ที่ปรึกษา ผศ.ดร.ประโยชน ์ คปุ ตก์ าญจนากุล
อธิการบดมี หาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี
ผเู้ รียบเรยี ง ผศ.ดร.ศานติ ภกั ดีค�ำ
นางนวรัตน์ ภักดีคำ�
นายธีรพนั ธ์ุ จันทร์เจริญ
บรรณาธกิ าร นายธีรพันธุ์ จนั ทร์เจรญิ
ผชู้ ่วยบรรณาธิการ ดร.สุมาลัย กาลวบิ ูลย์
นายอนรุ ตั น์ แพนสกลุ
กองบรรณาธิการ บคุ ลากรสำ� นกั ศิลปะและวฒั นธรรม
ถา่ ยภาพ นายธรี พันธุ์ จนั ทร์เจรญิ
นายชยั วัฒน์ เสาทอง
พมิ พ์คร้งั ที่ 1 สงิ หาคม 2556
พมิ พท์ ่ี หจก.เค.ท.ี กราฟฟคิ การพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์
Assistant Prof. Dr. Prayote kupgarnjanagool
Advisor The President of Suratthani Rajabhat University
Assistant Prof. Dr. Santi Pakdeekham
Authors Mrs. Nawarat Pakdeekham
Mr. Thirabhand Chandracharoen
Mr. Thirabhand Chandracharoen
Editor Dr. Sumalai Ganwiboon
Vice Editors Mr. Anurat Pansakul
Officers of The Office of Arts and Culture
Editorial Team Mr. Thirabhand Chandracharoen
Photographers Mr. Chaiwat Saothong
August 2013
First Publishing 978-974-306-504-0
ISBN
ค�ำน�ำ
วัดสมุหนิมิต ตั้งอยู่ท่ีต�ำบลพุมเรียง อ�ำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ชาวบ้านเรียก “วัดล่าง” คู่กับวัดโพธาราม ซ่ึงชาวบ้านเรียกกันว่า “วัดเหนือ”
วดั สมหุ นมิ ติ เดมิ มชี อ่ื วา่ “วดั รอ” สนั นษิ ฐานวา่ นา่ จะสรา้ งขนึ้ ตงั้ แตค่ รงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยา
เป็นราชธานี ต่อมาได้ช�ำรุดทรุดโทรมและร้างไป คร้ันถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จเจ้าพระยาบรม
มหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) เมื่อครั้งยังเป็นเจ้าพระยาพระคลัง ว่าท่ีสมุห
พระกลาโหม ได้บูรณะขน้ึ ใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๑ แล้วใหช้ ือ่ ว่า “วดั สมุหนิมิต”
วดั สมหุ นมิ ติ นา่ จะเปน็ สำ� นกั เรยี นทส่ี ำ� คญั แหง่ หนง่ึ ของเมอื งไชยาในยคุ สมยั นนั้
สอดคล้องกับหลักฐานจากการส�ำรวจท่ีพบว่าคัมภีร์ใบลานของวัดสมุหนิมิต มีอายุ
เก่าแก่นับตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย จนกระทั่งถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นพระธรรมค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา เช่น พระไตรปิฎก
อรรถกถา ฎีกา ฯลฯ
เนื่องในวโรกาสท่ีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญ
พระชนมพรรษา ๘๑ พรรษา วนั ท่ี ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๕๖ สำ� นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม จงึ มี
ดำ� รดิ ำ� เนนิ การ “โครงการจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู คมั ภรี ใ์ บลานวดั สมหุ นมิ ติ เฉลมิ พระเกยี รติ
สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ” และจดั พมิ พ์หนังสือ “คมั ภรี ใ์ บลาน
วัดสมุหนิมิต” ถวายเป็นพระราชกุศล อีกทั้งยังเป็นโอกาสอันดีในการเผยแพร่
ทรัพยากรวัฒนธรรมในท้องถนิ่ สสู่ ากล และกระตุน้ ให้ประชาชน รวมท้งั นักวชิ าการ
ได้ตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรวัฒนธรรมในท้องถ่ินสุราษฎร์ธานี และอาจจะ
น�ำไปสู่การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ชมุ ชนขึ้น ณ วัดสมหุ นิมติ ในอนาคต
ส�ำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี
สารบัญ หน้า
ค�ำนำ� 5
สารบัญ 5
คมั ภีร์ใบลานวัดสมหุ นมิ ติ 11
- ประวัตวิ ดั สมุหนิมิต 18
- คมั ภรี ใ์ บลานวดั สมุหนมิ ติ 33
- คัมภีร์สมยั กรงุ ศรีอยุธยา 34
- คัมภรี ์สมยั กรงุ ธนบรุ ี 61
- คมั ภรี ์สมัยกรุงรตั นโกสนิ ทร์ 61
สารสงั เขปคมั ภีร์ใบลานวดั สมุหนิมิต 64
- พระวนิ ยั ปิฎก 77
- พระสตุ ตันตปฎิ ก 80
- พระอภธิ รรมปฎิ ก 99
- พระสทั ทาวิเสส 441
บัญชีคัมภีร์ใบลานวดั สมหุ นมิ ิต 443
บรรณานุกรม
ดรรชนรี ายชอื่ คมั ภรี ์
2
3
คัมภีรใ์ บลานวดั สมุหนิมติ
ประวัตวิ ัดสมุหนิมิต
วัดสมุหนิมิต ตั้งอยู่ที่ต�ำบลพุมเรียง อ�ำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ชาวบ้านเรยี กกนั ว่า “วัดลา่ ง” คกู่ ับวัดโพธาราม ซึ่งชาวบ้านเรียกกันวา่ “วดั เหนือ”
วัดสมุหนิมิตเดิมมีช่ือว่า “วัดรอ” สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างขึ้นตั้งแต่สมัย
กรงุ ศรอี ยธุ ยา ต่อมาไดช้ ำ� รุดทรุดโทรมและรา้ งไป
ครั้นถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ แห่ง
กรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) ว่าที่
สมุหพระกลาโหมออกมาสักเลกหัวเมืองภาคใต้ ใน พ.ศ. ๒๓๙๑ เมื่อมาถึงเมือง
ไชยาเห็นวดั รอรา้ งจึงบูรณะข้ึนใหมแ่ ล้วใหช้ ือ่ วา่ “วดั สมหุ นมิ ิต” ดังปรากฏความใน
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๓ ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์
(ขำ� บนุ นาค) ว่า
“...คร้ันมาถงึ เดือน ๒ โปรดให้เจา้ พระยาพระคลังกบั ขนุ นางมีช่อื หลายนาย
คุมกองสักออกไปสักเลขหัวเมืองฝ่ายตะวันตกตลอดถึงเมืองสงขลา เจ้าพระยา
พระคลังได้ออกเดินจากเมืองเพชรบุรีเมื่อวันเดือน ๒ แรม ๔ ค�่ำ วางข้าหลวง
กรมสักตลอดลงไปทุกเมือง เจ้าพระยาพระคลัง ตั้งอยู่เมืองชุมพรแล้วลงไปตั้งอยู่
เมืองไชยา ได้สร้างวัดข้ึนใหม่วัด ๑ ให้ช่ือว่า วัดสมุหนิมิตร แล้วลงไปเมืองนคร
เมืองสงขลา...” ๑
นอกจากน้ียังปรากฏข้อความในศิลาจารึกวัดสมุหนิมิตของเจ้าพระยา
พระคลงั (ดศิ บนุ นาค) หรอื สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาประยรุ วงศ์ ภายในพระอโุ บสถ
มีการกลา่ วถงึ การสร้างวัดสมุหนมิ ิตอย่างละเอยี ด ดงั น้ี
๑ กรมศลิ ปากร, พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๓ ของเจา้ พระยาทพิ ากรวงศ
มหาโกษาธบิ ดี (กรงุ เทพฯ กองวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร, ๒๕๓๘), หนา้ ๑๓๒.
6
ศิลาจารกึ วัดสมุหนิมติ ของเจ้าพระยาพระคลัง (ดศิ บนุ นาค)
(สมเดจ็ เจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์)๒
คำ� ปรวิ รรต
๑. ๐ เจ้าพญาพระคลังเสนาบดีผู้ใหญ่ได้ว่าทีกรมท่าพระกระลาโหม
สองฝ่าย ออกมาสักเลกหวั เมือง ปากไตเ้ มีอณว่ นประหัษเด (อีน)…
๒. ขึ้นสี่ค�่ำจุลศักราชพันสองร้อยสิบปีวอกส�ำเรทธิศกเท่ียวไปทุกหัวเมือง
แลว้ มาประทับอยู่ณเมอื ง ไชยา เมื่อณ่วันเดือนอ้ายพทุ ธศกั ราชสอง
๓. พนั สามรอ้ ยเก้าสบิ สองปรี กาเอกศก เหน็ วดั รอเปน็ วดั บรู าณพระอโุ บสถ
หักท�ำลาย พระพุทธรปู ตากแดดตากฝนเปน็ วัดรา้ งหามพี ระ
๔. พิขุสงฆ์อยู่ไม่ ก็เกิดธรรมสังเวทจึงมีบุพเจตนาปรารถนาสร้างให้เป็น
วดั ใหมข่ ึน้ ไวณ้ เมืองไชยา อารามหนงึ่ จะได้เป็นหติ าณุหติ ประโยชณ
๕. กบั กลุ บตุ เมอื งปากไตม้ าเหน็ เปน็ ทเี่ ลอ่ื มไสศรธั ทา กจ็ ะพลอยไดส้ ว่ นกศุ ล
ดว้ ย จึงเร่ิมการตดั ไม้ ทำ� อิดท�ำกระเบื้องเผาปนู กระทำ�
๖. ด้วยก�ำลังปัญา ก�ำลังศรัธทาก�ำลังทรัพยก�ำลังเพียรส่ีเดือนส�ำเร็จ
ไดย้ กเคร่ืองบนพระอโุ บสถขน้ึ เมือ่ ณวนั ประหัษเดอนี ญ่ขี ึน้ หกค่ำ� เรง่
๒ ปริวรรตใหม่จากส�ำเนาจารึกและภาพถ่าย เม่ือวันท่ี ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๓ (ภาพถ่ายโดย
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. ศานติ ภกั ดคี �ำ และสมนึก ฮงประยูร)
7
๗. รีบกันกระท�ำพระอุโบสถกานบูเรียนกุตกุ่ติสาลาแท่นสิลาน้อยใหญ่
ขดุ สระขุดบอ่ ก่อภูเขาเสาธง มีร้วั ไตล้ ้อมชนั้ นอกชน้ั ในมีอ่างเขยี วอ่างมังกร
๘. ต้ังตามรั้วไต้ปลูกต้นไม้ดอกผลเรียงรายประดับอาวาทเป็นอามิศบูชา
กระทำ� แลว้ เมอี ณเดอีนส่ี จึงเปล่ียนนามใหช้ อ่ื วัตสม่ หุ ะนมี ตี อุทสี
๙. ถวายพระภิขุสงฆ์คันธทุระวิปัศนาทุระอันจมาแต่จาตุทิศอยู่อาไศย
จำ� พระวัสาจ�ำเริญสมณธรรม์ เป็นท่ีรมั ณยิ ถานน่ังนอนเดนิ เทีย่ ว…
๑๐. ทุกกิริยาบท เดชะกุศลผลทานซึ่งกระท�ำน้ีจงเป็นปัจจัย์แก่พระ
โพทธญิ าณ เมอี ยังทองเทยี ว อยูในสังสารวตั ๐ ขอใหเ้ กตี
๑๑. เปน็ …ไดก้ ระท�ำกุศลทงั นใ้ี หพ้ ินโยย่งิ ขึน้ ไป (รอ้ ย) หมนื แสนทวี อย่าให้
มีจติ เหน่ีอยหนายสลี ทาน การกศุ ่ล ให้ต้งั อยู่ใน
๑๒. อบั ปมาทธรรมจงทกุ …เม่ือไปกว่าจะสำ� เรทพระโพทธิญาณ (เทอญนิพฺ
พาน) ปัจจยั โยโหตฯุ
คำ� อ่าน
(๑) ๐ เจา้ พญาพระคลงั เสนาบดผี ใู้ หญไ่ ดว้ า่ ทกี่ รมทา่ พระกระลาโหมสองฝา่ ย
ออกมาสักเลก หัวเมืองปากใต้เมื่อ ณ วันพฤหัส (บดี) (๒) ขึ้นสี่ค่�ำ จุลศักราช
๑๒๑๐ ปีวอกสัมฤทธิศก เทย่ี วไปทุกหัวเมอื งแลว้ มาประทบั อยู่ ณ เมอื งไชยา เมอ่ื
ณ วันเดือนอ้าย พุทธศักราช ๒๓๙๒ (๓) ปีระกาเอกศก เห็นวัดรอเป็นวัดบูราณ
พระอโุ บสถหกั ทำ� ลาย พระพทุ ธรปู ตากแดดตากฝน เป็นวัดร้างหามีพระ (๔) ภิกษุ
สงฆ์อยู่ไม่ก็เกิดธรรมสังเวชจึงมีบุพเจตนาปรารภจะสร้างให้เป็นวัดใหม่ ขึ้นไว้
ณ เมืองไชยา อารามหน่ึง จะได้เป็นหิตานุหิตประโยชน์ (๕) กับกุลบุตรเมือง
ปากใต้ มาเห็นเป็นท่ีเล่ือมใสศรัทธา ก็จะพลอยได้ส่วนกุศลด้วย จึงเริ่มการตัดไม้
ทำ� อฐิ ท�ำกระเบือ้ ง เผาปูนกระท�ำ (๖) ด้วยก�ำลงั ปัญญา กำ� ลงั ศรัทธา ก�ำลงั ทรพั ย์
กำ� ลังเพยี ร สีเ่ ดอื นส�ำเร็จ ได้ยกเคร่อื งบนพระอโุ บสถขึ้น เมื่อ ณ วันพฤหสั เดอื นยี่
ข้ึนหกค�่ำ เร่ง (๗) รีบกันกระท�ำพระอุโบสถ การบเรียน กุฎกุฏิ ศาลา แท่นศิลา
น้อยใหญ่ ขุดสระ ขุดบ่อ ก่อภูเขา เสาธง มีร้ัวไต้ล้อมชั้นนอกชั้นใน มีอ่างเขียว
อา่ งมงั กร (๘) ตง้ั ตามรวั้ ไต้ ปลกู ตน้ ไมด้ อกผลเรยี งราย ประดบั อาวาสเปน็ อามสิ บชู า
กระท�ำแล้วเม่ือ ณ เดือนสี่ จึงเปลี่ยนนามให้ช่ือวัดสมุหนิมิต อุทิศ (๙) ถวาย
พระภกิ ษสุ งฆค์ นั ทธรุ ะ วปิ สั สนาธรุ ะ อนั จะมาแตจ่ าตทุ ศิ อยอู่ าศยั จำ� พระวสั สา จำ� เรญิ
8
สมณธรรม เป็นท่ีรมณียฐาน น่ังนอนเดินเท่ียว… (๑๐) ทุกกิริยาบท เดชะกุศล
ผลทานซง่ึ กระทำ� นี้ จงเป็นปจั จยั แก่ พระโพธญิ าณ เมอื่ ยงั ท่องเทีย่ ว อยู่ในสงั สารวัฏ
๐ ขอใหเ้ กดิ (๑๑) เป็น…ได้กระท�ำกศุ ลท้ังนี้ ให้ภิญโญยง่ิ ขน้ึ ไป (รอ้ ย) หม่นื แสนทวี
อย่าใหม้ ีจิตเหน่อื ยหนา่ ยศลี ทาน การกุศล ใหต้ ั้งอย่ใู น (๑๒) อัปมาทธรรมจงทุก…
เมือ่ ไปกว่าจะสำ� เรจ็ พระโพธิญาณ…(นพิ พฺ าน) ปจั จยโยโหตุฯ
หลังจากทีส่ มเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดศิ บนุ นาค) สร้างวัดสมหุ
นมิ ติ เสรจ็ แลว้ จงึ ไดน้ มิ นตพ์ ระครสู มหุ พ์ นิ จากวดั ตระพงั จกิ ใหย้ า้ ยไปอยทู่ ว่ี ดั สมหุ นมิ ติ
สิ่งของต่างๆ ได้ย้ายไปอยู่ที่วัดสมุหนิมิตด้วย โดยเฉพาะตู้ลายทองต่างๆ
ซ่ึงน่าจะรวมถึงคัมภีร์ใบลานจากวัดตระพังจิกก็คงถูกย้ายไปอยู่ที่วัดสมุหนิมิตด้วย
ดังท่ที ่านพุทธทาสภกิ ขุได้เคยเลา่ เรือ่ งน้ไี วใ้ นหนังสอื เล่าไวเ้ ม่ือวัยสนธยาวา่
“...ในสมยั รัชกาลที่ ๓ เจา้ พระยาสมหุ พระคลัง ซึง่ คุมหวั เมอื งปักษใ์ ต้ ยกทัพ
กลับจากไปปราบหัวเมืองทางชายแดนปักษ์ใต้ ผ่านพุมเรียงซึ่งเป็นท่ีต้ังของเมือง
ไชยาสมัยนั้นก่อนจะกลับไปกรุงเทพฯ ได้สร้างวัดสมุหนิมิตนไว้ใหญ่โตมโหฬาร
สร้างเสร็จก็ขอหรือจะบังคับให้พระครูสมุห์พิน ย้ายจากวัดตระพังจิกไปอยู่วัด
ท่ีสร้างใหมน่ ้ัน...
พอท่านย้ายไปอยู่วัดสมุหนิมิตร ก็เหลือแต่พระที่ไม่ต้องไปหรือไม่อยาก
ไป แล้วกล็ ดลงๆ จนเหลอื องคเ์ ดียว เรยี กกนั วา่ ขรวั สี อยู่เปน็ องค์สุดทา้ ย พอตาย
ก็เลิกกัน ทรัพย์สมบัติช้ินดีๆ ของวัดก็ย้ายไปอยู่วัดสมุหนิมิตรหมด โดยเฉพาะ
ตู้ลายทองตา่ งๆ...” ๓
ด้วยเหตุน้ีวัดสมุหนิมิตจึงเป็นวัดส�ำคัญของพุมเรียง (ซ่ึงเดิมเป็นที่ตั้งของ
เมืองไชยา) เมืองไชยาเป็นเมืองที่มีช่ือเสียงในด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม
พระภกิ ษจุ ากเมอื งตา่ งๆ ใกลเ้ คียง เชน่ ชมุ พร หลงั สวน แมก้ ระทงั่ เมืองสงขลา ตอ้ ง
มาศึกษาพระปริยัติธรรมท่เี มอื งไชยา ดังทีท่ ่านพุทธทาสภกิ ขไุ ดเ้ ล่าไว้วา่
“...เมอื งไชยาเปน็ เมอื งทมี่ ชี อื่ เสยี งสำ� หรบั ผมู้ กี ารศกึ ษา เปน็ ชน้ั ครบู าอาจารย์
คนจากถ่ินอื่นจะมาเรยี นกนั ทีไ่ ชยาน้ี ท้งั ชุมพร หลงั สวน แมส้ งขลากย็ ังเคยมาเรยี น
ทไ่ี ชยา จนมาตกค้างอยู่กระทง่ั มรณภาพกด็ .ี ..” ๔
๓ พทุ ธทาสภิกขุ, เลา่ ไวเ้ มือ่ วยั สนธยา ๒ (กรงุ เทพฯ ส�ำนักพมิ พม์ ลู นธิ โิ กมลคีมทอง, ๒๕๒๙),
ห น้า ๑๔๖ -๔ ๑๔๗.
เรอื่ งเดยี วกัน, หนา้ ๑๔๗.
9
ตอ่ มาเม่อื วัดสมหุ นิมิตทรดุ โทรมมากจึงนิมนตพ์ ระชยาภวิ ฒั น์ (หนู) ซง่ึ เคย
อยู่วัดโพธาราม ให้ไปอยทู่ ่ีวดั สมหุ นมิ ติ ในยุคน้ียังคงมีพระจากต่างจังหวัดมาศกึ ษา
อยู่ท่ีไชยา ท้ังท่ีมาเล่าเรียนบาลีไวยากรณ์ หัดเทศน์มหาชาติ เป็นต้น ดังที่ท่าน
พุทธทาสภกิ ขไุ ด้เลา่ ไว้วา่
“...ตอ่ มาเคยมเี จา้ คณะเมอื งไชยาชนั้ พระครรู ตั นมนุ อี ยวู่ ดั โพธารามตดิ ตอ่ กนั
ถงึ สององค์ ครั้งสุดทา้ ยไปอย่วู ดั สมหุ นิมติ รอกี วัดสมุหนมิ ิตรคล้ายๆ เปน็ วดั หลวง
ตอ่ มาวดั ทรดุ โทรมลงมาก ทางการดเู หมอื นจะเปน็ เทศาฯ จงึ ขอรอ้ งใหพ้ ระชยาภวิ ฒั น์
(หนู) ซ่ึงเคยอยู่วัดโพธาราม ให้ไปอยู่วัดสมุหนิมิตรเป็นเจ้าคณะเมืององค์สุดท้าย
จนกระทั่งมรณภาพ
แม้สมัยเจา้ คณุ ชยาภิวฒั น์ (หนู) น้ี ก็ยงั มพี ระเณรจากต่างจังหวัดมาศึกษา
เล่าเรียน มาเรียนบาลีไวยากรณ์บ้าง มาหัดเทศน์มหาชาติบ้าง เป็นการศึกษา
อยา่ งเดมิ ...” ๕
ด้วยเหตุที่วัดสมุหนิมิตเป็นส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม บาลีไวยากรณ์ และ
เทศน์มหาชาติ วัดสมุหนิมิตจึงมีคัมภีร์ใบลานเก็บรักษาไว้เป็นจ�ำนวนมากจนถึง
ปจั จบุ นั
ศิลาจารกึ วดั สมุหนิมติ ของพระสมุหม์ ัย อนิ ฺทสุวณฺโณ๖
ต่อมาภายหลังเม่ือวัดสมุหนิมิตช�ำรุดทรุดโทรมลงพระอภิรมย์สินา (รักษ์
บุนนาค) ผู้เป็นหลานของสมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดศิ บนุ นาค) จึงได้
จำ� หนา่ ยทรพั ยบ์ ูรณปฏิสงขรณ์ขน้ึ ใหม่อกี ครง้ั หน่งึ ในปี ๒๔๙๓ เมื่อปฏิสังขรณ์แล้ว
พระสมหุ ม์ ยั อนิ ทฺ สวุ ณโฺ ณ ไดท้ ำ� ศลิ าจารกึ ตดิ ไวท้ ผี่ นงั พระอโุ บสถคกู่ บั ศลิ าจารกึ เดมิ
ของสมเดจ็ เจ้าพระยาบรมมหาประยรุ วงศ์ (ดศิ บุนนาค) ดงั นี้
๕ เรอ่ื งเดียวกัน, หนา้ ๑๔๘. เม่ือวันท่ี ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๓ (ภาพถ่ายโดย
๖ ปริวรรตใหม่จากส�ำเนาจารึกและภาพถ่าย
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดคี �ำ และสมนกึ ฮงประยูร)
10
คำ� อ่าน
๑. วัดสมหุ นมิ ติ นี้ สร้างโดยเจ้าพระยาพระคลงั เมอื่
๒. พ,ศ, ๒๓๙๒ ซง่ึ เปน็ ตน้ ตระกลู ของพระอภิรมยสินา
๓. รกั ษ บนุ นาค มาพ,ศ, ๒๔๙๓ พระอโุ บสถปรกั หกั
๔. พงั ลงมาก เช่น กำ� แพงแกว้ ประตกู ูบท้งั ๔
๕. ด้าน อาสน์พระพทุ ธรูป พนักพระอโุ บสถ พัทธสมี า
๖. ๘ พทั ธ พระอภิรมย์ผู้เปน็ หลานไดท้ ราบเข้าจึงออก
๗. เงิน ๒ หมืน่ บาทซอ่ ม เพอื่ อุทศิ ส่วนกุศลไปให้ท่าน
๘. เจา้ พระยาอรรคมหาเสนาบดี บนุ นาค ปู่ทวด ท่านเจา้
๙. คณุ หญงิ นวลย่าทวด และสมเดจ็ เจา้ พระยามหาประ
๑๐. ยูรวงศปู่ คุณหญงิ หรนุ่ ย่า เจา้ พระยาสรุ พันธพ์ ิสุทธบิ ิดา
๑๑. หม่อมบางมารดา คุณตาชวั คณุ ยายเต่า ซอ่ มโดย
๑๒. พระสมหุ มยั อนิ ฺทสวุ ณโฺ ณ เจา้ อาวาสวดั นี้ และภกิ ษุ
๑๓. สามเณร สำ� เรจ็ อย่ใู นลักษณะเดิมเป็นอย่างดี
๑๔. พ,ศ, ๒๔๙๓
11
คัมภรี ์ใบลานวดั สมุหนมิ ติ
คมั ภรี ์ใบลาน หมายถึง คัมภรี ท์ จ่ี ารลงบนใบลาน เนอ้ื หาท่ีจารส่วนใหญ่เป็น
พระธรรมค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา เช่น พระไตรปิฎก อรรถกถา ฏีกา คัมภีร์
ใบลานจึงมีความส�ำคัญและมีความศักดิ์สิทธิ์เพราะเป็นคัมภีร์ท่ีบันทึกพระธรรมอัน
เป็นค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ดังน้ันจึงถือกันเป็นธรรมเนียมว่า คัมภีร์ใบลานเป็น
สงิ่ ทต่ี อ้ งใหค้ วามสำ� คญั ตอ้ งเกบ็ รกั ษาไวอ้ ยา่ งดเี หมอื นกบั พระพทุ ธรปู ในสมยั โบราณ
คัมภีร์ใบลานเหลา่ นี้มกั เก็บรวบรวมไวใ้ นตพู้ ระธรรม ทต่ี ั้งอยู่ภายใน “หอไตร” หรือ
“หอพระไตรปิฎก” ของวดั ๗
คัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิต เป็นคัมภีร์ใบลานท่ีส�ำรวจพบในพระอุโบสถ
วดั สมหุ นมิ ติ ซงึ่ ตงั้ อยทู่ ต่ี ำ� บลพมุ เรยี ง อำ� เภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี วดั เกา่ แก่
และสำ� คญั มากของชมุ ชนพุมเรียงหรอื เมอื งไชยาในอดตี
๗ ก่องแกว้ วีระประจกั ษ์, สารนิเทศจากคัมภรี ์ใบลานสมยั อยธุ ยา (กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร,
๒๕๔๕), หนา้ ๓ – ๔.
12
เหตุที่วัดสมุหนิมิตมีคัมภีร์ใบลานจ�ำนวนมาก เน่ืองจากเมืองไชยาเป็นเมือง
ท่ีมีชื่อเสียงในด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม พระภิกษุจากเมืองต่างๆ ใกล้เคียง
เชน่ ชมุ พร หลงั สวน แมก้ ระทง่ั เมอื งสงขลา ตอ้ งมาศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม ทเ่ี มอื งไชยา
ดงั ทที่ า่ นพทุ ธทาสภกิ ขไุ ดเ้ ลา่ ไวว้ า่ “...เมอื งไชยาเปน็ เมอื งทม่ี ชี อ่ื เสยี งส�ำหรับผู้มีการ
ศกึ ษา เปน็ ชน้ั ครบู าอาจารย์ คนจากถนิ่ อนื่ จะมาเรยี นกนั ทไี่ ชยานี้ ทง้ั ชมุ พร หลงั สวน
แมส้ งขลาก็ยังเคยมาเรยี นทไี่ ชยา จนมาตกค้างอย่กู ระท่ังมรณภาพกด็ ี...” ๘
แม้ในสมัยที่พระชยาภิวัฒน์ (หนู) เป็นเจ้าอาวาสวัดสมุหนิมิต ยังคงมีพระ
จากตา่ งจงั หวดั มาศกึ ษาอยทู่ ไ่ี ชยา ทงั้ ทม่ี าเลา่ เรยี นบาลไี วยากรณ์ หดั เทศนม์ หาชาติ
เป็นต้น ดังทที่ า่ นพุทธทาสภกิ ขุไดเ้ ลา่ ไวว้ า่ “...แม้สมยั เจา้ คณุ ชยาภวิ ฒั น์ (หนู) น้ี
ก็ยังมีพระเณรจากต่างจังหวัดมาศึกษาเล่าเรียน มาเรียนบาลีไวยากรณ์บ้าง มาหัด
เทศนม์ หาชาติบา้ ง เปน็ การศกึ ษาอย่างเดิม...” ๙
ด้วยเหตุที่วัดสมุหนิมิตเป็นส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม บาลีไวยากรณ์ และ
เทศน์มหาชาติ วัดสมุหนิมิตจึงมีคัมภีร์ใบลานเก็บรักษาไว้เป็นจ�ำนวนมากจนถึง
ปัจจุบัน สอดคล้องกับหลักฐานที่พบในคัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิตท่ีกล่าวว่าคัมภีร์
ตา่ งๆ เหล่านีใ้ ช้ในการเรยี นพระปริยัตธิ รรม เช่น
๘ เรอื่ งเดยี วกัน, หนา้ ๑๔๗.
๙ เร่อื งเดียวกนั , หนา้ ๑๔๘.
13
คมั ภรี ์พระสารสงั คห ผกู ๑ (๐๗๖) มีขอ้ ความวา่ “๐ วนั พฤหัสบดี เดือน ๔
แรม ๖ ค่�ำ ปีเถาะ เรยี นสารสงคฺ ห”
14
มูลสมาส (๐๑๑) มีขอ้ ความว่า “เนนแตฺงเรยี นแล้ว”
พฺรธมฺมปทบั้นต้ณฺณ (๑๒๐) มีข้อความว่า “ข้าพเจ้าพรภู่ไฑ้เอาเรียนกับ
เจา้ คณุ พรฺ ชยาภวิ ฒั น์ เมอื่ พุทฺธศักกฺ ราชลว่ งแลว้ ๒๔๖๘ พรรษา”
15
จากการส�ำรวจคัมภีร์ใบลานของวัดสมุหนิมิต พบว่ามีอายุเก่าแก่ตั้งแต่สมัย
กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย จนกระท่ังถึงสมยั กรงุ รตั นโกสินทร์ แมว้ า่ วดั สมหุ นิมติ เพงิ่
จะสรา้ งขึ้นในสมยั รัชกาลท่ี ๓ แหง่ กรงุ รัตนโกสนิ ทรก์ ็ตาม สันนษิ ฐานวา่ คมั ภีรเ์ หล่า
นนี้ า่ จะมกี ารรวบรวมจากวดั ตา่ งๆ ทเี่ กา่ แกถ่ งึ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยามารกั ษาไว้ จงึ ทำ� ให้
พบคัมภรี จ์ ำ� นวนมากทว่ี ัดสมหุ นิมิต คัมภีร์ใบลานบางผกู ยังระบชุ ือ่ วดั เดิมไว้ เช่น
คมั ภรี ข์ องวดั โพธาราม (วดั เหนอื ) เช่น กุมารปพฺพํ (๐๒๐) มีข้อความว่า
“หนงั สอื วตั เหนฺ อื ” (หมายถงึ วดั โพธาราม) มลู กจจฺ ายนสมฺ าสสฺ จปปฺ รปิ รู ณฺ ณฺ (๐๔๘)
มขี อ้ ความวา่ “วดั บนํ ” (หมายถงึ วดั โพธาราม) นนทกปกรณํ ผกู ๒ (๑๒๓) “ขาพพระ
เจาษ่หมิเพัชเขยินถ่วายเจาประคุนวัดเหนิอเมิอพระพุทศักราชลวงแลวใดย ๒๓๔๒
ปมี แ่ มเอกศก เดอิ น ๗ เปน็ วาระก�ำนดํ ยังอะนาคํชอกิ ๒๖๕๗ ปกิ บั ๑๑ เดอนิ จงิ
จ่ถวน ๕๐๐๐ พันพระวะษาแลขอใหเป็นปัดไจยแกณีภารเทิดฯ”
16
คัมภรี ์ของวดั ตระพังจิก เช่น พฺรมหาวงฺส ผกู ๒ (๐๓๗) มขี ้อความวา่ “วัด
ตพงั จกิ ” (คอื วดั ตระพงั จกิ ) มหาพลลฺ ผกู ๗ (๑๑๖) มขี อ้ ความวา่ “หนฺ งั สอื วดั พงั จกิ ”
คัมภีร์ของวัดจ�ำปา เช่น การก ผูก ๑ จป่ ปริปูรฺณฺณฯ (๑๐๕) มีข้อความวา่
“วัดจ�ำปา”
17
คมั ภรี ข์ องวดั ใหมพ่ มุ เรยี ง เชน่ มลู ลฺ กจจฺ ายยฺ ณกรฺ ติ ผกู ๗ (๑๐๕) มขี อ้ ความ
วา่ “อาจาริยใหใว” “วดั ไม” (วดั ใหม่พุมเรยี ง)
คมั ภีรข์ องวดั เวยี ง เช่น การกปกรณ ผกู ๙ (๐๙๔) มีขอ้ ความว่า “พรฺ พทุ ทฺ
สกกฺ ราชลวฺ งแลวฺ ไฑ ๒๓.. พรฺ วสฺสา วฺนเสาร์ เดอื น ๙ ข้นึ ๕ คำ่� ปโี วกโทสก ทาน
บุนภิริยาชือเหภัคลูกชือขุนไกฺรพลฺลสิต โนฺงชือโทฺงค�ำอฺยูบานขางวัดหอไตฺรสาง
หนฺ งั สอื นไี้ วไนวดั เวยี งส สำ� รปั พรฺ สาสนฺ า ฃอฺ ไหเปนฺ ปจจฺ ยแกพรฺ โพทธฺ ญิ าณไหทานปู
เลาเริยนแผสฺวนกสุ นฺ ไหแกขาพเจาแลญาตทิ งั หลฺ ายตฺวยฺ ”
18
คัมภีร์ของวัดพระโยค บ้านดอน เช่น พฺรธมฺมปทฏฺฐกถา ผูก ๒ – ๒๐
(๐๕๑) ฉลากใบลานมขี อ้ ความวา่ “พรฺ ธมมฺ ปทฏฐฺ กถา บัน้ ต้น ๑๘ ผูกฯ หฺนงั สือพรฺ ม
หานปฺ วดั พรฺ โยกฺ บา้ นฑอนฯ ทำ� ฉบฺ พั พฺ ฑฯี ”
คัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิตท่ีพบในปัจจุบัน สามารถจ�ำแนกออกตามยุคสมัย
การสร้างของคมั ภรี ์ไดด้ ังนี้
๑. คมั ภรี ส์ มยั กรุงศรีอยธุ ยา
ค ัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิต สมัยกรุงศรีอยุธยา กลุ่มท่ีเก่าท่ีสุดที่พบหลักฐาน
จากการสำ� รวจ เปน็ คัมภรี ์ทส่ี ร้างหรือจารข้ึนในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
แห่งราชวงศ์ปราสาททอง รัชกาลสมเด็จพระเพทราชา รัชกาลพระเจ้าท้ายสระ
พระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศ จนถงึ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั พระทีน่ ั่งสรุ ยิ าศน์อมรนิ ทร์
หรือพระเจ้าเอกทัศน์ แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ก่อนหน้าท่ีจะเสียกรุงศรีอยุธยา
ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ ไม่นาน แสดงถึงความสืบเน่ืองของชุมชนและการศึกษาของ
คณะสงฆ์ในเมืองไชยา คัมภีร์ใบลานสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายสามารถจ�ำแนก
ตามรชั กาลตา่ งๆ ไดด้ งั นี้
รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙ – ๒๒๓๑)
คมั ภรี ว์ ดั สมหุ นมิ ติ ซงึ่ ปรากฏหลกั ฐานวา่ จารขนึ้ ในรชั กาลสมเดจ็ พระนารายณ์
มหาราชพบเป็นจ�ำนวนมาก ถือได้ว่าเป็นคัมภีร์ใบลานเก่าแก่ที่สุดท่ีพบท่ีพุมเรียง
ได้แก่
19
มหาวน ผกู ๗ (๐๐๙) มีขอ้ ความวา่ “มหาสสฺ ราช” “พทุ ฺธสกรฺ าชไฑ ๒๒๐๔
ปีฉฺลู ตรนิ สิ ก”
มลิ นิ ฺทปญฺหา ผูก ๖ (๐๔๖) มีขอ้ ความว่า “จฬุ สกฺกราชไฑ ๑๐๓๑ รกาเอก
สก” (พ.ศ. ๒๒๑๒)
20
พรฺ ะสิวิชย ผกู ๑ (๐๕๒) มขี อ้ ความวา่ “นาคสํวจฉฺ เร ๑๐๓๘” (พ.ศ. ๒๒๑๙)
เตรสธุตงฺค ๑๓ (๐๓๒) มีข้อความว่า “พฺระบาตเจ้าองฺคไฑจเขียฺนสืบ
ไปขยฺ นยาไหอกขฺ รพริ ทุ ธฺ เมอี แลวฺ ทานจงฑฺ ี จง่ิ เจยรฺ การไปเมอี หนฺ าแล ครฺ นขยฺ นเสจจฺ
แลวฺ จงฺ หมฺ ายอกขฺ รฑงั วามานสิ ปี ๆ ไปไนพรฺ ะสาสนฺ าไหปจฉฺ มิ าชนตาพายทายอนั กลุ ลฺ
ปุตฺตปฺรญตฺตติ ามเทิด ๐ พุทฺธสกฺกราช ๒๒๑๔ ๐ นิพพฺ านปจฺจโยโหนตฺ ”ุ
21
การกกจจฺ าย ผกู ๙ (๑๐๕) มขี อ้ ความว่า “อบุ าสกิ า...ใวกับพรฺ ะสาสฺนาปรฺ าถาน
นิพฺพาน พุทฺธสกฺราชได ๒๒๓๑ (๒๒๒๙) ปีขาน” “ไฝไปวดั สาสารเพลาบายโมง”
รชั กาลสมเด็จพระเพทราชา (พ.ศ. ๒๒๓๑ – ๒๒๔๖)
คมั ภรี ว์ ดั สมหุ นมิ ติ ซงึ่ ปรากฏหลกั ฐานวา่ จารขนึ้ ในรชั กาลสมเดจ็ พระเพทราชา
ไดแ้ ก่
พรฺ ะสวิ เิ ชยยฺ ผกู ๓ (๐๓๗) มขี อ้ ความวา่ “จฬุ อหสิ วํ จฉฺ เร ๑๐๕๑” (พ.ศ. ๒๒๓๕)
22
รชั กาลพระเจ้าทา้ ยสระ (พ.ศ. ๒๒๕๑ – ๒๒๗๕)
คัมภีร์วัดสมุหนิมิต ซึ่งปรากฏหลักฐานว่าจารข้ึนในรัชกาลพระเจ้าท้ายสระ
ได้แก่
สวิ ชิ ยฺ ยผกู ๑ (๐๓๗) มีข้อความวา่ “จุลลฺ สกฺกราชได ๑๐๗๖ พทุ ฺทสกกฺ ราช
ได ๒๒๕๗ พรฺ วสสฺ า ปีมเมิยฉสกฯ”
สิวิชยั ยฺ ผูก ๒ (๐๕๒) มขี อ้ ความวา่ “พทุ ฺธสกกฺ ราชไฑ ๒๒๕๗ พรฺ วสาปี
มเมยิ ฉสกแลฯ”
23
พฺระสิวิชยฺย ผูก ๓ (๐๕๒) มีข้อความว่า “พุทฺธสกฺกราชไฑ ๒๒๕๗
พรฺ ะวสาปีมเมิยฉสกแล” “พรฺ ะหฺมจิ นั โฺ ชฺตมิ ีไจสทฺธาสางไวสำ� รัปพฺระสาสนฺ าแลฯ”
สวี ิชยยฺ ผกู ๔ (๐๓๗) มีขอ้ ความว่า “พรฺ หหฺมิจันโชตมีไจสทฺธาสางไวส�ำรัป
พรฺ ะสาสฺสหฺน้าแล พทุ ฺธสกฺกราชไฑ ๒๒๕๗ พรฺ ะวสา ปมี เมิย ฉสกแล”
24
สีวิเชยฺย ผูก ๖ จฺปปริปูณฯ (๐๓๒) มีข้อความว่า “พฺระหฺมิจันฺโชตฺมิ
ไจสทธฺ าสางไวส�ำรัปฺพฺรสาสหฺ นฺ ้าแลฯ สวี ิเชยยฺ ผูก ๖ ฯ พฺระพุทธฺ สกฺกราชไฑ ๒๒๕๗
พฺระวสสฺ าปีมเมิยฉสฺกแลฯ”
วชิรสารตฺถ ผกู ๑ จปฺปรปิ รุ ฺณณฺ (ขอมบาล)ี (๐๗๙) มขี อ้ ความว่า “พุทธฺ
สกกฺ ราชได ๒๒๖๗ กนุ เอกศก” ทา้ ยเล่มมขี อ้ ความวา่ “มหาพชิรปญฺญาภิกขฺ ุสางไว
ไนพรฺ ะสาสนา”
25
มงฺคลทปิ นีอฏฐฺ กถามงคฺ ลสตู รฺ ผูกท่ี ๗, ๙, ๑๔, ๒๐ (๐๙๖) มขี อ้ ความวา่
“สุภมศตุ พุทธฺ สกฺกราช ๒๒๗๒ พฺรวสฺสากับ ๕ เตอื น กับ ๑๑ วาร กกุ ฺกฏุ สํวจฉฺ รอา
สุชฺชมาสภมู วารกาลปกฺขเอกทสมิตถิ ฯี จุลสกราช ๑๐๙๑ ป”ี
26
พฺรเอกนิปาต ผกู ๔ (๐๘๕) มขี ้อความว่า “คาจางเปฺนเงิน ๑ สลึง ๑ เฟอ้ื ง
ตฺราสังกบั ปฺลายเบิยฺ ๑๖๐ เบิยฺ มหาบญุ มาฆสางไวสำ� รปั พรฺ ะสาสฺสนาจงฺ เปฺนปจจฺ ยยฺ แก
โพธญิ าณ” ดา้ นหลงั มขี อ้ ความวา่ “สพพฺ มศตฺ ตพุ ทุ ธฺ สกกฺ ราชได ๒๒๗๕ ปี มสุ กิ กฺ สวํ จฉฺ ร
มคิ ฺคสิรมาส สุกขฺ ปกฺข ภูมมฺ วาร เอกตฏิ ฺฐยิ ํ จลุ ลฺ สกกฺ ราชได ๑๐๙๔ ปกี รู ”
รชั กาลพระเจา้ อยูห่ วั บรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๐๑)
คมั ภรี ว์ ดั สมหุ นมิ ติ ซง่ึ ปรากฏหลกั ฐานวา่ จารขนึ้ ในรชั กาลพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ
ไดแ้ ก่
พรฺ อาทกิ มมฺ ผกู ๑๒ (๐๘๙) ดา้ นหลงั มขี อ้ ความวา่ “เขยิ นจบฺ ไนวนฺ สกุ เตอิ น
๑๐ แรม ๒ คำ�่ ปฉี ลฺ ู พรฺ พทุ ธฺ สกกฺ ราชไต ๒๒๗๖ พรฺ วสสฺ ากบั หาเตอิ นกปั ปฺ วนฺ นงิ แลฯ”
27
สิกขฺ าปทวินิจฉฺ ยเผฺฑจฉวฺ าต ผูก ๑๐ (๐๗๕) มขี ้อความวา่ “สกิ ฺขาปทวิ
นิจฺเฉยฺย พิจฺจารณาโอฺกแตมหาวิภงฺคแลสมนฺตปาสาทิกสาราตฺถทีปนีแลวิมตฺติวิโน
ทนยิ นนั นฺ สำ� เรจจฺ ปรปิ รุ ณฺ ณฺ ไนเพงเดอี นสปี จี อจตวฺ าสก พทุ ธฺ สกกฺ ราชลวฺ งไปได้ ๒๒๘๕
พรฺ วสสฺ าเสฺสสขํ ยฺ า”
พรฺ ะสารสงฺคห ผูก ๒ – ๑๒ (๑๐๓) มีข้อความว่า “คาจาง ๑ สลงึ ๑ เฟอื้ ง
ปฺลายเบิย ๑๖๐ พฺรโชติกสางไวส�ำรับสาสฺสนฺน้า มหาบุนมากเป็นอุปการขอเป็น
ปจฺจยฺยแกโภธิยาน” ท้ายเล่มมีข้อความว่า “สพฺพมาสฺสตุพุทฺธสกฺกราชได ๒๒๘๖
สนุ กขฺ สํวจฺฉเรตกี ฺกมาส สุกฺรวารสกุ ฺขจตุติตฺถยิ จุลฺลสกฺขราช ๑๑๐๕ ป”ี
28
รัชกาลพระเจ้าอยู่หวั พระที่นั่งสรุ ิยาศนอ์ มรนิ ทร์ (พ.ศ. ๒๓๐๑ – ๒๓๑๐)
คัมภีร์วัดสมุหนิมิต ซ่ึงปรากฏหลักฐานว่าจารข้ึนในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัว
พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ ได้แก่ คัมภีร์โลกสัณฐานโชตรตนคัณฐี ซึ่งปรากฏ
หลักฐานว่าจารขึ้นตามฉบับวัดป่าขอม เม่ือตรวจสอบแล้วพบว่า “วัดป่าขอม”
ทกี่ ลา่ วถงึ ในทนี่ นี้ า่ จะหมายถงึ วดั ปา่ ขอมทเี่ มอื งพทั ลงุ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธ์
ทางพระพุทธศาสนาระหวา่ งเมืองไชยากับเมืองพทั ลงุ ได้เป็นอย่างดี
โลกสณฺฐานโชตรตนคณฺฐี ผูก ๑ (๐๗๙) มีข้อความว่า “วันพุธ เดือนย่ี
ขึ้น ๒ ค�่ำ ปีวอกฉอศกเพลาบายแล้วจุลศกราช ๑๑๒๖ ปี ทานผูอัธิการวัดหนา
พระลานรับทระทายกสางก�ำพลีโลกสันถาร ๕ ผูกจ่บ ฉบับวัดปาฃอมหัวนอร
แลทายกรับผูกไนนี ทานมอมเมิอง ทานมอมมิง ผูก ๑ แลเฃียนจ่บไนวันเสาร์
เดือน ๓ ข้ึน ๑๒ ค�่ำ ปีวอกฉักสัดฉอศก พุทธศกราชลวงแล้ว ๒๓๐๗ ปี กับ
๘ เดือน กับ ๑๒ วนั แลทานมอมชแี กว้ รับไหทองปติ จง่ ครันหนงั สทอนย้ี ”
29
30
โลกสณฺฐานโชตรตนคณฺฐี ผูก ๓ (๐๐๘) มีข้อความว่า “วันพุธ เดือนย่ี
ข้ึน ๒ ค�่ำ ปีวอกฉอศก เพลาบายแล้ว จุลศักราช ๑๑๒๖ ปี ทานผู้อธิการวัดหนา
พลานรับทุระทายกษางก�ำพลีโลกสันถาร ๕ ผูก จ่บ ฉ่บับวัดปาฃอมห้อนอรแล
ทายกรับผูกน่ีทานนางมี ทานนางคง ผูก ๓ แลเฃียนจ่บในวัน เสาร์ เดือน ๓
ขน้ึ ๑๔ ค�ำ่ ปวี อกนักสตั ฉอศก พุทฺธศักราชลวงแลว้ ๒๓๐๗ ปี กบั ๘ เดอื น กบั ๑๒
วนั แลทานมอมชแี ก้วรบั ใหท้ องปดิ จง่ ครันหนงั สือนีย”
โลกสณฺฐานโชตรตนคณฺฐี ผูก ๔ (๐๖๕) มีข้อความว่า “วันพุธ เดือนยี่
ขนึ้ ๒ คำ� ปวี อกฉศกเพลาบายแลว้ จลุ ศกราช ๑๑๒๖ ปี ทานผอธั ิการวดั หนาพลาน
รบั ทรุ ะทายกสางก�ำพลโี ล้กสันถาร ๕ ผูก จบ ฉบับวัดปาขอมหัวนอน แลทายก่ รบั
ผุกไนี ทานมอมเพงนอก, ทานพระชีหลาด ผูก ๔ แลเฃียนจบไนวันอังคาร เดือน ๓
ขน้ึ ๑๒ คำ� ปวี อกนักสัดฉ่อศกพุทธศกราชลวงแลว้ ๒๓๐๗ ปี กับ ๘ เดือน กับ ๑๒
วนั แล ทานมอมชแี กว้ รบั ใหท้ องปดิ จง่ ครันหนงั สอื นยี ”
31
โลกสณฺฐานโชตรตนคณฺฐี ผกู ๕ (๐๗๙) มีข้อความว่า “วันพุธ เดอื นย่ี
ข้ึน ๒ ค่�ำ ปีวอกฉอศกเพลาบายแล้วจุลศกราช ๑๑๒๖ ปี ทานผูอัธิการวัดหนา
พระลานรับทระทายกสางก�ำพลีโลกสันถาร ๕ ผูกจ่บ ฉบับวัดปาฃอมหัวนอร
แลทายกทงั ปวงสารนไี นนที านคกุ ทานมอมเมอิ ง ทานมอมมิง ผูก ๑ แลเฃยี นจ่บไน
วนั เสาร์ เดอื น ๓ ขึน้ ๑๒ คำ�่ ปีวอกฉกั สัดฉอศก พทุ ธศกราชลวงแลว้ ๒๓๐๗ ปี กบั
๘ เดือน กับ ๑๒ วนั แลทานมอมชีแกว้ รบั ไหทองปติ จ่งครันหนงั สทอนี้ย”
อย่างไรก็ตามยังปรากฏว่ามีคัมภีร์วัดสมุหนิมิต อีกหลายเรื่องซ่ึงไม่ระบุ
ปีศักราชที่จาร หรือสร้าง แต่จากรูปแบบตัวอักษรแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า
เป็นอักษรขอมที่ใช้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา คัมภีร์เหล่าน้ีจึงน่าจะเป็นคัมภีร์ที่จารขึ้น
ในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาด้วย เชน่ พฺรสารสงฺคห ผูก ๑, ๔ – ๑๔ (๐๔๕) มชฌฺ มิ นกิ า
ยมชฌฺ มิ ปณฺณาส ผกู ๑ – ๑๗ (๐๖๓) เปน็ ตน้
32
33
๒. คัมภรี ส์ มัยกรุงธนบรุ ี
หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมืองไชยา ปรากฏหลักฐาน
วา่ มีบทบาทสำ� คญั อีกครง้ั ในสมยั กรงุ ธนบรุ ี โดยเฉพาะเมอื่ สมเด็จพระเจา้ กรงุ ธนบุรี
โปรดฯ ให้เจ้าพระยาจักรีแขกยกทัพไปปราบเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ได้
เดินทัพผ่านเมืองไชยาด้วย ต่อมาเมื่อเจ้าพระยาจักรีแขกไม่สามารถตีเมือง
นครศรีธรรมราชได้ จึงถอยทัพมาตั้งอยู่ ณ เมืองไชยา สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
จึงทรงยกทัพเรือมาประทับชุมนุมทัพท่ีเมืองไชยา ก่อนท่ีจะยกทัพไปตีเมือง
นครศรีธรรมราช นอกจากน้ียังปรากฏหลักฐานในจารึกวัดจ�ำปา กล่าวถึงการท�ำบุญ
ของเจ้าเมืองไชยา ในสมัยธนบุรีที่แสดงให้เห็นถึงการท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา
ในเมืองไชยา อีกทั้งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ
ยังทรงพระนิพนธ์ถึงความส�ำคัญของหัวเมืองภาคใต้สมัยกรุงธนบุรี ในฐานะที่เป็น
แหลง่ เก็บรวบรวมคัมภรี ์พระพทุ ธศาสนาไว้ว่า
“...จ�ำเดิมแต่เมื่อกรุงเก่าเสียแก่พม่าข้าศึก คร้ังน้ันวัดวังบ้านเรือนถูก
ข้าศึกเผายับเยินไปทุกแห่ง หนังสือพระไตรปิฎกแลหนังสืออ่ืนๆ จึงเป็นอันตราย
หายสญู ไปเสยี เปน็ อนั มาก เมอื่ ขนุ หลวงตากตง้ั เมอื งธนบรุ เี ปน็ ราชธานแี ลว้ จงึ มรี บั สงั่
ใหเ้ สาะหาหนงั สอื ตา่ งๆ มคี มั ภรี พ์ ระไตรปฎิ กเปน็ ตน้ มารวบรวมตงั้ หอหลวงขน้ึ ใหม่
ความปรากฏนหนังสอื พระราชพงษาวดารว่า เมื่อปฉี ลเู อกศก พ.ศ. ๒๓๑๒ พระเจา้
กรุงธนบุรี เสด็จยกทัพหลวงไปตีถึงเมืองนครศรีธรรมราช เม่ือได้เมืองพบคัมภีร์
พระไตรปิฎกยังมอี ย่ทู ี่เมืองนครศรีธรรมราชมาก ดว้ ยคราวเมอื่ เสียกรุงเก่า พมา่ หา
ได้ยกลงไปตีถึงเมืองนครศรีธรรมราชไม่ พระเจ้ากรุงธนบุรีจึงมีรับสั่งให้ยืมคัมภีร์
พระไตรปฎิ กที่เมืองนครศรีธรรมราชขนเขา้ มายังกรุงธนบุรี...” ๑๐
สำ� หรบั คมั ภรี ว์ ดั สมหุ นมิ ติ ทปี่ รากฏหลกั ฐานวา่ จารในสมยั กรงุ ธนบรุ พี บเพยี ง
ผกู เดยี วท่มี กี ารระบุศักราชไว้ ได้แก่
๑๐ พระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระด�ำรงราชานุภาพ, ต�ำนานหอพระสมุด หอพระ
มณเฑียรธรรม หออวชริ ญาณ หอพุทธสาสนสังคหะ แลหอสมุดส�ำหรับพระนคร (พระนคร:
โรงพมิ พโ์ สภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๕๙), หนา้ ๔.
34
ธาตุอาขฺยาตวิฏฺฐาร (๐๙๔) มีข้อความว่า “พุทฺธสกฺกราชไฑ ๒๓๑๙ ปี
วอฺ กอฏฐฺ สก”
๓. คมั ภีรส์ มยั กรงุ รัตนโกสินทร์
หลังจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนา
กรุงรัตนโกสนิ ทรใ์ นปี พ.ศ. ๒๓๒๕ แลว้ ไดท้ รงฟน้ื ฟูบา้ นเมอื งและศลิ ปวฒั นธรรม
ต่างๆ โดยเฉพาะในด้านพระพุทธศาสนาน้ัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง
พระไตรปิฎกฉบับหลวงข้ึน และต่อมาในปี พ.ศ.๒๓๓๑ จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีการ
สงั คายนาพระไตรปฎิ กท่วี ดั มหาธาตุ หลงั จากนนั้ จงึ มีรับส่ังให้สร้างพระไตรปิฎกขึ้น
ตามฉบับสังคายนาอีกหลายฉบับ ด้วยเหตุน้ีจึงปรากฏหลักฐานว่า ในรัชกาลน้ี
รวมทั้งในรัชกาลต่อมาของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีการสร้างคัมภีร์ใบลานขึ้นใหม่
หลายฉบับเพอ่ื ทดแทนของเดิมที่ช�ำรุด เสียหาย หรอื ถกู ท�ำลายไป๑๑
คัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิต ท่ีจารขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีจ�ำนวนมาก
ท้ังที่ปรากฏหลักฐานวันเวลาที่จารไว้อย่างชัดเจน หรือแม้จะไม่ปรากฏหลักฐาน
เกี่ยวกับวันเวลาท่ีจาร แต่จากการพิจารณารูปแบบตัวอักษรท่ีใช้ในการจาร ท�ำให้
สามารถก�ำหนดอายุได้ว่า เป็นคัมภีร์ที่จารข้ึนในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ดังสามารถ
จัดแบง่ ออกตามทีป่ รากฏวนั เวลาที่จารได้ดังนี้
๑๑ เร่อื งเดียวกนั , หนา้ ๖ – ๗.
35
รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๕๒)
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช นอกจากจะทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระไตรปิฎกฉบับส�ำหรับหอหลวงข้ึนแล้ว ยังทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระไตรปิฎกพระราชทานไปยังพระอารามหลวง
ทุกพระอาราม เพราะหนังสือตามวัดกระจัดกระจายสูญหายแต่คร้ังเสียกรุงเก่า
พระสงฆ์ไม่มีหนังสือท่ีจะเล่าเรียน จึงพระราชทานหนังสือฉบับหลวงให้จ�ำลอง
ไปไวส้ ำ� หรบั วดั ทงั้ ทที่ รงสรา้ งเปน็ หนงั สอื หลวงพระราชทาน กบั พระราชทานอนญุ าต
ใหพ้ ระยืมหนงั สือหลวงไปจารเองตามวัด๑๒
ด้วยเหตุนี้จึงปรากฏว่า คัมภีร์วัดสมุหนิมิตท่ีจารข้ึนในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีจำ� นวนมาก เช่น
มูลปจฺจยฺยการก ผูก ๘ (๐๔๘) มีข้อความว่า “ฃาพเจานายทองจีน
ผูผวั อำ� แดงสนผเู มยี มีสทาเชอี ในกสู ่นสางพระก�ำพมี ูลนใี วไนพระสาศห่ นา้ เขียฺนจบ่
ไนเดอีนเกาแรม ๕ ค�ำ พระพุท่ศักกระราศใด ๒๓๒๘ พระว่สาสังข่ยาเดอินใด ๔
เดอีนกับ ๔ วัน แลวไนเพลาเทยิงเป็นมูลคา ๕ ต�ำลึง ๑ บาท ๑ สลึง ๑ เฟื้อง
ถาผูใดเลาเรยนิ จ่งแบงสวนบุญใหฃาพเ่ จาบางเทดี ฃอ่ เปรปดไั จ้แกพระนิพภาร”
๑๒ เร่อื งเดยี วกนั , หนา้ ๗ – ๘.
36
โจทสนธิวิภตฺตินามวิภตฺติอาขฺยาตปริปุณฺณ (๐๖๔) มีข้อความว่า
“พฺรพุทฺธสกฺกราชหฺลวงไฑ ๒๓๒๙ พฺรวสฺสา เสสํขฺยาเดิอนไฑ ๓ เฑิอน เสสํขฺยา
วฺนหามิไฑติแลจกลาวกาลฺลปจฺจุปันปีมเมิยอฏฺฐสก ยูไนวฺนตฺรุฑเดิอนสิปขืนสิป
ค�ำวันพฺหัตเพลาเยฺนปริปุณฺณแลฯ สฺมิมนฺจานฺธโชฺตสางไวไนพฺรสาสฺสหฺนาขฺอไหฯ
เกิตมาทันพฺรสิอาริยเมตไตฺรเจาอันจมาตรัตไนชัวนิชัวหฺน้าโนฺนเทีต ขฺอไหส�ำเรทฺธิ
คฺวามปฺราสฺสหน้าข้าพฺรเจานีเทิต อายุวณฺโณสุกฺขํพลํ นิพฺพานปจฺจโยโหติ อนาคต
เตกาเล ยงั แตอนาคจจฺ มาคงั หนา้ นั้น ๒๖๗๑ พรฺ วสสฺ าแลฯ”
การกปกรณ ผกู ๙ (๐๙๔) มขี อ้ ความวา่ “พรฺ พทุ ทฺ สกกฺ ราชลวฺ งแลวฺ ไฑ ๒๓..
พฺรวสฺสา วฺนเสาร์ เดอื น ๙ ข้ึน ๕ คำ�่ ปีโวกโทสก ทานบุนภริ ยิ าชอื เหภคั ลกู ชือขนุ
ไกฺรพลฺลสิต โนฺงชือโทฺงค�ำอฺยูบานขางวัดหอไตฺรสางหฺนังสือนี้ไวไนวัดเวียงส ส�ำรัป
พฺรสาสฺนา ฃฺอไหเปฺนปจฺจยแกพฺรโพทฺธิญาณไหทานปูเลาเริยนแผสฺวนกุสฺนไหแก
ขาพเจาแลญาตทิ ังหลฺ ายตวฺ ยฺ ”
37
พรฺ มหาเวสฺสนตฺ รชาตกกุมาร (๑๑๖) หนา้ ทา้ ยมขี ้อความว่า “พรฺ พุทฺธสก
ราชลฺวงแลฺว ๒๓๓๒ พฺรวสฺสา”
ธมมฺ ปท ผกู ๔ (๑๐๓) มขี อ้ ความวา่ “อบุ ากสกิ าวดั ภรญาง อบุ าสกบนุ กรมนา
มิจิตฺตสทฺทาสางพฺรธมฺมปทบันปฺลายไวไนพฺรพุทฺสาสฺสนาส�ำเรจไนปีมโรฺงอฏฺฐส่ก
พทุ ฺธสาสกฺ ราช ๒๓๓๗ พฺรวสาปรฺ าสนฺ าพุทฺธภูมิไนอนาคตฺ แลฯ”
38
ทุติยสามนฺตปาสาทิก-อฏฺฐกถา-ปาจิตฺติย ผูก ๑, ๔ – ๑๐ (๐๐๕)
ใบลานมีข้อความว่า “สีกาบุญเลิยฺงสางส�ำรัปพฺรสาสฺหฺนาส�ำเรจปีเถาะ สพฺพสก
วนั ศกุ ร์ เดอื นยี่ ขึ้น ๑๕ คำ�่ พฺรพทุ ฺธสกกฺ ราชลฺวงแลวฺ ไฑ ๒๓๓๘ พฺรวสสฺ า”
พรฺ ะธมมฺ ปทปนฺ ปลฺ าย ผกู ๓ (๐๕๒) มขี อ้ ความวา่ “อสุ กิ าภตั รฺ าโญ, อบุ าสกบนุ
กรม่ นา มจิ ติ สทธฺ าสางพรฺ ธมฺมปํทบนั ปลฺ ายไวไ้ นพรฺ สาสนฺ า สำ� เรจจฺ ไนปมี โรงอฏฺฐสกฺ
พฺรพุททฺ สกฺกราชลฺวงไต ๒๓๓๙ พฺรวสาปฺราณาเปนฺ พทุ ทฺ ภมู ไิ นอนาคตตฺ แลฯ”
39
นนทกปกรณํ ผูก ๒ (๑๒๓) “ขาพพระเจาษ่หมเิ พัชเขยินถ่วายเจาประคนุ
วัดเหนอิ เมอิ พระพทุ ศกั ราชลวงแลวใดย ๒๓๔๒ ปมี ่แมเอกศก เดอิ น ๗ เปน็ วาระ
กำ� นดํ ยังอะนาคํชอกิ ๒๖๕๗ ปกิ ับ ๑๑ เดอินจงิ จถ่ วน ๕๐๐๐ พันพระวะษาแลขอให
เปน็ ปัดไจยแกณภี ารเทิดฯ”
40
พระมิลนิ ทฺ ปณฺหา ผกู ๑ – ๒ (๐๕๔) มีค�ำอธิษฐานวา่ “ฯ วันพุเดอิ นสิปขนึ
สิปสีค�ำ ปีจฺอจตฺวาสฺกพฺรพุทฺธสกฺกราชลฺวงแลฺวไฑ้ ๒๓๔๔ ปี ขาพฺรพุทฺธเจาทิตชืน
นายนาคเดียน มีสทฺธาสางนังสือก�ำภีพฺรมิลินฺทนีไวไนพฺระบวรพุทฺธสาสฺสนา ขาพฺร
พุทฺธิเจาปฺราถฺนาพฺระพุทฺธภูมฺมไนอนาคตฺตกาลฺล ไนเมิอยังมิไฑพุทฺธภูมฺมโกฺนนัน
ไส ฃอใหมีปญาเหฺมิอฺนนึงพฺระสาริปุตฺต อฺนึงขาพฺรพุทฺธิเขาฃฺอพฺอนแปฺตปฺรการแก
พฺระมหานากเจาผูจใฑโสเริยฺนแลส�ำแตฺงธมฺมก�ำภีพฺรมิลินฺธขอไห้ส�ำเรจฺจดังมโนรฏฺฐ
คฺวามปรฺ าฏฺฐนาเทติ ฯ”
มิลินฺทปณฺหาสํเขปฺป ผูก ๑ (๑๐๙) มีข้อความหน้าท้ายว่า “นังสือสิกา
แจมฺ ปรฺ โกปฺ ไปตวฺ ยสทธฺ าสางไวส�ำรปั พรฺ พทุ ธฺ สาสนฺ าเดชกสุ ลลฺ จงํ ไปเถงิ แกบติ ามาตา
คณาญาตทังปฺวง พรฺ อาจารปทฺ านชอื พฺรสวุ ณฺณโชตฺ ใฑเปน็ อปุ ฺปการเตชกสุ ลฺลฯ จใฑ
ปฺราถฺนาสมฺปตฺติปรมฺมจักฺกพัตแลอินฺนพฺรหฺมยมฺยักพฺรองใฑพฺรองฺคนึงนันหาบมิใฑ
ปรฺ ารถนฺ าพทุ ธฺ ภมู สงึ เตยี วฺ พรฺ พุ (ทธฺ ) สาสนฺ าลวฺ งแลวฺ ใฑ ๒๓๔๖ พรฺ วสสฺ า ปกี นู เบญจฺ สก”
41
ธาตอุ ุณาตกจฺจายณปริปูณฯ (๐๙๔) มีข้อความวา่ “พทุ ฺทสกฺกราชลฺวงไต
๒๓๔๗ พรฺ วัสสฺ า”
ธาตุอุณาทิ (๐๙๔) มขี ้อความวา่ “ฌฺรางเมอิ พฺรสาสสฺ นาไฑ ๒๓๔๘ พรฺ วสสฺ า
ปฉี ลฺ ุสพฺพสก่ ”
42
รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั (พ.ศ. ๒๓๕๒ – ๒๓๖๗)
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ปรากฏหลักฐานว่า
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรวจหนังสือพระไตรปิฎกในหอพระมณเฑียรธรรม
ไดค้ วามวา่ พระไตรปฎิ กขาดบญั ชไี ปบา้ ง สนั นิษฐานว่า นา่ จะเปน็ เพราะใหย้ ืมฉบับ
หลวงไปคดั ตามวดั ในสมยั รัชกาลที่ ๑ เจ้าพนกั งานหลงลมื ไมไ่ ดเ้ รียกฉบับกลบั มาให้
ครบ รชั กาลที่ ๒ จงึ ทรงสรา้ งหนงั สอื ขน้ึ ทดแทนในบญั ชที ขี่ าดไป และสรา้ งฉบบั หลวง
ขนึ้ ใหมเ่ พยี งจบเดยี ว เรยี กวา่ “ฉบบั รดนำ้� แดง” เพราะลานใบปกเขยี นลายรดนำ�้ พนื้ แดง
สันนิษฐานว่าสร้างไม่เสร็จก็ส้ินรัชกาล เพราะมีหนังสือลายรดน�้ำแดงสร้างเพ่ิมใน
รชั กาลที่ ๓ และรชั กาลที่ ๔ ปนอยู่เปน็ จ�ำนวนมาก๑๓
คมั ภรี ใ์ บลานวดั สมหุ นมิ ติ ทปี่ รากฏหลกั ฐานวา่ จารขนึ้ ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็
พระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีหลายคมั ภีร์ ดงั น้ี
พฺรโอวาทอนสุ าสนจฺบ (๐๘๗) มบี านแพนกหลวงวา่ “สริ สิ ภุ มสฑฺ พุ ฺรพทุ ธฺ
สกฺกราชล่วงแล้ว ๒๓๕๖ พฺรวสฺสาเสสสํขฺยาล่วงไฑ้สองเฑือนกับ ๖ วันปจฺจุปฺปนฺน
วันจันทร์ เดอื น ๘ แรม ๙ คำ�่ ปีรกาเปญจฺ ศกต สมฺเฑจพฺระสาวานรตนรับอาราธนา
พฺรองฺคเสฺฑจบรมฺมพิทพฺรราชสมฺภารเจ้าผู้ทฺรงพฺรคุณอันปฺรเสีฏฺฐ ทฺรงพฺรปฺรารพฺภ
เพอื จทนบุ ำ� รงุ พรฺ บวรพทุ ทฺ สาสนฺ าใหว้ ฒนาการรงุ เรอื งไปไนเบอ้ื งหนา้ ไหเ้ ปนฺ หติ านหุ ติ
ปฺรโยชฺนแก่พุทฺทบุตฺรทังปฺวง จ่ึงอาราธนาไห้ปฺรทานโอวาทไวเปฺนทางวตฺตปฺรฏิปตฺ
ตสิ ึกสาเลา่ เรียน...”
๑๓ เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๘.
43
อณุ าทกิ จจฺ ายนผกู ๘ (๐๕๙) มขี อ้ ความวา่ “พรฺ พทุ ธฺ สกกฺ ราชลวฺ งแลว้ ๒๓๕๖
พฺรวสสฺ า ปรี กาเบญฺจสฺก อุปาสกิ าต้มุ ทรฺ ่าง”
เนมรี าชชาฏก ผูก ๔ (๐๖๙) มขี อ้ ความว่า “ยงั ๒๖๔๑ ลวฺ ง ๒๓๕๘ วัน ๕
สาวณฺณเดีอน ยงั ๘ ลฺวง ๔ วัน ลวง ๓ ยงั ๒๕” เจา้ คณุ แต้งสาวทสฺสชาตตฺ ชาฏกกฺ
ไวส�ำรัปพฺรสาสฺสนา ข้าพฺรเจานายเพดข้าหฺลวงเขียรฃรับพฺรราชทารสฺวรบุญเจาคุณ
ทาน”
44
รัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว (พ.ศ. ๒๓๖๗ – ๒๓๙๔)
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ปรากฏหลักฐานว่า มีการ
สร้างพระไตรปฎิ กสำ� หรบั หอหลวง ๕ ฉบบั คือ ฉบับรดน�ำ้ เอก ฉบับรดนำ�้ โท ฉบับ
ทองน้อย ฉบับชบุ ย่อ และฉบับอักษรรามญั นอกจากนี้ยังทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ
ให้สร้างพระไตรปิฎกจบใหญ่พระราชทานส�ำหรับพระอารามหลวงอีก ๒ ฉบับ คือ
ฉบบั เทพชมุ นมุ พระราชทานใหว้ ดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม และฉบบั ลายกำ� มะลอ
พระราชทานให้วัดราชโอรส๑๔
คมั ภรี ว์ ดั สมหุ นมิ ติ ทปี่ รากฏหลกั ฐานวา่ จารขน้ึ ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระ
นงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มที งั้ ทเ่ี ปน็ ของราษฎรสรา้ ง พระสงฆส์ รา้ ง และทปี่ รากฏหลกั ฐานวา่
เปน็ ฉบบั ทข่ี นุ นางเปน็ ผสู้ รา้ ง รวมทงั้ ทปี่ รากฏแตป่ ที สี่ รา้ งแตไ่ มร่ ะบชุ อ่ื ผสู้ รา้ ง ไดแ้ ก่
มูลกจฺจายยฺ นาม ผูก ๑ (๐๗๘) มขี อ้ ความวา่ “สกกฺ ราชลฺวงแลฺวใฑ ๒๓๗๐
พรฺ วสาฯ มหารักขฺ สางใวสำ� หรฺ ปั พรฺ สาสฺสณาฯ”
พรฺ ธมมฺ ปทฏฐฺ กถากมพฺ ชุ ชฺ กสฺ รฉวฺ าต ๘ ผกู ผกู ๕ บนั ตนฺ (๐๗๓) มขี อ้ ความวา่
“สกกฺ ราชลวฺ งแลว้ ๒๓๗๑ พรฺ วสาฯ มหารกขฺ สางไวส�ำหฺรัปพรฺ สาสฺสน้าฯ”
มูลกจายฺยนาม ผูก ๒ (๐๗๘) มีข้อความว่า “สกฺกราชลฺวงแลฺว ๒๓๗๑
พรฺ วสาฯ มหารกั ขฺ สางไวสำ� มหฺรบั พฺรสาสนฺ าฯ”
มลู กจฺจายนอาขยฺ าต ผูก ๔ จบฯ (๐๗๘) มีขอ้ ความวา่ “สกกฺ ราชลวฺ งแล้ว
๒๓๗๑ พฺรวสาฯ มหารกขฺ สางไวสำ� หรฺ ปั พฺรสาสฺสนา้ ฯ”
พฺรธมมฺ ปทฏฐฺ กถา ผกู ๖ (๐๑๔) มีขอ้ ความทห่ี น้าปกว่า “สกฺกราชลวฺ งแล้ว
๒๓๗๑ พฺรวสฺสา มหารกขฺ สางไวส�ำหรฺ ปพรฺ สฺสนา”
พรฺ ธมมฺ ปทฏฐฺ กถากมฺพุชชฺ กสฺ รฉวฺ าต ผูก ๓ บนั ตนฺ (๐๗๓) มีข้อความวา่
“สกกฺ ราชลฺวงแลว้ ๒๓๗๒ พฺรวสาฯ มหารกฺขสางไวส�ำหรฺ ปั พฺรสาสสฺ นา้ แลฯ”
มูลลฺ กจจฺ ายนสมาส ผูก ๓ (๐๗๘) มขี อ้ ความวา่ “สกกฺ ราชลฺวงแลฺว ๒๓๗๑
พฺรวสาฯ มหารกั ขฺ สางไวสำ� มหฺรบั พรฺ สาสฺน้าฯ”
๑๔ เรอ่ื งเดยี วกนั , หนา้ ๙ – ๑๑.
45
ธาตุอาขฺยาต ผกู จฺป ๒ (๐๗๘) มขี อ้ ความว่า “พรฺ สาสฺสนาลวฺ งแลว้ ๒๓๗๙
พรฺ วสาฯ”
สตุ ฺตนิทฺเทส (๐๕๖) มขี อ้ ความว่า “๐ พระพทุ ธสักราชล่วงแลว้ ๒๓๘๐ พระ
วะสาปรี ะกานพสก เจา้ คณุ ปราสาทกะตา่ ยสา้ งพระไตรปฎิ กไวใ้ นพระสาศหนา ขอให้
เปน็ อปุ นิไสยปัดใจแก่พระนิพพานในอะนาคตการน้เี ทดิ ฯ”