The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี One Report 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaaey.sarinya, 2022-03-29 21:49:50

รายงานประจำปี One Report 2564

รายงานประจำปี One Report 2564

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 51
บริษัท เด็มโก จำกัด (มหาชน)

นอกจากนี้ คณะกรรมการและคณะทำงานพัฒนาความยั่งยนื ยังไดกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาความยัง่ ยนื ของเด็มโก เพื่อใช
ดำเนนิ การของกลุมบริษทั เดม็ โกใ นการพัฒนาความย่ังยนื ไดม งุ ใหบงั เกิดผลลัพทดานธุรกิจ และ / หรอื ผลลพั ทด า นสังคม ที่จะเปน
ประโยชนตอผมู สี วนไดเสยี สงั คม ส่ิงแวดลอ ม และบุคคลท่ีเก่ียวของ โดยคำนงึ ถึงการมสี วนรวมของพนักงานและผูบริหารของเด็ม
โกเปน กำลงั สำคัญ นอกจากน้ี เพ่อื ความยั่งยนื ในการดำเนินธรุ กิจ ยงั จะตอ งตระหนกั ถงึ คณุ คา ทีพ่ งึ มีตอ สิง่ แวดลอ ม สังคม และการ
ประกอบกจิ การท่ีดีดว ยหลักธรรมาภิบาล ในการดำเนนิ งานของกลุมบริษทั เด็มโกอ ีกดว ย

การประเมินประเด็นที่สาํ คญั ตอ่ ความยงั ่ ยืน

กลุมบริษัทเด็มโกไดคัดเลือกประเด็นความยั่งยืนที่มีความสอดคลองกับการดำเนินธุรกิจ โดยเริ่มจากการศึกษาประเด็น
ความยัง่ ยืนในปจ จบุ นั ทอ่ี งคก รตาง ๆ ในระดับสากลใหค วามสำคัญ ไมวา จะเปน ดานเศรษฐกจิ สงั คม และสิ่งแวดลอม จากนนั้ ไดค ดั
กรองเฉพาะประเดน็ ท่ีมีความเกยี่ วของกับการดำเนินงานของกลมุ บริษัทเด็มโก โดยกระบวนการคัดเลือกประเด็นสาระสำคัญและ
ขอบเขตผลกระทบ มี 4 ข้นั ตอนดว ยกนั ซง่ึ มีรายละเอียดการดำเนินงาน ดงั น้ี

52 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษัท เด็มโก จำกัด (มหาชน)

ประเดน็ ทสี่ าํ คญั ตอ่ ความยงั ่ ยืนของเดม็ โก้ ในปี 2564

การดาํ เนินงานเพอื่ ความยงั ่ ยืน

ดวยความมุงม่ันในการดำเนนิ ธรุ กิจอยางยั่งยืน เด็มโกไดกำหนดแนวทางการดำเนินงานในแตล ะดานเพ่ือสนับสนุนกลยทุ ธ
ซึง่ สอดคลองกบั ประเดน็ ความยัง่ ยนื ทส่ี ำคัญ และเปา หมายการพฒั นาความยงั่ ยนื ดงั นี้

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 53
บริษัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

แนวทางสูก่ ารพฒั นาความยงั ่ ยืนของเด็มโก้

แนวทางสกู ารพัฒนาความย่งั ยนื ของเด็มโก มฐี านรากจากคานยิ มองคก ร (Core Value) “ i DEMCO”

และประกอบดว ยปจ จัยหลกั 3 ประการ คอื การจัดการองคก รอยางสมดลุ การสรา งความเขม แข็งและการเจรญิ เติบโตอยางย่ังยืน
ความรับผดิ ชอบที่พึงมตี อ เศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดลอม ปจจัยเหลานไ้ี ดรับการสนับสนนุ จากปจจยั เสริมอีก 2 ประการ คือการกำกบั
ดูแลกิจการที่ดีในองคกร และการสงเสริมกระทำใหเกดิ จิตสำนึกรับผดิ ชอบตอสังคม สิ่งแวดลอ ม ปจจัยเหลาน้ีไดรับการสนับสนุน
จากปจจัยเสริมอีก 2 ประการ คือการกำกับดูแลกิจการที่ดีในองคกร และการสงเสริมกระทำใหเกิดจิตสำนึกรับผิดชอบตอสังคม
สงิ่ แวดลอม

การจดั การองคกรอยา งสมดุลของเดม็ โก หมายถึงการมงุ พฒั นาทรพั ยากรมนุษย การสรา งประสบการณท ีด่ ีใหแ กลกู คา การ
พฒั นาความสมั พนั ธท ่ียง่ั ยนื กับคคู า พนั ธมิตร และการลดผลกระทบดา นสงั คม สิ่งแวดลอม

54 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

การมงุ มั่นพัฒนาทรพั ยากรมนุษย (People)
• มงุ มั่นพัฒนาความสามารถของบคุ ลากรและสรา งผนู ำทีด่ ี คนดี คนเกง เพ่อื องคกรและสงั คม

• ดำเนินกระบวนการในการพัฒนาหลายระดบั เรม่ิ จากวางรากฐานที่ดใี หแกน ิสิต นักศึกษา ชมุ ชน ใหโอกาสในการทำงานไปสู
ระดับช้ันของการพัฒนาทักษะและสรางผนู ำทด่ี ี คนดี คนเกง และมจี ิตสำนึกดานการพัฒนาอยา งยั่งยืน

การสรา งประสบการณท ่ดี แี กลกู คา (Customer Value)
• คำนึงถึงความตองการของลูกคา โดยสนับสนุนการมีสวนรวม ทำความรูจัก เขาใจ (Insight) และใหความรู เรียนรู กับทั้ง
ลูกคา ปจ จุบันและลูกคาในอนาคต

• สรา งสรรค นวัตกรรม ผลิตภณั ฑและบรกิ ารท่ีดที ส่ี ดุ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบดานสงั คมและสง่ิ แวดลอ ม ไมวาจะเปน ผลกระทบ
โดยตรงกับลูกคา หรอื ผานการจัดซือ้ จดั จา ง หรอื ผานชอ งทางการตลาด

การพฒั นาความสัมพันธทีย่ ่งั ยืนกบั คคู า พนั ธมติ ร (Value Chain)
• มงุ มั่นเพ่ือสรา งความสมั พนั ธก บั พนั ธมติ รทางธุรกจิ และผมู สี ว นไดเ สีย ท่ที ำใหเกิดประโยชนร ว มกันทุกฝา ย อยางยืนยาวและยงั่ ยืน

• สรางความมั่นใจกบั พนั ธมติ รทางธุรกจิ วา เราจะเติบโตดวยกันอยา งยั่งยนื
การลดผลกระทบดานส่งิ แวดลอม (Planet)

• มุงมน่ั ในการบรหิ ารจัดการและสรางผลกระทบเชงิ บวก ตอสง่ิ แวดลอ มในทุกพ้นื ทีท่ ก่ี ลมุ บรษิ ทั เด็มโกด ำเนนิ ธรุ กจิ

• สนับสนุนการอนุรกั ษพลงั งาน และพลงั งานสะอาด และลดการปลอยกา ซเรอื นกระจก
การสรา งความเขมแข็ง สงเสรมิ นวัตกรรมองคก รและการเจริญเติบโตอยางย่งั ยนื (Profit / Corporate Goals)

• สรา งอัตราการเจรญิ เตบิ โตของรายได ผลกำไร ทสี่ มำ่ เสมออยา งมน่ั คงตอเนอ่ื ง

• สรา งอัตราผลตอบแทนและมีแหลงรายได การดำเนนิ ธรุ กจิ ท่คี มุ การลงทุนและหลายดา นเพื่อกระจายความเสี่ยง

• มกี ารพฒั นาและสง เสริมนวตั กรรมองคก รและเทคโนโลยีใหม ๆ ใหเ ปน กลยุทธธุรกจิ ทีส่ รา งมูลคา เพิ่มและความเติบโต กับเกิด
ประโยชนร วมดานสังคมและส่งิ แวดลอม

• มกี ารบริหารทางการเงนิ และตน ทนุ โครงการทม่ี ีประสทิ ธิภาพสูง

• มีธรุ กิจการลงทุนดานพลงั งานทดแทนและดำเนนิ ธุรกิจและการตลาด การพฒั นาประสทิ ธิภาพการใชพ ลงั งานครอบคลมุ ทง้ั ใน
ประเทศ และตางประเทศ

• มีการบรหิ ารจัดการทดี่ ี มีธรรมาภิบาล ตามแนวทางการพฒั นาทยี่ ั่งยืน
ความรบั ผดิ ชอบทีพ่ งึ มตี อ เศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดลอม (Planet)

• ปลูกฝง คนในองคก รใหเ คารพสทิ ธมิ นุษยชน และมกี ารปฏิบัตติ อ แรงงานอยางเปนธรรม

• สรา งเสริมสขุ ภาพทด่ี ี และมคี วามปลอดภยั ในการทำงาน พรอ มกบั พัฒนาศักยภาพและดูแลพนักงาน พัฒนาชมุ ชนรอบขาง

• มกี ารบริหารหว งโซอ ุปทานที่สามารถพฒั นาความสัมพันธก บั คคู า อยางมีประสิทธิภาพ

• การบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลมุ ปจ จยั เส่ียงทอ่ี าจกอใหเ กดิ และสงผลกระทบตอ การดำเนินธุรกิจทัง้ ในปจ จุบันและอนาคต

• สงเสริมการลดใชพลังงาน การใชท รพั ยากรอยางคุม คา

• สง เสริมการปลูกตน ไม เพม่ิ พ้นื ทสี่ ีเขียว
จิตสำนกึ ในการรบั ผดิ ชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม (Shares Value)

• สนบั สนุนและสง เสรมิ พนกั งานและพนั ธมติ รทางธรุ กิจใหมีจิตสำนกึ ในการรบั ผดิ ชอบตอสงั คม ส่ิงแวดลอม

• พัฒนาบุคลากรและผูนำในอนาคต Leader for the Future ใหเปนผูที่สามารถบริหารธุรกิจ โครงการบรรลุตามเปาหมาย
และมีความตระหนกั ถึงการสรางผลกระทบเชงิ บวกตอสงิ่ แวดลอมและสังคม

การกำกบั ดแู ลกิจการทดี่ ี (Governance)
• วางรากฐานทแ่ี ข็งแกรง สำหรับองคก รใหเ ตบิ โตอยา งย่งั ยนื สรางความมัน่ ใจใหก บั ผมู สี วนไดเ สียทกุ ฝา ย ดว ยการกำกบั ดูแล
กจิ การทด่ี ีในทกุ การดำเนนิ งานของกลุมธรุ กจิ เด็มโก

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 55
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

กลยทุ ธแ์ ละเสน้ ทางสกู่ ารพฒั นาความยงั ่ ยืน

เด็มโกไดพัฒนาการวางแผนกลยุทธ DEMCO : Business Plan 2563 - 2566 ที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทใน
การประชมุ การวางแผนกลยทุ ธประจำป กลยุทธน ้ีเปน เครอ่ื งมอื ในการขบั เคลอ่ื นองคกรใหบรรลุวิสัยทศั นด า นการพัฒนาอยา งย่ังยนื
โดยการแปลงแรงบนั ดาลใจไปสูก ารปฏิบัติ กลยุทธดังกลาวไดรับการทบทวน พัฒนาจากแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยนื ของเด็มโก
และสอดคลองกับแผนธุรกิจของเด็มโกโดยรวม และยังสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติที่เกี่ยวของ
ท่เี ด็มโกใหการสนบั สนนุ ในฐานะองคก รท่ีมคี วามรับผดิ ชอบตอ สงั คม

ในกระบวนการทบทวนกลยุทธป ระจำปนัน้ คณะกรรมการบริษทั และฝา ยจดั การวเิ คราะหท ิศทางการพฒั นาเพื่อความยั่งยนื
ทั้งในปจจุบันและอนาคต โดยระบุความเส่ียงและโอกาสที่อาจจะเกดิ ขึ้นจากทศิ ทางเหลา นั้น ไดพิจารณาถงึ ผลกระทบที่จะเกิดขึน้
ตอธรุ กจิ และแนวทางการบรหิ ารความเส่ียง ซ่ึงทงั้ หมดนี้ถูกรวมอยูในแผนกลยุทธและแผนการพฒั นาทีย่ งั่ ยืนของเดม็ โก

เพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนดานการพัฒนาอยางยั่งยืนของเด็มโกที่มุงมั่นเสริมสรางความแข็งแกรง ตามศักยภาพและการ
ดำเนินงานในระยะยาวดว ยการพัฒนาอยางยั่งยืน เด็มโกไดระบุยุทธศาสตรห ลัก 3 ประการ ซึ่งเปน แรงขับเคลือ่ นที่สำคญั ไดแก

1. พัฒนาบุคลากรใหมคี วามสามารถอยางยั่งยืน (เพื่อสรา งการเติบโตดวยเทคโนโลยีใหม (New Technology) ดวยการบรหิ าร
จัดการใหธ รุ กจิ เติบโต ตอ ยอดโอกาสทางธุรกจิ )

2. บริหารจดั การพันธมติ ร และหวงโซอปุ ทาน คณุ คาที่ยั่งยนื
3. การบรหิ ารจดั การผลกระทบตอ สงั คม สิง่ แวดลอม สง เสรมิ การอนรุ ักษพ ลงั งาน และการใชท รัพยากรอยางคมุ คา
ยุทธศาสตรเ สริมอีก 2 ประการ คือ
1. ปลูกฝง และสง เสริมใหก ารพัฒนาอยา งยั่งยนื เปนสว นหนึ่งของการดำเนินงานขององคกร
2. สง เสรมิ การกำกับดูแลกจิ การท่ีดี และการสรา งวฒั นธรรมในการดำเนนิ ธรุ กจิ อยางมคี วามรบั ผิดชอบ

กลยทุ ธก์ ารพฒั นาความยงั ่ ยืนปี 2563 – 2565

วสิ ัยทศั น
“เสริมสรา งการบรหิ ารกิจการอยา งสมดลุ และความเขม แข็งทางศักยภาพ และการดำเนินงานระยะยาวดว ยการพัฒนาความยง่ั ยนื ”

ยทุ ธศาสตรหลกั
การพฒั นาบุคลากรทีม่ ีความสามารถอยา งย่งั ยนื
เปาหมายป 2565

• มบี คุ ลากรทเ่ี พยี งพอ และสามารถสรรหาไดท นั กับความตองการของหนว ยงาน 100%

56 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

• 50% ของตำแหนง ระดบั บริหารทว่ี างไดรับการบรรจโุ ดยการเลื่อนตำแหนงงานภายใน

• วิศวกรทุกคน ไดเขา รับการฝก อบรมเพอ่ื พัฒนาทักษะความสามารถ ไมนอ ยกวา ปล ะ 24 ชัว่ โมง

• พนกั งานทุกคนไดรับการฝกอบรมเพอื่ พัฒนาทักษะความสามารถ ไมน อ ยกวาปละ 18 ชวั่ โมง
• พนักงานทกุ คน ผานเกณฑการทดสอบทักษะ ความสามารถทางดานการใชเทคโนโลยดี ิจติ ลั (Digital Literacies)
แนวทางการดำเนินงาน
• จัดหลักสตู รการเรยี นรูและพฒั นาสำหรับพนกั งานท่มี ีประสิทธภิ าพ
• สง เสรมิ การพฒั นาผบู รหิ ารศกั ยภาพสูงและผนู ำอยา งตอ เน่ือง

• ปลูกฝง จติ สำนกึ ความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คมใหก ับพนกั งานและผมู สี ว นไดเสยี
• สงเสรมิ วัฒนธรรมความยง่ั ยืนภายในองคกรผา นผนู ำดา นความย่ังยนื

• กำหนดหลักเกณฑก ารทดสอบทกั ษะความสามารถ และ การตรวจประเมินพนักงาน

บรหิ ารจดั การพันธมิตร และหว งโซอปุ ทานคณุ คาท่ีย่ังยืน
เปา หมายป 2565

• ดัชนี ความพึงพอใจของลกู คารายสำคญั (Customer Satisfaction Survey) ของเดม็ โก เพิ่มขน้ึ เปนมากกวา 85%
แนวทางการดำเนนิ งาน

• เสรมิ สรา งความผกู พนั กบั ลูกคา อยา งตอเนอื่ ง ดวยการเขา ถึงและตอบสนองตอ ความตองการของลูกคา ไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ
และทนั ทว งที

• มงุ ม่ันในการสงมอบผลติ ภณั ฑแ ละบรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพ เพือ่ สรา งประสบการณที่ดใี หก บั ลกู คา
• นำเสนอผลติ ภัณฑแ ละบรกิ ารท่ีคำนงึ ถงึ ความยัง่ ยนื และสามารถตรวจสอบแหลงทมี่ าได
เปา หมายป 2565
• 95% ของคคู า คูคาหลัก (Critical Supplier) ไดรบั การประเมินความเสี่ยงดานความยง่ั ยืน
• 100% ของคูคาที่ถูกประเมินมีความเสี่ยงสูงไดรับการตรวจสอบและพัฒนาทุกป/มีการจัดการความเสี่ยง (Mitigate Risk)

ตามเกณฑท ี่กำหนด
แนวทางการดำเนนิ งาน
• คคู ารายสำคญั Critical Supplier ถกู ประเมินความเสยี่ งดานความยง่ั ยนื เบ้ืองตน กอนเขา สกู ระบวนการจัดซือ้ จดั จาง
• เสรมิ สรา งความรูและประเมนิ คคู า พันธมิตรในดานความยง่ั ยนื ซง่ึ ครอบคลุมถึงสงิ่ แวดลอม ความปลอดภัยและ

• อาชีวอนามยั และสิทธิมนุษยชน
• ตรวจสอบและติดตามผลการดำเนินงานดานความยั่งยืนของคูคา พันธมิตร ที่ถูกประเมินวามีความเสี่ยงสูง โดยอางอิงตาม

กฎหมายทองถิ่น เพื่อใหค คู า พนั ธมติ รมกี ารพฒั นาตนเองอยางตอ เน่อื ง

• เสริมสรางความรูความสามารถของทีมงานบรหิ ารจัดการ ซัพพลายเชน เพอื่ ผลกั ดนั ความเปนผูน ำดานการพัฒนาอยางยั่งยืน
ในการประสานงานกับคูคา พันธมิตร ผรู ับเหมา และหนว ยงานปฏิบัตกิ ารภายในองคกร

• เสริมสรางความรว มมอื ทีไ่ ดประโยชนทั้งสองฝายทั้งภายในและภายนอกองคกร เพื่อใหเกิดการใชทรัพยากรอยางคุมคา และ
หรอื การสรา งนวตั กรรม รวมถึงการแลกเปล่ยี นความรู

การบริหารจัดการผลกระทบตอสังคม สิ่งแวดลอม และสงเสริมการอนุรักษพลังงานและการใชทรัพยากรอยางคุมคา
(การอนุรกั ษธ รรมชาติ)
เปา หมายป 2565

• ลดปริมาณของเสยี ทเี่ กดิ จากกระบวนการผลิตใหเปน Zero Waste / Zero Defect
• เพิ่มขีดความสามารถในการนำวัสดุและสิ่งของเหลือใช Dead Stock ไปใชประโยชน ใหมีปริมาณลดลง 75% เทียบกับป

2562

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 57
บริษัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

แนวทางการดำเนินงาน
• ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิธีการดำเนินงานโดยมุงยกระดับการใชทรัพยากรอยางยั่งยืนตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
(Circular Economy)

• สนับสนุนผลักดันใหผูบริหารและพนักงานทุกระดับปฏิบัติตามกรอบการบริหารจัดการของเสียตามหลัก 3Rs (Reduce,
Reuse, Recycle)

• รณรงคใ หพ นกั งานตระหนกั ถงึ การใชทรัพยากรอยางคมุ คา และสงเสริมสนบั สนนุ กจิ กรรมโครงการดา นสิง่ แวดลอ ม เพอ่ื ขยาย
ผลกระทบเชิงบวกท่มี ตี อเศรษฐกจิ สงั คมและส่ิงแวดลอ ม ทั้งในระดบั ชุมชนและประเทศ อยา งตอ เนื่อง

ยุทธศาสตรเสริม
ปลูกฝง และสง เสริมใหก ารพัฒนาความยงั่ ยืนเปนสวนหน่ึงของการดำเนนิ งานขององคกร
เปาหมายป 2565

• 50 % ของผบู ริหารระดับผูจ ัดการ ไดเขารบั การอบรมสมั นาดา นการพฒั นาความยัง่ ยนื จากภายนอกหรอื ภายในโดยวทิ ยากร
จากภายนอก

• 30 % ของกรรมการ ไดเขา รว มงานอบรมสมั นาทีจ่ ดั โดยตลาดหลกั ทรพั ยแหงประเทศไทย (ตลท.) หรอื สำนักงาน
คณะกรรมการกำกับหลกั ทรัพยแ ละตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) หรือสมาคมสงเสรมิ สถาบันกรรมการบรษิ ทั ไทย (IOD)

• มีกิจกรรมรณรงคเ พือ่ การพฒั นาอยา งยง่ั ยืน อยา งนอย ปละ 2 ครงั้ โดยพนกั งานมสี วนรว ม

• ESG Goals เปนเปาหมายรว มของทกุ หนว ยงาน
แนวทางการดำเนินงาน

• ใหค วามรู การฝกอบรมท่เี กี่ยวของกับการพัฒนาอยางยัง่ ยนื การแบง ปนประสบการณจ ากการดำเนินการท่เี ปน เลิศ การสรา ง
เครอื ขา ยกับผเู ชยี่ วชาญทงั้ ภายในและภายนอกองคก ร

• ปลกู ฝง ขยายผลจากการอบรมสกู ารปฏิบตั จิ ริง การวดั ผลและพฒั นากระบวนการที่ยั่งยนื อยา งตอเนอื่ ง สนบั สนุนการพัฒนา
อยา งยงั่ ยนื ในหนวยงานตา ง ๆ โดยใชข อ มลู จากการประเมินเปน แนวทางปฏิบัติ

• สงเสรมิ แบง ปนเร่ืองราวของความสำเร็จ ขยายโครงการทสี่ ำเรจ็ ไปในหนวยงานอนื่ ๆ สง เสรมิ ใหการพัฒนาอยา งยง่ั ยืนเปน
สว นหน่งึ ของการดำเนนิ งานขององคก ร โดยการใหการยกยอง ชมเชย รางวัล และการเผยแพรเ รอ่ื งราวความสำเรจ็ และ
เปด เผยผลการดำเนนิ งานดา นการพฒั นาอยางยง่ั ยนื อยา งโปรงใสและสอดคลองกบั แนวทางการรายงานระดบั สากล

• นวัตกรรม สงเสริมการใชน วัตกรรม และเทคโนโลยสี มยั ใหม ในกระบวนการดำเนนิ ธรุ กจิ ของหนวยงานตา ง ๆ อยางมีบูรณา
การ โครงการพัฒนาศักยภาพสำหรบั ผบู ริหารในการสรางสรรแนวคดิ และการทำงานในวถิ ีใหมที่ตอบสนองตอความตองการ
ของลกู คาและปจ จยั แวดลอ มทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป เพ่อื พฒั นากลยทุ ธท สี่ ามารถตอบโจทยของลูกคา ในการดำเนนิ โครงการจรงิ

สงเสริมการกำกบั ดูแลกจิ การทดี่ แี ละการสรา งวฒั นธรรมในการดำเนินธรุ กจิ อยา งมคี วามรับผิดชอบ
เปาหมายป 2565

• เด็มโก ไดรับคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่ดี ระดับ “ดีเลิศ” จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ใน
รายงานการกำกับดแู ลกจิ การของบรษิ ัทจดทะเบียนไทย

• 100% ของพนกั งานผานการอบรมการตอตา นการทจุ รติ คอรรัปชัน และระเบียบปฏิบัติของบรษิ ัท
แนวทางการดำเนนิ งาน

• ดแู ลโครงสรา งการกำกับดแู ลกิจการท่ดี ี ต้งั แตระดับคณะกรรมการจนถึงระดบั ปฏิบัตกิ าร

• สงเสริมการกำกับดูแลกิจการที่ดีทั้งภายในองคกรและกับผูมีสวนไดเสียที่เกี่ยวของ โดยการใชระเบียบปฏิบัติของเด็มโก
ระเบียบปฏิบัตสิ ำหรับคูคา การตรวจสอบดานสิทธิมนุษยชนอยา งรอบดา น การบริหารความเสี่ยงท่มี ปี ระสิทธภิ าพ ฯลฯ และ
การสรางความเขาใจและรับทราบโดยผานการฝกอบรมที่เกี่ยวขอ ง

58 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

การกาํ กบั ดแู ลกิจการที่ดี

กลุมบริษัทเด็มโกใหความสำคัญและปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำหรับบริษัทจดทะเบียนป 2560 หรือ
Corporate Governance Code for Listed Companies 2017 (CG Code) และขอแนะนำของสมาคมสง เสรมิ สถาบันกรรมการ
บริษัทไทย (IOD) โดยเด็มโกมุงมั่นในการดำเนินธุรกิจดวยความเปนธรรม สุจริต โปรงใส ยึดแนวปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแล
กิจการที่ดีตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) และคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
(ก.ล.ต.) กำหนด สำหรับคณะกรรมการทกุ คนในการปฏบิ ตั ิหนา ท่ไี ดย ดึ ถอื การปฏิบัตติ าม Fiduciary Duty สำคัญ 4 ประการ เพื่อ
สรา งความนาเชอ่ื ถอื ใหก บั ผลู งทุน และผมู ีสว นไดเสียทกุ กลุม ซึง่ เปนสวนสำคัญในการสงเสรมิ ความเติบโตอยา งตอเนื่อง ยั่งยืนของ
องคกร

คณะกรรมการบริษัทไดใหความสำคัญตอนโยบายการกำกับดูแลกิจการมาโดยตลอด กำหนดใหการกำกบั ดแู ลกิจการเปน
หนึ่งในดัชนีวัดผลการดำเนินงานของกลุมบริษัทเด็มโก รวมทั้งกำหนดใหมีการจัดทำแผนการดำเนินงาน เพื่อยกระดับการกำกับ
ดูแลกจิ การใหเปนไปตามมาตรฐานสากลอยางสม่ำเสมอ ในป 2564 คณะกรรมการบริษัทไดมีการปรับปรงุ นโยบายการกำกับดูแล
กจิ การทดี่ ี และหลักการกำกบั ดูแลกิจการทดี่ ี ตามหลักเกณฑของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ
ไทยประกาศกำหนด

เปาหมายป 2564
 ผลการประเมินโครงการสำรวจการกำกบั ดูแลกจิ การบรษิ ทั จดทะเบยี น (CGR) ในระดบั ดเี ลศิ
 ผลการประเมินการปฏิบัตงิ านคณะกรรมการบรษิ ทั ในระดบั ดเี ยยี่ ม

ผลการดำเนินงานป 2564
 ผลคะแนนการประเมิน CGR ในระดับดเี ลศิ
 มกี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานของคณะกรรมการชุดยอย 5 คณะ

แนวทางการกำกับดแู ลกจิ การ
คณะกรรมการบริษัท ไดใหความสำคัญกับการบริหารกิจการที่ดี ที่ยึดมั่นตามจริยธรรม และจรรยาบรรณในการประกอบ

ธุรกิจ ขอพึงปฏิบัติท่ีดีสำหรับกรรมการ ผูบริหาร และพนกั งาน ของบริษัทจดทะเบียน กฎ ระเบยี บ หลักการกำกับดแู ลกิจการท่ีดี
สำหรบั บรษิ ทั จดทะเบยี น ป 2560 และแนวปฏบิ ัตทิ ่เี กีย่ วขอ งของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกบั
หลกั ทรพั ยและตลาดหลกั ทรัพย

คณะกรรมการบริษัทจึงมอบหมายใหคณะกรรมการสรรหา พิจารณาคาตอบแทน และกำกับดูแลกิจการ ดำเนินการ
ติดตาม ประเมินและทบทวนเกี่ยวกับนโยบาย จรรยาบรรณ ตลอดจนแนวปฏิบัติที่ดีดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีของเด็มโก
ใหสอดคลองกับกฎหมายและแนวปฏิบัติสากล รวมทั้งขอเสนอแนะของสถาบันที่เกี่ยวของ และเสนอคณะกรรมการบริษัทเพ่ือ
พิจารณาอนุมตั ิเปนประจำทกุ ป

ดวยปณิธานอันม่ันคงแนวแนข องเดม็ โก ที่จะนำพาองคกรไปสูความสำเรจ็ อยา งยง่ั ยนื ภายใตแ นวคิดการบริหารองคกรโดย
ยดึ หลักธรรมาภบิ าลทีด่ ี และเปนองคกรหนง่ึ ท่มี ีความเปน เลิศทางดานบรรษัทภิบาล จงึ ไดเ ผยแพรน โยบายธรรมาภิบาลของเด็มโก
ไวบ นระบบเครือขา ย DEMCO Intranet และบนเว็บไซตข องเดม็ โก www.demco.co.th เพอื่ ใหพ นกั งานและลกู จา งของเด็มโกท กุ
คนไดมีความรู ความเขาใจ และสามารถนำนโยบายธรรมาภิบาลของเด็มโก ไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานใหเกิดเปนรูปธรรม
โดยในป 2559 - 2564 เด็มโก ไดรับการประเมินตามผลสำรวจโครงการสำรวจการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย
ตามรายงาน Corporate Governance Report of Thailand Companies อยใู นระดับ 5 สญั ลักษณค ณะกรรมการบรรษทั ภบิ าล
แหงชาติ ติดตอกันเปนปที่ 6 ในสวนของการดำเนินงานดา นการตอตานการทจุ ริตคอรรัปชันเด็มโกไดประกาศเจตนารมณเขา เปน
แนวรวมตอตานคอรรัปชันของภาคเอกชนไทย (Thai Private Sector Collective Action Against Corruption : CAC)

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 59
บรษิ ทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

โดยคณะกรรมการ CAC มีมติรับรองมาตรฐานการตอตานการทุจริตคอรรัปชันใหเปนสมาชิกแนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย
ในการตอตานการทุจริต ตั้งแต 22 เมษายน 2559 และปจจุบันเด็มโกไดพัฒนาการรับรูเรื่องการตอตานการทุจริตในหมูพนักงาน
และผูบ รหิ าร เพื่อเปนเครือ่ งมือในการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธภิ าพอยา งตอเนือ่ ง สำหรบั การพัฒนาองคกรเพอ่ื
ความยั่งยืน ภายใตป รชั ญาการดำเนินธรุ กิจอยางสมดลุ ดำเนินธุรกิจดวยความโปรงใสภายใตการจัดการความเส่ียง และการกำกับ
ดูแลที่ดี มีการบริหารจัดการอยางสมเหตุสมผลเปนประโยชนตอสวนรวม ดำเนินธุรกิจอยางมีศีลธรรม และเปนมิตรตอสังคม
ส่ิงแวดลอ ม กับรคู วามเปนไป รเู ทา ทนั ความเปลีย่ นแปลง ภายใตก รอบ DEMCO Sustainable Development Platform

นอกจากนี้ เด็มโกยังผลักดันใหการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ จรรยาบรรณธุรกิจ และมาตรการตอตานคอรรัปชัน
เปนสวนหนึ่งของการทำงานปกติ ยึดถือปฏิบัติทั่วทั้งองคกร เพื่อสงเสริมใหพนักงานทุกคนตระหนักถึงการปฏิบัติงานที่ถูกตองตาม
กฎหมาย กฎ ระเบยี บท่เี ก่ียวขอ งกับหนา ที่ความรับผิดชอบของตนเอง โดยสื่อสารผานชอ งทางที่หลากหลาย อาทิ การอบรมพนักงาน
ใหม, เวบ็ ไซตข องบริษัท, Intranet, และอเี มลเ วียนแจงใหพ นกั งานรับทราบทุกครง้ั เมื่อมกี ารทบทวนนโยบายใหเ ปน ปจ จุบัน

โครงสรางการกำกับดแู ลกิจการทดี่ ี
คณะกรรมการบริษัทตระหนักถงึ ความสำคัญของหลกั ธรรมาภิบาลในการสรางความเชื่อมัน่ ใหก ับผูถอื หุน และผูม ีสวนไดเสีย

ทุกฝาย และใหความสำคัญกับการสรรหากรรมการ การกำหนดโครงสรางและบทบาทหนาที่ รวมถึงการประเมินผลการดำเนินงาน
ของคณะกรรมการบริษัทที่ตองเปน ไปตามกรอบจรยิ ธรรม ความเทา เทียมกนั และรกั ษาผลประโยชนสงู สุดของผมู สี ว นไดเสยี ทกุ ฝา ย

ในการสรรหากรรมการบรษิ ทั คณะกรรมการบริษัทไดแ ตง ตั้งคณะกรรมการสรรหา พจิ ารณาคา ตอบแทน และกำกับดูแล
กิจการ เพื่อทำหนาที่สรรหาและกลั่นกรองบุคคลที่เหมาะสม มีการกำหนดหลักเกณฑการสรรหา โดยใหความสำคัญกับความ
โปรง ใส โดยคำนงึ ถงึ ความหลากหลายของคุณสมบตั กิ รรมการ ท้ังในดานความเปนอิสระ ความรูความสามารถ ทักษะ ประสบการณ
ความเช่ยี วชาญเฉพาะดาน ตลอดจนเพศและอายุ และไดจดั ทำตารางองคประกอบความรูความชำนาญของคณะกรรมการ (Board
Skills Matrix) เพื่อใหมั่นใจวาองคประกอบของคณะกรรมการโดยรวมมีความเหมาะสม ครบถวนตามความจำเปนตอการบรรลุ
วตั ถุประสงคแ ละเปาหมายหลกั ขององคกร สามารถตอบสนองความตองการของผูม ีสว นไดเ สียทุกกลมุ ได จงึ สง ผลใหองคประกอบ
ของคณะกรรมการชดุ ปจ จบุ นั เปนไปตามกฎหมายและหลักการกำกับดูแลกิจการทดี่ ี โดยมรี ายละเอียดดงั นี้

ในป 2564 โครงสรางคณะกรรมการบริษทั ประกอบดวยคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชดุ ยอย จำนวน 5 คณะ ไดแก
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา พิจารณาคา ตอบแทน และกำกับดแู ลกจิ การ คณะกรรมการบรหิ ารความเสีย่ งองคกร
คณะกรรมการลงทุน และคณะกรรมการความยั่งยืน ซึ่งเด็มโกไดกำหนดขอบเขต อำนาจ หนาที่ และความรับผิดชอบของ
คณะกรรมการบรษิ ัท พรอ มกฎบัตรคณะกรรมการชุดยอยท้งั 5 คณะ โดยมงุ เนน การสรา งประโยชนแ ละบริหารความย่งั ยืนแกผ ูมสี วน
ไดเสยี ทุกกลุม ในมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ดำเนินธุรกิจอยางเปนธรรม โปรงใส ตรวจสอบได ซึ่งเด็มโก มีคณะกรรมการ
สรรหา พิจารณาคาตอบแทน และกำกับดูแลกิจการ เปนผูกำหนดนโยบายและแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีของเด็มโกอยาง
สม่ำเสมอ โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบัติของสากล พรอมดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการและฝายจัดการ เพื่อใหเปนไปตาม
หลกั การกำกบั ดแู ลกจิ การทีด่ ขี องหนวยงานกำกบั ตาง ๆ พรอ มกนั นี้ไดม ีการสอื่ สารใหบคุ ลากรทกุ ระดับยดึ ถอื เปน แนวปฏิบตั ิ

60 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

องคป ระกอบคณะกรรมการ (คน)

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 61
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

ตารางกำหนดขอบเขต อำนาจ หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั

คณะกรรมการตรวจสอบ จำนวน หนา ที่และความรบั ผิดชอบ
กรรมการอสิ ระ 4 คน
คณะกรรมการลงทนุ - สอบทานรายงานทางการเงินของบริษัท และ
คณะกรรมการสรรหาพจิ ารณา กรรมการอิสระ 2 คน ความเพียงพอของระบบควบคุมและ
คา ตอบแทนและกำกับดูแลกิจการ กรรมการท่ไี มเ ปน ผบู รหิ าร 2 คน ตรวจสอบภายใน ระบบบริหารความเสี่ยง
กรรมการท่เี ปนผบู ริหาร 2 คน และการปฏิบัติตามกฎหมายพิจารณาการ
คณะกรรมการบรหิ าร กรรมการอิสระ 3 คน เปดเผยขอมูลของบริษัท ในกรณีเกิดรายการ
ความเสย่ี งองคก ร กรรมการท่ไี มเ ปนผูบ ริหาร 1 คน ที่มีความเกี่ยวโยงหรืออาจมีความขัดแยงทาง
คณะกรรมการความยั่งยืน ผลประโยชน
กรรมการอสิ ระ 2 คน
กรรมการทไ่ี มเ ปนผบู ริหาร 2 คน - กำหนดกลยทุ ธแ ละนโยบายการลงทุน นโยบาย
กรรมการท่ีเปนผบู รหิ าร 2 คน การบริหารสภาพคลอง กำหนดกรอบการลงทุน
พิจารณาแผนกลยุทธ แผนการลงทุนและกรอบ
กรรมการอสิ ระ 4 คน วงเงนิ งบประมาณ
กรรมการท่ีเปนผบู ริหาร 2 คน
- สรรหาและคัดเลือกบุคคลเขาดำรงตำแหนง
คณะกรรมการบริษัท ประธานเจาหนาที่
บรหิ าร และผูบริหารระดับสงู

- เสนอความเหน็ เกี่ยวกับการบริหารผลตอบแทน
และผลประโยชนอืน่ ๆ สำหรบั คณะกรรมการ
บริษัท กรรมการชุดยอย และประธานเจาหนา ท่ี
บริหาร

- พิจารณาโครงสรางเงนิ เดือน และผลตอบแทน
อ่ืน ๆ ของพนักงาน

- พจิ ารณานโยบาย แนวทางและกรอบการ
บรหิ ารความเสย่ี ง

- กำกับดูแลและสนบั สนนุ ใหมกี ารดำเนนิ งาน
ดานการบริหารความเสี่ยงองคก รสอดคลอง
กบั กลยุทธและเปา หมายทางธุรกิจ

- พิจารณาและกำหนดเปาหมาย นโยบาย กลยุทธ
ตลอดจนแผนดำเนินการดานความยั่งยืนท่ี
สอดคลองกับการดำเนินธุรกิจทั้งในดาน
เศรษฐกจิ สังคม และสง่ิ แวดลอมขององคกร

62 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการบรษิ ัท

เพื่อประสิทธิผลสูงสุดในการดำเนินงานและการพัฒนาการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท เด็มโกไดจัดใหมีการ

ประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอย และกรรมการรายบุคคล เปนประจำทุกป ดวยวิธีการ

ประเมินตนเอง (Self Evaluation) และ / หรือ ประเมินแบบไขว (Cross Evaluation) โดยเด็มโกจะนำขอเสนอแนะตาง ๆ

ที่ไดรับจากการประเมินผลการปฏิบัติของคณะกรรมการมาปรับปรุงประสิทธิผลการทำงานของคณะกรรมการบริษัท เพื่อใหเกิด

ประโยชนสูงสุดในการกำกับดูแลกิจการของเด็มโก ซึ่งผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท ประจำป 2564

มดี ังนี้

ผลการประเมินการปฏบิ ัติงานของคณะกรรมการบรษิ ทั คะแนน

แบบที่ 1 : ผลการประเมินคณะกรรมการบรษิ ทั ทั้งคณะ 3.69

แบบท่ี 2 : ผลการประเมินกรรมการรายบุคคล

 ผลการประเมนิ ตนเอง 3.69

แบบท่ี 3 : ผลการประเมนิ คณะกรรมการชุดยอย

หมายเหตุ : จากคะแนนเตม็ 4 คะแนน ตามเกณฑก ารใหคะแนนดงั นี้
0 = ไมเห็นดว ยอยา งย่งิ หรอื ไมม ีการดำเนนิ การในเรอื่ งน้นั
1 = ไมเ หน็ ดว ย หรอื มกี ารดำเนินการในเรื่องนน้ั เล็กนอย
2 = เห็นดวย หรอื มีการดำเนินการในเรอ่ื งนนั้ พอสมควร
3 = เห็นดวยคอนขางมาก หรือมีการดำเนินการในเรือ่ งนัน้ ดี
4 = เหน็ ดว ยอยา งมาก หรือมีการดำเนนิ การในเรือ่ งน้ันดเี ยีย่ ม

จรรยาบรรณธุรกิจ และมาตรการตอตา นการทุจริตคอรรัปชัน
เด็มโกใหความสำคัญกับการดำเนินธุรกิจอยางมีคุณธรรม โดยยึดมั่นในความรับผิดชอบตอสังคมและผูมีสวนไดเสียทุก

กลุมตามหลักการกำกับดแู ลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณทางธุรกิจ ตลอดจนนโยบายและแนวปฏิบัติที่ดตี อ ผูถ ือหุน ผูมีสวนไดเสยี
กลุมตา ง ๆ ของกลุมธุรกิจเด็มโก และในป 2558 เด็มโกไดลงนามเขารวมเปน “สมาชิกแนวรว มตอตานคอรรัปชันของภาคเอกชน
ไทย” เพื่อแสดงเจตนารมณและความมุงมั่นในการตอตานการทุจริตคอรรัปชันและสินบนในทุกรูปแบบ เพื่อใหมั่นใจวาเด็มโกมี
นโยบายกำหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิบัติ และขอกำหนดในการดำเนินการที่เหมาะสม เพื่อปองกันการทุจริตคอรรัปชันและ
สินบนกบั ทกุ กิจกรรมทางธรุ กจิ ของกลมุ ธรุ กิจเดม็ โก โดยคณะกรรมการแนวรว มปฏบิ ตั ิของภาคเอกชนไทยในการตอ ตานการทุจริต
คอรรัปชัน (“CAC”) มีมติใหการรับรองบริษทั เปน สมาชิกแนวรวมตอ ตานคอรรัปชันของภาคเอกชนไทย (Thai Private Sector
Collective Action Against Corruption : CAC) ต้งั แตวันที่ 22 เมษายน 2559 จนถึงปจจบุ ัน

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 63
บรษิ ทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

นโยบาย / ขอ กำหนด / แนวปฏิบตั ใิ นการตอตา นทุจรติ คอรรปั ชันของเดม็ โก
เด็มโกมุงมั่นที่จะปองกันการทุจริตคอรรัปชันและสินบน เพื่อนำไปสูการเปนองคกรโปรงใสอยางแทจริง โดยดำเนินธุรกิจ

ภายใตปรัชญากลุมธุรกิจเด็มโก คือ “iDEMCO” ซึ่งเปนคานิยมหลัก (Core Value) ที่กลุมธุรกิจเด็มโกยึดถือเปนแนวปฏิบัติ
โดยใหความสำคัญตอ การกำกบั ดูแลกจิ การภายใตกรอบการบริหารจัดการของการมีจริยธรรมทด่ี ี มคี วามโปรง ใส สามารถตรวจสอบ
ได โดยเฉพาะกระบวนการที่เกี่ยวของหรือสุมเสี่ยงตอการทุจริตภายในองคกร รวมถึงการคอรรัปชันทุกรูปแบบ ไมวาทางตรงหรือ
ทางออม คณะกรรมการบริษัทจึงใหมีการจัดทำนโยบายและแนวปฏิบัติการตอตานการทุจริตและคอรรัปชันขึ้น โดยใหถือเปนสวน
หนึ่งของนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจของกลุมบริษัทเด็มโก มีการปฏิบัติที่สอดคลองกับ
นโยบายที่กำหนดไว ตลอดจนเพ่ือใหบคุ ลากรทกุ ระดับของกลุมบรษิ ัทเด็มโกย ึดถือเปนบรรทัดฐานในการปฏิบัติงาน และสนับสนุน
ใหมีการรายงานกรณีพบความขัดแยงทางผลประโยชน ซงึ่ เดม็ โกจ ัดใหม กี ารสื่อสารนโยบายการตอตา นทุจริตคอรรัปชันและแนวทาง
ปฏิบตั ใิ นการปองกนั การมสี ว นเกี่ยวของกบั การทจุ ริตคอรรัปชันน้ี โดยเผยแพรผานชองทางตา ง ๆ เชน วารสารของเด็มโก อนิ ทราเนต็
ของกลุมบริษทั เด็มโก รายงานประจำปแ ละเว็บไซตข องเด็มโก ที่ www.demco.co.th/การกำกับดแู ลกิจการทดี่ ี/นโยบายการตอตาน
การทุจริตคอรรัปชัน ทั้งนี้ ผูบริหารและพนักงานทุกคนไดรับทราบนโยบายการตอตานการทุจริตและคอรรัปชัน โดยผูบริหารและ
พนกั งานทุกคนลงนามรับทราบจรรยาบรรณธุรกิจ สำหรับพนักงานใหม บรษิ ัทจะส่ือสารหลักจรรยาบรรณธรุ กิจผา นการปฐมนเิ ทศ

เปา หมายป 2564
 พนักงานทกุ คนไดร ับการประเมินมาตรฐานจรรยาบรรณและจริยธรรม 100%

 พนกั งานทกุ คน ไดรับการฝก อบรม การตอ ตา นการทุจรติ คอรรปั ชนั และ ระเบยี บการปฏิบตั งิ านทเ่ี ก่ียวของ 100%

 ไมมีขอ รองเรียนดา นจรรยาบรรณในการดำเนนิ ธุรกจิ

ผลการดำเนนิ งานป 2564
 สัดสว นของพนกั งานทุกคนไดร บั การประเมินมาตรฐานจรรยาบรรณและจริยธรรม 100%
 พนกั งานทกุ คน ไดร ับการฝกอบรม การตอตา นการทุจรติ คอรรปั ชนั่ และระเบียบการปฏบิ ตั ิงานท่ีเกย่ี วขอ ง 100%
 ไมม ขี อรอ งเรียนดา นจรรยาบรรณในการดำเนนิ ธุรกจิ

แนวปฏิบตั เิ กี่ยวกับการปองกนั และการมีสว นเกย่ี วขอ งกับการทจุ รติ คอรรปั ชนั
คณะกรรมการบรษิ ัทกำหนดใหมีแนวทางปฏบิ ัติในการปองกันการมีสว นเก่ยี วขอ งกบั การทจุ รติ คอรรัปชันและสินบน 3 ขอ

ประกอบดวย
 กระบวนการในการประเมนิ ความเส่ียงจากการทจุ รติ คอรรปั ชนั และสินบน
 แนวปฏิบัติเกีย่ วกับการกำกบั ดแู ลและควบคุมดแู ลเพอ่ื ปอ งกันและตดิ ตามความเส่ียงจากการทุจรติ คอรรัปชันและสินบน
 แนวทางในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติในการปองกันการมีสวนเกี่ยวของกับการทุจริตคอรรัปชันและ
สินบน

การแจง เบาะแสหรือขอรองเรยี น

เด็มโกไดจัดทำชองทางการแจงเบาะแส เพื่อใหพนักงานและผูมีสวนไดเสียภายนอกองคกร สามารถรายงานและแจง

เบาะแสหรอื ขอรองเรียนในกรณีที่สงสัยวาจะมีการทุจริต และการกระทำผิดกฎหมายขึน้ โดยกำหนดใหม ีมาตรการคุมครองผูแจง

เบาะแสดวยเชนกนั ในสว นของชองทางการแจงเบาะแสการทจุ ริตและกระทำผิด มีดงั น้ี

ชอ งทางการแจงเบาะแสหรอื รอ งเรยี น ผานระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สตามชองทาง ดงั น้ี

1. คณะกรรมการตรวจสอบ Email : [email protected]

2. คณะกรรมการกำกับดแู ลกจิ การและความย่ังยืน Email : [email protected]

3. เลขานุการบรษิ ัท Email : [email protected]

4. เลขานกุ ารคณะกรรมการตรวจสอบ Email : [email protected]

5. เลขานกุ ารคณะกรรมการกำกบั ดแู ลกจิ การและความย่งั ยนื Email : [email protected]

64 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

หรือสงจดหมาย หรือชองทางอื่นตามสมควรและปลอดภัย ถึงสำนักงาน
ตรวจสอบ บริษัท เด็มโก จำกัด (มหาชน) เลขที่ 59 หมู 1 ตำบลสวนพรกิ ไทย
อำเภอเมืองปทมุ ธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 หรือโทรสาร
02-9595811 ตอ 2018 และกรณีทพี่ บประเดน็ ทตี่ อ งรายงานอยา งเรงดว น ให
รบี รายงานตรงตอเลขานุการบริษทั หรอื เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

กระบวนการตรวจสอบขอรอ งเรียน
 ดำเนนิ การสอบสวนตามแนวปฏบิ ตั ขิ องคูม อื บรหิ ารความเส่ียงจากการทจุ ริตเมื่อมหี ลักฐานทีเ่ พยี งพอ
 แจง ผูรอ งทุกขทราบถึงผลการสอบสวนผา นชอ งทางการสอื่ สารท่ีเหมาะสม
 พิจารณามาตรการในการดำเนนิ การในกรณพี สิ จู นไดวา มีการกระทำตามทร่ี อ งเรยี นเกิดขน้ึ จริง
 รายงานสรปุ ใหคณะกรรมการกำกบั ดแู ลกิจการ และความยงั่ ยืน รวมถึงนำเสนอตอคณะกรรมการบรษิ ัทเปน รายป

เดม็ โกมมี าตรการคุม ครองผแู จง เบาะแสหรอื ผรู อ งเรียน โดยจะเกบ็ ขอ มูลและตวั ตนของผแู จงเบาะแส หรือผรู อ งเรียน และ
ผูถูกรองเรียนเปนความลับ จะเปดเผยขอ มูลเทาที่จำเปน โดยคำนึงถึงความปลอดภัย และความเสียหายของผูรายงาน แหลงที่มา
ของขอมูลหรอื บุคคลทเ่ี ก่ียวขอ งที่ไดร ับความเสยี หาย จะไดร บั การบรรเทาความเสียหายดวยกระบวนการทีเ่ หมาะสมและเปนธรรม

เด็มโก ในฐานะภาคีสมาชิกแนวรว มปฏิบัตภิ าคเอกชนไทยในการตอตานคอรร ัปชัน จัดกิจกรรมภายใตแ นวคดิ “รวมพลังอาสาสู
โกง” เพื่อแสดงถึงความมุงม่นั ในการรวมตอ ตา นการทุจรติ ทุกรูปแบบ รวมท้งั สื่อสารเรื่อง No Gift Policy ใหกบั ผูเก่ียวของทราบ

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 65
บริษัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

“การบรรยายพิเศษ หัวขอ "การตอตานทุจริตคอรรัปชันและเสริมสราง
จรยิ ธรรมในองคกร" โดย นายสุวิชญ โรจนวานชิ ประธานกรรมการจริยธรรม
ประจำสำนักงานบรหิ ารหนี้สาธารณะ (สบน.) ผานระบบ Microsoft Team
เม่ือวนั องั คารท่ี 7 กันยายน 2564 เวลา 08.30 -12.00 น.
ณ หอ งประชุมใหญ บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

การประเมินความเสี่ยงดานการทจุ ริตคอรรัปชนั และสนิ บน
กลุมบริษัทเด็มโกจัดใหมีระบบการบรหิ ารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับลักษณะการดำเนินธุรกิจ เพื่อปองกันและปราบปราม

การทจุ รติ คอรร ปั ชันและสนิ บน โดยระบุเหตุการณทม่ี ีความเส่ียงสงู จากการทุจริตและคอรรปั ชันท่ีอาจเกิดข้ึนจากการดำเนินธุรกิจ
ประเมินระดับความเสี่ยงทั้งโอกาสเกิดและผลกระทบ กำหนดมาตรการตอตานการทุจริตคอรรัปชันที่เหมาะสมกับความเสี่ยงท่ี
ประเมินได วิธีวัดความสำเร็จ ตลอดจนทรัพยากรที่ตองใชเพื่อลดความเสี่ยง และมีการเฝาติดตามประเมินผลการปฏิบัติตาม
แผนการบริหารความเส่ียงทีก่ ำหนดขึน้

ผลการดำเนนิ งาน
ในป 2564 เด็มโกไ มมีขอรองเรียนและอบุ ตั กิ ารณดา นการทุจริตคอรร ัปชัน เด็มโกมีการดำเนินการดานการตอตานการทุจริต คอร
รปั ชันและสินบน ดังน้ี

• ทบทวนนโยบาย / คมู อื การตอตา นการทจุ ริตคอรร ัปชนั และสินบน โดยมมี ตอิ นมุ ัติจากทีป่ ระชมุ คณะกรรมการบริษัท
คร้ังท่ี 8/2564 เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564

• อนมุ ัตคิ ูมือการบรหิ ารความเสยี่ งดานทจุ รติ คอรรัปชนั และสินบน ฉบบั ทบทวน กรกฎาคม 2564 เพอื่ ใหสอดคลองกับ
นโยบายการตอ ตานการทจุ รติ คอรร ปั ชนั และสินบน

• สอ่ื สารชองทางการรอ งเรียนและแจงเบาะแสผา นทางระบบอนิ ทราเน็ต (info.demco) และจัดทำ Infographic

• สรา ง Line Group “CG & Legal Corner” เพ่ือใหคำปรกึ ษา แนะนำ ขอกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ตา ง ๆ ของกลุม บริษทั เด็มโก

66 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

ผลการดาํ เนินการดา้ นความยงั ่ ยนื ปี 2564

จุดเดนดา นความยงั่ ยืน
 คะแนนดา นการกำกบั ดูแลกจิ การ “ดีเลศิ ” ตอเนื่องเปนปท ี่ 6 จากสมาคมสงเสรมิ สถาบนั กรรมการบรษิ ัทไทย
 ไดรับการรบั รองเปน สมาชกิ ของแนวรวมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการตอ ตา นการทจุ รติ จากสมาคมสงเสรมิ สถาบัน
กรรมการบรษิ ัทไทย (2562 – 2565)
 คะแนนเตม็ รอ ย “คณุ ภาพการจดั ประชมุ สามญั ผถู อื หุน ” ในโครงการ “การประเมินคณุ ภาพการจัดประชมุ สามญั ผถู ือหุน
ประจำป 2564” ตามแบบฉบับ New Normal สอดคลอ งตามสถานการณโ ควิด - 19 จากสมาคมสงเสริมผลู งทุนไทย
 รบั รางวลั ประกาศเกียรติคณุ การเปด เผยขอ มูลความย่งั ยนื ประจำป 2564 : Sustainability Disclosure Award จากสถาบนั
ไทยพฒั น (องคกรสาธารณประโยชน) ตดิ ตอ กันเปนปท ี่ 2
 รับรางวลั สถานประกอบกิจการดเี ดน ดานแรงงานสมั พันธและสวัสดกิ ารแรงงาน ประจำป 2564 ระดบั ประเทศ จากกรม
สวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงานกระทรวงแรงงาน

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 67
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

3.2.1 ห่วงโซค่ ุณคา่ ของธุรกิจ

ในการดำเนินธุรกิจตั้งแตตนน้ำจนถึงปลายน้ำ ตลอดหวงโซคุณคา (Value Chain) ธุรกิจตองเผชิญหนากับประเด็นความ
ทาทายตาง ๆ ดานความยั่งยืนทั้งในมิติสังคมและสิ่งแวดลอม ซึ่งเขามามีผลกระทบและกลายเปนปจจัยความเสีย่ งหรือโอกาสของ
ธุรกิจ ดังนั้นธุรกิจจึงตองบูรณาการเรื่องการกำกับดูแลกิจการที่ดี และการดำเนินธุรกิจอยางมีความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสีย
สังคม และสิ่งแวดลอม ในนโยบายและกลยทุ ธองคก ร ตลอดจนมีการขับเคลื่อนการดำเนนิ ธุรกิจสูความยั่งยืนอยางเปนระบบและ
เห็นผลเปนรูปธรรม หัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนธุรกิจสูความยั่งยืนนี้คือทุกคนในองคกร ตั้งแตระดับกรรมการ ผูบริหาร และ
พนักงาน ตองมีสวนรวมในการนำพาใหธุรกิจกาวไปขางหนาและเติบโตไดอยางยั่งยืน ทำใหผูมีสวนไดเสียม่ันใจไดวา ธุรกิจ
ดำเนินงานอยูบนพื้นฐานของการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม และสามารถบริหารจัดการ
ประเดน็ สำคัญดา นความย่งั ยืน เพือ่ รกั ษาขดี ความสามารถในการแขง ขันและพฒั นาศักยภาพในการเตบิ โต แมสภาพแวดลอ มในการ
ดำเนินธุรกจิ จะเปลี่ยนแปลงไปอยา งไรกต็ าม

หว งโซคุณคาของธุรกจิ

3.2.2 การวิเคราะหผ์ มู้ ีส่วนไดเ้ สียในห่วงโซค่ ุณค่าของธุรกิจ

เด็มโกต ระหนักถงึ ความสำคัญของผมู ีสว นไดเ สยี ทุกกลุมท่มี ีผลกระทบ และอิทธพิ ลตอการดำเนินธรุ กจิ ขององคก ร จึงมุงม่ัน

ในการดำเนินธุรกิจที่มีความโปรงใส และมีธรรมาภิบาล เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหกับผูมีสวนไดเสีย โดยคณะกรรมการไดกำหนด

นโยบายและแนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ตี อผูมสี วนไดเ สยี เปนลายลกั ษณอ กั ษรไวในนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจริยธรรม จรรยาบรรณ

ในการประกอบธรุ กิจ ซ่งึ ไดเ ผยแพรขอมลู ผานทางเว็บไซตข องเดม็ โก และในการดำเนินการตา ง ๆ เด็มโกเคารพสทิ ธิของผูมีสวนได
เสยี ในทกุ ๆ ที่ ทีเ่ ดม็ โกด ำเนินธรุ กจิ เสมอ โดยเดม็ โกไ ดแ บงกลมุ ผูมีสวนไดเสียเปน 6 กลมุ หลกั ไดแ ก

68 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

ทั้งนี้ เด็มโกดำเนินงานเพือ่ บริหารจัดการความคาดหวังของผูมีสวนไดเสีย และตอบสนองตอประเด็นที่ใหความสนใจ และ
การมีสว นรวมของผูม สี วนไดเ สียจะแตกตางกนั ไปในแตละกลมุ โดยมีรายละเอยี ดดงั ตอไปน้ี

แนวทางการบริหารความสมั พันธแ ละตอบสนองความตอ งการของผูม ีสว นไดเสยี

ผูมสี วนไดเสีย ความตองการ / คาดหวัง การดำเนินงานของบริษทั ชองทางการมสี ว นรวม เน้อื หาในรายงาน

กลมุ ผูถอื หนุ • การขยาย และพฒั นา • การกำกบั ดูแลกิจการทดี่ ี • การประชุมสามญั ผูถ อื • ผลการดำเนนิ งาน
นกั ลงทนุ และ ธรุ กจิ มคี วามมัน่ คงและ การบรหิ ารความเส่ียงและ
เติบโตอยางตอ เนอื่ ง การปฏบิ ตั ติ ามขอกำหนด หนุ ประจำป ดานเศรษฐกิจ
สถาบัน
การเงิน • ดำเนนิ ธุรกิจอยา งเที่ยง • ความมั่นคงดานเสถียรภาพ • การประกาศผล • ผลการดำเนินงาน
ธรรม เพอ่ื สรา งผล และความพรอมของการ
กลมุ ลูกคา ประกอบการที่ดี ดำเนินการผลิต ประกอบการรายไตรมาส ดา นสิ่งแวดลอม

กลมุ พนั ธมติ ร • ผูถอื หุน ทกุ รายมสี ทิ ธิ • การสอื่ สารและการสรา ง • การพบปะกับ • ผลการดำเนนิ งาน
(คคู า) และ และไดร บั การปฏิบตั ิ ความนาเชอ่ื ถอื
คแู ขง ทางการ อยางเทา เทยี มกนั นักวิเคราะห / นกั ลงทุน ดานสงั คม
คา (ผูร บั เหมา • การบริหารจัดการ
/ ผสู งมอบ) • มีระบบการตรวจสอบ ความสัมพนั ธกับลกู คา ผา นทางกจิ กรรมตาง ๆ
และควบคมุ ภายในทีด่ ี
• ความมัน่ คงดานเสถยี รภาพ อาทิ Opportunity Day
• มรี ะบบการบริหารความ และความพรอมของการ
เส่ียงท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ ดำเนนิ การผลติ • ระบบตรวจสอบ และ

• การผลิตและสง มอบได • การกำกบั ดูแลกิจการทด่ี ี การบรหิ ารความเส่ียง
ตามสญั ญาดานปรมิ าณ การบรหิ ารความเสยี่ ง
และคณุ ภาพ และการปฏบิ ตั ติ าม • การเปดเผยขอมูลตา ง ๆ
ขอกำหนด
• การตอบสนองตอความ ผานชองทางการส่อื สาร
ตองการของลกู คา ได • การบรหิ ารจัดการหวงโซ
อยา งรวดเร็วทันที อุปทาน ของเด็มโกไ ดแก เว็บไซต

• การปฏิบตั ติ อ ลกู คาทกุ • การบรหิ ารจดั การคคู า จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส
กลมุ อยางเทาเทียมกนั อยา งย่งั ยนื
ภายใตก ฎหมายที่ และอ่ืน ๆ
เกี่ยวของ
• กำหนดมาตรการเพื่อ • การบริหารความ
• การมองหาโอกาสทาง
ธรุ กิจใหม ๆ รวมกนั พฒั นาการดำเนินงาน สัมพันธลูกคา

• ดำเนนิ การแขง ขันทางการ ใหม ีประสิทธิภาพมาก
คาอยา งเปน ธรรม ถูกตอง
ตามหลักจรยิ ธรรมและ ยง่ิ ข้นึ
ตามหลักการกำกบั ดแู ล
กจิ การทีด่ ี • การสำรวจความพงึ

• มกี ารแขง ขนั อยางเปน พอใจของลกู คา
ธรรมและโปรง ใส
ประจำป
• การส่อื สารกบั คูคา
• ชอ งทางการรับเร่ือง

รอ งเรียนจากลูกคา

• การเปน พนั ธมติ รทาง • การบริหารการ

ธุรกิจทดี่ ี และมี จดั การหวงโซ

ความสมั พันธในระยะยาว อุปทาน

• รักษาความลบั ทางการ

คาภายใตก ฎหมาย และ

กฎระเบยี บทเี่ ก่ยี วของ

• หลกี เล่ยี งจากการสบื หา

ขอมูลจากพันธมิตร

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 69
บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

ผูมสี วนไดเ สยี ความตองการ / คาดหวงั การดำเนินงานของบริษัท ชองทางการมีสวนรว ม เนอ้ื หาในรายงาน

• ระบบการจดั ซ้ือจดั จางท่ี และคแู ขงทางการคา
มีประสิทธภิ าพและ
โปรง ใส อยางไมซอื่ สตั ย และไม

• ความปลอดภยั ของ เปนธรรม
สงั คม สิ่งแวดลอม และ
คุณภาพชวี ติ ประชาชน • การสำรวจความพึงพอใจ
มีการใชท รพั ยากรอยาง
มีประสทิ ธภิ าพ ของคคู า ปล ะ 1 ครงั้

กลุมชุมชน • บคุ ลากรเด็มโกมี • การอยรู วมกบั ชุมชนอยาง • การดำเนนิ งานดว ย • การดำเนินงาน
และสังคม จิตสำนกึ ของความ ยั่งยนื
(ชุนชนรอบ รบั ผดิ ชอบตอ สังคม ความรับผิดชอบและไม ดา นความ
พ้นื ท่ีกอสรา ง และสิง่ แวดลอมของ • การกำกับดูแลกจิ การท่ดี ี
โครงการ / บคุ ลากรเด็มโก การบริหารความเส่ียง สรา งผลกระทบทางลบ ปลอดภยั
ชุมชนรอบ และการปฏบิ ตั ติ าม
สำนกั งานใหญ) • ความผูกพันของชุมชน ขอ กำหนด ตอชุมชนและ • การดำเนนิ
สงั คมกับเดม็ โก
หนว ยงาน • การจดั การส่งิ แวดลอม สง่ิ แวดลอ ม กิจกรรมเพอื่
ราชการ • การสนับสนุนกจิ กรรม • การรับมือตอ การ
ภาครฐั และ รว มกบั ชมุ ชนอยาง • ไมส นบั สนนุ กิจกรรมใด ๆ สังคมของเดม็ โก
หนว ยงานท่ี สม่ำเสมอ เปลีย่ นแปลง สภาพ
เก่ยี วขอ ง ภูมอิ ากาศ ท่ีเปน ภยั ตอสังคม หรือ
• การสรางความเขา ใจ
การดำเนนิ งานของเดม็ ศลี ธรรมอันดงี าม
โกตอชมุ ชน
• ใหค วามสนบั สนุน
• การมอบโอกาสใหค นใน
ชุมชนเขารวมทำงาน กจิ กรรมชุมชน และ
กับเด็มโก
สังคม โดยมุงเนน ใหเ กดิ
• การปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ
ขอ บงั คบั กฏหมายและ การพฒั นาสงั คม ชุมชน
นโยบายของหนวยงาน
กำกบั ดแู ล สิง่ แวดลอม รวมทงั้

• การดูแลรับผิดชอบตอ กิจกรรม
สงั คมและสงิ่ แวดลอ ม
สาธารณประโยชน
• การอยรู ว มกันกับชมุ ชน
อยา งย่ังยนื • ถือปฏบิ ตั ิอยา งเครงครดั • การดำเนนิ
ตอ กฎหมายท่ีเกย่ี วของใน กิจกรรมเพ่อื
• ระบบการจัดการดา น ดา นตา ง ๆ ท้ังสงิ่ แวดลอม สังคมของเด็มโก
สงิ่ แวดลอ มและความ คุณภาพชวี ิต ความ • การดำเนนิ การ
ปลอดภัย ปลอดภยั แรงงานการ ดา นสิง่ แวดลอ ม
จัดการดา นภาษีอากร
และบญั ชี รวมทัง้ ประกาศ
ตา ง ๆ ของราชการท่ี
เกย่ี วขอ งกบั การดำเนนิ
ธรุ กจิ ของเดม็ โก

• ใหก ารสนบั สนนุ
โครงการของรฐั ท่ีเปน

70 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

ผมู สี ว นไดเ สีย ความตองการ / คาดหวงั การดำเนนิ งานของบริษัท ชอ งทางการมสี วนรวม เน้ือหาในรายงาน

กลมุ พนกั งาน • การใหค วามรวมมือ • การพัฒนาศกั ยภาพ ประโยชนต อสังคม และ • การพฒั นา
(ผูบริหาร / สนับสนนุ โครงการตาง ๆ พนักงาน สวนรวม ศกั ยภาพและการ
พนกั งาน) ของหนวยงานภาครฐั • การดำเนนิ ธรุ กจิ อยาง ดแู ลพนักงาน
• สขุ ภาพและความ เปนธรรมและโปรง ใส
• การดแู ลคณุ ภาพชวี ติ ปลอดภยั ใน
ของพนกั งานรวมถึง สภาพแวดลอ มการทำงาน • การประเมินผลการ
สุขภาพและความ ปฏบิ ตั งิ าน / การ
ปลอดภัยในสภาพ ประเมนิ ผลความพงึ
แวดลอมการทำงาน พอใจในการทำงาน

• คา ตอบแทนและ • การสำรวจความผกู พนั
สวสั ดกิ ารท่ดี ี ของพนกั งานทม่ี ีตอ
องคกร ปล ะ 2 ครั้ง
• ความกา วหนาและความ (Employee
ม่นั คงในสายอาชีพและ Engagement Survey)
การมีสวนรว มในการ
วางแผนตามระดับ • โครงการ HR Change
ตำแหนงและหนา ท่ี Management
ความรับผิดชอบ
• การประกาศเกียรตคิ ณุ
• ระบบการประเมินผลท่ี พนักงาน
เปนธรรม
• ฝก อบรมเพื่อพัฒนา
ศกั ยภาพของพนกั งาน

• การส่ือสารภายใน
Intranet อเี มล
เวบ็ ไซต/ วารสาร
DEMCO Journal

• การจดั การประชมุ
เพ่อื ใหผูบ รหิ ารมีโอกาส
พดู คยุ กับพนกั งาน
(Manager Forum,
Town Hall Meeting,
Safety Talk)

• คณะกรรมการ
สวัสดกิ ารในสถาน
ประกอบกิจการ

การบรหิ ารจดั การห่วงโซ่อปุ ทาน
ความสำคญั

เด็มโกใหความสำคัญในดานการบริหารจัดการหวงโซอุปทานอยางยั่งยืนเปนประเด็นสำคัญในการดำเนินธุรกิจ เนื่องจาก

เปนปจจยั ท่ีสนับสนุนใหเดม็ โกสามารถพฒั นาความสมั พนั ธก ับคูคาไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ขยายความสามารถในการแขง ขนั และลด

ความเสี่ยงที่อาจกระทบตอการดำเนินธุรกิจดานตาง ๆ ที่อาจเกิดจากการดำเนินงานของคูคา นอกจากนี้ เพื่อสงเสริมใหธุรกิจ

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 71
บรษิ ทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

สามารถเติบโตไดอ ยางยั่งยนื เด็มโกจ ึงมีแนวทางในการบริหารจดั การหวงโซอุปทานทคี่ รอบคลมุ ต้ังแตข ัน้ ตอนการคดั เลอื กคูคา การ
ควบคมุ คุณภาพของวตั ถดุ บิ สนิ คาและบริการของคคู า จนถึงกระบวนการประเมินผลการดำเนินงานประจำป

เปา หมายป 2564
 95% ของคูคาหลกั (Critical Supplier) ไดรับการประเมนิ ความเส่ียงดา นความยั่งยืน

 100% ของคูคาที่ถูกประเมินมีความเสี่ยงสูงไดรับการตรวจสอบและพัฒนาทุกป/มีการจัดการความเสี่ยง (Mitigate Risk)
ตามเกณฑท กี่ ำหนด

แนวทางการบริหารจดั การ
นโยบายการจัดซ้ือจัดจา งของกลุมธรุ กจิ เด็มโก
กลุมธุรกิจเด็มโกใหความสําคัญในการจัดซื้อจัดจางซึ่งเปนกระบวนการสําคัญที่สนับสนุนการดําเนินการธุรกิจ ตามแนวทางการ

พัฒนาอยางยั่งยืนเพื่อใหกระบวนการจัดซื้อจัดจางในกลุมธุรกิจเด็มโกเปนไปอยา งมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล และมีแนวทาง

ปฏบิ ัติไปในทิศทางเดียวกัน อันกอ ใหเ กิดการพัฒนาอยางยงั่ ยนื โดยสรางความเช่ือมนั่ ตอผมู สี วนไดเสยี ผา นการดําเนินงานจัดซ้ือจัด

จางที่โปรงใสเปนธรรมและตรวจสอบได และเพื่อแสดงเจตนารมณของกลุมธุรกิจเด็มโก ในการตอตานการทจุ ริตคอรรัปชันทุกรปู

แบบอยา งส้นิ เชงิ

ภาพรวมการบรหิ ารจัดการคคู า
เด็มโกไดพัฒนากระบวนการบริหารจัดการคูคาขององคกรเพื่อความยั่งยืน เพื่อใหคูคาของกลุมธุรกิจเด็มโกมีแนวทาง

เดยี วกนั โดยจัดทำแนวทางการปฏิบัติของคคู าของกลมุ ธุรกจิ เดม็ โก (Supplier Code of Conduct and Guideline) ท่คี รอบคลุม
ประเด็นดานสิง่ แวดลอ ม สังคม และการกำกบั ดแู ล (Environmental, Social and Governance) เพ่ือแสดงใหเห็นถึงความมงุ มนั่
ของเด็มโกในการสนับสนุนใหคูคามีการดำเนินงานอยางมีจริยธรรม คำนึงถึงสิทธิมนุษยชน เกิดความรับผิดชอบตอสังคมและ
สิ่งแวดลอม รวมถึง ปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอมเพื่อสรางความยั่งยืนในการดำเนินธุรกิจ
ตลอดหวงโซอุปทาน และเสรมิ สรา งการเติบโตในระยะยาวไปดวยกัน ซึง่ กรอบของแนวทางประกอบไปดวย 4 แนวทางหลกั ดังน้ี

กระบวนการคดั เลือกคูค า (Supplier Screening)
การคัดเลอื กคูคา เพ่ือขนึ้ ทะเบียนเปนคคู าผมู ีประสิทธภิ าพ และใหไ ดมาซึ่งคูคา ทเี่ ด็มโกส ามารถมน่ั ใจวา จะสงมอบผลิตภัณฑ

และบริการตรงกับความตองการของเด็มโก ขอบเขตการประเมินครอบคลุมการประเมินศักยภาพตามหลักเกณฑในการจัดกลุม
ประเภทคูคาตามความสำคัญของกลมุ สินคา และคูค าตามมูลคาการจดั หาและระดับความเสีย่ งในการจดั หา เพื่อสามารถจัดลำดับ
ความสำคัญและแนวทางการบรรเทาความเสี่ยงไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาจากกลุมสินคาและคูคาที่มีมูลคาสูง ระดับ
ความเส่ียงและผลกระทบตอรายไดของเด็มโก โดยเดม็ โกไดจ ัดทำแบบฟอรมการประเมินความยั่งยนื คูคารายใหมเพื่อใหไดค ูคาท่มี ี
คุณสมบตั ิตรงตามตอ งการ และเม่ือผา นการอนมุ ัติการคดั เลือกคูคาแลว เจาหนาทีจ่ ดั ซื้อภายในเดม็ โกจะดำเนินการบันทึกคูคาเขา

72 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

ทะเบียนคูคาที่ผานการอนุมัติ (Approval Vender List : AVL) ในระบบ ผลการดำเนินการเด็มโกสามารถจำแนกระดับ
ความสัมพันธค ูคาเปน 2 ระดบั ไดแ ก

1. คูคาหลัก (Critical Supplier) คูคาที่มียอดการใชจายสูง สินคาทดแทนยากและอยูในกลุมสินคาหลักที่สำคัญ และมีความ
เสี่ยงสูงมากหรือความเสี่ยงสูง โดยเด็มโกกำหนดใหคูคากลุมนี้มีการประเมินผลการทำงานทุกปผานแบบประเมินคูคาและ
เยี่ยมชมพ้ืนทก่ี ารปฎบิ ตั ิงานโดยผา นขั้นตอนการตรวจสอบดานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสิ่งแวดลอมและการประเมิน
การตรวจสอบดานการปฎบิ ัติอยา งยง่ั ยนื

2. คูคารอง (Non - Critical Supplier) คูคาที่ยอดการใชจายปานกลางหรือต่ำและความเสี่ยงอยูในระดับปานกลางหรือความ
เสี่ยงต่ำ ซึ่งเด็มโกกำหนดใหมีการประเมินผลการทำงานเปนประจำทุกปผานแบบประเมินตนเองของคูคาตามแนวทางการ
ปฎิบตั อิ ยา งยัง่ ยนื ของคูคา

เดม็ โก มุงหวังใหค คู า ทุกรายดำเนินการสอดคลอ งกบั คูมอื สำหรับการดำเนนิ งานภายใตแนวทางการปฏิบตั ขิ องคคู าของกลุม
ธุรกิจเด็มโก (Supplier Code of Conduct and Guideline) อยา งเครงครดั

การบรหิ ารความสมั พนั ธก์ บั ลกู คา้
ความสำคัญ

เด็มโก เครงครัดในการปฏิบัติตามขอกำหนดและขอปฏิบัติโดยระบุไวใน “นโยบายการกำกับดแู ลกจิ การที่ดีและจรยิ ธรรม
ในการประกอบธรุ กจิ ” ในเรอ่ื งของการสง มอบผลิตภณั ฑท ี่มคี ุณภาพ ตรงเวลา หรือสงู กวาความคาดหมายของลูกคา ภายใตเ ง่อื นไข
ที่เปนธรรม โดยเด็มโกไดใหขอมูลเกี่ยวกับบริษัทที่ถูกตอง เพียงพอ และทันตอเหตุการณ เพื่อใหลูกคามีขอมูลในการตัดสินใจ
อีกประเด็นที่สำคัญคือการรักษาความลับของลูกคา ซึ่งเด็มโกปฏิบัติตามนโยบายและจรรยาบรรณวาดวยการรักษาความลับ
การเก็บรักษาขอ มูลและการใชขอมูลภายใน ซึ่งรวมถึงการปกปดขอมูลลูกคาและความลบั ทางการคา ไมมีการนำขอ มูลใด ๆ ไปใช
เพื่อประโยชนของตนเองหรือผูที่เกี่ยวของโดยมิชอบ ยิ่งไปกวานั้นเด็มโกไดทำการตอบสนองความตองการของลูกคาดวยความ
รวดเร็ว และจดั ใหมีระบบตลอดจนชองทางใหล ูกคารองเรียนเกี่ยวกับคณุ ภาพของสนิ คาและบรกิ ารไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ รวมไป
ถงึ การสอบถามความพงึ พอใจของลกู คา และสรุปขอ มูลเพ่อื นำไปวิเคราะห เพอื่ เขา สกู ารทบทวนระบบคณุ ภาพและการพัฒนาตอ ไป

เปาหมายป 2564
 ดชั นีความพึงพอใจของลกู คา รายสำคัญ (Customer Satisfaction Survey) ของเดม็ โก เพิม่ ขึ้นเปนมากกวา 85%

ผลการดำเนนิ งานป 2564
 ผลสำรวจความพึงพอใจของลกู คา รอยละ 90.98

แนวทางการบรหิ ารจดั การ
1. เสริมสรางความผกู พนั กับลูกคาอยางตอ เน่ือง ดวยการเขา ถงึ และตอบสนองตอ ความตอ งการของลูกคาไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ
และทนั ทวงที
2. มงุ ม่ันในการสงมอบผลติ ภัณฑแ ละบรกิ ารทมี่ ีคณุ ภาพ เพื่อสรางประสบการณท ด่ี ใี หก บั ลกู คา
3. นำเสนอผลิตภณั ฑและบริการทีค่ ำนงึ ถงึ ความยั่งยืนและสามารถตรวจสอบแหลง ทม่ี าได

ความพงึ พอใจของลกู คา
เด็มโก ใหความสำคัญกับการดำเนินธุรกิจรวมกับลูกคาเปนอยางสูง โดยจัดใหมีการสำรวจความพึงพอใจของลูกคาเปน

ประจำทุกป เพื่อยกระดับความผูกพันและความสมั พนั ธก ับลูกคาอยางสมำ่ เสมอและเปน แนวทางในการแกไ ขขอรองเรยี นจากลูกคา
อยางถูกตองและรวดเร็ว โดยมีการนำเสนอผลการสำรวจตอที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร เพื่อนำมาใชเปน แนวทางการวางแผน
บริหารจัดการ พฒั นา ปรบั ปรุงคุณภาพ การสงมอบและบรกิ าร ตลอดจนถายทอดขอมูล และการดำเนินการตอบสนองตอผลตอบ
รบั ของลูกคา ตอหนวยงานที่เกยี่ วของ ดังนี้

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 73
บรษิ ัท เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

ทำการสำรวจความพงึ พอใจของลกู คา โดยแบงการสำรวจเปน 3 ระยะ คอื
ระยะที่ 1 ภายหลังการประมลู งาน (หลังจากทราบผลการประมลู อยา งเปนทางการแลว ภายใน 15 วันทำการ)
ระยะท่ี 2 ระหวางดำเนนิ โครงการ (ความกา วหนาของงานประมาณ 50%)
ระยะที่ 3 ปดจบโครงการ (หลงั จากวางบิลงวดสุดทา ยแลว ภายใน 15 วันทำการ)

ทั้งนี้ หลักเกณฑและผลการสำรวจนี้จะสะทอนใหเห็นถึงระดับความสามารถในการสงมอบผลิตภัณฑและบริการที่ตอบ
โจทย ความตองการของลูกคาผานการดำเนินงานของเด็มโก พรอมกันนี้ผลของการสำรวจความพึงพอใจและขอเสนอแนะจาก
ลูกคาจะถูกพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการบริหาร โดยรวมถึงประเด็นสำคัญที่ตองไดรับการแกไขจากผลการสำรวจความ
พึงพอใจของลกู คาในแตละคร้ัง เพื่อใชเปนสวนหน่ึงในการวางแผนงาน พัฒนา ปรับปรุงคุณภาพผลติ ภณั ฑและยกระดับมาตรฐาน
การบริการสูความเปนเลิศในระดับสากล โดยผลการสำรวจความพึงพอใจของลูกคาในป 2564 พบวาไดคะแนนรอยละ 90.98
ซึ่งถือวาประสบความสำเร็จและบรรลุเปาหมายที่ตั้งไวคือไมตํ่ากวา รอยละ 85 เปนบทพิสูจนใหเห็นวาการดำเนินงานดานการ
บริหารจัดการลกู คาสัมพันธส ามารถตอบสนองความคาดหวงั ของลกู คาเปน อยา งดี

การรกั ษาขอ มูลของลกู คา
เด็มโก มกี ารกำกับดแู ลปอ งกนั และรักษาขอ มลู ของลกู คา อยา งเขม็ งวด โดยไดจ ดั ทำนโยบายการจดั การขอมูลลบั และขอ มูล

ทีอ่ าจมีผลกระทบตอ ราคาหลกั ทรพั ย และนโยบายการทำสัญญาปกปดความลบั รวมถึงแนวปฏบิ ตั ิในการดแู ลและเกบ็ รักษาขอ มลู
สัญญา การรกั ษาความลับและการใชข อ มูล

นอกจากนี้ สำหรบั ขอ มลู สวนบคุ คลของกรรมการผูบรหิ ารหรอื พนักงานของบรษิ ทั ลูกคา เด็มโกไ ดด ำเนินการวางแผน
วิเคราะหและปฏิบตั กิ ารเพื่อการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญตั ิคุมครองขอมูลสว นบุคคล พ.ศ. 2562 ทงั้ น้ี เดม็ โกไ มพ บกรณีการละเมิด
ขอมูลของลูกคา และไมมขี อ รอ งเรยี นดา นการรกั ษาขอมูลลูกคา

74 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

3.3.1 นโยบายและแนวปฏิบตั ิดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม

การบริหารจัดการผลกระทบตอสังคม สิ่งแวดลอม และสงเสริมการอนุรักษพลังงานและการใชทรัพยากรอยางคุมคา
(การอนุรกั ษธ รรมชาต)ิ

เด็มโกใหความสำคัญในการดำเนินธุรกิจควบคูกับการแสวงหาโอกาสการขยายการลงทุนในธุรกิจที่เปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอ มอยางตอ เนือ่ ง โดยนอกจากการขยายการลงทุนดานพลังงานทดแทน ทั้งพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานจาก
ชีวมวล เพื่อชวยลดมลพิษที่เกิดจากการใชพลังงานจากเชื้อเพลิงที่ไดจากฟอสซิล ซึ่งเปนมลพิษทางอากาศ สาเหตุสำคัญที่ทำให
เกิดปรากฎการณโลกรอน ในสวนของโรงงานผลิตเสาโครงเหล็กของกลุมบริษัทเด็มโก ก็ไดใหความสำคัญในเรื่องสิง่ แวดลอมดวย
การดำเนินการผลิตตามระบบคุณภาพ ISO14001 ซงึ่ เนน เรือ่ งความสำคัญของส่งิ แวดลอ มเปนหลัก

นอกจากนี้ เด็มโกยังใหความสำคญั กับการไมสรางภาระดานสิ่งแวดลอม มลภาวะ ความปลอดภัยหรือแมแตมลภาวะทาง
สายตา ที่อาจเกิดขึ้นกับพื้นที่ทำงานและหนวยงานกอสรางที่เด็มโกเขาไปดำเนินการ จะไดรับการเอาใจใสตามมาตรฐานและ
ขอ กำหนดของทางการ รวมถงึ ชุมชน และองคกรสว นทองถนิ่ อกี ดว ย

ปจจุบนั กระแสการใหค วามสำคญั กับส่ิงแวดลอมเพ่มิ ขึ้นอยางตอเน่ือง ท้งั ในระดบั โลกและระดบั ประเทศ สงผลใหผูบริโภค
มีความตระหนักถึงผลกระทบดานสิ่งแวดลอมในระยะยาวมากขึ้น โดยมีแนวโนมในการลดการใชพลาสติกประเภทใชครั้งเดียวทง้ิ
(Single - used Plastic) และการเพิ่มขึ้นของการเลือกซื้อสินคาที่ผลิตจากวัสดุทดแทนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และการนำขยะ
พลาสติกกลับมาใชประโยชน

เป้าหมายปี 2564
 อตั ราการใชพ ลังงานไฟฟา ในเด็มโก (สำนักงานปทุมธานี) ลดลง 10% เทยี บกบั ป 2562
 อตั ราการใชน้ำในเด็มโก (สำนักงานปทุมธาน)ี ลดลง 10% เทยี บกบั ป 2562
 100% ของโรงงานทม่ี พี นื้ ที่ติดกับชมุ ชน และโครงการทีม่ พี น้ื ทีต่ ิดกบั แหลงธรรมชาติ มโี ครงการอนรุ กั ษธ รรมชาติ สงิ่ แวดลอม
และระบบนิเวศนช มุ ชน

สรุปผลการดาํ เนินงานในปี 2564
 อตั ราการใชพ ลงั งานไฟฟาในเด็มโก (สำนักงานปทมุ ธาน)ี เพ่มิ ขึน้ 2.35% เทียบกับป 2562
 อัตราการใชน้ำในเด็มโก (สำนกั งานปทุมธาน)ี เพิ่มขน้ึ 5.09% เม่ือเทียบกบั ป 2562
 ทุกโรงงานที่มีพื้นที่ติดกับชุมชน และโครงการที่มีพื้นที่ติดกับแหลงธรรมชาติ มีโครงการอนุรักษธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและ
ระบบนเิ วศนช ุมชน 100 %

แนวทางการปฏิบตั ิ ตอ่ ชุมชม สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม
1. กลุมธุรกิจเด็มโก มุงมั่นดำเนินธุรกิจตามกฎหมาย มาตรฐาน ระเบียบปฏิบัติ บนพื้นฐานความรับผิดชอบตอชุมชน สังคม และ
สง่ิ แวดลอม เพื่อสรา งและรักษาภาพลักษณและชื่อเสียงท่ดี ี รวมท้ังความนาเชื่อถือขององคกร เพื่อใหไดร ับการยอมรับและความ
ไวว างใจจากชมุ ชนและสงั คม ในภาพรวมอนั จะนำไปสคู วามสำเร็จทางธุรกจิ ตลอดจนการพัฒนาและเตบิ โตอยา งยัง่ ยืนของกจิ การ
2. ใหการสนับสนนุ และชวยเหลอื สงั คมและชมุ ชน ท้งั ในระดบั ทอ งถนิ่ และระดบั ประเทศตามความเหมาะสม
3. มีสวนรวมในการทำกิจกรรมอันเปน การแสดงออกถึงความรบั ผดิ ชอบตอ ชมุ ชน สังคม และสงิ่ แวดลอมเพอ่ื เสรมิ สรา งคุณภาพ
ชวี ิตใหก ับผมู ีสว นไดเสีย
4. สง เสรมิ ใหผ ูบ รหิ ารและพนกั งานของกลมุ ธรุ กจิ เดม็ โก มีจิตสำนึกที่ดีและมคี วามรับผดิ ชอบตอสงั คมและสง่ิ แวดลอ ม
5. ใหความรวมมือกับหนวยงานกำกับดูแล ในการดำเนินการตามมาตรฐาน และรายงานขอมูลท่ีเกี่ยวกับการฝาฝน หรือการไม
ปฏิบัตติ ามกฎหมายหรือกฎระเบียบตาง ๆ เพ่ือชว ยปองกนั หรือลดผลกระทบดานสงั คมและส่ิงแวดลอม
6. ประเมินความเสี่ยงและผลกระทบในเรื่องที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม สังคม สุขภาพ และความปลอดภัย กอนเริ่มการทำงาน
หรือรว มทนุ ในกิจการใด ๆ เพอ่ื วางแผนหรอื เตรยี มการปองกนั ท่ีเหมาะสม

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 75
บริษัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

3.3.2 ผลการดาํ เนินงานดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม

การบริหารจัดการผลกระทบตอสังคม สิ่งแวดลอม และสงเสริมการอนุรักษพลังงานและการใชทรัพยากรอยางคุมคา
(การอนุรกั ษธ รรมชาต)ิ
การใชไ้ ฟฟ้า

พลังงานไฟฟาเปนปจจัยสำคัญในการดำเนินธุรกิจ ดังนั้น เด็มโกจึงติดตั้งอุปกรณและจัดสภาพแวดลอมในอาคารเพื่อ

ประหยัดพลังงาน เชน ติดตั้งมานแมชชีทบังแดดตรงหนาตางดานนอกของอาคารฝงทิศตะวันตกที่หองงานความปลอดภัยและ

สิ่งแวดลอมเพื่อปองกันความรอนเขามาภายในอาคาร ควบคุมการใชพลังงานไฟฟาอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะใน
อาคารสำนกั งานใหญ มีมาตรการกำหนดชว งเวลาเปด - ปดไฟฟา นอกจากน้ี ไดจดั ทำโครงการตน แบบ Solar Rooftop ขนาดเล็ก

โดยติดตั้งชุดแผง Solar Cell โคมไฟสนาม UFO บริเวณสนามหญาและศาลาอเนกประสงค ทางเดินที่บริเวณศาลพระพิฆเนศ

สามารถชวยลดภาระการใชพลังงานไฟฟา ลงได

การบริหารจดั การน้าํ
เดม็ โก คำนงึ ถึงการใชนำ้ อยางมีประสทิ ธิภาพ ตง้ั แตก ารเลือกและตดิ ตั้งอุปกรณป ระหยดั นำ้ จัดทำระบบน้ำหยดมาใชร ดน้ำ

ตนไมเพื่อควบคุมปริมาณการใชน้ำ จำนวน 2 ชุด รวมถึงไดทดลองนำน้ำที่มาจากการควบแนนของระบบเครื่องปรับอากาศมาใช

รดนำ้ ตนไม จำนวน 1 ชุด ทำใหส ามารถนำนำ้ กลับมาใชไ ดอ ยา งคุมคา

การจดั การขยะอยา่ งมีประสิทธิภาพ
เดม็ โก สงเสรมิ การจดั การขยะผา นกจิ กรรมรณรงคและประชาสมั พันธใหความรูแกพนักงานภายใตแ นวคิด 3Rs “Reduce

Reuse Recycle” เพื่อใหมีการคัดแยกขยะอยางถูกวิธีและตระหนักถึงปญหาขยะที่ไมสามารถรีไซเคิลได เชน กลองโฟม แกวน้ำ
และถงุ พลาสติก ในป 2564 มีการดำเนินงาน ดังน้ี

 จดั วางถังขยะคัดแยก 4 ประเภท ไดแก ขยะทวั่ ไป ขยะรไี ซเคลิ ขยะเปยก ขยะอนั ตราย
 รณรงคใ หมกี ารใช กลองอาหารหรือปนโตสว นตัว แทนการใชก ลองอาหารพลาสติกหรือโฟม
 รณรงคใหมกี ารใช ถงุ ผา เพอื่ ใสกลอ งอาหารหรอื ปนโตแทนการใชถ งุ พลาสติก
 สง เสรมิ การจัดการคดั แยกขยะพลาสตกิ อยา งถกู วธิ ี และนำกลบั มาใชใ หมตามแนวทางเศรษฐกจิ หมุนเวียน โดยจัดทำโครงการ

“ลด ละ เลิก ใชแกวน้ำพลาสติก” เพื่อใหพนักงานมีจิตสำนึกที่ดีในการชวยกันดูแลรักษาสิ่งแวดลอม และยงั เปน การชวยลด
โลกรอนอกี ทางหนง่ึ ดว ย
 สงมอบกลองนมครั้งที่ 5 รวมเปนจำนวน 12,000 กลอง โดยมอบใหกับพันธมิตร บิ๊กซี เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2564 โดยเปน
โครงการหลงั คาเขียวท่ีผลิตจากกลอ งเคร่อื งดมื่ รีไซเคิล ผา นโครงการ “หลงั คาเขยี วเพือ่ มลู นธิ อิ าสาเพอื่ นพ่ึง (ภาฯ) ยามยาก”
โดยเด็มโกสมัครเปนผูอาสาเก็บกลองเคร่ืองดืม่ โดยนำสงท่ีหางบิ๊กซีซึ่งเปนจุดรับกลองหลัก และบริษัท เต็ดตราแพ็ค จำกัด
ผูผลิตกลองเครื่องดื่ม ริเริ่มโครงการรีไซเคิลกลองเครื่องดื่มเปนแผนหลังคา นำไปใหกับผูที่ตองการความชวยเหลือในพื้นท่ี
ประสบภัยตาง ๆ โครงการหลังคาเขียวมีการสี่อสารเรื่องความยั่งยืนและการคัดแยกขยะออกไปในวงกวาง หลังคา 1 แผน
มขี นาด 0.9 x2.4 เมตร ใชกลองเครือ่ งดืม่ ประมาณ 2,000 กลอ งในการผลิต

76 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

การบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก
การปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการทำธุรกิจเปน สาเหตุของภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก

ซึ่งมีผลสะทอนกลับมายังธุรกิจและสังคม เชน ภัยธรรมชาติ ปญหาขาดแคลนวัตถุดิบและพลังงาน ตนทุนการผลิตสูงขึ้น เปนตน
เด็มโก จึงใหความสำคัญกับการบริหารจดั การพลังงานไฟฟาซ่ึงเปนปจจัยหลักในการทำธุรกิจควบคูกบั ดูแลการใชทรัพยากรอื่น ๆ
ใหม ีประสทิ ธิภาพเพือ่ ลดการปลอยกาซเรือนกระจกใหมากทสี่ ดุ มแี นวทางดังน้ี

1. จัดทำและดำเนนิ การตามแผนอนรุ ักษพ ลงั งานและส่ิงแวดลอ ม
2. ใชพลงั งานทดแทน เชน ติดตั้งชุดแผง Solar Cell ขนาดเลก็ พรอมหลอด LED จำนวน 3 ชดุ ทศี่ าลาอเนกประสงค ติดตั้งชุดแผง

Solar Cell โคมไฟสนาม UFO บริเวณสนามหญาและศาลาอเนกประสงค จำนวน 4 ชุดติดต้ังชุด Solar Cell โคมทางเดนิ ท่ี
บรเิ วณศาลพระพฆิ เนศ จำนวน 4 ชดุ ติดต้ังชดุ Solar Cell โคมไฟสปอตไลท ทีบ่ ริเวณสนามหญา จำนวน 2 ชดุ

เด็มโก พิจารณาแลววาการใชไฟฟาเปนแหลงกำเนิด
กาซเรอื นกระจกในสำนักงานใหญ จึงกำหนดเปาหมายการลดการใช
พลังงานไฟฟาในเด็มโก (สำนักงานปทุมธานี) ลง 10% เทียบกับป
2562 นอกจากนี้ เด็มโกมุงสูการเปนองคกรคารบอนต่ำ
โดยอยรู ะหวางจดั ทำแผนชดเชยการปลอยกาซเรือนกระจก

กิจกรรมดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ปี 2564
 จัดใหมีกิจกรรม 5ส และ Big Cleaning Day ปรับปรุงภูมิทัศนโดยรอบบริเวณเด็มโก เพื่อกระตุนใหพนักงานมีจิตสำนึกที่ดี

ในการชวยกันสรางบรรยากาศ ดูแลรักษาสิ่งแวดลอมในสถานที่ทำงานใหดีขึ้น สงเสริมภาพลักษณที่ดีขององคกร เมื่อวันที่

12 มีนาคม 2564

 ศูนยวิจัยนวัตกรรมการผลิตและรีไซเคิลโลหะ สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นำโดยผูชวย
ศาสตราจารย ดร.สงบ คำคอ และอาจารยทนงศักดิ์ ยิ่งนคร ไดเขาเยี่ยมชม ศึกษาดูงานเพื่อเปนประโยชนสูงสุดในการ
ดำเนินงานโครงการและพฒั นาเทคโนโลยีรไี ซเคิลที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ในการนำขยะ ของเสียจากภาคอุตสาหกรรมและ
ภาคครัวเรือนกลับมาใชประโยชนไดใหม ที่บริษัท เด็มโก เพาเวอร จำกัด (โรงงานลพบุรี) (“DP”) ซึ่ง DP ไดบริจาค Zinc
Dross ใหกบั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี เพื่อเปน การศกึ ษาวิจัยตอ ไป เม่ือวันที่ 15 กุมภาพันธ 2564

 สงตอปฏิทินเกาเพื่อนำไปผลิตหนังสืออกั ษรเบรลล
 จัดกิจกรรมปลูกตนไม “ฟา ทะลายโจร” เนือ่ งในโอกาสครบรอบดำเนนิ กจิ การ 30 ป ในวันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2565 โดยมอบสวน

สมุนไพรเพื่อสาธารณประโยชนแกชุมชนใกลเคยี ง และถวายเปนพระราชกศุ ล แดพ ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหา
ภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เน่อื งในวันสวรรคต ณ บรเิ วณดา นหนาสำนกั งานเด็มโก เมอื่ วันท่ี 12 ตลุ าคม 2564

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 77
บริษทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

 เด็มโกตองการใหพนักงานตระหนักถึงความสำคัญของสิ่งแวดลอมอันเปนรากฐานของชีวิตและลมหายใจของมนุษย หากปาไม
พน้ื ดนิ ทะเล และระบบนิเวศของโลกเสยี สมดลุ ไป แหลง อาหารของเราจะไดร บั ผลกระทบ รวมไปถงึ สตั วอ่ืน ๆ บนโลกกจ็ ะใชชีวิต
ลำบาก ดังนั้นเด็มโกจึงจัดใหมีการแจกพันธุกลาไม ใหพนักงานนำไปปลูกเพิ่มพื้นที่สีเขียวในบริเวณที่อยูอาศัยของตนเอง และ
มอบใหก บั คณะครูและนักเรียนโรงเรยี นวัดดาวเรือง เมอื่ วันท่ี 22 กรกฎาคม 2564 เพอ่ื คงไวซ ึ่งสมดลุ ของธรรมชาติตลอดไป

78 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

3.4.1 การจดั การความยงั ่ ยนื ในมิตสิ งั คม

กลุมบริษทั เด็มโกไดใ หค วามสำคัญกับความรับผิดชอบตอ สังคม ซง่ึ หมายถึง การดำเนินกิจกรรมขององคกรทัง้ ภายนอกและ
ภายในที่คำนึงถึงผลกระทบตอ ตัวองคกร สังคม และสิ่งแวดลอ ม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกอ ใหเกิดการอยูรวมกันในสงั คมอยางเปน
สุข ดังนน้ั การดำเนินการอยา งมคี วามรับผิดชอบตอสงั คมจึงเปนส่งิ สำคญั ในการบริหารจดั การองคกรใหพฒั นาไปสูการเติบโตอยาง
มปี ระสิทธิภาพและย่งั ยนื

คณะกรรมการบริษทั ไดกำหนดใหค วามรับผิดชอบตอสังคมเปนสวนหนึ่งของนโยบายแผนงานและกระบวนการดำเนินงาน
ตามนโยบายกำกบั ดูแลกิจการทด่ี ี เพอื่ ทจ่ี ะสรา งมูลคาเพิ่มใหกลุม บริษัทเด็มโกในอนาคต โดยในปจจุบนั ไดก ำหนดแนวทางปฏบิ ตั ิไว
เบื้องตน คือในการสรางสรรองคกรที่มีความสามารถในการทำกำไร ใหมีการเติบโตอยางยั่งยืนนั้น เด็มโกจะตองพิจารณาถึง
ประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว อีกทั้งตองบริหารจัดการองคกรในรูปแบบที่จะเสริมสราง
ความสามารถในการแขง ขันของเด็มโกควบคูไปกบั การสรางสรรสิง่ ที่ดีใหแกเศรษฐกจิ สังคม และสภาพแวดลอม ของผูที่มีสวนได
เสียของเด็มโก ไมวาจะเปนพนักงาน ลูกคา ผูผลิต พันธมิตรทางธุรกิจ ชุมชน หรือสังคมในวงกวาง เพื่อใหการดำเนินกิจการของ
องคก รประสบความสำเร็จ มมี าตรฐาน มีการดำเนนิ การอยางถูกตอ งและจริงจัง เพ่อื ใหเกดิ ความม่ันใจวาจะสามารถดำเนินการให
บรรลเุ ปาหมายเปนไปตามวสิ ัยทศั น และพันธกิจ ท่กี ำหนดไว สรา งความมั่นใจตอผมู สี วนไดเสยี กับองคกรอยา งแทจ ริง โดยเดม็ โกมี
ความมงุ มน่ั ทจี่ ะใหเกิดการพฒั นาอยางย่ังยืน อันจะนำไปสกู ารเติบโตที่สมดลุ และมนั่ คงในอนาคต

คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการความยั่งยืน ซึ่งประกอบดวยกรรมการบริษัท จำนวน 6 คน และใหตั้ง
คณะทำงานพัฒนาความยั่งยืนจากผูบริหารของเด็มโกเพื่อสนับสนุนการทำงานของคณะกรรมการความยั่งยืน โดยคณะกรรมการ
ความยั่งยืนจะเปนผูกำหนดกรอบทิศทาง กลยุทธ และนโยบายทางดานความยั่งยืน เพื่อใหมั่นใจวาการดำเนินการตามทิศทาง
นโยบาย และกลยทุ ธใ นการดำเนนิ ธุรกจิ ของกลุม ธรุ กิจเด็มโก มีการบูรณาการกรอบและประเดน็ ความยงั่ ยนื ทสี่ ำคัญ (Materiality)
และแนวทางสูการพัฒนาความยั่งยืนที่มีความชัดเจน ในขณะที่คณะทำงานพัฒนาความยั่งยืนจะทำหนาที่แปลงนโยบายไป
สูแผนการปฏิบัติและทำหนาที่กำกับดูแลใหฝายงานทางดานความยั่งยืนดำเนินการตามแผนและแนวปฏิบัติที่วางไว บุคลากรใน
องคก รต้งั แตร ะดับกรรมการ ผูบริหาร และพนกั งาน มีสว นรว มในการนำพาใหธ รุ กจิ กา วไปขางหนา และเตบิ โตไดอ ยางย่ังยืน ทำให
ผูมีสว นไดเสียมั่นใจไดว ากลุมธุรกิจเด็มโกด ำเนินงานอยูบ นพ้ืนฐานของการกำกับดูแลกิจการท่ีดี สามารถรักษาขีดความสามารถใน
การแขงขนั และพฒั นาศกั ยภาพในการเติบโต แมสภาพแวดลอ มในการดำเนนิ ธุรกิจจะเปลีย่ นแปลงไปอยา งไรกต็ าม

สำหรับนโยบายความรับผดิ ชอบของสงั คม เดม็ โกใ หค วามสำคญั กบั ปจจยั แหง ความสำเร็จทใ่ี ชเ ปนแนวทางในการบริหารให
เกิดความยั่งยนื ดานตา ง ๆ ไดแก

1. การประกอบธรุ กจิ ดวยความเปน ธรรม
2. การตอตานการทุจริตคอรร ปั ชัน
3. การเคารพสทิ ธิมนุษยชน
4. การปฏิบตั ติ อ พนักงานอยา งเปนธรรม
5. ความรบั ผดิ ชอบตอ นกั ลงทนุ และผถู ือหนุ
6. การดำเนินการดา นสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย
7. การมีสวนรว มพัฒนาชุมชน และสงั คม

เป้าหมายปี 2564
 การใหบริการสาธารณะแกช ุมชน มากกวา 100 ชัว่ โมง
 การเขารว มกจิ กรรมทางสังคมในชมุ ชน / ทอ งถ่ิน จำนวน 4 กจิ กรรม ตอ ป
 การรวมบรจิ าคโลหติ ของพนักงาน มากกวา 70,000 cc
 กิจกรรมบรจิ าคทรัพย สิง่ ของ เพื่อการกุศล 4 กจิ กรรม / ป

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 79
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

ผลการดาํ เนินงานปี 2564
 การใหบริการสาธารณะแกชุมชน 120 ชั่วโมง

 การเขา รว มกจิ กรรมทางสงั คมในชมุ ชน / ทองถิ่นจำนวน 4 กจิ กรรม

 การรวมบริจาคโลหติ ของพนักงาน 31,600 cc
 กิจกรรมบริจาคทรัพย ส่ิงของ เพอ่ื การกุศล 7 กจิ กรรม

แนวทางการบรหิ ารจดั การ
1. กลมุ ธุรกจิ เด็มโก มุง มนั่ ดำเนนิ ธุรกจิ ตามกฎหมาย มาตรฐาน ระเบยี บปฏิบัติ บนพน้ื ฐานความรบั ผดิ ชอบตอชมุ ชน สงั คม และ
สิ่งแวดลอ ม เพอื่ สรางและรกั ษาภาพลกั ษณและชื่อเสยี งท่ดี ี รวมท้งั ความนา เช่ือถือขององคก ร เพอื่ ใหไ ดร บั การยอมรบั และ
ความไวว างใจจากชมุ ชนและสังคม ในภาพรวมอนั จะนำไปสคู วามสำเร็จทางธรุ กจิ ตลอดจนการพัฒนาและเติบโตอยางยง่ั ยืน
ของกจิ การ
2. ใหการสนับสนุนและชวยเหลอื สังคมและชุมชน ทง้ั ในระดับทอ งถ่ิน และระดบั ประเทศตามความเหมาะสม
3. มสี ว นรว มในการทำกิจกรรมอันเปน การแสดงออกถึงความรบั ผดิ ชอบตอ ชุมชน สงั คม และสง่ิ แวดลอมเพ่อื เสรมิ สรา งคณุ ภาพ
ชีวติ ใหก ับผมู ีสว นไดเสีย
4. สงเสริมใหผ ูบ รหิ ารและพนกั งานของ กลมุ ธรุ กจิ เดม็ โก มีจติ สำนกึ ทดี่ แี ละมีความรับผดิ ชอบตอสงั คมและสง่ิ แวดลอม
5. การสง เสริมธรรมาภบิ าลและจรยิ ธรรม
6. ใหค วามรว มมือกับหนว ยงานกํากบั ดูแล ในการดำเนนิ การตามมาตรฐาน และรายงานขอมลู ทเ่ี ก่ียวกบั การฝา ฝน หรอื การไม
ปฏบิ ัติตามกฎหมายหรอื กฎระเบียบตา งๆ เพื่อชวยปอ งกันหรอื ลดผลกระทบดานสงั คมและสงิ่ แวดลอ ม
7. ประเมินความเสี่ยงและผลกระทบในเรอื่ งทเ่ี ก่ยี วของกับส่งิ แวดลอ ม สงั คม สขุ ภาพ และความปลอดภยั กอนเร่มิ การทำงาน
หรือการลงทนุ หรอื รว มทนุ ในกิจการใด ๆ เพือ่ วางแผนหรอื เตรียมการปอ งกนั ทเี่ หมาะสม

ในป 2564 เด็มโกจัดกิจกรรมสงเสริมจริยธรรมใหพ นักงาน เพื่อสรางจิตสำนึกที่ดี มีจริยธรรมในการทำงาน สามารถสราง
สุขในการดำเนินชีวิตประจำวันและการทำงาน รวมทั้งใหความสำคัญกับการมีสวนรวมในการดูแลชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม
ควบคูไ ปกับการดำเนนิ ธรุ กิจ กิจกรรมทเี่ ปน ประโยชนต อชมุ ชน สงั คม และสงิ่ แวดลอม สรปุ ไดดังนี้

ไดรับเลือกใหเปนศูนยประสานงานทบทวนสิทธิ ม.33 เรารักกัน โดยนายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน
นายสุรชัย ชัยตระกูลทอง ผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงแรงงาน นายชัยวัฒน ชื่นโกสุม ผูวาราชการจังหวัดปทุมธานี
พรอมทั้งผูบริหารกระทรวงแรงงาน ผูบริหารสำนักงานประกันสังคม หัวหนาสวนราชการจังหวัดปทุมธานี เจาหนาที่
สำนักงานประกันสังคม ลงพื้นที่ตรวจเย่ียมการใหบริการศนู ยป ระสานงาน โดยมกี รรมการ ผบู รหิ ารเดม็ โก ใหก ารตอ นรบั เมื่อ
วนั ท่ี 15 มีนาคม 2564

80 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

จัดกิจกรรมปฐมนเิ ทศพนักงานใหม ภาคทฤษฎีและกจิ กรรมภาคสนาม (Walk Rally) วตั ถุประสงคเ พื่อใหพนกั งานทราบถึงโครงสราง
การบรหิ ารงานของเดม็ โก ขอ บงั คับเกีย่ วกับการทำงาน นโยบายการตอ ตานการทจุ รติ คอรรัปชนั ความปลอดภยั ในการทำงาน ระบบ
บริหารคุณภาพ (ISO 9001 : 2015) และสวัสดิการที่พนักงานพึงไดรับ รวมถึงการรวมกิจกรรมภาคสนามเพื่อสรางเสริมพฤติกรรม
บุคลากรใหส อดคลองกับคา นยิ มหลัก i DEMCO สง เสริมการทำงานรว มกนั เปนทมี และปลูกฝงความรักในองคก รอยา งย่ังยนื
เด็มโกมีความมุงมน่ั ในการเพิ่มขีดความสามารถในการประกอบธรุ กิจใหเ ติบโตอยางยงั่ ยนื ในทกุ มติ ิ จงึ มแี นวคิดและมกี ารรเิ รม่ิ
กระทำใน “นวัตกรรมของเดม็ โก” ซึ่งจะเปนกลไกสำคัญที่จะผลักดันใหมีการพัฒนาองคกรไดตอเนือ่ งและเปนรูปธรรม จึง
กำหนดใหป 2564 เปนปของการทำกิจกรรม Innovation โดยใชชื่อโครงการวา “Innovation Program 1 : 1 : 1” ซึ่ง
หมายถึง 1 ป 1 สายงาน 1 โครงการ และจัดใหมีการประกวด แขงขัน ใหรางวัล นวัตกรรมดีเดนประจำป และจัดใหมีการ
อบรมในหลักสตู ร “DEMCO Innovation Project” เมอื่ วันที่ 11 กมุ ภาพันธ 2564
สรางวัฒนธรรมองคกรดานจริยธรรมใหเขมแข็ง โดยจัดใหมีการบรรยายพิเศษเรื่อง “การตอตานการทุจริตคอรรัปชันและ
เสรมิ สรางจริยธรรมในองคก ร” โดยนายสุวชิ ญ โรจนวานิช ประธานกรรมการจริยธรรมประจำสำนกั งานบรหิ ารหนี้สาธารณะ
เพือ่ สรา งเสรมิ วัฒนธรรมองคกรดา นจรยิ ธรรมใหกบั คณะผบู ริหาร และพนกั งานขององคกร เมื่อวนั ท่ี 7 กันยายน 2564
จัดพิธีถวายพระพรชัยมงคล และลงนามถวายพระพรเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระ
ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลาเจาอยูหัว เพื่อแสดงออกซึ่งความจงรักภักดีตอสถาบัน
พระมหากษตั ริย ณ หอ งโถงสำนักงานใหญเดม็ โก
การรวมกิจกรรมสำคัญทางศาสนา เปนกิจกรรมการรักษาและอนุรักษประเพณี
วัฒนธรรมท่ดี ีของไทย แมจ ะงดกจิ กรรมท่ีมกี ารรวมคนในหมูมาก ตามมาตรการปองกัน
การแพรระบาดของโควิด-19 เด็มโกไดสงตัวแทนพนักงานในการถวายเทียนพรรษา
ณ วดั ดาวเรอื ง ทอี่ ยูใกลสำนักงานใหญ เพื่อสบื ทอดประเพณสี ำคญั อยางตอเน่ือง
การบริจาคโลหิต เปน การสง เสรมิ ใหพนักงานไดมโี อกาสบำเพ็ญประโยชนตอ สังคม เสยี สละบรจิ าคโลหิตเพ่อื เปนประโยชนต อ
เพอื่ นมนษุ ย โดยพนกั งานไดเ ขารวมบริจาคโลหติ ตามท่ีเด็มโกร วมกบั สภากาชาดไทยและโรงพยาบาลราชวถิ ี ไดมาจัดบริการ

ใหที่สำนักงานเด็มโก โดยไดดำเนินการตอเนื่องเปนปที่ 10 ซึ่งในชวง
สถานการณการแพรระบาดของโควดิ -19 ทำใหไมสามารถบริจาคโลหติ ไดตาม
กำหนด ในชวงเวลาปกติจะมีการดำเนินการเปนประจำปละ 4 ครั้ง โดยในป
2564 เด็มโกสามารถจัดใหมกี ารบริจาคโลหติ ไดเ ปน จำนวน 2 ครั้ง คือวันที่ 18
กมุ ภาพันธ 2564 และวนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2564 โดยมีพนกั งาน ผูบริหารของ
บริษัทรวมบริจาคโลหิต จำนวนทั้งสิ้น 71 คน ไดปริมาณโลหิตรวม 31,600 ซีซี
แสดงใหเห็นถงึ การมสี วนรวมของพนกั งานในการบำเพ็ญประโยชน เสียสละบริจาคโลหิตเพ่ือเปนประโยชนตอเพือ่ นมนษุ ย
จัดกิจกรรมเด็มโก จิตอาสา ใหพนักงานเด็มโกรวมบริจาคเสื้อผา หนังสือ กระเปา รองเทา เครื่องใชไฟฟาเกา ของเลน ใน
โครงการ “เหลือ - ขอ เปลี่ยนสิ่งของเปน คาเทอมใหนอ ง ๆ มลู นธิ ิบา นนกขม้ิน” เมอ่ื วันที่ 27 ตุลาคม 2564 ซง่ึ กิจกรรมนี้ถือ
เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมเพื่อสังคมตามนโยบายของเด็มโกที่ใหความสำคัญกับการสงเสริมกิจกรรมเพื่อชวยเหลือ
ผูดอยโอกาสทางสังคมใหม ีคุณภาพชีวติ ดีขึ้น

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 81
บรษิ ทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

ผูบริหาร พนักงาน รวมกันบริจาคสิ่งของอุปโภค บริโภค และเงินสนับสนุนการดำเนินงานของมูลนิธิ แกมูลนิธิมิตรภาพ
สงเคราะหบานพักคนชราหญงิ ติวานนท จังหวัดปทุมธานี ณ สำนักงานสวัสดิการคุมครองแรงงาน จังหวัดปทุมธานี เมื่อวนั ท่ี
7 เมษายน 2564
ตัวแทนเด็มโก มอบหนากากอนามัย สเปรย และเจลแอลกอฮอลใหกับองคการบริหารสวนตำบลสวนพริกไทย จังหวัด
ปทุมธานี เนือ่ งในโอกาสครบรอบวันกอ ต้ังบรษิ ัท เดม็ โก จำกัด (มหาชน) ในวนั ที่ 1 มิถุนายน 2564
บริษัท เด็มโก เพาเวอร จำกัด (โรงงานลพบุรี) มอบอุปกรณเครื่องคอมพิวเตอร หนากากอนามัยและกลองรอดตาย ใหกับ
โรงพยาบาลหนองมวง จังหวัดลพบุรี เมือ่ วันท่ี 9 กนั ยายน 2564
บริษัท เด็มโก เพาเวอร จำกัด รว มใจตานภยั COVID - 19 และเพ่ือเปน การรว มรณรงค ใชเ ทาเหยียบ - งดมอื จับ - ระงับเชื้อ
- เพอ่ื ตัวเรา โดยไดจ ัดทำอุปกรณจ ายเจลแอลกอฮอลแบบเทา เหยียบ สง มอบใหกบั นายชยั ภูเจริญชัยวรรณ นายอำเภอหนอง
มวง ณ ที่วาการอำเภอหนองมวง สถานีตำรวจภูธรอำเภอหนองมวง โรงพยาบาลหนองมวง และวัดบานใหมโสพิมพ จังหวัด
ลพบรุ ี เม่อื วนั ที่ 26 มกราคม 2564
นางประพีร ปุยพันธวงศ ประธานกรรมการ ไดมอบหมายใหตัวแทนเด็มโก
มอบเครือ่ งคอมพิวเตอรจำนวน 5 เครื่อง พรอมทั้งเส้ือผา หนากากอนามัย
ขนม ของเลนสำหรับเด็ก ใหกับโรงเรียนบานปรือพวงสำราญ ตำบลตาจาง
อำเภอละหานทราย จังหวัดบรุ ีรัมย โดยมนี ายสุรศักด์ิ จนั ออน ผูอำนวยการ
โรงเรียนและคณะคุณครเู ปนผรู ับมอบ เมอ่ื วันท่ี 30 ตลุ าคม 2564
นายสรุ สงิ ห ถาวร ผชู ว ยกรรมการผจู ดั การสายงานทรัพยากรบุคคล เปน
ผูแทนเด็มโกเดินทางไปรว มบริจาคสิ่งของ ขา วสาร อาหารแหง ใหก บั คณะครโู รงเรียนบา นสม ปอ ยศกึ ษา อำเภอแมสอด
จงั หวดั ตาก โดยมีนางมณีรตั น เขยี วงาม ผูอำนวยการโรงเรียน เปนผรู ับมอบ

การปฏิบตั ติ อ่ พนักงานอยา่ งเป็ นธรรม
การพัฒนาศกั ยภาพและการดูแลพนักงาน

เดม็ โกต ระหนักวา พนักงานเปน ทรพั ยากรทีม่ ีความสำคญั ในการขับเคล่อื นธรุ กจิ ใหเติบโต ซง่ึ ความทา ทายขององคกรคือการ
เตรียมความพรอมและพัฒนาศักยภาพของพนักงานใหสอดคลองกับทิศทางกลยุทธ ภายใตสภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกที่ไม
หยุดนิ่ง ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ซึ่งอาจสงผลตอทักษะ ความรู ความสามารถของพนักงาน รวมถึงการสราง
แรงจูงใจและความผกู พนั ของพนักงาน

นโยบายดา นการบรหิ ารงานบุคคล กลุมบรษิ ทั เด็มโก มงุ เนนขอปฏบิ ตั ิในดานสำคัญตาง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งกับทรพั ยากรบคุ คล คอื
1. การเลือกสรรพนกั งานทมี่ ีศกั ยภาพและมคี ณุ ธรรม
2. การธำรงรกั ษาทรัพยากรบคุ คล
3. การประเมินผลการปฎิบตั ิงานอยางโปรง ใสและยุตธิ รรม
4. การพัฒนาทรพั ยากรบคุ คลอยางตอ เนอ่ื ง
5. การสง เสริมธรรมาภิบาลและจรยิ ธรรมแกบ ุคลากรของกลมุ ธุรกิจเด็มโก
6. นโยบายและแนวปฏบิ ตั ิดานการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน

โดยมขี อปฏิบัติในนโยบายดงั กลาว คือ
1) การสรรหาและคัดเลือกบุคลากรเขาทำงานโดยไมจำกัดจาก อายุ เพศเชื้อชาติ สัญชาติ ความพิการ ศาสนา โดยพิจารณา

จากคุณสมบตั ทิ ีต่ อ งการตามตำแหนงงานที่รับสมัคร
2) การจายคา ตอบแทนสำหรับชายและหญงิ ทีเ่ ทาเทียมกันในลกั ษณะงานมคี ณุ คา เทา กนั
3) การพฒั นาบุคลากรอยางท่ัวถึง เสมอภาค ไมเลือกปฏบิ ตั ิ โดยคำนงึ ถงึ ความเหมาะสมของตำแหนง และความกา วหนาใน

สายอาชพี
4) การกำหนดและเปดเผยหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานใหเปนที่รับรูและเปดเผยผลการประเมินการ

ปฏบิ ตั ิงานใหพ นกั งานทราบอยางโปรงใสและเปนธรรม

82 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

5) การสง เสริมใหพ นกั งานมคี วามกาวหนา ในสายงานอาชพี ดว ยการพัฒนาฝก อบรมอยา งตอ เนอ่ื ง
6) การสงเสริมใหพนักงานเติบโตอยา งย่ังยืนดา นคุณธรรม จริยธรรมในบุคคลเพ่ือใหพนักงานไดรับการพัฒนาใหเปน คนดี

และคนเกง พัฒนาความรู ความเขาใจและมีทัศนคติที่ดีตองานและบริษัท รวมทั้งสงเสริมใหมีการแสดงออกถึงการมี
คุณธรรม จริยธรรมในเชงิ พฤตกิ รรม

เปาหมายป 2564
 วศิ วกร ผานการฝก อบรมไมนอยกวา 24 ชั่วโมง
 พนักงานทกุ คนไดรับการฝกอบรมเพ่อื พัฒนาทักษะความสามารถ ไมนอยกวาปล ะ 18 ชว่ั โมง
 รอยละ 50 ของตำแหนง ระดับบรหิ ารท่วี า งไดร บั การบรรจโุ ดยการเล่อื นตำแหนง งานภายใน
 คะแนนการครองใจพนกั งาน (Employee Engagement) เฉลยี่ >4 (Score)

ผลการดำเนนิ งานป 2564
 วศิ วกร ผานการฝก อบรมเฉลยี่ 18.94 ชว่ั โมง
 พนักงาน ผา นการฝก อบรมเฉลี่ย 27.67 ช่วั โมง
 ผลการสำรวจระดบั การผูกผันตอองคก ร (Employee Engagement) เฉลี่ย 3.93

ในป 2564 เด็มโกดำเนินงานสานตอตามแผนงาน DEMCO : 2020 – 2022 Year of Organization Development โดยมี
เปาหมายเพื่อสรางรากฐานใหแข็งแกรง โดยการยกระดับขีดความสามารถในการดำเนินงานโครงการตาง ๆ ของเด็มโก ใหมีตนทุนที่
เหมาะสม เกดิ ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล สามารถปรบั ตวั ไดภายใตป จ จยั ทีม่ ีการเปลีย่ นแปลง ซงึ่ มีการปรับรากฐานสำคัญ 4 ดา น คือ

นโยบายและแนวปฏิบัตดิ า นการเคารพกฎหมายและหลกั สิทธิมนษุ ยชน
การดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายนัน้ เปนสิ่งที่บุคลากรทุกคนในกลุมบริษัทเด็มโก ตระหนัก

และใหความสำคัญ โดยกำหนดไวในจรรยาบรรณเด็มโก ในคูมือการกำกับดแู ลกิจการที่ดีของเด็มโก ที่ตองปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ
ขอบังคบั มตทิ ปี่ ระชุมผถู ือหุน และกฎหมาย ดวยความซื่อสัตยสุจรติ และระมัดระวงั

เด็มโกมุงเนน ใหการดำเนินงานของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนตองปฏิบัตติ อผูมีสว นไดเ สียทุกฝายดวย
ความเคารพ ใหเกยี รตซิ งึ่ กนั และกนั บนพน้ื ฐานศักด์ิศรขี องความเปนมนุษย หรือไมกระทำการใหก ระทบสทิ ธเิ สรีภาพของบคุ คลอื่น
ที่ขัดตอบทบัญญัติของกฎหมาย โดยแนวปฏิบัติดังกลาวเปนมาตรฐานจริยธรรมองคกรที่บุคลากรทุกคนในเด็มโก ตองถือปฏิบัติ
อยางเครงครัด ซึ่งหากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามก็จะถูกลงโทษ ตามระดับของความรายแรงแหงการกระทำและถือเปนการ
กระทำผิดทางวินยั ดวย

เด็มโกใหความสำคัญตอ กิจกรรมที่อาจมีผลตอหลกั สิทธิมนุษยชน ในทุก ๆ ดาน โดยยดึ ถือและปฏิบัติตามขอกฎหมายท่ี
เก่ียวขอ ง โดยเด็มโกม ีนโยบายอยางชัดเจนท่ีจะไมจางแรงงานเดก็ ยดึ มน่ั ในเสรภี าพของการนับถือศาสนา การไมเลือกปฏิบัติจาก

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 83
บริษัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

ความแตกตางทางดานเชื้อชาติ ศาสนา เพศ และสถานะภาพทางสังคม นอกจากนี้เด็มโกยังใหความเคารพตอหลักสิทธิมนุษยชน
ของพนักงานทุกระดับชั้น อยางเครงครัดโดยจะปกปอ ง และไมนำขอมูลสว นตัวของพนักงาน เชน ประวัติสวนตัว คาจางเงินเดอื น
ฯลฯ ไปเปดเผยใหกับบุคคลภายนอก หรือผูที่ไมมีสวนเกี่ยวของรับทราบ โดยเด็มโกไดกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายคุมครอง
ขอมูลสว นบุคคล รวมถึงไดก ำหนดใหม ีการใชข อบังคับเกี่ยวกบั การปฏิบัติงานซ่งึ ไดจัดทำเปน คมู ือ ส่อื สารใหก ับพนกั งานไดร บั ทราบ
ถึงกฎ ระเบียบ และขอ บังคบั เก่ยี วกบั การทำงานและมีการปฐมนเิ ทศกอ นการเรม่ิ ปฏิบัติงาน

นโยบายและแนวปฏิบัติดานการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชนฉบับเต็ม ไดถูกเผยแพรในเว็บไซตเด็มโก
www.demco.co.th/การกำกับดแู ลกจิ การ/นโยบายสทิ ธิมนษุ ยชน

แนวทางการบรหิ ารจดั การ
1. กลมุ ธุรกิจเด็มโก เคารพในสทิ ธมิ นุษยชนดำเนนิ การคดั เลือกบุคลากรโดยไมแบงแยกในเร่อื ง เพศ เชือ้ ชาตแิ ละหรอื ศาสนา

2. กลุมธุรกจิ เด็มโก คำนึงถงึ ความสามารถของบุคลากรโดยไมอ ิงกับเพศ เชือ้ ชาติและ/หรือศาสนา

3. กลุมธุรกิจเด็มโก จะไมรวมทำธุรกิจกับคูคาและหรือผูรวมทำธุรกิจที่เปนที่ทราบดีวามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผิด
กฏหมายในดา นแรงงานและสทิ ธิมนษุ ยชนสากล

จำนวนพนกั งานและความหลากหลาย
เด็มโกใหความสำคัญกับพนักงาน

โดยพนักงานทุกคนจะไดรับโอกาสในการ
เขาถึงสิทธิประโยชนแ ละสวัสดกิ าร การอบรม
เพิ่มทักษะตาง ๆ รวมถึงการไดรับการ
ประเมนิ ผลการทำงาน และความกาวหนาทาง
อาชีพไดอยางเทาเทียม โดยไมมีการกีดกัน
ทางเพศ อายุ สัญชาติและเชือ้ ชาติ

84 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

การปรับรากฐานสำคัญดานทรัพยากรบุคคล (Human Resources Transformation) เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผล สามารถปรับตัวไดภายใตป จจัยท่ีมีการเปลี่ยนแปลง ดังน้ี

• การพัฒนาปรบั ปรุงดา นการคดั เลอื กและสรรหาบุคลากร (Recruitment Transformation)
1) เพ่ิมชอ งทางในการสรรหาบุคลากรในตำแหนงงานบรหิ ารและตำแหนงงานท่ีมคี ุณสมบัตพิ ิเศษและสรรหาไดยาก โดยใช
บริการเพิ่มเตมิ ทางบรษิ ัทจดั หางานระดับประเทศและภูมิภาค (Head Hunter) นอกเหนือจากสื่อการรบั สมัครงานอ่ืน
เชน Jobtopgun, JobsDB ซ่งึ เปน เวป็ ไซตร บั สมคั รและหางานออนไลนระดบั แนวหนา ของประเทศท่ีมีตำแหนง งานกวา
14,000 ตำแหนงตอ วัน
2) ในชวงสถานการณของโรคระบาดไวรัสโควิด - 19 ทำใหเด็มโก ตองงดกิจกรรมในการดำเนินงานรับสมัครงานทาง
กิจกรรม Job Fair ของทางมหาวิทยาลัยชั้นนำ แตเด็มโกยังคงสรางความสัมพันธทางวิชาการกับคณาจารยคณะ
วิศวกรรมศาสตรของมหาวิทยาลัยชั้นนำ (Campus Network) เชน การเชิญคณาจารยผูเชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบุรี บรรยายใหค วามรูเพ่ิมเติมในวชิ าชีพวศิ วกร เปน ตน

• การพัฒนาดา นการธำรงรกั ษาทรพั ยากรบุคคลเพ่อื ใหพ นกั งาน มีความภาคภมู ใิ จและผูกพนั ตอ องคกร (Loyalty & Bonding)
(1) สื่อสารใหความชัดเจนเกี่ยวกับการทำ Employee Engagement Survey แกกลุมผูบังคับบัญชา กลุมผูบริหารและ
กลุมพนักงาน โดยการทำ Employee Engagement Survey เปนเครื่องมอื หนึ่งในการเสริมสรางใหพนักงานรูสึกเปน
สวนหนึ่งขององคกร แสดงถึงความเอาใจใสดูแลพนักงานเปนอยางดี ใหพนักงานอยากรวมงานในระยะยาว และเกิด
ความจงรักภักดีตอองคกรไดในที่สุด นอกจากนั้นยังชวยทำใหพนักงานคนพบปญหาและแจงกลับสูองคกรไดอยาง
รวดเร็ว ทนั ทวงทแี ละชดั เจน ทำใหอ งคก รสามารถแกไขปญหาไดต รงจุดและมีประสทิ ธิภาพ
(2) ปรบั ปรุงชอ งทางการส่ือสารขาวสารของเด็มโก เพอ่ื ใหพนักงานไดรับขอมูลที่สะดวกและแลกเปลี่ยนขาวสารไดมากขึ้น
เชนจัดตั้ง ไลนกลุมคณะกรรมการสวัสดิการพนักงาน / ไลนกลุมพนักงานผูทำโครงการ Innovation / ไลนกลุม
พนกั งานทกุ ระดบั และ Facebook แจง ขาวสารทีเ่ ปนทางการของเด็มโก เปน ตน
(3) จัดกิจกรรมและสง เสรมิ ใหพนกั งานมสี วนรว มในกจิ กรรมตา ง ๆ ทเี่ สรมิ สรา งความผูกพันระหวา งพนักงานกับเดม็ โกและ
กับสังคมชมุ ชนโดยรอบอยางสม่ำเสมอ

• การปรับปรุงพัฒนาดานการประเมนิ ผลการปฎบิ ตั ิงาน
1) ใชแ บบประเมนิ ผลการปฎิบตั ิงาน โดยเช่ือมโยงเปา หมายการปฏบิ ตั ิงานรายบคุ คลไปสผู ลรวมเปา หมายขององคกร
2) พจิ ารณาเกณฑการประเมนิ ผลพนกั งานโดยกำหนดหัวขอการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานใหสอดคลองกบั สมรรถนะและ
บทบาทหนาทีค่ วามรับผดิ ชอบของผูรบั การประเมิน เปน กลุมพนักงานระดบั บริหารและพนกั งานทว่ั ไป

• การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และสงเสริมการเติบโตอยางยั่งยืนดานคุณธรรม จริยธรรมในบุคคลเพื่อใหพนักงานไดรับการ
พัฒนาใหเปนคนดีและคนเกง พัฒนาความรู ความเขาใจและมีทัศนคติที่ดีตองานและองคกร รวมทั้งสงเสริมใหมีการ
แสดงออกถึงการมีคุณธรรม จริยธรรมในเชิงพฤติกรรม แมวาสถานการณปองกันการแพรระบาดของโควดิ -19 ทำใหการจดั
อบรม บรรยายเปนกลุมไมสามารถทำได แตเด็มโกไดจัดหาชองทางในการสงเสริมจริยธรรม การตอตานการทุจริต ใหแก

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 85
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

พนกั งานไดศกึ ษา ทบทวนโดยไดนำหลกั สตู ร HRD - E Learning ที่จดั โดยสถาบนั พัฒนาขาราชการพลเรอื น สำนกั งาน ก.พ.
การอบรมในหลกั สูตร “สุจริตไทย” กำหนดใหพนักงานอบรมพรอมไดร บั วุฒบิ ตั รผานการอบรม

เด็มโก มีนโยบายในการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรที่ชัดเจน โดยมุงพัฒนาความรู ทักษะ ความสามารถพิเศษ ทัศนคติและ
ความมีคุณธรรม จรรยาบรรณของบคุ ลากรเด็มโกทกุ คน เพื่อใหเกิดความสำเร็จในนโยบายดังกลาว เด็มโกจงึ มีนโยบายสงเสรมิ ให
พนักงานทุกระดับชั้น ตั้งแตระดับพนักงานจนถึงผูบริหารระดับสูงไดรับการพัฒนาใหมีความรูความสามารถทั้งดานทฤษฎี และ
ควบคูไปกับการปฏิบัติงานจริงอยางตอเนื่องตลอดเวลา เพื่อใหเกิดทักษะในการทำงานที่มีประสิทธิภาพ โดยเด็มโกจัดใหมีการ
ฝกอบรม เพือ่ พฒั นาความรูแ ละทักษะเฉพาะดานจากคำแนะนำของผูที่มีประสบการณในแตละสายงาน รวมถึงการจัดใหพนักงาน
ไดเ ขา รบั การฝกอบรมหลกั สูตรปฏบิ ตั งิ าน และสง เสรมิ ใหบคุ ลากรไดเ ขารว มการอบรมสมั นาตามสายงานท่เี กี่ยวของอยา งสมำ่ เสมอ
ทั้งในและนอกสถานที่ นอกจากนี้ เด็มโกไดมีนโยบายสนับสนุนการศึกษาตอในระดับปริญญาโท ใหกับพนักงาน รวมทั้งจัดให
พนักงานไดมีโอกาสพัฒนาความรูในการใชภาษาอังกฤษดวยการจัดหลักสูตรฝกอบรมภายใน และดำเนินการจัดสอนจากผูบรหิ าร
และพนักงานชาวตางชาติของเด็มโก

การพฒั นาศักยภาพทม่ี ีประสิทธิภาพชวยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในธุรกิจ และผลักดันใหก ลุมบริษัทเด็มโกสามารถ
ประสบความสำเร็จไดตามเปา หมาย นำไปสูว ิสัยทศั นใ นการเปนบริษัทไฟฟา ชน้ั นำดานนวัตกรรมและความยัง่ ยนื ในระดบั สากล

เด็มโกใหความสำคัญกับการพัฒนากรรมการบริษัท ผูบริหารและพนักงาน เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการปฏิบัติที่ดี

สำหรับบรษิ ัทจดทะเบยี น จงึ มีแนวทางพัฒนาบคุ ลากรของเดม็ โก ดังน้ี

(ก) การพฒั นากรรมการบริษทั 2. เด็มโกส ง เสรมิ ใหพ นกั งานมีการพฒั นาองคค วามรูใหมใน

1. เด็มโก จัดใหกรรมการเขารับการอบรมหลักสูตรที่ ยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยี และการใชชีวิต

สงเสริมการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานของ ทำงานในรูปแบบวิถีใหม New Normal อนั เนื่องมาจาก

คณะกรรมการบริษัท เพื่อเปนการพัฒนา สนับสนุน สถานการณการแพรระบาดไวรัสโควิด-19 โดยจัดใหมี

และสง เสรมิ การปฏิบตั ิหนาท่ขี องคณะกรรมการ การเรียนรูฝกอบรมผานทาง ระบบออนไลน Zoom

2. เด็มโก จะเปดเผยขอมูลการเขารับการพัฒนาและ และหร ื อ Microsoft Team ในหล ั กส ู ตร Digital

ฝกอบรมของกรรมการในปท ี่ผา นมา Literacy ที่จัดโดยสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน

3. เด็มโก สงเสริมและสนับสนุนใหกรรมการไดรับการ สำนกั งาน ก.พ. และการอบรมในหวั ขอหลักสตู ร “สุจริต

อบรมและเสริมสรางความรอู ยา งตอ เนอ่ื งและสมำ่ เสมอ ไทย” ซึ่งเปนหลักสูตรทไ่ี ดรับการวิจยั และจัดทำขึ้นโดย

ในเรอ่ื งท่เี กี่ยวขอ งกบั การดำเนินงานของคณะกรรมการ ไดรับความรวมมือของนักวิชาการ อาจารยครู และ

เพอ่ื ใหท นั ตอ การเปลีย่ นแปลงทางธรุ กจิ ทอ่ี าจเกดิ ขึ้น องคก รตา ง ๆ ท่เี หน็ ความสำคัญของปญหาทุจริตคอรรัป

(ข) การพัฒนาผบู ริหาร ชันในประเทศไทย หลายองคกรชั้นนำในประเทศไทยได

1. เด็มโกกำหนดใหมีสมรรถนะสำหรับผูบริหาร นำหลักสูตรนี้ ใชในการปลูกจิตสำนึก ในการตอตาน

(Managerial Competency) เพื่อใชเปนพื้นฐานใน ทุจริตคอรรัปชัน ใหแนวทางในการดำเนินชีวิตที่

การพฒั นาผบู ริหารใหมที ักษะ ความรู ความสามารถใน เหมาะสม เพื่อจะไมกระทำการคอรรัปชัน เชนองคกร

การทำงานใหป ระสบความสำเร็จ สำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ

2. จัดใหมีหลักสูตรการฝกอบรมและแนวทางการพัฒนา ทจุ ริตแหง ชาติ สำนกั งานจเรตำรวจแหงชาติ เปน ตน

อื่น ๆ ที่เหมาะสมและสอดคลองกับสมรรถนะสำหรับ 3. เด็มโกจัดใหมีการปฐมนิเทศพนักงานใหมทั้งภาคทฤษฎี

ผบู ริหาร ใหกบั ผูบรหิ ารของเด็มโก และภาคปฏิบัติ เพื่อใหพนักงานใหมมีความเขาใจใน

(ค) การพัฒนาพนกั งาน วสิ ัยทัศน คา นิยม นโยบายและทิศทางในการดำเนนิ ธุรกิจ

1. เด็มโกกำหนดใหมีสมรรถนะเฉพาะสายงาน (Functional ของบริษัท จรรยาบรรณ จริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

Competency) สำหรับพนักงานในแตละบทบาทงาน ขอบังคับเกี่ยวกับการทำงาน นโยบายการตอตานการ

เพื่อใชเปนพื้นฐานในการพัฒนาพนักงานใหมีทักษะ ทุจริตคอรรัปชัน ความปลอดภัยในการทำงาน ระบบ

ความรู ความสามารถในการทำงานใหป ระสบความสำเร็จ บริหารคุณภาพ (ISO 9001 : 2015) และสวัสดิการ

86 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

ที่พนักงานพึงไดรับ รวมถึงการรวมกิจกรรมภาคสนาม 4. เด็มโกกำหนดใหหัวหนางาน ผูจัดการรวมกับพนักงาน
เพื่อสรา งเสรมิ พฤตกิ รรมบุคลากรใหสอดคลองกับคานิยม ผูใตบงั คับบัญชา จดั ทำแผนพฒั นารายบุคคล (Individual
หลัก i DEMCO สงเสริมการทำงานรวมกันเปนทีมและ Development Plan : IDP) ประจำป เพอ่ื ใหม ีการพฒั นา
ปลูกฝงความรกั ในองคก รอยางยัง่ ยนื ทักษะ องคค วามรแู กพ นักงาน อยา งตอ เนือ่ ง

นโยบายการพัฒนาทักษะความสามารถของคณะกรรมการ 2. คณะกรรมการพึงหารือรวมกนั ถึงผลการดำเนินงานของ
1. คณะกรรมการพึงติดตามการเปลี่ยนแปลงของ กลุมบริษัทเด็มโก แลวประเด็นปญหาตาง ๆ ที่ระบุพบ
โดยนำไปเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานทั้งในอดีต
สภาพแวดลอมทางธุรกิจอยางสม่ำเสมอ เพื่อที่จะ ปจจุบัน และอนาคต เพื่อวิเคราะหถึงจุดออน จุดแข็ง
สามารถประเมินไดวา การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผล และอปุ สรรคตา ง ๆ ตลอดจนระบปุ ระเดน็ สำคัญตาง ๆ
กรกะทบอยางไรตอกลุมบริษัทเด็มโก คณะกรรมการ ที่ตองการมุงเนนเปนพิเศษ เพื่อใหการประกอบธุรกิจ
จำเปนตองไดรับการพัฒนาทักษะ ความรูความ ของกลุมบริษัทเด็มโก มีเปาหมายที่ชัดเจน และ
เชี่ยวชาญใด เพิ่มเติมหรือไม เพื่อใหสอดรับกับการ เฉพาะเจาะจง สรา งมูลคา ใหก ลุม ธุรกจิ เด็มโก
เปลี่ยนแปลงเหลานั้น ซึ่งครอบคลุมการพัฒนาความรู
(Knowledge) การพัฒนาทักษะที่จำเปนสำหรับ
ก ร ร ม ก า ร ( Skills) แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า พฤ ต ิ ก ร ร ม
(Behavior)

การอบรมกรรมการในหลักสตู รของสถาบนั สงเสรมิ กรรมการบรษิ ทั ไทย (IOD)

ชือ่ กรรมการ DCP DAP ACP, RNG FND, RMP ACEP อ่ืน ๆ
1. นางประพีร ปยุ พันธวงศ DAP AACP FSD RCP18/2008
DCP 46/2005 RNG FND RMP
2. นายนริศ ศรีนวล 194/2014 AACP 6/2014 6/2015
DAP 20/2015 24/2005
3. นายเสรมิ ศักด์ิ จารมุ นสั DCP 107/2014 AACP
114/2009 33/2019 BMD 5/2017
BMT 7/2019
DCP ITG 14/2020
199/2015
CSP22/2007
4. นายปริญช ผลนวิ าศ DCP DAP ACP ACEP MIA 3/2008
71/2006 2/2003 20/2007 6/2013 ACPG10/2014
ELP 3/2016
5. นายปราโมทย อินสวา ง DCP
6. นายปญ ญ เกษมทรพั ย 59/2005 IOP 6/2017

DCP ACP FSD MFM 6/2011
140/2010 37/2011 10/2010 MIA 11/2011
MFR14/2012
7. นายสงวน ตงั เดชะหริ ญั DAP ACP FND MIR 12/2012
8. นายโอฬาร ปุย พนั ธวงศ 36/2005 6/2005 24/2005
9. นายชยั วฒั น เลิศวนารินทร FSD39/2019
DAP161/
DCP 2562
221/2016

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 87
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

ชื่อกรรมการ DCP DAP ACP, RNG FND, RMP ACEP อน่ื ๆ
10. นายพงษศ กั ด์ิ ศิรคิ ปุ ต AACP FSD

11. นายไพฑูรย กำชยั DAP RMP ACEP

46/2005 3/2014 13/2014

DAP RCL SFE 31/2019

85/2010 13/2018 CRC 2/2019

หมายเหตุ

DCP = Director Certification Program DAP = Director Accreditation Program

ACP = Audit Committee Program AACP = Advance Audit Committee Program

RCP = Role of the Chairman Program MFR = Monitoring the Quality of Financial Reporting

FSD = Financial Statements for Directors FND = Finance for Non finance Director

RMP = Risk Management Program ACEP = Anti - Corruption for Executive Program

SFE = Successful Formulation & Execution of Strategy BMD = Boards That Make a Difference

MFM = Monitoring Fraud Risk Management MIA = Monitoring the Internal Audit Function

RNG = Role of the Nomination and Governance Committee CSP = Company Secretary Program

ELP = Ethical Leadership Program CRC = Corruption Risk & Control

BMT = Board Matters and Trends ACPG = Anti-Corruption the Practical Guide

RCL = Risk Management Program for Corporate Leaders IOP = Independent Observer Program

MIR = Monitoring the System of Internal Control and Risk Management

ITG = IT Governance and Cyber Resilience Program

ในป 2564 กรรมการเขารวมอบรมสมั มนาเพื่อพัฒนาความรใู นการทำหนา ท่กี รรมการ โดยมจี ำนวนกรรมการ

มากกวา รอยละ 75 ของจำนวนกรรมการท้ังคณะ เขาอบรมสมั มนากจิ กรรม ตา ง ๆ อาทิ

• การเขา รวมสัมมนา "Post - Expectations : • การเขารวมงานสัมมนาประจำป 2564 (2021 TBCSD

A Power and Energy Dialogue with New Annual Seminar) : Vision 2050 ของนายปราโมทย

Governors Electric Utilities." ของนายนรศิ ศรนี วล อินสวาง จัดโดยองคกรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน

จดั โดย IEEE.PES. (Thailand) ( Thailand Business Council for Sustainable

• การเขารวมงานสัมมนา "Flexibility and Enabling Development : TBCSD )

Technologies for Deregulated Market" ของนาย • การเขารับฟงบรรยายพิเศษ “บทบาทขององคกรพันธมิตร

นริศ ศรีนวล จัดโดย IEEE PES Webinar. ในการรว มสนบั สนนุ การสรางความย่ังยนื ของภาคธุรกิจไทย

• การเขารวมสัมมนา "Director Forum (R - DF1/2564 )" รวมกบั TBCSD” ของนายปราโมทย อินสวาง จัดโดย

ของนายเสริมศกั ด์ิ จารมุ นสั จดั โดย IOD World Business Council for Sustainable

• การเขารวมสัมมนา "National Director Conference Development : WBCSD

(NDC 1/2564 )" ของนายเสริมศักดิ์ จารุมนัส จัดโดย • การเขารว มรับฟงบรรยาย “กรณศี กึ ษา TFRS15 รายไดจาก

IOD สัญญาที่ทำกับลูกคา” ของนายปริญช ผลนิวาศ จัดโดย

• การเขารวมสัมมนาเรื่อง “เพิ่มศักยภาพและสนับสนุนการ สำนักงานสอบบญั ชี ดไี อเอ

ทำงานของผูสังเกตการณ แนวปฎิบัติ และ สิทธิ การทำ • การเปน วิทยากรผูด ำเนินรายการเสวนาทางวชิ าการเน่ืองใน

หนาที่ของผูสังเกตการณภายใตการดำเนินงานโครงการ วันรพี “ปญหาการปฏิบัติตามสัญญาในวิกฤตโรคระบาด

ขอตกลงคุณธรรม” ของนายปราโมทย อินสวาง จัดโดย รา ยแรง Covid - 19” ของนายปญญ เกษมทรัพย จัดโดย

องคก รตอตา นคอรร ัปชนั (ประเทศไทย) มูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย รวมกับศูนยนิติศาสตร คณะ

นิตศิ าสตรมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร

88 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

• การเขารวมสัมมนา “Reimagining your business นายพงษศักดิ์ ศิริคุปต และนายไพฑรู ย กำชัย บรรยาย

with AI” ของนายชัยวัฒน เลิศวนารินทร จัดโดย โดยนายสุวิชญ โรจนวานิช ประธานกรรมการจริยธรรม

McKinsey & Company ประจำสำนักงานบรหิ ารหนส้ี าธารณะ กระทรวงการคลัง

• การเข  าร  วมส ั มมนา Deliver Superior Customer • การเขาอบรม “กลไกการลดกาซเรือนกระจกในบริบท

Experience, Remotely ของนายชัยวัฒน เลิศวนารินทร ของสมารทกริด” ของนายพงษศักดิ์ ศิริคุปต และนาย

จัดโดย Google Workspace ไพฑูรย กำชัย จัดโดย สำนักงานนโยบายและแผน

• การเขา รวมสัมมนา Supply Chain Cybersecurity ของ พลงั งาน กระทรวงพลังงาน

นายชัยวัฒน เลิศวนารินทร จัดโดย Oliver Wyman • การเขาอบรม “Smart Energy in Smart City” ของ
Digita นายพงษศักดิ์ ศิริคุปต และนายไพฑูรย กำชัย จัดโดย
• การเขารวมสัมมนา Myths, realities, and the new สำนกั งานนโยบายและแผนพลงั งาน กระทรวงพลังงาน

normal of digital business building ของนายชัยวัฒน • การเขาอบรม “การประยุกตใช Big Data / Data

เลิศวนารนิ ทร จดั โดย McKinsey & Company Analytics ในองคกร” ของนายพงษศักดิ์ ศิริคุปต และ

• การเขารวมสัมมนา Zero - Trust Cyber Security ของ นายไพฑูรย กำชัย จัดโดย สำนักงานนโยบายและแผน

นายชัยวัฒน เลิศวนารินทร จัดโดย CIO Academy พลังงาน กระทรวงพลังงาน

Asia • การเขาอบรม “AMI : The fundamental of Smart

• การเขารวมสัมมนา Top tech trends: What do they Grid towards Smart City” ของนายพงษศ ักด์ิ ศริ คิ ปุ ต

mean for your organization ของนายชัยวัฒน เลิศ และนายไพฑูรย กำชัย จัดโดย สำนักงานนโยบายและ

วนารินทร จัดโดย McKinsey & Company แผนพลงั งาน กระทรวงพลงั งาน

• การเขารวมสัมมนา Digital Transformation of your • การเขาอบรม “Distributed Energy Resource (DER)

frontline workforce ของนายชัยวัฒน เลิศวนารินทร Management ในรูปแบบ Virtual Power Plant” ของ

จดั โดย Microsoft APAC นายพงษศักดิ์ ศิริคุปต และนายไพฑูรย กำชัย จัดโดย

• การเขารวมสัมมนา Leadership Strategies To Build A สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

Cyber-Resilient Workforce ของนายชยั วัฒน • การเขาอบรม “การทำงานรวมกันระหวาง Demand

เลิศวนารนิ ทร จัดโดย CIO Academy Asia Response แล ะ Virtual Power Plant” ของนาย

• การเขารวมสัมมนา Drive a culture of innovation พงษศักดิ์ ศิริคุปต และนายไพฑูรย กำชัย จัดโดย

and data-driven decision making ของนายชัยวัฒน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง

เลิศวนารินทร จดั โดย Google Workspace พลังงาน

• การเขารวมสัมมนา Building the future of work • การเขาอบรม “Wheeling Charge และโครงสรางคา

through innovation and collaboration ข อ ง น า ย ไฟฟาของประเทศไทย” ของนายพงษศกั ดิ์ ศิริคุปต และ

ชัยวัฒน เลิศวนารนิ ทร จัดโดย Google Workspace นายไพฑูรย กำชัย จัดโดย สำนักงานนโยบายและแผน

• ก า ร เ ข  า ร  ว ม ส ั ม ม น า Building Organization พลงั งาน กระทรวงพลังงาน

Sustainability with Data-Driven Cloud Strategy • การเขา อบรม“Creating Valuable Innovation เสริมสรา ง

ของนายชัยวัฒน เลิศวนารินทร จัดโดย Fujitsu นวัตกรรมใหสรางคุณคา” ของนายไพฑูรย กำชัย จัดโดย
บ.พเี พิลแวลูโซลูช่นั โพรไวเดอร จำกดั
Thailand
• การรับฟงการบรรยาย “การตอตานทุจริตคอรรัปชั่น • ก า ร เ ข  า ร  ว ม ส ั ม ม น า “ THE SECRET SAUCE

และเสริมสรางจริยธรรมในองคกร” ของนาย STRATEGY FORUM 2022 คัมภีรกลยุทธฝาวิกฤตป

ปราโมทย อินสวาง นายโอฬาร ปุยพันธวงศ 2022” ของนายไพฑูรย กำชัย จัดโดย The Standard

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 89
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

นอกจากการจดั ใหม ีการฝกอบรมพัฒนาความรใู นสวนทเ่ี กี่ยวของกบั สายงานแลว เด็มโกย งั เห็นถึงความสำคญั ของการให

ความรใู นดานตา ง ๆ ดังน้ี

อบรมหลักสูตร “การตรวจติดตามภายในระบบบริหาร หลักสูตร “หลักการทั่วไปของการบริหารสัญญา และความ

คุณภาพ (ISO9001 : 2015) โดย ดร.ชัชวาล เลิศสุโภช เสี่ยงของงานกอสราง” เพื่อเสริมสรางความเขาใจใน

วณิชย จากบริษัทซีพีแอล คอนซัลติ้ง เอ็นจิเนียริ่ง แอนด หลักการบริหารสัญญาและการบริหารความเสี่ยงในงาน

แมเนจเมนท จำกัด เมื่อวนั ท่ี 10 มนี าคม 2564 กอสราง สามารถวิเคราะหและเขาใจเทคนิคการควบคุม

อ บ ร ม ห ล ั ก ส ู ต ร “ Creating Valuable Innovation และติดตามแผนการจัดการความเสี่ยง อบรมโดยวิทยากร

เสริมสรา งนวัตกรรมใหสรางคุณคา” วัตถุประสงคเพื่อใหผู ดร.มงคล อัศวดิลกฤทธิ์ ประธานสาขาการจัดการ

เขาอบรมตระหนักถึงความสำคัญของการสนับสนุนทีมงาน อสังหาริมทรัพยบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม

ใหสรางนวตั กรรมทมี่ ีคุณคา และเกดิ ข้ึนไดจ ริง และสามารถ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เมื่อวันที่ 17

วิเคราะห ประเมนิ และเสนอไอเดียนวัตกรรมท่มี ีคณุ คาและ พฤศจกิ ายน 2564

พัฒนาการทำงานขององคกรได วิทยากรโดยอาจารยธงชัย อบรมหลักสูตร “ความรูเกี่ยวกับกองทุนประกันสังคมและ

โรจนกังสดาล อาจารยประจำคณะวิศวกรรมศาสตร กองทุนเงินทดแทน ความรูเกี่ยวกับโรคติดตอโควิด - 19

จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย เม่ือวนั ท่ี 2 เมษายน 2564 และกฎหมายแรงงงานและการแรงงานสัมพันธ” โดย

อบรมหลักสูตร “กระบวนการนวัตกรรมดวยการคิดเชิง วัตถุประสงคเพื่อใหพนักงานมีความรูเกี่ยวกับกองทุน

ออกแบบ” เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดเรียนรู ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน ความรูเกี่ยวกับโควิด -

กระบวนการทางนวัตกรรม โดยใชการคิดเชิงออกแบบเปน 19 กฎหมายแรงงานและการแรงงานสัมพันธ โดยวิทยากร

เคร่ืองมอื สำคญั ในการสรางทักษะทางความคดิ และการแก จากสภาองคการนายจางผูประกอบการคาไทย เมื่อวันที่ 9

ประเด็นปญหาที่เกิดขึน้ เมอื่ วนั ท่ี 23 มิถนุ ายน 2564 พฤศจกิ ายน 2564

การสงเสริมความคดิ เชิงนวัตกรรม

การพัฒนาองคความรูเชิงนวัตกรรมจะชวยสราง

มูลคาเพิ่มและคุณคาใหแกธุรกิจและสังคม อีกทั้งเปนการเปด

โอกาสใหพนักงานแสดงศักยภาพของตนเอง ในป 2564 เด็มโก

ไดริเริ่มโครงการสงเสริมนวัตกรรมองคกร (Innovation Year)

โดยใชชื่อโครงการวา “Innovation Program 1 : 1 : 1” ซึ่ง

หมายถึง 1 ป 1 สายงาน มีโครงการ Innovation นำเสนออยาง

นอย 1 โครงการ ไดรับความสนใจจากพนักงานสงโครงการเขา

รวมประกวดจำนวน 9 กลุมซึ่งเปนโครงการที่สะทอนความคิด

สรา งสรรคแ ละความพยายามในการนำเทคโนโลยีมาประยทุ ตใ ชในกระบวนการทำงานจนสามารถตอยอดเปนนตั กรรมองคกร

ทีมชนะเลิศประเภทนวตั กรรมที่คิดคนขึ้นใหม ไดแก สามารถผลิตชิ้นงานได มากกวาวิธีการเดิมเฉลี่ย 60 ตัว / 1

โครงการการเชื่อมกราวร็อดขนาด 60x60x5 มม.ยาว 2 ม. จุดเชือ่ ม สามารถประหยดั เวลาในการเชอ่ื มลง 9.6 นาที / ตวั

ดวยเครื่องตัดแกส ตามราง" ฝายผลิต บริษัท DEMCO ทำใหตนทุนคาแรงผลิตลดลง เฉลี่ย 12.22 บาท / ตัว

POWER โรงงานลพบุรี ซึ่งริเริ่มจากปญหาดานคุณภาพ โครงการนี้ชวยใหบริษัท DEMCO POWER โรงงานลพบุรี

เน่ืองจากเดมิ เราใชพนักงานในการเชื่อม บางครงั้ แนวเชื่อมไม สามารถเปนผูช นะ Bidding งานกราวดร็อด ไดงานเพิ่มขึ้นใน

สม่ำเสมอพนักงานเกิดความเมื่อยลาและเจ็บตา ประกอบกับ ปจ จุบนั จำนวน 48,687 ตัว

ไดจำนวนชิ้นงานไมทันตอความตองการของลูกคา ทำใหเสีย รองชนะเลิศ ไดแก โครงการ การประยุกตใช

โอกาส ไมสามารถรบั งานเพ่ิมได พนักงานเลยไดร ว มกันระดม โปรแกรม PDF มาใชในการตรวจสอบความถูกตองของแบบ

ความคิดในการแกปญหาโดยไดนำเสนอเครื่องตัดแกสตาม แปลนและรายการคำนวณ เพื่อชวยลดความสนิ้ เปลืองในการ

รางท่ีไมไ ดใชง านแลวนำมาตดิ หัวเชื่อม 2 หวั เพ่ือเพ่ิมจำนวน ใชทรัพยากรของบริษัท เชน กระดาษ หมึกพิมพ และลด

ใหสามารถเชื่อมงานไดจำนวนที่มากขึ้น ผลการดำเนินงาน คาใชจายในสวนของคาวัสดุอุปกรณสำนักงานลง โดยได

90 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

นำเอาความสามารถของโปรแกรม PDF มาประยุกตใชใ นงาน
ออกแบบดานวิศวกรรมโยธา โดยเริ่มทดลองใชเมื่อวันที่ 1
เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564 ผลการดำเนินงาน
สามารถลดการปร้นิ กระดาษลงไดท ้งั สิ้น 3,658 แผนเทยี บเทา
กับกระดาษ 7.32 รีม คิดเปนเงิน 1,830 บาท และลดการใช
หมึกพิมพ 0.21 ตลับหมึก คดิ เปน เงนิ 1,680 บาท

การดแู ลและสรา้ งการมีส่วนร่วมใหก้ บั พนกั งาน
เดม็ โกถอื วา พนักงานเปนทรัพยากรที่มีคา สงู สุด เปน ผูขับเคลอื่ นองคกรไปสคู วามสำเรจ็ และการพัฒนาอยา งยง่ั ยืน การดูแล

พนักงานใหเกิดความผูกพันกับองคกร และการสรางองคกรใหทุกคนอยากรวมทำงานดวย จึงเปนประเด็นสำคัญ เด็มโกจัดใหมี
“คณะกรรมการสวสั ดกิ ารในสถานประกอบกจิ การ” ตาม พรบ. คุมครองแรงงาน 2541 ดวยวิธกี ารเลือกต้งั ผสู มคั รเปน ตวั แทนของ
พนักงานและไดรับการลงคะแนนคัดเลือกจากพนักงานดวยกัน เพื่อทำหนาที่เปนตัวแทนของพนักงาน ใหคำปรึกษา เสนอแนะ
ความเหน็ แกนายจาง รวมไปถึงรว มหารือกับนายจางเพ่ือจัดสวสั ดิการ และสภาพการทำงานแกพนกั งานอยางเหมาะสมและทัว่ ถงึ
รวมไปถงึ การดแู ล ตรวจสอบ และควบคุม เพอื่ ใหส วสั ดกิ ารทมี่ ีอยูบ งั คบั ใชไดจรงิ และเปนประโยชนแ กพ นกั งานทุกระดับเทาเทียม
กัน เปนชองทางเพื่อชวยใหความคิดเห็นของพนักงานไดรับการรับฟง คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
ประกอบดวยตวั แทนฝายพนักงานจำนวน 8 คนทีม่ าจากการเลือกตงั้ โดยมวี าระการปฏบิ ัตหิ นา ท่ี 2 ป นับจากวนั ที่ไดรบั การแตง ต้ัง

เด็มโกมุงมั่นในการเปนสถานประกอบการที่มีระบบบริหารจัดการดานแรงงานที่ดี และมีความรับผิดชอบตอสังคมธำรง
รักษาบุคลากร สรางสรรสวัสดิการและแรงงานสัมพันธสูระดับประเทศ ท่ีสามารถเปนตนแบบใหกับสถานประกอบกิจการอื่น ๆ
นำไปใชเ ปนแบบอยา งในการพฒั นาองคกรใหด ียิ่งขน้ึ ท้งั ในดา นการพฒั นาคุณภาพชีวติ และขวญั กำลงั ใจของลกู จา ง ในป 2564 จึง
ไดเขารวมการเสนอชื่อเพื่อรับการคัดเลือกเปนสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน ประจำป
2564 จาก สำนักงานสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน จงั หวดั ปทุมธานี

ผลการพิจารณา เด็มโกไดรับการคัดเลือกใหเปนสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน
ระดับประเทศ ซง่ึ แมใ นการเขายน่ื ประกวดเปนปแ รกท่ีตั้งเปาหมายเพียงผานเกณฑใ นระดับจังหวดั แตจ ากคะแนนการประเมินที่สงู
อยูในระดับประเทศไดในปแรกที่ยื่นประกวด นับเปนความภาคภูมิใจของฝายจัดการ คณะกรรมการสวัสดิการพนักงาน สายงาน
ทรพั ยากรบคุ คล และกลุมพนักงานทกุ ระดับช้ัน

สานตอความผกู พันตอองคกรของพนักงานอยา งตอเน่อื ง (Employee Engagement)
เด็มโกมีการสำรวจความผูกพันตอองคกรของพนักงาน (Employee Engagement) ปละ 2 ครั้ง ดวยความโปรงใส

นาเชื่อถือ ทั้งดานความเปน อสิ ระและเก็บรักษาความลับในการแสดงความคิดเห็นของพนักงาน เพื่อใชพัฒนาปรบั ปรงุ ปจจัยดา น
ตาง ๆ ในสวนหลัก ๆ คือความผูกพันของพนักงาน และปจจัยขับเคลื่อนความผูกพันหรือความพึงพอใจของพนักงาน เชน ความ
ภูมิใจในองคกร โอกาสในหนาท่ีการงาน คุณภาพของชีวติ การทำงาน รวมทั้งสรปุ และวิเคราะหผ ลอยางเปนกลางโดยมีนโยบายนำ
เสียงสะทอนจากพนักงานมาปรับปรุงกระบวนการทำงาน จัดกิจกรรมสรางสรรค และพัฒนาองคกรใหมีมาตรฐาน ดูแลพนักงาน
เทยี บเทาบริษัทในอุตสาหกรรมเดยี วกัน เพราะมคี วามเช่ือวา “พนักงาน” คือกลไกสำคญั ที่ทำใหก ลุมบรษิ ทั เดม็ โกเตบิ โตอยางยงั่ ยนื
คะแนนความผูกพันและความพึงพอใจของพนักงาน ป 2560, 2561, 2562 2563 และ 2564 มีระดับคะแนนที่สะทอนถึงความ
พึงพอใจและความผูกพนั ทมี่ ีตอหนว ยงานของตนและของบรษิ ทั อยา งตอเนอ่ื งในระดบั ดีมาโดยตลอด ตง้ั แตเรมิ่ ทำการสำรวจโดยได
คะแนนท่ี 3.72, 3.74, 3.74, 3.83 และ 3.93 สูงตอเน่ืองเปน ลำดับ

ทั้งนี้เด็มโกไดพยายามสื่อสารทิศทางธุรกิจ ความเคลื่อนไหวในองคกรและขาวสารตาง ๆ ใหพนักงานทราบเปนระยะผาน
ชองทางที่หลากหลาย เพื่อสรางความเขาใจของทิศทางธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงที่ตองเกิดขึ้นและการสรางแรงบันดาลใจใหกับ
พนักงานในการทำงาน

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 91
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

การบรหิ ารคา ตอบแทนและการรกั ษาพนกั งาน
เด็มโกไดทำการสำรวจคาตอบแทน (Salary Survey) ระหวางอุตสาหกรรมใกลเคียง เพื่อนำมาทบทวนและปรับปรุง

หลักเกณฑคาตอบแทนใหเหมาะสม รวมถึงศึกษาการบริหารคาตอบแทนใหสอดคลองกับแนวโนมความตองการของพนักงานรุน

ใหม และการจายคา ตอบแทนระยะยาว

รูปแบบการประเมนิ ผล
เด็มโกมีนโยบายการประเมินผลการปฏิบัติงานมีความครอบคลุมการปฏิบัติงานของพนักงานอยางครบถวน โดยใชดัชนี

วัดผลการปฏิบัติงานและหนาที่ความรับผิดชอบของพนักงาน (Key Performance Index : KPI) ที่สอดคลองกับแผนธุรกิจของ

เดม็ โก โดยเกณฑการประเมินไดถูกออกแบบใหเหมาะสมกบั ระดบั ของพนักงาน ซึง่ พนกั งานรับทราบลว งหนา ภายหลังการประเมนิ

ผูบังคับบัญชาจะทำการสื่อสารใหพนักงานทราบและใหคำชมเชยในสิ่งที่พนักงานปฏิบตั ิไดดี รวมทั้งคำแนะนำเพื่อปรับปรุงในสง่ิ

ท่พี นกั งานยงั สามารถพัฒนาได ท้งั นเ้ี พอ่ื ผลประโยชนต อตัวพนักงานและตัวองคก ร

การจดั การความรู
เด็มโกสง เสรมิ การเรียนรูของพนักงาน โดยกำหนดใหม ีการกำหนดองคความรูองคกร สงเสริมใหพนักงานมสี วนรวมในการ

เรียนรู รวมถึงติดตามประเมินผล และปรับปรุงกระบวนการจัดการความรูภายในองคกรอยางตอเนื่อง รวมถึงพัฒนารูปแบบ /
เคร่ืองมอื ในการจัดการความรอู งคกร เชน จัดใหมีการเรียนรฝู ก อบรมผา นทางระบบออนไลน Zoom และ/หรือ Microsoft Team
ในชวงทมี่ กี ารระบาดของโควิด-19
องคความรู

1. ความรทู ่ีใชในการทำงานทีส่ ำคัญ เชน PM / WI
2. ความรูเกย่ี วกบั การทำงานจากประสบการณก ารทำงาน (Experience)
3. การลองถูกลองผดิ บทเรยี นทีเ่ คยไดรับมากอน (Lesson Learned)
4. เทคนิควธิ ีทำงานตาง ๆ

สวัสดิการและสิทธปิ ระโยชนตา ง ๆ ของพนักงาน
เด็มโกใหความสำคัญกับพนักงานในการดูแลเรื่องสวัสดิการและสิทธิประโยชนตาง ๆ ที่พนักงานควรไดรับ ควบคูไปกับ

สวัสดิการที่ดี นอกจากจะดึงดูดใหมีผูตองการมารวมงานกับเด็มโกแลว ยังมีสวนชวยในการรักษาพนักงานปจจุบันไวกับเด็มโก
สง ผลตอประสิทธภิ าพในการทำงานที่ดขี ึ้นขององคกรอกี ดวย นอกจากสวสั ดกิ ารตามที่กฎหมายกำหนดแลว เดม็ โกย งั จดั สวัสดิการ
อื่น ๆ เพิ่มเติมตามความเหมาะสม และเปนประโยชนตอพนักงาน ครอบคลุมถึงดานสุขภาพของพนักงานและครอบครัว เวลา
พักผอนสวนตัว การวางแผนการออมกอนการเกษียณ ซึ่งการสื่อสารภายในองคกรเปนเรื่องยุงยาก ดวยจำนวนพนักงานจำนวน
มาก เด็มโกจึงใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการสวสั ดิการ รับหนาที่เปนหูเปนตาในการตรวจสอบและควบคมุ ใหสวัสดิการที่มีอยูใชได
จริง และเปนประโยชนตอพนักงานทุกระดับอยางเทาเทียมกนั อาทิเชน บริษัทไดจัดใหมีผลประโยชนต อบแทนใหกับพนักงานทุก
ระดับในรูปแบบตา ง ๆ ทส่ี อดคลอ งกับความตอ งการของพนกั งาน ดังนี้

92 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

ดานการเงิน
 ประธานกรรมการบริษัท ไดสนับสนุนเงินเพื่อมอบใหเปนทุนการศึกษาสำหรับบุตรพนักงาน กลุมบริษัท เด็มโก จำกัด

(มหาชน) อยางตอเนือ่ งเปนประจำทุกป โดยในป 2564 เปนจำนวนเงนิ ท้ังสิ้น 200,000 บาท

 เดม็ โกจ ดั ใหม ีสวัสดกิ ารเงนิ กยู มื ฉกุ เฉนิ สำหรับพนกั งาน เพ่ือไวส ำหรบั หมุนเวียนในกองทนุ สำหรบั พนกั งานทมี่ ีความเดอื ดรอน
ในกรณีฉุกเฉนิ

 โครงการเตรียมความพรอ มเพือ่ การเกษียณอายุ
เด็มโกไดเห็นความสำคัญของพนักงานที่ไดทุมเทกำลัง และมีความจงรักภักดีกับบริษัทมาเปนระยะเวลานาน จึงไดพัฒนา
แผนการหลังการเกษียณอายุใหก บั พนักงานเตรียมสนิ้ สดุ อายุงานตามวาระ และใหค วามรูด า นประกันสงั คม

ดานสุขภาพกายและใจ
โดยมีกิจกรรมตา ง ๆ เพอ่ื เสรมิ สรา งดา นสุขภาพกายและใจ ดงั นี้

 มีการปรับปรุงพื้นที่ในบริเวณบริษัท ปรับปรุงอุปกรณ โตะเกาอี้ในโรงอาหาร
สถานทพี่ กั ผอ น ปลูกตนไม จัดทำสวนหยอมใหสวยงาม

 จัดสวัสดิการใหพนักงานกลุมบริษัทเด็มโกไดรับการตรวจสุขภาพประจำป โดยมี
โรงพยาบาลเปาโลรงั สิต ใหบ ริการตรวจสขุ ภาพ ที่หอ งประชุม สำนกั งานใหญเด็ม
โก เพือ่ เปนการอำนวยความสะดวกใหก บั พนกั งาน

 สงเสรมิ ใหมกี จิ กรรม ลดพงุ ลดโรค เปนกจิ กรรมทจ่ี ุดประกายใหพนกั งานหนั มาดแู ลรกั ษาสขุ ภาพของตนเองมากขนึ้

การสงเสรมิ การปฏบิ ัติงานของพนักงานในชว งสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรสั COVID-19
 ไดขอรบั สนับสนุนจากองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั ปทมุ ธานี จดั ทีมเจา หนาทีเ่ ขามาฉีดพน ยาฆา เชอ้ื ไวรสั โคโรนา (COVID-19)
ทัง้ ภายในและภายนอกทกุ พื้นท่ี เพ่ือสรางความม่ันใจใหกับพนกั งาน
 สนับสนุนใหพนักงานในกลุมธุรกจิ เด็มโกฉีดวัคซีนเพ่ือปองกันการแพรร ะบาดของโรค COVID-19 ซึ่งมีจุดใหบริการฉีดวัคซนี
ทศ่ี นู ยฉ ีดวัคซีนประกันสังคม ณ บรษิ ัท บางกอกกลาส จำกัด (มหาชน) และโรงพยาบาลปทมุ ธานี
 เดม็ โกจดั เตรยี มกลอ งรอดตาย เพ่ือมอบใหกับพนักงานทตี่ ิดเชื้อจากสถานการณก ารระบาดของโรค COVID-19

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 93
บริษัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

 แจกหนากากอนามัยใหกับพนักงานทุกคนเพื่อสวมใสปองกันการติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา (COVID-19)

 จัดใหม มี าตรการตรวจวัดอุณหภูมิ เพอื่ คัดกรองผูม าตดิ ตอ และผูปฏบิ ตั งิ าน
 การปฏบิ ัตงิ านจากบา น (Work from Home)
 สงเสริมการรกั ษาระยะหางทางสงั คม
 การรักษาความสะอาดของจดุ สมั ผัสทใี่ ชร วมกัน
 ระบบการประชมุ ผา นสือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส (Video Conference)

การรบั ฟง ความคดิ เห็นของพนักงาน
เดม็ โกเ ปดรบั ฟง ความคดิ เหน็ ขอ เสนอแนะ หรอื ขอ กงั วลของพนกั งาน หากมปี ญหาระหวางพนักงาน หรอื ระหวา งพนักงาน

กับผูบังคับบัญชา ในดานการปฏิบัติงาน พนักงานมีสิทธิรองทุกข (Whistle Blower) ผานชองทางที่หลากหลาย เชน กลองรับฟง
ความคิดเห็น จากแบบสอบถาม Employee Engagement Survey โดยผูที่รับผิดชอบดำเนินการตามหลักเกณฑ และขั้นตอนที่
กำหนดไว และหากพิสูจนไดวากระทำไปโดยสุจริตจะไดร ับความคุมครองโดยไมสงผลกระทบใด ๆ ซึ่งเด็มโกจะไมถือเปนการเลกิ
จา ง หรอื การพิจารณาลงโทษทจ่ี ะสง ผลเสียตอ พนักงานหรอื ผทู ีเ่ กี่ยวของแตป ระการใด

อาชวี อนามยั และความปลอดภยั ในการทาํ งาน
การดำเนินงานดานอาชวี อนามัยและความปลอดภยั

เดม็ โกใ หค วามสำคัญในการรักษาความปลอดภยั และสวสั ดภิ าพของพนักงานทกุ คนรวมถงึ ผรู ับเหมาที่ทำธุรกิจรว มกบั บรษิ ทั
เดม็ โกต ระหนักวาการจัดการดา นอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทม่ี ปี ระสิทธภิ าพรวมถึงการฝกอบรมพนกั งานเก่ียวกับมาตรฐาน
ความปลอดภัยอยางตอเนื่อง ถือเปนมาตรการและการจดั การปองกันการเกิดเหตุทีไ่ มค าดคิดท่ีไดผลดีและมีประสิทธิภาพ ซึ่งลวน
นำไปสูว ฒั นธรรมความปลอดภยั ภายในองคก ร สงเสรมิ ความมนั่ ใจและกำลงั ใจของพนักงาน นอกจากน้ีการจัดการดานอาชีวอนามยั
และความปลอดภยั ที่ดยี ังชวยลดความเส่ยี งจากการชะลอตวั ของธรุ กจิ อันเนอื่ งมาจากเหตุการณดา นความปลอดภยั

เด็มโกมุงมั่นในการดำเนินกิจกรรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานภายใตคำขวัญ
“มาตรฐานและความปลอดภัย คือหัวใจการทำงานขององคก ร” โดยกำหนดใหพ นักงานและลกู จางทุกคนตอ งปฏิบัตติ ามนโยบาย
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานของเด็มโกอยางเครงครัด ภายใตกรอบกฎหมายที่เกี่ยวของ
(มาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน พ.ศ. 2549) และ
กำหนดใหมีคณะกรรมการความปลอดภัย (คปอ.) ซึ่งประกอบดวย ประธานคณะกรรมการความปลอดภัย (นายจางแตงตั้ง)
กรรมการผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการทุกระดับ (มาจากการเลือกตั้ง) และเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ
(จป.วิชาชีพ) เปนกรรมการและเลขานุการ โดยกำหนดใหมีการจัดประชุมอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง เพื่อรายงานและรับ
ขอเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแกไขใหถูกตองตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน และมาตรฐานความ
ปลอดภัยในการทำงาน ตอเด็มโก พรอมทั้งสงเสริมสนับสนุนกิจกรรมดานความปลอดภัยในการทำงานรวมถึงมีการติดตามผล
ดำเนินงานดานความปลอดภัยอยูเสมอ และนำขอ มูลไปใชใ นการวางแผนการดำเนินงานตอ ไป

94 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน
1. บริษทั ถอื วา ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน เปน หนา ที่ความรับผดิ ชอบของบคุ ลากรทุกระดับ
โดยตอ งปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ บงั คบั ประกาศตาง ๆ อยา งเครง ครัด และถอื เปน สวนหนง่ึ ในการพิจารณาการประเมินผล
ประจำป
2. บริษัทใหการสงเสริม สนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดลอมในการทำงานทั้งทางดาน
งบประมาณ บคุ ลากร ทรัพยากรอน่ื ๆ อยา งเหมาะสมและเพยี งพอ
3. บริษัทถือวากฎหมาย ประกาศ ขอบังคับ ขอกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวของเปนมาตรฐานขั้นพื้นฐานที่ตองปฏิบัติดานความ
ปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน

เปา หมายการดำเนินงานของเดม็ โก
เปา หมายระยะส้นั

 การปฏิบตั ิงานดา นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการงานเปน ไปตามกฎหมายอยางครบถวน

เปา หมายระยะยาว
 อัตราการเกิดอบุ ัตเิ หตเุ ปน รอยละ 0

สรุปผลการดำเนินงานในป 2564

จำนวนเจาหนาท่ีความปลอดภัยในการทำงานแตล ะระดบั

แนวทางปฏบิ ตั ิ
1. กลุมบริษัทเด็มโก ดำเนินงานตามกฎหมาย มาตรฐาน ระเบียบปฏิบัติ โดยจัดทำขอกำหนดและมาตรฐานทางดานความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน ที่มีมาตรการไมนอยกวาที่กฎหมายกำหนด ตามมาตรฐานสากล
พนักงานตองศึกษาและปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบาย ขอกำหนดและมาตรฐานทางดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอมในการทำงานท่ีเก่ียวขอ งอยางเครง ครดั
2. กลมุ บรษิ ัทเด็มโก จะดำเนินการเพอื่ ควบคุมและปองกันความสูญเสยี ในรูปแบบตาง ๆ อันเนอ่ื งมาจากอุบัตเิ หตุ อัคคีภัย การ
บาดเจบ็ หรอื เจบ็ ปวยจากการทำงาน ทรัพยส ินสญู หายหรือเสยี หาย การละเมิดระบบรักษาความปลอดภัย การปฏบิ ัตงิ านไม
ถูกวิธี และความผิดพลาดตาง ๆ ที่เกิดขึน้ ตลอดจนรกั ษาสภาพแวดลอ มในการทำงานที่ปลอดภัยตอพนกั งานของกลุม ธุรกจิ
เด็มโก จัดใหม อี ุปกรณความปลอดภยั อยา งเพียงพอและเหมาะสม รวมถึงการซกั ซอมแผนงานดา นความปลอดภัยเปนประจำ
ท้งั นี้ถือเปนหนาท่รี ับผดิ ชอบของผบู รหิ ารและพนักงานในการรายงานอุบัติเหตุ อุบตั ิการณ โดยปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนท่ีกำหนดไว
3. ประเมินความเสี่ยงกอนเริ่มการทำงาน รวมถึงตองศึกษาขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับสภาพการทำงานที่ไมปลอดภัย หรืออาจเปน
อนั ตราย เพอ่ื วางแผนหรือเตรียมการปองกนั ที่เหมาะสม

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 95
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

4. หากพบเหน็ ส่ิงผดิ ปกติทง้ั จากเคร่อื งจกั ร อปุ กรณ และสถานทใี่ นบรเิ วณท่ีทำงาน ใหย ุตกิ ารปฏบิ ัตงิ านเทา ทที่ ำไดช่ัวคราว เพ่อื
แจงผูร วมงาน ผูบ งั คบั บัญชา และหนว ยงานผูรับผิดชอบเพ่ือดำเนนิ การแกไขหรือวางแผนแกไ ขตอไป

5. สงเสริมการปลูกฝงจิตสำนึกในเรื่องของการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยใหกับผูรวมงานและชุมชนรอบดาน โดยกลุม
บริษัทเด็มโก จัดใหมีการประชาสัมพันธและสื่อสารเพื่อสรางความรูความเขาใจ และเผยแพรขอมูลใหกับพนักงานของกลมุ
บริษทั เดม็ โก พนกั งานของผรู ับจา ง ตลอดจนผูม สี ว นไดเ สยี ที่เกยี่ วของ

ระบบบริหารจดั การดา นความปลอดภยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน

(1)การติดตาม ตรวจวดั และการควบคุมการปฎิบตั ิ

เดม็ โกใ หค วามสำคญั และมุงเนน มาตรการเชิงปองกันในการปฏิบตั ิงานใหปลอดภยั ตอ งเริม่ ตนท่ผี ปู ฏิบัติงานตองอยูในสภาพ
ความพรอมที่จะปฏิบัติงาน เชน ตองไมม สี ารเสพตดิ แอลกอฮอล เปนตน เราจงึ จดั ใหม กี ารสุมตรวจวดั แอลกอฮอล และสาร
เสพติดในผูปฏิบตั ิงาน

• การตรวจสภาพความพรอ มกอนปฏบิ ตั ิงาน

• ตรวจวดั แอลกอฮอล

(2)การตดิ ตามตรวจวัดดา นสง่ิ แวดลอม

เพื่อใหมน่ั ใจวาระบบบรหิ ารจัดการดานความปลอดภัย ไดถกู นำไปปฏบิ ตั สิ อดคลอ งตามมาตรฐานท่บี ริษทั กำหนด รวมถึงการ
ตรวจวัดสภาพแวดลอมในการทำงานเพอ่ื ไมใหเ กดิ ผลกระทบตอพนักงานและชมุ ชนใกลเคยี งท่ที างเดม็ โก ดำเนินโครงการ

(3)การสอ่ื สารความปลอดภยั และการสรางความตระหนกั

เพื่อกระตุนใหผูปฏิบัติงานไดเล็งเห็นความสำคัญของความปลอดภัยและสรางจิตสำนึกแหงการระมัดระวังการทำงาน ทุก
โครงการจะจดั ใหหวั หนางาน เจา หนาทค่ี วามปลอดภยั ผูบริหารโครงการ ไดผ ลดั เปลีย่ นหมุนเวียนกันมาแบง ปน ประสบการณ
ในระหวาง Safety Morning Talk รวมถึงพูดคุยมาตรการปองกันตามแผนควบคุมและจัดการความเสี่ยงในกลุมยอยกับ
ผูป ฏบิ ตั ิงานกอนเริ่มงาน

การดำเนินงานดา นความปลอดภัย
กลุมบริษัทเด็มโกมีความปรารถนาและมุงมั่นในการจัดการใหกระบวนการทำงานมีสภาพการทำงานที่ปลอดภัย และมี

สภาพแวดลอมที่ไมกอใหเกิดอันตรายตอผูเกี่ยวของกับกระบวนการทำงานที่ปลอดภัย และตระหนักดีวาสภาพแวดลอมในการ
ทำงานและสุขภาพอนามัยที่ดีของพนักงาน จะชวยสงเสริมใหมีการทำงานอยางปลอดภัย และมีความสุขในการทำงาน
จึงดำเนินการควบคุมความปลอดภัยอยางเครงครัด และในป 2564 เด็มโกมกี ารดำเนนิ การ ดงั น้ี

 สงเสริมการฝกอบรม ใหความรูดานความปลอดภัย สุขอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานใหแกพนักงานโดยการฉาย
วดิ ที ัศน (Clip) ดา นความปลอดภยั

 สง เสริมใหมีการรายงานสภาพการณท ี่ไมป ลอดภัย (Near Miss) เพือ่ ปรับปรงุ แกไ ข หรอื เพ่ือใหเ กิดความปลอดภัย
 สงเสรมิ รณรงค พนกั งานที่ข่จี กั รยานยนตใ หส วมหมวกนิรภยั ภายใตโ ครงการ “ขับข่ีใกล ไกล เราสวมหมวกนิรภัย 100%”
 จัดใหมีการ Safety Talk แกพนักงานแตละโครงการในตอนเชากอนการปฏบิ ัติงาน โดยเจาหนาทีค่ วามปลอดภยั ทำการแจง

แผนการปฏบิ ตั งิ านประจำวนั เพอ่ื ช้แี จงความเสยี่ ง จดุ เส่ียงหรอื จุดอันตรายทีอ่ าจจะเกดิ ข้ึนกบั การทำงานในแตละวัน เพื่อให
แรงงานมคี วามระมดั ระวังเพม่ิ มากข้นึ
 มอี ปุ กรณปองกนั อันตรายสวนบคุ คล (หมวกนริ ภัย รองเทา แวนตานิรภยั ฯลฯ)
 ผูรบั เหมาตอ งมมี าตรการดานความปลอดภัยตามมาตรฐานท่เี ด็มโกก ำหนด
 ตดิ ตั้งปา ยสญั ลกั ษณ ปายเตอื นภยั และปายขอ ควรปฏบิ ตั กิ ารทำงานภายใตภาวะอันตรายตาง ๆ บริเวณพ้ืนที่กอ สรา ง
 สื่อสัญลักษณเตือนอันตราย และเครื่องหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน ให
พนักงานไดเ รียนรู และจดจำเพอ่ื ความปลอดภยั ในการทำงาน
 จัดใหม ีการตรวจสอบความพรอมใชงานของเครือ่ งมอื อปุ กรณ เพ่ือใหเกดิ ความปลอดภยั ตอชวี ิตและทรพั ยสิน
 มกี ารฝก อบรมใหค วามรกู บั พนักงานถงึ กฎ ระเบยี บ ขอบังคบั และวธิ ีการปฏบิ ัติ เพื่อความปลอดภยั ในการทำงาน

96 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

 ดำเนินการปอ งกนั พาหะนำโรค (ปลวก มด แมลงสาบ ยุง และหนู) ซึง่ ดำเนินการทุกเดอื น
 เพื่อใหพนักงานเขาใจถึงการใชอุปกรณเซฟตี้ตาง ๆ ไดงายและเขาใจมากขึ้น เด็มโกจึงผลิตคูมือการดำเนินงานดานความ

ปลอดภัย และสง่ิ แวดลอมโครงการ (Safety and Environment Operation Guideline for Construction) โดยผลิตเปน
รูปเลมหนงั สือขนาดเล็ก กะทดั รัด พกพาไดสะดวก แจกจายใหพนกั งานไดเหน็ ภาพ และเขาใจไดง ายขึ้น ซ่ึงเปน การยกระดับ
การจัดการดา นความปลอดภัย สขุ อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานโครงการใหเปนระบบมากข้ึน
 จัดอบรมหลักสูตร “ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทำงานสำหรับพนักงานทั่วไปและพนักงานใหม
ตาม พรบ.ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย พ.ศ. 2554” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูเขาอบรมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน สามารถนำไปปฏบิ ตั ไิ ดอ ยางถูกตอ ง โดยวทิ ยากรชำนาญการ
นายรจุ น เฉลยไตร จากบรษิ ัท เพอรเ ฟค เซฟตี้ เทรนน่ิง แอนด คอนซลั ติ้ง จำกดั เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2564
 จัดอบรมหลักสูตร “การบริหารแรงงานสัมพันธสำหรับหัวหนางาน” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูเขารับการอบรมในระดับ
หวั หนา งาน ไดเ รียนรขู อ กฎหมายคมุ ครองแรงงาน และการบรหิ ารแรงงานสมั พนั ธ การบรหิ ารจัดการเมื่อเกิดอบุ ัติเหตุในงาน
โดยนายปยะฉัตร ธานีเจตน นักวิชาการแรงงานชำนาญการ จากสำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จังหวัดปทุมธานี
เมื่อวันท่ี 22 ธนั วาคม 2564
 เขารวมกิจกรรมของโครงการ สสวท. เรื่องการพัฒนาสถานประกอบกิจการใหเปนไปตามมาตรฐานระบบจัดการดานความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (TOSH – OSHMS : 2019)
 จัดอบรมหลักสูตร “ทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปนจั่น” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อทบทวนความรูใหพนักงานผูปฏิบัติหนาท่ี
เกี่ยวของกับปนจั่น ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานหรือตามหลักสูตรที่กฎหมายกำหนด เมื่อวันที่ 28
พฤษภาคม 2564
 จัดอบรมหลักสูตร “การดับเพลิงขั้นตน” ใหกับพนักงานทุกระดับ โดยมี
วัตถุประสงคเพื่อใหสอดคลองตามที่กฎหมายกำหนดใหนายจางตองจัดใหมี
การอบรมและฝกซอมแผนปองกัน และระงบั อัคคภี ัย อยางนอยปล ะ 1 ครั้ง
และใหนายจางตองจัดใหลูกจางไมนอยกวา 40% ของจำนวนลูกจางในแต
ละหนวยงาน ภายในสถานประกอบกิจการไดรับการเขาฝกอบรมดับเพลิง
ขั้นตน เมื่อวันท่ี 29 พฤศจิกายน 2564
 จัดใหม ีการอบรม “การซอมอพยพหนีไฟ ในสถานประกอบการประจำป 2564” เพ่อื ใหพนกั งานทกุ คนมคี วามพรอม สามารถ
หนไี ฟ และชว ยชวี ติ ผูประสบภยั ไดอ ยางปลอดภัย เมือ่ วนั ท่ี 9 ธันวาคม 2564

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 97
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

รางวลั แห่งความภาคภมู ิใจ

98 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

4. การวิเคราะหแ์ ละคาํ อธบิ ายของฝ่ ายจดั การ
(Management Discussion and Analysis: MD&A)

ขอ้ มลู ทางการเงินโดยสรุปตามงบการเงนิ รวม

รายการ 2564 จำนวนเงนิ 2562
6,948.70 2563 5,984.62
สนิ ทรพั ยร วม 2,603.43 7,374.57 2,813.93
หนีส้ ินรวม 4,345.27 2,755.07 3,170.69
สว นของผูถอื หุน 2,731.37 4,619.50 2,937.98
รายไดร วม 2,497.12
กำไร (ขาดทนุ ) ข้นั ตน 200.86 299.24 406.36
กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ สว นที่เปน ของบรษิ ทั ใหญ 100.86 55.20 34.96
กำไร (ขาดทุน) ตอหุน (บาท) 0.08 0.05
0.14

ขอ้ มลู ทางการเงินโดยสรุปตามงบการเงนิ เฉพาะกิจการ

รายการ 2564 จำนวนเงนิ 2562
6,687.75 2563 5,784.67
สินทรพั ยรวม 2,587.59 7,223.24 2,772.75
หน้ีสินรวม 4,100.15 2,792.95 3,011.92
สว นของผูถอื หนุ 2,586.34 4,430.29 2,975.90
รายไดร วม 2,225.67
กำไร (ขาดทนุ ) ข้ันตน 205.89 277.58 401.54
กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ 50.92 7.10 83.61
กำไร (ขาดทนุ ) ตอ หนุ (บาท) 0.07 0.01 0.11

1. ภาพรวมการดำเนินงานและการเปลย่ี นแปลงทส่ี ำคัญ
บริษัท เด็มโก จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจใหบริการออกแบบจัดหา กอสราง และติดตั้งงานดานวิศวกรรมไฟฟา ระบบ

ไฟฟาและเครื่องกล ดานเสาโทรคมนาคม ระบบอาณัติสัญญาณ ดานงานอนุรักษพลังงาน ดานโรงไฟฟาพลังงานทดแทน ใหแก
ลกู คา ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

เดม็ โก มเี งินลงทุนในบริษทั ยอ ย ดงั นี้
บริษัท เด็มโก เพาเวอร จำกัด ดำเนินธุรกิจและจำหนายเสาโครงเหล็กสำหรับระบบสายสงไฟฟาแรงสูงและระบบ
โทรคมนาคม รวมถงึ การผลติ และจำหนายกระแสไฟฟาจากพลงั งานแสงอาทิตยบ นหลงั คา (Solar rooftop)
บริษัท เดม็ โก เอน็ เนอรจ ี แอนด ยทู ิลติ ี้ จำกัด ดำเนนิ ธรุ กิจดำเนินธุรกจิ ดา นพลงั งานทดแทนและระบบสาธารณูปโภค
บริษัท เด็มโก เดอ ลาว จำกัด ดำเนินธุรกิจสัมปทานผลิตน้ำประปา จำหนายใหกับ รัฐวิสาหกิจน้ำประปา หลวงพระบาง
ประเทศ สปป.ลาว

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 99
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

บรษิ ัท สะบา ยอย กรีน จำกัด ดำเนินธรุ กจิ ใหบริการธรุ กิจดา นวศิ วกรรมไฟฟา โครงการลงทนุ โรงไฟฟา รวมถึง การบริหาร
จดั การเชอื้ เพลิง

สรปุ ภาพรวมการดำเนินงานและปจจยั ทท่ี ำใหมกี ารเปล่ยี นแปลงทส่ี ำคัญ
การดำเนนิ งานป 2564 เด็มโกมรี ายไดงานบริการ 2,330.76 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 277.48 ลานบาท หรือรอยละ 13.51

จากรายไดจากการบริการป 2563 จำนวน 2,053.28 ลานบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นในงานสถานีไฟฟายอย และในป 2563 มี
สถานการณโควิดภาคเอกชนหลายแหง เลื่อนการประมูลงานออกไป การหาลูกคารายใหมทำไดยาก ประกอบกับการดำเนินงานของ
โครงการมีความลาชา สำหรับในป 2564 เด็มโกมีงานเพิ่มขึ้นในสวนของสถานีไฟฟายอยภาคเอกชน และมีสัดสวนการไดงานของ
ภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้นกวาปกอนสงผลใหรายไดสูงขึ้น สำหรับรายไดจากงานขายป 2564 เปนจำนวน 229.40 ลานบาท ลดลง
จำนวน 121.32 ลานบาท หรือรอยละ 34.59 จากรายไดงานขาย ป 2563 จำนวน 350.72 ลานบาท ลดลงจากรายไดการจำหนาย
เสาโครงสรา งเหลก็ สาเหตหุ ลกั ท่รี ายไดล ดลงเนอ่ื งจากราคาเหลก็ ปรบั ตัวสงู ข้ึนตามราคาตลาดโลก ประกอบกบั มีคูแ ขง ขนั จำนวนมาก
ทำใหการประมูลงานไดลดลง ซึ่งเด็มโกอยูระหวางการพัฒนาผลิตภัณฑใหมเพื่อสรางรายไดใหกับบริษัท พรอมกับบริหารจัดการ
ตนทุนใหใกลเ คยี งความจริงมากที่สุด

สำหรับกำไรสทุ ธใิ นป 2564 เปน จำนวน 100.86 ลา นบาท เม่ือเทยี บกบั ป 2563 ซึง่ มกี ำไรสทุ ธิ 55.20 ลา นบาท กำไรสทุ ธิเพิ่มข้ึน
จำนวน 45.66 ลานบาท เน่ืองจากสวนแบง กำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมและรวมคา และรายไดเงินปน ผลจากเงินลงทุนทีเ่ พ่มิ ขึ้น

ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 เดม็ โกมมี ลู คา งานในมือสำหรับโครงการกอสรางทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชนรวมทง้ั สน้ิ 3,906.20
ลานบาท

ภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่มผี ลตอการดำเนินงาน
รายไดหลกั ของบริษัทมาจากงานวิศวกรรมไฟฟา ออกแบบ จัดหา กอสรางและติดตั้งงานวิศวกรรมไฟฟา อยางครบวงจร

(Turnkey Basis) ท้ังงานกอสรางสถานีไฟฟายอย งานกอสรางสายสง และงานกอสรางเคเบิลใตดิน ซึ่งในแตละปการไฟฟาฝาย
ผลิต มีงบประมาณที่จะเปดประมูลประมาณ 10,000 ลานบาทตอป การไฟฟาสวนภูมภิ าคประมาณ 700 ลานบาทตอ ป และงาน
Underground ประมาณ 200 ลานบาทตอป ซึ่งจะเห็นไดวาเด็มโกยังมีตลาดที่จะเติบโตที่เด็มโกจากธุรกิจการใหบริการดาน
วิศวกรรมไฟฟา นอกจากนี้ตามแผนกลยุทธที่เด็มโกใหความสำคัญเพิ่มการรับงานในสวนการใหบรกิ ารงานระบบเครื่องกล ระบบ
ไ ฟ ฟ  า ร ะ บ บ เ ค รื่ อ ง ม ื อ ว ั ด แ ล ะ ร ะ บ บ ส่ื อ ส า ร โ ท ร ค ม น า ค ม ( Mechanical, Electrical, Instrumentation and
Telecommunication System (MEIT) ที่มีการเติบโต ขยายตามแผนการลงทุนตาง ๆ ที่สอดรับกับแผนพลังงานแหงชาติและ
โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก - EEC ของลูกคาในกลุม ธุรกิจน้ำมันและกาซธรรมชาติ รวมถึงลกู คา ในกลุมอุตสาหกรรม
ตาง ๆ เชน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ เปนตน ในสวนของงานดานพลังงานทดแทน เด็มโกใหบริการ
ออกแบบ จัดหา และกอ สรางโครงการผลติ กระแสไฟฟา โดยใชพลังงานทางเลือก ซง่ึ เดม็ โกอยูระหวางการศึกษารวมกับพันธมิตรใน
โครงการลงทุนพลังงานทดแทน ซึ่งรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการลงทุนภาครัฐตามแผน PDP เอื้อใหเกิดการขยายกำลังการผลติ
และการลงทนุ โรงไฟฟา ใหมอีกดวย

นอกจากนี้การขับเคลื่อนการใชจายและการลงทุนภาครัฐ ในการเรงรัดการเบิกจายงบประมาณรายจายประจำป 2565
ใหไ ดไ มน อ ยกวารอยละ 93.4 ของกรอบงบประมาณท้ังหมด และงบลงทุนรฐั วิสาหกจิ ใหไดไ มนอยกวารอยละ 70 ของงบประมาณ
ทั้งหมด รวมทั้งการเบิกจายโครงการตามพระราชกำหนดฯ เงินกูวงเงิน 1 ลานลานบาท และ 5 แสนลานบาทในสวนทีเ่ หลือ การ
ขับเคลื่อนการลงทุนโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญของภาครัฐทั้งในดานการลงทุนพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจและโครงสรางพื้นฐานดาน
การคมนาคมขนสงใหเปนไปตามแผนงาน โดยเฉพาะการเรงดำเนินการในโครงการที่สำคัญ ๆ ที่ไดมีการอนุมัติใหดำเนินการแลว
อาทิ โครงการกอสรางรถไฟทางคู โครงการกอสรางรถไฟฟาขนสงมวลชน โครงการรถไฟชานเมือง โครงการลงทุนสำคัญดาน
พลังงาน เปนตน จะเปนสวนสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ ที่สงผลตอการหางาน และการ
ดำเนินงานของเดม็ โก ในภาพรวม

100 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

แนวโนมของพลังงานในป 2565 จะมีการลงทุนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในการผลิตพลังงานแสงอาทิตย ชีวมวล กาซชีวภาพ และ
พลงั งานจากขยะ ใน 4 เดอื นแรกปนี้ และความตอ งการไฟฟาจากภาคอตุ สาหกรรมเพิ่มข้ึน 1.6% จากชว งเดยี วกันของปกอ น จาก
การฟนตัวในหลายอุตสาหกรรม ทั้งอุตสาหกรรมชิ้นสวนและการประกอบรถยนต อุตสาหกรรมกาซ เครื่องใชไฟฟาในครัวเรือน
อาหารและเครือ่ งดื่ม วัสดุกอสราง และบรรจุภณั ฑ โดยไดแรงหนุนหลักจากการเตบิ โตของภาคอตุ สาหกรรมที่จะไดป ระโยชนจาก
การขยายตวั ของการสงออก สำหรับท้งั ปค าดวา ความตองการใชไฟฟา จะเพ่มิ ขึ้น 2.8% และในป 2565 และ 2566 ภาวะธุรกิจจะ
ดีขึ้นสำหรับผูผลิตไฟฟา จากความตองการที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 3.7% ตอป และการสนับสนุนจากรัฐบาลในการลงทุนใน
อุตสาหกรรมตามที่กำหนดไวในแผนพัฒนาไฟฟาและการพัฒนาพลังงานทดแทน คาดวาการลงทุนจะเรงขึน้ ในการติดต้ังโซลารรฟู
ในประเทศ พลงั งานชีวมวล (ผผู ลติ ระดับชมุ ชนและการรเิ ร่มิ ของชมุ ชนภาครฐั และเอกชนในภาคใต) ผผู ลิตกาซชีวภาพ (สำหรับการ
ผลิตระดับชุมชน) และโครงการเปลี่ยนขยะเปนพลังงาน การแขงขันในภาคธุรกิจจะรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะพลังงานหมุนเวียน
ผูประกอบการเดิมไดขยายกำลังการผลิตและมีผูเลนรายใหมเขามา อีกทั้งผูเลนที่มีจุดแข็งดานการเงินและเทคโนโลยี เชน ผูผลติ
ไฟฟาอิสระ และ ผูผลิตไฟฟาเอกชนรายเล็ก ที่มีพื้นฐานดานวิศวกรรม การจัดซื้อจัดจาง และการกอสรางจะมีบทบาทมากขึ้น
เนื่องจากมีความเชี่ยวชาญสำคัญในการติดตั้งระบบไฟฟา หรือบางสวนเปนผูผลิตอุปกรณพลังงานแสงอาทิตย ผูประกอบการ
เหลานี้ไดเริ่มสงพลังงานหมุนเวียนสูโครงขายไฟฟาเพื่อรักษาอัตราการเติบโตอยางตอเนื่อง ผูเลนรายใหญวางแผนที่จะขยายการ
ลงทนุ ทัง้ ในและตางประเทศ

2. ผลการดำเนนิ งานและความสามารถในการทำกำไร จำนวนเงนิ หนวย : ลานบาท
2564 2563
งบกำไรขาดทนุ รวม 2,560.16 2,404.00 การเปลีย่ นแปลง
171.21 93.12 จำนวนเงนิ รอ ยละ
รายไดจากการขายและบริการ 2,731.37 2,497.12
รายไดอื่น 2,359.30 2,104.75 156.16 6.50
รวมรายได
ตน ทนุ ขายและบรกิ าร 6.62 6.57 78.09 83.85
คาใชจายในการขาย 343.64 326.26 234.25 9.38
คา ใชจ า ยในการบริหาร 254.55 12.09
คาใชจา ยอ่ืน 3.40 2.62
ตนทนุ ทางการเงนิ 54.20 68.82 0.05 0.75
รวมคา ใชจา ย 2,712.96 2,440.20
สวนแบง กำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบรษิ ทั รว มและการรวมคา 162.42 138.89 17.39 5.33
คาใชจ าย (รายได )ภาษีเงินได 25.82 71.79
กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิสำหรับป 100.80 55.20 0.78 29.74
สว นที่เปนของบรษิ ัทใหญ 100.86 55.20
สวนทเ่ี ปนของสวนไดเ สยี ทีไ่ มม อี ำนาจควบคุม (0.07) - (14.62) (21.24)
272.76 11.18
23.53 16.94

(45.97) (64.03)
45.60 82.60
45.66 82.72

(0.07) (100.00)

ประเภทรายได 2564 (ลา นบาท) รอยละ 2563 (ลา นบาท) รอ ยละ

ขายสินคา 229.40 8.96 350.72 14.59
งานวิศวกรรมไฟฟา 2,192.32 85.63 1,894.69 78.82
งานโทรคมนาคม,อาณตั สิ ญั ญาณ 5.23 3.30
พลงั งานทดแทน 133.78 0.18 79.42 3.29
4.66 100.00 79.17 100.00
รวม 2,404.00
2,560.16


Click to View FlipBook Version