๑๐๑
แมน่ า้ : จะมแี ม่น้า ไหลผา่ น
ประวัติความเป็นมาของบ้านนันทาราม นันทาราม หรือ นันทะราม หมู่ 4 มีพื้นที่ประมาณ 289 ไร่ ลักษณะเป็น
สเี่ หลยี่ มคางหมู หมู่บา้ นเปน็ ชาวไทยในชว่ งอพยพมาจากเมืองเชยี งตุงในชว่ งของพระเจ้ากาวิละ
ประวัติศาสตร์
โรงเรยี นวัดนันทาราม มีสถานท่ีสาคญั ท่ศี กึ ษาการเรียนร้คู อื วัดนนั ทารามและเวยี งกมุ กาม
เศรษฐกิจ
ทอ่ งเที่ยว : ชมุ ชนนันทารามจะมศี ูนยเ์ รียนรเู้ ซรามคิ ทเ่ี ปน็ ศูนยเ์ รยี นรทู้ นี่ กั ท่องเทีย่ วมาศึกษาการเรยี นรู้
เวียงกุมกาม
ดา้ นอตุ สาหรรม : ชมุ ชนนันทารามจะมีโรงงานเซรามิคและเครื่องจกั สาน
อาชีพ
1. โรงงานนา้ ด่มื เป็นโรงงาน้าดิบท่ีมีมาตรฐานสูง
2. โรงงานเซรามคิ
3. เคร่ืองปั้นดินเผาและเครอ่ื งเขิน
4. อุตสาหกรรมทาประตูอลูมเิ นียม
ประเพณี
1. งานปอยสางลองเนื่องจากชมุ ชนนันทารามมชี นกลุ่มนอ้ ยมาอาศัยอย่จู งึ มีประเพณีปอยสางลอง
2. งานประเพณสี รงนา้ พระ
3. ประเพณีสงกรานต์
4. ประเพณรี ่มบ่อสรา้ ง
ภาษา : นันทารามมชี นกลุม่ น้อย เชน่ ไทยใหญ่ กะเหร่ียง และคนท่ีราบสงู มาอยู่ดว้ ย ส่วนมากทาใหม้ ภี าษาไทย
ใหญ่ ภาษากะเหรย่ี ง และภาษาไทย
บคุ คลสําคัญ
1. พระเจ้ากาวิละ
2. ส่างนนั ตะ๊
สถานที่สาํ คญั
1. วัดนนั ทาราม
2. เวียงกุมกาม
3. วัดไชยสถาน
สภาพปญั หาในชมุ ชน
หมู่บ้านนันทารามเป็นหมู่บ้านที่มีอาชีพโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานน้าด่ืม โรงงานเซรามิค และเครื่องมือจัก
สาน มีงานรับเหมาก่อสร้าง ทาให้มีประชากรที่อพยพเข้ามายอยู่ในชุมชนหลายกลุ่ม เช่น ชนกลุ่มน้อย เช่น ไทย
ใหญ่ กะเหร่ียง ทาใหส้ ภาพชมุ ชนทม่ี าอาศัยมีหลายกลมุ่ ทาให้ชุมชนมปี ัญหาอาชญากรรม
30. โรงเรยี นบา้ นสนั ทราย อําเภอสารภี
สภาพภูมิศาสตร์
สภาพทั่วไป พน้ื ทสี่ ว่ นใหญ่เป็นทร่ี าบรมิ น้าปิง
แมน่ ้า : แม่น้าปงิ
๑๐๒
ประวตั ิศาสตร์
1. เจา้ มหาวงค์
2. ความเป็นมาอาเภอสารภี
3. วดั ในเขตบริการ
เศรษฐกจิ
ท่องเทย่ี ว :
เกษตรกรรม : ประชากรส่วนใหญ่ ทาอาชีพเกษตรกรรม เกษตรอนิ ทรีย์
หตั ถกรรม : การจกั สาน กระดาษสา
อาชพี
1. กระดาษสา (บา้ นลอ้ งปหู ม่น)
2. การทาสมนุ ไพรนวดลูกประคบ
3. ลาไยอบแห้ง
ประเพณวี ัฒนธรรม
1. มสุ ลิม บา้ นหนองแบน (ประเพณ)ี
2. การฟ้อนผมี ด เมง็
31. โรงเรยี นวดั พระนอนหนองผึ้ง อําเภอสารภี
ภมู ิศาสตร์
สภาพภูมศิ าสตรท์ ั่วไป พนื้ ทเี่ ป็นทีร่ าบลุม่ ไมม่ ีภูเขา อยู่ในพนื้ ท่รี าบลมุ่ แม่นา้ ปิง ลาเหมอื งพญาคา
ถนนสายวฒั นธรรม (ต้นยาง)
ประวตั ศิ าสตร์
อยูใ่ นพน้ื ที่ใกล้กบั เวียงกุมกามโบราณสถาน
1. ประวัตติ าบลหนองผง้ึ
2. ประวัตอิ าเภอสารภี
3. เจ้าพ่อเวียงกุมกาม (พอ่ ขนุ เมง็ รายมหาราช)
4. ประวตั ติ น้ ยางนา
5. ประวัติพระนอนหนองผึง้
ประเพณวี ฒั นธรรม
1. ชาติพันธ์ุ (ไทยใหญ)่
2. ประเพณสี าคัญ - สงกรานต์
- ประเพณยี เี่ ป็ง
- ประเพณีสรงน้าพระธาตุ / สรงนา้ พระนอน
- งานสมโภชเวยี งกุมกาม
3. ภาษาพนื้ เมือง : คาเมือง ไพเราะ นมุ่ นวล
บุคคลสาํ คญั
พอ่ ขนุ เมง็ ราย ผกู้ อ่ ตงั้ เวียงกุมกาม
เศรษฐกจิ
๑๐๓
ทอ่ งเทีย่ ว :- วัดพระนอนหนองผ้งึ
- ศูนยข์ อ้ มูลเวยี งกุมกาม
- เวยี งกมุ กามโบราณสถาน
- ถนนสายตน้ ยาง“ต้นยางใหญ่ ลาไยหวาน วดั พระนอนบวรงาม เชิดชูนามสารภี”
หัตถกรรม : มกี ารปั้นเตาอังโล่
เกษตรกรรม : ปลูกสวนลาไย
อาชพี
1. มัคคเุ ทศก์ทอ้ งถน่ิ (เวียงกมุ กาม)
2. ผลิตเตาอังโล่
3. ซ่อมแซมยานพาหนะ (มอเตอร์ไซค์/รถยนต)์
สถานทีส่ าํ คญั
“ตน้ ยางใหญ่ ลาไยหวาน วัดพระนอนบวรงาม เชดิ ชูนามสารภี”
เวยี งกุมกาม
สภาพปญั หาในชุมชน
1. ความหลากหลายของชาติพนั ธ์ุ
2. การเปลย่ี นแปลงขยายเมอื ง
3. ขยะ
32. โรงเรยี นวัดบวกครกเหนอื อาํ เภอสารภี
ภมู ศิ าสตร์
สภาพภมู ิศาสตรท์ ว่ั ไป : พ้นื ทีเ่ ป็นท่ีราบล่มุ แม่น้า
แม่น้า : แม่นา้ ปงิ
ประวัตศิ าสตร์
ประวัติศาสตร์ความเป็นมา : เวียงกุมกามเป็นอดีตเมืองหลวงของอาณาจักรลา้ นนา ท่ีพญามังรายโปรดให้สรา้ งข้ึน
เม่ือ พ.ศ. 1829 โดยโปรดให้ขุดคูเวียงท้ัง 4 ด้าน ไขน้าแม่ปิงให้ขังไว้ในคูเมืองโบราณ สถานที่ปรากฏอยู่ให้เวียง
กุมกามและใกล้เคียงเป็นเมืองทดลองท่ีสร้างขึ้นก่อนที่จะมาเป็นเมืองเชียงใหม่ ตั้งอยู่ที่ ตาบลท่าวังตาล อาเภอ
สารภี จังหวดั เชียงใหม่ โดยมีระยะทางห่างจากตวั เมอื งเชยี งใหม่ไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ประมาณ 5 กโิ ลเมตร
เศรษฐกจิ
ทอ่ งเท่ยี ว : ในตาบลทา่ วังตาลมแี หลง่ ท่องเที่ยวคือ เวียงกุมกาม
เกษตรกรรม : อาชพี ของประชากรส่วนใหญเ่ น้นเกษตรกรรม
หัตถกรรม เช่น การทาตุง ทาโคม การตอกลาย
อาชพี
ทาสวนผัก ผลไม้ (ลาไย)
ประเพณีวฒั นธรรม
1. ประเพณีสาคัญ - สงกรานต์
- บวชตน้ ยาง
- ประเพณยี ี่เป็ง
- สรงน้าพระธาตุ
๑๐๔
2. ชาตพิ นั ธ์ุ : ไทย ไทยใหญ่ ชาวไทยภเู ขา
บุคคลสําคัญ
1. พญาเมง็ ราย ผ้กู ่อตัง้ เวียงกมุ กาม
2. พระครูประภสั สรการ รองเจา้ คณะอาเภอสารภี ผ้มู ีอุปการคุณต่อโรงเรยี นวัดบวกครกเหนอื
3. ครบู าหม่ืน ผ้กู ่อตง้ั โรงเรียนวัดบวกครกเหนอื
สถานทส่ี ําคญั
1. เวียงกุมกาม
2. วัดช้าคา้
3. วัดเจดีย์เหล่ียม
สภาพปัญหาในชมุ ชน
ปญั หาขยะมูลฝอย
33. โรงเรยี นชมุ ชนวดั ปากกอง อําเภอสารภี
ภูมิศาสตร์
สภาพภมู ิศาสตร์ทว่ั ไป : พืน้ ทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ ที่ราบ ไมม่ ีภเู ขา มีจุดเดน่ คอื ถนนสายต้นยาง
แม่นา้ : แมน่ า้ ปงิ ลาเหมอื งพญาคา
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ความเป็นมา : อาเภอสารภี
มีถนนสายสาคัญท่ีเรียกว่า ถนนสายประวัติศาสตร์ ท่ีมีต้นยางสูงใหญ่เป็นสัญลักษณ์ของชาวสารภี ที่ทาให้เกิดร่ม
เงามาแต่โบราณ มีการปลูกต้นยางที่ปลูกเรียงรายสองฟากถนนด้วยระยะทาง 10 กว่ากิโลเมตร จากจังหวัด
เชียงใหม่
ในสมัยก่อนอาเภอสารภี มชี ื่อเดิมของอาเภอว่า “ยางเน้งิ ” เหตุมาจากต้นยางท่ีมีลักษณะ “เนิ้ง” หรือ “โน้ม” เข้า
หากัน จนกระทง่ั ถึงปี พ.ศ. 2472 จึงเปล่ียนชอ่ื มาเป็นอาเภอสารภี
เศรษฐกจิ
ท่องเที่ยว : วัดพระนอนหนองผึ้ง วัดพระนอนป่าเก็ตตี่ เวียงกมุ กาม ถนนสายประวัติศาสตร์ วัดปากกอง
วดั สารภี วัดชา่ งเคิ่น
เกษตรกรรม : อาชพี ประชากรสว่ นใหญ่เนน้ เกษตรกรรม สวนลาไย พืชผักสวนครวั
หตั ถกรรม : งานจกั สาน ตดั ตงุ
อาชพี
เกษตรกรรม ทาไร่ ทาสวน (ลาไย กะหล่าดอก บล๊อกเคอรี่)
งานจักสาน
ตดั ตงุ
ทาของชารว่ ย
ประเพณีวัฒนธรรม
1. ชาติพนั ธ์ุ : คนเมือง
2. ประเพณีสาคัญ - สรงน้าพระธาตวุ ัดพระนอนหนองผึ้ง
- ธรรมะสญั จร
- ประเพณียเี่ ป็ง
๑๐๕
- ปใี หมเ่ มอื ง
- ตา๋ นก๋วยสลาก
3. ภาษาพนื้ เมอื ง : คาเมือง
บคุ คลสาํ คญั
1. พญาเม็งราย ผู้ก่อต้ังเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์ เชียงใหม่ ร่วมกับพ่อขุนรามคาแหงมหาราช และพ่อขุนงา
เมือง
2. ครูบาศรวี ิชัย : พระมหาเถระ ซึ่งเป็นที่รจู้ ักในฐานะผู้สร้างถนนทางข้ึนวดั พระธาตุดอยสุเทพราชวรวหิ าร
จังหวดั เชยี งใหม่
สถานทส่ี ําคญั
1. เวยี งกมุ กาม
2. ถนนสายประวตั ศิ าสตร์ (ถนนสายต้นยาง)
สภาพปญั หาในชุมชน
1. ปัญหาหมอกควัน
2. การกาจัดขยะ
34. โรงเรียนวัดศรโี พธาราม อาํ เภอสารภี
ภมู ิศาสตร์
อาเภอสารภี มพี ้นื ทเ่ี ล็กทส่ี ดุ และเปน็ อาเภอเดียวที่ไม่มภี เู ขา
แม่น้า : แม่น้าปิง แม่น้ากวง
ประวตั ศิ าสตร์
อาเภอสารภีเดิมช่ือ อาเภอยางเน้ิง ต้ังเป็นอาเภอ พ.ศ. 2434 พ.ศ. 2470 ท้ายพระยาขุน พร้อมด้วยราษฎรได้
เสนอต่ออามาตย์ตรพี ันธุ เปลี่ยนช่ือเป็นอาเภอสารภี ซ่งึ หมายถงึ ช่อื ของดอกไม้ไทยท่มี กี ลน่ิ หอม
เศรษฐกจิ
อาชีพเกษตรกรรม ประชากรสว่ นใหญท่ าสวนลาไย
อาชพี
ทาสวน
ทานา
อาชพี เสรมิ การผลิตเครือ่ งจักสาน
การทารว่ มบ่อสรา้ ง
ประเพณวี ฒั นธรรม
สงกรานต์
ธรรมะสัญจร
ประเพณียี่เปง็
งานปอยหลวง
บุคคลสาํ คญั
1. พญาเม็งราย
2. พระเจ้ากาวลิ ะ
3. ครบู าศรวี ชิ ัย
๑๐๖
สถานทีส่ าํ คญั
1. เวยี งกมุ กาม
2. วัดพระนอนหนองผ้ึง
3. วดั ดอยสุเทพ
2. ถนนสายตน้ ยาง
สภาพปญั หาในชุมชน
1. ปญั หาความแออัด
2. ปัญหาหมอกควนั ช่วงเดือนมกราคม-เมษายน
35. โรงเรยี นวัดแมส่ ะลาบ อาํ เภอสารภี
ภมู ิศาสตร์
สภาพภมู ศิ าสตรท์ วั่ ไป : พ้ืนทีส่ ว่ นใหญเ่ ป็นท่รี าบลมุ่ แม่น้าติดแมน่ ้าแม่สะลาบ
แม่นา้ : แมน่ า้ แม่สะลาบ
ประวตั ิศาสตร์
ประวัติความเป็นมา : ชุมชนแม่สะลาบ ตาบลชมภู ต้งั ขึ้นมาเมื่อประมาณ 200 กวา่ ปีมาแลว้ เป็นตาบลในเขตการ
ปกครองของอาเภอสารภี พนื้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นท่รี าบมลี านา้ แมส่ ะลาบ และลานา้ พญาคาไหลผ่าน
เศรษฐกจิ
บา้ นแม่สะลาบเป็นหมูบ่ ้านเลก็ ๆ ในอาเภอสารภี
ท่องเที่ยว : มีแม่นา้ แมส่ ะลาบไหลผา่ น
เกษตรกรรม : อาชพี สว่ นใหญย่ งั คงเป็นอาชพี เกษตรกรรม (ปลกู ลาไย)
อาชีพ
อาชพี หลัก ทาสวนลาไย
อาชพี เสรมิ รับจ้าง
ประเพณีวัฒนธรรม
ชาติพนั ธุ์ ปจั จบุ นั มีชนชาตพิ นั ธ์หุ ลายเช้ือชาตมิ าอยู่รว่ มกันในชมุ ชน เชน่ ไทยใหญ่ พมา่ และชาวไทยพน้ื เมือง
ประเพณีสาคญั เน่ืองจากชมุ ชนแม่สะลาบ มีคนนบั ถือศาสนา คอื ศาสนาพทุ ธและศาสนาครสิ ต์ จึงทาให้มี
ประเพณแี ตกตา่ งกันไปตามแตล่ ะศาสนา
บุคคลสําคญั
พระอาจารย์วชิ ัย วฑฺฒโน เจา้ อาวาสวัดแม่สะลาบ
สถานทีส่ ําคัญ
1. วดั แมส่ ะลาบ
2. โบสถ์คริสตจักรสามคั คีธรรม
สภาพปญั หาในชุมชน
การคัดแยกและกาจัดขยะ
๑๐๗
36. โรงเรยี นบ้านหัวริน อําเภอสันปา่ ตอง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตรท์ วั่ ไป : พน้ื ทสี่ ่วนใหญเ่ ป็นท่ีราบลุ่มนา้
ภเู ขา : ดอยอินทนนท์
แมน่ ้า : แม่นา้ ขาน
ประวัตศิ าสตร์
ประวัติความเป็นมา :ประวัติเมืองเชียงใหม่ เชื่อมโยงมาถึงเวียงท่ากานและประวัติการตั้งถ่ินฐานของชาวลัวะ ใน
หมู่บา้ นหวั รนิ
อาณาจกั รลา้ นนา : ประวตั แิ ละท่ตี งั้ ของอาณาจักร และจงั หวดั ต่าง ๆ 8 จงั หวัดภาคเหนอื ตอนบน
เศรษฐกิจ
การท่องเทย่ี ว
เกษตรกรรม
หตั ถกรรม
อาชพี
เคร่ืองปน้ั ดินเผา
ประเพณวี ัฒนธรรม
ชาติพนั ธ์ุ : ชาวลวั ะ
ประเพณีสาคญั : สงกรานต์ ยี่เปง็
ภาษาพ้นื เมือง : คาเมือง คาลัวะ
บุคคลสําคญั
1. พญามังราย
2. ขุนหลวงวริ งั คะ
สถานท่ีสําคญั
1. เวยี งกุมกาม
2. วดั พระธาตดุ อยสเุ ทพ
3. วัดพระธาตุศรจี อมทอง
4. วดั ดอยคา
5. วดั เจดยี ์หลวง
6. วัดพระสงิ ห์
สภาพปญั หาในชุมชน
ชมุ ชนมีขนาดใหญ่ มีหลายอาชีพ ประชากรมีความยากจน
37. โรงเรยี นชมุ ชนกิว่ แลหลวงประสทิ ธวิ์ ทิ ยา อาํ เภอสนั ปา่ ตอง
ภมู ิศาสตร์
สภาพภมู ศิ าสตร์ทั่วไป : พ้นื ทสี่ ่วนใหญ่เป็นที่ราบล่มุ
ประวตั ิศาสตร์
ประวตั ิความเปน็ มา ของหมูบ่ ้านกว่ิ แลหลวง
๑๐๘
เศรษฐกจิ
เปน็ หมู่บ้านทอ่ งเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรมและธรรมชาติ
ประชากรสว่ นหนึง่ มอี าชีพ แกะสลักไม้ ชาวสวน รับจ้างทั่วไป
หตั ถกรรม เปน็ แหลง่ ผลิตไม้ แกะสลกั แห่งหนง่ึ ของเชยี งใหม่ งานเซรามคิ สวนเกษตรทฤษฎีใหม่ ไรเ่ มลอ่ น
อาชีพ
- แกะสลักไม้
- เกษตรกรรม
- หตั ถกรรม
ประเพณีวฒั นธรรม
ชาติพันธ์ุ ประชากรสว่ นใหญ่เปน็ คนพ้นื เมือง
ประเพณีสาคญั : ประเพณีสาคัญทางศาสนาพุทธ และประเพณสี าคัญของทางล้านนา
ภาษาพืน้ เมือง : คาเมือง ซ่งึ เป็นภาษาท่ีไพเราะนุม่ นวล
บคุ คลสําคญั
พระครูอาทรศาสนกิจ
สถานทสี่ ําคญั
1. วัดกิว่ แลหลวง
2. กาดสล่า
3. ฐานธรรม (แหลง่ เรียนรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียง)
4. โรงเรยี นผู้สูงอายุ
สภาพปัญหาในชมุ ชน
- ความรว่ มมอื
- ปญั หาครอบครวั
- ผสู้ ูงอายุ
38. โรงเรยี นบา้ นห้วยส้ม อําเภอสันป่าตอง
ภมู ศิ าสตร์
เป็นที่ราบล้อมรอบดว้ ยภูเขา ป่าไม้
แม่นา้ แม่ขาน ลาคลองชลประทาน
เศรษฐกจิ
เกษตรกรรม : เพาะปลูกขา้ ว ลาไย เลี้ยงไกเ่ นือ้ ไก่ไข่
หตั ถกรรม : การแกะสลกั
อาชีพ
- การแกะสลกั
- รับจา้ งทว่ั ไป
ประเพณีวฒั นธรรม
ชาตพิ ันธุ์ : - ชนเผ่าอาขา่ ยา้ ยถน่ิ ฐานจากเชยี งรายมายงั ถน่ิ ฐานอยูใ่ นชุมชน
- ไทยใหญ่ เข้ามาเปน็ แรงงานในชุมชน เชน่ ก่อสร้าง ดูแลสวน คนงานฟารม์ เลี้ยงไก่
ประเพณีสาคญั : สงกรานต์ ยี่เป็ง สลากภตั สรงน้าพระธาตุ
๑๐๙
ภาษาพน้ื เมือง : ใชภ้ าษาคาเมือง
สถานท่สี าํ คัญ
1. วดั ห้วยสม้ เปน็ ศาสนสถานและปฏบิ ัตธิ รรม
2. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบ้านหว้ ยส้ม ใหบ้ รกิ ารด้านสขุ ภาพอนามยั
สภาพปัญหาในชมุ ชน
ประชากรสว่ นใหญ่ มีรายไดต้ ่า มีอาชพี ไม่ม่ันคง
39. โรงเรยี นวดั อุเม็ง อําเภอสันป่าตอง
ภมู ศิ าสตร์
ภเู ขา : ดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์
แมน่ ้า : แมน่ า้ ปงิ แม่นา้ แม่ขาน
ประวัตศิ าสตร์
เวียงกมุ กาม
เวยี งท่ากาน
หนองสะเรียม
เศรษฐกิจ
ท่องเที่ยว : ปางช้าง ผาช่อ อทุ ยานแมว่ าง พืชสวนโลก ไนทซ์ าฟารี
เกษตรกรรม : การปลูกพืชผักสวนครัว การปลูกขา้ วเหนียวสนั ปา่ ตอง
หัตถกรรม : การแกะสลกั การสานตะกร้า เครอ่ื งมือทางการเกษตร
อาชพี
1. การทาไมก้ วาดทางมะพร้าว
2. การทาแหนม
3. การทาตงุ
ประเพณีวฒั นธรรม
1. ประเพณีเลี้ยงผีปอ้ บ้าน
2. ประเพณเี ลี้ยงผปี ู่ย่า
3. ประเพณสี รงน้าพระธาตุ
4. ประเพณงี านปอยหลวง
5. วัฒนธรรมการทาขนมต๋ายลืม (ชนเผ่าไทยลวั ะ)
6. ศิลปวัฒนธรรม ดนตรพี ้ืนเมือง (สะล้อ ซอ ซึง
สถานทส่ี าํ คัญ
1. วดั ป่าเจริญธรรม
2. เวียงทา่ กาน
3. หนองสะเรยี ม
4. วัดพระธาตุดอยสเุ ทพ
5. ดอยอนิ ทนนท์
๑๑๐
บคุ คลสําคัญ
1. พญามังราย
2. นายอาเภอ
3. นายบญุ ส่ง เกี่ยวกับดนตรีพน้ื เมอื ง
4. ครบู าศรวี ิชัย
40. โรงเรียนสนั ปา่ ตอง (สวุ รรณราษฎร์วิทยาคาร) อาํ เภอสันปา่ ตอง
ภมู ิศาสตร์
ภเู ขา : ดอยสเุ ทพ ดอยอินทนนท์
แม่นา้ : แม่น้าปงิ แมน่ า้ แม่ขาน
ประวัตศิ าสตร์
ประวตั ิโรงเรยี น
ประวัตอิ าเภอสนั ป่าตอง
ประวัตเิ วียงเชยี งใหม่
เศรษฐกิจ
เกษตรกรรม : การปลกู ขา้ วเหนยี วสันปา่ ตอง การปลกู หอมหวั ใหญ่
หัตถกรรม : งานแกะสลักไม้
ท่องเที่ยว : เวียงท่ากาน ผาช่อ หนองสะเรียม เวียงกุมกาม วัดป่าเจริญธรรม อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ พระธาตุดอย
ตงุ
อาชีพ
เกษตรกรรม : ขา้ วเหนยี วสนั ปา่ ตอง หอมหัวใหญ่
ประเพณีวัฒนธรรม
1. งานยีเ่ ป็ง
2. งานปอยหลวง
3. งานสงกรานต์
4. งานข้าวเหนียวสนั ป่าตอง
5. การตีกลองสะบัดชัย
6. การฟ้อนสุวรรณราษฎรลลี า
7. ภาษาพ้นื เมือง
บคุ คลสาํ คัญ
1. พญามงั ราย
2. ครบู าศรีวชิ ัย
สถานทสี่ ําคญั
1. เวียงกุมกาม
2. เวยี งท่ากาน
3. หนองสะเรยี ม
4. วดั พระธาตดุ อยสเุ ทพ
5. วัดพระธาตุดอยน้อย
๑๑๑
41. โรงเรยี นบา้ นรอ่ งน้าํ อําเภอสันปา่ ตอง
ภูมิศาสตร์
สภาพทวั่ ไป : พืน้ ทสี่ ว่ นใหญ่ เปน็ ทีร่ าบ ตดิ กับแมน่ า้ ปิง เหมาะสาหรับ
แม่น้า : แม่นา้ ปิง (การเพาะปลูก)
ประวตั ิศาสตร์
ประวตั คิ วามเปน็ มา : เปน็ หมบู่ า้ นทีช่ นพ้นื เมอื งอาศัยอยู่ โดยมีส่ิงยดึ เหนี่ยวจิตใจ คอื พระเจา้ ตนหลวง และมวี ดั อิน
กาวชิ ยั เปน็ วัดที่อย่ตู ดิ กับแม่น้าปงิ
เศรษฐกจิ
ด้านการเกษตรกรรม คือ การทาเกษตร เชน่ ทานา ทาไร และเลี้ยงสตั ว์
ด้านอุตสาหกรรม เปน็ อุตสาหกรรมในครวั เรือน เช่น โรงงานทาผกั ดอง
อน่ื ๆ อาชพี รบั จ้าง อาชีพคา้ ขาย
ดา้ นหตั ถกรรม มโี รงงานทาต๊กุ ตาเชยี งใหม่
อาชพี
ทาไร่ ทานา เลย้ี งสัตว์ ส่วนใหญ่ปลูกลาไย และถวั่ เหลือง
ทางานในโรงงานตุก๊ ตาเชยี งใหม่ เพอ่ื การสง่ ออก
รบั จ้างทว่ั ไป
ประเพณีวัฒนธรรม
1. สงกรานต์
2. ประเพณยี ่เี ป็ง
3. แหเ่ ทียนเข้าพรรษา
4. ตานกว๋ ยสลาก
5. ปอยหลวง
ภาษา
ภาษายอง / ภาษาพน้ื เมือง (คาเมือง)
บคุ คลสาํ คัญ
พ่อครบู ุญส่ง ชุ่มศรี ครภู มู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ มคี วามสามารถสอนดนตรพี ื้นเมอื ง
สถานท่ีสําคัญ
1. วดั ทุ่งปยุ
2. วัดอุโบสถ
3. วดั มะขามหลวง
4. วัดต้นแก้ว
5. วัดควรนิมิการ
6. วดั สันคะยอม
7. วดั ป่าจู
8. วดั มงคล
สภาพปัญหาในชุมชน
ผปู้ กครองยากจน มีการหยา่ ร้าง
๑๑๒
42. โรงเรยี นบ้านทุง่ เสีย้ ว (นวรัฐ) อําเภอสนั ปา่ ตอง
ภูมิศาสตร์
ภูมิประเทศ : พืน้ ท่สี ว่ นใหญเ่ ป็นท่ีราบสงู มีท่ีราบลุม่ แมน่ ้า
ภูมิอากาศ : แบบมรสุม มี 3 ฤดกู าล ไดแ้ ก่ ฤดรู อ้ น ฤดฝู น และฤดหู นาว
แม่น้า : แมน่ ้าขาน หนองสะเรยี ม
เศรษฐกจิ
การทอ่ งเท่ียว : เวยี งท่ากาน หนองสะเรียม
เกษตรกรรม : ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ปลกู ข้าว ปลกู ลาไย
หตั ถกรรม : ทาเครอื่ งเขิน แกะสลักไม้
ประเพณีวัฒนธรรม
ชาติพนั ธ์ุ : ชาวไทเขนิ ชาวไทใหญ่
ประเพณสี าคัญ : สลากภัต (ทานก๋วยสลาก)
ภาษาพื้นเมือง : คาเมือง
บุคคลสําคญั
1. แม่ครบู ัวชมุ จันทรท์ ิพย์ ผกู้ อ่ ตง้ั คณะละครซอ คณะลูกแม่ปงิ
2. พอ่ ครูบุญส่ง ชมุ่ ศรี วงสะล้อ 2001
สถานทีส่ ําคญั
1. เวยี งท่ากาน
2. วัดป่าเจริญธรรม
3. ศูนย์ผลติ ภัณฑ์ตกุ๊ ตาเชียงใหม่
4. หนองสะเรียม
5. กาดงัว
43. โรงเรยี นวัดโรงวัว อําเภอสันปา่ ตอง
ภูมิศาสตร์
สภาพภมู ศิ าสตร์ท่วั ไป: พื้นทีส่ ่วนใหญเ่ ป็นท่รี าบลุ่ม ตดิ กับลาน้าปิง
แมน่ า้ : แม่น้าปิง
ประวัตศิ าสตร์
ชุมชนเวียงท่ากาน เปน็ ชมุ ชนเกา่ แก่ 1,300 ปี รว่ มสมยั เวียงกุมกาม เป็นเมอื งเก่าแกข่ องชมุ ชน
เศรษฐกิจ
การทอ่ งเทีย่ ว : โบราณสถาน เวียงทา่ กาน ธรรมชาติ ลาน้าปิง ปนั่ จักรยาน
เกษตรกรรม :ปลกู ผกั พริก และทาสวนลาไยทาขนมจนี
หตั ถกรรม :ตดั ตุง การมัดผ้าในงานตา่ งๆ งานใบตอง
อาชพี
เกษตรกรรม : สวนลาไยปลูกพืชผักสวนครวั
จัดทานา้ พริก
๑๑๓
สถานทส่ี าํ คัญ
1. เวียงทา่ กาน
2. วัดโรงวัว วนั ป่าเจดยี เ์ หล่ียม วดั อนิ ทะวิชัย วัดแม่กา๊ วดั ทรายมลู วดั หนองครอบ วดั ต้นตัน
ประเพณีวัฒนธรรม
1. งานยีเ่ ปง็
2. ตานขนั ดอก สรงนา้ พระธาตุ
3. รดน้าดาหวั
ชาตพิ นั ธ์ุ : มอญ เม็ง ยอง เขิน เมือง
บุคคลสาํ คญั
1. ครบู าอุ่น อตฺถกาโม (พระครูอรรถกิจจาร) วัดโรงวัว
2. ท่านพระครสู ถิตธรรมาภนิ นั ท์ วดั อนิ ทะวขิ ัย (รองเจ้าคณะอาเภอสนั ป่าตอง)
สภาพปญั หาในชมุ ชน
ชุมชนมีการอพยพแรงงานไปทางานที่อื่น ไปชุมชนเมือง ทาให้มีผู้สูงอายุและเด็กอยู่ทาให้เป็นชุมชนผู้สูงอายุและ
แรงงานมีการอพยพ
44. โรงเรียนวัดดงปา่ ง้ิว อาํ เภอสันปา่ ตอง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภูมศิ าสตร์ทว่ั ไป: เปน็ หมู่บา้ นพื้นราบ ดินอุดมสมบูรณ์ ไม่แหง้ แล้งทาให้สามารถปลูกไม้ผล ได้ดี
เศรษฐกิจ
หตั ถกรรม : ในชุมชนและเขตบริการมีรายได้หลักจากการเย็บผ้า ทากระดาษสา และเคร่ืองเขนิ
เกษตรกรรม : ผลผลิตทนี่ ามาส่รู ายไดห้ ลักคือสวนลาไย
อาชพี
การทากระดาษสา : ผลิตจากปอสา ต้นหญ้าและดอกไม้ เช่น อัญชัน ดาวกระจาย มีจานวนท่ีประกอบอาชีพร้อย
ละ 40 ของบ้านดงป่าซาง และบา้ นดงป่างว้ิ สง่ ขายท้งั ในและตา่ งประเทศ
การทาเคร่ืองเขิน : มีการผลิตเครื่องเขิน สินค้า OTOP ระดับ 4 ดาว เป็นของใช้และของท่ีระลึก เช่น ขันโตก
แจกัน จานรอง ทีใ่ สก่ ระดาษ ฯลฯ
โรงงานเย็บผ้า : ร้อยละ 40 ของแม่บ้านดงป่างิ้ว ประกอบอาชีพเย็บเสื้อผ้า มีโรงงาน 2 โรงงาน ผลิตสินค้า
จาหน่ายท้งั ในและตา่ งจังหวดั มสี ินค้าแบรนด์ “นารายา”
การปลูกลาไย : ร้อยละ 80 ของครัวเรือน จะมีอาชีพทาสวนลาไย มีขั้นตอนการดูแลบารุงรักษาดิน การเก็บ
ผลผลติ และการแปรรูป
สถานทีส่ ําคัญ
1. โรงงานทากระดาษสา หมู่ที่ 6 บา้ นดงป่าซาง อ.สนั ปา่ ตอง
2. โรงงานเยบ็ ผ้า บ้านดงป่าง้ิว
3. บ้านเครื่องเขิน บา้ นดงป่าง้ิว
สภาพปัญหาในชมุ ชน
ผลผลิตในดา้ นการเกษตร (ลาไย) ราคาไม่แนน่ อนอยู่กบั พ่อคา้ คนกลาง
๑๑๔
45. โรงเรยี นวัดสามหลงั อาํ เภอสันปา่ ตอง
ภมู ิศาสตร์
พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นที่ราบ อยู่ในแหล่งชุมชน ใกล้กับโบราณสถานเวียงท่ากาน มีแหล่งในการทาเกษตร เช่น สวน
ลาไย สวนถ่ัว ใกลแ้ หลง่ น้า คือ แมน่ า้ ปงิ
ประวตั ิศาสตร์
แหล่งชมุ ชนโบราณสถานเวยี งทา่ กาน
เศรษฐกจิ
การท่องเท่ียว (โบราณสถาน)
การเกษตร (อาชีพของคนในชุมชนส่วนใหญ่ทาอาชีพเกษตรกรรม ปลูกผกั เช่น ลาไย ถ่ัว เพาะเหด็ และพืชผกั สวน
ครวั )
อาชีพ
เพาะปลกู พชื ผัก (เพาะเหด็ และผกั สวนครวั )
คา้ ขาย
รบั จา้ ง (ตัดผ้า ก่อสร้าง ช่างเหลก็ )
ประเพณี
ชาตพิ นั ธ์ุ (บางสว่ นเป็นชาวไทยยอง)
ประเพรี (สงกรานต์ ย่ีเป็ง แห่ไมค้ ้าโพธ)ิ์
สภาพปญั หาในชมุ ชน
คนในชมุ ชนบางส่วนย้ายมาจากต่างถ่ิน (ชาวต่างชาติ) เมอื่ มีการหย่าร้างทาให้ต้องยา้ ยถ่ินฐาน นักเรียนจึงต้องย้าย
ตดิ ตามผู้ปกครองสง่ ผลให้การเรียนของนกั เรียนไม่ต่อเน่ือง
46. โรงเรียนบ้านมว่ งพน่ี อ้ ง อาํ เภอสันปา่ ตอง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ทั่วไป : พ้ืนท่ีส่วนใหญ่ เป็นท่ีราบ ลักษณะเป็นชนบท เป็นพ้ืนท่ีการเกษตร เพาะปลูก ทาไร่ ทา
สวน
แม่น้า : แมน่ า้ ปงิ
ประวัตศิ าสตร์
1. เวียงทา่ กาน
2. วดั ทุง่ ตูม
3. วดั พระบาทยง้ั หวดี
เศรษฐกิจ
การทอ่ งเที่ยว (โบราณสถาน)
การเกษตร : อาชีพของประชากรส่วนใหญ่ ยังคงเน้นท่ีประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การปลูกลาไย ไร่ข้าวโพด
การปลกู ดอกดาวเรอื ง การปลกู ตน้ กระดาษสา
อาชพี
เกษตรกร : มกี ารเพาะปลกู ทาไร่ ทาสวน และเลี้ยงสัตว์ (ฟาร์มวัวนม)
ค้าขาย : สินค้าส่วนใหญ่ มีการคา้ ขาย เช่น ผลติ ภณั ฑ์ทางการเกษตร อาหาร เคร่ืองด่ืม
๑๑๕
การถนอมอาหาร : โดยการหมกั ดองผกั กาด
ประเพณีวฒั นธรรม
ชาติพันธ์ุ : คนพนื้ เมอื ง มีชาติพนั ธตุ์ ่างดา้ วเขา้ มาทาอาชีพฟารม์ วัวนม
ประเพณีสาคญั :
1. สงกรานต์ : ประเพณรี ดนา้ ดาหัวผ้ใู หญ่ (ป๋ีใหม่เมือง)
2. ยีเ่ ป็ง : การทาโคมลอย การเย็บ/การทากระทง
3. ประเพณีสรงนา้ พระธาตุ วัดพระบาทย้ังหวีด วัดบา้ นมว่ งพ่ีนอ้ ง วดั ส้มปอ่ ย วัดพระเจา้ สององค์ วัดทงุ่ ตูม
4. ประเพณตี ๋านกว๋ ยสลาก : การทาบญุ ให้บรรพบรุ ุษ
5. ประเพณที อดกฐิน/ทอดผา้ ป่า
ภาษาพ้ืนเมือง : ภาษาพ้ืนเมอื ง (คาเมือง)
บุคคลสําคญั
1. เจ้าสี่หมื่น วณีสอน อดีตนายอาเภอบ้านแม นายอาเภอสบปราบ จังหวัดลาปาง และอดีต
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทท่ี 1 จงั หวัดเชียงใหม่ เขต 2 เปน็ ผกู้ ่อตั้งโรงเรยี นบ้านม่วงพนี่ อ้ ง
2. เจ้าเซงโซ่
สถานท่ีสําคญั
1. วดั ทาตมุ้
2. วดั บา้ นม่วงพ่นี อ้ ง
3. วัดส้มปอ่ ย
4. วดั พระบาทยัง้ หวีด
5. วัดพระเจา้ สององค์
สภาพปัญหาในชุมชน
ปัญหาการถนิ่ ฐานของคน
47. โรงเรียนวัดชา่ งกระดาษ อาํ เภอสนั ป่าตอง
ภมู ิศาสตร์
เป็นชุมชนเมือง เป็นที่ราบการเดินทางสะดวกอยู่ติดคลองชลประทาน ใกล้เคียงกับสถานที่สาคัญต่างๆ เช่น
ธนาคาร ตลาด การไฟฟ้า ไปรษณีย์
อาชีพ
รบั จ้างท่วั ไป
ประเพณวี ัฒนธรรม
การทาเคร่ืองสืบชะตา เป็นการจดั เตรียมเครอื่ งเพ่ือทาพธิ ี บวงสรวง สบื ชะตา เพ่ือใหเ้ ป็นศิรมิ งคล ในงานตา่ ง ๆ
เชน่ งานเกษยี ณอายุราชการ งานวันเกดิ งานสาคญั ต่างๆ
๑๑๖
48. โรงเรียนบา้ นแมก่ ุ้งหลวง อําเภอสันปา่ ตอง
ภูมิศาสตร์
ใกล้แหลง่ เรียนรู้แมน่ า้ ปงิ นา้ แมก่ ุ้ง
อาชพี ในท้องถิน่ ค้าขาย เกษตร รบั จา้ ง
ประเพณี งานบวช ปอยหลวง งานศพ
โรงเรยี นบ้านแม่กุ้งหลวง ตั้งอยรู่ ะหวา่ งการปกครองของ 3 หม่บู ้าน คือ บ้านศรโี พธงิ์ าม บ้านแม่กงุ้ หลวง และบ้าน
สนั จกุ่ง เป็นทร่ี าบลมุ่ มีแหล่งนา้ ใกล้เคยี ง คอื ลาเหมอื งแมก่ ุง้ และลาเหมอื งฮ่องไคร้
ประวัตศิ าสตร์
บริเวณท่ีโรงเรียนต้ังชุมชนทอ่ี าศัยเป็นคนล้านนา แต่แนวของโรงเรียนอยใู่ นเส้นต่อเชอ่ื มของเวียงกุมกาม และเวียง
ท่ากาน จากการสารวจเสน้ แนวของโรงเรียนจะอยใู่ นเขตของเวียงมะโน ที่เช่อื มต่อเขตของตาหนองตอง อาเภอหาง
ดง มกี ารพบวัตถโุ บราณ สถานท่บี างสว่ น ต่างโดยสว่ นมากการทาลายจนไมส่ ามารถยนื ยนั ได้แน่ชดั
ประเพณีวัฒนธรรม
ชุมชนในเขตบริเวณดาเนินชีวิตตามแนววัฒนธรรมของล้านนา นับถือศาสนาพุทธ โดยส่วนมาก แต่ยังบูชาภูตผี
ตามความเช่ือของคนล้านนา ใช้คาพูนเป็นภาษาล้านนา โดยส่วนมากประเพณีที่ยังปฏิบัติสืบต่อกันมา เช่น การ
ทาบญุ ตักบาตร การบวชนาค งานปอยหลวง สลากภัต และทอดกฐิน มีการรับวัฒนธรรมของภาคอ่ืนมาปฏบิ ัตบิ ้าง
มีประชากรบางส่วนหันไปนับถือศาสนาคริสต์ เพราะหมู่บ้านใกล้เคยี งมีความนับถอื ศาสนาคริสต์ มีโบสถ์ และมีการ
เผยแพร่ศาสนา
อาชพี
ชมุ ชนในเขตบริเวณโรงเรยี นสามารถแบง่ อาชีพออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ
1. ค้าขาย
2. รับจ้าง
3. เกษตรกรรม
อาชีพค้าขาย เป็นอาชีพที่ประชากรในชุมชนยึดถือและประกอบอาชีพเป็นต้นมา คือ การค้าขาย ของสินค้า
เครือ่ งใช้ตลาดนดั
อาชีพรบั จ้าง ประชากรสว่ นหน่ึงยึดถืออาชพี รับจ้าง เชน่ การรบั เหมาก่อสร้าง พนักงานประจา
อาชีพเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ยังมีพน้ื ท่ีในการทาเกษตรกรรม แตไ่ ม่ได้ยึดเป็นอาชพี หลัก ทาเพ่ือเป็นอาชีพ
สารองตอ่ เนือ่ งมาจากการคา้ ขายหรือรับจ้าง
สภาพปัญหาในชมุ ชน
ในชุมชนยังมีประชากรบางส่วนท่ีมีรายได้น้อย จึงทาให้คุณภาพชีวิตไม่ดี ส่งผลต่อบุตรหลานโรงเรียนซึ่งต้องแบก
รับภาระในการจัดการเรียนการสอนทั้งหมด ปัญหาครอบครัวที่พบมาก คือ ปญั หาหยา่ ร้าง
๑๑๗
49. โรงเรียนวัดท่ากาน อาํ เภอสนั ป่าตอง
ภูมิศาสตร์
ตง้ั อยใู่ นเขตชุมชนท่ากาน มกี าแพงเมือง และคเู มืองลอ้ มรอบเปน็ รปู ส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ ขนาดกวา้ ง 500700 เมตร
ประวตั ิศาสตร์
เวียงท่ากาน สร้างเม่ือราวพุทธศตวรรษที่ 13 ในสมัยพระเจ้าอาทิตยราชกษัตริย์แห่งอาณาจักร หริภิญชัย
สร้างข้ึนเพื่อเป็นเมืองหน้าด่าน ต่อมาได้ข้ึนตรงต่อพญามังรายมีฐานะเป็นเมืองเสบียงสะสมกาลังพล และอาหาร
หลังจากที่พม่าเข้ายึดครองเมืองเชียงใหม่ เวียงท่ากานก็อย่ใู นอานาจของพม่า หลังจากนั้นชุมชนนี้จงึ ร้าง ไปในช่วง
ปี พ.ศ. 2318-2339 ในปี พ.ศ. 2339 พระเจ้ากาวิละได้นาชาวไทยยองเข้ามาตั้งถ่ินฐาน และอาศัยในบริเวณ
เวียงทา่ กานจนถึงปจั จบุ นั
สถานทสี่ ําคญั
1. เจดยี ว์ ัดกลางเวียง : เปน็ กลุม่ โบราณสถานขนาดใหญ่ทส่ี ุด เนื้อที่ 14 ไร่
2. เจดยี ์วัดต้นกอก : เป็นเจดยี ใ์ หญท่ ส่ี ดุ ตัง้ อยหู่ มบู่ ้านต้นกอก
3. วัดอโุ บสถ : ทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ พระอุโบสถหลังเดมิ มกี ารรือ้ แลว้ มกี ารสร้างใหม่ หลายครง้ั
4. วดั ต้นโพธ์ิ : อยู่ทางตะวนั ตกเฉียงใต้ เพ่ือว่าต้นศรีมหาโพธิ์ปลกู ไวท้ ่ีน่ี
5. วดั ป่าเป้า : ตงั้ อย่หู ม่บู ้านตน้ กอก ตดิ คเู มอื งทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้
6. วดั ไมร่ วก : ตั้งอย่หู ม่บู า้ นต้นกอก ตดิ คเู มืองทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้
7. วัดกู่ไม้แดง : นอกเวยี งทา่ กานทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้ ประมาณ 300 เมตร
ประเพณีวัฒนธรรม
1. ประเพณใี สข่ ันดอก/สรงน้าพระ
2. ประเพณียีเ่ ป็ง
3. ประเพณปี ใ๋ี หมเ่ มือง
4. ประเพณสี ลากภัต
ชาติพันธ์ุ : ไทยยอง
ภาษา : ใชภ้ าษาไทยยอง
อาชพี
ทางดา้ นการเกษตร เน้นเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง
ศิลปวฒั นธรรม
1. การฟอ้ นยอง
2. กลองสะบัดชยั
3. อาหารไทยยอง
4. การแต่งกายแบบไทยยอง
๑๑๘
50. โรงเรยี นบา้ นเพยี ง (รัฐบาํ รงุ ) อําเภอสันป่าตอง
ภูมิศาสตร์
สภาพภมู ิศาสตร์ทัว่ ไป : เป็นพ้นื ที่ราบมีแม่นา้ ขาน ไหลผ่านหมู่บ้าน
โรงเรียนอยูต่ ดิ ถนนสนั ป่ายาง-แม่อาว
เศรษฐกิจ
โรงเรียนบ้านเพียง (รัฐบารุง) อาเภอสันป่าตอง เป็นโรงเรียนที่อยู่ในหมู่บ้านที่มีหน่วยงานราชการ เอกชนอยู่ใกล้ๆ
เชน่ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ โรงงานอุตสาหกรรม เทศบาลตาบลบ้านแรม วัดศูนย์ช่งั ตวง-วดั
ท่องเที่ยว : มีแหล่งท่องเท่ียว คือ วัดหลวงพ่อขาว ซ่ึงสร้างมาต้ังแต่สมัยรัชกาลท่ี 5 ประมาณปี พ.ศ.2440
อุโบสถวัดบา้ นเพยี ง
เกษตรกรรม : ชาวบ้านและผ้ปู กครอง ยงั คงทาอาชีพเกษตรกรรมอยบู่ ้าง
ดา้ นหัตถกรรม : ชาวบ้านมีอาชีพทาเครอ่ื งจกั สานจากไม้ไผ่ งานปนู ปั้นหนุ่ สงิ หโ์ ต
อาชพี
รบั จ้าง (โรงงานอุตสาหกรรม บรษิ ัท กอ่ สรา้ งทว่ั ไป)
ค้าขาย
ทาเกษตรกรรมท่ัวไป
สถานท่สี าํ คญั
วดั บ้านเปยี ง วัดทา่ เดอื วดั ร้องธาร
ประเพณวี ฒั นธรรม
เป็นหมู่บ้านทม่ี ีประเพณแี ละวฒั นธรรมลา้ นนาด้ังเดิม
ชาตพิ นั ธ์ุ : เปน็ ชนเผา่ ลวั ะ หรอื ละวา้ ไทลอ้ื ไทเขิน ยอง
ประเพณี : สงกรานต์ ย่ีเป็ง สรงน้าหลวงพอ่ ขาว
บคุ คลสาํ คญั
พระชัชพงษ์ (วดั ทา่ เดือ) ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ
51. โรงเรยี นก่ิวแลน้อยประสทิ ธ์ิวทิ ยา อําเภอสนั ปา่ ตอง
ภูมิศาสตร์
สภาพภูมิศาสตรท์ ั่วไป : พนื้ ทส่ี ว่ นใหญ่เป็นทร่ี าบมแี ม่น้าขาน
แม่นา้ เจา้ ศรหี มนื่ แม่นา้ ขาน
ประวตั ศิ าสตร์
ประวัติความเป็นมา : ตาบลบ้านแม เดิมมีสตรีผู้หนึ่งมีสติปัญญาฉลาด ชาวบ้านจึงขนานนามว่า แม่ของหมู่บ้าน
และเรียกหมู่บ้านน้ีว่า “บ้านแม่” ต่อมามีชายมาสู่ขอและให้นางย้ายไปสู่เวียงโค้งบ้านฝ่ายชาย แต่นางไม่ยอม
แต่งงานด้วย จึงได้ขุดคลองเพื่อต้ังบ้านแม่ให้เป็นเวยี งแม่ แต่ยังขาดตาบลและอาเภอ นางจงึ ตง้ั หมู่บ้าน เป็นอาเภอ
บา้ นแม่ และได้เปลีย่ นชอ่ื ตาบลบ้านแม่ เปน็ ตาบล บา้ นแม มาจนถึงปัจจุบนั
เศรษฐกิจ
ท่องเทีย่ ว :เชิงศึกษาวถิ ีชีวิตชมุ ชน
เกษตรกรรม : ส่วนใหญม่ ีอาชีพเกษตรกรรม และหัตถกรรม งานแกะสลัก
อาชีพ
๑๑๙
แกะสลกั ไม้
อาหารพ้ืนบ้าน
ขนมพน้ื บา้ น
ประเพณวี ฒั นธรรม
ชาตพิ ันธ์เุ ป็นชน 3 เผา่ คือ ลัวะเมอื ง และเขนิ
ประเพณสี าคญั :
1. สงกรานต์
2. ประเพณยี เี่ ปง็
3. การเลย้ี งขนั โตก
4. ตานก๋วยสลาก
5. ปอยหลวง
6. สรงนา้ พระธาตุ
ภาษาพ้ืนเมือง : ภาษาลัวะ คาเมอื ง คาเขิน
บุคคลสาํ คญั
1. ขนุ หลวงวิลังคะ
2. พญาเม็งราย
3. ครูบาศรวี ิชยั
สถานทีส่ าํ คัญ
1. วัดพระธาตดุ อยสเุ ทพ
2. วัดพระธาตศุ รีจอมทอง
3. วดั นา้ บ่อหลวง
สภาพปัญหาในชุมชน
ประชากรส่วนใหญม่ ีอาชีพทางเกษตรกรรม มีรายได้นอ้ ย ค่าใชจ้ ่ายในครวั เรอื นสูง ไมเ่ พยี งพอต้องออกหางานทาท่ี
อนื่ ในชมุ ชนเหลือเด็กและคนชรา ทาใหเ้ กิดปญั หามากมายตามมา
52. โรงเรียนวัดนา้ํ บ่อหลวง อาํ เภอสนั ปา่ ตอง
ภูมิศาสตร์
สภาพภมู ิศาสตร์ทัว่ ไป : เปน็ ท่ีราบติดกบั ป่าชุมชน มีคันคลองชลประทาน
ประวัติศาสตร์
ประวัติความเป็นมา : หมู่บ้านน้าบ่อหลวงก่อตั้งมาประมาณ 200 ปี แต่มีวัดน้าบ่อหลวงซึ่งมีอายุเก่า 1300 ปี
ตัง้ อยู่ โดยมีครบู าเจา้ อนิ ทจกั รรักษา เปน็ ผบู้ ูรณะวดั และได้สร้างโรเรยี นวดั น้าบ่อหลวงเม่ือปี 2505
เศรษฐกิจ
ชมุ ชนมอี าชพี สว่ นใหญ่เกษตรกรและมีอาชพี รอง คอื แกะสลักไม้ ฐานะค่อนข้างยากจนมแี หล่งท่องเทยี่ ว คอื
1. ศูนยเ์ รยี นรกู้ าดสลา่
2. วิถีเกษตรพอเพียง
3. หนองสะเรยี ม
4. เวียงท่ากาน
อาชีพ
๑๒๐
1. เกษตรกรรม
2. หตั ถกรรมแกะสลกั ไม้
3. ผลติ ภัณฑ์พื้นบา้ นไทยเขิน
ประเพณวี ัฒนธรรม
อาเภอสันป่าตอง เปน็ เมืองเล็กๆ พื้นเพเป็นคนเมืองทอ้ งถิ่น ต่อมามีชนเผ่าอ่ืนเข้ามาอาศัย เช่น กระเหร่ียง ม้ง ต่าง
ดาว ไทยใหญ่ พม่า เข้ามาทางาน
ประเพณสี าคัญไดแ้ ก่
1. ประเพณีสงกรานต์
2. ประเพณยี เี่ ปง็
3. ประเพณีสรงน้าพระธาตุ
ภาษา : ใช้ภาษาพ้ืนเมอื ง
บุคคลสาํ คัญ
ครูบาอนิ ทจักร เปน็ ผู้บูรณะวัดน้าบ่อหลวง
สถานทีส่ าํ คัญ
1. หนองสะเรยี ม
2. เวียงท่ากาน
3. วัดทา่ จาปี
4. วัดนา้ บ่อหลวง
สภาพปญั หาในชุมชน
การอพยพของคนนอกเข้ามา
53. โรงเรยี นบ้านใหมส่ วรรค์ อําเภอแม่วาง
ภูมศิ าสตร์
สภาพทวั่ ไป : เปน็ ท่รี าบเชิงดอย
ภูเขา : แนวเดียวกับดอยอนิ ทนนท์ เขาพระราชา
แม่นา้ : อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยมะนาว นา้ แม่วาง อ่างเก็บนา้ สาธารณะในหมบู่ ้าน
ประวัติศาสตร์
ก่อตั้งโดยมูลนิธิศภนิมิต สมัยก่อนเป็นป่าเสื่อมโทรม ต่อมา รัชกาลที่ 9 ไดทาการจัดสรรพื้นที่ให้ประชาชนใช้ใน
การอยู่อาศัยและทากิน โดยมีชาวพ้ืนเมืองและชาวม้งอาศัยอยู่กัน โดยอพยพมาจากสันป่าตอง และต่อมาได้มีคน
ตา่ งถ่ินได้เขา้ มาทาไร่ ทาสวน ในทอ้ งถิ่น
เศรษฐกจิ
ท่องเท่ยี ว : อ่างเกบ็ นา้ หว้ ยมะนาว สถปู พระนเรศวร วดั บ้านใหมเ่ มืองสวรรค์ สถานปฏบิ ัติธรรมชัยสถาน
เกษตรกรรม : อาชีพปลกู สวนหอม สวนลาไย เพาะพนั ธ์ุต้นไม้ขาย และการเลย้ี งสตั ว์
หัตถกรรม : ทอผ้ามง้ เครอ่ื งจกั สาน
อาชีพ
รับจา้ งการเกษตร มีความเช่ยี วชาญในการปลกู หอม ปลูกลาไย และเล้ยี งสุกร เพาะปลูกตน้ ไม้
ประเพณวี ฒั นธรรม
ชาตพิ ันธุ์ มชี นเผา่ ม้ง กะเหรี่ยง ไทยใหญ่ มภี าษาวฒั นธรรมท่มี ากหลาย
๑๒๑
ประเพณีสาคัญ:
1. สรงน้าพระธาตวุ ดั บา้ นใหมเ่ มอื งสวรรค์
2. บวงสรวงพระนเรศวร
3. งานบุญสลาก กฐนิ
4. ปีใหม่มง้
ภาษามีพืน้ เมอื ง ม้ง กะเหรีย่ ง ไทยใหญ่
บุคคลสาํ คญั
พ่อปู่ฤาษี
สถานท่สี ําคัญ
1. อ่างเก็บนา้ ห้วยมะนาว
2. สถปู พระนเรศวร
3. เขาพระราชา
4. วัดบา้ นใหมเ่ มืองสวรรค์
5. สถานปฏบิ ัติธรรมชยั มงคล
สภาพปัญหาในชุมชน
1. ประชาชนในชุมชนขาดความรู้ ความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการเอง ไมม่ ีที่ดินทากินเป็นของ
ตวั เอง จึงตอ้ งไดแ้ ต่ประกอบอาชีพรบั จ้าง นายทุนทเี่ ข้ามาซ้ือทดี่ ินเพาะปลกู จงึ ทาใหค้ นในชมุ ชนมีรายไดน้ อ้ ย และ
มีปญั หาฐานะยากจน
2. มลภาวะทางกล้นิ การเลยี้ งสกุ ร
3. ปัญหายาเสพตดิ สรุ า
54. โรงเรยี นพฒั นาตน้ นํ้าท่ี 5 ขุนวาง อําเภอแม่วาง
ภูมิศาสตร์
อยู่บนดอยอนิ ทนนท์ บนภเู ขาสุง ป่าสน ป่าต้นนา้ (การอนรุ ักษป์ ่าต้นนา้ )
ประวตั ศิ าสตร์
ชนเผ่าปญาเกอญอ มีความเป็นมาอย่างไร
เศรษฐกิจ
เกษตรกรรม : อาชีพส่วนใหญเ่ ปน็ เกษตรกรรม และใกล้โครงการหลวง
การปลกู สตอรเบอรี่ การปลกู เสาวรส
การเล้ยี วสตั ว์
อาชพี
ทอผ้า ปญาเกอญอ และแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์
เกษตรกรรม แปรรปู ผลติ ภัณฑ์การเกษตร โครงการหลวง
ประเพณวี ัฒนธรรม
ภาษาปญาเกอญอ
การประกอบพิธกี รรมตา่ งๆ
เคร่ืองดนตรพี นื้ เมือง
การแตง่ กาย
๑๒๒
สถานท่ีสําคญั
โบสถ์ในหมบู่ ้าน
สภาพปัญหาในชมุ ชน
สุขภาวะของคนในชุมชน อนามยั ยาเสพตดิ สวล.
55. โรงเรยี นบ้านกาด(เขมวังส)์ อําเภอแม่วาง
ภูมิศาสตร์
พ้นื ทส่ี ว่ นใหญ่เปน็ ที่ราบสงู มีท่รี าบแคบๆ อยบู่ ริเวณตาบลบา้ นกาด ตาบลคอนเปาและตาบลทงุ่ ปท้ี ุ่งรวงทอง
ภเู ขา : ดอยอินทนนท์ ดอยหลวงขนุ ริน
แม่น้า : แม่นา้ วาง แม่น้าขาน
ประวตั ศิ าสตร์
อาเภอแม่วาง แยกออกจากอาเภอสันป่าตองต้ังแต่ปี พ.ศ. 2538 แต่ละชุมชนมปี ระวัติการรวมกล่มุ แตกต่างกันไป
เช่น ชุมชนจาลอง ชุมชนบ้านกาด บ้านใหม่ปางเติม บ้านมะกายยอน บ้านน้าต้น บ้านสันโป่ง บ้านปง บ้านใหม่
สวรรค์ บา้ นหว้ ยเนยี ม บา้ นแมข่ ดุ บ้านใหม่สบริน บา้ นหว้ ยนา้ รนั
เศรษฐกจิ
อาเภอแมว่ างเป็นชุมชนชนบท สภาพเศรษฐกจิ น้นั อยูก่ บั พืชผลทางการเกษตรและการท่องเที่ยว
การทอ่ งเท่ียว : โครงการหลวง ปางชา้ งแมร่ นิ รักหลวงขุนรนิ นา้ ตกแมว่ าง วดั ถ้าดอยโตน พระธาตเุ ชียงลบ ถ้าน้าฮู
สุสานทหารญี่ปนุ่ ดอยกู่
เกษตรกรรม : พชื ผกั เมืองหวาน พชื ผักปลอดสารพษิ หอมหวั ใหญ่ ลาไย
หัตถกรรม : จ้องแดงดอนเปา น้าต้นบ้านน้าต้นมะกายยอม ของเล่นจากเศษไม้ เรือใบจากไม้สัก ของเล่นพื้นบ้าน
จากวสั ดุธรรมชาติ (อยุ้ สอนหลาน) เปน็ ต้น
อาชีพ
ปลูกพชื ผกั เมอื งหนาว : บนดอยแมร่ นิ
ปลกู ผักปลอดสารพษิ : บ้านปง รมิ วาง
ปลกู หอมหวั ใหญ่ : ท้ังบนดอยและพืน้ ราบ
เครื่องปน้ั ดนิ เผา : บ้านน้าตน้ มะกายยอน
การทาจอ้ งแดง : บ้านดอนเปา
การทอผา้ : บ้านดอนเปา (ศาลารวมใจ)
ของเลน่ จากวสั ดธุ รรมชาติ: บา้ นอ้ยุ สอนหลาน
ประเพณีวฒั นธรรม
แม่วางมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุได้แก่ คนเมือง ไทยใหญ่ ม้ง กะเหรี่ยง ซ่ึงแต่ละชาติพันธ์ุก็จะมีภาษาและ
วฒั นธรรม ประเพณีทีแ่ ตกตา่ งกัน
ประเพณีสาคัญ
1. ปอยหลวง เปน็ งานเฉลมิ ฉลองเมือ่ มีการก่อสร้างถาวรวัตถุทางพุทธศาสนา
2. สรงน้าธาตุ เป็นประเพณขี องแต่ละชุมชนท่ีมีวนั สาคัญ เชน่ พระธาตุเชียงลม
3. ประเพณรี ดนา้ ดาหัว ชว่ งปใี หม่เมือง
4. ตานกว๋ ยสลาก ชว่ งเข้าพรรษา ซึง่ จะผลัดเปลย่ี นหมุนเวยี นกนั จัดตามแตล่ ะชุมชน
5. ประเพณีย่เี ป็ง มกี ารปลอ่ ยโคมลอย ตานผางประทปี แต่งซมุ้ ประตู๋ปา่
๑๒๓
6. ปอยสา่ งลอง เปน็ การบรรพชาสามเณร ตามประเพณขี องไทยใหญ่
7. ปอยออกหวา่ เป็นปอยเฉลิมฉลองการเสดจ็ การกลบั มาของพระพุทธเจ้าเมื่อออกพรรษา
8. ปีใหม่มง้ (ประเพณีกินวอ) ของชนเผ่าม้ง ช่าง ปลายเดือนธันวาของทุกปี
9. ประเพณีมดั มอื เมอ่ื เสรจ็ สิน้ การเก็บเกีย่ วผลผลติ ทางการเกษตรของชนเผา่ ปะกากะญอ
ภาษา ประกอบดว้ ย
1. ภาษาคาเมือง
2. ภาษาไทยใหญ่
3. ภาษาม้ง
4. ภาษากะเหรีย่ ง
บุคคลสําคัญ
1. พ่ออุย้ ใจคา ตาปญั โญ
2. สล่าแดง
สถานทีส่ ําคญั ทางประวตั ศิ าสตร์
1. วดั ดอยหลวงขุนริน
2. วดั ถา้ ดอยโตน
3. วดั น้าฮู
4. พระธาตุเชียงลม
5. วัดดอยสัพปัญญะ
6. วัดจาลอง
7. สสุ ารทหารญป่ี นุ่
8. รกั กอยหยุด
56. โรงเรียนวัดท่งุ ศาลา อําเภอแมว่ าง
ภมู ศิ าสตร์
ธรรมชาติ ขนุ เขา
ภเู ขา : ดอยอนิ ทนนท์
แมน่ ้า : แมน่ า้ วาง แมน่ า้ ขาน
เศรษฐกิจ
ท่องเท่ียว : ปางชา้ งแมว่ ิน โครงการหลวง วดั ถ้าดอยโตน วดั หลวงขนุ วาง
เกษตรกรรม : การปลกู หอมหวั ใหญ่ ข้าวโพด
หัตถกรรม : การทาจอ้ งแดง (รม่ ) การทาเรอื จาลอง การทาเครอื่ งเขิน
อาชีพ
เกษตรกรรม การปลกู หอมหวั ใหญ่ ขา้ วโพด
ประเพณวี ัฒนธรรม
ชาติพันธุ์ : กะเหรีย่ งไทยใหญ่
สถานทส่ี ําคัญทางประวตั ิศาสตร์
1. นา้ ตกแม่วาง
๑๒๔
2. วัดถา้ ดอยโตน
3. วัดหลวงขุนรนิ
4. วัดดอยสพั ปัญญะ
5. ศาลสมเดจ็ พระนเรศวร
6. อทุ ยานแหง่ ชาติแมว่ าง
สภาพปญั หาชุมชน
1. การเดนิ ทาง
2. ความยากจน
3. ภาษาของชนเผา่
4. ความเป็นอยู่ของชนเผา่
57. โรงเรยี นแมว่ นิ สามคั คี อําเภอแม่วาง
ภมู ิศาสตร์
พืน้ ท่ีส่วนใหญเ่ ปน็ ทร่ี าบสูง แวดล้อมดว้ ยธรรมชาติขุนเขาเปน็ ทีร่ าบเชงิ เขา
ภูเขา : ดอยอินทนนท์ ดอยผาแง้ม
แม่นา้ : แมน่ า้ วาง แมน่ ้าขาน
ประวัติศาสตร์
ประวตั ิความเป็นมา:เมอื งเชยี งใหม่
เศรษฐกิจ
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว : ปางช้างแม่วนิ ล่องแพ น้าตกแมส่ ะปอ๊ ก น้าตกแมว่ าง
เกษตรกรรม : การเกษตรโครงการหลวงแมส่ ะป๊อก
หัตถกรรม : การทอผ้า การผลติ ของเล่นจากไม้ การตอ่ เรือไม้
อาชพี
การทอผ้า : การทอผ้ากะเหรีย่ ง การปกั ผ้าม้ง
การเกษตรกรรม : พชื เมืองหนาว ผลไมเ้ สาวรส
ประเพณีวฒั นธรรม
ประเพณี : ฮอ้ งขวัญขา้ ว (มดั มือ) ตา๋ นปใี หม่
ภาษา : ม้ง กะเหร่ียง คาเมอื ง
สถานทีส่ ําคญั
1. โครงการหลวงแม่สะป๊อก : ให้ความรู้ด้านการเกษตร การเพาะปลูก ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การจัด
จาหน่าย
2. วดั ถ้าดอยโตน
3. วัดหลวงขุนรนิ
แหล่งให้ความรู้ด้านพุทธศาสนา ท่ีเก่าแก่ ใช้ความรู้ด้านการศึกษาประวัติพระพุทธศาสนา การปฏิบัติ
ภาวนา
สภาพปัญหาชุมชน
ความยากจน : ชุมชนประกอบอาชีพการเกษตร ซ่ึงโดยรวมมีรายได้น้อย เกิดปัญหาเรื่องภาวะเศรษฐกิจ ร่วมถึง
ปญั หาด้านการใช้การศกึ ษาแกบ่ ตุ ร ทาใหม้ ีโอการในการศกึ ษาระดับสูงนอ้ ย
๑๒๕
ความลาบากในการเดินทาง : สภาพเป็นภูเขา มีความกันดาร การเดนิ ทางยากลาบาก
ด้านภาษา : เป็นชนเผ่า มีหลากหลายภาษายากต่อการส่อื สาร
58. โรงเรยี นหลวงพฒั นาบ้านขนุ วาง อาํ เภอแม่วาง
ภูมศิ าสตร์
สภาพท่ัวไป : พื้นทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ ทีร่ าบสงู แวดลอ้ มขนุ เขา
ภูเขา : ดอยอินทนนท์
แม่น้า : แม่นา้ วาง แมน่ ้าขาน
ประวตั ศิ าสตร์
ประวัติความเปน็ มาของชนเผา่ มง้
เศรษฐกจิ
แหล่งท่องเท่ียว : โครงการหลวงขนุ วาง ศูนย์วจิ ยั หลวงขนุ วาง หนว่ ยจัดการน้า น้าตกผาดา ผาแงม้
เกษตรกรรม : อาชีพหลกั ได้แก่ เกษตรกรรม
หัตถกรรม : จกั สาน ปักผ้าม้ง
อาชพี
ปลูกพืชเมืองหนาว ดอกไม้เมืองหนาว ทา Home Stay รา้ นขายของท่ีระลึก
ประเพณวี ัฒนธรรม
ประเพณี : ปใี หมม่ ้ง มดั มือเปลยี่ นข้อตอนแต่งงาน บายศรีสขู่ วญั เล้ยี งผปี ่ยู า่
ภาษา : ภาษามง้
บุคคลสาํ คัญ
ผู้นาชมุ ชน
สถานทสี่ าํ คญั
1. โครงการหลวงขนุ วาง
2. ศูนยว์ จิ ยั ขุนวาง
3. ศูนย์เพาะน้าเชอื้ โคนม
สภาพปัญหาชุมชน
1. ประชากรวัยแรงงานทิง้ ถิ่นฐานไปทางานในเมอื ง
2. ประชากรรุ่นใหมล่ ืมถนิ่ ฐาน วฒั นธรรมประเพณขี องตนเอง
3. การใช้สารเคมใี นการเกษตร สภาวะแวดลอ้ ม
4. ปญั หาการใชส้ ารเสพติด การจาหนา่ ยยาเสพติด
5. ปัญหาเศรษฐกจิ พืชผลทางการเกษตร ราคาไม่แนน่ อน
๑๒๖
59. โรงเรียนบา้ นเหล่าป่าฝาง อําเภอแม่วาง
ภมู ศิ าสตร์
สภาพภมู ศิ าสตร์ท่ัวไป : เป็นทีร่ าบล่มุ
ภูเขา : ดอยอินทนนท์
แมน่ า้ :ลานา้ ขาน ฝายนา้ บอ่ ทิพย์
ประวตั ศิ าสตร์
ชุมชน ประชาชนโดยรวมได้ย้ายมาจากหมู่บ้านอื่น คือ บ้านฉิมพลี บ้านสันคะยอม จนย้ายมาต้ังชุมชนเป็นบ้าน
เหล่าป่าฝาง เพราะมีต้นฝางอยู่เป็นจานวนมาก และไม้ฝางเป็นลักษณะขอนไม้เถา ชาวบ้านจะนามาต้มเป็นยา
บารงุ เลอื ด จึงตั้งช่อื หมู่บา้ นเปน็ บ้านเหล่าป่าฝาง
เศรษฐกิจ
ในอดีตประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทานาและทาสวน ทาไร่ คือ การปลูกอ้อย และทาน้าอ้อยขาย แต่ได้เลิก
ทาไรอ่ อ้ ยไป เพราะไม่มีฟนื ในการทาน้าอ้อย ปา่ ไม้ลดลง
ในปัจจุบันประชาชนมีรายได้จากการปลูกข้าว ปลูกหอมหัวใหญ่ ทาสวนข้าวโพด ปลูกแตงกวา มะเขือ ฝร่ัง แต่
อาชีพหลักของชาวบ้านคือ การปลกู หอมหวั ใหญ่ ส่วนอาชีพเสรมิ คอื การทอผ้าของชมรมผ้สู ูงอายุ
ดา้ นการทอ่ งเท่ียว : ฝายนา้ บอ่ ทพิ ย์ วดั ดอยสพั ญญู ประเพณีทอ้ งถ่ิน
ดา้ นอาชพี : เกษตรกรรม
ด้านหตั ถกรรม : การทอผ้า
อาชีพ
1. การทานา
2. ทาสวนข้าวโพด แตงกวา
3. การทอผา้ ของผู้สงู อายุ
ประเพณวี ฒั นธรรม
ประเพณวี นั สาคญั ทางศาสนา :ประเพณีสรงน้าพระธาตุดอยหยุด
ประเพณที ส่ี าคัญ :
1. ประเพณตี านสลากภตั
2. ประเพณปี ใี หม่เมือง แหไ่ ม้คา้
3. ประเพณลี ้นบาตรขา้ วสาร
4. สวดมนต์ข้ามปี
บคุ คลสําคญั
1. กานันตาบลดอน
2. เจ้าคณะอาเภอแม่วาง
3. ผูใ้ หญ่
4. ศาลพระนเรศวร
สถานทส่ี ําคัญ
1. วัดรังษีสทุ ธราม
2. ฝายนา้ บ่อทิพย์
3. วดั ดอยสพั ปัญญู
4. วัดดอยหยุด
๑๒๗
5. ชมรมผสู้ งู อายุ
6. ปางช้างแมว่ าง
สภาพปัญหาชุมชน
1. ปัญหาด้านราคาผลผลิตการเกษตรตกต่า
2. ปญั หาปา่ ชุมชน
3. ขยะในชมุ ชน
4. การใช้สารเคมใี นชมุ ชน
60. โรงเรยี นบา้ นหว้ ยตอง อาํ เภอแมว่ าง
ภูมิศาสตร์
สภาพทั่วไป : พน้ื ทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ ภเู ขา เป็นท่รี าบสงู แวดลอ้ มด้วยธรรมชาตขิ ุนเขา
ภเู ขา : ดอยแม่วนิ ดอยแมว่ าง
แมน่ า้ : ลานา้ สบวินแมน่ า้ แม่วาง
ประชากร : คนพ้นื ราบ ชาวเขาเผา่ กะเหรี่ยง
ประวัตศิ าสตรบ์ ้านห้วยตอง
ประวัติความเป็นมา : ชุมชนบ้านห้วยตองตั้งอยู่บนภูเขาสูง ชาวบ้านส่วนใหญ่ เผ่ากะเหรี่ยงหรือ ปกากะญอ
ทง้ั หมด หมู่บ้านปลูกผักและไม้ผลเมืองหนาวเป็นรายได้ พื้นทที่ านาปลูกข้าวอยู่บนภูเขาสูง แต่อาจมกี ารปลูก
ข้าวไร่ในบางส่วน มกี ารเลี้ยงวัวปา่
ในอดีต สภาพอากาศจะเย็นเกือบตลอดทั้งปี ยกเว้นเฉพาะ และอาจเกิดไฟป่าในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ถ้าจะ
แหง้ กเ็ พาะเดือนเมษายน เพียง 1-2 สปั ดาห์
สภาพอากาศที่ผันผวนในช่วงไม่ก่ีปีที่ผ่านมา เริ่มปรากฏฝนตกหนักมากข้ึน จนทาให้พ้ืนท่ีเสียหาย สภาพอากาศ
รอ้ นข้ึน จนเร่ิมมีผลต่อไม้ผลเมอื งหนาว ความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศมีผลต่อ ความเป็นอยู่และการ
ทามาหากนิ ของชาวบ้าน
เศรษฐกิจ
ชุมชนบา้ นหว้ ยตอง ถือเปน็ แหล่งเศรษฐกจิ และการท่องเท่ยี วที่สาคัญดังน้ี
ทอ่ งเท่ียว : มวี ดั ทีส่ าคัญคือ วัดดอยธาตุ ซง่ึ เปน็ ท่ีเคารพสักการะสาคัญ มนี า้ ตก ฯลฯ
เกษตรกรรม : อาชีพของประชากรส่วนใหญ่ยังคงเป็นอาชีพเกษตรกรรม ซ่ึงได้แก่ การปลูกผัก ผลไม้เมืองหนาว
ชนดิ ต่าง ๆ มากมาย การเล้ียงสตั ว์ เปน็ ตน้
หัตถกรรม : หว้ ยตองจะมหี ัตถกรรม เชน่ การทอผ้ากะเหรี่ยง การทาเคร่อื งเงนิ เปน็ ตน้
อาชพี
ทอผ้า : ผ้าทอปกากะญอ ซงึ่ มีรา้ นทอและตัดเย็บขาย ออกแบบเปน็ กระเปา๋ ผ้าพันคอ กระโปรง ฯลฯ
การปลูกพชื ผัก ผลไม้เมอื งหนาว ได้แก่ ผักกาด กะหล่าปลี แครอท บลอ็ กโคลี่ ฯลฯ
ปลกู ผลไม้ เช่น ลูกพลับ สตอรเบอรี่ เคพกูสเบอร์ร่ี ฯลฯ
ประเพณีวฒั นธรรม
ชาติพนั ธุ์ : ชนกลุ่มนอ้ ยเผา่ กะเหรยี่ ง
ประเพณีสาคญั : ประเพณมี ดั มือ จัดเป็นประจาชว่ งเกย่ี วข้าวและโอกาสต่างๆ ของชนเผา่
๑๒๘
บคุ คลสาํ คัญ
1. บาทหลวง
2. ผู้ใหญ่บา้ น
3. เจา้ หนา้ ที่ คต.หลวงท่งุ หลวง
สถานที่สําคัญ
1. วัดดอยธาตุ
2. โบสถห์ ้วยตอง
3. โครงการหลวงทุง่ หลวง
สภาพปัญหาชุมชน
1. ปญั หายาเสพติด
2. ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มการตดั ไม้ทาลายป่า
61. โรงเรยี นบ้านห้วยขา้ วลีบ อาํ เภอแม่วาง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตรท์ ว่ั ไป : พน้ื ทีส่ ่วนใหญ่เปน็ ภเู ขา สภาพแวดลอ้ มดว้ ยธรรมชาติขุนเขา
ภูเขา : ดอยอนิ ทนนท์
แม่นา้ : แมน่ ้าวาง แมน่ ้าแมเ่ ตยี น
ประวตั ศิ าสตร์
ความเป็นมา : ความเป็นมาของชาติพันธใ์ุ นชุมชนภูมิปญั ญาชมุ ชน
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจท่ีสาคญั คือ การเกษตร การท่องเทย่ี ว และหตั ถกรรม
ท่องเที่ยว : อุทยานแห่งชาติแม่วาง ลาน้าวาง น้าตกแม่วาง ปางช้างแม่วาง โรงไฟฟ้าพลังน้าแม่เตียน โครงการ
หลวง
เกษตรกรรม : อาชีพของประชากรในอาเภอแม่วางส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ปลูกข้าว หอมหัวใหญ่ ไม้ดอกไม้
ประดับ พืชผกั เมอื งหนาว
อาชีพ
ทานา ปลกู พืชผกั เมืองหนาว ไมด้ อกไมป้ ระดับ ทอผ้า จักสาน
ประเพณวี ฒั นธรรม
ชาติพันธุ์ : ชนกลุ่มน้อยปกากะญอ
ประเพณี : มัดมือ เลีย้ งผี แต่งงาน งานศพ ประเพณีทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ชีวิตตั้งแต่เกดิ -ตาย
บคุ คลสําคญั
1. ผู้กอ่ ต้งั หมู่บา้ น
2. ผู้นาชมุ ชน ผู้นาทางจติ วิญญาณ
สถานทสี่ าํ คญั
1. วัดดอยธาตุ วดั แมเ่ ตยี น
2. อาศรมธรรมจาริกบา้ นห้วยข้าวลบี
3. โครงการหลวง
4. โรงไฟฟ้าแมเ่ ตียน
๑๒๙
5. ปางชา้ งแม่วาง
สภาพปญั หาชุมชน
1. การขาดแคลนทรัพยากรนา้ ในฤดแู ล้ง
2. ปัญหาเกีย่ วกบั ขยะในชุมชน
3. ปญั หาการใช้สารเคมใี นการเกษตร
4. ปัญหามลพิษทางอากาศ หมอกควนั
5. ปัญหาการพังทลายของหนา้ ดิน
6. ปญั หายาเสพติดในชุมชน
62. โรงเรยี นวัดมะกับตองหลวง อาํ เภอแม่วาง
ภูมศิ าสตร์
สภาพภูมศิ าสตรท์ ่ัวไป : พน้ื ท่ีส่วนใหญ่เป็นทีร่ าบลมุ่ แมน่ า้ และทีร่ าบเชิงเขา
ภูเขา : ดอยอนิ ทนนท์
แมน่ า้ : แมน่ า้ วาง แม่น้าขาน
ประวัติศาสตร์
อาเภอแม่วาง เป็นอาเภอท่ีตั้งใหม่ แยกออกมากอาเภอสันป่าตอง เม่ือปี พ.ศ. 2532 โดยมีตาบลอยู่ 5 ตาบล
ไดแ้ ก่ ตาบลบา้ นกาด ตาบลบา้ นเปา ตาบลทุ่งป๊ี ตาบลทุ่งรวงทอง และตาบลแมว่ นิ
มีประชากรหลากหลายชาติพันธ์ุ เน่ืองจากเมื่อเชียงใหม่สร้างขึ้นใหม่ สมัยพญามังรายในช่ือ นพบุรีศรีนครพิงค์
เชียงใหม่ ได้มีการเพิ่มประชากรในเมืองเชียงใหม่ โดยการไปตีเมืองใกล้เคียง เพ่ือรวบรวมประชากรใหม่มีจานวน
มากขึ้น ดังคาพื้นเมืองที่ว่า “เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง” จึงทาให้มีชาติพันธ์ุที่หลากหลายในอาเภอแม่วาง ได้แก่
ชนชาตเิ ขิน เงยี้ ว (ไทยใหญ่) ลัว ยอง กะเหรยี่ ง มง้ และคนพนื้ เมือง
เศรษฐกิจ
อาเภอแมว่ าง เป็นเมืองที่ใกลท้ ร่ี าบเชิงเขา มสี ภาพภูมิศาสตร์ท้ังท่รี าบเชิงเขาและภูเขา
ท่องเท่ียว : อาเภอแม่วาง มีแหล่งท่องเท่ียวที่สาคัญ เช่น การข่ีช้าง ล่องแพ เดินป่า น้าตกต่างๆ (น้าตกห้วยหอย
นา้ ตกแมส่ ะปอ๊ ก ฯลฯ) อทุ ยานแหง่ ชาตแิ มว่ าง (ผาชอ่ ) พพิ ิธภณั ฑพ์ ระพิฆเนศ
เกษตรกรรม : อาชีพของประชากรส่วนใหญ่ยังคงเป็นอาชีพเกษตรกรรม (ทานา ทาสวนลาไย ปลูกหอมหัวใหญ่
ขา้ วโพดหวาน ผักเชียงดา)
หัตถกรรม : อาเภอแม่วาง มีหัตถกรรมทท่ี ารายไดใ้ ห้กับชมุ ชน เช่น การทารม่ โบราณ ทอผ้า เครื่องป้ันดินเผา เป็น
ตน้
อาชพี
การทาร่มโบราณ : ไดเ้ ริ่มทาข้ึนเมอ่ื 100 ปมี าแลว้ เปน็ รม่ กระดาษสา เคลอื บนา้ ยากันน้า
ผา้ ทอ : มีศูนยศ์ ิลปะชพี ในสมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ ตง้ั อยู่ที่ หมู่ 1 ตาบลดอนเปา อาเภอแม่วาง
เคร่อื งปัน้ ดินเผา : เครอ่ื งปั้นดินเผา มหี ลากหลายชนิด เช่น นา้ ตน้ หมอ้ น้า หมอ้ น่ึง หมอแจ่ง หม้อต่อม ตกุ๊ ตา
ดินเผา โดยมีแหล่งการผลิตอยทู่ ีบ่ ้านนา้ ต้น ตาบลบ้านกาด
การปลกู ผกั ปลอดสารเคมี : มกี ารรวมกล่มุ กนั ระหว่างเกษตรกรในหลายตาบลในอาเภอแมว่ าง
ประเพณวี ัฒนธรรม
ชาตพิ ันธ์ุ : ชนกล่มุ น้อยอาศยั อยู่บริเวณเชงิ เขา และบนภเู ขา มภี าษาและขนบธรรมเนียมของตน
ประเพณีสาคญั :
๑๓๐
1. สงกรานต์ (การดานา้ ดาหัว) ความ
2. ย่ีเปง็
3. ปอยหลวง
4. แหโ่ ต
5. ปีใหมม่ ง้
6. กินข้าวใหม่ (ปีใหม่กะเหรยี่ ง)
ภาษาพ้นื เมือง : มีภาษาคาเมอื ง ภาษามง้ ภาษากะเหร่ียง
บุคคลสาํ คัญ
หลวงปเู่ จ้าครบู าดวงดี (วดั ทา่ จาป)ี
สถานท่สี าํ คญั
1. วดั ทา่ จาปี
2. วัดมะกบั ตองหลวง
3. วดั ศรีแดนเมือง (วดั นา้ ออกร)ู
4. อนุสรณ์สถานทหารญี่ป่นุ สมัยสงครามโลกครั้งท่ี 2
5. พพิ ธิ ภัณฑ์พระพิฆเนศ
สภาพปญั หาชุมชน
1. ปญั หาอตั ราการเกดิ น้อย
2. มีปญั หาอตั ราจานวนผสู้ งู อายมุ าก และประชากรวัยทางานเริ่มลดลง
3. การหย่าร้างของครอบครัวทาให้เด็กและเยาวชน อาศัยอยู่กับญาติ ผู้สูงอายุ มีผลให้ขาด
อบอนุ่ และการดแู ลอย่างเตม็ ที่
4. ปญั หายาเสพตดิ โดยเฉพาะในกลมุ่ วัยรุ่น
63. โรงเรยี นวัดศรีวิชัยนมิ ิตร อําเภอแมว่ าง
ภมู ิศาสตร์
พ้นื ทสี่ ว่ นใหญเ่ ป็นทร่ี าบสูง แวดลอ้ มดว้ ยธรรมชาติขนุ เขา
ภเู ขา : ดอยอนิ ทนนท์ ดอยผาแง้ม
แม่น้า : แมน่ า้ วาง นา้ ตกแม่วาง
ประวตั ศิ าสตร์
ประวตั คิ วามเป็นมาของอาเภอแม่วาง เป็นอาเภอมาก่อน เมอื่ ปี พ.ศ. 2477 ทางราชการประกาศยบุ อาเภอแมว่ าง
และอาเภอบ้านเม ตั้งอยู่ที่บ้านเปียง หมู่ 13 ตาบลบ้านเม อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ และต่อมาวันท่ี 4
มถิ นุ ายน 2482 ได้ย้ายทท่ี าการอาเภอไปตงั้ อยู่บ้านสันปา่ ตอง หมู่ 10 ตาบล ยหุ วา่ และเปล่ยี นชอื่ เปน็ อาเภอสัน
ปา่ ตอง มาถึงปจั จุบัน
ปี พ.ศ. 2533 กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศต้ังก่ิงอาเภอแม่วางขึ้น และได้มีพระราชกฤษฎีกา ต้ังก่ิง
อาเภอแม่วางเปน็ อาเภอแมว่ างขนึ้ เมื่อวนั ที่ 7 กนั ยายน 2538 อาเภอแมว่ างต้ังอยู่ทางทศิ ใต้ของจังหวัดเชียงใหม่
สามารถเดินทางโดยรถยนต์ ใชเ้ ส้นทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 108 อาเภอหางดง และแยกเข้าทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข 1013 ระยะทางจากจงั หวัดเชยี งใหม่ ถึงอาเภอแม่วางประมาณ 37 กโิ ลเมตร
๑๓๑
เศรษฐกจิ
อาเภอแมว่ าง มดี ังนี้
ทอ่ งเที่ยว : ดอยผาแงม่ อ่างเก็บนา้ ห้วยมะนาว วัดดอยสัพพัญญู ดอยอนิ ทนนท์ ปางชา้ งแม่วาง วดั หลวงขนุ วนิ
เกษตรกรรม : ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม
อาชีพ
ผา้ ทอ
เกษตรกรรม
ประเพณีวัฒนธรรม
ชาตพิ ันธุ์ : มชี นกลุม่ นอ้ ยอาศัยอยู่ตามบรเิ วณภูเขาสูง มสี ังคม ภาษา ขนบธรรมเนยี มวัฒนธรรมของตน
ประเพณีสาคญั :
1. สงกรานต์
2. ประเพณยี ีเ่ ปง็
3. ภาษาพ้ืนเมือง
บุคคลสาํ คญั
1. พญาเมง็ ราย
2. จรลั มโนเพช็ ร
3. ครูบาจัน อินโท (พระวรวฒุ คิ ณุ )
สถานท่ีสําคญั
1. เวียงกุมกาม
2. ปางช้าง
3. พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ
4. วัดถา้ ดอยโตน
5. ผาช่อ
สภาพปญั หาชุมชน
ปญั หาความยากจน ของประชากรในชมุ ชน เนื่องจากส่วนใหญ่มอี าชพี เกษตรกรรม มรี ายไดน้ ้อย อาชพี รับจ้าง
64. โรงเรียนบ้านพนั ตน อําเภอแม่วาง
ภมู ศิ าสตร์
ภมู ิศาสตร์ทั่วไป : พนื้ ทส่ี ่วนใหญเ่ ป็นท่ีราบลุ่ม แวดล้อมดว้ ยชมุ ชน
แม่น้า : แมน่ ้าวาง
จากการวเิ คราะห์ สังเคราะหข์ อ้ มูลจากเอกสารและแหลง่ ขอ้ มลู ต่างๆ อาทิ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2551 รวมทั้งศึกษาสภาพ แนวโน้มการเปลีย่ นแปลง บรบิ ทสภาพปัญหา ความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน
ชุมชน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในพื้นท่ี ในการดาเนินการจัดทากรอบหลักสูตร ระดับท้องถ่ินให้มี
คุณภาพโรงเรียนได้มีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและปราชญ์ ในชุมชน
ดงั นัน้ โรงเรียนบา้ นพนั ตนจงึ ได้ทาขา้ วโพด มาจดั ทาสาระ การเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ
วิสัยทัศน์
ผู้เรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และนอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเคยี งคู่คุณธรรม นาความรู้มุ่งสู่
การเรยี นการสอนในศตวรรษที่ 21
๑๓๒
พนั ธกจิ
1. จัดการศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสถานศึกษา
2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคุณธรรมนาความรู้ โดยน้อมนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
และเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
3. พฒั นาประสทิ ธิภาพระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนรว่ มจากทุกภาคส่วน
4. สรา้ งและพัฒนาสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรู้ในโรงเรียนอย่างตอ่ เนื่อง
65. โรงเรยี นสโมสรไลออนส์รตั นโกสนิ ทร์ อําเภอแม่วาง
เปา้ หมาย/จุดเนน้ ระดับท้องถ่ิน
1. มงุ่ พัฒนาผู้เรียนทุกคนให้เป็นคนดี มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน
2. มที ักษะการดารงชีวิตในสังคมอย่างมคี วามสุข มจี ิตสานึกรกั ภูมิใจในทอ้ งถิน่ และอนุรกั ษ์ศลิ ปะ ประเพณี
และวฒั นธรรม พนื้ บ้านหรือชุมชน
ภมู ศิ าสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ท่ัวไป : พนื้ ทส่ี ่วนใหญ่ เปน็ ทร่ี าบสูงแวดลอ้ มด้วยธรรมชาติขุนเขา มีที่ราบลุม่ น้า และทร่ี าบเชิงเขา
กระจายอยทู่ ว่ั ไป
ภเู ขา : ดอยอินทนนท์ ดอยผ้าหม่ ปก ดอยสเุ ทพ
แมน่ า้ : แม่นา้ วาง นา้ แม่ป๋วย แมน่ า้ ปงิ
ประวตั ิศาสตร์
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านห้วยหอย ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยท่ีอพยพมาจากหมู่บ้านห้วยงู อาเภอดอยหล่อ มาต้ัง
ถ่ินฐานในที่บ้านห้วยหอยปัจจุบัน และได้ต้ังโรงเรียนและเปล่ียนช่ือ เป็นบ้านห้วยหอย และเกิดเป็นหย่อมบ้าน
ขนึ้ มาอกี หลายหยอ่ มบา้ น ไดแ้ ก่ หยอ่ มบา้ นห้วยขา้ วลีบ บ้านนาสา บา้ นประตูเมอื ง
ประเพณี
ประเพณี :
1. ประเพณีแตง่ งาน : เจ้าสาวจะต้องทอเสื้อกางเกงใหเ้ จา้ บา่ ว
2. ประเพณปี ใี หม่ : การบวงสรวงก่อนฤดกู าลการเกษตร
3. ประเพณที ่าขวัญควาย : ทาเม่อื เสร็จจากฤดูไถหว่าน
4. ประเพณขี ับไลส่ ิ่งช่วั ร้ายออกจากหมูบ่ ้าน : จะทาเม่อื มชี าวบ้านเจ็บปว่ ยพรอ้ มกนั หลายๆ คน
ชาติพนั ธุ์ : ปกากะญอ ชนกลุ่มนอ้ ยอาศัยอยู่ตามบริเวณภูเขาสงู มีสังคม ภาษา ขนบธรรมเนียมของตน
ภาษาปกากะญอ : มภี าษาพูดและภาษาเขียน
เศรษฐกิจ
หมู่บา้ นห้วยหอย เปน็ แหล่งธรรมชาติทีส่ มบูรณเ์ พราะฉะน้ันจึงมี
แหล่งท่องเท่ียว : ห้วยหอย มีแหล่งท่องเท่ียวท่ีสาคัญ จานวนมากท่ีเป็นธรรมชาติท่ีทารายได้ให้กับชาวบ้านห้วย
หอย เป็นจานวนมากในแตล่ ะปี เงนิ ปางชา้ ง โฮมสเตย์ นา้ ตก
เกษตรกรรม : อาชพี ของประชากรไทย ส่วนใหญ่ยงั ประกอบอาชพี เกษตรกรรม
หตั ถกรรม : ห้วยหอย มหี ตั ถกรรมท่ีมีชอื่ และทารายไดค้ ือ ผา้ ทอของชนเผ่าของปกากะญอ
อาชีพ
ผ้าทอ : ผ้าทอของชาวปกากะญอ จะใช้ดา้ ยธรรมชาติ สที ใี่ ช้ย้อมเสน้ ดา้ ยจะได้มาจากธรรมชาติเช่นกัน
๑๓๓
เกษตรกรรม : การทาไร่ ทานา อยู่ตามป่าตามเขา ปลูกพืชผักสวนครัว ตามฤดูกาล ส่วนเลี้ยงสัตว์ก็จะเล้ียงไว้เพื่อ
เปน็ อาหารมากกว่าการค้าขาย ใชช้ วี ิตแบบพึง่ ป่าพ่ึงน้า อาศัยอยรู่ ่วมกันเป็นกลุ่มใหญ่
สถานทส่ี ําคญั
1. วดั นักปฏิบตั ิธรรมบ้านหว้ ยหอย
2. โบสถค์ อทาลิกห้วยหอย
3. น้าตกห้วยหอย
4. ปางชา้ งห้วยหอย
5. โฮมสเตย์ห้วยหอย
สภาพปญั หาชุมชน
ปัญหาความลาบากในการคมนาคมในช่วงฤดฝู น เพราะถนนหรือเสน้ ทางเปน็ ทางธรรมชาติ
66. โรงเรียนบ้านหนองเตา่ อาํ เภอแม่วาง
ภูมิศาสตร์
สภาพภมู ิศาสตรท์ ่ัวไป : อยู่บนพืน้ ทห่ี า่ งไกล เปน็ ภเู ขาสงู อยู่หา่ งจากระดบั นา้ ทะเล 1,000 เมตร
ภูเขา : ดอยอินทนนท์ (ยอดดอยเสยี ดฟา้ ) ผาแงม่ ใหญ่ (ยอดขนุ วาง)
แม่นา้ : แมน่ า้ วาง ลาหว้ ยกระแส อ่างเกบ็ นา้ หว้ ยตอง
ประวัตศิ าสตร์
ชาวเขาเผ่ากะเหร่ียง (ปกาเกอะญอ) เป็นชนเขาท่ีมีประวัติอันยาวนาน ซึ่งมีความเก่ียวข้องกับชนเผ่าหลายชนชาติ
ทง้ั ชาติไทยและต่างชาติ
เศรษฐกิจ
อาเภอแมว่ างเป็นอาเภอใหญ่ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การท่องเทย่ี วเชิงวฒั นธรรมและ การอนุรักษ์ มี
ความอุดมสมบูรณ์ของดินและนา้
การท่องเท่ียว : ขี่ช้าง ชมป่าชุมชน ล่องแพ น้าแม่วาง สถานที่โบราณสถานวัดวาอาราม เช่น วัดถ้าดอยโตน วัด
มัชฌิมาราม วัดวิมุตติการาม วัดสบวนิ วัดหนองเต่า
เกษตรกรรม : อาชีพของประชากรส่วนใหญ่เป็นอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชผักเมืองหนาว เช่น ข้าวโพด ผักสลัด
แครอท ถ่วั หวาน หัวผักกาด ลูกพลบั อโวคาโด สตอเบอร์รี่ เคฟกูสเบอรร์ ่ี
หตั ถกรรม : งานผ้าทอชนเผ่าลวดลายประดษิ ฐ์ งานเครื่องประดบั ตา่ งหู ลูกปัด
อาชพี
อาชพี ทางเกษตรปลกู พชื ผกั ผลไมเ้ มอื งหนาว
งานผา้ ทอชนเผา่ ถงุ ย่าม ผ้าพันคอ ผ้าปทู ี่นอน
ประเพณี
บ้านหนองเต่ามีขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม มีภาษาปกาเก่อญอ เป็นภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ของ
ตนเอง
ชาติพันธุ์ : มชี นชาวกะเหรี่ยงอาศัยอยูใ่ นชุมชน มภี าษาขนบธรรมเนียมเป็นเอกลกั ษณ์ของชนเผา่
ประเพณี พิธีกรรม
1. การเกดิ
2. การแต่งงาน
3. การตาย
๑๓๔
พิธกี รรมระดับครอบครัว/เครอื ญาติ (พธิ บี ก๊ะ) คดเคี้ยวไป
พธิ ีกรรมระดับหมู่บา้ น วนั ขึน้ ปใี หม่ พิธีขอขมาการคนื ดีของชุมชน
ภาษา : ชาวบ้านหนองเต่าใชภ้ าษาปะกาเกอญอ หรอื ภาษากะเหรีย่ งเปน็ ภาษาถ่นิ
บุคคลสาํ คญั
1. นายวอนิ โลโตเขา ท่ปี รกึ ษาเครือข่ายลุ่มน้าวาง
2. นายเนล่นั แนะปอแต่ ประธานเครือข่ายลุ่มนา้ วาง
สภาพปญั หาชุมชน
ปัญหาการคมนาคม เนื่องจากบ้านหนองเต่าอยู่บนดอยสูงห่างไกลจากตัวเมือง การเดินทางถนน
ตามไหล่เขา การคมนาคมขนส่งค่อนขา้ งยากลาบาก
67. โรงเรยี นวัดห้วยแก้ว อาํ เภอแมว่ าง
ภมู ิศาสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ท่ัวไป : พื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นท่ีราบสูงแวดล้อมไปด้วยธรรมชาติขุนเขา มีที่ราบลุ่มน้า และที่เชิงเขา
กระจาย
ภูเขา : ดอยอนิ ทนนท์ ดอยสเุ ทพ
แม่น้า : แมน่ ้าปงิ แมน่ า้ วาง แม่น้าขาน
ประวัติศาสตร์
ประวัติความเป็นมา :
เชียงใหม่เป็นเมืองเก่าแก่มีอายุมากกว่า 700 ปี สร้างข้ึนโดยพญามังราย เดิมช่ือนพรัตน์นครพิงค์เชียงใหม่ ต่อมา
เชยี งใหม่ได้เสียเมืองใหก้ ับพระเจ้าบุเรงนอง ในปี พ.ศ. 2101 ถกู ปกครองโดยพมา่ มานานกว่า 200 ปี จนถงึ สมัย
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทาสงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่ได้
สาเร็จ และสถาปนาเจ้ากาวิละข้ึนเป็นพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ โดยให้ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในฐานะ
ประเทศราชของสยาม
อาณาจักรล้านนา คือ อาณาจักรท่ีต้ังอย่ใู นภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ภาคใต้ของจีนหรอื 12 ปันนา เช่น
เมืองเชียงรุ่ง (จ๋ิวหง) มณฑลยูนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้าสาละวิน ที่เมืองกายเป็นเมือง
เอก และ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลาพูน
ลาปางโดยมีเมืองเชียงใหม่เป็นราชธานี มีภาษาท่ีเรียกว่า ภาษาคาเมือง หรือภาษาล้านนา ตัวหนังสือตัวเมือง
วฒั นธรรม และประเพณีเป็นของตนเองก่อนจะถูกเปล่ียนแปลงระบอบการปกครองเป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล
ในสมยั รัชกาลที่ 4
เศรษฐกิจ
เชียงใหม่เป็นเมืองใหญ่ และสาคัญท่ีสุดของภาคเหนือ เป็นศูนย์กางทางเศรษฐกิจการค้า การศึกษา และการ
ทอ่ งเทยี่ ว
การท่องเท่ียว : เชียงใหมม่ ีแหลง่ ท่องเทย่ี วสาคัญจานวนมากทั้งธรรมชาติและโบราณสถานทารายได้ให้กับเชียงใหม่
เปน็ จานวนมาก เชน่ ดอยอินทนนท์ พืชสวนโลก โครงการหลวงขุนวาง
เกษตรกรรม : อาชีพส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
หตั ถกรรม : เชียงใหมม่ หี ัตถกรรมมากมายหลายอย่างที่ทารายไดม้ าสชู่ าวเชยี งใหม่ เชน่ งานแกะสลกั ทาเครอื่ งเขิน
ทอผ้า
๑๓๕
อาชีพ
ผ้าทอ : ผา้ ทอเปน็ ท่ีนยิ มมีหลายแหง่ เชน่ ผ้าทอตีนจกแม่แจ่ม ผา้ ทอบา้ นไรไ่ ผง่ าม
งานร่มบ่อสรา้ ง : เปน็ รม่ กระดาษมลี วดลายพมิ พ์สวยงาม
เรือจาลอง : การประดิษฐเ์ รือจาลอง OTOP บา้ นสบวิน แม่วาง
เครือ่ งปั้นดนิ เผา : มหี ลายชนดิ เช่น หมอ้ นง่ึ หมอ้ แจง่ หม้อตอ่ ม
ประเพณีวัฒนธรรม
เชยี งใหมเ่ ปน็ เมืองทม่ี ขี นบธรรมเนยี มประเพณวี ัฒนธรรมดง้ั เดิมของล้านนาและภาษาทเี่ ปน็ เอกลักษณข์ องตนเอง
ชาตพิ นั ธ์ุ : เชียงใหม่มชี นกล่มุ น้อยอาศัยอย่ตู ามบริเวณภูเขาสงู มีสงั คม ภาษาและขนบธรรมเนียมเป็นของตนเอง
ประเพณสี าคัญ
1. สงกรานต์ งานประจาปี จดั ในระหวา่ ง 13-15 เมษายน
2. ประเพณยี เี่ ปง็ หรือประเพณีวันลอยกระทง มีการปล่อยโคมลอยเพือ่ บูชาพระธาตุจฬุ ามณี
3. การเลย้ี งขนั โตก ประเพณีตอนโยกแขกบา้ นแขกเมืองและบุคคลสาคญั
4. งานร่มบอ่ สรา้ ง จดั ขนึ้ เดือนมกราคม ทุกปี การแสดงและจาหน่ายกระดาษสา
ภาษาพน้ื เมอื ง : เชยี งใหมม่ ภี าษาพื้นเมือง เสียงภาษาคาเมอื ง เป็นภาษาท่ีไพเราะน่มุ นวล
บุคคลสาํ คัญ
พญาเม็งราย เปน็ ผกู้ ่อต้ังเมอื งนพบรุ ีศรีนครพิงค์เชยี งใหม่ รว่ มกับพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช และพอ่ ขุนงาเมอื ง
สถานที่สําคญั
1. วัดพระธาตุดอยสุเทพ
2. เวียงทา่ กาน
สภาพปญั หาชุมชน
ปญั หาความแออัดของเมือง เชียงใหม่เป็นเมืองที่มีความเจริญ เป็นแหล่งท่องเท่ียวสาคัญและมี การขยายตัว
ทางธรุ กิจอยา่ งรวดเร็ว ทาใหป้ ระชากรหลงั่ ไหลเขา้ มาอาศยั ประกอบอาชพี จานวนมากและเพ่ิมขึน้ อยา่ งรวดเรว็
68. ศนู ยก์ ารเรียนมอวาคี อําเภอแม่วาง
ภมู ศิ าสตร์
เปน็ เขตบนภูเขาสงู และแนวสันเขาตามลาห้วย มปี ่าธรรมชาติหนาแน่น เป็นป่าประเภทเบญจพรรณ
ภเู ขา : ดอยนอ้ ย ดอยรอยพระพุทธบาท
ประวตั ิศาสตร์
หมู่บ้านมอวาคี มีช่ือทางการว่า บ้านหนองมณฑา ซ่ึงแปลว่า “โป่งดินขาว” ท่ีมีประวัติศาสตร์ยาวนาน จัดต้ัง
หมู่บ้านมานานกว่า 300 ปีแล้ว ประชากรท้ังหมดเป็นชาติพันธ์ุปกาเกอะญอ (กะเหรยี่ ง) สถานท่ีต้ังชุมชนเคยเป็น
หม่บู า้ นรา้ งของชาวลวั ะมาก่อน ซ่งึ มรี ่องรอยหลงเหลอื ให้เหน็ หลายอยา่ ง
อาณาจกั ร
ต้งั อยูใ่ นเขตภาคเหนอื ตอนบนในเขตตาบลแมว่ นิ อาเภอแมว่ าง มเี ขตติดตอ่ กับเขตอาเภอสะเมงิ จังหวดั เชยี งใหม่
เศรษฐกิจ
อาชพี หลกั : ทานาขั้นบนั ได ทาไร่หมนุ เวียน
อาชพี รอง : หัตถกรรมพืน้ บา้ น การเลยี้ งสตั ว์
ประเพณวี ัฒนธรรมและภาษา
๑๓๖
ประเพณวี ัฒนธรรมและภาษาท่เี ปน็ เอกลกั ษณข์ องชุมชน
ประเพณีท่สี าคัญ
1. หนซี อโบล่ าคปู ู (ปใี หม่)
2. เล้ยี งผีนา ผีไร่
3. เรียกขวญั ข้าว
4. กินข้าวเม่าเลา่ นิทาน
ภาษา : ใชภ้ าษาปกาเกอะญอ (ลิวา)
บุคคลสําคญั
1. ผนู้ าตามประเพณี (ฮโี ข)่ มกี ารสืบเชอ้ื สายโดยลูกชายในสายตระกลู เทา่ นน้ั
2. ผูน้ าดา้ นจิตวญิ ญาณและพิธกี รรม
- หมอผี
- หมอพ้นื บา้ น
3. ปราชญ์ผู้รู้ชมุ ชนแต่ละดา้ นท้ังในทอ้ งถิ่นและระดบั ล่มุ น้า
สถานที่สําคญั
1. เส้นทางศกึ ษาธรรมชาติ
2. โป่งดนิ ขาว
3. เคหมอื่ เบอ
4. ดอยน้อย
5. ป่าพิธีกรรม
- ป่าต้นน้า
- ป่าเดปอถู่ (ตน้ สะดือ)
- ป่าหวงหา้ ม
6. ดอยรอยพระพุทธบาท
7. กิว่ ลม
8. จอมปลวกแดง
สภาพปญั หาชุมชน
ปัญหาโครงสร้างพ้ืนฐาน
1. การคมนาคม
2. สาธารณสุข
3. การศึกษา
4. เศรษฐกจิ
69. โรงเรยี นบ้านแมข่ าน อําเภอดอยหลอ่
ภมู ิศาสตร์
เดิมเป็นส่วนหนงึ่ ของอาเภอจอมทอง มีหมู่บ้านกระจายตามถนนสายเชยี งใหม่-ฮอด พื้นที่สว่ นใหญ่เป็นที่รา[ละเชิง
เขากระจายอย่ทู วั่ ไป
ภเู ขา : พระธาตดุ อยน้อย ผาชอ่ อทุ ยานแหง่ ชาติแม่วาง
แม่น้า : ลาน้าแมก่ ลาง ลาน้าแม่ขาน ลาน้าแม่ปงิ
๑๓๗
ประวัติศาสตร์
ทอ้ งทอี่ าเภอดอยหล่อเดิมเป็นสว่ นหนึ่งของอาเภอจอมทอง ทางราชการไดแ้ บ่งพืน้ ทกี่ ารปกครองออกเปน็ ก่งิ อาเภอ
ดอยหล่อ ตอ่ มาในวันที่ 24 สิงหาคม 25550 ไดม้ พี ระราชกฤษฎกี ายกฐานะขึ้นเปน็ อาเภอดอยหล่อ
ดอยหล่ออดีตเป็นอาเภอเล็กๆ ท่ีมีหมู่บ้านกระจายตามถนนสายเชียงใหม่-ฮอด แต่ในปัจจุบันอาเภอดอยหล่อ ถูก
พัฒนาให้เป็นพื้นทรี่ องรับการขยายตัวของนครเชยี งใหมแ่ ละรองรับความเจรญิ จากอาเภอจอมทอง ศูนยก์ ลางความ
เจริญทางตอนใต้ของจังหวัดเชียงใหม่ ทาให้เกิดชุมชนหนาแน่น เกิดขึ้นในท้องท่ีของอาเภอ เกิดการค้า การลงทุน
การบริการเพิ่มขึ้นและที่สาคัญพื้นที่อาเภอดอยหล่อ-จอมทอง เคยถูกกาหนดเป็นพื้นท่ีพัฒนาท่ีสาคัญของจังหวัด
เชียงใหม่ เช่น โครงการก่อสรา้ งสนามบินเชียงใหม่ แหง่ ที่ 2 โครงการกอ่ สรา้ งมหาวิทยาลัยตา่ งๆ
เศรษฐกิจ
อาเภอดอยหล่อ ถูกพัฒนาให้เป็นพ้ืนท่ีรองรับการขยายตัวของนครเชียงใหม่ และรองรับคามเจริญของอาเภอ
จอมทอง
ท่องเท่ียว : ดอยหล่อมีแหล่งท่องเท่ียวสาคัญจานวนมากมายท้ังธรรมชาติ โบราณสถาน และพิพิธภัณฑ์ สร้าง
รายไดใ้ ห้กับอาเภอดอยหลอ่ เป็นอยา่ งมาก เช่น พระธาตุดอยนอ้ ย อุทยานผาชอ่ พพิ ิธภณั ฑ์พระพฆิ เนศ
เกษตรกรรม : อาชพี ของประชากรส่วนใหญ่ ยังคงเน้นทเี่ กษตรกรรม เช่น สวนลาไย ปลกู ขา้ ว แคนตาลปู
อาชพี
เกษตรกร เนื่องจากอาเภอดอยหล่อ เป็นพ้ืนท่ีที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก ซ่ึงได้แก่
ลาไย และแคนตาลูป
การเลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง อาเภอดอยหล่อมีพ้ืนท่ีส่วนหนึ่งติดกับแหล่งน้า จึงมีการแบ่งสรร การใช้พ้ืนท่ี
แหลง่ นา้ เพือ่ การเพาะเล้ียงอย่างเหมาะสม
ประเพณีวฒั นธรรม
1. สรงนา้ พระธาตดุ อยนอ้ ย มี 2 วธิ ี คือ
- อัญเชญิ องค์พระธาตลุ งบนผ้าขาวบาง วิธีนี้น้าจะไหลผา่ นองคพ์ ระธาตซุ มึ ลงสู่ผา้ ขาว
- ใสน่ ้าทจ่ี ะใช้สรงองค์พระธาตุลงในภาชนะค่อยๆ ซอ้ นองคพ์ ระธาตุลงในภาชนะ เสรจ็ แล้วเชิญขึ้น
2. ตักบาตรเทโว (โรหณะ) คือ อัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานล้อเล่ือน มีบุษบกและบาตรตั้งอยู่หน้า
พระพุทธรูป มคี นลากนาหนา้ พระองค์
3. แข่งกลองหลวง คือ ใช้เกวียนบรรจุบรรเลงร่วมไปกับตะโลดโบ๊ด แข่งขันเพื่อความสนุกสนานผูก
สัมพนั ธไมตรรี ะหวา่ งศรัทธาวัดหรอื ประชาชนมักแข่งในงานสงกรานต์ งานปอยหลวง งานสรงน้าพระธาตุ
4. ประเพณีชนกว่าง : เป็นกิจกรรมของชาวบ้านในอดีตท่ีว่างจากการทางานช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
ผชู้ ายมักจะหากว่าง ซึง่ เป็นสตั วเ์ รียกดว้ งปกี แข็ง ทั้งเพศผู้และเมีย มาเล่นชนเพ่ือความสนุกสนานทัง้ เดก็ และผู้ใหญ่
โดยกว่างมปี ระมาณ 10 ชนิด แถวอาเภอดอยหลอ่
ภาษาพื้นเมอื ง : เปน็ ภาษาท่ีเรียกว่า “คาเมอื ง”
สถานท่สี าํ คัญ
1. พระธาตุดอยน้อย : สร้างเมื่อพระนางจามเทวีเสด็จครองเมืองลาพูน ตามคาเชิญของฤาษีสุเทว อายุ
ประมาณ 1300 กว่าปี ตั้งบนภูเขาลูกหนึ่ง ทางทิศตะวันออกของถนนสายเชียงใหม่-ฮอด ห่างจากเมืองเชียงใหม่
ประมาณ 44 กโิ ลเมตร
2. พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ : ในอาเภอดอยหล่อมีพิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศแห่งแรกและแห่งเดียวในเมืองไทย
ซึ่งจากคุณไมค์ ซึ่งเป็นชาวกรุงเทพ มีความสนใจในเรื่องน้ี จึงได้ศึกษาและสะสมรูปเคารพ ซึ่งมีหลายร้อยองค์
เพ่มิ ขึ้นจนเกือบพันองค์ จงึ ตดั สินใจทาเป็นพพิ ธิ ภณั ฑ์ให้คนท่ีสนใจได้มโี อกาสเยย่ี มชมหาความรู้
๑๓๘
3. อุทยานแห่งชาติผาช่อ : ซ่ึงอยู่ในอาเภอดอยหล่อ ความดูแลของอุทยานแห่งชาติแม่วาง โดยเกิดจากการ
กัดเซาะของลมฝนกลายเป็นหน้าผาและเสาดินรปู ร่างแปลกตาคลา้ ยแพะเมืองผี
สภาพปัญหาชมุ ชน
เป็นดอยอาจมีเรือ่ งไฟปา่ ในหนา้ แลง้ แตช่ าวบา้ นท้องถ่นิ รว่ มกนั ทาแนวกน้ั ไฟ
70. โรงเรียนวัดศรดี อนชยั อาํ เภอดอยหลอ่
เปา้ หมาย
1. มุ่งพฒั นาผ้เู รยี นตาม มฐ.ตามหลักสูตรแกนกลาง
2. ม่งุ เน้นในเรอื่ งสมรรถนะผูเ้ รียน และการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
3. ผเู้ รยี นมคี วามรกั ภาคภมู ิใจในท้องถ่ิน
ภูมศิ าสตร์
พ้ืนท่ีส่วนใหญ่พื้นราบ มีเอกลักษณ์สาคัญ ทิศเหนือ ติดกับทุ่งป้ี ทิศตะวันออก ติดทุ่งรวงทอง ทิศใต้ติดกับสันติสุข
ทิศตะวนั ตก สันติสขุ
1. พระธาตุดอยนอ้ ยพนั ปี
2. ผลไม้ แคนตาลปู ลาไย
3. สถานทีท่ ่องเที่ยว ผาช่อ พระพฆิ เนศ
4. แม่นา้ แมอ่ าว ลาเหมอื งหนองเย็น
ประวัติศาสตร์
ความเปน็ มาชมุ ชน ลัวะ (หมู่ 3, 4, 9) ชุมชนคนเมอื ง (หมู่ 1, 2, 5, 6, 7, 8, 10, 11)
เศรษฐกิจ
1. ลาไย
2. มะเขอื เทศ
3. พรกิ
อาชีพเกษตรกร 80% อนื่ ๆ 20%
ประเพณวี ัฒนธรรม
สงกรานต์ ลอยกระทง ตานกว๋ ยสลาก แหไ่ มค้ ้าโพธ์ิ
ภาษาพ้นื เมือง : พืน้ บ้าน
สถานทีส่ าํ คญั
1. อทุ ยานแหง่ ชาติแม่วาง
2. พพิ ิธภัณฑ์พระพฆิ เนศ
3. อุทยานแห่งชาติผาช่อ
4. พระธาตดุ อยน้อย
การวดั และประเมนิ ผล
มุ่งพฒั นาผูเ้ รยี นตามเปา้ หมายท่กี าหนด
๑๓๙
71. โรงเรยี น กรป.กลางอุปถัมภ์ อําเภอดอยหล่อ
ภูมศิ าสตร์
ผาชอ่
แมน่ ้าปงิ
ประวัตศิ าสตร์
วดั พระธาตดุ อยน้อย : เป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุท่ีพบ แกพ่ ระบรมธาตุโข่งพระ (กรพระ) โบสถ์ วิหาร และ
พุทธรูปหินอ่อนแกะสลัก บริเวณวัดต้ังอยู่บนภูเขาติดลาน้าปิง มองเห็นทิวทัศน์โดยรอบ มีบนได้นาคข้ึนไป 241
ขนั้ ต้ังอยู่ทางหลวงหมายเลข 108 ระหว่างกิโลเมตรที่ 43-44 สรา้ งโดยพระนางจามเทวี เม่ือปี 1201 อายรุ าว
1300 กว่าปี
เศรษฐกิจ
ทอ่ งเทย่ี ว โดยมแี หลง่ ท่องเที่ยวผาชอ่ อา่ งเก็บน้าโปง่ จ้อ พิพิธภัณฑพ์ ระพฆิ เนศ
อาชพี
เกษตรกรรม : ทาสวนลาไย
การเล้ียงปลาในกระชัง ปลาท่ีเล้ียงเปน็ ปลานิล ปลาทบั ทมิ ตามบริเวณน้าปิง
ประเพณวี ัฒนธรรม
สรงน้าพระธาตุ เดือน 9 ประมาณเดอื นพฤษภาคม-มิถุนายน
ของดีดอยหล่อ เดอื น 9 ประมาณเดอื นกันยายน
บคุ คลสาํ คญั
1. กานนั อานวย กาบวงั
2. ครบู าอนิ วัดฟ้าหลั่ง
สถานท่สี ําคญั
1. วดั พระธาตดุ อยน้อย
2. วดั ศิรมิ งั คราจารย์
3. พพิ ธิ ภัณฑพ์ ระพิฆเนศ
สภาพปัญหาในชมุ ชน
ปญั หาทางดา้ นความยากจน ผปู้ กครองหยา่ ร้าง เด็กอาศัยอยู่กับ ปู่ ยา่ ตา ยาย
72. โรงเรยี นบา้ นดอยหลอ่ อําเภอดอยหล่อ
ภมู ิศาสตร์
สภาพพืน้ ท่โี ดยทั่วไป : เป็นพื้นท่รี าบสูงแวดลอ้ มด้วยขนุ เขา มีท่ีราบลมุ่ แมน่ า้ และทรี่ าบเชงิ เขากระจายอยู่ท่วั ไป
ภเู ขา : ผาชอ่
แมน่ ้า : แมน่ า้ ปงิ
ประวตั ศิ าสตร์
อาเภอดอยหล่อ แยกมาจากอาเภอจอมทองตงั้ แต่ปี 2538 และยกฐานะเปน็ อาเภอดอยหลอ่ ในปี 2550 มอี าณา
เขตตดิ ฝงั่ ตะวนั ตกเปน็ แม่วาง ตะวนั ออกจังหวดั ลาพนู ทศิ ใต้อาเภอจอมทอง ทิศเหนืออาเภอสันป่าตอง
เศรษฐกิจ
๑๔๐
ดอยหล่อเป็นอาเภอที่มีเขตติดต่อกับภูเขาและน้าปิงแบ่งเขตออกจากจังหวัดลาพูน ซ่ึงเป็นพ้ืนที่สร้างอาชีพให้
ประชากร
ท่องเทย่ี ว : ผาชอ่ วัดพระธาตุดอยน้อย พพิ ิธภัณฑพ์ ระพิฆเนศ
เกษตรกรรม : สวนลาไย มะมว่ ง สวนแคนตาลูป เลี้ยงปลาในกระชงั
รายไดเ้ สรมิ : เก็บเหด็ ขายช่วงฤดฝู น
ประเพณพี นื้ บ้าน
1. ประเพณีสรงน้าพระธาตุดอยนอ้ ย
2. ประเพณีสรงนา้ พระธาตดุ อยหลวง
3. งานแสดงสนิ ค้า ของดีดอยหลอ่
สถานที่สําคัญ
1. วัดพระธาตุดอยนอ้ ย
2. วัดศริ ิมังคราจารย์
3. พพิ ิธภัณฑ์พระพิฆเนศ
สภาพปัญหาในชมุ ชน
อาเภอดอยหล่อในปัจจุบัน เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและมีภูเขาล้อมรอบ มีแม่น้าปิงไหลผ่านซ่ึงเป็นแม่น้าขนาด
ใหญ่ น้าจะมีความลึกและอันตรายสาหรับเด็ก และจากการที่ประชาชนมากข้ึน ในปัญหาที่ตามมาคือ ขยะ ทาให้
การจัดการขยะไมเ่ ป็นระบบ
บุคคลสําคญั
1. กานนั อานวย กาบวัง
2. ครบู าอนิ วดั ฟ้าหลั่ง
อาชีพ
ทอผ้า ชมุ ชนวงั ขามป้อม
เผาถ่าน
สวนลาไย สวนมะมว่ ง
73. โรงเรยี นวัดวงั ขามปอ้ ม อําเภอดอยหลอ่
ภมู ศิ าสตร์
สภาพทั่วไป : พืน้ ทีส่ ่วนใหญเ่ ปน็ ที่ราบมีทีร่ าบลุม่ นา้ และที่ราบเชิงเขากระจายอยูท่ ่ัวไป
แม่น้า : แม่นา้ ปิง
ประวตั ศิ าสตร์
อาเภอดอยหล่อ เป็นอาเภอที่แยกการปกครองมาจากอาเภอจอมทอง คนในท้องถ่ินส่วนใหญ่เป็นชนเมือง มี
หม่บู ้านกระจายอยตู่ ามถนนเชยี งใหม่-ฮอด
ทตี่ ้งั :
อาเภอดอยหล่อ อยตู่ อนกลางของจงั หวดั
ทศิ เหนอื : ติดต่อกับอาเภอแมว่ าง
ทศิ ตะวนั ออก : ติดต่อกบั อาเภอสันป่าตอง
ทิศใต้ : ติดต่อกับอาเภอปา่ ซาง เวยี งหนองลอ่ ง (จังหวดั ลาพนู ) และอาเภอจอมทอง
ทิศตะวันตก : ตดิ ต่อกบั อาเภอจอมทอง
๑๔๑
เศรษฐกิจ
แหล่งท่องเทีย่ ว :
ผาชอ่ : เปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวที่อยใู่ นเขตติดตอ่ อาเภอดอยหล่อกบั อาเภอแมว่ าง
วัดพระธาตุดอยน้อย : มีอายุยาวนานกว่า 1300 ปี มีโบราณสถานและโบราณวัตถุสาคัญพบประวัติศาสตร์ท่ี
ชาวบ้านใหค้ วามนบั ถอื สักการะบชู า
เกษตรกรรม : ประชากรร้อยละ 70 มีอาชีพเกษตรกร ได้แก่ ลาไย มะม่วง ข้าว แคนตาลูป ฟักทองแฟนซี
อาชีพ
เกษตรกรรม : ปลูกมะม่วง ปลกู ลาไย เลีย้ งปลาในกระชงั
ประเพณวี ฒั นธรรม
ชาติพันธุ์ : อาเภอดอยหล่อมีชนเมืองอาศัยอยู่ ปัจจุบันมีชนเผ่าต่างๆ เข้ามาอาศัยเพื่อประกอบอาชีพ ได้แก่ เผ่า
กะเหร่ียง และไทยใหญ่ เขา้ มาทางานรับจ้างในเขตพ้นื ทีอ่ าเภอดอยหล่อ เป็นจานวนมาก
ประเพณสี าคัญ : สรงน้าพระธาตุดอยนอ้ ย
ภาษาถน่ิ : ภาษาล้านนา ภาษาไทยใหญ่
บุคคลสําคัญ
1. กานันอานวย กาบวัง
2. ครบู าอิน วัดฟ้าหล่งั
สถานท่สี าํ คัญ
1. วดั พระธาตดุ อยน้อย
2. ผาช่อ
3. พิพธิ ภัณฑพ์ ระพิฆเนศ
สภาพปัญหาในชมุ ชน
1. การยา้ ยถนิ่ ของชนเผ่าและต่างด้าว
2. ความยากจน
3. การหยา่ ร้าง
74. โรงเรียนบ้านเจรญิ สามคั คี อาํ เภอดอยหลอ่
ภูมศิ าสตร์
1. วัดพระธาตดุ อยน้อย
2. ดอยนอ้ ย
3. แมน่ า้ ปงิ
4. ภูเขา มีดอยน้อย
5. ผาช่อ
ประวตั ิศาสตร์
1. ประวัติศาสตร์วดั พระธาตุดอยนอ้ ย
2. พิพธิ ภณั ฑพ์ ระพิฆเนศ
เศรษฐกิจ
1. การเกษตร เชน่ ปลูกลาไย การเลย้ี งปลาในกระชงั ปลูกแคนตาลปู
2. พพิ ธิ ภณั ฑ์พระพฆิ เนศ
๑๔๒
3. วัดพระธาตดุ อยน้อย
4. วัดสิรมิ งั คลาจารย์
อาชพี
การเกษตรกรรม :
1. การเลี้ยงปลากระชงั ริมนา้ ปิง
2. ปลูกลาไย แคนตาลปู พรกิ
3. เพาะเหด็ ทศ่ี ูนย์แหลง่ เรียนรู้
การค้าขาย การทาขนมไทย
ไสอ้ ั่วป้าตยุ๋
ประเพณวี ัฒนธรรม
1. สรงน้าพระธาตวุ ดั ดอยนอ้ ย
2. วัดสริ ิมังคลาจารย์
3. ของดดี อยหลอ่
4. ตานกว๋ ยสลาก
5. ปอยหลวง
6. ปใี หมเ่ มือง
7. กล่องใหญ่
8. กว่างชน
ภาษาพ้ืนเมอื ง : ใชภ้ าษาพื้นเมอื ง คาเมือง ซึง่ เปน็ ภาษาทน่ี ุ่มนวลไพเราะ
บุคคลสําคัญ
กานนั อานวย กาบวัง
สภาพปัญหาในชมุ ชน
1. ราคาผลผลิตางการเกษตรตกตา่
2. ความยากจน
3. การหยา่ ร้าง
75. โรงเรียนวัดหนองหลวั้ อําเภอดอยหล่อ
ภูมศิ าสตร์
ผาชอ่
แมน่ า้ : แมข่ าน
ประวตั ศิ าสตร์
1. อาเภอดอยหล่อ
2. วดั พระธาตดุ อยน้อย
3. วัดหนองหล้ัว
เศรษฐกจิ
เกษตรกรรม : ปลกู หอม แคนตาลูป ลาไย ใบยาสบู พรกิ มะเขือเทศ
ท่องเท่ยี ว : พพิ ธิ ภัณฑ์พระพิฆเนศ ผาช่อ
ประเพณี
๑๔๓
1. สงกรานต์
2. แหไ่ ม้ค้าโพธ์ิ
3. ย่เี ป็ง
4. ตานกว๋ ยสลาก
บุคคลสาํ คัญ
1. ผ้ใู หญบ่ ้าน
2. นายกเทศมนตรตี าบลยางคราม
3. นายถนอม กรรมใจ
4. ครบู าใจมา
สถานท่สี าํ คญั
1. วัดหนองหลวั้
2. วดั พระธาตุดอยนอ้ ย
3. วัดสริ มิ งั คลาจารย์
76. โรงเรียนบา้ นหว้ ยนํ้าขาว อําเภอดอยหลอ่
ภูมิศาสตร์
สภาพภูมศิ าสตร์ท่วั ไป : สว่ นใหญ่ เปน็ ทีร่ าบล่มุ หบุ เขาและแม่นา้ ได้แก่ แม่นา้ วาง และแมน่ า้ ปิง
ประวัตศิ าสตร์
อาเภอดอยหล่อ อยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นอาเภอเล็กท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และ
วฒั นธรรม ประเพณี
เศรษฐกิจ
ดา้ นการทอ่ งเทีย่ วทีส่ าคญั : พพิ ิธภัณฑพ์ ระพิฆเนศ อุทยานแหง่ ชาตผิ าช่อ วดั พระธาตดุ อยน้อย
ด้านเกษตรกรรม : อาชีพส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทาสวนลาไย ปลูกพืชผักตามฤดูกาล เช่น ข้าวโพด
หอมหัวใหญ่
ด้านหตั ถกรรม : มกี ารทาไม้กวาดทางมะพร้าว
ดา้ นอาชีพ : มีการทารัฐวิสาหกิจชุมชน การทาน้ายาล้างจาน ผลติ ภัณฑ์จากธรรมชาติ สมนุ ไพร
การทาโครงการ OTOP ของกล่มุ แม่บา้ น
การทาสวนลาไย
การทาป๋ยุ หมกั ชวี ภาพ
ด้านประเพณี : ชาตพิ นั ธุ์ ประกอบดว้ ย กลมุ่ คนพนื้ เมือง และชนกลมุ่ นอ้ ย (ไทยใหญ่) กะเหรย่ี งบางสว่ น
ภาษา : ส่วนใหญเ่ ป็นกล่มุ คนพ้นื เมือง ใชภ้ าษาคาเมืองและมีภาษาชนเผ่าไทยใหญ่ กะเหรี่ยง
ประเพณสี าํ คญั
1. วนั สาคญั ทางพทุ ธศาสนา
2. วนั สงกรานต์ ปีใหมเ่ มือง
3. ประเพณียี่เป็ง
4. บวชลกู แก้ว
บุคคลสาํ คญั
1. พระครูสุนทร กติ วิ โร (ตุล๊ งุ ด)ี วดั บา้ นถ้า
๑๔๔
2. ครบู าตนั วดั ม่อนปู่อิน
สถานท่ีสําคญั
1. ผาชอ่
2. วดั ดอยน้อย
3. พิพธิ ภณั ฑ์พระพิฆเนศ
4. อ่างเก็บนา้ อ่างแฝด
สภาพปัญหาในชุมชน
เน่ืองจากพื้นที่สว่ นใหญ่ เป็นสวนลาไยและมีการทาการเกษตรปลูกหัวหอม ข้าวโพดในเขต สปก.4-01 มี
เจ้าของอยู่ต่างถิ่น จึงมีการจ้างลูกจ้างที่เป็นแรงงานต่างด้าว จึงมาอาศัยอยู่แบบช่ัวคราว ทาให้มีจานวน
นักเรียนบางส่วนของโรงเรียนไม่คงท่ี แน่นอน และนักเรียนท่ีเป็นคนพ้ืนเมือง ก็ออกไปเรียนนอกพ้ืนที่ให้บริการ
ตามค่านิยมของผปู้ กครอง
77. โรงเรียนบา้ นใหมห่ นองหอย อาํ เภอดอยหล่อ
ภมู ศิ าสตร์
สภาพภมู ิศาสตรท์ ัว่ ไป : พื้นที่สว่ นใหญ่ เป็นท่รี าบแวดล้อมด้วยปา่ เบญจพรรณ
ภูเขา : ผาช่อ
แม่น้า : แม่นา้ ปงิ
ประวัตศิ าสตร์
วัดพระธาตุดอยน้อย : วัดเก่า 1300 ปี ของล้านนา โบราณสถานโบราณวัตถุที่พบ ได้แก่ พระบรมธาตุโป่งพระ
(กรุพระ) โบสถ์ วิหาร และพระพุทธรูปหินอ่อน แกะสลัก มองเห็นทิวทัศน์โดยรอบทุกทิศมีบันไดนาคขึ้นไป 241
ขนั้
เศรษฐกิจ
ตาบลสนั ตสิ ขุ มงี านหัตถกรรมการทอผ้าและมแี หล่งท่องเที่ยว ผาชอ่
อาชพี
ทอผา้ ทาสวน (สวนลาไย) หาของปา่
ประเพณีวฒั นธรรม
วันกตญั ญู 12 เมษายน ของทกุ ปี
“ตานหาครบู าอิน” ท่ีวดั ใหม่หนองหอย
ปอยสา่ งลองของชนเผ่าไทยใหญ่
บุคคลสําคัญ
ครูบาอนิ อินโท (พระวรวุฒิคณุ ) เป็นพระเถระสาคญั ผ้เู จริญดว้ ย พรรษาสูงแห่งเชยี ง เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและ
เมตตาธรรม ทม่ี ีแกใ่ หผ้ ู้เคารพนับถอื
สถานทส่ี าํ คัญ
1. ผาชอ่
2. วดั พระธาตดุ อยน้อย
3. พิพิธภัณฑพ์ ระพิฆเนศ
สภาพปัญหาในชุมชน
๑๔๕
ปญั หาความยากจนของประชากรในชุมชน : เน่ืองด้วยมีประชากรมีประชากรมีอาชีพเกษตรกรรม และการหาของ
ปา่ มรี ายไดไ้ มแ่ น่นอน
78. โรงเรยี นวดั ดอนช่นื อาํ เภอดอยหล่อ
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ : พื้นทีส่ ว่ นใหญ่ เปน็ ทร่ี าบลุม่
ภูเขา : ดอยอินทนนท์ ดอยนอ้ ย
แมน่ ้า : แมน่ ้าปงิ แมน่ า้ ขาน
ประวตั ศิ าสตร์
วดั พระธาตดุ อยน้อย : ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่-ฮอด ห่างจากตัวเมือง 44 กโิ ลเมตร ตามประวัติก่อสร้างพระนาง
จามเทวี เม่อื ปี พ.ศ. 1201 อายุราว 1300 กวา่ ปี โบราณสถานและโบราณวัตถุ ไดแ้ ก่ พระบรมโข่ง (กรพุ ระ)
พระเจดีย์โข่ง นับว่าเป็นเจดีย์เก่า ตามประวัติพระนางจามเทวี สร้างในปี 1201 ส่วนวัดพระธาตุก็สร้างมาแล้ว
1354 ปี ทศิ ตะวนั ออกมลี านกวา้ ง สามารถมองเห็นทวิ ทศั น์ หม่บู ้านจากริมนา้ ปงิ ทีไ่ หลผา่ นมาตลอด
อาชพี
การทาขนมเป๊ียะ มหี ลากหลายใหเ้ ลือก
การจกั สานสุ่มไก่
เศรษฐกจิ
การทอ่ งเทยี่ ว : ท่ีสาคญั ท้ังธรรมชาตแิ ละโบราณสถาน ได้แก่ พระธาตดุ อยน้อย ผาช่อ น้าตกแมก่ ลาง
เกษตรกรรม : อาชพี สว่ นใหญ่ ทาสวนลาไย และทานา สว่ นการทาไร่จะทาหลังฤดเู ก็บเกีย่ วขา้ ว
หัตถกรรม : บ้านดอนจั่น ทาหัตถกรรม จักสานไม้ไผ่ เช่น ทาสุ่มไก่ ก่องข้าวจากใบลาน และรวมถึงการเผาถ่าน
จากไม้ลาไยที่ไดต้ ดั แต่งกงิ่ หลังการเก็บผลผลิต
79. โรงเรียนบ้านดงปา่ หวาย อําเภอดอยหลอ่
ภมู ิศาสตร์
ทต่ี ัง้ และอาณาเขต :
ที่ตง้ั อาเภอดอยหลอ่ ต้งั อยทู่ างตอนกลางของจงั หวดั เชียงใหม่ มอี าณาเขตติดต่อกับอาเภอและจังหวัด ดงั นี้
ทิศเหนอื ติดตอ่ กับ อาเภอแม่วาง
ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับ อาเภอสนั ปา่ ตอง
ทศิ ใต้ ติดต่อกับ อาเภอป่าซาง อาเภอเวียงหนองล่อง และอาเภอจอมทอง
ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับ อาเภอจอมทอง
แม่น้า : แม่น้าปงิ
เขตการปกครอง : ตาบลดอยหล่อ ตาบลสองแคว ตาบลยางคราม ตาบลสนั ตสิ ุข ทงั้ หมด 54 หมบู่ ้าน
ประวตั ศิ าสตร์
ประวัตคิ วามเป็นมา :
อาเภอดอยหล่อเป็นอาเภอหน่ึงของจงั หวัดเชียงใหม่ แยกพื้นที่ออกจากอาเภอจอมทอง ในอดีตเป็นอาเภอเล็กๆ ท่ี
มีหมู่บ้านกระจายตามถนนสายเชียงใหม่-ฮอด แต่ในปัจจุบันอาเภอดอยหล่อถูกพัฒนาให้เป็นพ้ืนท่ีรองรับการ
ขยายตัวของนครเชียงใหม่ และรองรับความเจริญจากอาเภอจอมทอง ศูนย์กลาง ความเจริญทางตอนใต้ของ
๑๔๖
จงั หวัดเชยี งใหม่ ทาให้เกิดชมุ ชนหนาแน่นเกิดขึ้นจานวนมากในท้องท่ีของอาเภอ เกดิ การค้า การลงทุน การบรกิ าร
เพ่ิมเติม และท่ีสาคัญพ้ืนที่อาเภอดอยหล่อ-จอมทอง เคยถูกกาหนดให้เป็นพ้ืนท่ีการพัฒนาที่สาคัญของจังหวัด
เชียงใหม่ เช่น โครงการก่อสร้างสนามบินเชียงใหม่ แห่งที่ 2 โครงการก่อสร้างมหาวิทยาลัยต่างๆ ในพื้นท่ี
ดังกล่าว
สถานทส่ี าํ คญั ในท้องถิ่น
1. วัดอรัญญาวาส (ลงประวัตคิ วามเปน็ ของวัด)
2. วดั พระธาตดุ อยน้อย (ลงประวตั คิ วามเป็นของวดั )
3. อุทยานแหง่ ชาติผาช่อ (ลงประวตั ิความเปน็ มา)
เศรษฐกจิ
ประชากรในอาเภอดอยหลอ่ ส่วนใหญ่ มีรายได้มาจากพืชผลทางการเกษตร เชน่ สวนลาไย มะม่วง พชื ผกั เศรษฐกิจ
สาหรบั ชุมชน บา้ นดงปา่ ทวาย จะมีกลุ่มแมบ่ า้ น จัดทาจานรองแกว้ จากเศษผา้ เปน็ สินค้า OTOP
ชุมชนบา้ นหว้ ยทราย จะมีกลุ่มแม่บา้ น จัดทาขนมทองมว้ นเปน็ สินค้า OTOP
อาชพี
เกษตรกรรม เชน่ สวนลาไย สวนมะม่วง พืชผกั ต่างๆ
รบั จ้างทว่ั ไป
ประเพณวี ฒั นธรรม
ประชาชนในทอ้ งถ่ิน มีขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรมดั้งเดมิ ของลา้ นนาและภาษาท่เี ป็น เอกลักษณ์ของ
ตนเอง
ชาติพันธุ์ : อาเภอดอยหล่อในปัจจุบันจะมีชนเผ่าไทยใหญ่มาพักอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก ซ่ึงมีภาษา สังคม และ
ขนบธรรมเนยี มเป็นของตนเอง ซึ่งมีความคลา้ ยกับขนบธรรมเนียมประเพณขี องทอ้ งถ่ิน
ประเพณีสาคญั
1. ประเพณีสงกรานต์ (เปน็ งานประเพณีที่สาคัญของท้องถ่ิน เพอ่ื แสดงถึงความกตัญญูตอ่ ผู้เฒ่า ผแู้ กต่ ่อ
ผู้มีพระคณุ ) ระหวา่ ง 13-15 เมษายน
2. ประเพณีย่ีเป็ง (วันเพ็ญเดือน 12 จัดวันลอยกระทงของทุกปี มีการปล่อยโคมลอย จุดดอกไม้ไฟ
ประกวดกระทง แห่นางนพมาศ ฯลฯ)
3. งานสลากภตั (เพ่ิมเตมิ รายละเอียด)
4. งานปอยหลวง (เพิ่มเติมรายละเอียด)
สภาพปัญหาในชุมชน
ปัจจุบันมีชนเผ่าไทยใหญ่มาอาศัยเป็นจานวนมากทาให้มีผลเร่ืองความปลอดภัยของคนในชุมชนเพิ่มมากข้ึน เช่น
การลักขโมย
80. โรงเรยี นบา้ นสามหลัง อาํ เภอดอยหลอ่
ภูมศิ าสตร์
สภาพภมู ศิ าสตร์ อาเภอดอยหล่อ : พื้นทรี่ าบเชิงเขามแี มน่ ้าปงิ อยู่ทศิ ตะวันออก
ภเู ขา : อทุ ยานผาชอ่
แมน่ า้ : แมน่ ้าปิง
ประวตั ิศาสตร์
ประวตั ศิ าสตรพ์ ระธาตุดอยนอ้ ย
๑๔๗
เศรษฐกจิ
การปลูกพืชแคนตาลูป
การทาสวนลาไย
การจกั สาน
อาชีพ
อาชพี จกั สาน
ประเพณวี ฒั นธรรม
สงกรานต์ ประเพณียีเ่ ปง็
การแข่งขันกลองหลวง
ภาษาพืน้ เมือง : คาเมอื ง
สถานท่ีสาํ คญั
1. วัดโขงขาว
2. วดั พระธาตดุ อยนอ้ ย
3. อทุ ยานแห่งชาติผาชอ่
วสิ ยั ทศั น์โรงเรยี น
“โรงเรียนบ้านสามหลงั สร้างคนดี มคี วามรู้ สมู่ าตรฐานชีวติ อันเปน็ สากล ภายใต้วฒั นธรรมไทย”
81. โรงเรยี นบ้านเหลา่ เป้า อําเภอดอยหล่อ
วสิ ยั ทัศน์
มุ่งผลิตนักเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการ ทฤษฎี และเทคนิคการทาอาหารพ้ืนบ้านในท้องถ่ิน มี
ทักษะท่จี าเปน็ ในการประกอบอาชีพด้านการทาอาหาร เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งอาหารกบั ชีวิต ชุมชนและสงั คม
มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การประกอบอาชพี สามารถนาความรู้ความสามารถไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันโดยคานึงถงึ หลักคณุ ธรรม
และจริยธรรมในการทางาน
จดุ มุ่งหมาย
หลักสูตรภูมิปัญญาท้องถ่ินสาหรับจัดกิจกรรมเสริมทักษะในโรงเรียนบ้านเหล่าเป้า มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่มี
ความสามารถทางด้านการทาอาหารพื้นบ้านในท้องถิ่น มีความรู้ มีความสุข มีทักษะใน การเรียน การ
ประกอบอาชพี ในทอ้ งถ่ิน
1. เพอื่ เสริมสร้างศักยภาพของผู้เรยี นในการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา
ท้องถนิ่ จากความสนใจของนกั เรยี น
2. เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ การ
ทาอาหารพื้นบ้านในทอ้ งถนิ่
3. เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อนาไปสู่การ
ปฏิบัติงานอย่างมีกลยุทธ์ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้และทักษะการทางาน การจัดการ การแสวงหาความรู้ในการ
ทางาน และการทางานเป็นกลมุ่
4. เพอื่ พัฒนาความสามารถการอยู่ร่วมกัน เป็นผมู้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม ด้วยการมีความเชือ่ และตระหนักว่า
มนุษยท์ กุ คนตอ้ งรว่ มมือกนั พึ่งพาอาศัยกัน และอยู่ดว้ ยกันอยา่ งมคี วามสุข
๑๔๘
82. โรงเรียนบ้านหวั ขว่ ง อาํ เภอดอยหลอ่
ภมู ิศาสตร์
สภาพภมู ิศาสตร์ : โดยสภาพท่ัวไปเป็นพน้ื ทรี่ าบลมุ่ แมน่ ้า
แมน่ า้ ปงิ ไหลผ่าน
ประวัติศาสตร์
เป็นหม่บู า้ นที่อยใู่ นอาเภอดอยหล่อ อยูท่ างทศิ ตะวันตกของจงั หวดั เชียงใหม่
เศรษฐกจิ
แหลง่ ท่องเท่ียว คอื ผาชอ่
เกษตรกรรม : อาชีพของประชากรส่วนใหญ่ยังเป็นเกษตรกรรม มีการเล้ียงปลาในกระชงั และปลูกลาไยเป็นอาชีพ
เสริม
อาชพี
สว่ นใหญ่อาชพี เกษตรกรรม
ประเพณีวัฒนธรรม
ในท้องถ่ินมปี ระเพณสี งกรานต์
งานประเพณยี ่เี ปง็ และงานปอยหลวง
ภาษาถ่ินหรอื ภาษาพนื้ เมอื งในการส่อื สาร
บคุ คลสําคญั ในท้องถนิ่
นายประพนั ธ์ แก้วเก๋ เป็นศลิ ปนิ ล้านนา
สถานที่สําคัญ
วัดดอยนอ้ ย
สภาพปญั หาในชมุ ชน
1. เร่มิ มีประชากรชาวต่างดา้ ว เข้ามาอาศัยและเข้ามาประกอบอาชีพในชมุ ชนมากขึ้น
2. จานวนวยั ผู้สูงอายมุ ีมากกวา่ วัยเรยี น
3. อตั ราการเกดิ ของประชากรลดนอ้ ยลง
4. เศรษฐกจิ ทางครอบครวั ของชุมชนคอ่ นขา้ งมีฐานะปานกลางและยากจน
๑๔๙
คณะผูจ้ ดั ทาํ
ท่ีปรึกษา รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ที่ รกั ษาราชการแทน
นายไพโรจน์ เดชะบุญ ผู้อานวยการสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
เชียงใหม่ เขต 4
นายนิคม กีรตวิ รางกูร รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4
นางจุไร ภาโนชติ ผ้อู านวยการกล่มุ นเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4
ผู้รวบรวมและเรียบเรียง
นายจานงค์ โปธาเก๋ียง ศึกษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ
สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา เชยี งใหม่ เขต 4
๑๕๐
กรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถิ่น 2563
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
กลุม่ นเิ ทศติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา
สํานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา เชยี งใหม่ เขต 4