The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือคัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by culturesru9991, 2022-11-13 22:32:13

หนังสือคัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิต

หนังสือคัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิต

46
พระอภธิ รรม, พระอณุ หสิ วไิ ชย (หนงั สอื บดุ ) (๐๒๑) มขี อ้ ความระบวุ นั เวลา
ท่ีสรา้ งวา่ “เขยี นจปฺ วันอาทติ เฑอื นสปิ เอตขน้ึ โสงคำ่� ปรี กานพสก พฺรพุทธฺ สาสนฺ าลวง
แล้ว ๒๓๘๐ สีกาทองคงสางไวในยพฺระสาศณาฃอใหฃ้าพเจ่าทันพฺระอาริไมตฺรีเจา
เทีตอะนาคะเตกาเลฯ”

พฺรวินยขนฺทก (๐๐๗) เกอื บทุกผกู มขี อ้ ความว่า “พฺรพทุ ฺธสกกฺ ราชลฺวงั แลว
๒๓๙๓ พรฺ วสสฺ า สีกากล่นิ ทรฺ างไว้ฯ”
จวี รวนิ จิ ฉฺ ยเผฑฺ จ ผูก ๑ (๐๐๗) มขี อ้ ความว่า “พฺระพุทฺธสกฺกราชลฺวงั ไฑ้
๒๓๙๓ ปีจอฺ โทสก สกี ากลฺ นิ ทรฺ างไวใ้ นพฺรพทุ ฺธสาสฺน่า”


47
พรฺ ปาฎโิ มกฺขวินจิ ฺฉยเผฺฑจ ผกู ๑ (๐๐๗) มขี อ้ ความว่า “พฺรพุทธฺ สกฺกราช
ลฺวงแลว้ ๒๓๙๓ พฺรวสฺสา ยายนนี ทฺรางไว”

ปพพฺ ชาวนิ ิจฉฺ ย ผกู ๑ – ๕, จมมฺ ขนธฺ ฯ, พรฺ เภสชชฺ ขนทฺ ผูก ๑ – ๒ (๐๓๑)
มขี อ้ ความว่า “พฺรพทุ ธฺ สกกฺ ราชลว้ งแลว ๒๓๙๓ พรฺ วสฺสา สีกากลิน่ ทรางไว้ฯ”
กลุ ทสู กสกิ ขฺ าปทวนิ จิ ฉฺ ย, สมี าวนิ จิ ฉฺ ยฯ, พรฺ อโุ ปสถวนิ จิ ฉฺ ย, เสนาสนขณฑฺ
วนิ จิ ฺฉยฯ (๐๓๑) มขี ้อความว่า “พฺรพทุ ธฺ สกฺกราช ๒๓๙๓ พรฺ วสสฺ า ปจี อฺ โทสกฺ สกี า
กลน่ิ ทร่างไว้ยฯ”
ธุตงคฺ วินจิ ฺฉยฯ (๐๓๑) มขี อ้ ความวา่ “พฺรพุทฺธสกฺกราชลฺวงแลว้ ไฑ้ ๒๓๙๓
พฺรวสสฺ าฯ สกี านริ ทราง”
รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั (พ.ศ. ๒๓๙๔ – ๒๔๑๐)
คัมภีร์วัดสมุหนิมิต ที่ปรากฏหลักฐานว่า จารขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว ได้แก่


48
พฺรสารสงคฺ ห ผกู ๑ – ๑๕ (๐๕๕) ผูกท่ี ๒, ๔, ๗, ๘ มีข้อความว่า
“พฺรพุทธฺ สกกฺ ราชลฺวงแล้ว ๒๓๙๕ พรฺ วสสฺ า ปชี วฺ ตจตฺวาสกฺ สกิ านุนทรางใว้ย”

คณฺฐาภรณ (๐๔๘) มีข้อความว่า “จ�ำลฺองส�ำเรจฺจแตนวัน ปีมโรฺงสก
พฺรพทุ ธฺ สกราชลวฺ งแลวไฑ ๒๓๙๙ ปี กัป ๓ เดอิ น อมิ นิ าปุญลกิ ฺขิเตน นพิ พฺ านปจจฺ
โยโหตุ อนาคเตฯ”
พระสารสงคฺ ห (๐๖๑) ผกู ท่ี ๔ มีข้อความว่า “ลฺวงแลว้ ๒๔๐๒ ยงั ๒๕๙๗”


49
พฺรสารสงคฺ ห ผกู ๑๐ (๐๕๘) มขี ้อความวา่ “พฺรพุทฺธสกฺกราชไฑ ๒๔๐๗
วสสฺ า เฑอี นลฺวงไฑ ๕ เฑอี น วันลฺวงไฑ ๑๑ วนั ปจฺจปุ ปฺ นนฺ ปีชวฺ ตฉสกฺ วสนตฺ ฤฑู
เฑีอน ๑๑ วัน ๕ฯ ขาฯ พฺรองฺคเจ้าบนฺเทิงคฺ มพี ฺรราชสทฺธาปริจาคธฺรพั ฺยโอกฺ สรฺ ้าง
พรฺ สารสงคฺ หไวไหเ้ ปนฺ สาสนจรี ตติ ถฺ กี าล ขอฺ ไหส้ ำ� เรทธฺ พิ รฺ นพิ พฺ านไนอนาคตตฺ กาลนน้ั
เทีส นิพพฺ านปจฺจโยโหตฯุ ”


50
รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั (พ.ศ. ๒๔๑๐ – ๒๔๕๓)
คัมภีร์วัดสมุหนิมิต ที่ระบุศักราชว่าจารขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ส่วนใหญเ่ ป็นคมั ภีร์ประเภทบาลไี วยากรณ์ (สัททาวิเสส)
ไดแ้ ก่
พฺระมูลกจฺจายน (ยกเว้นมูลกจฺจายนตทฺธิต) (๐๖๗) มีข้อความว่า
“ณ วันเสาร์ เดอื น ๑๒ ข้นึ ๖ คำ่� ปกี นุ นพศก๒๐ ๑๒๔๙ ” (พ.ศ. ๒๔๓๐)

พฺระมูลกจฺจายนกฺริต, ธาตุกฺริตส�ำเรทฺธิ, พฺรมูลกจฺจายนตทฺธิต, มูลกจฺ
จายนตทฺธิตจํปฺปริปูรฺณฺณแต่เทานี้ (๑๑๔) มีข้อความว่า “ณ วันเสาร์ เดือน ๑๒
ขึ้น ๖ ค่ำ� ปกี ุนนพศก ๑๒๔๙ (พ.ศ. ๒๔๓๐)”
พรฺ มูลกจจฺ ายนนาม ผกู ๑ (๐๙๒) มีข้อความวา่ “พฺรมลู กจจฺ ายนนี้ สิกา
ปฺรางสฺร้างไว้ในพฺรพุทฺธสาศฺนา ขฺอให้ข้าพเจ้าไฑ้ส�ำเร็จแก่พฺรปรินิพฺพานให้ไฑ้ฟัง
พฺรสทฺธมฺมเทศฺนาขฺองพฺรเมตฺเตยถ้ายังท้องเที่ยวอยู่ในวฏฺฏสารตฺราบไฑ ขึ้นช่ือว่า
คฺวามเขญใจอฺญา่ ใหบ้ งฺเกดิ มีแกข้ ้าพเจ้าทุกๆ ชาตจฺนกรฺ าบท้าวเข้าสู่พรฺ ปรินิพฺพานฯ
ล่วงแลว้ ๒๔๔๑”


51
มูลฺลกจฺจายนสนฺธิ ผูก ๑ (๐๔๘) มีข้อความว่า “มูลกจฺจายนสนฺธิผูกนี
ของพฺรคฺรูรตฺศมูนีสีสงฺฆราชาลงฺกาแก้วเมิอฺงไชยฺยาสางไว้ไนพฺรพุทฺธสาสฺหฺนาจ้างหฺลวฺง
บ�ำรุงราชฺชกิจฺจเปฺนผู้เขิยฺนๆ จฺบนวันจนฺธรเฑิอฺน ๑๑ ขึน ๔ ค�ำ ปีมสิงสพฺพสฺก
พรฺ พทุ ธฺ สาสสฺ หนฺ าลวฺ งแลว้ ไฑ้ ๒๔๔๘ พรฺ วสสฺ าฯ นพิ พฺ านปจจฺ โยโหมิ อนาคตกาเลฯ”

รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ วั (พ.ศ. ๒๔๕๓ – ๒๔๖๘)
คัมภีร์วัดสมุหนิมิต ท่ีระบุปีศักราชว่า จารข้ึนในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั ได้แก่
พรฺ เวสสฺ นตฺ รชาฏกกณฑฺ สกกฺ ปพพฺ ผกู ๑๐ (๑๑๑) มขี อ้ ความวา่ “พรฺ สมหุ ม์ ยั
สฺรางเมือ พ.ศ. ๒๔๖๓ พรรณษาฯ”
พรฺ ธมมฺ ปทบนั้ ตณ้ ณฺ (๑๒๐) มขี อ้ ความวา่ “ขา้ พเจา้ พรภไู่ ฑเ้ อาเรยี นกบั เจา้ คณุ
พรฺ ชยาภิวฒั น์ เมอ่ื พุทธฺ ศกั กฺ ราชล่วงแลว้ ๒๔๖๘ พรรษา”


52

รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ วั (พ.ศ. ๒๔๖๘ – ๒๔๗๗)
คัมภีร์วัดสมุหนิมิต ที่ระบุปีศักราชว่า จารข้ึนในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั สว่ นใหญเ่ ป็นคมั ภรี ม์ หาเวสสนั ดรชาดก ไดแ้ ก่
พฺรเวสฺสนฺฑรชาฏกกณฺฑวนฺนปฺรเวสฺสกณฺฑที ๖ (๑๑๑) มีข้อความว่า
“พรฺ สมหุ ม์ ัยสรฺ างไวเ้ มื่อ พ.ส. ๒๔๗๐”
จุลวนั นานิตถีตา (๑๑๙) มีข้อความวา่ “เขียนเมื่อวนั พุธ เดือน ๔ ขน้ึ ๔ คำ่�
พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๗๐ พรรษา พระทิมผู้สรา้ งผเู้ ขียน”
กัณฑ์มหาวณั ณา, กัณฑก์ ุมาร และมหาราช (๑๑๙) มวี นั ท่ี (๑/ ๑ / ๒๔๗๓)


53
พรฺ ธมฺมปทฏฺฐกถา ผกู ๑, ๓ – ๒๐ (๐๔๑) ผ้าหอ่ มีข้อความว่า “๐ เมอื่ พุทธ
ศก ๒๔๗๐ พรรษาฯ ฃา้ ฯ ชอ่ื พระชยาภวิ ฒั น์ฯ (หน)ู อายุศม์ ๗๑ ปี พรรษา ๕๑
มีจิตร์ศรัทธา เอาผ้ายกของบิดาฉีกสองท่อนมอบเย็บเป็นผ้าห่อพระธรรมเพ่ือแผ่
ผลกศุ ลน้ี แกญ่ าติแหละบิดา มารดา แหละสัตว์โลกท่ัวลา่ ฯ”


54
พรฺ ธมฺมปท บันปลฺ าย ผูก ๑ – ๒๐ (๐๔๒) ผา้ ห่อมีข้อความว่า “๐ เม่ือ
พุทธศก ๒๔๗๐ พรรษาฯ ฃา้ ฯ ชอื่ พระชยาภิวฒั นฯ์ (หน)ู อายุศม์ ๗๑ ปี พรรษา ๕๑
มีจิตร์ศรัทธา เอาผ้ายกของบิดาฉีกสองท่อนมอบเย็บเป็นผ้าห่อพระธรรมเพ่ือแผ่
ผลกศุ ลน้ี แก่ญาติแหละบดิ า มารดา แหละสตั วโ์ ลกทั่วล่าฯ”
อยา่ งไรกต็ ามยงั มคี มั ภรี ใ์ บลานวดั สมหุ นมิ ติ ทน่ี า่ จะสรา้ งขน้ึ ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์
แต่ไม่ปรากฏช่ือผู้สร้างหรือผู้จาร รวมท้ังไม่ปรากฏวันเวลาที่จารเป็นจ�ำนวนมาก
ในที่น้จี ึงกล่าวถงึ แต่คัมภรี ท์ ี่มีระบวุ นั เวลาทจี่ ารอยา่ งชดั เจนเทา่ น้ัน
จากที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่า คัมภีร์ใบลานวัดสมุหนิมิตมีความเก่าแก่มาก
เพราะปรากฏหลักฐานว่ามีการจารข้ึนต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สืบเนื่อง
มาจนถึงสมัยรัชกาลท่ี ๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แม้ว่าในเวลานั้นจะเริ่มมีการพิมพ์
พระไตรปฎิ กและคมั ภรี อ์ นื่ ๆ ท่เี ปน็ ภาษาบาลดี ้วยอักษรไทยแลว้ กต็ าม แต่การทย่ี งั
คงมีการสร้างคัมภีร์อยู่ซึ่งแสดงให้เห็นถึงคติในเร่ืองการสร้างคัมภีร์ใบลานถวายไว้
กับพระอารามทีย่ ังคงมีสบื เนอื่ งตอ่ มานน่ั เอง


55


56


57


58


59


สารสงั เขปคัมภีร์วดั สมุหนมิ ติ
คัมภีร์ใบลานท่ีพบในวัดสมุหนิมิตมีจ�ำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นคัมภีร์

ทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย พระไตรปิฎก (พระพทุ ธวจนะ หรอื พระบาลี)
พระอรรถกถา ฏกี า อนฏุ กี า โยชนา คัณฐี หนังสือบาลีไวยากรณ์ หนังสือสวดมนต์
หนังสือเทศน์ ซ่ึงสามารถจัดแบ่งตามหมวดคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาตามขนบ
การแบง่ ของไทยตง้ั แตโ่ บราณออกได้ ๔ ประเภท คอื พระวนิ ยั ปฎิ ก พระสตุ ตนั ตปฎิ ก
พระอภธิ รรมปิฏก และพระสทั ทาวเิ สส ดังนี้
๑. พระวนิ ยั ปิฎก
พระวินัยปิฎกเป็นคัมภีร์ท่ีบันทึกค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ในส่วนที่เป็นกฎ
ระเบียบ ข้อห้าม และข้อบังคับที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ ถ้าผู้ใดละเมิดระเบียบ
นั้นย่อมอาบัติ พระวินัยปิฎกจึงมีความส�ำคัญมาก เพราะเป็นข้อบังคับท่ีป้องกัน
ไมใ่ หส้ าวกประพฤตใิ หเ้ กดิ ความเสอื่ มเสยี แกพ่ ระพทุ ธศาสนา๑๕ พระวนิ ยั ปฎิ กสามารถ
จัดแบ่งออกไดเ้ ป็น ๕ หมวดใหญๆ่ คอื
มหาวภิ งั ค์ หรอื ภกิ ขวุ ภิ งั ค์ วา่ ดว้ ยศลี ของพระภกิ ษทุ ม่ี มี าในพระปาฏโิ มกข์
(คือศีล ๒๒๗ ขอ้ ท่พี ระสงฆต์ ้องสวดทบทวนในที่ประชมุ สงฆท์ กุ ๑๕ วัน ของเดอื น)
แบ่งเปน็ ๒ คมั ภีร์ คือ อาทิกมั ม์ และปาจิตติย๑์ ๖
ภกิ ขณุ วี ภิ งั ค์ วา่ ดว้ ยตน้ บญั ญตั สิ กิ ขาบทใหญน่ อ้ ย (ศลี ) ซง่ึ พระพทุ ธเจา้ ทรง
บญั ญตั แิ ก่ฝ่ายนางภกิ ษุณ๑ี ๗ มี ๓๑๑ ข้อ
มหาวรรค วา่ ดว้ ยกจิ การแหง่ สงฆ์ หมวดใหญ่ ทเ่ี รยี กวา่ ขนั ธกะตา่ งๆ๑๘ คอื
หมวดตา่ งๆ ๑๐ หมวด
จุลวรรค ว่าด้วยกิจการแห่งสงฆ์ หมวดเล็กท่ีเรียกว่า ขันธกะต่างๆ๑๙ คือ
หมวดตา่ งๆ ๑๒ หมวด

๑๕ พฒั น์ เพง็ ผลา, ประวตั วิ รรณคดบี าลี (กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง, ๒๕๓๕), หนา้ ๔๙.
๑๖ บาญชีคัมภีร์ภาษาบาลี แล ภาษาสันสกฤต อันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณ
ส ำ� หรับพระ๑๑๑น๘๗๙ คเเเรรรร่ืออ่ื่อื เงงงมเเเดื่อดดปยีียยี วีวววอกกกกันันนั .,พ. ห.ศน.า้ ๒ ๔๒๖. ๓ (พระนคร: โรงพิมพโ์ สภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๖๔), หนา้ ๑.


62
ปรวิ าร วา่ ด้วยประชมุ ข้อความสำ� หรบั สอบสวนวนิ ัยเพ่ือใหช้ ัดเจนขน้ึ ๒๐
ต่อมาพระพุทธโฆสาจารย์ ได้แต่งคัมภีร์อรรถกถา อธิบายความพระวินัยปิฎก
ไว้ ๒ คมั ภีร์คอื สมันตปาสาทิกา เปน็ อรรถกถาอธิบายความพระวนิ ัยปฎิ กทงั้ ๕
หมวดที่กล่าวมา คือ ภิกขุวิภังค์ ภิกขุณีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร๒๑
นอกจากน้ียังแต่ง กังขาวิตรณี ซึง่ เปน็ อรรถกถาพระปาฏโิ มกข์อีกด้วย๒๒
นอกจากนีไ้ ดม้ พี ระเถระแตง่ คัมภรี ์ประเภทฏกี า อนุฏกี า ฯลฯ อธิบายความ
ในพระวินัยปฎิ กอีกหลายคมั ภีร์ เช่น สารัตถทปี นี ฎีกาพระวนิ ัย๒๓ วชิรพทุ ธิ ฎกี า
พระวินัย ของพระวชิรพทุ ธ๒ิ ๔ เปน็ ต้น
ส�ำหรับคัมภีร์ใบลานที่พบ ณ วัดสมุหนิมิต มีคัมภีร์ที่จัดอยู่ในประเภท
พระวินยั ปฎิ กหลายคัมภีร์ ดังนี้
พระอาทิกมั ม์
เปน็ คัมภีร์แรกใน มหาวภิ งคฺ วา่ ดว้ ยสกิ ขาบทต้งั แต่ปาราชิกสกิ ขาบท ไปจบ
เพียงอนิตยสิกขาบท มสี บิ เกา้ สกิ ขาบท๒๕ คัมภรี ์อาทิกมั มท์ ่ีพบในวัดสมุหนมิ ิต มีทง้ั
พระอาทิกมั ม์และโยชนาของคัมภรี ์สามนั ตปาสาทกิ าอรรถกถาพระอาทกิ ัมม์ ไดแ้ ก่
๐๕๘ พรฺ อาทกิ มมฺ ๑๓ ผูก
๐๘๙ พฺรอาทิกมฺม ผกู ๑ – ๑๒ (ผกู ๒ ซ้ำ� กัน ๒ ผกู ขาดผกู ๖)
๑๐๖ พรฺ อาทกิ มมฺ กมวฺ ชุ ชฺ กฺสรฉวฺ าต ผูก ๓ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี)
๑๐๖ พรฺ อาทิกมฺม ผกู ๔ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล)ี
๑๐๖ พฺรอาทกิ มมฺ ผูก ๔
๑๐๙ พฺระอาทกิ มมฺ ผกู ๑ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี)
๐๔๐ ปถมสามนฺตปาสาทิกอฏฐฺ กถาพรฺ ะอาทกิ มฺม ผูก ๑ – ๒๔
๑๐๒ พรฺ ปถมสามนฺตปาสาทกิ ธมฺมกถา ผูก ๑ – ๒๔

๒๐ เร่อื งเดียวกนั . หนา้ ๔. Pakdeekham, Pali Literature Transmitted in Central Siam
๒๑ เรือ่ งเดียวกนั . หนา้ ๒.
๒๒ เรอื่ งเดยี วกัน, หนา้ ๓.
๒๓ เรอื่ งเดยี วกนั , and Santi
๒๔ เรื่องเดยี วกนั ,
๒๕ Peter Skilling

(Bangkok: Fragile Palm Leaves Foundation/ Lumbini International Research Institute, 2002), p. 2.


63

ปาจติ ตยี ์
เปน็ คมั ภรี ท์ ่สี องใน มหาวิภังค์ วา่ ดว้ ยนสิ สัคคิยปาจติ ติยสกิ ขาบท ไปจนจบ
อธิกรณสมถ๒๖ คมั ภีรใ์ บลานวดั สมหุ นมิ ิตที่มีเนอ้ื หาจัดอยใู่ นปาจิตตฺ ิย ได้แก่
๐๐๕ ทตุ ยิ สามนฺตปาสาทกิ -อฏฐฺ กถา-ปาจติ ตฺ ยิ ผกู ๑, ๔ – ๑๐

มหาวัคค์
เป็นคัมภีร์ที่สามใน พระวินัยปิฎก ว่าด้วยกิจการแห่งสงฆ์ หมวดใหญ่๒๗
คัมภรี ์มหาวคั ค์ที่พบในวัดสมหุ นมิ ติ พบเพยี งคมั ภีรอ์ รรถกถาดงั น้ี
๐๐๔ ตตสิ ามนฺตปาสาทกิ อฏฐฺ กถามหาวคฺค ผูก ๗ (ขอมบาลี)

จุลวคั ค์
เปน็ คมั ภีร์ทีส่ ี่ใน พระวนิ ยั ปิฎก วา่ ด้วยกจิ การแห่งสงฆห์ มวดเล็ก มสี ิบสอง
ขนั ธกะ๒๘ ไมพ่ บคมั ภรี จ์ ุลวคั คใ์ นวัดสมหุ นมิ ิต
ปริวาร
เปน็ คมั ภรี ท์ ห่ี า้ ใน พระวนิ ยั ปฎิ ก วา่ ดว้ ยประชมุ ขอ้ ความสำ� หรบั สอบสวนวนิ ยั
เพอื่ ใหช้ ดั เจนขึน้ รวบรวมแสดงเปน็ หมวดหมู่ มีย่ีสิบเอ็ดตอน๒๙ ไม่พบคมั ภีร์ปรวิ าร
ในวดั สมหุ นิมติ
ปาฏโิ มกข์ (ภกิ ขุปาฏิโมกข์)
วา่ ดว้ ยอทุ เทสบญั ญตั สิ กิ ขาบทซงึ่ คดั มาจากคมั ภรี ม์ หาวภิ งั ค์ คมั ภรี ป์ าฏโิ มกข์
ทพี่ บในวัดสมุหนมิ ิต มีทง้ั พระปาฏโิ มกข์ และคัณฐปี าฏโิ มกข์ ไดแ้ ก่
๐๑๙ พรฺ ปาฏิโมกฺข (ขอมรตั นโกสินทร์)
๐๒๓ พฺรปาฏโิ มกฺข (ขอมบาลี)
๐๗๕ พฺรปาฏิโมกขฺ สวํ รสีล (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
๑๐๖ พรฺ ปาฏโิ มกขฺ ปาฬี

๒๒๒๒๘๗๖๙ IIIIbbbbiiiidddd,,,, p. 11.
p. 16.
p. 7.
p. 10.


64

๑๑๘ พฺรปาฏิโมกขฺ แปลฺ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาไทย)
๑๑๒ พรฺ คนถฺ ปี าฏโิ มกขฺ สวํ รสีล
๑๒๘ คณฺฐพี รฺ ปาฏโิ มกฺขสงวฺ รสีลผกู ๑ (ขอมไทย)
คัมภรี ์อื่นๆ ในหมวดพระวินยั ปฎิ ก
คมั ภรี ท์ ่นี ับเน่ืองในหมวดพระวินัยปฎิ กเรื่องอน่ื ๆ ทพ่ี บในวัดสมุหนมิ ติ เชน่
๐๒๖ พรฺ วชริ พุทธฺ ิฏีกา ผูก ๑๔ – ๒๖
เป็นฎกี าพระวนิ ยั ผลงานของพระวชริ พทุ ธ๓ิ ๐
๐๐๗ พฺรวนิ ยขนทฺ ก
๐๓๑ พฺระขนทฺ กวินจิ ฺฉย
๐๔๔ พรฺ วนี ยสกิ ขฺ าปทวนิ จิ ฉฺ ยยฺ เผฑฺ จ
เป็นคัมภีร์ว่าด้วยกิจการแห่งสงฆ์เป็นหมวดๆ ตามข้อบัญญัติใน
ขันธกวินยั ๓๑
๐๒๓ กถินขนฺท (ขอมอยุธยา ไทยย่อ), วินยสิกฺขาขนฺธก (ขอมอยุธยา
ภาษาไทย), ปถมปาราชิก (ขอมไทย), สิกฺขาปทวินิจฺเฉยฺยเผฺตจกมฺ
พุชชฺ กสฺ รฉวาต ผกู ๑ – ๒ (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)
๒. พระสุตตนั ตปิฎก
พระสุตตันตปิฎก หมายถึง คัมภีร์ที่บันทึกและรวบรวมค�ำสอนของ
พระพุทธเจ้าในส่วนที่เป็นธรรมะโดยมีประวัติที่มาและเร่ืองราวประกอบด้วย พระ
สตุ ตนั ตปฎิ กถอื วา่ เปน็ เนอื้ หาทส่ี ำ� คญั มากเพราะเปน็ สว่ นทบ่ี นั ทกึ รวบรวมพระธรรม
ที่พระพุทธเจ้าเทศนาในที่ต่างๆ๓๒ พระสุตตันตปิฎกแบ่งออกเป็น ๕ หมวดเรียกว่า
“นิกาย”๓๓ คือ
ทีฆนิกาย แปลว่า หมวดยาว เป็นหมวดที่รวบรวมพระสูตรขนาดยาวไว้
จำ� นวน ๓๔ สตู ร

๓๐ บาญชีคัมภีร์ภาษาบาลี แล ภาษาสันสกฤต อันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณส�ำหรับ
พระนคร เม๓๓๓อ่ื ๒๓๑ปเสพีวรรฒัอ่ือุปกงนคเ์วดพเาพีย.ศมง็ว.จผก๒าลันก๔า,,๖เหรป๓อ่ืนร,ง้าะหเ วดน๗ตั า้ีย.วิ ว๓รก.รันณ,คหดนบี า้ า๖ล๑,ี
หนา้ ๖๑.
– ๖๔.


65

มชั ฌิมนกิ าย แปลวา่ หมวดปานกลาง เป็นหมวดทร่ี วบรวมพระสูตรขนาด
กลางไวจ้ ำ� นวน ๑๕๒ สตู ร
สังยุตตนิกาย แปลว่า หมวดประมวล เป็นหมวดที่ประมวลเรื่องประเภท
เดียวกนั ไวเ้ ปน็ หมวดหมเู่ ดียวกัน มจี ำ� นวนพระสตู ร ๗๗๖๒ สูตร
อังคุตตรนิกาย แปลว่า หมวดย่ิงด้วยองค์ เป็นหมวดที่จัดล�ำดับธรรมะไว้
ตามลำ� ดับตวั เลข มี ๙๕๕๗ สตู ร
ขทุ ทกนิกาย แปลวา่ หมวดเลก็ หมวดนอ้ ย มี ๑๕ เรอื่ ง คอื
ขทุ ทกปาฐะ เปน็ บทสวดสนั้ ๆ ท่ีเกยี่ วกับพระพทุ ธศาสนา
ธรรมบท เป็นธรรมภาษิตสัน้ ๆ ประมาณ ๓๐๐ บท
อทุ าน เปน็ ธรรมภาษติ ที่พระพุทธเจ้าทรงเปลง่ เป็นคำ� อทุ าน
อิติวุตตกะ เป็นข้อความที่อ้างอิงว่าพระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสข้อความ
เหลา่ นี้ไว้
สตุ ตนิบาต เปน็ การรวบรวมพระสูตรเบด็ เตล็ดไวด้ ว้ ยกนั
วมิ านวัตถุ กล่าวถึงเรือ่ งราวของผ้ไู ดว้ มิ าน
เปตวัตถุ กลา่ วถงึ เรอื่ งราวของเปรต
เถรคาถา เป็นภาษติ ของพระเถระผูเ้ ป็นพระอรหันตสาวก
เถรคี าถา เป็นภาษิตของพระเถรีผู้เปน็ พระอรหนั ตสาวิกา
ชาดก เปน็ ภาษิตที่ประกอบกบั การเล่านทิ าน
นทิ เทส เปน็ คำ� อธิบายพทุ ธภาษิตในสตุ ตนบิ าต
ปฏิสัมภิทามรรค เป็นค�ำอธิบายหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของ
พระสารีบตุ ร
อปทาน เป็นประวตั ิของพระพทุ ธเจ้า และพระอรหนั ตสาวก
พทุ ธวงศ์ กลา่ วถงึ วงศ์ของพระอดีตพทุ ธเจา้ ๒๔ พระองค์
จรยิ าปิฎก เป็นคมั ภรี ท์ ี่แสดงการบ�ำเพ็ญบารมขี องพระพุทธเจา้
ในเวลาต่อมา ได้มีการรจนาคัมภีร์อรรถกถา เพ่ืออธิบายความในพระสุต
ตันตปิฎกหลายคัมภีร์ เช่น สุมังคลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกาย๓๔ ปปัญจสูทนี
อรรถกถามัชฌิมนกิ าย๓๕ เป็นตน้ รวมท้ังมีคมั ภีรใ์ นช้นั ฏีกา อนฏุ กี า ฯลฯ ที่แต่งขน้ึ

๓๔ บาญชีคัมภีร์ภาษาบาลี แล ภาษาสันสกฤต อันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณส�ำหรับ
พระนคร เม๓ือ่ ๕ปเวีรออ่ื กงเดพีย.ศว.ก๒ัน๔,๖ห๓น, า้ห น๑๐า้ .๙.


66
เพ่ืออธิบายความในสุตตันตปิฎก อีกหลายคัมภีร์ เช่น ลีนัตถปกาสนา ฏีกา
ทฆี นกิ าย๓๖ สาธวุ ลิ าสนิ ี นวฏกี าทฆี นกิ าย๓๗ ฯลฯ เป็นตน้
คัมภีร์ใบลานวดั สมุหนิมิต พมุ เรียง ท่นี บั เน่อื งเขา้ ในหมวดพระสุตตันตปฏิ ก
มีดังนี้
ทฆี นกิ าย
เปน็ คมั ภรี ท์ รี่ วบรวมพระสตู รขนาดยาว จดั แบง่ เปน็ ๓ วรรค คอื สลี กั ขนั ธวคั ค์
มหาวคั ค๓์ ๘ และปาฏกิ วคั ค์ คัมภีรท์ ีฆนกิ ายทพ่ี บในวัดสมุหนมิ ิต ได้แก่
๑๒๔ พฺระทีฆนิกายสีลขนฺธวคคฺ ผกู ๓
มัชฌิมนกิ าย
เปน็ หมวดทีร่ วบรวมพระสตู รขนาดกลางไวจ้ �ำนวน ๑๕๒ สตู ร คมั ภรี ์มชั ฌิม
นกิ ายและอรรถกถาท่ีพบในวัดสมุหนิมิต ไดแ้ ก่
๐๕๗ ปาถมชฺฌิมนิกายมชฺฌิมปณณฺ าส ผูก ๑ – ๒๑
๐๖๓ มชฌฺ ิมนิกายมชฌฺ ิมปณณฺ าส ผูก ๑ – ๑๗
๐๘๗ มชฌฺ ิมนกิ ายมูลฺลปณณฺ าส ผูก ๔ สตปิ ฏฺฐานสูตร
๐๖๖ ปปญจฺ สทุ นอี ฏฺฐกถามชฌฺ ิมนิกายมชฺฌิมปณาส ผกู ๑ – ๑๘
สงั ยตุ ตนกิ าย
เปน็ หมวดทป่ี ระมวลเรอื่ งประเภทเดยี วกนั ไวเ้ ปน็ หมวดหมเู่ ดยี วกนั มจี ำ� นวน
พระสตู ร ๗๗๖๒ สตู ร คัมภีรส์ งั ยุตตนกิ ายที่พบในวดั สมุหนิมติ ไดแ้ ก่
๐๔๓ สยํ ตุ ฺตนกิ าย สคาถาวคคฺ ผกู ๖

๓๓๓๗๘๖ เPเรรeื่ออ่ื teงงrเเดดSยีียkววilกกliันnันg,, หน้า ๙. Pakdeekham, Pali Literature Transmitted in Central
Siam, p. 84. หน้า ๑๐.
and Santi


67
อังคุตตรนกิ าย
เปน็ คมั ภีรท์ รี่ วบรวมธรรมเปน็ หมวดๆ มีองคต์ ่างๆ ต้งั แต่องค์ ๑ ถงึ องค์ ๑๑
แบง่ เปน็ ๑๑ หมวด๓๙ คัมภีรอ์ ังคตุ ตรนิกายและอรรถกถาที่พบในวดั สมุหนมิ ติ ไดแ้ ก่
๐๔๓ องฺคตุ ตฺ รานิกาย ทกุ ฺกนิปาต ผกู ๑, องฺคตุ ฺตรานิกาย ติกนปิ าต ผูก
๑ – ๒, องฺคุตตฺ รานิกาย
๑๐๙ มโนรถปรุ ณิอฏฐฺ กถาองฺคตุ ตฺ รนกิ าย ผูก ๑
ธมั มปทัฏฐกถา
ธัมมปทัฏฐกถา หรือ อรรถกถาธรรมบท เป็นคัมภีร์อธิบายคาถาธรรมบท
สันนิษฐานว่าเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ แบ่งเป็นบั้นต้น และบั้นปลาย๔๐
คัมภรี ์ธัมมปทัฏฐกถาท่ีพบในวดั สมหุ นมิ ิต มีจำ� นวนมาก เชน่
๐๑๐ พรฺ ธมมฺ ปทบน้ั ตน้ ผูก ๑ – ๒๐
๐๑๒ พฺรธมมฺ ปท บนั้ ต้น ผกู ที่ ๑ – ๒๐
๐๑๓ พรฺ ธมฺมปทฏฐฺ กถากมพฺ ชุ ชกสฺ รฉฺวาต ๑๙ บั้นตน้
๐๑๔ พรฺ ธมมฺ ปทฏฐฺ กถา ผกู ๖, ๗, ๙, ๙, ๑๒, ๑๓, ๑๖, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๐
๐๑๕ พรฺ ธมมฺ ปท บัน้ ตน้ ผกู ๓ – ๒๐
๐๑๖ พฺระธมมฺ ปท บันต้น ผกู ๒ – ๒๐
๐๑๘ พฺรธมฺมปทฏฺฐกถากมฺพุชฺชกฺสรฉวาต บั้นต้น ผูก ๑๐, ๑๐ ๑๑,
พฺรธมมฺ ปท บน้ั ปลาย ผูก ๑ – ๖, ๘ – ๙, ๑๙
๐๒๒ พรฺ ะธมมฺ ปทฏฺฐกถา ผกู ๒ – ๒๐
๐๒๙ พฺรธมมฺ ปท บ้นั ต้น ผกู ๓ – ๒๒
๐๓๔ พฺรธมฺมปท บัน้ ต้น ผูก ๒ – ๒๐
๐๓๕ พฺรธมมฺ ปทฏฺฐกถา ผกู ๑ – ๒๐

๓๙ Ibid, p. 35. แล ภาษาสนั สกฤต อนั มฉี บบั ในหอพระสมดุ วชริ ญาณสำ� หรบั
๔๐ บาญชคี มั ภรี ภ์ าษาบาลี

พระนคร เม่อื ปวี อก พ.ศ. ๒๔๖๓, หนา้ ๑๕.


68
ชาตกฏั ฐกถา
ชาตกัฏฐกถา หรืออรรถกถาชาดก เป็นคัมภีร์อธิบายความในคาถาชาดก
แบง่ ออกเป็น ๒๒ คมั ภรี ์ ตามจำ� นวนคาถา ต้งั แต่เอกนปิ าตชาตก๔๑ จนถงึ มหานิปาต
ชาตก คมั ภีรช์ าตกัฏฐกถาที่พบในวดั สมุหนมิ ติ ไดแ้ ก่
๐๐๒ พฺรวิธูรปณฺฑิตชาฏกผูก ๒ พฺรปาฬีผูก ๑ (ขอมไทย), พฺระภูริทตฺต
ชาฏก ผกู ๓, ๔ ฯ พฺรปาฬีผกู ๒ ฯ (ขอมไทย), พรฺ ะภรู ิทตตฺ ชาฏก ผูก ๑ อาจารณา
ตามปฺ ฺรสงฺ
๐๐๓ พระโปริสาทชาดก
๐๐๙ พฺรมหาเวสสฺ นตฺ รชาตกปาโถ ผูก ๑ – ๑๓
พฺรมหาเวสสฺ นตฺ รชาตกวนปฺปเวสนกมฺพุชกฺสร ผกู ๔ (ขอมอยธุ ยา)
พฺรมหาเวสฺสนฺตรชาตกมทฺทิปพฺพ – สกฺกปพฺพ ผูก ๙ – ๑๐
(ขอมอยุธยา)
พรฺ มหาเวสฺสนตฺ รชาตกชชู ก ผูก ๕ (ขอมรตั นโกสินทร)์
ทานกณฑฺ (ขอมอยธุ ยา)
มหาวณฺณ ผูก ๗ (ขอมรตั นโกสินทร)์
มหาวน ผูก ๗ (ขอมอยธุ ยา)
พรฺ มหาเวสฺสนฺตรชาฏก หิมพาน (ขอมอยุธยา)
มททฺ โิ ขฺงเราเอฺง ปริปณุ ฺโณ ผกู ๗ (ขอมอยธุ ยา)
พฺรมหาเวสสฺ นฺตรชาฏกชชู ก ผูก ๕ (ขอมรัตนโกสนิ ทร)์
พรฺ มหาเวสสฺ นฺตรชาตกทสพรปาโถ (ขอมอยุธยา)
พฺรมหาเวสสฺ นฺตรชาฏก ผกุ ๑ ฯ ทสวรฯ (ขอมอยุธยา)
จุลฺลพลฺล ผกู ๖ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์)
จุลลฺ พลฺล ผกู ๖ (ขอมรตั นโกสนิ ทร)์
จลุ ลฺ พลลฺ ผกู ๖ (ขอมอยธุ ยา)
พรฺ มหาเวสฺสนตฺ รชาฏกํ วนปฺปเวสกณฺฑํ (ขอมอยธุ ยา)
ทสพรชาฑก (ขอมอยุธยา)

๔๑บาญชคี มั ภรี ภ์ าษาบาลี แล ภาษาสนั สกฤต อนั มฉี บบั ในหอพระสมดุ วชริ ญาณสำ� หรบั
พระนคร เมื่อปวี อก พ.ศ. ๒๔๖๓, หนา้ ๑๗.


69
พฺระมหาเวสสฺ นฺตรชาฏกหมิ วัน ๒ (ขอมอยธุ ยา)
ชาฑก (ขอมอยุธยา)
๐๒๐ มหาเวสสฺ นตรชาตก ไดแ้ ก่
ทสพร ๑ ผกู
หิมพานต์ ๒ ผูก
ทานกัณฑ์ ๒ ผกู
วนประเวส ๑ ผูก
ชชู ก ๓ ผกู
จลุ พน ๑ ผกู
ก ุมารบรรพ ๓ ผกู
มทั รี ๒ ผูก
สักกบรรพ ๒ ผูก
มหาราช ๒ ผกู
ฉกษตั รยิ ์ ๑ ผูก
นครกณั ฑ์ ๑ ผกู
ชาลีกัณหาอภเิ ษก ๑ ผกู
๐๒๘ สงิ ฺหจมมฺ ชาตก (ขอมหวัด ภาษาบาลี)
๐๖๐ พฺรทสชาต (มหานปิ าตชาตก)
๐๖๙ พฺรทสชาตกปาโถ ประกอบดว้ ย
พฺระเตมิยกุมารชาฏกกมฺพุชฺชกฺกสรฉฺวาต ผูก ๑ (ขอมอยุธยา
ภาษาบาล)ี
พฺระมหาชนกชาตกทํ ุติยํปริปุณฺณํ ผูก ๒ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี)
เนมรี าชชาฏก ผกู ๔ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
นมิ ิราชชาตก ผกู ๔ แล (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
มโหสถ ผูก ๑ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
พรฺ มโหสถชาตก ผกู ๑ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล)ี
มโหสถปณฺฑติ ผกู ๓ (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)
พฺรมโหสถจตตุ ถํนฏิ ฐฺ ติ ํ ผกู ๔ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล)ี
มโหสถชาฏกํนิตถฺ ิตํ ผกู ๕ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)


70
ภูรทิ ตฺตชาตกปํ ริปณู ฺณํ ผูก ๒ (ขอมอยุธยา ภาษาบาล)ี
พฺรหฺมนารทชาฏกอํ ฏฐฺ มปํ ริปณุ ณฺ ํ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล)ี
วธิ ุรทสมชาฏกํ ผกู ๒ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)
๐๙๘ พฺรปกณิ ณฺ กนปิ าตชาตก ผกู ๑ – ๔
เตรสนปิ าตชาฏก ผกู ๑ – ๓
ตสึ นปิ าตชาตก ผกู ๑ – ๔
วสิ ตนิ ปิ าตชาตก ผูก ๑ – ๕
๑๐๐ มหาเวสฺสนตฺ รชาตกพลัด
คัมภีร์ชาดกอื่นๆ ทพี่ บในวดั สมุหนิมติ เชน่
ชาลีกัณหาอภเิ ษก วา่ ดว้ ยชาวเมอื งเทวทหนครเชญิ พระชาลแี ลนางกณั หา
ใหร้ ว่ มอภิเษก แลว้ เชญิ เสดจ็ ไปครองเมืองเทวทหะ ๑ ผูก๔๒
๐๐๑ สํขยฺ าชาลอี ภเิ สจนนํ ฏิ ฐฺ ิตํ ฯ ผกู ๑ (ขอมไทย รัตนโกสนิ ทร)์
๐๒๐ ชาลกี ัณหาอภเิ ษก ๑ ผกู
พระสวี ชิ ยั ชาดก วา่ ดว้ ย ปญั ญาบารมี ศลี บารมี ทานบารมี ของพระโพธสิ ตั ว์
เมอื่ เกิดเป็นพระยาศรวี ชิ ัย๔๓
๐๓๗ สิวิชฺยยผูก ๑
พรฺ ะสิวเิ ชยฺย ผูก ๓
สวี ิชยยฺ ผูก ๔ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)
สีวิชยั (ขอมอยธุ ยา ภาษาไทย)
๐๕๒ พฺระสิวิชย ผกู ๑ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี พ.ศ. ๒๒๑๙)
สิวิชัยฺย ผกู ๒ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี พ.ศ. ๒๒๕๗)
พฺระสิวิชยฺย ผูก ๓ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี พ.ศ. ๒๒๕๗)

๔๒บาญชคี มั ภรี ภ์ าษาบาลี แล ภาษาสนั สกฤต อนั มฉี บบั ในหอพระสมดุ วชริ ญาณสำ� หรบั
พระนคร เม๔่ือ๓ปเรีวื่อองกเดพีย.วศก. นั๒,๔ห๖น๓า้ , ห๓น๗้า. ๒๐.


71
สงั ขปตั ตชาดก เป็นชาดกในคัมภีร์ปัญญาสชาดก
๐๒๗ พระสงั ขปัตตชาดก ผกู ๒
๐๓๗ สํขปตฺตชาฏกํ นฏิ ฐฺ ิตํ (ขอมบาลี)
พระโลกนัย
โลกนัยปกรณ์ หรอื ธนัญชยั บณั ฑิตชาดก ซง่ึ เปน็ เร่อื งทน่ี ่าสนใจและมีความ
ส�ำคัญยิ่งในวรรณกรรมบาลีของดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้๔๔ ชาดกเร่ืองน้ี
ไม่มีหลักฐานว่ารจนาขึ้นเมื่อใด แต่จากการศึกษาของ Jaini พบว่าคาถาต่างๆ
ท่ีปรากฏอยู่ในเร่ืองน้ีมาจากนีติของวรรณกรรมบาลีและสันสกฤต โดยพระพุทธเจ้า
ถือกำ� เนิดเป็น ธนญั ชัยบัณฑติ ผู้มปี ญั ญาและเฉลียวฉลาดในการตอบปญั หา คมั ภรี ์
โลกนัยชาดกทพ่ี บในวดั สมหุ นิมติ ไดแ้ ก่
๐๓๙ พรฺ ะโลกเนยฺย ผกู ๙ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี)
๐๘๘ พฺรโลกนยฺย ผกู ๑ – ๑๑
เถรคี าถา
เถรคี าถา เปน็ คมั ภรี ร์ วบรวมคาถาอนั แสดงดว้ ยประวตั ขิ องพระเถรที ง้ั หลาย๔๕
มีอรรถกถาช่ือว่า ปรมัตถทีปนี ผลงานของพระธรรมปาลเถระแต่งในลังกาทวีป๔๖
คมั ภีร์เถรีคาถาและอรรถกถาทพี่ บในวดั สมหุ นิมิต ไดแ้ ก่
๐๘๔ ปาถเถรีคาถา ผกู องกฺ าจปฺปริปุรฺณฺณ ผูก ๑
อฏฐฺ กถาเถรคี าถา ผูก ๑ – ๑๑
เปตวตถฺ ุ
เป็นคัมภรี ห์ นง่ึ ในขุททกนกิ าย สุตตันตปิฎก๔๗ วา่ ดว้ ยเรือ่ งของเปรต คมั ภรี ์
เปตวัตถุทีพ่ บในวดั สมุหนิมติ เป็นคัมภรี อ์ รรถกถา ไดแ้ ก่
๐๓๐ พรฺ อฏฺฐกถาเปตวตฺถุ ผกู ๑ – ๑๑

๔๔ Padmanabh S. Jaini (ed.), Lokaneyyappakaranam, The Pali Text Society, London,
1986 (Pa;I Text Society Text Series No. 175; นิยะดา เหล่าสุนทร, ธนัญชัยบัณฑิตชาดก: ภาพสะทอ้ น
ภ มู ิปัญญาขอ๔๔๔๗๕๖งชเเเรรรา่อืือ่อื่วงงองเเเยดดดธุ ียยีียยวววากกก(นัันนั ก.,,รหงุหเนนทา้้าพ ๑ฯ๒๖:๑.แ. มค่ �ำผาง, ๒๕๔๒).


72

วิมานวัตถุ
เปน็ คมั ภรี ห์ นง่ึ ในขทุ ทกนกิ าย สตุ ตนั ตปฎิ ก๔๘ กลา่ วถงึ เรอื่ งราวของผไู้ ดว้ มิ าน
คัมภรี ์วมิ านวัตถุทพ่ี บในวัดสมหุ นิมิต ไดแ้ ก่
๐๗๒ ปาฬวิ ิมานวตฺถุ ผูก ๑ – ๑๑
พฺรอตฺถกถาวมิ านวตฺถุ ผูก ๑ – ๓

มงั คลตั ถทปี นี
มงั คลตั ถทปี นี หรอื อรรถกถามงคลสตู ร (ในขทุ ทกปาฐ) เปน็ ปลงานของพระ
สริ มิ งั คลาจารย์ แตง่ ทเี่ มอื งเชยี งใหม่ เมอ่ื ปวี อก จลุ ศกั ราช ๘๘๖ พทุ ธศกั ราช ๒๐๖๗๔๙
ตอ่ มาใชเ้ ปน็ คมั ภรี ส์ ำ� หรบั สอบเปรยี ญ จงึ พบวา่ มกี ารคดั ลอกไวจ้ ำ� นวนมาก เพอ่ื เปน็
ตำ� ราเรยี นเชน่ เดยี วกบั ธมั มปทฏั ฐกถา คมั ภรี ม์ งั คลตั ถทปี นที พี่ บในวดั สมหุ นมิ ติ ไดแ้ ก่
๐๑๓ มงคฺ ลทปิ นีอฏฺฐกถามงคฺ ลสตู ร ผกู ๔
๐๒๗ พรฺ มงคฺ ลทปี นอี ฏฐฺ กถามงคฺ ลสูตรฺ ผูก ๑ – ๒๕
๐๔๗ มงฺคลตฺ ถทปี นอี ฏฐฺ กถามงฺคลสุตฺร ผกู ๑ – ๑๓ (ขาดผกู ๗)
๐๕๐ มงคฺ ลทีปนีอฏฐฺ กถามงคฺ ลสูตรฺ ผกู ๑ – ๒๖
๐๘๕ มงคฺ ลทปี นอิ ฏฐฺ กถามงคฺ ลสตุ ตฺ ผกู ๑ – ๒
๐๙๖ พรฺ มงฺคลทิปนอี ฏฺฐกถามงฺคลสตู ฺร ผกู ๑, ๓ – ๖, ๗, ๙, ๑๐, ๑๑ – ๑๗,
๑๗, ๑๘, ๒๐- ๒๖
๑๐๓ มงฺคลทิปนีอฏฐฺ กถามงฺคลสูตรฺ
๑๐๘ มงฺคลทิปนีอฏฐฺ กถามงฺคลสตุ ผกู ๑ – ๒๕
วิสทุ ธิมัคค์
วสิ ทุ ธมิ คั ค์ วา่ ดว้ ยทางปฏบิ ตั อิ นั บรสิ ทุ ธิ์ คอื ศลี สมาธิ และปญั ญา เปน็ ผลงาน
ของพระพทุ ธโฆสาจารย์ แตง่ ในลงั กาทวปี ๕๐ คมั ภรี ว์ สิ ทุ ธมิ คั คท์ พ่ี บในวดั สมหุ นมิ ติ ไดแ้ ก่
๐๗๗ พฺรวสิ ทุ ธฺ มิ คคฺ บันตนํ ผูก ๑ – ๙

๔๘ เรื่องเดียวกนั , หนา้ ๒๑. Pakdeekham, Pali Literature Transmitted in Central Siam,
๔๙ Peter Skilling and Santi

p. 125 -126๕. ๐ บาญชีคัมภีร์ภาษาบาลี แล ภาษาสันสกฤต อันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณส�ำหรับ

พระนคร เมื่อปีวอก พ.ศ. ๒๔๖๓, หนา้ ๒๒.


73

สารสงั คหะ
สารสงั คหะ หรอื สารตั ถสงั คหะ เปน็ คมั ภรี ท์ ค่ี ดั เลอื กขอ้ ความทเี่ หน็ ว่ามสี าระ
มาแสดงเป็นหมวดๆ พระนนั ทาจารยแ์ ต่งที่เมอื งเชียงใหม๕่ ๑ คมั ภีร์สารสังคหะท่ีพบ
ในวดั สมุหนมิ ิต ได้แก่
๐๑๓ สารสงฺคห ผูก ๑๓ (ขอมอยุธยา)
๐๔๕ พรฺ สารสงคฺ ห ผกู ๑, ๔ – ๑๔, ผูก ๑, ๔, ๑๓ มีอย่างละ ๒ ผูก
๐๕๕ พฺรสารสงฺคห ผกู ๑ – ๑๕
๐๕๘ พฺรสารสงคฺ ห ผกู ๑๐
๐๖๑ พฺระสารสงฺคห ผูก ๑ – ๑๔
๐๗๖ พรฺ สารสงคฺ ห ผูก ๑, ๔ – ๑๓
๐๙๗ พฺระสารสงคฺ ห ผกู ๑ – ๑๓
๑๐๓ พรฺ ะสารสงฺคห ผูก ๑ – ๑๒ (ขาดผูก ๙)

คมั ภีรโ์ ลกศาสตร์
เป็นคัมภีร์ที่อธิบายเกี่ยวกับจักรวาล เช่น การเกิดข้ึนและการแตกดับของ
จักรวาล ภพภูมิ ทวีปต่างๆ วรรณกรรมโลกศาสตร์เหล่าน้ีมีวัตถุประสงค์ในการ
รจนาและอธิบายความรู้เร่ือง “โลก” เพ่ือแสดงพระมหาพุทธคุณ “โลกวิทู” ของ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยการให้ความส�ำคัญแก่เนื้อหาท่ีแตกต่างกันไป เช่น
บางเรอื่ งใหค้ วามสำ� คญั กบั การอบุ ตั ขิ องโลก (โลกปุ ปตั ต)ิ บางเรอ่ื งใหค้ วามสำ� คญั กบั
โลกสัณฐาน หรอื โอกาสโลก๕๒ คมั ภรี โ์ ลกศาสตร์ทพี่ บในวดั สมหุ นิมติ ได้แก่

โลกสณฺฐานโชตรตนคณฐฺ ี
เปน็ คมั ภรี ท์ ไ่ี มป่ รากฏชอ่ื ผแู้ ตง่ เวลาและสถานทแี่ ตง่ เนอ้ื หาแบง่ เปน็ ๕ ปรจิ เฉท
กลา่ วถงึ เรอื่ งอสงไขย จกั รวาล ภเู ขาพระสเุ มรุ ทวปี ทง้ั ๔ ปา่ หมิ พานต์ การโคจรของ
พระอาทติ ยพ์ ระจนั ทร์ เปน็ ตน้ ๕๓ คมั ภรี โ์ ลกสณฐฺ านโชตรตนคณฐฺ ที พ่ี บในวดั สมหุ นมิ ติ ไดแ้ ก่

๕๑ เรือ่ งเดยี วกัน, หนา้ ๒๙. ความสัมพันธ์กับ
๕๒ ศานติ ภักดีค�ำ, “ไตรภูมิหรือวรรณกรรมโลกศาสตร์พระพุทธศาสนา:

สถาปตั ยกรรมไทย,” สถาปตั ยว์ ดั โพธ์ิ (กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ จำ� กดั (มหาชน),
๒๕๕๒), หน๕า้ ๓ ศ๒ิล๒ป๔า.กร,
กรม. โลกสัณฐานโชตรตนคณั ฐ.ี กรงุ เทพฯ: บริษทั รุง่ ศิลปก์ ารพิมพ์ (๑๙๙๗)
จ�ำกัด, ๒๕๔๓.


74

๐๗๙ โลกสณฺฐานโชตรตนคณฐฺ ี ผูก ๑
๐๐๘ โลกสณฺฐานโชตรตนคณฺฐี ผูก ๓
๐๖๕ โลกสณฺฐานโชตรตนคณฐฺ ี ผกู ๔
๐๗๙ โลกสณฺฐานโชตรตนคณฺฐี ผกู ๕

จกฺกวาฬทปี นี
เปน็ ผลงานของพระสิรมิ งั คลาจารย์ แหง่ ลา้ นนาแต่งข้ึนในสมัยพระเมืองแกว้
(พระเจ้าพลิ กปนดั ดาธิราช) ในปี พ.ศ. ๒๐๖๓ จักรวาฬทปี นแี บ่งเนอ้ื หาเป็น ๖ กัณฑ์
พรรณนาเรอ่ื งตามชอ่ื กณั ฑท์ ต่ี ง้ั ไว้ เรม่ิ ดว้ ยบทปณามคาถา บอกวตั ถปุ ระสงคข์ องการ
แต่ง แล้วจึงแบ่งเปน็ กณั ฑต์ า่ งๆ๕๔ คมั ภีรจ์ กฺกวาฬทีปนีท่ีพบในวัดสมุหนิมติ ได้แก่
๐๓๘ พฺรจกกฺ วาฬทปิ นี ผูก ๑ – ๑๐

พรฺ ไตฺรโลกวินจิ ฺฉยกถา
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช โปรดใหพ้ ระราชาคณะและ
ราชบัณฑติ ย์ค้นพระไตรปิฎกออกแตง่ เป็นไตรภมู โิ ลกวินิจฉัยฉบบั หนงึ่ เมอื่ ปี พ.ศ.
๒๓๒๖ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๓๔๕ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช
ทรงพระปรารภว่า ไตรภูมิกถาท่ีแตง่ ไวต้ ้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๓๒๖ นนั้ ปนั แจกแยกกันแตง่
เปน็ สว่ นๆ คารมไมเ่ สมอกนั ทยี่ งั วปิ ลาสคลาดเคลอ่ื นกม็ ี จงึ โปรดใหพ้ ระยาธรรมปรชี า
(แก้ว) จางวางกรมราชบัณฑิตย์ช�ำระดัดแปลงไตรภูมิกถาเป็นส�ำนวนท่ี ๒ ขึ้น๕๕
คมั ภีรไ์ ตรโลกวินจิ ฉันทพี่ บในวัดสมุหนมิ ิต ได้แก่
๐๐๔ พฺรไตรฺ โลกวนิ จิ ฉฺ ยกถา ผูก... (ขอมหวดั / ภาษาไทย)
๑๑๑ ไตฺรโลกวินจิ ฉฺ ยกถา ผูก ๑๒ (ขอมไทย)

ปฐมสมโพธิกถา ว่าด้วยประวัติพระพุทธเจ้า ต้ังแต่จุติมาอุบัติในขัตติย
สกุลจนเสด็จปรินิพพาน๕๖ ฉบับเดิมน่าจะแต่งในล้านนา ต่อมาได้มีการขยายความ
เปน็ สำ� นวนอยธุ ยา ฉบบั ทแ่ี พรห่ ลายทสี่ ดุ คอื ฉบบั ทส่ี มเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมา
นชุ ติ ชโิ นรส ทรงตรวจสอบชำ� ระเพมิ่ เตมิ คมั ภรี ป์ ฐมสมโพธกิ ถาทพ่ี บในวดั สมหุ นมิ ติ ไดแ้ ก่

๕๔ เรอ่ื งเดียวกัน, หนา้ ๒๒๗. Pali Literature Transmitted in Central
๕๕ เรอื่ งเดยี วกัน, หนา้ ๒๓๑ – ๒๓๖.
๕๖ Peter Skilling and Santi Pakdeekham,

Siam, p. 101 – 103.


75

๐๑๙ ปถมสมโพธิ ผกู ๑๒ ปญจฺ สตสากฺยปพพฺ ชาฯ (ขอมอยธุ ยา)
๐๒๘ พฺรปถมสมฺโพธินพิ พฺ านสตู ฺร ผกู ๑๕ (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)
๐๓๗ ปถมสมฺโพธิวิฏฺฐาร พฺรหฺมชฺเฌสนปริวุตฺโตทสโม ผูก ๑๐ (ขอม
รัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)
๐๔๔ พรฺ ปถมฺสมฺโพธิพรฺ ภิมพฺ าพิลาป (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาไทย)
๐๘๖ พรฺ ปถมสมโพธิ ผกู ๒, ๓, ๕, ๘, ๑๒
ปถมสมฺโพธวิ ฏิ ฐฺ าร ผกู ๓, ๔, ๔, ๖, ๘, ๑๑, ๑๓, ๑๔, ๑๙
ปถมสมโฺ พธวิ ฏิ ฺฐารพุทฺธปชู า (ขอมบาลี อยธุ ยา)
๑๐๑ พรฺ ปถมสมโฺ พธินิพฺพานสูตฺร
๑๐๙ พรฺ ปถมสมโฺ พธิกถา ผูก ๑, ๑, ๒, ๔, ๕, ๗, ๙, ๑๐, ๑๑, ๑๒, ๑๔, ๑๖
มิลนิ ทฺ ปญฺหา
มิลินทปัญหา เป็นคัมภีร์ส�ำคัญของพระพุทธศาสนา กล่าวถึงการถามตอบ
ปญั หาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาระหวา่ งพระเจ้ามิลินท์ กับพระนาคเสน คัมภรี ์
มิลนิ ทปญั หาทพ่ี บ ณ วดั สมุหนิมติ มหี ลายฉบับ ได้แก่
๐๓๒ มลิ นิ ทปฺ ญหฺ า? (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)
๐๔๖ พฺรมลิ ินทฺ ปญฺหา
๐๕๔ พรฺ ะมิลนิ ทฺ ปณฺหา ผกู ๑ – ๑๗
๐๙๑ พรฺ มลิ นิ ทฺ ปญหฺ าชบปั ลำ� ภุญฺช
๑๐๙ มลิ นิ ทฺ ปณหฺ าสเํ ขป ผกู ๑
๑๑๗ ขอฺ มลิ ินทฺ ปณฺหา (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาไทย)
๑๑๗ ขอมลิ ินยกแตกำ� ภตี างๆ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาไทย)
สิหิงคนิทาน ว่าด้วยต�ำนานพระพุทธสิหิงค์๕๗ แต่งข้ึนในล้านนา๕๘ คัมภีร์
สหิ ิงคนทิ านท่ีพบในวดั สมหุ นิมิต ไดแ้ ก่
๐๑๙ สิหงิ คนทิ าน ผูก ๘ (ขอมอยธุ ยา)

๕๗ บาญชีคัมภีร์ภาษาบาลี แล ภาษาสันสกฤต อันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณส�ำหรับ
พระนคร เม๕อื่ ๘ปสวี ุภอกาพพร.รศณ. ๒๔ณ๖๓บ,าหงชน้า้า ง๒, ๗ว.ิวัฒนาการวรรณกรรมบาลีสายพระสุตตันตปิฎกที่แต่งใน

ประเทศไทย (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๓), หนา้ ๑๘๒.


76

สโมหนิทาน
สัมโมหนิทาน เป็นคัมภีร์ท่ีรวบรวมเรื่องราวนิทานหรือชาดกที่มีอยู่ในคัมภีร์
ตา่ งๆ จ�ำนวน ๔๕ เร่ืองเข้าไวด้ ว้ ยกัน แตไ่ ม่ทราบวา่ ผูร้ วบรวมเป็นใคร ตน้ ฉบบั เดิม
เปน็ ภาษาบาล๕ี ๙ คมั ภีรส์ โมหนทิ านท่ีพบท่วี ดั สมหุ นมิ ติ คือ
๐๓๒ สโมหนทิ านผูก ๒ จนทฺ ตปนวตฺถุ

มหาวงศ์
มหาวงศ์ เปน็ พงศาวดารลังกา ว่าดว้ ยราชวงศ์ในลังกาทวปี ตงั้ แตพ่ ระเจา้ ศรี
วชิ ัยจนถึงพระเจ้ามหาเสน๖๐ คมั ภีร์มหาวงศ์ท่พี บในวัดสมหุ นมิ ติ ได้แก่
๐๓๗ พรฺ มหาวงสฺ ผูก ๒ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล)ี
๐๓๗ พฺระมหาวงฺส ผกู ๓ (ขอมอยธุ ยา ภาษาไทย)

มธุรสวาหนิ ี
มธุรสวาหินี หรือ รสวาหินี เป็นคัมภีร์ว่าด้วยอุทาหรณ์แห่งบุคคลท่ีท�ำบุญ
ตา่ งๆ กนั มี ๒ ส่วน คือ ภาคชมพทู วปี และภาคลงั กาทวปี ๖๑ คมั ภีร์มธุรสวาหนิ ี ท่ี
พบในวดั สมหุ นมิ ติ ไดแ้ ก่
๐๗๙ มธรุ สวาหนิ ี ผกู ๓, ๖, ๗, ๘ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล)ี
๐๗๙ สปั มธุรวาหินนฺ ิ ผกู ๓, ๘ (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)
๑๐๑ มธุรสวาหนิ ี (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)
๑๐๑ นามฺมสัปพรฺ มธุรสฺสวาหณิ ลิ งฺกา ผกู ๑๐
๑๐๑ มธรุ สวาหนี ี ผูก ๕ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)
๑๐๑ นามมฺ สปฺปมธุรสวาหนิ ี ผกู ๑๑ (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)

พทุ ธโฆสาจรยิ นิทาน
เปน็ คมั ภรี ว์ า่ ดว้ ยประวตั ขิ องพระพทุ ธโฆสาจารย์ พระมหามงคลเถร เปน็ ผแู้ ตง่ ๖๒
คมั ภรี พ์ ทุ ธโฆสาจรยิ นทิ านทพ่ี บในวดั สมหุ นมิ ติ ไดแ้ ก่

๕๙ สัมโมหนทิ าน (พระนคร: โรงพิมพ์ ส. ธรรมภกั ดี, ๒๕๐๔), หน้า ก. in Central
๖๐ Peter Skilling and Santi Pakdeekham, Pali Literature Transmitted

Siam, p. 14๖๖0๑๒.IIbbiidd,, p. 130 – 131.
p. 119.


77
๐๑๙ พฺรพุทฺธโฆสารปณฑฺ ิ ผกู ๒ ปรปิ รู ฺณฯ (ขอมอยุธยา)
๑๐๑ พุทธฺ โฆสา
๑๑๗ พฺรพทุ ธฺ โฆสาจารยแ์ ปลฺ ธมมฺ (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)
๑๒๔ พรฺ ะพทุ ธฺ โฆสาปรจิ ฺเฉทบรบิ ุรณ
พระมาเลยฺยสตู รฺ
เรอ่ื งพระมาลยั หรอื มาเลยยเถรวตั ถ ุ แตเ่ ดมิ สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ เรอ่ื งทแ่ี ตง่ ขนึ้
ในลังกาแต่เมื่อมีการสอบค้นเรื่องพระมาลัยในลังกาแต่ปรากฏว่าไม่พบเรื่องน้ี เรื่อง
พระมาลยั เปน็ เรอ่ื งทไี่ ดร้ บั ความนยิ มมากในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ คมั ภรี พ์ ระมาลยั
ท่พี บในวดั สมุหนิมติ ได้แก่
๐๓๙ ฏกี าพรฺ ะมาลยฺย ผกู ๑ (ขอมอยุธยา ภาษาบาล)ี
๐๓๙ พรฺ ะมาเลยฺย ผกู ๑ (ขอมบาล)ี
๑๐๙ พรฺ มาไล (ขอมไทย)
๑๐๙ พฺรมาเลยยฺ สงฺเขปเผฑจ็ จฺ (ขอมหวดั เส้นหมกึ )
๑๑๑ พฺรมาเลยยฺ จปฺปริปูรรณเทานแ้ี ลฯ
๑๑๙ พรฺ ะมาไลย
จากการวเิ คราะหพ์ บวา่ คมั ภรี พ์ ระสตุ ตนั ตปฎิ กทพ่ี บในวดั สมหุ นมิ ติ สว่ นใหญ่
เปน็ คมั ภรี พ์ ระไตรปฎิ ก อรรถกถา และคมั ภรี เ์ บด็ เตลด็ ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษา
ภาษาบาลี นอกจากคมั ภรี ต์ า่ งๆ ในหมวดพระสตุ ตนั ตปฎิ กทกี่ ลา่ วมาแลว้ ยงั มคี มั ภรี ์
พลัดหรือไม่สมบูรณ์ที่จัดอยู่ในพระสุตตันตปิฏกอีกหลายคัมภีร์ ดังปรากฏรายการ
ในบัญชีคมั ภรี ใ์ บลานวดั สมุหนิมิต ซ่งึ สามารถตรวจสอบเพ่มิ เติมได้
๓. พระอภธิ รรมปฎิ ก
พระอภธิ รรม หมายถึง คัมภรี ท์ ีบ่ นั ทึกคำ� สอนของพระพทุ ธเจ้า ในส่วนท่เี ป็น
หัวข้อธรรมล้วนๆ ไม่มีประวัติและเน้ือเร่ืองประกอบ๖๓ พระอภิธรรมถือเป็นธรรมะ
ชั้นสงู ในพระพทุ ธศาสนา จ�ำแนกออกได้เป็น ๗ คัมภีร์ ๖๔ คือ

๖๓ พัฒน์ เพง็ ผลา, ประวตั ิวรรณคดบี าล,ี หนา้ ๘๕.
๖๔ สรปุ ความจาก เรื่องเดียวกัน, หนา้ ๙๐.


78

พระธรรมสงั คณี วา่ ดว้ ยการรวบรวมหมวดหมธู่ รรมะ
พระวิภงั ค์ ว่าดว้ ยการแยกธรรมะออกเปน็ ขอ้ ๆ
พระธาตกุ ถา วา่ ดว้ ยธาตุ เป็นการอธบิ ายว่าธรรมะทุกอยา่ งอาจจัดประเภท
ไดโ้ ดยธาตุอยา่ งไร
พระปคุ คลปัญญัติ ว่าด้วยบัญญัติ ๖ ประการ
พระกถาวตั ถุ ว่าดว้ ยคำ� ถาม คำ� ตอบ หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา
พระยมก วา่ ด้วยธรรมเป็นคู่
พระปฏั ฐาน วา่ ดว้ ยปัจจยั ต่างๆ คอื สิง่ สนับสนนุ ๒๔ ประการ
ในเวลาตอ่ มาไดม้ กี ารรจนาคมั ภรี อ์ รรถกถา เพอ่ื อธบิ ายความในพระอภธิ รรมปฎิ ก
หลายคัมภรี ์ เชน่ อัฏฐสาลนิ ี อรรถกถาธรรมสงั คณ๖ี ๕ สมั โมหวโิ นทนี อรรถกถา
พระวภิ งั ค๖์ ๖ เปน็ ตน้ รวมทงั้ มคี มั ภรี ใ์ นชน้ั ฏกี า อนฏุ กี า ฯลฯ ทแี่ ตง่ ขนึ้ เพอื่ อธบิ ายความ
ในอภธิ รรมปฎิ ก อกี หลายคมั ภรี ์ เชน่ ลนี ตั ถโชตนา ฏกี าอฏั ฐสาลนิ ๖ี ๗ เปน็ ตน้ รวมทง้ั
คมั ภรี ท์ น่ี ำ� หลกั ธรรมในพระอภธิ รรมมาเรยี บเรยี งใหม่ เชน่ อภธิ มั มตั ถสงั คหะ เปน็ ตน้
คัมภรี ์ใบลานวัดสมุหนิมติ ท่นี ับเนอ่ื งเขา้ ในหมวดพระอภธิ รรมปิฏก มดี ังน้ี
คมั ภีร์อภิธมั มตั ถสงั คหะ
อภธิ ัมมตั ถสังคหะ เป็นคัมภีร์ที่พระอนรุ ุทธเถรเปน็ ผแู้ ต่ง โดยย่อข้อความใน
พระอภธิ รรมทงั้ ๗ คมั ภรี ม์ ารอ้ ยกรองไว๖้ ๘ นอกจากนย้ี งั มฏี กี าทพ่ี ระเถระในภายหลงั
แตง่ ขยายความ ไดแ้ ก่ อภิธัมมัตถวิภาวินี ฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ พระสุมงคล เปน็
ผแู้ ตง่ ๖๙ ปรมตั ถมญั ชสู า อนฏุ กี าอภธิ มั มตั ถสงั คหะ และโยชนาบาลอี ภธิ มั มตั ถสงั คหะ๗๐
ของพระญาณกติ ตเิ ถรแตง่ ท่ีเมืองเชียงใหม๗่ ๑ เป็นต้น คมั ภรี ์อภธิ มั มัตถสังคหะทพี่ บ
ในวดั สมุหนมิ ิต เชน่

๖๕ บาญชีคัมภีร์ภาษาบาลี แล ภาษาสันสกฤต อันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณส�ำหรับ
พระนคร เม๖๗๖๖๗๖อื่ ๖๙๗๘๑๐ปเเเเเเรรรีวรรรือ่อื่อื่อ่ือือ่ื่องงกงงงงเเเเเเดดดดดพดียยียีียยียี.ศวววววว.กกกกกก๒นันัันนันััน๔,.,,,.๖หหหห๓นนนน,า้้าา้้าห ๔๔น๔๕๔้า๙๐๓ ....๔๓.


79

๐๑๗ พรฺ อภธิ มฺมสงฺคห ผูก ๑ – ๒
๐๑๗ พรฺ อภิธมฺมตฺถสงฺคหตวั ผกู ๒
๐๒๘ พฺรอภิธมฺมสงฺคหปรจิ เฺ ฉทผกู ๓ แปฺลโรย้ (ขอมไทย)
๐๒๘ พฺระอภธิ มมฺ ตฺถสงฺคหปริจเฺ ฉท ผกู ๒
๐๗๐ พฺรอภธิ มฺมสงคฺ หวิภาโคปริปณุ ฺโณโหติ ผูก ๑
๐๗๐ พฺรอภธิ มฺมสงคฺ ห ผูก ๑, ๔, ๖, ๗, ๘ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาไทย)
๐๗๐ พฺรสรปุ สงฺคห ผูก ๑ – ๒ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
๐๗๐ พรฺ อภิธมฺมสงฺคหวิภาโคปริปณุ โฺ ณโหติ ผกู ๑ มขี ้อความ
พระอภธิ รรม ๗ คมั ภรี ์ หรอื สตั ตปกรณาภธิ ัมม์ตามประสงค์
พระอภธิ รรม ๗ คมั ภีร์ หรอื สตั ตปกรณาภธิ มั มต์ ามประสงค์ เป็นคมั ภีร์ทคี่ ัด
เลือกความในคัมภีร์พระอภิธรรมทั้ง ๗ คัมภีร์ มาเรียบเรียงใหม่คล้ายอรรถกถา๗๒
เปน็ คัมภรี ์ท่ีพบมากเนอื่ งจากเป็นคัมภีรท์ ีนิยมน�ำมาใชส้ วด พระอภธิ รรม ๗ คัมภรี ์
ทพ่ี บในวดั สมหุ นิมิต ได้แก่
๐๒๓ พฺระอภิธมฺม ๗ คัมภีร์เผด็จ
๐๔๔ พรฺ อภธิ มมฺ ๗ คมภฺ รี แปลฺ (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)
๐๘๑ พระอภธิ รรมเจด็ คมั ภรี ์ ๓ ชดุ รวม ๒๑ ผกู (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
๐๘๓ พฺรอภิธมฺม ๗ คัมภีร์ ๑ ชดุ ๗ ผูก
๑๒๕ พรฺ อภิธมมฺ ๗ คัมภีร์
๑๒๘ พฺระอภธิ มมฺ ๗ คมั ภรี ์ ๘ ผกู (ขอมไทย)
ปรมตฺถสงฺเขป
๐๘๑ พฺรธมฺมย่อ/ ปรมตถฺ สํเขป (ขอมอยุธยา ภาษาไทย)
จากรายช่ือคัมภีร์ในหมวดพระอภิธรรมที่พบในวัดสมุหนิมิต พบว่าคัมภีร์
ส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นคัมภีร์ในพระไตรปิฏกโดยตรง แต่เป็นคัมภีร์ที่เรียบเรียงใหม่ใน
ชน้ั หลงั และมกี ารนำ� มาใชเ้ ปน็ ต�ำราในการศึกษาพระอภธิ รรม คือ คมั ภรี อ์ ภธิ มั มตั ถ
สังคหะ พระปรมตั ถสังเขป เป็นตน้ นอกจากน้ที ่ีเปน็ คมั ภีรพ์ ระอภิธรรม ๗ คมั ภีร์
ก็เปน็ คมั ภรี ์ทเี่ รยี บเรยี งใหมแ่ ละนำ� มาใช้ในทางพธิ กี รรมเปน็ หลกั

๗๒ เรอื่ งเดยี วกัน, หน้า ๕๑.


80
๔. พระสทั ทาวเิ สส
พระสทั ทาวเิ สส หมายถงึ คมั ภรี ไ์ วยากรณภ์ าษาบาลี เปน็ คมั ภรี ท์ ไ่ี มไ่ ดจ้ ดั อยู่
ในพระไตรปฎิ ก คัมภีร์ประเภทสัททาวเิ สสมีจ�ำนวนมาก สามารถจดั แบ่งออกได้เป็น
๓ กลุ่ม คอื
๑. กจั จายนะ หรอื คัมภีร์กัจจายนวยากรณะ เปน็ คัมภีร์ไวยากรณ์ภาษา
บาลีท่ีเก่าแก่ที่สุด ผลงานของพระกัจจายนเถระ๗๓ นอกจากน้ียังมีคัมภีร์อธิบาย
ไวยากรณก์ ัจจายนะอกี หลายคัมภีร์ เชน่ มขุ มัตถทีปนี ของพระวิมลพุทธิ รปู สิทธิ
ของพระพุทธปิยทีปังกร พาลาวตาร ของพระธรรมกิตติ และมูลกัจจายนะ หรือ
กจั จายนมูลปกรณ์ ซ่งึ เป็นต�ำราเรยี นภาษาบาลีของไทยตง้ั แต่สมัยโบราณ๗๔
๒. โมคคลั ลานะ เปน็ คมั ภรี ไ์ วยากรณภ์ าษาบาลผี ลงานของพระโมคคลั ลานเถระ
แตง่ ในลังกา๗๕
๓. สัททนตี ิ เปน็ คัมภรี บ์ าลีไวยากรณ์ พระอัคควงั สะ แต่งทีพ่ ม่า๗๖
คมั ภีรแ์ ต่ละกล่มุ มกี ารจดั แบง่ เนอ้ื หาไมเ่ ท่ากัน แต่ส่วนใหญ่ประกอบด้วย
๑. สนธิ ว่าด้วยสมญั ญาภิธาน การต้ังช่ืออกั ษร และสนธิ
๒. นาม วา่ ดว้ ยนามศัพทแ์ ละอพั ยยศพั ท์
๓. การก ว่าด้วยหน้าท่ีของค�ำในประโยค
๔. สมาส วา่ ดว้ ยการย่อศพั ท์
๕. ตทั ธิต ว่าดว้ ยการใช้ปจั จัยแทนศพั ทต์ า่ งๆ
๖. อาขยาต ว่าดว้ ยกรยิ า
๗. กิตก์ วา่ ดว้ ยกิริยากติ ก์และนามกิตก์
๘. อณุ าทิ วา่ ด้วยปจั จัยส�ำหรบั ประกอบรปู ศพั ทต์ า่ งๆ
ในเน้ือหาแต่ละส่วนจะประกอบด้วย สุตตะ คือ สูตร หรือกฎข้อบังคับ
วุตติ หรือคำ� อธบิ ายเนอื้ หาของสตู ร และอุทาหรณ์ หมายถึงตัวอย่างประกอบ
คัมภีร์ใบลานวดั สมุหนิมติ ทนี่ ับเนอ่ื งเขา้ ในหมวดพระสัททาวิเสส มดี ังน้ี

๗๓ พฒั น์ เพง็ ผลา, ประวตั ิวรรณคดบี าล,ี หน้า ๒๐๗.
๗๔ สรปุ ความจากเรือ่ งเดยี วกนั , หนา้ ๒๐๘ – ๒๐๙.
๗๕ เร่อื งเดียวกัน, หน้า ๒๑๑.
๗๖ เรอื่ งเดียวกนั , หนา้ ๒๑๒.


81
มลู กจั จายนะ
เป็นคัมภีร์ที่รวมกันหลายอย่าง ทั้งน�ำกัจจายนปาฐะมาแปลเป็นภาษาไทย
ไว้พวกหนึง่ เรียกว่า สูตร น�ำกัจจายนฏั ฐกถามาเขยี นในใบลานละ ๓ บรรทัด แล้ว
คดั เอาข้ออธบิ ายจากคัมภีร์ต่างๆ มาจดไวแ้ ละเขียนแปลภาษาไทยไว้ และนำ� การก
บางสตู รมาแปลใหร้ วู้ า่ วภิ ตั ิตัว ๑ แปลได้ก่อี ยา่ งเรียกวา่ โจทย์ และรวบรวมเอาธาตุ
ศพั ทใ์ นกจั จายนฏั ฐกถามาเขยี นบอกว่าธเี ปลย่ี นแปลงไวเ้ ปน็ ภาษาไทย เรยี กว่า ธาตุ
เปน็ ตน้ ๗๗ คมั ภีร์มูลกจั จายนะท่พี บในวัดสมหุ นมิ ติ มมี ากหลายคมั ภรี ์ เช่น
๐๐๖ มลู กจจฺ ายน ประกอบด้วย
มูลกจฺจายนตทฺธิต
มูลกจจฺ ายนอาขฺยาต
มลู กจฺจายนกรฺ ติ
มูลกจฺจายนอุณาทกิ ปฺป
มลู กจฺจายนการก
ธาตอุ าขยฺ าต ผกู ๑ – ๒
ธาตกุ รฺ ิต ผกู ๑ – ๒
ธาตอุ ณุ าทิ ผกู ๑ – ๒
๐๑๑ พรฺ ะมูลกจฺจายนสนทฺ ิ ผูก ๑ จ�ำนวน ๖ ผกู
พฺรมูลกจจฺ ายนสูตรฺ จำ� นวน ๓ ผูก
พรฺ มลู กจฺจายนกฺรติ
มลู กจฺจายนสนทฺ ิ (ขอมอยุธยา)
มูลกจฺจายนสนทฺ ิ ผูก ๑
มลู กจฺจายนสนฺธิ
มลู กจฺจายนนาม ผูก ๑ มี ๒ ผูก, ผูก ๒
นามกจจฺ ายน ผกู ๒ (ขอมอยธุ ยา)
มูลสมาส
มูลกจฺจายนเถโร
พฺรกจฺจายฺยเภทวินจิ เฺ ฉยฺยปรปิ ณู ฺณ

๗๗ บาญชีคัมภีร์ภาษาบาลี แล ภาษาสันสกฤต อันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณส�ำหรับ
พระนคร เมอื่ ปวี อก พ.ศ. ๒๔๖๓, หน้า ๕๒.


82
๐๒๔ พฺรมูลกจจฺ ายน
๐๒๕ พรฺ มลู กจจฺ ายน
๐๓๖ มลู กจฺจายน, สตุ ฺตนทิ ฺเทส และพฺรโยชนา
๐๔๘ มลู กจฺจาย
๐๕๙ มูลลฺ กจจฺ ายณนาม ผูก ๑ – ๒ (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
มลู กจฺจายสมาส (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี)
มลู กจจฺ ายนสมาส (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
มูลฺลกจฺจายนอาขยฺ าต ผกู ๕ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)
มกู ฺริตกจจฺ ายณ ผกู ๗ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
มูลลฺ กจฺจายนกฺริต ผูก ๙
มลู ฺลกจจฺ ายนตทธฺ ติ
อุณาทิกจจฺ ายน ผกู ๘ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
นามผูก ๑ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)
นามกจฺจายณ ผกู ๒ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
ตทฺธิต (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)
ฑกิ าพาลปฺปโพธิ ผกู ๑ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
อณุ าทิกจฺจายนผกู ๘ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
สมฺพนฺทกรฺ ติ กจฺจายณ (ขอมหวัด ภาษาบาล)ี
ธาตอุ ุณาท (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
การกปกรณ ผูก ๙ (ขอมอยุธยา ภาษาบาล)ี
สมพฺ นฺธกติ สเํ ขปํนิฏฺฐติ ํ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาไทย)
ธาตอุ ุณาทิกปเฺ ปจบบ่ รบิ ณุ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)
ไมม่ ีช่ือ ๑ ผกู
กฺริตกจายยฺ นาตถฺ ผกู ๑ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)
ธาตุอาขยฺ าตจปปฺ รปิ ุรณฺ ณฺ (ขอมบาล)ี
อาขยฺ าตปกรณ ผกู โยมไปปริปณู ฺณ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี)
วจิ ติ ตฺ าหรฏกี าพาลปปฺ โพธนสำ� แตงการกหก (ขอมหวดั ภาษาบาล)ี
๐๖๔ มลู กจจฺ ายนนาม ผูก ๒ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
มลู กจจฺ ายนสมาส ผูก ๔ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)


83
มูลกจฺจายนสมาส ผกู ๔ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาลี)
มูลกจฺจายนสมาส ผกู ๔ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาลี)
มูลกจฺจายณตาทฺทิต ผูก ๕ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)
ธาตุอาขฺยาต ผกู ๑ – ๒ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
สมฺพนฺธกฺรติ กจจฺ ายน (ขอมหวดั ภาษาบาลี)
วิจติ ฺรสารฏกี าพาลปโพธ (ขอมหวดั ภาษาบาลี)
พาลปโพธนิตถฺ ิตํ (ขอมหวดั ภาษาบาลี)
วิภตฺตกิ จานติ ถฺ ติ าฯ (ขอมหวัด ภาษาบาล)ี
มุลกจจฺ ายนสนทฺ ิ (ขอมหวัด ภาษาบาล)ี
พฺรภธิ านสัปฺป ผูก ๒
โจทสนธวิ ภิ ตตฺ นิ ามวภิ ตตฺ ิอาขยฺ าตปริปณุ ณฺ
มลู กจฺจายนสมาส ผูก ๔
ธาตุอาขยฺ าต ผูก ๑ – ๒ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาลี)
สมพฺ นธฺ กฺรติ กจจฺ ายน
พรฺ ภธิ านสปั ปฺ ผูก ๒
๐๖๗ พฺระมูลกจจฺ ายนนาม ผูก ๒
สมาสกจฺจายณจปฺปรปิ ุรณ ผูก ๓
มลู ลฺ กจฺจายนตทฺธิต
พฺรมูลกจจฺ ายนอาขฺยาต
พฺรมูลฺลกจจฺ ายนอุณาทิ
พรฺ มูลกจจฺ ายนการํก
ธาตอุ าขยฺ าตผกู ๑ – ๒
ธาตอุ ุณาทิ ผกู ๑
ธาตกุ ฺริต ผกู ๒
โจทฺธยวภิ ตฺตปิ จฺจยยฺ จบบริบรู ณ
๐๗๑ มลู กจฺจายนนาม ผกู ๑ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาลี/ไทย)
มลู กจฺจายนนาม ผูก ๑ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล/ี ไทย)
มลู กจจฺ ายนสนธฺ ปิ กรนนํ ฏิ ฐฺ ติ ํ ผกู ๑ (จ.ศ. ๑๒๔๙) (ขอมรตั นโกสนิ ทร์
ภาษาบาลี/ไทย)


84
มูลกจจฺ ายนธาตุอณุ าทิ ผกู ๑ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาล/ี ไทย)
มูลกจฺจายนตทฺทิต ผูก ๔ จปฺปริปูรณ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษา
บาลี/ไทย)
ตทฺธติ กจฺจายน ผูก ๕ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาล/ี ไทย)
ตทฺธิตกจจฺ ายนปกรณสมตํ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี/ไทย)
พรฺ ธาตอุ าขฺยาตปริปุณฺณา จ�ำนวน ๓ ผูก (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษา
บาลี/ไทย)
นามกจจฺ ายกมฺพชฺชกฺสร ผูก ๒ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี/ ไทย)
การกกจฺจายน ผกู (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาล/ี ไทย)
นสิ ฺสยนาม ผูก ๓ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาล/ี ไทย)
ธาตุกรฺ ิตจป่ ปฺ ริปุณณฺ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาลี/ไทย)
ธาตกุ ติ ตฺ กจายนาตถฺ สำ� เรจจฺ ผกู ๑ (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล/ี ไทย)
โยชนากริต (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาล/ี ไทย)
มูลสนฺธิกปปฺ (ขอมอยุธยา ภาษาบาล/ี ไทย)
ขอมลุ กจฺจายนตางๆ แลสมพฺ นทฺ มยี ุบางไนนี (ขอมหวัด)
ไมม่ ชี ื่อ ๑ ผกู (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาล/ี ไทย)
๐๗๘ มูลกจฺจายนนาม ผูก ๑
มูลกจฺจายนาม ผูก ๑
มูลกจจฺ ายยฺ นาม ผูก ๑
มลู กจายฺยนาม ผูก ๒
มูลฺลกจจฺ ายฺยนาม ผกู ๒
มูลกจจฺ ายฺยนาม ผกู ๒
มลู ลฺ กจจฺ ายนสมาส ผกู ๓
สมาสฺสกจฺจายน ผกู ๔
มลู ฺลกจฺจายนสมาส (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี)
สมาสกจจฺ ายณณฺ ปริปูรณณฺ ผูก ๔
ตทธฺ ิตกจจฺ ายน ผูก ๔
มลู กจฺจายนตทฺธิต ปริปณู ณฺ
ตทฺธติ กจจฺ ายน ผกู ๔


85

มลู ฺลกจฺจายนอาขฺยาต ผูก ๖
มลู ลฺ กจฺจายฺยณอณุ ฺณาท ผูกปริปณู ณฺ ฯ
โจทฺ วธิ สี นฺธิแลวิภตฺตนิ ามวภิ ตตฺ อิ าขยฺ าต
ธาตอุ าขยฺ าต ผกู จฺป ๒
๐๙๒ พรฺ มูลกจจฺ ายนนาม ผกู ๑
พรฺ มุลฺลกจฺจายนสมาส
มูลฺลกจฺจายนสมาส ผกู ๔
มูลลฺ กจจฺ ายนตทธฺ ติ ผูก ๔
มลู ฺลกจจฺ ายนธาตกุ รฺ ติ ผูก ๑
ธาตอุ าขฺยาตจปปฺ ริปุณฺณ
อุณาทฺธจปปฺ ริปุณฺณ ผูก ๘
ธาตกุ ฺรติ ผูก ๖ จปปฺ รปิ ณุ า
ธาตุอตุ ณฺ าฏฐฺ ปรปิ ุณณฺ ผูก ๑
ธาตุกฺรติ วฏิ ฺฐาร ผกู ๒
อาขยฺ าตกจฺจายน ผกู ๖
กฺรติ กจฺจายนปกรณ ผู ๗
ธาตุอุณาทผิ กู โสฺงวิฏฐาน ผกู ๒
มูลฺลกจฺจายนการก ผกู ๙
การกจปฺปริปูรฺณ ผกู ๙
๐๙๓ มูลฺลกจจฺ ายณตทธฺ ติ ผกู ๑ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาลี)
ตทธฺ ิตกจจฺ ายน ผกู ... (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี/ ไทย)
กฺรติ ตฺ กจจฺ ายณ ผูก ๗
กรฺ ติ ฺตกจฺจายณ ผูก ๗
มูลฺลกจฺจายนฺนปจฺจยยฺ อนุ นาต ผูก ๘
มูลฺลกจจฺ ายฺยการกกมฺโพชอกขฺ สฺ ร ผกู ๙
มลู ฺลกจจฺ ายยฺ ปกรณการก ผกู ๙
ธาตุกฺรติ (ขอมไทย)
พรฺ ธาตุอุณาทกิ จฺจายนปริปณู ณฺ าฯ
นามกจฺจายณ ผกู ๒


86
อณุ าสสฺ กจจฺ ายณ ผกู ๘ (ขอมอยธุ ยาภาษาบาล)ี
ไม่มีช่ือ ๑ ผกู (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล/ี ไทย)
๐๙๔ ธาตอุ ณุ าตกจจฺ ายณปรปิ ูณฯ
โยชนาอาขฺยาต ผูก ๑
อณุ าทธฺ กิ ตฺยายจปปฺ ริปูณ ผูก ๘ (ขอมบาลี)
กรฺ ติ กจจฺ ายนผกู ๖ (ขอมบาล)ี
โจทสนทฺ ิวภิ ตตฺ ินามแลอาขฺยาต (ขอมบาลี)
ธาตุอาขฺยาตวิฏฐฺ าร
มลุ ลฺ กจฺจายยฺ ณอุณณฺ าท (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)
โยชนาอาขยฺ าตสาครํ ผกู ๒ ทานแลว้ (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
มูลกจฺจายนาถนาม ผูก ๑
ธาตุอุณาททฺ ิผกู ๘ (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
ทาตกรฺ ิตจปฺปริปนู (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
มูลลฺ กจจฺ ายฺยตทธฺ ติ ผกู ๗ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
มูลลฺ กจจฺ ายยฺ ณธาตอุ ณุ ณฺ า ผูก ๓ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)
มูลกจฺจายนอาขยฺ าตจปฺปรปิ ณู ฺณ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาลี)
มลู ลฺ กจจฺ ายณธาตุอาขฺยาต ผกู ๒ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
การกปกรณ ผูก ๙ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
การกกจจฺ ายน ผกู ๙ (ขอมอยธุ ยา ภาษาบาล)ี
ธาตอุ ุณาทิ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
ธาตุอุณาทิ ๒๑ ไบปรปิ รู ณฺ ฺณ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาลี/ ไทย)
๐๙๕ มลู กจจฺ ายนนาม ผูก ๑
พฺรมูลกจฺจายนนาม ผูก ๒
มูลลฺ กจจฺ ายนสมาสปรปิ รู รณ
พฺรมลู กจฺจายนตทฺธติ
พฺรมลู กจจฺ ายนอาขยฺ าต “ขา้ พเจา้ นายเตง”
พฺรมูลกจฺจายนตกรฺ ิต
พรฺ มูลกจจฺ ายนอณุ าท
พฺรมลู กจจฺ ายนการก


87

มูลกจฺจายนธาตุอาขฺยาต ผกู ๑
พรฺ มลู กจฺจายนธาตุอาขฺยาต ผกู ๒
มลู กจฺจายนธาตกุ ฺรติ ผกู ๑ – ๒
พรฺ มลู กจฺจายนธาตอุ ณุ าทิ ผูก ๑ – ๒
สททฺ าวิเสสเผฺฑจส์ งเฺ ขป
๑๐๔ มูลกจฺจายนนามฺม ผกู ๑ (ขอมอยุธยา ภาษาบาล)ี
นามกจฺจายน ผกู ๑
มลู กจจฺ ายนสมาส ผูก ๔
การกกจฺจายนมูลลฺ จปปฺ รปิ ณู ฺณ ผูก ๙
พฺระมูลลฺ กจจฺ ายนตทฺธิตปริปูรณฺ ฺณา ฯ
มลู กจจฺ ายนธาตอุ าขฺยาต ผกู ๑
มูลกจจฺ ายนตทธฺ ติ ผูก ๔
ธาตอุ ุณาทสำ� มเรจฺจ ผกู ๑
ธาตุอาขยฺ าตจฺปปริปณู ณฺ เทานแิ ล
อณุ าทิ ผูก ๑
มลู กจฺจายนนาม ผูก ๑
มลู ฺลกจฺจายอณุ าตผูก ๑ (ขอมอยุธยา)
มลู กจฺจายนาม ผกู ๑
มูลกจจฺ ายนธาตุอาขฺยาต ผกู ๑
มลู กจฺจายนาม ผูก ๑
อณุ าตกจฺจายณ ผกู ๘
มลู ลฺ กจฺจายฺยอุณาทธฺ ผกู ๗
ธาตอุ าขฺยาตจปฺปรปิ รู ฺณฺณ
มลู กจฺจายนสมาส
ธาตอุ าขฺยาต ผูก ๑ จปปฺ ริปนู
มลู ลฺ กจจฺ ายยฺ อุณาทฺธิ ผูก ๘
นาม ผกู ๑
ไมม่ ชี ่ือ ๑ ผกู


88
๑๐๕ มูนฺยกจฺจายฺยตทฺธติ ผกู ๕
มลู กจฺจายตทฺธติ
มูลฺลถานตทธฺ ิต ผูก ๒
การกปริปณุ ณฺ า
การกกจจฺ าย ผกู ๙
ธาตุอณุ าทิ ผกู ๑
นเิ สยฺยนาม
มลู กจฺจายนสมาส ผูก ๔
สมาสกจจฺ ายยฺ นจปปฺ ริปุรณฺ ณฺ
มูลกจฺจายฺยสมาส ผูก ๔
กฺริตกจจฺ าย ผูก ๗
กฺรติ ปกรณปรปิ ูณฺณ ผูก ๗
โยชนามลู กจฺจายนนาม ผูก ๔
ธาตอุ าขยฺ าตส�ำมเรจฺจ ผกู ๑
มลู กจจฺ ายกติ
อาขฺยาตกจฺจายน ผกู ๕
มลู ลฺ กจฺจายนาถอาขฺยาตปกรณจํ ตุกณฺฑสํ มตตฺ ํ ผกู ๖
มูลกฺ จจฺ ายนอาขฺยาต
การก ผกู ๑ จ่ปปริปรู ฺณฺณฯ วัดจ�ำปา
นิเสยฺยกรฺ ิต
มูลลฺ กจฺจายฺยณกรฺ ิต ผกู ๗
การกกจจฺ ายฺย ผกู ๘
๑๑๓ มลู ฺลกจฺจายนสนธฺ ินฏิ ฺฐติ ํ
มูลฺลกจจฺ ายนนาม ผกู ๒ จ่ปปฺ ริปูณณฺ านฏิ ฐฺ ิตา
มลู ลฺ กจจฺ ายนสมาส ผูก ๔ จปฺปรปิ ณุ ฺณ
มลู ลฺ กจจฺ ายนตทธฺ ิต ผูก ๕
มูลฺลกจฺจายนอาขยฺ าต ผูก ๖ จปปฺ รปิ ุณฺณาฯ
มูลลฺ กจฺจายนกรฺ ติ จปปฺ ริปณู ผกู ๗
มูลลฺ กจฺจายนอุณาทิ ผกู ๘


89
มลู ลฺ กจฺจายนการก ผกู ๙
มลู ฺลกจจฺ ายนาตฺถธาตุกรฺ ติ ผกู ๑ – ๒
ธาตอุ าขฺยาต ผกู ๑
๑๑๔ มูลกจจฺ ายณนาม ผูก ๑
มูลฺลกจจฺ ายนสตู รฺ ผกู ๑ แล้
มูลปกรณนสิ สฺ ยกฺริต ผูก ๒ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาไทย)
โยชนานาม ผกู ๑ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
นาม ผกู ๒ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
นามกจฺจายน ผูก ๒ (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
โจทฺยวภิ ตฺติปรปิ รู รณ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี/ ไทย)
นามกจฺจายน (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
ธาตุอาขยฺ าตจปฺปรปิ ูณณฺ นฏิ ฐฺ ิตา (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
มูลลฺ สตู ฺรนิฏฐฺ ิตํ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
มูลกจฺจายสนธฺ ิ ผกู ๑
มลู ลฺ กจฺจายนนาม ผูก ๑ (ขอมอยุธยา ภาษาบาลี)
พรฺ ะมูลกจจฺ ายนกฺริต
ธาตกุ ฺรติ ส�ำเรทธฺ ิ
พรฺ มูลกจฺจายนตทธฺ ติ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
มลู กจจฺ ายนตทธฺ ิตจปํ ปฺ รปิ รู ณฺ ณฺ แตเ่ ทาน้ี
ตทฺธิตปกรณสํ มตนํ ฏิ ฺฐติ ํ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
พรฺ มหามูลลฺ กจฺจายนนาม ผูก ๒
สนฺธกิ จจฺ ายณ ผูก ๑ (มจี ิตรกรรม)
ขอฺ มลู แลปจจฺ ยตทฺธิตยาทิกติ วคิ ฺคห
ปทวคิ คฺ หนามสเํ ขปตโฺ ตตปิ รปิ รุ ณฺ (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
โยชนามูลกจฺจายนสนฺธิ ผูก ๑ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)


90
โยชนามลู กัจจายนะ
โยชนามูลกจั จายนะ เปน็ คมั ภรี ท์ พี่ ระญาณกติ ตเิ ถระ แตง่ ทีเ่ มอื งเชยี งใหม่๗๘
คมั ภรี ์โยชนามลู กจั จายนะทพี่ บในวัดสมุหนิมิต ได้แก่
๐ ๖๒ โยชนามลู ฺลกจฺจายนนามมฺ ผกู ๑ – ๒ (ขอมรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาบาลี)
โยชนาสนธฺ ิกจจฺ ายน ผกู ๑ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)
โยชนามลู ฺลกจจฺ ายนตทธฺ ติ ผกู ๑ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาลี)
๐ ๘๒ โยชนามลู กจจฺ ายน
โยชนาการก ผกู ๑
โยชนาอณุ าทกิ จจฺ ายน ทตุ ยิ วคคฺ
โยชนาอุณาทปิ ถมวคคฺ
โยชนากติ ฺต ผกู ๑
โยชนากติ ทตุ ยิ วคคฺ
โยชนาตทฺธิต ผกู ๑ – ๒
โยชนาสมาส ผกู ๑
โยชนาสมาสทุติยวคฺค
๐๙๐ โยชนามลู กจจฺ ายน ประกอบดว้ ย
โยชนาสนฺธิปริปุณณฺ ฯ
โยชนานาม ผูก ๑ – ๔
โยชนาสมาส ผูก ๑ – ๒
โยชนาอาขยฺ าต ผูก ๑ – ๒
โยชนากิตตฺ ผูก ๑ – ๒
โยชนาตทธฺ ติ ผกู ๑ – ๒
โยชนาอุณาทิ ผูก ๑ – ๒
โยชนาการก ผกู ๑

๗๘ เรื่องเดยี วกัน.


91
สุตตนิทเทส
สตุ ตนทิ เทสเปน็ คมั ภรี อ์ ธบิ ายความในกจั จายนปาฐะ พระสธรรมโชตปิ าลเถระ
เป็นผู้แตง่ ๗๙ คัมภีรส์ ตุ ตนิทเทสท่ีพบในวดั สมุหนิมติ ได้แก่
๐๓๖ มลู กจฺจายน, สุตตฺ นิทเฺ ทส และพฺรโยชนา
๐๕๖ สตุ รฺ นิทฺเทส ๑ – ๑๒

พาลัปปโพธ
คัมภีร์พาลัปปโพธ เป็นคัมภีร์ว่าด้วยการกอันเปลี่ยนแปลงโดยวิภัตติต่างๆ
และมีฏกี าชอ่ื ว่า วจิ ิตรสาร๘๐ คมั ภรี พ์ าลปั ปโพธทีพ่ บในวัดสมหุ นิมติ เชน่
๐๕๙ ฑกิ าพาลปปฺ โพธิ ผูก ๑ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
๐๕๙ วิจติ ฺตาหรฏีกาพาลปปฺ โพธนสำ� แตงการกหก
๐๖๒ พาลโพธิ (ขอมรตั นโกสนิ ทร์ ภาษาบาล)ี
๐๖๔ วจิ ติ รฺ สารฏกี าพาลปโพธ (ขอมหวัด ภาษาบาลี)
๐๖๔ พาลปโพธนิตฺถิตํ (ขอมหวดั ภาษาบาล)ี
๐๘๐ ปาฬพี าลปฺปโพธิ
๐๘๐ ฏิกาพาลปฺปโพธิ ผูก ๒
คันถาภรณ์
เป็นคมั ภรี ์ว่าดว้ ยนปิ าตศัพท์ตา่ งๆ พระอรยิ วงศเถร เป็นผู้แตง่ นอกจากนีย้ งั
มีฏีกาชื่อว่า ฏีกาคันถาภรณ์วิตถาร พระสุวรรณรังษีเถระแต่งที่วัดวิชยาราม เมือง
เวยี งจนั ท์ เม่อื พ.ศ. ๒๑๒๘๘๑ คัมภีร์คนั ถาภรณท์ พ่ี บในวดั สมุหนมิ ิต ไดแ้ ก่
๐๑๑ คมภฺ ีร์คณฐฺ าภรณผ์ ะเฑ็จฑีมาก
๐๔๘ คณฐฺ าภรณ
๐๖๒ ตัวคณฺฐาภรณสารํนิฏฐฺ ติ ํ (ขอมรตั นโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
๐๖๒ พฺระฑกิ าคณฺฐาภร ผูก ๑ (ขอมรัตนโกสินทร์ ภาษาบาล)ี
๐๘๐ ฏีกาคณฐฺ าภรณ ผูก ๑ – ๔

๗๙ เรอื่ งเดยี วกัน, หนา้ ๕๒.
๘๐ เร่ืองเดยี วกัน, หนา้ ๕๕.
๘๑ เร่ืองเดยี วกัน, หนา้ ๕๘.


92
สทั ทสารตั ถชาลนิ ี
สัททสารัตถชาลินี ว่าด้วยศัพท์และเน้ือความอันเกี่ยวพันกัน๘๒ คัมภีร์
สัททสารัตถชาลินีทพ่ี บในวดั สมุหนิมติ ได้แก่
๐๗๙ ฏกี าพรฺ สททฺ สารฏฐฺ ชาลนิ ี ผูก ๑ – ๔ (ขอมบาลี)
๐๘๐ ตัวสททฺ สารตถฺ ชาลินี
๐๘๐ ฏีกาสทฺทสารตฺถชาลิน้ี ผกู ๑ – ๕
สทั ทวตุ ติปกรณ์
๐๘๐ ปาฬสิ ทฺทวตุ ฺตปิ กรณ
๐๘๐ ฏกี าสททฺ วตุ ฺตวิ ติ ฺถาร ผกู ๑ – ๔
วุตโตทยั
ว่าด้วยลักษณะแห่งฉันท์ภาษาบาลี พระสังฆรักขิตเถระเป็นผู้แต่ง๘๓ คัมภีร์
วตุ โตทัยทพี่ บในวัดสมุหนมิ ติ ได้แก่
๐๖๒ ปาถวุตโฺ ตทยปรปิ ุณณฺ ผกู ๑
๑๒๔ วตุ ฺโตทยฺ
จากทก่ี ลา่ วมาแสดงใหเ้ หน็ วา่ คมั ภรี ป์ ระเภทสทั ทาวเิ สสทพ่ี บในวดั สมหุ นมิ ติ
สว่ นใหญเ่ ปน็ คมั ภรี ม์ ลู กจั จายนะซง่ึ เปน็ ตำ� ราเรยี นภาษาบาลที สี่ ำ� คญั ของไทยกอ่ นที่
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส จะทรงนิพนธ์ต�ำราบาลีไวยากรณ์
ขึ้นใหม่ นอกจากคัมภรี ์มลู กัจจายนะแลว้ ยงั มีคัมภีร์อื่นๆ ท่ขี ยายความมลู กัจจายนะ
เชน่ สุตตนิทเทส และโยชนามูลกัจจายนะเปน็ ตน้ คมั ภีร์สทั ทาวิเสสอ่นื ๆ ที่พบคือ
พาลัปปโพธ และตำ� ราแต่งฉนั ท์ คอื วุตโตทยั แสดงใหเ้ ห็นว่าวดั สมหุ นมิ ติ เป็นส�ำนัก
เรยี นบาลที ีส่ ำ� คญั ของพุมเรยี ง หรือเมอื งไชยา จงึ ทำ� ใหม้ คี มั ภีร์ตำ� ราเรียนภาษาบาลี
จำ� นวนมากนน่ั เอง

๘๒ เร่อื งเดียวกัน, หนา้ ๕๗.
๘๓ เร่อื งเดยี วกนั , หนา้ ๖๒.


93


94


95


Click to View FlipBook Version