเสยี งด้านการสรา้ งสรรค์งานจักรสานไม้ไผ่ โดยเฉพาะกระบงุ หาบ และ
ข้องหลวง มีการออกแบบลวดลายท่ีหลากหลาย และพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP เช่น ถาด โคมไฟ ตะกร้า ฉาก
กน้ั ห้อง
สภาพปัญหาในชมุ ชน
1. มลพษิ ทางอากาศ เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม หมอกควัน
2. ขยะ (ปริมาณขยะ / การจัดการขยะ)
3. การขยายตวั ของชนกลุ่มนอ้ ยเขา้ มาอาศัยในอาเภอสารภี เช่น ทีอ่ ยู่อาศัย อาชพี ปัญหาอาชญากรรม
๙๓
22. โรงเรยี นวดั ทา่ ตน้ กวาว อาํ เภอสารภี
สภาพภูมศิ าสตร์
สภาพภมู ิศาสตร์ท่วั ไป : พน้ื ที่ส่วนใหญเ่ ปน็ ท่รี าบติดแม่นา้ กวง มีต้นทองกวาวตง้ั อยูร่ มิ ฝัง่ แมน่ า้ แม่กวง
ประวตั ิศาสตร์
บา้ นท่าต้นกวาว ตาบลชมพู อาเภอสารภี แถบลานา้ กวง ซ่ึงมตี น้ ทองกวาวเต็มไปหมด ซ่ึงไดช้ อ่ื หมู่บ้าน ทา่ ต้นกวาว
เพราะตงั้ ริมฝ่งั แม่น้ากวง จึงเรยี กว่า ท่า สว่ นต้นกวาว ได้ชื่อตามต้นไมท้ องกวาว
เศรษฐกจิ
ทอ่ งเท่ียว : ตาบลชมพู มีแหล่งสถานท่ีสาคญั เชงิ ประวตั ศิ าสตร์ เช่น วัดทาต้นกวาว วัดทงุ่ ขี่เสอื วดั ศรดี อนมูล วัง
มัจฉา พญาชมพู
เกษตรกรรม : อาชีพสว่ นใหญ่ ยังคงเป็นอาชพี เกษตรกรรม เชน่ การทาไร่ ทานา
หตั ถกรรม : ปกั ผ้าพื้นเมอื ง
อาชพี
1. รับจ้าง
2. เกษตรกรรม
3. เยบ็ ผ้า ปกั ผ้าพื้นเมือง
ประเพณวี ฒั นธรรม
ชาติพนั ธ์ุ : คนพื้นเมอื ง
ประเพณีท่ีสาคัญ
1. ประเพณสี งกรานต์
2. ประเพณยี ่ีเปง็
ภาษาพื้นเมือง
1. คาเมอื ง
2. ภาษายอง
บุคคลสําคญั
ครบู าน้อย วดั ศรดี อนมูล
สถานท่ีสําคัญ
1. วัดท่าต้นกวาว
1.1 พระวิหารวัดทา่ ต้นกวาว
1.2 ภาพจิตรกรรมแหง่ พระวหิ ารวดั ทา่ ตน้ กวาว
1.3 ศนู ย์สาธารณสขุ มลู ฐาน
1.4 หอไตร
1.5 พระธาตุเจดยี ์ วัดทา่ ตน้ กวาว
2. วัดทงุ่ ขีเ้ สือ
3. วัดศรดี อนมูล เดมิ ชือ่ ว่า วัดต้นกงิ่ ไม้ ไม่มีหลักฐานวา่ สร้างข้นึ เมอื่ ใด
สภาพปัญหาในชมุ ชน
1. มคี นตา่ งดา้ วจานวนมามาพักอาศยั ในชุมชน
2. แหล่งที่อยอู่ าศยั แออดั
๙๔
23. โรงเรยี นวดั สนั ดอนมลู อาํ เภอสารภี
สภาพภมู ศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ท่ัวไป : พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นที่ราบซึ่งเหมาะกับการทาการเกษตรและมีแหล่งน้าท่ีอุดมสมบรณู ์ จาก
แหล่งน้าธรรมชาติ และแมน่ ้าปงิ มีระบบชลประทานท่เี ออื้ ตอ่ การเกษตร
ประวตั ิศาสตร์
ประวัติความเป็นมา : อาเภอสารภีเป็นอาเภอหน่ึงในจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีช่ือเสียงเพราะมีแหล่งอารยธรรม
โบราณสถาน และโบราณวตั ถทุ ่สี าคัญ เช่น โบราณวดั พระธาตุเวียงกุมกามแหล่งมรดกอนั ล้าคา่ ใต้พภิ พบาดาล ฯลฯ
เศรษฐกจิ
อาเภอสารภีเป็นอาเภอหน่ึงเดียวท่ีมีภูเขาล้อมรอบ เป็นอาเภอเศรษฐกิจการค้าพืชผลทางการเกษตร และการแปร
รูปถนอมอาหารจากพืชไรล่ ้วนทางการเกษตร
เกษตรกรรม
อาชีพของประชากรส่วนใหญท่ าการเกษตรกรรมทเ่ี นน้ การเกษตรเกีย่ วกบั พชื
อาชพี
เกษตรกรรม :อาชพี ของประชากรส่วนใหญท่ าการเกษตรกรรมทเ่ี นน้ การเกษตรเกี่ยวกับพืช
การทาลาไยอบแหง้ ซ่ึงเป็นผลผลิตหลักในทอ้ งถิ่น
การแปรรูปอาหารจากพืชผลทางการเกษตร เช่น น้าพริกแดง น้าสมุนไพร การทากระเทียมดอง การถนอมอาหาร
จากผกั ผลไม้ หลายรูปแบบ
การเพาะเห็ด : มศี นู ย์ฝกึ การเพาะเหด็ ฟาง ซง่ึ เป็นแหล่งเรยี นรใู้ นทอ้ งถิน่
นา้ ยากาจดั ยุง จากสมนุ ไพรตะไคร้
ประเพณที ่ีสําคัญ
1. ป๋าเวณปี ีใ๋ หมเ่ มอื ง : ที่ยิ่งใหญ่ จดั ประจาทกุ ปี ระหวา่ งวนั ที่ 13-15 เมษายน
2. ประเพณีย่ีเป็ง : จัดวันลอยกระทงของทุกปี มีการปล่อยโคมลอย จุดดอกไม้ไฟ ประกวดกระทง ประกวดซุ้ม
ประตู และประกวดนพมาศ
3. ประเพณงี านปอยหลวง : จดั เพ่ือฉลองสมโภชสถานของวดั
ภาษาพืน้ เมอื ง : ภาษาพ้นื เมือง เรียก คาเมอื งเหนอื
สถานท่ีสาํ คัญ
เวียงกมุ กาม เมืองโบราณสถาน
สภาพปัญหาในชุมชน
ประชากรประกอบอาชีพทาการเกษตร การปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น ลาไย ต้องลงทนุ สงู ราคาตกต่า เพราะเกษตรกร
ไมไ่ ด้กาหนดราคาขาย แตข่ ึน้ อยกู่ บั พ่อค้าคนกลาง
24. โรงเรียนชมุ ชนวดั ศรีคําชมภู อําเภอสารภี
สภาพภูมศิ าสตร์
เปน็ พน้ื ทรี่ าบลุ่ม มแี ม่น้าไหลผา่ น
ประวัติศาสตร์
1. เวยี งกมุ กาม (สารภ)ี
๙๕
2. การก่อตงั้ โรงเรียน / วดั ศรีคาชมภู
ประเพณวี ฒั นธรรม
1. วันสงกรานต์ แหไ่ ม้ค้าต้นโพธิ์
2. ประเพณยี ีเ่ ปง็
3. ผา้ ป่า / กฐิน
4. ภาษาพน้ื เมือง
5. การจัดกิจกรรมวนั กตัญญูครบู าอ้าย
6. ฟ้อนเลบ็ ฟอ้ นขนั ดอก ตกี ลองสะบดั ชยั
7. ดนตรพี ้นื เมือง
บุคคลสําคญั
ครบู าอา้ ย พระครสู ิทธวรญาณ
เศรษฐกิจ
หตั ถกรรม : จักสานไม้ไผ่
ทอ่ งเที่ยว : - วัดตา่ งๆ
- วงั มัจฉาพญาชมภู
- เวียงกมุ กาม
เกษตรกรรม : - ทานา
- สวนลาไย
อาชีพ
1. งานจกั สานไมไ้ ผ่
2. การทาโคมล้านนา / ตงุ ล้านนา
สถานทสี่ ําคัญ
1. เวยี งกุมกาม
2. พิพิธภัณฑเ์ ชยี งใหม่ อนุสาวรียส์ ามกษตั รยิ ์
3. วดั ตา่ งๆ วัดพระธาตดุ อยสุเทพ
สภาพปัญหาในชมุ ชน
ผูป้ กครองทามาหากนิ ไมค่ อ่ ยมีเวลาเอาใจใส่บตุ รหลาน
25. โรงเรียนชมุ ชนวดั เทพาราม อําเภอสารภี
สภาพภูมิศาสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ทั่วไป : อาเภอสารภีเป็นอาเภอที่มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีพ้ืนที่ทีเ่ ลก็ ท่สี ุด ไม่มีภูเขา ตั้งอยู่ทาง
ตอนกลางชองจังหวัดเชยี งใหม่ ภาคเหนอื ตดิ จังหวดั เชียงใหม่ ทางทิศใต้ติดกบั อาเภอบ้านธิ จงั หวดั ลาพนู
ประวตั ิศาสตร์
อาเภอสารภี เดิมช่ือ อาเภอยางเน้ิง ต้งั เป็นอาเภอเมื่อปี พ.ศ. 2434 ตอ่ มาใน พ.ศ. 2470 ทา้ วพระยา
ขุน พรอ้ มด้วยราษฎรได้เสนอตอ่ อามาตยร์ าชมนตรี นาราชการนายอาเภอในสมัยนั้น เสนอให้เปล่ยี นช่ืออาเภอให้
เปน็ อาเภอสารภี
๙๖
คําขวัญอําเภอสารภี
ต้นยางใหญ่ ลาไยหวาน เมืองโบราณเวียงกุมกาม พระนอนบวรงาม เชดิ ชูนามสารภี
เศรษฐกจิ
อาเภอสารภี เป็นอาเภอในเขตปริมณฑลของเชียงใหม่ ท่ีมีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนา
ทุกๆ ด้าน และเป็นอาเภอขนาดใหญ่ ในแง่สถานประกอบการและอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของจังหวัดได้รับ
ประโยชน์มาจากนคิ มอุตสาหกรรม ภาคเหนอื ลาพูน เป็นอาเภอท่รี องรับความเจริญของนครเชียงใหม่เพ่ือขยายไป
ยังเมอื งลาพนู
ท่องเทยี่ ว : ถนนเชียงใหม-่ ลาพนู เปน็ ถนนที่มีต้นยางนา อายุกวา่ 100 ปี
โบราณสถานเวียงกมุ กาม อดตี เมืองหลวงของอาณาจกั รล้านนา สรา้ งเม่ือ พ.ศ. 1829 โดย พญามังราย
อาชีพ
อาชีพหลกั ทาสวน รับจ้างทัว่ ไป อาชพี เสริม ทาจกั สาน
ผลิตภัณฑ์
จกั สานไม้ไผ่ โดยกลุ่มอาชพี จกั รสานไมไ้ ผ่หวายเป็นสนิ คา้ OTOP
26. โรงเรียนเวยี งเศรษฐวี ิทยา อําเภอสารภี
สภาพภูมศิ าสตร์
เปน็ ท่รี าบลุ่ม ไม่มีภูเขาอาเภอเดยี วในจังหวัดเชียงใหม่ มนี ้าปิงไหลผา่ นเป็นอาเภอเลก็ ๆ เงยี บสงบ
ประวัตศิ าสตร์
เปน็ เวยี งเกา่ คอื เวียงเศรษฐี ซึง่ เม่ือกอ่ นเป็นทีร่ กั ษาคนทีต่ ดิ โรคผิวหนงั (โรคเร้อื น)
ประเพณี วฒั นธรรม
ในชุมชนมีประเพณี วัฒนธรรม ท่สี าคญั เช่น การสรงน้าพระธาตุ ตานก๋วยสลาก ตัวธรรมหลวง ฯลฯ
บคุ คลสําคัญ
ในชุมชน คือ ขนุ หนองแฝก
เศรษฐกจิ
มีสถานที่ทอ่ งเที่ยว เช่น อา่ งเก็บนา้ แก้มลิงหนองแฝก ลานธรรม เศรษฐีธธรรม วดั ตา่ งๆ ในชมุ ชน
อาชพี
เกษตรกร ทานา ทาสวน
27. โรงเรยี นวดั กองทราย อําเภอสารภี
สภาพภูมศิ าสตร์
สภาพภูมศิ าสตรท์ ว่ั ไป พน้ื ท่ีสว่ นใหญเ่ ปน็ ทีร่ าบลุม่ แวดลอ้ มด้วยธรรมชาติ มีทร่ี าบลุ่มแมน่ า้
ภเู ขา : ดอยอนิ ทนนท์ ดอยสเุ ทพ
แม่น้า : แมน่ ้าปงิ ลาเหมืองพญาคา
ประวตั ศิ าสตร์
ประวัติความเปน็ มา เชียงใหมเ่ ปน็ เมืองเก่าแก่ อายมุ ากกว่า 700 ปี สรา้ งขนึ้ สมัยพญาเมง็ ราย ใชช้ ื่อ นพบุรีศรีนคร
พงิ ค์ เชยี งใหม่ และใช้เปน็ ราชธานขี องอาณาจักรล้านนา
เศรษฐกจิ
๙๗
1. ท่องเท่ยี ว : เวียงกุมกาม พืชสวนโลก ไนทซ์ าฟารี สวนสตั วเ์ ชยี งใหม่ ถนนคนเดนิ
2. เกษตรกรรม : อาชพี เกษตรกรรม สวนลาไย สวนผกั
3. หตั ถกรรม : จักสาน ประดิษฐ์โคม ตดั ตุง กล่องกระดาษสา ผ้าไหม ตกุ๊ ตาเลซิ่น เซรามคิ
อาชพี
1. เกษตรกร สวนลาไย ปลกู ผัก
2. ทาโคม
3. ตดั ตงุ
4. กลอ่ งกระดาษสา ผา้ ไหม
5. จกั สาน
6. ทารม่
ประเพณีวัฒนธรรม
1. สงกรานต์ (ป๋ใี หม่เมอื ง)
2. ประเพณยี เี่ ป็ง
3. ใสข่ ันดอก
4. สรงนา้ พระธาตุ
5. ปอยหลวง
6. สลากภตั (ตานก๋วยสลาก)
7. สวดมนตไ์ หวพ้ ระ (ธรรมสญั จร)
8. บวชตน้ ยาง
9. ทาบญุ ตักบาตร
ภาษา : ภาษาพน้ื เมือง คาเมือง
บคุ คลสาํ คญั
1. พญามังราย
2. พระเจา้ กาวลิ ะ
3. ครูบาศรวี ชิ ยั
สถานทสี่ ําคญั
1. เวยี งกมุ กาม
2. วดั พระนอมหนองผ้งึ
3. ถนนวัฒนธรรม เชียงใหม่-ลาพูน
4. วัดเจดยี เ์ หลีย่ ม
5. พระธาตุดอยสุเทพ
สภาพปัญหาในชมุ ชน
1. ปญั หาหมอกควนั
2. ปัญหาการกาจัดขยะ
3. การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
๙๘
27. โรงเรยี นบา้ นปากเหมือง อําเภอสารภี
สภาพภูมศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ท่ัวไป : พน้ื ท่ีสว่ นใหญเ่ ปน็ ทรี่ าบลุ่มน้า
แม่น้า : แมน่ า้ ปิง
ประวตั ศิ าสตรเ์ วียงกุมกาม
ประวัติความเป็นมา : เวียงกุมกามกาเนิดข้ึน เพราะพญามังราย ทรงประสงค์จะสร้างเมืองหลวงแห่งใหม่ แทนท่ี
เมืองหริภุญไชย ด้วยความไมพ่ อใจเมืองหรภิ ุญไชย เพราะตวั เวยี งมีขนาดเลก็ คบั แคบไม่สมารถขยายเวยี งได้ จึงหา
สถานทสี่ รา้ งเมอื งหลวงขนึ้ ใหม่ โดยใหเ้ มืองหรภิ ุญไชยมีฐานะเปน็ เมอื งศนู ย์กลางพุทธศาสนา ขณะทีเ่ มืองหลวงแห่ง
ใหม่จะเป็นศูนย์กลางการค้าและการเมือง พญามังรายจะเลือกสร้างในเขตแอ่งที่ราบ เชียงใหม่-ลาพูน โดยไม่
กลับไปสร้างเมืองหลวงในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ากก ซ่ึงอยู่ทางตอนบน ท้งนี้ในท่ีเวียงกุมกาม เป็นที่ราบติดต่อไปเป็น
ผืนใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ จะสามารถปลูกข้าวได้อย่างกว้างขวาง และยังสามารถทาการค้ากับทางตอน ใต้อย่าง
สะดวก
ประวตั ิศาสตรอ์ ําเภอสารภี
ประวัติความเป็นมา : อาเภอสารภี เดิมช่ืออาเภอยางเนิ้ง ตั้งเป็นอาเภอเมื่อปี พ.ศ. 2434 คาว่า ยางเนิ้งมา
จาก “ต้นยาง” กับคาว่า “เน้ิง” ซ่ึงเป็นภาษาคาเมือง แปลว่าโน้มแอน ต่อมาเมือปี พ.ศ. 2470 ท้าวพระยาขุน
พร้อมด้วยราษฎรได้เสนอต่ออามาตย์ตรีพันธุราษฎร นายอาเภอในสมัยน้ัน เสนอให้เปล่ียนช่ืออาเภอเสียใหม่
เนื่องจากไม่ไพเราะ จึงเปลี่ยนเป็น “อาเภอสารภี” ซ่ึงเป็นช่ือของตาบลหน่ึงอาเภอ โดยคาว่า “สารภี” หมายถึง
ชือ่ ของดอกไมไ้ ทยสเี หลือง มกี ลิ่นหอม มีอายยุ นื
เศรษฐกิจ
สารภี เป็นเมืองสาคัญของจงั หวดั เชยี งใหม่ เปน็ ศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกิจ การศกึ ษาและการท่องเท่ยี ว
1. ท่องเที่ยว : มีแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางโบราณสถาน คอื เวียงกมุ กาม
2. เกษตรกรรมและอาชีพ: ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีพืชเศรษฐกิจ คือ ลาไย
และการแปรรปู ลาไยส่งออกไปขายยังต่างประเทศ
3. หตั ถกรรม : มีหัตถกรรมทที่ ารายไดใ้ ห้ท้องถิน่ คอื เครอื่ งปนั้ ดนิ เผา (เตาถ่าน) เป็นตน้
อาชีพ
1. เกษตรกร เนอื่ งจากอาเภอสารภีเป็นทรี่ าบลุ่มแม่น้าปิง จงึ ทาให้สง่ ผลสนบั สนนุ การปลูกผัก และการทา
สวนลาไย ทั้งยังมีการแปรรูปลาไย เพ่ือส่งผลไปขยายตา่ งประเทศ และรวมไปถึงการเพาะเห็ด ซ่งึ เป็นการประกอบ
อาชพี เศรษฐกิจพอเพยี ง
2. เคร่ืองป้ันดนิ เผา (เตาถา่ น)
ประเพณีวัฒนธรรม
ภาษาพืน้ เมือง: ภาษาเมือง “คาเมือง”
ประเพรีสาคัญ : สงกรานต์ ลอยกระทง ประเพณีสืบฮีตตวยฮอย
สถานทสี่ ําคญั
1. เวียงกมุ กาม
2. วัดศรีมลู เรือง วัดปากเหมือง วัดปา่ เดอ่ื
บุคคลสําคญั
พญามงั รายผสู้ รา้ งเวียงกุมกาม
สภาพปัญหาในชุมชน
๙๙
ปัญหาความแออัด : เน่ืองจากอาเภอสารภีมีขนาดเล็ก ขึงเกิดปัญหาความแออัดของชมุ ชน สง่ ผลตอ่ อาชีพในชุมชน
ทาใหเ้ กิดปัญหาการวา่ งงาน เพราะไม่มีทท่ี ากนิ หรือทท่ี ากนิ ไมเ่ พียงพอ
28. โรงเรยี นวดั ศรดี อนชัย อําเภอสารภี
สภาพภมู ศิ าสตร์
สภาพภมู ศิ าสตร์ท่ัวไป : พ้นื ทส่ี ว่ นใหญเ่ ป็นทร่ี าบลุม่
แมน่ า้ : แมน่ า้ ปงิ
ประวตั ิศาสตร์เวยี งกุมกาม
อาณาจกั ร – เวยี งกุมกาม
เศรษฐกิจ
เกษตรกรรม : สวนลาไย สวนผักชีฝรง่ั
หัตถกรรม : สานสาดแหยง่ (บา้ นบวกครก)
อาชพี
1. ทาสวน
2. สานสาดแหย่ง
28.โรงเรียนวัดพญาชมภู อาํ เภอสารภี
สภาพภมู ิศาสตร์
(ตาบลชมภ)ู
พ้นื ที่ : ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ตง้ั อยู่ทางทศิ ตะวันตกของอาเภอสารภี มลี านา้ แมส่ ะลาบ และลานาพญาคาไหลผา่ น
มี 9 หม่บู า้ น
ประวัติศาสตร์
ประวัติความเปน็ มา
1. ประวตั เิ จ้าพ่อพญาชมภู
2. ประวตั โิ รงเรียนวัดพญาชมภู
เศรษฐกิจ
ท่องเทย่ี ว : - วังมัจฉาพญาชมพู
- วัดศรีดอนมลู
- ศูนย์หตั ถกรรมบา้ นท่าต้นกวาว
- เวียงกุมกาม
- วัดตา่ งๆ ในชุมชนตาบลชมพู
เกษตรกรรม : - ทาสวนลาไย
- ทานา
- ปลูกผกั สวนครวั
หัตถกรรม : - การปัน้ หม้อ
- การจกั สาน
อาชีพ
๑๐๐
1. ทาสวนลาไย
2. เยบ็ ผา้
3. แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม
4. เครอ่ื งปั้นดนิ เผา
ประเพณวี ฒั นธรรม
1. รดนา้ ดาหัวปีใหมเ่ มอื ง
2. ปอยหลวง
3. ประเพณียีเ่ ปง็
4. กฐิน
5. ตานขา้ วใหม่
6. ฟ้อนเลบ็
7. แห่เทยี นพรรษา
บุคคลสาํ คัญในชมุ ชน
1. เจา้ พ่อพญาชมภู
2. ครูบาน้อย
3. ครูบาผัด (มรณภาพ)
4. พระครพู ิทักษ์ วีระคุณ (เจ้าคณะตาบล)
5. คณุ บัญชาการ ชมชืน่ (ปราชญช์ าวบา้ นดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง)
สถานทส่ี าํ คัญ
1. วังมจั ฉาพญาชมภู
2. วัดพญาชมภู
3. อนสุ าวรียเ์ จา้ พ่อพญาชมภู
4. วดั ศรีดอนมูล
5. วดั ทุง่ ขเี้ สอื
6. วัดแม่สลาบ
7. วดั บปุ ผาราม
8. วดั หนองป่าแสะ
9. โรงพยาบาลชุมชนสารภีบวรพฒั นา
10. ศูนยห์ ตั ถกรรมบ้านท่าตน้ กวาว
11. เวียงกมุ กาม
สภาพปัญหาในชมุ ชน
ความแออัดของชมุ ชน เนื่องจากมปี ระชากรแฝงยา้ ยถ่ินฐานมาประกอบอาชีพในโรงงานจานวนมาก
29. โรงเรียนวดั นนั ทาราม อําเภอสารภี
สภาพภูมิศาสตร์
พ้ืนที่ส่วนใหญ่ของโรงเรียนเป็นพื้นท่ีราบ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างและเป็นชุมชนมีมีชนกลุ่มน้อย
เชน่ ไทยใหญ่มาอาศัย
สภาพชมุ ชนจะมโี รงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานเซรามิคและเครอื่ งมือจกั สาน