The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี One Report 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaaey.sarinya, 2022-03-29 21:49:50

รายงานประจำปี One Report 2564

รายงานประจำปี One Report 2564

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 101
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

รายไดจากการขายและบริการสำหรับ เด็มโกและบริษัทยอย มีรายไดจากการขายสินคาและบริการจำนวน 2,560.16
ป 2564 จำนวน 2,560.16 ลา นบาท ลานบาท คิดเปนรอยละ 93.73 ของรายไดรวม เพิ่มขึ้น 156.16 ลานบาท จากป
กอน คิดเปนรอ ยละ 6.50 แยกเปน
ตนทุนขายและบริการสำหรับป 2564
จำนวน 2,359.30 ลานบาท รายไดจากการบริการ ป 2564 เทากับ 2,330.76 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน
277.48 ลานบาท หรือรอยละ 13.51 จากรายไดจากการบริการป 2563 จำนวน
กำไรขั้นตนสำหรับป 2564 จำนวน 2,053.28 ลานบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นในงานสถานีไฟฟายอยและลดลงจาก
200.86 ลา นบาท งานกอสรา งสายสง และงาน Underground

คาใชจายในการขายและบริหารสำหรับ รายไดจากการขายสนิ คา ป 2564 เทากบั 229.40 ลานบาท ลดลงจำนวน 121.32
ป 2564 จำนวน 353.66 ลา นบาท ลานบาท หรือรอยละ 34.59 จากรายไดงานขาย ป 2563 จำนวน 350.72 ลาน
บาท ลดลงจากรายไดก ารจำหนา ยเสาโครงสรางเหลก็

รายไดจากการรับเหมากอสรางสำหรับป 2564 มีสัดสวนงานภาครัฐ-เอกชน
เทากับ 40 : 60 และป 2563 เทา กับ 60 : 40

เด็มโกและบรษิ ัทยอย มตี นทนุ จากการขายและบรกิ ารจำนวน 2,359.30 ลา นบาท
ลดลง 254.55 ลานบาทจากปกอ น คิดเปน รอ ยละ 12.09 แยกเปน

ตนทุนบริการ ป 2563 เทากับ 2,129.24 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 351.69 ลาน
บาท หรือรอ ยละ 19.78 จากตน ทนุ บริการในป 2563 จำนวน 1,777.55 ลา นบาท
เพมิ่ ข้ึนตามรายไดจากการวิศวกรรมไฟฟา และงานระบบอาณตั สิ ัญญาณทีเ่ พมิ่ ขน้ึ

ตนทนุ ขาย ป 2564 เทากับ 230.07 ลา นบาท ลดลงจำนวน 97.14 ลา นบาท หรือ
รอยละ 29.69 จากตนทุนขายในป 2563 จำนวน 327.20 ลานบาท ลดลงตาม
รายไดจากการขายโครงสรา งเหลก็ ท่ลี ดลง

เด็มโกและบริษัทยอย มีกำไรขั้นตนสำหรับป 2564 จำนวน 200.86 ลานบาท
ลดลง 98.39 ลานบาท คิดเปนรอยละ 32.88 ตามลำดับ แยกเปน

กำไรขั้นตนจากการบริการ ป 2564 จำนวน 201.53 ลานบาท คิดเปนอัตรากำไร
ขั้นตนรอยละ 8.65 ของรายไดงานบริการ ลดลงจำนวน 74.20 ลานบาท จากกำไร
ขั้นตนป 2563 จำนวน 275.73 ลานบาท คิดเปนอัตรากำไรขั้นตนรอยละ 13.43
โดยลดลงจากงานสถานไี ฟฟายอยขนาดใหญทม่ี อี ตั รากำไรขน้ั ตน ไมส ูงมากนกั

กำไรข้นั ตน จากการขาย สำหรบั ป 2564 บริษัทมีขาดทนุ ขน้ั ตน จากการขายเทากับ
0.67 ลา นบาท คิดเปนอัตราขาดทนุ ขัน้ ตนรอ ยละ 0.29 ลดลงจำนวน 24.18 ลาน
บาท จากกำไรขั้นตนป 2563 จำนวน 23.51 ลานบาท คิดเปนอัตรากำไรขั้นตน
รอยละ 6.70 ลดลงจากงานจำหนายเสาโครงสรางเหล็กจากราคาเหล็กที่ปรับตัว
สูงข้นึ ตงั้ แตตนป 2564

เด็มโกแ ละบรษิ ทั ยอ ย มีคาใชจายในการบริหารจำนวน 353.66 ลานบาท เพิ่มขึ้น
จำนวน 18.21 ลานบาทคิดเปนรอยละ 5.43 เมื่อเทียบกับคาใชจายขายและ
บริหารจำนวน 335.45 ลานบาทในป 2563 โดยเพิ่มขึ้นคาอุปกรณ Monitoring
เพื่อติดต้งั ทฐี่ านกงั หันลมโครงการหวยบง

102 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษัท เด็มโก จำกัด (มหาชน)

ตนทุนทางการเงินสำหรับป 2564 เด็มโกและบริษัทยอย มีตนทุนทางการเงินจำนวน 54.20 ลานบาท ลดลง 14.62
จำนวน 54.20 ลา นบาท ลานบาทจากปกอน คิดเปนรอยละ 21.24 เนื่องจากชำระคืนเงินตนของเงินกูยืม
ระยะยาว
คาใชจาย (รายได) ภาษีเงินไดสำหรับ
ป 2564 จำนวน 25.82 ลา นบาท เด็มโกและบริษัทยอย มีคาใชจาย (รายได) ภาษีเงินไดจำนวน 25.82 ลานบาท
ลดลง 45.97 ลานบาทจากปกอน คิดเปนรอยละ 64.03 เนื่องจากป 2563 จาก
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ สวนที่เปนของ รายการตัดจำหนายสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีจากขาดทุนสะสมที่คาดวา ไม
บริษัทใหญ สำหรับป 2564 จำนวน สามารถใชสทิ ธไิ์ ดภ ายในกำหนดเวลา 5 รอบบัญชี
100.86 ลา นบาท
กำไร (ขาดทุน) สุทธิสวนทีเ่ ปนของบริษัทใหญ จำนวน 100.86 ลานบาท เพิ่มข้ึน
45.66 ลานบาทจากปกอน คิดเปนรอ ยละ 82.72 เนื่องจากสวนแบงกำไรจากเงิน
ลงทนุ ในบริษัทรว มและรว มคา และรายไดเงนิ ปน ผลจากเงินลงทนุ ทเ่ี พิ่มขึน้

3. ความสามารถในการบริหารสินทรัพย

งบการเงินรวมไดสะทอนมูลคา ทีใ่ กลเ คียงกับมลู คา ยตุ ธิ รรม บริษทั และบริษทั ยอ ยไดป ระเมนิ มลู คาของสนิ ทรพั ย กรณีที่คาด

วามูลคา ของสนิ ทรัพยใดจะดอยลง บริษัทและบริษทั ยอ ยจะทำการตงั้ สำรอง เพื่อใหม ูลคาของสินทรพั ยตามงบการเงินไมแตกตา ง

จากมลู คายุติธรรมอยา งมีนยั สำคญั กรณีทีเ่ งนิ ลงทนุ ของบรษิ ัทมแี นวโนม จะดอ ยคา บริษทั พิจารณาตงั้ สำรองผลขาดทนุ ทง้ั นีบ้ ริษทั

เชอ่ื วาสำรองการดอ ยคาของเงนิ ลงทนุ ทีบ่ นั ทกึ ไวเ พียงพอและมูลคา เงินลงทุนตามงบการเงินใกลเคยี งกบั มลู คา ยตุ ธิ รรม

หนว ย : ลานบาท

งบแสดงฐานะทางการเงินรวม 31 ธันวาคม 2564 31 ธนั วาคม 2563 การเปลยี่ นแปลง
จำนวนเงิน รอยละ

สินทรพั ยร วม 6,948.70 7,374.57 (425.87) (5.77)

หนีส้ ินรวม 2,603.43 2,755.07 (151.64) (5.50)

สว นของผถู อื หุนรวม 4,345.27 4,619.50 (274.23) (5.94)

สินทรัพยร วม ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 เดม็ โกและบรษิ ทั ยอยมสี นิ ทรัพยรวมจำนวน 6,948.70
จำนวน 6,948.70 ลานบาท ลา นบาท ลดลง 425.87 ลา นบาทจากปกอ น คิดเปน รอ ยละ 5.77 แยกเปน

สนิ ทรัพยห มนุ เวียน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 เทากบั 1,656.27 ลานบาท ลดลง
22.11 ลานบาทหรอื คิดเปนรอ ยละ 1.32 จากมูลคา 1,678.38 ลานบาท ณ วันที่
31 ธันวาคม 2563 รายการที่สำคญั เกดิ จากการลดลงของลกู หนกี้ ารคาและลูกหนี้
อื่น มูลคา 265.35 ลานบาท และการเพิ่มขึ้นของ สินทรัพยที่เกิดจากสัญญา
หมุนเวียน (รายไดที่ยังไมไดเรียกชำระ) มูลคา 172.94 ลานบาท สินคาคงเหลือ
เพิ่มข้นึ มลู คา 62.62 ลา นบาท

สินทรัพยไมหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เทากับ 5,292.43 ลานบาท
ลดลง 403.76 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 7.09 เมื่อเทียบกับสินทรัพยไม
หมนุ เวียน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563 เทากับ 5,696.19 ลานบาท ลดลงจากการ
วัดมูลคา ยุติธรรมของเงินลงทุนในธุรกิจพลังงานลมจำนวน 476.18 ลานบาท

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 103
บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เด็มโกและบรษิ ทั ยอยมีหน้สี นิ รวมจำนวน 2,603.43
จำนวน 2,603.43 ลานบาท ลา นบาท ลงลง 151.64 ลา นบาทจากปก อน คิดเปน รอ ยละ 5.50 แยกเปน

สวนของผูถือหุนรวม ณ วันที่ 31 หน้ีสินหมุนเวยี น ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 เทากับ 2,221.53 ลานบาท เพิ่มข้ึน
ธันวาคม 2564 จำนวน 4,345.27 56.68 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 2.62 จากหนี้สินหมุนเวียน 2,164.85 ลาน
ลา นบาท บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 รายการที่สำคัญจากการเพิ่มขึ้นจากเงินเบกิ เกนิ
บัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินจำนวน 203.91 ลานบาทเพื่อใช
ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ณ วันท่ี หมนุ เวยี นในการดำเนินธรุ กจิ
31 ธันวาคม 2564 จำนวน 600.71
ลา นบาท หนี้สินไมหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เทากับ 381.90 ลานบาท ลดลง
สินทรัพยที่เกิดจากสัญญาหมุนเวียน จำนวน 208.32 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 35.30 จากหนี้สินไมหมุนเวียน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 จำนวน 590.22 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 เนื่องจากการลดลงจากการชำระ
614.96 ลานบาท เงินกูยืมระยะยาวจำนวน 148.90 ลานบาท และลดลงจากหนี้สินภาษีเงินไดรอ
การตัดบัญชีจำนวน 68.89 ลานบาทจากการปรับลดมูลคายุตธิ รรมของเงินลงทนุ
สินคาคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ในธุรกจิ พลังงานลม
2564 จำนวน 282.74 ลา นบาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เด็มโกและบริษัทยอยมีสวนของผูถือหุนรวมจำนวน
สินทรัพยทางการเงินไมหมุนเวียนอื่น 4,345.27 ลานบาท ลดลง 274.23 ลานบาทจากปกอ น คิดเปน รอ ยละ 5.94 จาก
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 จำนวน องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุนลดลงจากผลจากการวัดมูลคายุติธรรมของ
2,405.83 ลานบาท เงินลงทุนในธุรกิจพลังงานลม จำนวน 375.63 ลานบาท
สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31
ธันวาคม 2564 จำนวน 108.27 ลา นบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เด็มโกและบริษัทยอยมีลูกหนี้การคาและลูกหนี้อ่ืน
รวมจำนวน 600.71 ลานบาท ลดลง 265.35 ลานบาทจากปกอน คิดเปนรอยละ
30.64 จากการรับชำระหนข้ี องลกู หนก้ี ารคา

ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564 เดม็ โกและบรษิ ัทยอ ยมมี ลู คา งานทเ่ี สร็จแตยังไมเรียก
เก็บจำนวน 614.96 ลานบาท เพ่ิมขนึ้ 172.94 ลา นบาทจากปก อ น คดิ เปนรอยละ
39.13 เพิ่มขึ้นจากงานโครงการที่ยังไมถึงกำหนดออกใบแจง หนี้สวนใหญเปนงาน
สถานีไฟฟา ยอย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เด็มโกและบริษทั ยอ ยมสี นิ ทรพั ยห มุนเวียนอ่นื จำนวน
282.74 ลานบาท เพิ่มขึ้น 62.62 ลานบาทจากปกอน คิดเปนรอยละ 28.45
เนือ่ งจากการสนิ คา คงเหลือทีร่ อสง มอบในป 2565

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เด็มโกและบริษัทยอยมีเงินลงทุนอื่น จำนวน
2,405.83 ลานบาท ลดลง 476.16 ลานบาท จากปกอน คิดเปนรอยละ 16.52
เนอ่ื งจากการวัดมูลคายตุ ิธรรมของเงินลงทุนในธรุ กจิ พลงั งานลม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เด็มโกและบริษัทยอยมีสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น
จำนวน 108.27 ลานบาท ลดลง 32.77 ลานบาท จากปกอน คิดเปนรอยละ
23.23 เนื่องจากไดรับคืนภาษีเงินไดน ิตบิ ุคคลถูกหัก ณ ที่จาย และเพิ่มขึ้นการจัด
ประเภทภาษีเงินไดนิติบุคคลถูกหัก ณ ที่จายเกินกำหนด 1 ป จากสินทรัพย
หมุนเวยี นอ่นื เปน สนิ ทรพั ยไ มหมุนเวียนอน่ื

104 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

4. สภาพคลอ งและความเพยี งพอของเงินลงทุน

งบกระแสเงินสด หนว ย : ลา นบาท

กระแสเงนิ สดสุทธไิ ดม าจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดำเนนิ งาน สำหรบั ป
กระแสเงนิ สดสุทธิไดม าจาก (ใชไปใน) กจิ กรรมลงทนุ 2564 2563
กระแสเงนิ สดสุทธิไดม าจาก (ใชไปใน) กจิ กรรมจดั หาเงิน (166.12) 225.69
เงนิ สดสทุ ธิเพ่ิมขน้ึ (ลดลง)
81.86 83.04

80.96 (411.12)
(3.30) (102.39)

กระแสเงนิ สดในป 2564 กระแสเงินสดในป 2564 ใชไปในกิจกรรมดำเนินงาน 166.12 ลานบาท จากการ
เพิ่มขึ้นในสินทรัพยที่เกิดจากลูกหนี้และสัญญา ไดมาจากกิจกรรมลงทุน 81.86
อัตราสวนสินทรัพยหมุนเวียนตอ ลานบาท จากการรับเงินปนผลจาก บจก.อีโอลัส พาวเวอร และบจก.วินด เอน
หนี้สนิ หมนุ เวียน ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม เนอรยี่ โฮลดงิ้ และไดม าจากกจิ กรรมจัดหาเงิน 80.96 ลา นบาท จากการกูยืมเงิน
2564 เทากับ 0.75 เทา ลดลงจากป ระยะสน้ั จากสถาบนั การเงินเพ่ือใชห มนุ เวยี นในการดำเนินธุรกิจ
กอน ซงึ่ เทา กับ 0.78 เทา อัตราสวนสินทรัพยหมนุ เวียนตอ หนี้สนิ หมุนเวียนลดลงจากปกอนเนือ่ งจากบริษทั
กยู ืมเงินระยะส้ันจากสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ เพ่อื ใชหมนุ เวยี นในการดำเนนิ ธรุ กจิ
อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือ
หุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เทา กบั อัตราสวนหนี้สินสุทธติ อสว นของผถู ือหนุ เทากันกับปกอน
0.60 เทา ซึง่ เทา กบั ปกอ น 0.60 เทา
อัตราสวนความสามารถในการชำระดอกเบี้ยสำหรับป 2564 ลดลงจากปกอน
อัตราสวนความสามารถในการชำระ เนื่องจากกำไรจากการดำเนินงานลดลง จากกำไรขั้นตนลดลงและคา ใชจา ยบริหาร
ดอกเบี้ยสำหรับป 2564 เทากับ 1.44 เพม่ิ ขึ้นจากคาอปุ กรณ Monitoring เพอื่ ติดตงั้ ท่ฐี านกังหันลมโครงการหว ยบง
ลดลงจากปก อ นซึ่งเทา กบั 1.71 เงนิ กยู ืมระยะส้นั เพ่ิมข้นึ จากต๋ัวสญั ญาใชเงินและเงนิ กู ทรัสตรีซีท เพ่ือใชหมนุ เวียน
ในการดำเนินธรุ กิจ
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะส้ัน
จากสถาบนั การเงิน ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทมีทุนจดทะเบียนเปนหุนสามัญจำนวน
2564 จำนวน 1,202.81 ลา นบาท เพ่มิ ขนึ้ 822,683,573 หุน เรียกชำระแลว จำนวน 730,344,251 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท
203.91 ลา นบาท คิดเปนรอ ยละ 20.41 มีสวนเกินมูลคาหุนสามัญ 1,916.04 ลานบาทและสวนเกินทุนจากการจำหนาย
หุนทุนซื้อคืน 151.95 ลานบาทและสวนทุนจากการจายโดยใชหุนเปนเกณฑที่
ทนุ เรือนหนุ หมดอายุแลว (DEMCO-ESOP#3) 16.36 ลานบาท

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 105
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

5. ภาระผูกพันดา นหนีส้ นิ และการบริหารจดั การภาระนอกงบดลุ
ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 เดม็ โกแ ละบรษิ ัทยอยมีภาระผกู พันทสี่ ำคญั ดงั นี้

- ภาระผูกพนั จากหนังสอื คำ้ ประกันท่อี อกโดยธนาคาร จากการปฎบิ ตั ติ ามปกตธิ รุ กจิ ในวงเงินรวม 2,066.63 ลา นบาท 1.36

ลานเหรียญดอลลารส หรัฐ และ 0.16 ลา นยูโร

- ภาระผกู พันจากคา กอ สรางโครงการตาง ๆ จำนวน 240.36 ลา นบาท

1) การปรับปรุงแผนพฒั นากำลังผลติ ไฟฟาของประเทศ (Power Development Plan : PDP) ตามนโยบายดานพลังงาน
ของประเทศและสถานการณทางเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนแปลง กำลังผลิตไฟฟาสำรองท่ีเหมาะสม การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการใชพลังงาน
นโยบายการพัฒนาพลงั งานหมุนเวียน การปรับปรุงแผนเหลานี้ลวนสรางโอกาสทางธุรกิจกอสรางทางวิศวกรรมไฟฟาใหก ับเด็มโก
เด็มโกสามารถดำเนนิ ธรุ กิจควบคูไปกบั นโยบายของกระทรวงพลังงานในเรื่องการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม การเพมิ่ ประสิทธิภาพและ
ลดการใชพลังงานไฟฟาที่สอดคลองกับแผนอนุรักษพลังงาน 20 ป (พ.ศ. 2554-2573) สงเสริมใหมีการผลิตไฟฟาจากพลังงาน
หมุนเวียนที่สอดคลองกับแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan : AEDP
2015 ) ไดในระยะยาว

2) ความไมแนนอนของสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด - 19 ที่ยังตองติดตามและประเมินสถานการณอยาง
ใกลช ิด โดยเฉพาะภายหลงั การผอนคลายมาตรการควบคมุ และการเปดรบั นักทอ งเทยี่ วตา งชาติ ควบคูไปกับการติดตามความพรอ ม
ของการกระจายวัคซีน ยา และเวชภัณฑทางการแพทย ใหเพียงพอตอการรับมือกับการแพรระบาดในปจจุบัน โดยเฉพาะ
ความสามารถในการควบคุมอัตราการปวยที่มีอาการรุนแรง และการเสียชีวิตใหอยูในระดับต่ำและไมเกินศักยภาพของระบบ
สาธารณสุขที่จะรองรับได รวมทั้งการติดตามแนวโนมและความเปนไปไดของการกลายพันธุของไวรัสสายพันธุใหม ๆ ที่อาจจะ
เกดิ ขนึ้ ในอนาคต

3) ประเด็นความขัดแยงทางภูมิรัฐศาสตรระหวางรัสเซียและยูเครนและชาติพันธมิตร รวมถึงความขัดแยงในตะวันออก
กลางระหวางอิหรานและสหรัฐฯ และระหวางกบฏในเยเมนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ซึ่งปญหาดังกลาวอาจสรางความผันผวน
ใหก ับเศรษฐกจิ โลกและระดับราคาพลังงานของรัสเซยี และยเู ครนทจ่ี ะสง ผลตอราคาพลงั งานในตลาดโลก

4) แนวนโยบายรว มกันลดปริมาณการปลอ ยกาซเรอื นกระจก มีผลใหภาคธุรกิจและภาครัฐแสวงหาเทคโนโลยี นวัตกรรมที่
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอ ม สนับสนุนพลังงานสะอาด พรอมออกนโยบายสนับสนุนวิธีการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อใหบรรลุ
เปาหมายควบคมุ อุณภมู ิโลกรว มกัน แนวทางการดำเนินนโยบายระดับโลกทีเ่ ปลย่ี นไปเชน น้ี เปนผลใหเดม็ โกต องเรง ปรบั ตวั ท้ังดา น
บคุ คลากร และระบบงาน เพ่ือปอ งกันการสญู เสียโอกาสทางเศรษฐกิจการคาการลงทุน

การปรบั ปรุงฐานเสากงั หันลมโครงการหวยบง 2 และ หวยบง 3

ตามท่เี ดม็ โกไ ดเ ขา ทำงานกอสรา งโรงไฟฟา พลงั งานลม หวยบง 2 และ หว ยบง 3 ตง้ั อยทู ี่ อ.ดา นขุนทด จ.นครราชสมี า
ขนาดกำลังการผลิตตดิ ตง้ั โครงการละ 103.5 เมกกะวตั ต ซ่ึงเดม็ โกเ ปนผกู อสรา งใหก บั บริษทั เฟรส โคราช วนิ ด จำกัด (FKW) และ
บริษัท เค.อาร.ทู จำกัด (KR2) (ผูวาจาง) โดยเด็มโกไดลงนามในสัญญารับจางตั้งแตป 2554 มีขอบเขตงานกอสรางระบบไฟฟา
ครอบคลุมงานตดิ ตั้งหมอ แปลงไฟฟา ระบบสายสง ไฟฟาใตดนิ ภายในโครงการ ระบบสายสง ไฟฟา แรงสงู เช่อื มตอจากโครงการไปยัง
จดุ รับซอ้ื ไฟฟาของ กฟผ. สถานีไฟฟาแรงสงู รวมถงึ งานกอสรางโยธา ซงึ่ ครอบคลมุ งานถนนภายนอก-ภายในโครงการ และ งาน
กอสรางฐานของเสากังหันลม คิดเปนมูลคางานรวม 2,488.23 ลานบาท ในชวงเริ่มตนของงานกอสราง เด็มโกไดวาจางบริษัทท่ี
ปรึกษาเปนผูออกแบบฐานรากของเสากังหันโดยบริษัทดังกลา วมีประสบการณและมีบุคคลากรที่ผานการออกแบบโครงสรางงาน
โยธาขนาดใหญหลายแหง เปนที่นาเชื่อถือ อยางไรก็ตามภายหลังจากงานกอสรางแลวเสรจ็ และโครงการไดดำเนินการขายไฟฟา
ในข้นั ตอนการตรวจรบั งานงวดสดุ ทา ยเพ่อื สงมอบโครงการ บรษิ ัท เฟร สโคราช วนิ ด จำกดั และ บริษัท เค.อาร. ทู จำกัด ไดรว มกบั
ผูวาจางทบทวนการออกแบบฐานเสากังหันโดย วาจางบริษัทที่ปรึกษาดานวิศวกรรมอิสระ ( K2M ) ทำการสอบทานแบบฐานเสา
กงั หนั และใหขอเสนอแนะเกย่ี วกับการปรบั ปรงุ ฐานเสากังหัน ซึ่งผลของการสอบทานพบวา การออกแบบมรี ายละเอยี ดไมครบถวน

106 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

ตามความตองการของผูวาจา ง เด็มโกไดเสนอวิธีการปรับปรุงและประมาณการคาใชจายเปนงบประมาณจำนวน 40 ลานบาท ซ่ึง
ผูบริหารของผูวาจางในขณะนั้นมีความเห็นที่จะชวยเหลือออกคาใชจายในการปรับปรุงใหแกบริษัทจำนวนเงินรวม 30 ลานบาท
ดงั นน้ั ในป 2556 บรษิ ัทจงึ ไดตงั้ ประมาณการหนี้สนิ ในการปรบั ปรงุ งานในงบการเงนิ จำนวน 10 ลานบาท (เปนสวนตางระหวา งคา
ปรับปรุง 40 ลานบาทกับเงินชวยเหลือจากผูวาจาง 30 ลานบาท ) โดยเด็มโกรับรูประมาณการหนี้สินนี้ในงบการเงินไตรมาส
4/2556 ทั้งนี้ บริษัทและผูว า จางไดมีขอตกลงท่ีจะปรับปรงุ ฐานเสากังหนั และไดลงนามในบันทึกเพิม่ เติมแนบทายสัญญากอสราง
(Addendum to BOP Agreement) เม่ือวันที่ 28 มนี าคม 2557

ทั้งนี้ในระหวางป 2558-2561 เด็มโกไ ดมีการปรับปรุงประมาณการและบันทึกคาใชจ ายในการปรับปรงุ ฐานกังหนั ไป
แลว จำนวน 1,760.94 ลานบาท ซึ่งเปนการบันทึกประมาณการคาใชจายในการกอสราง,คาออกแบบ,คาที่ปรึกษาควบคุมงาน,
ประกันภัยและคา ใชจา ยอ่นื ๆ จนงานซอมปรับปรุงฐานแลว เสร็จ

เด็มโกไดป รบั ปรงุ ฐานกังหันแลวเสร็จในป 2562 จำนวน 81 ฐาน สงมอบงานเพอ่ื ใหผูวาจา งตรวจรบั มอบงาน สำหรับ 9
ฐานที่เหลือยังสามารถใชงานไดตามปกติ เด็มโกและผูวาจางจึงมีขอตกลงที่จะไมปรับปรุงฐานดังกลาวโดยจะเฝาสังเกตความ
เปลยี่ นแปลงทีอ่ าจเกดิ ขึน้ จากการใชง าน โดยขยายระยะเวลารบั ประกันอีก 10 ป สำหรับ 9 ฐาน

อัตราสว นสภาพคลอ ง (LIQUIDITY RATIO) 2564 2563 2562

อัตราสว นสภาพคลอง = สนิ ทรัพยห มุนเวียนรวม / หนห้ี มนุ เวยี นรวม เทา 0.75 0.78 0.86
0.58 0.64 0.68
อตั ราสว นสภาพคลอง = (เงินสดและเงินฝากธนาคาร + หลกัทรัพยใน เทา
(0.08) 0.10 (0.20)
หมุนเร็ว ความตองการ ของตลาด + ลูกหนี้การคาและตว๋ั
5.12 3.43 3.79
เงินรับ) / หนีส้ นิ หมนุ เวียนรวม
71 106 96
อตั ราสวนสภาพคลอง = กระแสเงนิ สดจากการดำเนินงาน / หนีส้ นิ เทา 20.34 26.79 29.43

กระแสเงินสด หมุนเวยี น (เฉล่ีย) 18 14 12

อัตราสว นหมุนเวียน = รายไดจากการขายสทุ ธิ / (ลกู หนก้ี ารคา กอน เทา 9.38 9.37 10.91

ลูกหนี้การคา หนีส้ งสยั จะสญู + ต๋ัวเงินรบั การคา) (เฉลี่ย) 39 39 33
5.49 4.22 5.61
ระยะเวลาเก็บหน้ีเฉลี่ย = 365 / อัตราสว นหมุนเวียนลกู หนกี้ ารคา วนั
66 87 65
อัตราสวนหมุนเวยี น = ตน ทุนขาย / สินคาสำเรจ็ รปู (เฉล่ีย) เทา 44 58 64

สนิ คาสำเร็จรปู

ระยะเวลาขายสนิ คา = 365 / อตั ราสวนหมนุ เวียนสินคสำเรจ็ รปู วนั

สำเร็จรูปเฉลีย่

อตั ราสวนหมนุ เวยี น = ตน ทุนขาย / สนิ คา คงเหลือ (เฉลี่ย) เทา

สนิ คาคงเหลอื

ระยะเวลาขายสินคา เฉลยี่ = 365 / อตั ราสว นหมนุ เวียนสินคาคงเหลอื วัน

อัตราสวนหมุนเวยี น = ซือ้ หรอื ตน ทุนขาย / (เจาหน้ีการคา + ตว๋ั เงนิ เทา

เจา หน้ี จา ยการคา ) (เฉล่ีย)

ระยะเวลาชำระหนี้ = 365 / อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ วัน

วงจรเงินสด (Cash Cycle) = ระยะเวลาเกบ็ หนีเ้ ฉล่ยี + ระยะเวลาขาย วัน

สินคา เฉล่ีย - ระยะเวลาชำระหน้ี

อตั ราสว นแสดงความสามารถในการหากำไร (PROFITABILITY RATIO)

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 107
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

อตั รากำไรขัน้ ตน = กำไรขั้นตน / รายไดจากการขายสุทธิ % 2564 2563 2562
7.85 12.45 14.12
อัตรากำไรจากการ = กำไรจากการดำเนินงาน / รายไดจากการ % 0.67
6.27 2.28 (3.01)

ดำเนินงาน ขายสทุ ธิ -902.76
3.69
อตั ราสว นรายไดอน่ื ตอ = กำไรทีไ่ มไ ดจากการดำเนินงาน / รายได % 2.25 3.73 2.06
1.41
รายไดร วม รวม 15.76
0.38
อัตราสวนเงนิ สดตอ การ = กระแสเงนิ สดจากการดำเนินงาน / กำไร % 396.53 N/A
0.60
ทำกำไร จากการดำเนินงาน 1.44
18.58
อัตรากำไรสทุ ธิ = กำไรสทุ ธิ / รายไดร วม % 2.21 1.17
0.06 1.42 1.08
อตั ราผลตอบแทนผูถอื หนุ = กำไรสุทธิ / สว นของผถืูอหนุ (เฉลยี่ ) %
43.02
อตั ราสว นแสดงประสทิ ธภิ าพในการดำเนินงาน (EFFICIENCY RATIO)

อัตราผลตอบแทนจาก = กำไรสทุ ธิ / สินทรัพยรวม (เฉลีย่ ) % 0.83 0.58

สินทรพั ย

อตั ราผลตอบแทนจาก = (กำไรสทุ ธิ + คา เสอื่ มราคา) / สินทรพั ย % 11.12 9.08

สนิ ทรพั ยถาวร ถาวรสทุ ธิ (เฉลี่ย)

อตั ราการหมนุ เวยี นของ = รายไดร วม / สินทรพั ยร วม (เฉลี่ย) เทา 0.37 0.49

สินทรพั ย

อัตราสวนวเิ คราะหนโยบายทางการเงนิ (FINANCIAL POLICY RATIO)

อตั ราสวนหนส้ี นิ ตอสวน = หนส้ี นิ รวม / สวนของผูถ อื หนุ เทา 0.60 0.89
1.71 (0.31)
ของผถู ือหนุ 11.61 (77.34)

อัตราสวนความสามารถ = กำไรกอ นหักดอกเบี้ย ภาษีคาเส่อื มราคา เทา

ชำระดอกเบ้ยี และคา ตดั จำหนา ย/ดอกเบี้ยจา ย

หนี้สินทม่ี ภี าระดอกเบ้ีย = หนส้ี ินท้ังหมดทม่ี ภี าระดอกเบยี้ / กำไรกอน เทา

ตอ กำไรกอนดอกเบยี้ หกั ดอกเบี้ย ภาษี คา เสอ่ื มราคา และคา ตดั

จาย ภาษเี งนิ ได คา เสอื่ ม จำหนา ย

ราคาและคาตดั จำหนาย

(Interest bearing

debt to EBITDA ratio)

อัตราสว นความสามารถ = กำไรกอ นหักดอกเบี้ย ภาษี คาเสอื่ มราคา เทา 0.10 (0.02)
งดจาย 26.20
ชำระภาระผกู พนั และคาตดั จำหนา ย/ หนส้ี ินระยะสนั้ ท่ีมีภาระ

ดอกเบย้ี + หนสี้ นิ ระยะยาวท่ีมีภาระดอกเบย้ี

ท่คี รบกำหนด ภายใน 1 ป

อตั ราการจา ยเงินปน ผล = เงินปนผล / กำไรสุทธิ(งบเฉพาะกิจการ) %

108 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

5. ขอ้ มูลทวั ่ ไปและขอ้ มูลสาํ คญั อ่นื

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 109
บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

ขอ มลู สำคญั อื่นทจ่ี ำเปน ซงึ่ เปน ประโยชนต อ การตดั สนิ ใจของผูล งทุน ปรากฏตามเวป็ ไซตบ ริษทั www.demco.co.th

ในระหวา งป 2564 เดม็ โกถกู บริษัทแหง หน่ึงยื่นฟองคดีแพง 1 คดี และคดีแรงงาน 1 คดี ในสว นของคดีแพง ปจจุบันไดย่ืน
คำใหก ารและฟอ งแยงตอศาลแลว โดยศาลนดั สบื พยานจำเลยในวนั ที่ 22 กรกฏาคม 2565 สวนคดแี รงงาน อยใู นข้ันตอนของศาล
นดั สืบพยานจำเลยในวนั ที่ 5, 7 เมษายน 2565

- ไมมี -

- ไมม ี -

110 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

2

ส่วนท่ี

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 111
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

6. นโยบายการกาํ กบั ดแู ลกิจการ

เดม็ โก มงุ สูเปา หมายการพฒั นาและเตบิ โตอยางยัง่ ยนื บนพืน้ ฐานการดำเนนิ ธุรกจิ ตามหลกั ธรรมาภิบาล และหลักการกำกบั
ดแู ลกจิ การท่ดี ี ท่ีบริษัทจดทะเบยี นพงึ ปฏบิ ัติท้งั ดานคุณธรรม จริยธรรม ความโปรง ใส ความรบั ผิดชอบตอ สังคม สิ่งแวดลอ ม และผู
มีสวนไดเสียทุกภาคสวน รวมทั้งการตอตานการทุจริตคอรรัปชันและสินบนในทุกรูปแบบ โดยคณะกรรมการบริษัทไดกำหนด
นโยบายตา ง ๆ จริยธรรมและจรรยาบรรณ เพ่ือเปน แนวปฏิบตั ใิ นการทำงานของกรรมการ ผบู ริหารและพนักงาน ไวเ ปน ลายลกั ษณ
อกั ษร

คณะกรรมการบริษัท จงึ กำหนดนโยบายการกำกับดแู ลกิจการของกลุมบรษิ ทั เดม็ โก ไวเพอ่ื ทราบและถือปฏบิ ตั โิ ดยท่วั กัน ดังน้ี

(1) ตระหนกั ถงึ บทบาทความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการในฐานะผนู ำองคก รที่สรางคณุ คา ใหแกกจิ การที่ย่ังยืน โดยใหมีการกำหนด

วิสัยทัศน พนั ธกิจ และเปาหมายหลักของกิจการ เพอื่ ความยั่งยืนท้ังสามมิติ คอื เศรษฐกจิ สงั คม และสิง่ แวดลอ ม

(2) บริหารและดำเนินงานโดยยึดหลกั การกำกับดแู ลกิจการท่ีดี นโยบายการตอ ตา นการทุจริตคอรร ัปชันและสินบน และปฏิบตั ิตาม

กฎหมาย กฎระเบียบ และขอกำหนดตา ง ๆ ทีเ่ กย่ี วของ

(3) เสริมสรางคณะกรรมการท่ีมีประสิทธผิ ล โดยครอบคลมุ โครงสรา ง องคป ระกอบ คุณสมบตั ิ การสรรหา และคัดเลอื ก
(4) ใหมกี ารสรรหา และพฒั นาผูบ รหิ ารระดบั สูงอยางมีประสิทธผิ ล มคี ุณธรรม และมีคณุ คาตอองคก ร สงั คม และประเทศชาติ
(5) สงเสรมิ นวตั กรรม การประกอบธรุ กิจอยางมีความรบั ผดิ ชอบ และดูแลใหผ ูม สี ว นไดเสยี ทุกฝา ย ไดร ับการปฏบิ ัตแิ ละคมุ ครองสิทธิ

ตามกฎหมาย

(6) ดูแลใหมีระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบปองกันการทุจริตคอรรัปชันและสินบน ระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ และ

ครอบคลุมทั่วถึง ทั้งดา นการเงิน การดำเนินงาน การกำกบั ดูแล การปฏิบตั ิงาน และการตรวจสอบอยา งเหมาะสม

(7) รักษาความนา เช่อื ถือทางการเงนิ และสง เสรมิ ใหมกี ารกำกบั ดูแลการเปดเผยขอมลู และสารสนเทศท่สี ำคญั อยางถูกตอง เพียงพอ

โปรงใส และทันเวลา

(8) สงเสริม และสนับสนนุ การมีสวนรวม การปฏิบัติ และสอ่ื สารกบั ผูถอื หนุ อยา งเทา เทยี ม

คณะกรรมการบริษัทมอบหมายใหคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการและความยั่งยืน ทำหนาที่ในการพิจารณา ทบทวน
สงเสริม และติดตามการดำเนินงานดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี ศึกษา พิจารณา ทบทวน และปรับปรุงนโยบายการกำกับดูแล
กิจการที่ดีของกลุมบริษัทเด็มโก ใหมีความทันสมัย และเปนปจจุบัน อยางนอยปละครั้ง เพื่อใหสอดคลองกับแนวปฏิบัติตาม
หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำหรับบริษทั จดทะเบยี นป 2560 (CG Code 2017) ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย
และตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) หลกั การกำกบั ดแู ลกจิ การทด่ี ตี ามเกณฑโครงการสำรวจการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน
(CGR) ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีตามเกณฑ ASEAN Corporate
Governance Scorecard และแนวปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) รวมทั้งมาตรฐานสากล
กฎหมาย หลกั เกณฑ ระเบยี บ ขอ บงั คับตาง ๆ ขอ เสนอแนะ และ/หรอื ขอกำหนดของหนว ยงานทเี่ กย่ี วของ

ในดานการกำกับดูแลมาตรการตอ ตานการทุจรติ คอรรัปชันและสินบน คณะกรรมการบรษิ ัท มีความตระหนักรู และเขาใจ
ถงึ บรบิ ทของปญหาคอรร ัปชนั ผลกระทบท่มี ตี อ กจิ การ ภาคธรุ กิจ และสงั คมโดยรวม มเี จตนารมณในการตอ ตานการทุจริตคอรรัป
ชันและสินบน ทุกรูปแบบ (Zero Tolerance) กับใหความสำคัญ โดยเขารวมโครงการแนวรวมตอตานคอรรัปชันของภาคเอกชน
ไทย (CAC) ต้งั แตป  2559 จนถงึ ปจจุบัน และใหความสำคญั กับแนวปฏบิ ตั ิที่ดสี ำหรบั คณะกรรมการ ฝา ยจดั การ ในการกำกับดูแล
มาตรการตอตานการทุจริตคอรรัปชันและสินบน รวมทั้งมีกระบวนการสื่อสารความเขาใจในความเสี่ยงดานการทุจริตคอรรัปชนั
และสนิ บนที่สำคญั ของกจิ การ ไปยงั ผบู ริหาร พนกั งาน และผูม ีสวนไดเ สียทุกกลมุ อยางตอเนอื่ ง

ในป 2564 ทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษัท ครง้ั ท่ี 4/2564 เมื่อวนั ที่ 14 พฤษภาคม 2564 มกี ารทบทวนนโยบายการกำกับ
ดูแลกิจการของบริษัทใหเหมาะสมกับสภาวการณ และกฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลง และไดสื่อสารนโยบายให

112 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

บคุ ลากรเด็มโก ทกุ ระดบั ยดึ ถือปฏบิ ตั ิ รวมถึงไดเปดเผยนโยบายดังกลาวในเว็บไซตข องบริษทั ซึ่งสามารถศกึ ษารายละเอียดเพ่ิมเตมิ
ที่ www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดแู ลกิจการหรอื สแกนคิวอารโ คดในสวนทาย

การปฏิบตั ิตามการกาํ กบั ดแู ลกิจการทด่ี ขี องเดม็ โก้

เด็มโกมีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี จะสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการดำเนินงาน เพิ่มโอกาส
และลดความเสี่ยงในการดำเนนิ ธรุ กิจ ซึง่ นำไปสูการเสริมสรางความเชื่อมนั่ ใหแกผ ูมีสวนไดเ สยี เชน ผูถือหนุ พนักงาน ลูกคา ชุมชน
และสังคม

บคุ คลทม่ี บี ทบาทสำคญั ทจี่ ะทำใหธ ุรกิจมีกลไกขบั เคลื่อนการกำกบั ดูแลกจิ การอยา งมีประสทิ ธภิ าพ ประกอบดว ยผูถ อื หุน
คณะกรรมการ ฝา ยจดั การ และพนกั งาน ซึง่ มีบทบาทหนา ที่ และความรบั ผิดชอบทีแ่ ตกตางกนั ไป แตม สี ่งิ สำคัญเหมือนกันคือการ
ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต มีความเปนธรรม โปรงใส และรับผิดชอบตอหนาที่ของตน เพื่อทำใหกิจการสามารถบรรลุ
วัตถปุ ระสงคไดต ามทกี่ ำหนด

เด็มโกไดกำหนดนโยบายการกำกบั ดูแลกิจการท่ีดี พรอมทงั้ กำหนดแนวปฏิบัตติ า ง ๆ ใหเหมาะสมกับบรบิ ทในการดำเนิน
ธุรกิจของกลุมบริษัทเด็มโก เพื่อเปนแนวทางสำหรับกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ในการยึดถือ และปฏิบัติตาม ตลอดจนมี
ระบบการตดิ ตามดูแล และเปดเผยการปฏบิ ัตใิ หผ ูม สี วนไดเสียไดร บั ทราบ เพอ่ื สะทอนใหเห็นถงึ ความโปรง ใสในการดำเนนิ งานแกผู
ที่เก่ียวขอ งทุกฝาย ภายใตหลกั การปฏบิ ัตพิ ื้นฐานท่ีสำคญั ของการกำกับดแู ลกจิ การ 5 หมวด ดงั นี้

หมวดท่ี 1 สทิ ธิของผูถ้ อื หุน้
คณะกรรมการบรษิ ัท ใหความสำคัญเกี่ยวกับสิทธิในดานตา ง ๆ ของผูถือหุน ทั้งในฐานะนักลงทนุ และฐานะเจาของบริษทั

โดยไมกระทำการใด ๆ ที่จะเปนการละเมิดหรือลดิ รอนสิทธิของผูถือหุน และไดกำหนดเปน นโยบายและเปด เผยในคูม ือการกำกับ
ดูแลกจิ การทดี่ ขี องบริษัท ดงั นี้

(1) เดม็ โก ตระหนักถึงความสำคญั ของการใหส ิทธใิ นความเปนเจา ของ ซึ่งควบคมุ เด็มโกโ ดยผานคณะกรรมการเดม็ โกท ่ีเลือกตงั้
เขามานอกเหนือจากสิทธิในการเขารวมประชุมและลงคะแนนเสียงในที่ประชุมผูถือหุน ผูถือหุนรายหนึ่งมีคะแนนเสียง
เทากับจำนวนหุน ท่ีตนถือและสทิ ธใิ นการตดั สินใจเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงทีส่ ำคัญ นอกจากนั้น เด็มโกส งเสริมใหผูถ ือหุน
ไดสิทธิขั้นพื้นฐานอ่ืน ๆ เชน สิทธิการไดรับสวนแบงผลกำไร/เงินปนผล การเปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอเร่ืองเพ่ือบรรจุเปน
วาระการประชุม และสามารถสง คำถามเกี่ยวกับการบรหิ ารจัดการรวมถึงการดำเนินงานของบริษัทลว งหนา กอนวันประชุม
ผถู ือหุน สทิ ธิการแสดงความคดิ เห็นและซกั ถามในการประชมุ ผูถ ือหุน เพื่อรวมตัดสนิ ใจ และอนมุ ัติในเร่อื งสำคัญของเด็มโก
ไดแก วาระการพิจารณาคาตอบแทนกรรมการทุกรปู แบบ วาระอนุมัติจายเงินปนผล จะมีการแจงนโยบายการจายเงินปน
ผลของบริษทั อัตราเงินปนผลที่เสนอจาย พรอมทั้งเหตผุ ล และขอมูลประกอบวาระการเลือกตั้งกรรมการ เด็มโกจ ะเสนอ
ชื่อกรรมการให ผูถือหุนลงคะแนนทีละคน โดยในหนังสอื เชิญประชุมผูถือหุน เด็มโก ระบุชื่อ นามสกุล พรอมแนบประวตั ิ
ยอของกรรมการแตละคนที่เสนอแตงตั้ง เชน อายุ ประวัติการศึกษา ประวัติ การทำงาน จำนวนบริษัทที่ดำรงตำแหนง
กรรมการที่แยกเปนบริษัทจดทะเบียน หรือบริษัททั่วไป หลักเกณฑและวิธีการสรรหา ประเภทกรรมการที่เสนอ เชน
กรรมการ หรอื กรรมการอสิ ระ หากกรณเี สนอชอ่ื กรรมการเดิมกลบั เขารับดำรงตำแหนงใหม เดม็ โกจ ะใหขอมูลการเขารวม
ประชุมในปที่ผานมา และวันเดือนปที่ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการเด็มโก วาระกำหนดคาตอบแทนจะเสนอนโยบาย
กำหนดหลักเกณฑการใหคาตอบแทนสำหรับกรรมการแตละตำแหนง วาระแตงตั้งผูสอบบัญชี จะเสนอแตงตั้งสำนัก
งานสอบบัญชีที่เปนอิสระ เปนผูสอบบัญชีเด็มโกรวมทั้งเปดเผยคาบริการตรวจสอบบัญชี และคาบริการอื่น ๆ และการ
อนุมัติธุรกรรมที่สำคัญที่มีผลตอทิศทางการดำเนินธุรกิจของเด็มโก เปนตน โดยคณะกรรมการบริษัท ไดกำหนดนโยบาย
กำกับดูแลกิจการไวชัดเจนวา เด็มโก จะสง เสรมิ ตอผถู ือหนุ ใหไ ดใชส ิทธิขั้นพนื้ ฐาน โดยเดม็ โกจะไมก ระทำการใด ๆ อันเปน
การละเมิดหรือจำกัดสิทธิของผูถือหุน และเด็มโกไ ดย ึดถือแนวปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกจิ การที่ดี จะไมเพิม่ ระเบยี บ
วาระในการประชุมโดยไมไ ดแ จง ใหผถู อื หนุ ทราบลวงหนา และใหผูถือหุนไดมโี อกาสศกึ ษาขอมูลประกอบวาระกอนตดั สินใจ

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 113
บริษัท เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

(2) เดม็ โกไดใ หค วามสำคญั ตอ การประชมุ ผูถอื หุน โดยเนนเรอื่ งการจัดสถานท่ีใหเหมาะสม และสะดวกตอ การเดินทาง มารวม
ประชุมของผูถือหุน โดยจะแจงสถานที่ แผนที่สถานที่จัดประชุม เสนทางการเดินทางอยางละเอียดใหกับผูถือหุนและผูจะ
เขา รวมประชมุ รวมถงึ การใหจ ัดประชมุ แบบผา นสือ่ อีเลก็ ทรอนกิ ส (E-Meeting) ดว ย

(3) เดม็ โก ไดกำหนดใหม ีการประชุมสามัญผูถอื หนุ ปล ะคร้งั ภายในระยะเวลาไมเกิน 4 เดอื นนับแตวนั สน้ิ รอบปบ ัญชีของเด็มโก
โดยเปดเผยกำหนดวันจดั ประชุมสามญั ผูถ อื หุนประจำป ใหผถู อื หุน ทราบลวงหนากอนวนั ประชมุ ประมาณ 2 เดือน เพ่ือให
ผูถือหุนสามารถวางแผนตารางเวลาในการเขารวมประชุมได โดยแจงตั้งแตปลายเดือน กุมภาพันธ ภายหลังจากที่
คณะกรรมการบริษัท มมี ตใิ หกำหนดวันประชุมสามญั ผถู อื หนุ ประจำป รวมทง้ั ไดแจงกำหนดรายช่ือผถู อื หุนที่มีสิทธิเขารวม
ประชมุ สามญั ผูถือหนุ ประจำป และวันปด สมุดทะเบียนเพอ่ื สิทธิในการรับเงนิ ปนผล (ถา มี)

(4) ในป 2564 เด็มโก ไดกำหนดจัดประชุมสามัญผูถือหุนประจำป ในวันที่ 27 เมษายน 2564 แตเนื่องจากสถานการณการ
แพรระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหมเดือนเมษายน 2564 คณะกรรมการบริษัทจึงพิจารณาเลื่อนการประชุมเปน วันที่
12 พฤษภาคม 2564 และเปลี่ยนรูปแบบการจัดประชุมเปนการประชุมผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (E-AGM) แทน โดยการ
ประชุมจัดตามพระราชกำหนดวาดวยการประชมุ ผา นส่ืออีเล็กทรอนกิ ส พ.ศ. 2563 และขอบงั คับของบริษทั

(5) ท้งั น้แี มจ ะอยูภ ายใตสถานการณการระบาดของโรคโควิด 19 เด็มโก ไดป ฏบิ ตั ิตามแนวทางของโครงการประเมินคุณภาพการ
จัดประชุมผูถอื หนุ (AGM Checklist) ของสมาคมสงเสรมิ ผูล งทนุ ไทย สมาคมบริษทั จดทะเบยี น และสำนักงานคณะกรรมการ
กำกับหลักทรพั ยแ ละตลาดหลกั ทรัพย (ก.ล.ต.) โดยในป 2564 เดม็ โกไดร บั คะแนนการประเมนิ เตม็ 100 คะแนน

(6) เด็มโกไดสงหนังสือเชิญประชุมใหแกผูถือหุน 14 วันลวงหนา กอนวันประชุม โดยหนังสือเชิญประชุมมีขอมูลรายละเอยี ด
ประกอบวาระการประชุมอยางเพียงพอ และครบถวน พรอมทั้งความเห็นของคณะกรรมการบริษัท แยกเรื่องแตละวาระ
อยางชัดเจน หนังสือมอบฉันทะ แบบ ข แบบ ค ตามแบบที่กระทรวงพาณิชยก ำหนด คำช้ีแจงวิธีการมอบฉันทะ ขอบังคับ
บริษัท เฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมผูถือหุน รายชื่อ และรายละเอียดของกรรมการอิสระ ที่เสนอใหเปนผูรับมอบฉันทะ
เพ่อื ใหผถู ือหุนสามารถเลอื กท่จี ะมอบฉันทะใหป ระชุมแทนได เงอ่ื นไข หลักเกณฑ และวิธปี ฏิบัตใิ นการเขารว มประชุม การ
มอบฉันทะ และการออกเสยี งลงคะแนน แผนทแี่ สดงสถานทีป่ ระชมุ สง ใหผ ูถอื หนุ ทราบลวงหนา กอนวนั ประชมุ นอกจากนี้
เด็มโกไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุม กำหนดการประชุม และขอมูลตา ง ๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุม และหนังสือ
มอบฉันทะทุกแบบทางเว็บไซต ของเด็มโก (WWW.DEMCO.CO.TH) ทั้งภาษาไทย ภาษาองั กฤษ เปนการลวงหนากอนวัน
ประชุม 30 วัน และแจงใหผูถือหุนทราบเมื่อมีการเผยแพรขอมูลดังกลาวผานระบบการเผยแพรขาวสารของตลาด
หลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งเปนขอมูลเดียวกับที่เด็มโกจดั สง ใหก ับผูถือหุน และใชในการประชุม เพ่ือใหผูถือหุนมีเวลา
พิจารณารายละเอียดแตละวาระ สำหรับผูถือหุนที่ไมสะดวกเขารวมประชุมดวยตนเอง เด็มโกไดเสนอใหมอบฉันทะ
ใหกรรมการอสิ ระ หรือบุคคลอ่นื เขารว มประชมุ และลงคะแนนเสยี งแทน

(7) ในวันประชมุ ผถู อื หนุ เดม็ โก ไดอำนวยความสะดวกใหแกผ ถู ือหุน และนักลงทนุ สถาบันอยางเทา เทียมกันทกุ ราย ไมม ีลักษณะ
กดี กันหรือสรางภาระใหผ ถู อื หนุ สำหรบั การประชมุ สามญั ผถุ ือหุน ประจำป 2564 เน่ืองดว ยสถานการณก ารแพรร ะบาดของ
โรคโควิด 19 เด็มโก ไดจัดการประชุมผานสื่ออีเล็กทรอนิกส ตามพระราชกำหนดวาดวยการประชุมผานสื่ออีเล็กทรอนิกส
พ.ศ. 2563 เพ่อื ใหผูถือหนุ ทกุ ทานสามารถเขารว มประชมุ ไดอยา งสะดวกและปลอดภยั โดยไดส ง หนังสอื แจง ใหผูถือหุนทราบ
ลวงหนากอนวันประชุม และจัดทำคูมือการลงทะเบียนและยืนยันตัวตนใหผูถือหุนสามารถดำเนินการไดลวงหนากอนการ
ประชุมผานลิงคหรอื การสแกนคิวอารโคด พรอมทั้งจัดใหมีเจาหนาที่ดูแลระบบเพื่อใหคำแนะนำ ตอบขอซักถาม และแกไข
ปญหาเกี่ยวกับการลงทะเบียนและยืนยันตัวตนในการเขารวมประชุมผานสื่ออีเล็กทรอนิกส อีกทั้งยังไดนำระบบการนับ
คะแนนเสยี งผานส่ืออีเล็กทรอนิกสม าใชเ พื่อการประมวลผลการลงคะแนนใหเปนไปอยา งรวดเร็วและแมนยำยงิ่ ข้นึ

(8) คณะกรรมการและผบู รหิ ารเด็มโกไ ดใ หค วามสำคัญในการเขารวมประชุมสามัญผูถือหนุ เวน แตกรรมการท่ตี ดิ ภารกจิ สำคัญ
ไมสามารถเขารวมประชุมได โดยในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2564 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2564 กรรมการ
บริษัทที่เขารวมประชุมประกอบดวย ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ประธาน
กรรมการสรรหา พจิ ารณาคาตอบแทนและกำกับดูแลกจิ การ กรรมการสรรหา พิจารณาคา ตอบแทนและกำกับดูแลกิจการ
ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร กรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร ประธานกรรมการลงทุน กรรมการลงทุน

114 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

ประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการผูจัดการ เลขานุการบริษัท และผูบริหารระดับสูงรวมถึงผูบริหารสูงสุดดานการเงิน
(CFO) รวมช้แี จงรายละเอยี ดวาระตาง ๆ ตอบขอ ซกั ถาม และรบั ฟง ขอ เสนอแนะของผูถือหุน
(9) จัดใหมีที่ปรึกษากฎหมายที่เปนอิสระจากภายนอก (Inspector) เพื่อทำหนาที่ดูแลใหการประชุม ผูถือหุนเปนไปอยาง
โปรงใสถูกตองตามกฎหมายและขอบังคับของเด็มโก ไดแก กระบวนการตรวจสอบเอกสารของผูถือหุน หรือผูรับมอบ
ฉันทะที่มีสทิ ธิเขารว มประชมุ ผูมีสวนไดเสียที่ใชส ิทธิออกเสียง วิธีการนับคะแนน โดยในการนับคะแนนนัน้ ตองสอดคลอง
กับขอบังคับของเด็มโก ตองมีการตรวจสอบผลของมติกับผลของการลงคะแนนเสียงจากบัตรลงคะแนนวาถูกตองตรงกัน
ทง้ั น้ใี นการประชมุ สามญั ผถู ือหุน ประจำป 2564 เด็มโกไ ดจ ัดใหมกี ารประชุมผานสอื่ อเี ลก็ ทรอนิกส เทานั้น และเพื่อความ
โปรง ใส จงึ ไดจ ัดใหมีผูตรวจสอบการนับคะแนนเสียงในทุกระเบียบวาระอกี ดว ย
(10) การประชุมดำเนินการไปตามลำดบั ของระเบียบวาระการประชมุ ที่กำหนดไวในหนังสอื เชิญประชุมที่ไดแ จงใหผูถือหุนทราบ
ลวงหนา มีการระบุวัตถุประสงคและเหตุผลของแตละวาระท่ีเสนอ พรอมความเห็นของคณะกรรมการ ประธานในที่ประชุม
เปดโอกาสใหผูถ ือหนุ แสดงความคดิ เหน็ และซักถามเรื่องตา ง ๆ ในแตละวาระ โดยกอ นเริม่ พิจารณาวาระประชุม ประธานใน
ท่ปี ระชมุ ไดมอบหมายใหเ ลขานุการบริษทั อธิบายถึงวธิ กี ารอภปิ ราย และการออกเสียงลงคะแนนรวมถึงวิธกี ารนบั คะแนนของ
ผถู อื หุน ทล่ี งมตใิ นแตละวาระตามขอบังคบั ของเด็มโกใหผูถือหนุ ทราบกอนเรมิ่ การประชุม และมกี ารใชบ ัตรลงคะแนน
(11) ประธานกรรมการถือเปน ตัวแทนของคณะกรรมการทัง้ คณะเขารวมประชุมผูถ อื หุนทุกคร้ัง เพื่อพบปะและตอบคำถามผูถือหนุ
รวมทั้งผูบริหารสูงสุดของบริษัทเขารวมประชุมผูถือหุนทุกครั้ง เพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับการบริหารจัดการบริษัทตอผูถือหุน
นอกจากนั้นประธานคณะกรรมการชดุ ยอยทุกชุด ไดเ ขา รว มในการประชมุ ผถู ือหุนทุกครัง้ เพ่ือตอบคำถามผถู อื หนุ ในประเด็นท่ี
เกี่ยวขอ งกับคณะกรรมการชุดยอย ดำเนินการประชุมอยางเหมาะสมและโปรงใส จัดสรรเวลาการประชุมอยางเพยี งพอ โดยใน
ระหวางการประชมุ จะเปดโอกาสใหผถู ือหุนไดแสดงความคดิ เหน็ และซกั ถามอยางทว่ั ถงึ กอ นจะลงคะแนนและสรปุ มติท่ีประชุม
แตละวาระ ในระหวางการประชุมถาคำถามใดไมเกี่ยวของกับการพิจารณาในวาระนั้น ๆ ประธานกรรมการ หรือผูบริหาร
ระดบั สูงจะนำไปตอบขอซกั ถามในวาระอ่นื ๆ เพ่อื ใหก ารใชเ วลาในการพจิ ารณาแตละวาระเปนไปอยา งเหมาะสม
(12) เด็มโกใหสิทธิผูถือหุนที่มาลงทะเบียนเขา รวมประชุมไดภ ายหลังเร่ิมการประชุมแลว และมีสิทธอิ อกเสยี งหรือลงคะแนนใน
วาระท่อี ยรู ะหวางการพิจารณาและยงั ไมไ ดล งมติ
(13) เดม็ โกไ ดแ จง มติทป่ี ระชุมผูถือหนุ ตอ ตลาดหลกั ทรพั ยแหงประเทศไทย และบนเวบ็ ไซตข องเดม็ โก ทนั ทใี นวันประชมุ ผูถือหุน
และจัดทำรายงานการประชมุ ผถู ือหุนสง ตลาดหลกั ทรัพยแหงประเทศไทย ภายใน 14 วนั นบั จากวนั ประชุม โดยไดบันทึก
ขอมลู อยางถกู ตอง ครบถวน และชัดเจน เกย่ี วกบั รายชื่อกรรมการที่เขารว มประชุม และไมเขารว มประชมุ คำถาม-คำตอบ
คำชี้แจงทเี่ ปน สาระสำคญั ผลการลงคะแนนในแตละวาระแยกเปน คะแนนทเี่ หน็ ดว ย ไมเ หน็ ดวย หรอื งดออกเสยี ง รวมท้ัง
เผยแพรม ติท่ปี ระชมุ และรายงานการประชมุ ผา นเวบ็ ไซตข องเด็มโก www.demco.co.th
(14) เดม็ โกเ ปดเผยโครงสรา งการถอื หุนในบริษัทยอย และบริษัทรวมอยางชัดเจนไวในรายงานประจำป เพอื่ ใหผ ูถอื หุนมน่ั ใจวามี
โครงสรางการดำเนินงานทีม่ คี วามโปรงใส และตรวจสอบได

หมวดท่ี 2 การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ ือหนุ้ อยา่ งเท่าเทยี มกนั
เพื่อใหผูถือหุนมั่นใจไดวา เด็มโกใหความสำคัญตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมและเปนธรรม คณะกรรมการบริษัทได

กำกับดูแลใหเด็มโกมีการดำเนินการท่ีรักษาสิทธิพื้นฐานที่ผูถือหุนพึงไดรับอยางเทาเทียมกันและเปนธรรมตามที่กฎหมายกำหนด
รวมถึงการจดั การท่เี หมาะสม มปี ระสทิ ธภิ าพ และใหเ กดิ ประสทิ ธผิ ลสงู สดุ ดังนี้

(1) เปดโอกาสใหผูถือหุนที่มีสัดสวนการถือหุนรวมกันไมนอยกวา รอยละ 2.5 ของจำนวนหุนที่ออกจำหนายแลวทั้งหมดของ
บริษัทโดยอาจเปนผูถือหุนรายเดียว หรือหลายรายรวมกัน สามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการเลือกตั้งเปนกรรมการ
และเสนอวาระการประชุมสามัญผูถ ือหุน สำหรับการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปข องเดม็ โกไดลวงหนากอนการประชมุ
โดยมีหลกั เกณฑซึ่งไดประกาศแจงใหผูถ ือหุนทราบผา นทางเวบ็ ไซตของตลาดหลักทรัพยแ หงประเทศไทยลวงหนา 3 เดือน
กอนส้นิ รอบปบ ญั ชี (ตงั้ แต 1 ตลุ าตม – 31 ธันวาคม ) รวมทั้งไดแจง ใหผ ถู อื หนุ ทราบถงึ หลักเกณฑก ารพจิ ารณาบนเว็บไซต
ของเด็มโกดวย โดยคณะกรรมการจะเปนผพู ิจารณาความเหมาะสมในการบรรจุไวใ นระเบียบวาระการประชมุ ผูถือหุน

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 115
บริษทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

(2) ทั้งนี้ ในการประชมุ สามัญผูถือหุน ประจำป 2564 ไมมีผูถอื หุน รายใดเสนอวาระการประชุมผูถ ือหุนหรือเสนอชือ่ บุคคลเพอื่
รับการพจิ ารณาเลอื กต้งั เปน กรรมการ

(3) ดำเนินการประชมุ ผถู อื หนุ ตามลำดบั ระเบียบวาระท่ีไดแจงไวในหนังสือเชญิ ประชุมเสมอ และมนี โยบายทีจ่ ะไมเ พม่ิ ระเบียบ
วาระการประชมุ โดยไมไดแจงใหผูถ ือหุนทราบลว งหนา ทั้งนี้ เพื่อใหผูถือหุนไดมีโอกาสศึกษาขอ มูลประกอบการพิจารณา
ระเบียบวาระกอนตัดสินใจ

(4) อำนวยความสะดวกใหผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเอง สามารถใชสิทธิออกเสียงดวยการมอบฉันทะให
กรรมการอสิ ระ หรอื บคุ คลใด ๆ เขารว มประชมุ แทนตนเองได โดยใชห นงั สือมอบฉนั ทะแบบหนึง่ แบบใดทเ่ี ด็มโกไ ดจ ัดสงไป
พรอมกับหนังสือเชิญประชุม ซึ่งเปนรูปแบบที่ผูถือหุนสามารถกำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงเองได ตามแบบที่กรม
พัฒนาธรุ กิจการคา กระทรวงพาณชิ ยกำหนด โดยเด็มโก ไดแนบเอกสารและหลักฐาน ทีผ่ ูเขา รวมประชมุ ตองแสดงกอ นเขา
รวมประชุม วิธีการมอบฉันทะ การลงทะเบียน และการออกเสียงลงคะแนนไปพรอมกับหนังสือเชิญประชุม พรอมทั้งมี
ขอมูลของกรรมการอิสระท่ีเดม็ โก กำหนดใหเ ปน ผูรับมอบฉันทะจากผูถือหนุ และเปนกรรมการอิสระท่ีมิไดมีสวนไดเสียใน
วาระการพจิ ารณาเลอื กตัง้ กรรมการไวในหนงั สอื เชญิ ประชมุ ทงั้ น้ี ผูถ ือหนุ สามารถ ดาวนโหลดแบบหนังสอื มอบฉนั ทะผาน
เว็บไซตของเด็มโกไ ด

(5) จัดใหมเี อกสารเชิญประชุมผูถือหุน เปน 2 ภาษา คือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำหรับผูถอื หุนชาวไทยและชาวตางชาติ
รวมทง้ั จดั ใหม ีพนักงานท่ีมคี วามเช่ียวชาญทางภาษา คอยใหความสะดวกแกผถู อื หนุ ชาวตา งชาติในกรณีทม่ี ีผถู อื หุนซักถาม
ขอสงสยั หรอื อภปิ รายในทีป่ ระชมุ โดยเดม็ โกจะจัดใหม กี ารส่ือสารที่เหมาะสม พรอมทงั้ มกี ารแปลเปนภาษาไทยทั้งคำถาม
และคำตอบสำหรับผูเขาประชุมทานอืน่ ในที่ประชุมเพื่อรักษาผลประโยชน และอำนวยความสะดวกในการสื่อสารทั้งผูถอื
หนุ ชาวไทย และชาวตางชาติ

(6) สำหรับผูถือหุนที่เขาประชุมผานสื่ออีเล็กทรอนิกส เด็มโกไดจัดทำระบบออกเสียงลงคะแนนผานสื่ออีเล็กทรอนิกส และนำผล
คะแนนทีผ่ ถู ือหุนลงคะแนนผา นระบบอเี ลก็ ทรอนิกส มารวมคำนวณกับคะแนนเสยี งท่ผี ถู อื หุนไดล งไวล วงหนาในหนงั สอื มอบฉันทะ
กอ นประกาศผลคะแนนเสยี งและมติท่ปี ระชุม และเพอ่ื ความโปรงใส เด็มโก ใหทปี่ รึกษาอิสระจากภายนอกเปน สกั ขีพยานในการนับ
คะแนน ตรวจสอบความถูกตอ ง และจัดเกบ็ รายงานการลงคะแนนเสียงของผถู อื หนุ ไว เพ่อื การตรวจสอบในภายหลังดว ย

(7) ในวาระเลอื กตั้งกรรมการ เดม็ โกเปด โอกาสใหผ ถู อื หุนไดใชส ิทธใิ นการเลือกตั้งกรรมการ เปน รายบคุ คล โดยผูท ร่ี ับคะแนนเสียง
เห็นดวยสูงสุดตามจำนวนกรรมการที่พึงไดรับเลือกตั้งในครั้งนั้น จะไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการ นอกจากนั้นกรรมการที่
ไดร ับเลือกตัง้ แตละคนจะตอ งไดค ะแนนเสียงกวา กึ่งหนง่ึ ของจำนวนผูถือหนุ ที่มาประชมุ และออกเสียงลงคะแนนดวย

(8) เด็มโก กำหนดใหคณะกรรมการ และผูบริหารของเด็มโก ตามคำนิยามของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรพั ยและ
ตลาดหลักทรัพย(ก.ล.ต.) ตองรายงานการมีสวนไดเสีย และความขัดแยงทางผลประโยชนของตน และบุคคลที่มีความ
เกี่ยวของ ซึ่งเปนสวนไดเสียที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการของเด็มโก หรือบริษัทยอ ย และเมื่อเขาดำรงตำแหนง เปน ครงั้
แรก และใหร ายงานทุกคร้ังเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขอมลู การมสี วนไดเสยี ตามแบบท่ีคณะกรรมการเห็นชอบ ใหแกประธาน
กรรมการตรวจสอบ เพ่อื ใหส ามารถใชข อมลู ดงั กลาวในการตรวจสอบ และปอ งกันความขดั แยงทางผลประโยชน

(9) การใหส ิทธิผูถ ือหุน มีสทิ ธิออกเสยี งท่ีเทา เทียมโดยถอื วา หนุ แตล ะหนุ มคี ะแนนเสียงหน่งึ เสียง
(10) ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท หากกรรมการคนหนึ่งคนใดมีสวนไดเสียกับผลประโยชนในเรื่องที่กำลังพิจารณา

กรรมการที่มสี วนไดเ สียจะตอ งไมม สี วนรวมในการตดั สินใจในเรอ่ื งนั้น โดยอาจไมเ ขา รวมประชมุ หรอื งดออกเสียง เพ่ือให
การตัดสนิ ใจของคณะกรรมการบริษัทเปนไปอยา งยตุ ธิ รรม และเปน ประโยชนของผถู ือหนุ อยา งแทจรงิ
(11) เด็มโก กำหนดองคประชุมขั้นต่ำ ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติตองมีคณะกรรมการไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจำนวน
กรรมการทง้ั หมดดว ย

116 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เด็มโก จำกัด (มหาชน)

หมวดท่ี 3 การปฏิบตั ิตอ่ ผถู้ ือหนุ้ อยา่ งเท่าเทียมกนั
เด็มโกมีเจตนารมณสงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางบริษัทกับผูมีสวนไดเสียในการสรางความมั่นคงทางการเงิน และ

ความยง่ั ยืนของกิจการ เดม็ โกไดม ีการดแู ลและคำนึงถงึ ผูมสี วนไดเ สียทุกกลุมโดยคำนงึ ถึงสทิ ธิของผูมีสวนไดเ สียตามกฎหมาย หรือ
ขอตกลงที่มีกับบริษัท และไดกำหนดแนวทางปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสีย ดังที่ไดกำหนดเปนจริยธรรม และจรรยาบรรณในการ
ประกอบธรุ กิจ จรรยาบรรณกรรมการและพนักงาน มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของผบู รหิ าร และพนกั งาน

เพ่อื เปนการแสดงถึงพนั ธะสัญญาทีจ่ ะรวมกันยดึ ถอื สาระสำคัญในแนวทางการปฏิบัติงาน เพื่อสรางความมั่นใจวาเด็มโกจะ
พัฒนาระบบการจัดการใหเหมาะสม เนนการสรางประโยชนสูงสุด แกผูถือหุน ตลอดจนคำนงึ ถึงผูมีสวนไดเสีย มีความรับผิดชอบ
ตอสังคม และสิ่งแวดลอม จึงใหบคุ ลากรทุกระดับของเดม็ โกทำความเขาใจลงนามรบั ทราบ และยอมรับเปนหลกั ปฏิบัติของเด็มโก
ตอผูมสี วนไดเ สยี ดงั น้ี
ผถู อื หนุ

• เด็มโก มุงมั่นในการเปนตัวแทนท่ีดีของผูถอื หุนในการดำเนินธุรกิจอยางโปรงใส ตรวจสอบได โดยคำนึงถึงความเจริญเติบโต
ของมูลคา บรษิ ทั ในระยะยาว และผลตอบแทนทด่ี ี

• เด็มโก ยึดมั่นในการปฏิบัติหนาที่ มีคุณธรรม ความซื่อสัตย สุจริต เปนธรรม โดยคำนึงถึงผูถือหุนทั้งรายใหญ และรายยอย

หรอื ผลประโยชนของกลุม ผูเ กย่ี วของโดยรวม

• เดม็ โก บริหารกจิ การของเดม็ โกใ หมคี วามเจริญกา วหนา ม่ันคง และกอใหเกิดผลตอบแทนทด่ี ีแกผ ูถือหุน

• เดม็ โก เปด เผยขอมลู และสารสนเทศทงั้ ทางการเงินและไมใ ชทางการเงนิ ท่เี กยี่ วขอ งกับธรุ กิจ และผลประกอบการของเด็มโก
ที่เปนจริงอยางครบถวนเพียงพอ สม่ำเสมอ ทันเวลา และแสดงใหเห็นสภาพของการประกอบการ และสภาพทางการเงินที่
แทจ รงิ ของเดม็ โก

พนักงาน
• เด็มโก ถือวาพนักงานเปนทรพั ยากรที่สำคัญ เปนปจจัยหน่ึงสูความสำเร็จ คณะกรรมการจึงมีนโยบายเก่ียวกับการดูแลเรือ่ ง
คาตอบแทน และสวัสดิการของพนักงาน และเปดเผยระเบียบวาดวยสิทธิประโยชนของพนักงาน โดยการแจงเปน
หนงั สอื เวยี นใหพนักงานรบั ทราบ และลงไวใน Intranet สงเสริมใหมีการพัฒนาศักยภาพ ความรู ความสามารถของพนักงาน
ทกุ ระดับ อยางสมำ่ เสมอและเทา เทยี ม เพือ่ เพิ่มประสทิ ธิภาพ และประสิทธผิ ลในการปฏบิ ตั งิ านอยางตอ เนอื่ งตลอดทงั้ ป
• เด็มโก จัดใหมีชองทางรับเรื่องรองเรียน หากมีปญหาระหวางพนักงาน หรือระหวางพนักงานกับผูบังคับบัญชา พนักงานมี
สิทธิรอ งทุกข โดยผูที่รับผิดชอบดำเนินการตามหลักเกณฑ และขั้นตอนที่กำหนดไว และหากพิสูจนไดว ากระทำไปโดยสุจริต
จะไดร บั ความคมุ ครองโดยไมส งผลกระทบใด ๆ ซ่ึงเด็มโก จะไมถอื เปน การเลิกจาง หรอื การพจิ ารณาลงโทษทีจ่ ะสงผลเสียตอ
พนักงานหรือผทู เ่ี กยี่ วของแตป ระการใด
• เด็มโก มีนโยบายการอนุรักษพลังงาน และแนวทางในการบริหารจัดการส่ิงแวดลอม ซึ่งถือเปนหนาที่ของบุคลากรทกุ ระดับ
ของเด็มโกที่ตองรวมมือกันใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด ภายใตแนวคิด Green Business
and Infrastructure

• เด็มโก ไดมแี นวทางในการพัฒนาบุคลากรที่ชัดเจนพรอมทัง้ ปฏิบตั ิกับพนกั งานอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน มีการสำรวจ
ความพงึ พอใจของพนักงาน ภายใตโ ครงการ I DEMCO พรอมทัง้ ใหค วามมน่ั ใจในคุณภาพชีวติ ตลอดเวลาการทำงาน และการ
ใหผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม และเปนธรรม เชน การจัดใหการตรวจสุขภาพประจำป การจัดใหมีสวัสดิการ
ประกนั ชีวิตกลมุ การจดั ใหม กี องทุนสำรองเล้ียงชพี เปน ตน

• เด็มโก ดูแลความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน มีมาตรการไมนอยกวาที่กฎหมายกำหนด ตาม
มาตรฐานสากลกับดำเนินการเพื่อควบคุม ปองกันความสูญเสียในรูปแบบตาง ๆ อันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ อัคคีภัย การ
บาดเจ็บหรือเจ็บปวยจากการทำงาน ตลอดจนรักษาสภาพแวดลอมในการทำงานที่ปลอดภัยตอพนักงาน บริษัทจัดใหมี
อปุ กรณค วามปลอดภัยอยา งเพยี งพอและเหมาะสม รวมถงึ การจดั เตรยี มอปุ กรณแ ละส่งิ อำนวยความสะดวกในการทำงานให
มีความพรอมตลอดจนการลดขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติงานเพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลของการดำเนินงาน

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 117
บริษทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

รัฐบาล
• เดม็ โก ถอื ปฏบิ ตั ิเพ่ือแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ ภาครัฐ โดยดำเนินธุรกิจภายใตข อกำหนดของกฎหมายและระเบยี บตาง ๆ ของ
หนวยงานท่กี ำกับดแู ลอยางเครงครดั และใหการสนับสนุนโครงการจากภาครัฐ โดยมเี ปา หมายเพื่อประโยชนสงู สดุ ของสงั คม
สวนรวม พรอ มทงั้ ใหความรว มมือในการใหขอมลู ขาวสารท่ีครบถว น ถกู ตองตามที่หนวยงานภาครฐั รองขอ เพ่ือแสดงถงึ ความ
โปรง ใส ตลอดจนสรา งความมัน่ ใจ และความเชอื่ ถือรวมกัน

สงั คม ชมุ ชน และสิง่ แวดลอม
• เด็มโก ไดแบงปนคุณคาขององคกร โดยการสงเสริมการปลูกจิตสำนึกในเรื่องของการดูแลสุขภาพ และความปลอดภัยกับ
ผูรวมงาน และชุมชนรอบดาน ผานการออกหนวยแพทยเคลื่อนที่ของมูลนิธิแสงไซกี่ และการชวยเหลือเพื่อนมนุษยโดย
บริษัทรวมกับโรงพยาบาลราชวิถี สภากาชาดไทย เปดรับบริจาคโลหิตจากผูบริหาร พนักงาน และประชาชนทั่วไปอยาง
สม่ำเสมอทุก 3 เดือน ณ ที่ทำการของบริษัท รวมถึงการตรวจสอบความปลอดภัยของระบบไฟฟาใหกบั โรงเรียน และวัด ใน
ชมุ ชนใกลเคียงของบรษิ ัท

• เด็มโก ใหความสำคัญในความรับผิดชอบตอ สงั คม และสิ่งแวดลอม โดยเด็มโกม งุ มน่ั ทจี่ ะบรหิ ารจัดการเพมิ่ ผลกระทบเชงิ บวก
และลดผลกระทบเชิงลบ เพื่อใหเด็มโกอยูรวมกับชุมชน และสังคมในพื้นที่ปฏิบัติการโดยสรางความเขาใจอันดีตอกันรวม
แกป ญ หาเพื่อสรางความเชอื่ ม่นั แกช ุมชนและสงั คมไดอ ยางยั่งยนื

คคู า
• เด็มโก จะดำเนินการคัดเลือกคูคาตามหลักเกณฑ คุณสมบัติ คุณลักษณะ ที่ไดกำหนดไวในขอ กำหนดของเด็มโก รวมถึงการ
จัดซอื้ จดั หา ท่มี หี ลกั เกณฑ และข้ันตอนตามระเบียบและขอ กำหนดของเดม็ โก วา ดวยนโยบายและระเบียบการจดั ซอ้ื จัดหา
ดำเนนิ การอยางโปรง ใสใหขอมลู แกค คู าอยางเทาเทียม ถูกตอ ง ไมม ีอคติ ไมเ ลอื กปฏบิ ตั ติ อคูคา รวมถึงเปนการสนับสนุนคูคา
ทดี่ ำเนนิ ธุรกจิ อยา งมจี รยิ ธรรม ซ่ือสัตย สุจริต มีความรับผดิ ชอบตอ สงั คม และส่ิงแวดลอม

• เดม็ โก ยดึ มัน่ ในการปฏบิ ตั ิตามสญั ญา ขอ ตกลง หรอื เงอ่ื นไขตาง ๆ ท่มี ีตอคูค า ของเด็มโก บนพนื้ ฐานของความเสมอภาค และ
เปน ธรรม พรอ มทัง้ สอื่ สารและพฒั นากระบวนการของการดำเนนิ ธรุ กิจทดี่ ี เพ่ือประโยชนสงู สุดทั้งสองฝาย

• เดม็ โก ไมเ รยี กรบั และตอตา นการกระทำหรือผลประโยชนใ ด ๆ ท่ีไมสุจรติ เอารัดเอาเปรียบ แกค คู า

• เด็มโก ไดมีการพฒั นาชองทางและรองเรียนในการติดตอกบั เด็มโก เพื่ออำนวยความสะดวกใหก ับคูคา และผูมีสว นไดเสยี ทงั้
ชองทางออนไลน และออฟไลน พรอมทั้งมสี วนงานท่รี ับผดิ ชอบโดยตรงในการดูแล และรบั เรอ่ื งรอ งเรียน

คแู ขง
• เด็มโก ดำเนนิ ธุรกิจบนการแขงขันเสรี และคำนึงถึงการแขง ขนั อยา งเปนธรรม เดม็ โก ไมท ำความตกลงใด ๆ กับคแู ขง ขนั หรือ
บุคคลใดที่มีลักษณะเปนการลด หรือจำกัดการแขงขันทางการคาหรือสงผลใหเกิดการแขงขันอยางไมเปนธรรม รวมถึงการ
กำหนดราคา การฉอ โกง การประมลู การจดั สรรตลาด และขอตกลงในการจำกัดการจัดหา

• การให หรือแลกเปลี่ยนขอมูลทางธุรกิจของบริษัทแกพันธมิตรทางธุรกิจ หรือกิจการรวมคา เด็มโก จะใหความรวมมือกับ
คูแขงทางการคา หากเปนไปเพือ่ ประโยชนข องผูรับบรกิ าร และตอ งไดร บั อนมุ ัตจิ ากผบู รหิ ารระดับสูงกอ นเสมอ

เจา หนี้
• เด็มโก ปฏิบัติตอเจาหนี้อยางเปนธรรม มีความรับผิดชอบ และโปรงใส โดยปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญาที่มีตอเจาหนี้อยาง
เครงครัด และเทาเทยี มกัน ทัง้ ในแงก ารชำระเงิน และเงื่อนไขอ่นื ใดทไ่ี ดท ำขอ ตกลงไวก ับเจา หนี้ เด็มโกไมใชเงินทุนท่ีไดจาก
การกยู มื เงนิ ไปในทางท่ขี ัดกบั วัตถปุ ระสงคใ นขอตกลงทที่ ำกบั ผูใหกูย มื เงิน ตลอดจนไมใ ชว ธิ กี ารที่ไมส จุ ริต ปกปดขอมูล หรือ
ขอเทจ็ จรงิ อนั จะทำใหเจาหน้เี กดิ ความเสียหาย

ลกู หน้ี
• เด็มโก จะปฏิบัตติ ามสญั ญาขอตกลง หรอื เง่อื นไขตาง ๆ ที่มีตอลกู หนี้โดยไมเ ลอื กปฏบิ ัติในการติดตามเรงรัดหน้สี ิน กรณีที่ไม
สามารถปฏิบัติได ตองรีบเจรจากับลูกหนี้เปนการลวงหนา เพื่อรวมกันหาแนวทางแกไขปญหา และปองกันไมใหเกิดความ
เสียหาย โดยใชห ลกั กฎหมายควบคกู ับหลกั ธรรมาภบิ าล

118 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

• เด็มโก จะดำเนนิ การรายงานขอ มูลลูกหนี้คา งชำระทถ่ี ูกตอ ง ครบถวน และตรงเวลาใหแกล ูกหนี้อยา งสมำ่ เสมอ และจะปฏบิ ตั ิ
ตามกฎหมาย ระเบียบปฏบิ ตั ิ และเงอื่ นไขที่เก่ียวของกับการปฏิบตั ทิ มี่ ตี อ ลกู หน้ี

ลกู คาและประชาชน
• เด็มโก ใหค วามรวมมอื สนบั สนุนการพัฒนาชมุ ชน สง เสริมวฒั นธรรม และคณุ ภาพชวี ติ ของสังคมรอบ ๆ พน้ื ที่ต้ัง และใกลเคียง
หนวยงานของเด็มโก โดยคำนึงถึงทางเลือกที่มีผลกระทบตอความเสียหายของสังคม สิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนใหน อ ยที่สุด
• เด็มโก ไมกระทำการใด ๆ ท่สี งผลเสยี หายตอทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดลอมเกินกวาทีก่ ฎหมายกำหนด
• เด็มโก มุงมั่นในการสรางความพึงพอใจ และความมั่นใจใหกับลูกคา ใหไดรับบริการที่ดี มีคุณภาพ มีมาตรฐานสูงอยาง
ตอเนอื่ ง และจริงจงั

หมวดที่ 4 การเปิ ดเผยขอ้ มูลและความโปรง่ ใส
ในการเปดเผยขอมลู สำคัญของเดม็ โก นอกจากเผยแพรต ามเกณฑที่กำหนดผา นชองทางของตลาดหลักทรพั ยแหง ประเทศ

ไทยแลว เด็มโก จะเผยแพรไวในเว็บไซตของเด็มโก ดวย เชน รายงานประจำป นโยบายการกำกับดูแลกิจการ ขอมูลบริษัท ขาว
ประชาสัมพันธ โดยมีการปรับปรุงเว็บไซตอยางสม่ำเสมอ เพื่อใหผูถือหุนและบุคคลภายนอกสามารถรับขอมูลขาวสารไดทันตอ
เหตกุ ารณ เขา ถึงโดยสะดวก และไดร บั ประโยชนม ากท่สี ุด ดงั น้ี

(1) สารสนเทศท่ีสำคัญของเดม็ โก ประกอบดวย ขอมูลทางการเงิน และขอมูลที่ไมใชทางการเงิน การเปดเผยขอมูลทางการเงนิ
โดยเฉพาะในสวนของงบการเงินนั้นไดผานการสอบทาน/ตรวจสอบจากผูสอบบัญชี วาถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตาม
หลักการบัญชีทีร่ บั รองท่ัวไปและผานความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการบริษัท กอนเปดเผยแกผูถอื
หุน โดยคณะกรรมการบรษิ ัท รายงานความรับผดิ ชอบตอรายงานทางการเงนิ ควบคูกับรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
และรายงานของผสู อบบัญชีในรายงานประจำปดว ย นอกจากน้ี เดม็ โกไดเ ปดเผยรายการระหวา งกัน รวมถงึ บทวเิ คราะหของ
ฝา ยจดั การไวในแบบแสดงรายการขอ มลู ประจำป/ รายงานประจำป (แบบ 56-1 One Report) เปนตน

(2) ขอมูลตาง ๆ ของ เด็มโก ที่ไดเปดเผยแกสาธารณชน ผูถือหุน และนักลงทุน เด็มโกเผยแพรไวในเว็บไซตของเด็มโก
ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เชน ขอมูลบริษัท ประวัติคณะกรรมการ รายงานประจำป รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน
หนงั สอื เชญิ ประชุมผูถ ือหนุ คูมือการกำกับดูแลกิจการของเด็มโก และคมู ือจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของเดม็ โก เปน ตน

(3) เด็มโก ไดเปดเผยประวัติของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดยอย และบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการตามกฎบัตร
จำนวนครั้งของการประชุม และจำนวนคร้ังที่กรรมการแตละคนเขารว มประชุมในแตละป และเปดเผยการจายคาตอบแทน
กรรมการที่เปนไปตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุนและคาตอบแทนผูบริหารระดับสูงไวในแบบแสดงรายการขอมูลประจำป/
รายงานประจำป (แบบ 56-1 One Report) ดวย

(4) เด็มโก จัดใหมีนักลงทุนสัมพันธเพื่อทำหนาที่สื่อสารขอมูลสำคัญตอนักลงทุน นักลงทุนรายยอย ผูถือหุน และนักวิเคราะห
หลักทรัพย โดยเด็มโกไดใหความสำคัญกับการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส และทั่วถึง รวมทั้งการ
นำเสนอผลงาน และการแจงสารสนเทศขององคกรตอนักลงทุนสถาบัน นักลงทุนรายยอย ผูถือหุน และนักวิเคราะห
หลกั ทรพั ย ตลอดจนผเู กยี่ วของ โดยไดเขารวมใหขอมลู ในกจิ กรรม Opportunity Day ของตลาดหลักทรัพยแ หงประเทศไทย
อยางสมำ่ เสมอทกุ ไตรมาส

(5) เด็มโก ไดเปดเผยขอมลู ทัว่ ไป ขอมูลทางการเงิน บทรายงานและการวิเคราะหของฝายจัดการ (Management Discussion
and Analysis : MD&A) ประกอบงบการเงนิ ทุกไตรมาส รวมถึงขอมูลสำคัญอยา งครบถวน ถกู ตอง และทนั เวลา เปน ไปตาม
ขอ กำหนดของสำนกั งานคณะกรรมการกำกบั หลกั ทรัพยและตลาดหลกั ทรัพย (ก.ล.ต.)

(6) จัดทำรายงานขอมูลทางการเงินที่เปนไปตาม มาตรฐานการบัญชีที่ผานการตรวจสอบจากบริษัท ตรวจสอบบัญชีธรรมนิติ
จำกัด ซึ่งไดรับความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) เพื่อใหผูถือหุน
มัน่ ใจวา ขอมลู ท่ีแสดงในรายงานทางการเงินมคี วามถูกตอง

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 119
บรษิ ัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

ท้งั นี้ ตามนโยบายการกำกับดแู ลกจิ การของเด็มโก กำหนดใหก รรมการและผูบริหารระดับสูงตอ งมีการรายงานการถอื ครอง

หลักทรัพยของบริษัทใหที่ประชุมทราบทุกครั้งที่มีการประชุม ในป 2564 การเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยของกรรมการ

และผบู ริหาร เปนดงั นี้

จำนวนหุนที่ จำนวนหุนที่ จำนวนหุนท่ี สดั สวน

ลำดับ รายชื่อ ตำแหนง ถอื ณ วันท่ี ถอื ณ วันที่ เปล่ยี นแปลง การถอื หุน
31 ธนั วาคม 31 ธนั วาคม เพ่ิมข้ึน(ลดลง) ในบริษทั

2563 2564 ในป2564 (%)

1* นางประพีร ปยุ พันธวงศ ประธานกรรมการ 143,372,254 143,637,254 265,000 19.67

2 นายนรศิ ศรีนวล กรรมการอสิ ระ 0 0- 0.00

3 นายเสรมิ ศกั ด์ิ จารมุ นัส กรรมการอิสระ 205,000 205,000 - 0.03

4 นายปราโมทย อินสวาง กรรมการอสิ ระ 0 0- 0.00

5 นายปรญิ ช ผลนวิ าศ กรรมการอิสระ 0 0- 0.00

6 นายปญญ เกษมทรพั ย กรรมการอิสระ 0 0- 0.00

7 นายชยั วัฒน เลศิ วนารินทร กรรมการอิสระ 0 0- 0.00

8 นายสงวน ตังเดชะหริ ญั กรรมการทีไ่ มเปนผูบริหาร 806,060 806,060 - 0.11

9 นายโอฬาร ปยุ พนั ธวงศ กรรมการทไี่ มเ ปนผูบริหาร 1,452,701 1,452,701 - 0.20

10 นายพงษศกั ดิ์ ศริ คิ ปุ ต กรรมการ 4,137,399 4,137,399 - 0.57
และประธานเจา หนาท่ีบริหาร

11 นายไพฑูรย กำชัย กรรมการและกรรมการ 561,557 561,557 - 0.08
ผจู ดั การ

12 นายรกั ษา สารณาคมนก ุล รองกรรมการผูจดั การ 246,939 193,039 (59,900) 0.03

13 นายฉัตรชัย พืชพันธ รองกรรมการผจู ดั การ 86 86 - 0.00

14 นายนรินทร เอกนิพฐิ สริ รองกรรมการผจู ดั การ 0 0- 0.00

15 นางสาวรัชนีวภิ า ปยุ พันธวงศ รองกรรมการผจู ดั การ 244,109 244,109 - 0.03

16 นางสาววรรณฤดี สุวพันธ รองกรรมการผจู ัดการ 224,847 224,847 - 0.03

17 นางสาวอรวรรณ ศริ ิวงศ ผูชว ยกรรมการผจู ัดการและ 79,329 79,329 - 0.01
เลขานุการบริษทั

18 นางสาวสาวิตตรี พง่ึ รัศมี ผูชวยกรรมการผจู ัดการสาย

งานบญั ชี บรหิ ารการเงินและ 0 0 - 0.00

งบประมาณ (CFO)

หมายเหตุ : *ลำดับที่ 1 รวมคูสมรสและบตุ รท่ไี มบ รรลุนติ ภิ าวะ

หมวดท่ี 5 ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ
เด็มโกใ หค วามสำคญั กบั การกำกบั ดแู ลกจิ การท่ีดมี าโดยตลอด จึงไดจดั ทำนโยบายเกีย่ วกบั จริยธรรม และจรรยาบรรณทาง

ธุรกิจ ตลอดจนจริยธรรม และจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ จรรยาบรรณคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ตามระบบ
กำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานใหแกคณะกรรมการ กรรมการผูบ ริหาร และพนักงานของเด็มโก ไวยึดถือ
ปฏิบัติตั้งแตป 2549 ในการทบทวนแกไขปรับปรุงนโยบายกำกับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมและจรรยาบรรณของเด็มโกไดนำ
ประเด็นกระบวนการพิจารณารายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชนใหเปนธรรม การพิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันกับการ
ปฏบิ ัติตามหลกั เกณฑ นโยบายการแจง เบาะแส การติดตาม และการคมุ ครองผูแจง เบาะแส มาเปน เนอื้ หาในการทบทวน ปรับปรุง
ดวย นอกเหนือจากการปรับปรุงสาระสำคญั ใหทนั สมยั มีความเปนสากล สอดคลอ งกับนโยบายการกำกับดแู ลกจิ การท่ีดี หลักการ
กำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบรษิ ัทจดทะเบียน กับหลักเกณฑของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย
(ก.ล.ต.) พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ประกาศและแนวปฏิบัติของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่มีการ
แกไ ขปรบั ปรงุ กับกฎหมายปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ (ปปช.) เพอ่ื เปน แนวทางการปฏิบัตงิ านทีก่ รรมการ ผบู ริหาร

120 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

และพนักงานเด็มโกทุกคนตองรับทราบ และยึดถือเปนหลกั ปฏิบัตอิ ยา งเครงครดั นอกจากนี้สายงานบริหารทรัพยากรบคุ คลยังใช
คูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี เปนเอกสารสำหรับใหความรูแกพนักงานทุกระดับ รวมถึงการปฐมนิเทศพนักงานใหมที่ตอง
กำหนดใหมีหัวขอการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจริยธรรมไวในหลักสูตรพื้นฐานที่ฝายบริหารทรัพยากรบุคคล จัดอบรมพนักงาน
ตามแผนพฒั นาบุคคลของเด็มโก ตามแผนพัฒนาบคุ คลประจำป

ทั้งนี้สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมในเว็บไซตบริษัท www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดูแลกิจการ หรือ
สแกนควิ อารโ คดในสว นทาย

นโยบายบรษิ ัท

เด็มโกกำหนดใหมีนโยบาย และแนวปฏิบัติตา ง ๆ เพื่อใหบคุ ลากรทุกระดับ ของกลุมบริษัทเด็มโก ถือปฏิบัตแิ ละส่อื สาร
ไปยังผูมีสวนไดเสียทุกกลุมเพื่อทราบ โดยไดเปดเผยไวในเว็บไซตของบริษัท www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดูแล
กจิ การ ซ่ึงประกอบดว ยนโยบายตาง ๆ ดงั นี้

นโยบายการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Policy)
เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเส่ียงองคกร (CRMC) โดยความเห็นชอบของ

คณะกรรมการบริษัท ไดก ำหนดกรอบนโยบายการบรหิ ารความเส่ียงไว ดังนี้
(1) สง เสริมใหเ กิดวัฒนธรรมการบริหารความเสีย่ งทั่วท้ังองคกร โดยการใหความรู ความเขา ใจ สรา งจิตสำนกึ และความรับผิดชอบ
รว มกันในเรื่องการบริหารความเส่ยี งแกผ บู รหิ าร และพนกั งานทุกคนในทุกระดบั
(2) กำหนดใหมีกระบวนการ แนวทางและขอ กำหนดตาง ๆ เก่ียวกับการบรหิ ารความเส่ียงทมี่ คี วามเหมาะสม มีประสิทธิภาพสูง
เปน สากลในการกำกบั ควบคมุ ความเสีย่ ง และลดผลกระทบของความเสย่ี ง
(3) มีการระบุความเสี่ยงดานตาง ๆ ขององคกร ดำเนินการวิเคราะหและประเมินความเสี่ยงจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แลวดำเนินการจัดการกับความเสี่ยงนั้น ๆ ควบคุมการดำเนินการติดตาม ประเมินผล และรายงานสถานะความเสี่ยงให
คณะกรรมการบริษัทไดรับทราบอยางสมำ่ เสมอ รวมทง้ั มีการสื่อสารขอมลู เกยี่ วกบั ความเส่ียง อยางทวั่ ถึงตอเนอ่ื งภายในบริษัทดว ย
(4) กำหนดใหทุกหนว ยงาน มีการรายงานเหตุการณที่ไมปรกติ (Incident Report) ที่อาจเปนความเส่ียงนำไปสูผ ลกระทบ หรอื
อาจสรางความเสียหายใหกับบริษัทได โดยระบุโอกาสเกิด (Probability) และถาเกิดแลวมีระดับผลกระทบ (Impact)
เพยี งใด
(5) มีการพัฒนาตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญ (Key Risk Indicators : KRI) ทั้งตัวชี้วัดเชิงปริมาณ เชน จำนวนรายได ผลกำไร /
ขาดทุน การเพิ่มขึ้นของคาใชจาย เปนตน และตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ เชน การครองใจพนักงาน ชื่อเสียงและภาพลักษณของ
บริษทั ระดบั ความพงึ พอใจของลกู คา เปนตน
(6) กำหนดใหมีการระบุเพดานความเสี่ยง หรือขีดความสามารถที่จะรับความเสี่ยง (Risk Limit) จากเหตุการณความเสี่ยง
เพ่ือจำกัดความเสียหายท่อี าจเกิดขนึ้ กบั บรษิ ัท หรอื ผูม ีสว นไดเสีย หรือสาธารณะ
(7) มีการกำหนดเหตุการณที่อาจจะเกิดขึ้น และระดับความเสี่ยงที่เปน Trigger หรือเปนสัญญาณเตือนภัยลวงหนา
(Early Warning Sign) หรือความเสี่ยงวิกฤตฉุกเฉินเฉพาะกิจ (Crisis & Emergency Risk) เพื่อใหผูรับผิดชอบใน
กระบวนการบริหารความเสี่ยง สามารถนำเอามาตรการจัดการกบั ความเสี่ยงมาใชไดอ ยางทันทวงทีเพื่อลดโอกาสเกิด หรือ
ชวยบรรเทาผลกระทบท่อี าจเกิดข้ึนกับบริษัท
(8) กำหนดใหมีระเบียบการปฏิบัติงานที่เปนลายลักษณอักษร เพื่อใหผูบริหารและพนักงานยึดถือปฏิบัติตาม เพื่อใหเกิดการ
กำกบั ควบคุมงาน และเปน การจดั การความเส่ียงในการดำเนนิ งาน
(9) กำหนดใหมีการติดตาม ตรวจสอบ และควบคุมการปฏบิ ัตงิ านดา นการบรหิ ารความเสี่ยงของบริษทั ใหเ ปน ไปตามนโยบายนี้

จากนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังกลาว บริษัทยังกำหนดใหมีคูมือ ที่เกี่ยวของกับการบริหารความเสี่ยง เพื่อใชเปน
แนวทางในการปฏบิ ัติ ประกอบดวย คูมือบรหิ ารความเส่ียง คูมือบริหารจัดการในภาวะวิกฤต และคูมอื การบริหารความเสีย่ งดา น
ทุจริตคอรร ัปชนั และสนิ บน

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 121
บรษิ ัท เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

นโยบายการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั และสนิ บน
คณะกรรมการบริษัทไดใหความสำคัญตอการกำกับดูแลกิจการภายใตกรอบการบริหารจัดการของการมีจริยธรรมที่ดี

มีความโปรงใส สามารถตรวจสอบได รวมถึงการสนับสนุนและสงเสริมใหบ ุคลากรทุกระดับ มจี ิตสำนึกในการตอตานการทุจริตคอรรัปชัน
ทุกรูปแบบ ไมวาทางตรงและทางออม จึงไดก ำหนดใหจ ดั ทำนโยบายและคูมือมาตรการตอตานการทุจริตและคอรรัปชันสินบนขน้ึ
โดยใหถือเปนสวนหนึ่งของนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจของกลุมธุรกิจเด็มโก ใหมีการ
ปฏิบัติที่สอดคลองกับนโยบายที่กำหนดไว รวมถึงใหความสำคัญตอการปฏิบัติตามขอกำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการ
ตอตานการทุจริตคอรรัปชันในทุกรูปแบบ เพื่อใหบุคลากรทุกระดับของกลุมธุรกิจเด็มโก ยึดถือเปนบรรทัดฐานในการปฏิบัติงาน
โดยมุงมั่นท่จี ะสรางใหเ ปน วฒั นธรรมและคานยิ มหนึ่งในองคกร

(1) บุคลากรของกลุมธุรกิจเด็มโก ตองไมดำเนินการหรือเขา ไปมีสวนรวมในการทุจริตคอรรัปชัน การให/รับสินบนทุกรูปแบบ
ทั้งทางตรงและทางออม โดยมีหนา ที่ปฏิบัติตามนโยบายตอตานทุจริตคอรรัปชนั คูมือการกำกบั ดูแลกิจการที่ดี มาตรฐาน
ทางจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดำเนนิ ธรุ กิจ ของกลมุ ธรุ กิจเดม็ โก รวมท้ังระเบียบและขอ กำหนดอืน่ ท่ีเก่ียวขอ ง

(2) บุคลากรของกลมุ ธรุ กิจเด็มโก ตองปฏิบตั ดิ วยความระมัดระวงั เกย่ี วกบั การรับ การใหข องขวญั ทรพั ยสิน หรอื ประโยชนอ่ืนใด
รวมถึงคา บริการตอนรับและคา ใชจายอ่ืน ๆ ทั้งน้ี การใหหรือรับของขวญั และการเล้ียงรบั รอง ตองเปนไปเพื่อวัตถุประสงค
ทางธุรกจิ หรอื ตามประเพณนี ิยมเทาน้ัน โดยมมี ูลคาท่เี หมาะสมและตอ งไมส ง ผลกระทบตอการตดั สินใจในการปฏบิ ตั ิหนาที่

(3) การบริจาคเพือ่ การกุศล และการใหเงินสนับสนนุ ของกลุมธุรกิจเด็มโก มีขั้นตอนการตรวจสอบ อนุมัติ และสอบทานโดย
ตองมีเอกสารหลักฐานชัดเจนและสอดคลองกับระเบยี บของกลุมธุรกิจเด็มโก เพื่อใหมั่นใจวาการบริจาคเพื่อการกุศลและ
เงินสนับสนนุ ไมไดใชเปน ขอ อา งสำหรบั การคอรร ปั ชนั

(4) กลุมธุรกจิ เด็มโก จดั ใหม ีกระบวนการตรวจสอบระบบและขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ านขาย และการตลาด รวมทง้ั งานจัดหาพัสดุ
และทำสัญญาอยางสม่ำเสมอ รวมถึงการประเมินความเสี่ยงตอการเกิดทุจริตคอรรัปชัน การให/รับสินบน และบริหาร
จัดการใหม วี ธิ ีการแกไขทีเ่ หมาะสม

(5) กลุมธุรกิจเด็มโก มีกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่สะทอนถึงความมุงม่ันตอมาตรการตอตานการทุจริตคอรรัปชนั
และสนิ บน และมนี โยบายทจ่ี ะไมลดตำแหนง ลงโทษ หรอื ใหผ ลทางลบตอ บุคลากร ที่ปฏเิ สธการทจุ ริตคอรรปั ชนั การให/ รบั
สินบน แมวาการกระทำนั้นจะทำใหก ลุมธุรกิจเด็มโก สูญเสียโอกาสทางธุรกิจ โดยกลุมธุรกิจเด็มโกมีกระบวนการส่ือสาร
อยางชัดเจนเกี่ยวกบั นโยบายดงั กลา ว

(6) หนวยงานตรวจสอบภายใน มีหนาที่สอบทานการปฏิบัติงานวาเปนไปอยางถูกตอง ตรงตามนโยบาย แนวปฏิบัติ อำนาจ
ดำเนินการ ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย และขอกำหนดของหนวยงานกำกับดูแล เพื่อใหมั่นใจวามีระบบควบคุมภายในที่มี
ความเหมาะสมและเพียงพอตอความเสี่ยงจากการทุจริตคอรรัปชัน การให/รับสินบนที่อาจเกิดขึ้น และรายงานตอ
คณะกรรมการตรวจสอบ และหากพบประเด็นที่มีการปฏิบัติไมสอดคลองกบั นโยบายการตอตานการทุจรติ คอรรัปชันและ
สนิ บน จะตองแจงหนวยงานผูปฏบิ ัติเพอ่ื ใหมกี ารปรบั ปรงุ มาตรการควบคุม

(7) กลุมธุรกิจเด็มโก จัดใหมีขั้นตอนในการเก็บรักษาเอกสารและบันทึกตาง ๆ ใหพรอมตอการตรวจสอบเพื่อยืนยันความ
ถูกตองและเหมาะสมของรายการทางการเงิน ตลอดจนขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อใหมั่นใจวาไมมีรายการใดที่ไมไดรับการ
บนั ทกึ หรือไมส ามารถอธบิ ายได หรือรายการที่เปน เทจ็

(8) กลุมธุรกิจเด็มโก จัดใหมีขั้นตอนเพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการควบคุมภายในของกระบวนการทำบัญชีและการเก็บรักษา
ขอมูลไดรับการตรวจสอบภายในเพื่อยืนยันประสิทธิผลของกระบวนการตามมาตรการตอตานการทุจริตคอรรัปชันและ
สินบน และเพ่ือใหเกดิ ความมน่ั ใจวาการบนั ทึกรายการทางการเงิน มหี ลักฐานอยางเพียงพอเพือ่ ใชในการตรวจสอบ

(9) กลุมธุรกิจเด็มโก จัดใหมีการสื่อสารและฝกอบรมอยางตอเนื่องแกบุคลากรของกลุมธุรกิจเด็มโก เพื่อใหเกิดความรู
ความเขาใจอยางแทจริงเกีย่ วกับมาตรการตอตานการทุจริตคอรรปั ชนั การให/รับสินบน ความคาดหวงั ของกลุมธุรกิจเด็ม
โก และบทลงโทษหากไมปฏบิ ตั ติ ามมาตรการนี้

(10) เด็มโก สอื่ สารนโยบายตอตา นการทจุ ริตคอรรัปชันและแนวปฏิบตั ิไปยังกลมุ ธรุ กิจเดม็ โก คคู า ทางธุรกิจ และผูมีสวนไดเสีย
รวมทั้งสาธารณชน ผานชองทางการสื่อสารที่หลากหลาย เพื่อทราบและนำมาตรการตอตานการทุจริตคอรรัปชัน การให/
รับสินบนไปปฏิบตั ิ

122 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

(11) บคุ ลากรของกลุมธรุ กิจเดม็ โก ไมพ ึงละเลยหรอื เพกิ เฉยเม่ือพบการกระทำทอี่ าจฝาฝนมาตรการตอตา นการทุจริตคอรรัปชัน
และสนิ บน โดยกลุมธุรกจิ เด็มโก จัดใหม ีชอ งทางการแจงเบาะแส รวมทง้ั เมื่อบุคลากรตอ งการคำแนะนำเกีย่ วกับการปฏิบัติ
ตามมาตรการตอ ตา นการทจุ รติ คอรร ัปชนั และสินบน

(12) คณะทำงานพัฒนาความยั่งยนื ของเด็มโก มีหนาที่รายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการตอตา นการทจุ รติ คอรรัปชนั และ
สินบนนตี้ อ คณะกรรมการกำกับดแู ลกิจการและความยง่ั ยนื และคณะกรรมการบรษิ ัท โดยสม่ำเสมออยางนอ ยปล ะคร้งั

(13) หนวยงานตรวจสอบภายในสามารถรายงานประเด็นที่พบอยางเรงดวนตอ กรรมการผูจัดการ ประธานเจาหนาที่บริหาร
และคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ รายงานตอคณะกรรมการบรษิ ัท

(14) กลมุ ธุรกิจเดม็ โกใ หความรว มมอื ใหข อมูลตามความเปน จริงแกห นว ยงานของรัฐที่มหี นา ทต่ี รวจสอบเกี่ยวกับการทุจริตคอร
รัปชัน เชน สำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) สำนักงานคณะกรรมการปองกัน
และปราบปรามการทจุ ริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) สำนักงานคณะกรรมการความรวมมอื ปองกนั การทจุ รติ (ค.ป.ท.) สำนกั งาน
ตำรวจแหง ชาติ ศาล และหนวยงานการตอตานคอรร ปั ชัน เปน ตน

แนวปฏิบตั ิเกีย่ วกับการปอ งกนั และการมสี วนเก่ยี วขอ งกบั การทจุ ริตคอรร ัปชนั และสนิ บน
กลุมธุรกิจเด็มโก ไดกำหนดแนวทางปฏิบัติในการปองกันการมีสวนเกี่ยวของกับการทุจริตคอรรัปชันและสินบน 3 ขอ

ประกอบดว ย
1. กระบวนการในการประเมนิ ความเสย่ี งจากดา นการทุจริตคอรรัปชนั และสนิ บน
กลุมธุรกิจเด็มโก จัดใหมีระบบการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับลักษณะการดำเนินธุรกิจของกลุมธุรกิจเด็มโก
เพื่อปองกันและปราบปรามการทุจรติ คอรรัปชัน การให/รับสินบน โดยระบุเหตุการณที่มคี วามเสี่ยงสงู จากการทุจรติ คอรร ัป
ชันการให/รับสินบนที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินธุรกิจ ประเมินระดับความเสี่ยง ทั้งโอกาสเกิดและผลกระทบ กำหนด
มาตรการตอ ตา นการทุจริตคอรร ปั ชันและสนิ บนท่ีเหมาะสมกบั ความเสย่ี งที่ประเมนิ ได วิธวี ัดความสำเรจ็ ตลอดจนทรัพยากร
ท่ีตอ งใชเพ่อื ลดความเสีย่ ง และมกี ารเฝา ตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏิบตั ิตามแผนการบริหารความเสย่ี งท่ีกำหนดขน้ึ
2. แนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับการกำกบั ดแู ลและควบคมุ ดูแลเพอื่ ปอ งกันและตดิ ตามความเสย่ี งดา นการทจุ รติ คอรร ัปชันและสินบน
กลุมธุรกิจเด็มโก กำหนดใหมีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการกำกับดูแลและควบคุมดูแลเพื่อปองกันและติดตามความเสี่ยง
จากการทุจรติ คอรร ปั ชัน สรุปไดด งั น้ี
2.1 จัดใหมีกระบวนการตรวจสอบ ประเมินระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุมระบบงาน
สำคัญตาง ๆ เชน ระบบการขายและการตลาด การจัดซื้อจัดจาง การจัดทำสัญญา ระบบการจัดทำและควบคุม
งบประมาณ ระบบการบันทึกบัญชี การจายชำระเงิน เปนตน ทั้งนี้เพื่อปองกันและติดตามความเสี่ยงจากการทจุ ริต
คอรรปั ชัน การให/รบั สนิ บน รวมทงั้ ใหขอ เสนอแนะเก่ียวกับแนวทางในการแกไ ขทเ่ี หมาะสม
2.2 จัดใหม ชี องทางการรับแจง ขอ มลู เบาะแส หรอื ขอรองเรยี นการฝาฝน การกระทำผดิ กฎหมายหรือจริยธรรมธุรกิจของ
กลุมธรุ กิจเด็มโก หรือแนวทางปฏิบตั ใิ นการปองกนั การมีสวนเก่ียวของกับการทุจรติ คอรรัปชันการให/รับสนิ บน หรือ
ขอสงสัยในรายงานทางการเงิน หรือระบบการควบคุมภายใน โดยมีนโยบายในการคุมครองผูใหขอมูลหรือเบาะแส
และเก็บรักษาขอ มูลของผูใหขอ มลู เปน ความลับ รวมทงั้ มีมาตรการตรวจสอบและกำหนดบทลงโทษทางวินัยของเด็ม
โก และ/หรอื กฎหมายทเี่ ก่ยี วของ กรณที สี่ ามารถตดิ ตอผใู หเ บาะแสหรือผูรอ งเรียนได กลมุ ธรุ กิจเดม็ โกจ ะแจงผลการ
ดำเนินการใหร บั ทราบเปน ลายลักษณอ ักษร
2.3 หัวหนาหนวยงานที่เกี่ยวของรับผิดชอบในการติดตามการปฏิบัติงาน การปรับปรุงแกไขขอผิดพลาด (ถามี) และ
รายงานใหผูมอี ำนาจส่ังการทราบตามลำดบั
3. แนวทางในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติในการปอ งกันการมีสวนเกี่ยวของกับการทุจริตคอรรปั
ชันและสนิ บน
กลมุ ธุรกจิ เดม็ โก กำหนดใหมแี นวทางในการตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิตามแนวทางปฏบิ ัตใิ นการปอ งกันการมสี ว น
เกี่ยวขอ งกับการทุจริตคอรรัปชนั และสินบน ดังนี้

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 123
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

3.1 กำหนดให ผูบริหารและพนักงาน ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านตนเองเกี่ยวกับการปฏบิ ัตติ ามคูมือการกำกับดูแลกิจการท่ีดี
และจริยธรรมธุรกิจที่กลุมธุรกิจเด็มโก ที่กำหนดขึ้น ซึ่งรวมถึงนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี มาตรฐานทางจริยธรรม
และจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจของบรษิ ทั จรยิ ธรรมวา ดวยการสนบั สนนุ การตอ ตา นการทจุ ริตคอรรัปชนั และสนิ บน
แนวทางปฏิบัตใิ นการปองกนั การมีสว นเกย่ี วขอ งกับการทจุ ริตคอรรปั ชันและสนิ บน และจรรยาบรรณ / ขอพึงปฏิบัติของ
พนกั งาน อยางสมำ่ เสมอ

3.2 จัดใหมีหนวยงานตรวจสอบภายใน ทำหนาที่ตรวจสอบระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับดูแล
กิจการ และใหขอ เสนอแนะอยางตอเนอ่ื ง โดยดำเนินการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจำปท ่ีไดร บั ความเหน็ ชอบ
จากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบทม่ี ีนัยสำคัญและขอ เสนอแนะตอ คณะกรรมการตรวจสอบ

3.3 กำหนดใหหนวยงานตรวจสอบภายใน รับผิดชอบในการทดสอบและประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอรรัปชันและ
สินบน อยางตอเนื่อง เพื่อใหการนำมาตรการตอตานการทุจริตคอรรัปชันและสินบนไปปฏิบัติอยางมีประสิทธิผล
ตลอดจนติดตาม ทบทวนและปรับปรุงมาตรการตอตานการทุจริตคอรรัปชันและสินบนอยางสม่ำเสมอ โดยนำเสนอผล
การประเมนิ ตอคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานตอ คณะกรรมการบริษทั ตามลำดับอยา งทนั เวลาและสม่ำเสมอ

3.4 หากการสืบสวนขอเท็จจริงแลวพบวา ขอมูลจากการตรวจสอบ หรือขอรองเรียน มีหลักฐานที่มีเหตุอันควรใหเชื่อวามี
รายการ หรือการกระทำซง่ึ อาจมีผลกระทบอยางมีนัยสำคญั ตอฐานะการเงิน และผลการดำเนนิ งานของกลุมธุรกิจเด็มโก
รวมถงึ การฝาฝน การกระทำผดิ กฎหมายหรือจรยิ ธรรมธรุ กิจของกลุมธุรกจิ เด็มโก หรอื แนวทางปฏิบัติในการปองกันการ
มีสวนเกี่ยวของกับการทุจริตคอรรัปชันและสินบน หรือขอสงสัยในรายงานทางการเงิน หรือระบบการควบคุมภายใน
คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อดำเนินการปรับปรุงแกไขภายในระยะเวลาที่
คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร

ทั้งนี้กลุมธุรกิจเด็มโก จัดใหมีการสื่อสารแนวทางปฏิบัติในการปองกันการมีสวนเกี่ยวของกับการทุจริต คอรรัปชัน
และสินบนนี้ โดยเผยแพรผานชองทางตาง ๆ เชน วารสารของเด็มโก อินทราเน็ตของกลุมธุรกิจเด็มโก และบนเว็บไซตของ
บริษทั ทงั้ นเ้ี พือ่ ใหบุคลากรของกลมุ ธุรกิจเด็มโก รับทราบและถอื ปฏบิ ัติ

จริยธรรมวา ดวยการสนบั สนุนการตอตานการทุจริตคอรร ปั ชัน
คณะกรรมการบริษัท ยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจดวยความโปรงใส โดยอยูภายใตกรอบของกฎหมาย หลักจริยธรรม และ

แนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งสนับสนุนการตอตานการทุจรติ คอรรปั ชัน การให/รับสินบนในทุกรูปแบบ และตระหนัก
เปน อยางดวี าการทุจรติ คอรร ัปชัน การให/รับสินบนสงผลกระทบตอ การพฒั นาระบบเศรษฐกจิ สงั คม และความมั่นคงของประเทศ
โดยมีนโยบายในการสนับสนุนการตอตานการทุจริตและคอรร ัปชนั และสนิ บน ดังน้ี

(1) สนบั สนุนการสรางจิตสำนกึ คานิยม ทศั นคตใิ หแ กพ นักงานในการปฏบิ ตั งิ านอยางซื่อสตั ย โปรง ใส เท่ยี งตรง เคารพกฎหมาย
กฎระเบียบตาง ๆ สนับสนุนการตอตานการทุจริตคอรรัปชันและสินบนใหเปนวัฒนธรรมองคกร รวมทั้งบริหารงานตาม
หลักการกำกบั ดูแลกิจการทีด่ ี

(2) จัดใหมีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม รวมทั้งพฒั นาระบบและกลไกในการตรวจสอบ ควบคุมและถว งดลุ
การใชอำนาจใหเหมาะสม ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อปองกันและมิใหพนักงานทุจริตหรือมีสวนเกี่ยวของกับการ
ทุจรติ คอรรปั ชนั ตาง ๆ

(3) พนักงานตองไมกระทำการใด ๆ อันเปนการเรียกรอง หรือรับทรัพยสิน หรือผลประโยชนอื่นใดจากบุคคลอื่นที่มี หรือธุรกจิ
เก่ียวของกบั กลุมธรุ กจิ เดม็ โก เวนแตใ นโอกาสหรือเทศกาลอนั เปนประเพณีนิยมที่คนทั่วไปพึงปฏิบัติตอกัน และทรัพยสินน้ัน
ตอ งไมใ ชส่ิงผิดกฎหมาย รวมทั้งไมอ าศัยตำแหนง หนา ทีห่ รือแสวงหาผลประโยชนเ พ่ือตนเอง และ/หรอื ผูอ ่นื โดยมชิ อบ

(4) จัดใหมชี องทางในการสื่อสารเพ่ือรับเรื่องรองเรียนหรือแจงเบาะแสอันควรสงสัยโดยมีนโยบายในการคุมครองผูใหขอมูลหรอื
เบาะแส และจะเก็บรักษาขอมูลของผูใหขอมูลเปนความลับ รวมทั้งมีมาตรการในการตรวจสอบและกำหนดบทลงโทษตาม
กฎระเบียบท่เี กีย่ วขอ ง

(5) สนับสนนุ กิจกรรมตา ง ๆ ทจี่ ัดขึ้นโดยหนว ยงานหรือองคก รตาง ๆ เพอื่ ประโยชนใ นการปองกันและสนบั สนุนการตอตานการ
ทจุ รติ คอรร ปั ชันและสนิ บน

124 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษัท เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

เพื่อเปนแนวทางสูการพัฒนาอยางย่ังยืน กลุมธุรกิจเดม็ โกกำหนดชองทางการแจงขอรอ งเรียนและขอเสนอแนะ (Whistle
Blower) โดยเปด โอกาสใหพนกั งานและผูม ีสวนไดเ สยี แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ และแจงเบาะแสการกระทำผดิ กฎหมาย หรือ
การทจุ ริตคอรร ปั ชันการให/รบั สนิ บน โดยมเี ปาหมายเพอื่

• การพฒั นา/ฝก อบรม

• การแกไข/ปรบั ปรงุ ดา นบริหารจดั การ
• การตรวจสอบขอเทจ็ จริง

โดยกำหนดใหสำนักงานตรวจสอบ ทำหนาทีเ่ ปนหนวยงานผปู ระสานรบั ขอรองเรยี นดานจริยธรรมวา ดวยการสนบั สนุนการ
ตอตานการทจุ ริตคอรร ัปชนั และสนิ บน ของกลุมธุรกจิ เด็มโก

ทั้งนี้สามารถศึกษารายละเอียดเพื่อเติมไดจากคูม อื มาตรการตอตานการทุจริตคอรรปั ชันและสินบน และคูม ือบริหารความ
เสี่ยงดานการทุจริต ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดเพื่อเตมิ ไดจากเว็บไซตบริษัท www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดูแล
กิจการ หรอื สแกนควิ อารโ คดในสว นทาย

นโยบายการควบคุมภายใน
คณะกรรมการบริษัทไดใหความสำคัญตอระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง โดยมอบหมายคณะกรรมการ

ตรวจสอบซึง่ ประกอบดวยกรรมการอสิ ระ จำนวน 4 คน ใหดูแลและสอบทานระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงของบริษัท
อยา งตอ เนื่อง เพอ่ื ใหมปี ระสิทธิภาพเพียงพอและถูกตองตามกรอบแนวทางการกำกับดูแลกิจการท่ีดี (Corporate Governance : CG)
และมาตรการตอ ตานการคอรรปั ชนั ตามเจตนารมณข องโครงการแนวรวมปฏบิ ตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการตอ ตานการทจุ รติ (CAC)
ซึ่งบริษัทไดรับการรับรองตั้งแตป 2559 ตอเนื่องถึงปจจุบัน โดยอางอิงกรอบแนวทางปฏิบัติดานการควบคุมภายในของ
The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) - Internal Control Integrated Framework
ซึง่ กำหนดองคประกอบหลักทจ่ี ำเปน ในการควบคุมภายในไว 5 ดาน 17 หลักการ

มีหนวยงานในสังกัดสำนักงานตรวจสอบซึ่งประกอบดวยหนวยงานตรวจสอบภายใน และหนวยงานกำกับและควบคุมทำ
หนาที่ตรวจสอบและสอบทานระบบการปฏิบัติงานตาง ๆ รายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการ
ปฏบิ ัตงิ านมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล มกี ารใชทรัพยากรตา ง ๆ ของบรษิ ัทอยา งคมุ คา สมประโยชน รวมถึงมีการควบคุมดานการ
ดำเนินงาน ดานรายงานทางการเงินที่มีความถูกตองครบถวน เชื่อถือไดและทันเวลา รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับ
นโยบายตาง ๆ ของบริษัท และใหเปนไปตามขอกำหนดของกฎหมายและขอบังคับของทางราชการและหนวยงานกำกับที่เกี่ยวของ
มีการทบทวนความมีประสิทธิภาพของระบบควบคุมภายในอยางสม่ำเสมอเพื่อใหการดำเนินงานเปนไปตามเปาหมาย และใหเกิด
ประโยชนส ูงสุดภายใตสภาวการณทเ่ี ปลยี่ นแปลงตลอดเวลา บนพ้ืนฐานความเปน ธรรมของผลประโยชนของผมู สี ว นไดเสียทุกกลุม
การดำเนนิ การตามองคประกอบหลกั ของ COSO ทง้ั 5 ดา น 17 หลกั การ มดี งั นี้

(1) สภาพแวดลอมของการควบคมุ (Control Environment)
• องคก รยดึ หลักความซ่อื ตรงและจรยิ ธรรม

• คณะกรรมการบริษัทมีความเปนอิสระจากฝายจัดการ และทำหนาที่กำกับดูแลและพัฒนาการดำเนินงานดานการ
ควบคมุ ภายใน

• คณะกรรมการและฝายจัดการจัดใหมีโครงสรางสายการรายงาน การกำหนดอำนาจในการสั่งการและหนาที่ความ
รบั ผิดชอบท่ชี ดั เจน เหมาะสมเพอื่ ใหอ งคกรบรรลุวตั ถปุ ระสงค ภายใตก ารกำกับดแู ลของคณะกรรมการ

• มีความมุง ม่ันในการจงู ใจ พฒั นาและรกั ษาบุคลากรท่มี ีความรคู วามสามารถ

• องคกรกำหนดใหบ ุคลากรทกุ ตำแหนงมหี นาที่และรับผดิ ชอบตอ การควบคุมภายในเพอื่ ใหบรรลตุ ามวตั ถุประสงค
(2) การประเมนิ ความเส่ียง (Risk Assessment)
• องคกรกำหนดวัตถุประสงคไวอยางชัดเจนเพียงพอ เพื่อใหสามารถระบุ และประเมินความเสี่ยงตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ

การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคขององคก ร

• ระบุ วิเคราะหค วามเสีย่ งและวธิ จี ดั การความเส่ยี ง ทุกประเภททีอ่ าจกระทบตอการบรรลุวัตถุประสงคไ วอยางครอบคลุม

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 125
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

• พจิ ารณาถงึ โอกาสทจี่ ะเกิดการทจุ รติ ในการประเมินความเสย่ี งทจี่ ะบรรลุวตั ถุประสงคขององคกร

• ระบุและประเมินความเปลีย่ นแปลงทอ่ี าจมีผลกระทบตอระบบการควบคมุ ภายใน

• บริษัทมกี ารระบุปจจยั เส่ียงท่ีสำคัญจากปจจัยภายในและภายนอกองคก ร โดยจัดแบงเปน 7 ดาน 23 ความเสย่ี ง
(3) กจิ กรรมการควบคมุ (Control Activities)
• มีมาตรการหรอื กิจกรรมควบคุมทีช่ ว ยลดความเส่ียงใหอ ยูในระดับท่ยี อมรับได

• เลอื กและพฒั นากิจกรรมควบคมุ ท่ัวไปดว ยระบบเทคโนโลยี

• จัดใหมีกิจกรรมการควบคุมผา นทางนโยบาย ซง่ึ ไดกำหนดสง่ิ ทค่ี าดหวังและข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ เพ่ือนำนโยบายท่กี ำหนด
ไวไปสูการปฏบิ ตั ิได

(4) สารสนเทศและการสอื่ สาร (Information and Communication)
• มขี อมูลท่เี ก่ยี วของและมคี ณุ ภาพ เพอ่ื สนบั สนุนใหการควบคุมภายในสามารถดำเนนิ การไปไดต ามทีก่ ำหนดไว

• การส่ือสารขอ มลู ภายใน ซึง่ รวมถงึ วตั ถปุ ระสงคแ ละความรับผิดชอบตอ การควบคมุ ภายในท่ีจำเปนตอการสนับสนนุ ให
การควบคุมภายในสามารถปฏบิ ตั ไิ ดตามทีว่ างไว

• มีการสือ่ สารกับหนว ยงานหรอื บคุ คล ภายนอกเกยี่ วกับประเดน็ ทีอ่ าจมผี ลกระทบตอการควบคมุ ภายใน
(5) การตดิ ตามประเมนิ ผล (Monitoring)
• ตดิ ตามและประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในเพอื่ ใหมัน่ ใจไดว า การควบคุมภายในยงั ดำเนินไปอยา งครบถว น เหมาะสม

• ประเมนิ และส่ือสารขอ บกพรองของการควบคุมภายในอยางทนั เวลา และเหมาะสมตอบคุ คลทร่ี ับผิดชอบ ซง่ึ รวมถึง
ผูบรหิ ารระดบั สงู และคณะกรรมการตามความเหมาะสม

ทั้งนี้ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในขอ 9.1 การควบคุมภายใน หรือเว็บไซตของบริษัท www.demco.co.th ภายใตหมวดการ
กำกับดแู ลกจิ การทด่ี ี หรอื สแกนคิวอารโ คดในสวนทาย

นโยบายเทคโนโลยสี ารสนเทศ
เด็มโก ตระหนักถึงความสำคัญของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารซึ่งเปนปจจัยสำคัญที่ชวยสงเสริมการ

ดำเนินธุรกิจ และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานใหเปนไปอยางเหมาะสม มีประสิทธิภาพ มีความมั่นคงปลอดภัยและสามารถ
ดำเนินงานไดอ ยางตอเนื่อง รวมท้งั ปอ งกนั ปญ หาทีอ่ าจจะเกดิ ขน้ึ จากการใชง านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในลักษณะที่ไมถูกตอง
และการถูกคกุ คามจากภยั ตา ง ๆ

เดม็ โก จงึ กำหนดนโยบายฉบับน้ีขึ้น เพ่อื ใหกลุมธุรกิจเด็มโกม ีกรอบการกำกับดูแลและบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับองคกรที่ดี โดยอางอิงจากหลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการจัดใหมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวทางปฏิบัติในการรักษา
ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตลอดจนกฎหมาย
อื่นที่เกี่ยวของ มาปรับใชใหเหมาะสมกับบริบท การดำเนินธุรกิจของกลุม ธุรกิจเดม็ โก เพื่อใหกลุมธุรกิจมีกรอบการกำกับดูแลและ
การบรหิ ารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศระดบั องคกร ท่สี อดคลอ งและเหมาะสม รวมทัง้ ดแู ลใหม กี ารนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช
ในการสนับสนุนและพัฒนาการดำเนินธรุ กิจ การบรหิ ารความเสยี่ ง เพอื่ ใหบริษัทสามารถบรรลุวัตถุประสงคและเปา หมายหลักของ
เด็มโกได มีการใชทรัพยากรและการบรหิ ารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม สอดคลอ งกับการกำกับดูแลกิจการท่ีดี โดยนโยบาย
การดำเนนิ การดานเทคโนโลยีสารสนเทศของกลุมธรุ กจิ เดม็ โก ดังน้ี

(1) นโยบายการบรหิ ารและจดั การความเสีย่ งดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ
(2) นโยบายรกั ษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ทั้งนี้ดูรายละเอยี ดเพิม่ เติมที่เวบ็ ไซตข องบริษัท www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดูแลกิจการท่ีดี หรือสแกนคิว
อารโ คดในสวนทาย

126 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษัท เด็มโก จำกัด (มหาชน)

นโยบายสิทธมิ นุษยชน
การดำเนนิ ธรุ กจิ บนพน้ื ฐานของเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายนน้ั เปนสิง่ ทบ่ี คุ ลากรทกุ คนในกลุม ธรุ กจิ เดม็ โก ตระหนัก

และใหค วามสำคญั โดยกำหนดไวใ นจรรยาบรรณเด็มโก ในคูมือการกำกบั ดูแลกจิ การทด่ี ีของเดม็ โก ทต่ี องปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบียบ
ขอ บงั คับ มตทิ ป่ี ระชมุ ผถู ือหนุ และกฎหมาย ดว ยความซือ่ สตั ยส จุ รติ และระมดั ระวัง

เด็มโก มงุ เนน ใหก ารดำเนนิ งานของคณะกรรมการ ผูบรหิ าร และพนักงานทุกคนตองปฏิบตั ิตอผมู สี ว นไดเสียทุกฝายดวย
ความเคารพ ใหเ กยี รติซ่ึงกนั และกันบนพื้นฐานศกั ดศิ์ รีของความเปน มนษุ ย หรอื ไมกระทำการใหกระทบสิทธิเสรีภาพของบุคคลอ่ืน
ที่ขัดตอบทบัญญัติของกฎหมาย โดยแนวปฏิบัติดังกลาวเปนมาตรฐานจริยธรรมองคกรที่บุคลากรทุกคนในเด็มโก ตองถือปฏิบัติ
อยางเครงครัด ซึ่งหากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามก็จะถูกลงโทษ ตามระดับของความรายแรงแหงการกระทำและถือเปนการ
กระทำผิดทางวินยั ดว ย

เด็มโก ใหความสำคัญตอ กิจกรรมทีอ่ าจมีผลตอ หลกั สทิ ธิมนุษยชน ในทุก ๆ ดาน โดยยึดถือและปฏิบัตติ ามขอกฎหมายที่
เกี่ยวของ โดยเด็มโกมีนโยบายอยางชัดเจนที่จะไมจางแรงงานเด็ก ยึดมั่นในเสรีภาพของการนับถือศาสนา การไมเลือกปฏิบัติจาก
ความแตกตางทางดานเชื้อชาติ ศาสนา เพศ และสถานะภาพทางสังคม นอกจากนเี้ ด็มโกย ังใหความเคารพตอหลักสิทธิมนุษยชนของ
พนักงานทุกระดับชั้น อยางเครงครัดโดยจะปกปอง และไมนำขอมูลสวนตวั ของพนักงาน เชน ประวัติสวนตัว คาจางเงินเดือน ฯลฯ
ไปเปดเผยใหกับบุคคลภายนอก หรือผูทีไ่ มมีสวนเกี่ยวของรับทราบ โดยเด็มโกไดก ำหนดและปฏิบัตติ ามนโยบายคุมครองขอ มูลสวน
บุคคล รวมถึงไดกำหนดใหมีการใชขอบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติงานซึ่งไดจัดทำเปนคูมือ สื่อสารใหกับพนักงานไดรับทราบถึงกฎ
ระเบยี บ และขอ บังคบั เก่ยี วกับการทำงานและมกี ารปฐมนเิ ทศกอนการเริ่มปฏบิ ัตงิ าน

ทั้งนี้ดูรายละเอียดเพิม่ เติมท่ีเวบ็ ไซตข องบริษทั www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดแู ลกิจการท่ีดี หรือสแกนคิว
อารโคดในสวนทา ย

นโยบายคุม้ ครองขอ้ มูลส่วนบคุ คล
กลุมธุรกิจเด็มโก เคารพสิทธิความเปนสวนตวั ของลูกคา คูคา ผถู ือหนุ พนกั งาน และบุคคลตาง ๆ ท่ีเกยี่ วของกับกลุมธุรกิจ

เดม็ โก และเพ่ือใหเ กิดความมน่ั ใจวาบุคคลดงั กลาวจะไดร ับความคุมครองสทิ ธอิ ยางครบถว นตามกฎหมายคมุ ครองขอมูลสว นบุคคล
คณะกรรมการบริษัท จึงอนุมัติใหใชนโยบายคุม ครองขอมูลสว นบุคคลของ กลุมธุรกิจเด็มโก เพื่อใหมีหลักเกณฑ กลไก มาตรการ
กำกับดูแล และการบรหิ ารจดั การขอ มูลสว นบคุ คลอยา งชัดเจนและเหมาะสม

ดงั นัน้ เด็มโกจ งึ ไดจัดทำนโยบายในการคมุ ครองขอมูลสวนบุคคล เพื่อใหพนกั งานในกลมุ ธรุ กจิ เด็มโก ทราบและเขาใจถึง
วธิ กี ารเกบ็ รวบรวม ใช เปดเผย และเก็บรักษาขอ มูลสว นบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคล การคุมครองความปลอดภัยของขอมูล
สวนบุคคลใหมกี ระบวนการบริหารการดำเนนิ งาน ทไ่ี มกระทบสทิ ธิหรือกอ ใหเ กิดความเสียหายแกเจาของขอมลู สว นบคุ คล โดยให
ใชเปนมาตรฐานเดียวกัน เพอ่ื ใหเปนไปตามพระราชบัญญัตคิ ุม ครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ.2562

ทั้งนี้ดูรายละเอียดเพิม่ เติมท่ีเว็บไซตของบริษทั www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดูแลกิจการท่ีดี หรือสแกนควิ
อารโ คดในสว นทาย

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 127
บรษิ ัท เด็มโก จำกดั (มหาชน)

จรรยาบรรณธุรกจิ ประกอบดวย จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ และจรรยาบรรณกรรมการ ผูบรหิ าร และพนกั งาน
โดยจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ มีวัตถุประสงคเพื่อ มุงเนนการดูแลลูกคา และผูมีสวนไดเสียของบริษัทใหไดรับผลิตภัณฑ
และบริการที่ไดรบั มาตรฐาน โดยกำหนดความรับผิดชอบของกลุมธุรกิจเด็มโกต อลูกคา และผูมีสวนไดเสีย รวมทั้งใหนำหลักการ
และแนวคิดการดำเนินธุรกิจอยางมีคุณธรรมตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และการดำเนินธุรกิจอยางยั่งยืนไปปฏิบัติในการ
ดำเนินธุรกิจเพื่อสนับสนุนใหเกิดการดำเนินธุรกิจอยางมีจริยธรรม เคารพสิทธิเสรีภาพ ดูแลดานแรงงาน และสิทธิมนุษยชน
ความขัดแยงทางผลประโยชน การเปดเผยขอมูล การดูแลดานชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม รวมถึงการปฏิบัติตาม
กฎหมาย และขอกำหนดตาง ๆ ที่เกี่ยวของ สำหรับจรรยาบรรณกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน มีวัตถุประสงคเพื่อมุงเนนการ
สรางวัฒนธรรม ธรรมาภิบาลที่ดีในองคกร โดยวางหลักเกณฑ และมาตรฐานการปฏิบัติงานใหกรรมการผูบริหารและพนักงาน
ถอื ปฏบิ ัติเพ่อื ใหการดำเนนิ งานของกลุมธุรกจิ เดม็ โกสอดคลอ งกบั นโยบาย ตลอดจนกฎหมาย และกฎเกณฑ ขอบงั คับทเ่ี กย่ี วของ

จริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ

กลุมธุรกิจเด็มโก ไดกำหนดนโยบายดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อใหคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคน
ยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อสงเสรมิ ให กลุมธุรกิจเด็มโก เปนบริษัทที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ มีการกำกับ
ดูแลกจิ การ และปฏบิ ัติตามหลกั การกำกบั ดูแลกิจการทดี่ ี สำหรับบรษิ ทั จดทะเบียนป 2560 (CG Code 2017) มกี ารบริหารจัดการ
ที่เปน เลศิ มจี ริยธรรม คณุ ธรรมในการดำเนินธุรกจิ มีความโปรง ใสและตรวจสอบได

ในการทบทวน จัดทำจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบธรุ กจิ น้ี ไดม ีการพิจารณาทบทวน และปรบั ปรุงสาระสำคญั
ในคูมือดังกลาวใหทันสมัย มีความเปนสากลมากขึ้น อีกทั้งใหสอดคลองกับนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และหลักการกำกบั
ดูแลกิจการที่ดี กับหลักเกณฑของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พรบ.หลักทรัพยและตลาด
หลักทรัพย ประกาศและแนวปฏิบัติของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่มีการแกไขปรับปรุงในป 2559-2560
โดยประกอบดว ยนโยบาย หลกั การ มาตรฐานทางจริยธรรม และจรรยาบรรณกับแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ีในดา นตาง ๆ 15 ดา น ดังน้ี

1. เคารพในสิทธิมนษุ ยชน
2. ส่งิ แวดลอม สุขภาพ และความปลอดภัย
3. การตอ ตานคอรรัปชัน
4. ของกำนลั
5. ความขดั แยง ทางผลประโยชน
6. การเมอื ง
7. การปฏิบตั ติ อขอ มลู และทรพั ยสนิ

7.1 ขอ มลู สว นบุคคล
7.2 การบันทกึ การรายงาน และการเกบ็ รักษาขอมูล
7.3 การใชข อ มลู ภายในเพ่อื การซื้อขายหลักทรัพย และ/หรอื ใหค ำแนะนำการซื้อขายหลักทรพั ย
7.4 การใชแ ละดูแลทรพั ยสนิ ของบรษิ ัท
7.5 การใชและดูแลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั
7.6 การใช และการดแู ลทรัพยส นิ ทางปญ ญา
8. การเปดเผยขอ มูล
9. การทำธุรกรรมระหวางกันของบริษัทในเครือ
10. การปฏิบัตติ อ ลูกคา
11. การจัดซือ้ จัดหา และปฏิบัติตอคคู า
12. การปฏบิ ตั ติ อ เจา หนี้
13. การประกอบธุรกิจในตางประเทศ

128 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

14. การแขงขันทางการคา
15. การปอ งกันการฟอกเงนิ

เพื่อเปน การแสดงถึงพันธะสัญญาที่จะรว มกนั ยึดถือสาระสำคัญในคูมือฉบบั ปรับปรุงนี้ เปนแนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อ
สรางความมั่นใจวา กลุมธุรกิจเด็มโก จะพัฒนาระบบการจัดการใหเหมาะสม เนนการสรางประโยชนสูงสุดแกผูถือหุน ตลอดจน
คำนงึ ถงึ ผูมสี วนไดเสยี มีความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม และสงิ่ แวดลอม จึงขอใหบ คุ ลากรทุกระดับของ กลมุ ธุรกจิ เด็มโก ทำความเขาใจ
ลงนามรับทราบ และยอมรับเปน หลกั ปฏบิ ัติเพอื่ รกั ษาไวซ่ึงการกำกบั ดแู ลกิจการท่เี ปนเลิศของ เดม็ โก ตอ ไป

ทั้งนี้ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่เวบ็ ไซตของบริษัท www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดูแลกิจการท่ีดี หรือสแกนคิว
อารโคดในสวนทาย

จริยธรรมและจรรยาบรรณกรรมการและพนักงาน

มาตรฐานสูงสดุ ของความเปน มอื อาชีพและการมีจริยธรรมในการปฏบิ ตั ิงานท่ี บริษทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน) และบริษัทใน
กลมุ เปน ส่ิงที่กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนตองมงุ มนั่ ฟนฝา เพอ่ื ไปใหถ งึ เพราะจรรยาบรรณไมเ พียงแตวางกรอบในเรอื่ ง
มาตรฐานดังกลา ว แตย งั สะทอ นใหเหน็ คา นยิ มหลัก iDEMCO ขององคก ร

วิสยั ทัศนเ ด็มโก คือ มุงสกู ารเปนผปู ระกอบการชั้นนำ ดานวศิ วกรรมไฟฟา พลงั งาน และสาธารณูปโภค ท้งั ในประเทศและ
ตางประเทศ โดยใช ความซื่อสัตย ตอลูกคา ตอวิชาชีพ ดวยความมานะมุงมั่น ตั้งใจจริงที่จะประสบความสำเรจ็ ดวยความเช่ือม่นั
ในการทำงานรวมกันเปนทีมอยางมีประสิทธิภาพ ดวยความรอบรู เชี่ยวชาญ ใหคุณภาพที่ดีแกลูกคา สรางมูลคาเพิ่ม สราง
ผลตอบแทนที่ดีแกผถู อื หุนอยา งตอเน่อื ง มคี วามรบั ผิดชอบตอ สังคม ส่งิ แวดลอ ม เปน คานยิ ม “iDEMCO” ที่จะชวยผลกั ดนั ใหธ รุ กจิ
ของเดม็ โก บรรลวุ สิ ยั ทัศน ดงั กลา ว

ในการดำเนินการใด ๆ ของ กลุมธุรกิจเด็มโก จะใหความเคารพตอกติกาของกฎหมายและเกียรติภูมิของแตละบุคคล
รวมทงั้ มุงมน่ั ทจ่ี ะใหก ารดำเนินธุรกจิ ของเดม็ โกอ ยบู นมาตรฐานจรรยาบรรณขน้ั สงู

เด็มโกจ ึงไดจดั ทำจรรยาบรรณของกรรมการและพนักงาน เปนคูม ือไวเ พื่อเปนมาตรฐานในการปฏบิ ัตงิ านของบุคลากรทกุ
ระดับของกลุมธุรกจิ เด็มโกในการประพฤตติ นอยางมจี ริยธรรม และเปนการแสดงใหเห็นวา กลุมธุรกิจเด็มโก มุงมั่นที่จะปฏิบัตใิ ห
เปนไปตามกฎหมายและขอบังคับ นอกจากนี้จรรยาบรรณยังเปนสิ่งเตือนใจใหมีความระมัดระวังในการประพฤติปฏิบัติตน และ
ปองกันไมใหกรรมการและพนักงานกระทำการใด ๆ อันเปนการละเมิดระเบียบ ขอบังคับ และวินัย ที่จะนำความเสื่อมเสียมาสู
ชือ่ เสียงของกลุม ธุรกิจเดม็ โก

ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่เว็บไซตของบริษัท www.demco.co.th ภายใตหมวดการกำกับดูแลกิจการที่ดี หรือ
สแกนควิ อารโคดในสวนทา ย

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 129
บริษัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

คณะกรรมการบริษทั มอบหมายใหคณะกรรมการสรรหา พิจารณาคาตอบแทน และกำกับดูแลกิจการ ทำหนาที่ในการ
พิจารณาทบทวน สงเสริม และตดิ ตามการดำเนนิ งานดา นการกำกบั ดแู ลกจิ การท่ดี ี ศึกษา พิจารณา ทบทวน และปรับปรุงนโยบาย
การกำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุมธุรกิจเด็มโก ใหมีความทันสมัย และเปนปจจุบัน อยางนอยปละครั้ง เพื่อใหสอดคลองกับแนว
ปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบรษิ ทั จดทะเบียน ป 2560 (CG Code 2017) ของสำนักงานคณะกรรมการกำกบั
หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีตามเกณฑการสำรวจการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจด
ทะเบียนไทย (CGR) ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีตามเกณฑ ASEAN
Corporate Governance Scorecard และแนวปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) รวมทั้ง
มาตรฐานสากล กฎหมาย หลักเกณฑ ระเบยี บขอบงั คับตาง ๆ ขอเสนอแนะ และ/หรือ ขอกำหนดของหนว ยงานท่ีเก่ยี วขอ ง

ขอ้ มลู การเปล่ียนแปลงและพฒั นาการท่ีสาํ คญั

ดา้ นการกาํ กบั ดูแลกิจการท่ีดี
• พิจารณาทบทวนนโยบายธรรมาภิบาลตาง ๆ ของกลุมธุรกิจเด็มโก ใหสอดคลองกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำหรับ
บริษทั จดทะเบียนของตลาดหลกั ทรัพยแหง ประเทศไทย และขอ เสนอแนะจากผลการประเมินโครงการ สำรวจการกำกบั ดูแล
กจิ การของบรษิ ัทจดทะเบยี นไทย (CGR) หลักเกณฑ ASEAN Governance Scorecard รวมถึงนำหลักการกำกับดแู ลกจิ การ
ที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบยี น ป 2560 (CG Code) ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรพั ย และตลาดหลักทรัพย มา
ปรับใชตามความเหมาะสมกับบริบทของกลุมธุรกิจเด็มโก เชน มีการทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการ จริยธรรมและ
จรรยาบรรณในการประกอบธรุ กิจ จรรยาบรรณและแนวปฏิบัตคิ คู า เปน ตน
• ทบทวนและใหความเห็นชอบนโยบายตอ ตานการคอรร ัปชนั และสินบนของกลุม ธรุ กิจเดม็ โก
• พิจารณาผลการประเมินโครงการสำรวจการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report of
Thai Listed Companies : CGR) ที่จัดโดยสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) และให
ขอเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง และพัฒนานโยบาย และแนวปฏิบัติตาง ๆ ใหสอดคลองกับหลักเกณฑ รวมทั้ง ขอเสนอแนะของ
โครงการประเมินดังกลาว และไดดำเนินการทุกประเด็นในป 2564 แลว
• พิจารณารายงานการรับขอเสนอแนะ และเรื่องรองเรียนจากผูมีสวนไดเสียของ กลุมธุรกิจเด็มโก ตามที่ไดมีกำหนดชองทาง
และขั้นตอนการรับเรื่องรองเรียนจากผูมี สวนไดเสียของเด็มโกผานเว็บไซต www.demco.co.th โดยจะมีการสงขอมูล
ดังกลาวไปที่ E-mail address : [email protected] ซึ่งคณะกรรมการสรรหา พิจารณาคาตอบแทนและ
กำกบั ดแู ลกิจการ จะเปน ผรู บั ขอรอ งเรียนโดยตรง ในป 2564 ไมปรากฏเรือ่ งรองเรยี นจากผมู สี ว นไดเ สยี ของเด็มโก
• ความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาสูความยั่งยืน โดยดำเนินการทบทวนนโยบาย และกลยุทธการพัฒนาความยั่งยืน
โครงสรางการบรหิ ารความยั่งยนื ตามกระบวนการในการขบั เคลอ่ื นธรุ กจิ สูความยั่งยืน โดยคณะกรรมการบรษิ ทั มีมตเิ ห็นชอบ
ใหปรบั โครงสรางคณะกรรมการชุดยอยใหม เปน ดังนี้

คณะกรรมการชดุ ยอยเดมิ คณะกรรมการชดุ ยอ ยปรบั ใหม

คณะกรรมการสรรหา พิจารณาคาตอบแทนและกํากบั ดูแลกจิ การ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคา ตอบแทน

คณะกรรมการความยง่ั ยนื คณะกรรมการกาํ กบั ดูแลกิจการและความยงั่ ยืน

เพ่อื แบง แยกภารกิจใหชัดเจน และใหค ณะกรรมการกำกบั ดแู ลกิจการและความย่ังยืน ทำหนาทก่ี ำกับดูแลการดำเนินงานตาม
แผนยุทธศาสตรห ลักในการพัฒนาความยง่ั ยนื (Sustainability Development Strategies) ซึ่งประกอบดวย 5 ยุทธศาสตร คือ

(1) การพฒั นาบคุ ลากรทม่ี ีความสามารถ เพือ่ สรางนวัตกรรม และใชเ ทคโนโลยีใหม
(2) บรหิ ารจดั การพันธมิตร CLMV และหวงโซอ ปุ ทานคุณคาทีย่ ง่ั ยนื

130 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

(3) การบริหารจดั การผลกระทบตอ สงั คม สิง่ แวดลอม และสง เสรมิ การอนุรกั ษพลังงาน และการใชท รัพยากรอยางคมุ คา
(4) ปลกู ฝง และสง เสรมิ ใหก ารพัฒนาความยงั่ ยนื เปน สวนหน่งึ ของการดำเนนิ งานขององคกร
(5) สงเสรมิ การกำกบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี และสรางวฒั นธรรมในการดำเนนิ ธรุ กิจอยางมคี วามรับผิดชอบ

ทั้งนี้ เด็มโกมีเปาหมายเปนบริษัทจดทะเบียนที่ผานการคัดเลือกเขากลุมรายชื่อหุนยั่งยืน (Thailand Sustainability
Investment : THSI) ภายในป 2566

6.3.2 การนาํ หลกั การกาํ กบั ดแู ลกิจการทด่ี ีสาํ หรบั บริษทั จดทะเบียน ปี 2560 (CG Code) มาปรบั ใช้

เด็มโก ไดใหความสำคัญกับการนำหลักการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียนป 2560 (Corporate
Governance Code 2017: CG Code 2017) ที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดจัดทำและ
ประกาศใช ตั้งแตเดือนมีนาคม 2560 โดยในป 2564 เด็มโกไดดำเนินการจัดสงแบบแสดงรายการขอมูลประจำป (แบบ 56-1)
ตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทนุ ที่ ทจ.54/2562 เรอ่ื ง หลักเกณฑ เง่ือนไข และวิธกี ารรายงานการเปดเผยขอมลู เกีย่ วกบั
ฐานะทางการเงิน และผลการดำเนินงานของบริษัท ที่ออกหลักทรัพย (ฉบับที่ 17) ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2562 ใหกับสวนงานที่
เกี่ยวของ เพื่อใหการจัดทำแบบ 56-1 มีขอมูลถูกตอง และครบถวน ตามหัวขอที่กฎหมายกำหนด และสอดคลองกับ CG Code
ของสำนกั งานคณะกรรมการกำกบั หลกั ทรพั ย และตลาดหลักทรพั ย รวมทัง้ จดั ทำขอ มูลผลการดำเนินงาน ตามหลกั การกำกับดูแล
กิจการที่ดขี อง เดม็ โก เพอื่ เปด เผยในรายงานประจำป (แบบ 56-1 One Report)

6.3.3 ขอ้ มลู การปฏิบตั ใิ นเรื่องอน่ื ๆ ตามหลกั การกาํ กบั ดแู ลกิจการท่ีดี

จากความมุงมั่นในการดำเนินงานของกลุมธุรกิจเด็มโกดวยความโปรงใสเปนธรรม และคำนึงถึงผูมีสวนไดเสียทุกฝายของ
เด็มโก สงผลใหเดม็ โกรับรางวัลดา นการกำกับดูแลกจิ การทีด่ ี และความรบั ผิดชอบตอสังคม อันไดแก

• ผลการประเมินการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียนไทยประจำป 2564 (Corporate Governance Report of
Thai Listed Companies : CGR) มีคะแนนในระดับ “ดีเลิศ” จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai
Institute of Directors : IOD) ตดิ ตอกนั 6 ป

• ไดรับการรับรองใหเปนสมาชิกแนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต (Private Sector Collective
Against Corruption : CAC) ตง้ั แตวนั ท่ี 22 เมษายน 2559 และไดร บั ตออายกุ ารรบั รองมาตรฐานการตอ ตา นการทุจรติ คอร
รัปชัน เม่อื วนั ที่ 5 สิงหาคม 2562

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 131
บริษทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

• ไดรับผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2564 จากสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย และสำนักงาน
คณะกรรมการกำกบั หลักทรพั ยแ ละตลาดหลกั ทรพั ย ในระดบั ดีมาก โดยไดคะแนนเต็ม100 คะแนน

คณะกรรมการบริษทั เด็มโก จำกัด (มหาชน) ไดปฏิบัตงิ านตามหนาท่ี ที่ไดรับมอบหมายอยางละเอียดครบถวน ดวยความ
รอบคอบ รัดกุม โปรงใส และเปนอิสระ ตลอดจนใหความเห็นอยางตรงไปตรงมา เพื่อประโยชนสูงสุดของผูถือหุน นักลงทุน
และผูมสี วนไดเสยี ทุกฝาย และมีความมงุ มัน่ ท่ีจะปฏิบตั หิ นา ทีใ่ นการเสรมิ สรา งการบรหิ ารกิจการอยา งสมดลุ และความเขม แข็งทาง
ศกั ยภาพกบั การดำเนินงานระยะยาว เพอ่ื ใหก ลมุ ธรุ กิจเดม็ โก พัฒนาไปสูความยั่งยืนตอไป

ทั้งน้ีสามารถดรู ายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกับการกำกบั ดแู ลกจิ การ โดยการสแกนควิ อารโ คดนี้

https://www.demco.co.th/th/corporate-governance/corporate-governanc

132 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

7. โครงสรา้ งการกาํ กบั ดูแลกิจการ และขอ้ มูลสาํ คญั เก่ียวกบั คณะกรรมการ
คณะกรรมการชุดยอ่ ย ผูบ้ รหิ าร พนกั งาน และอน่ื ๆ

ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564 บริษัทมีโครงสรา งการกำกบั ดแู ลกิจการ ดังน้ี

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 133
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

โครงสรา้ งองคก์ ร

7.2.1 องคป์ ระกอบของคณะกรรมการบริษทั

เด็มโกไดจัดโครงสรางคณะกรรมการบริษัทใหเปนไปตามหลักเกณฑของหนวยงานกำกับดูแล ตลอดจนมีองคประกอบท่ี
หลากหลาย ทั้งในดานทกั ษะวิชาชพี ความเช่ียวชาญเฉพาะดา นตาม DEMCO Board Skill Matrix อายุ เพศ และคณุ สมบตั ิสำคัญ
อน่ื ๆ ทจี่ ำเปน และสอดคลองกบั นโยบายการดำเนินธรุ กจิ ของบริษัท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 คณะกรรมการบริษัทมีจำนวน 11 คน ประกอบดวยกรรมการที่เปนเพศหญิง 1 คน และเพศ
ชายจำนวน 10 คน ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิที่มีความรูหลากหลายทั้งดาน วิศวกรรม การบัญชีและการเงินการจัดการองคกร
การวางแผนกลยุทธ การบริหารความเสี่ยง การกำกับดูแลกิจการที่ดี กฎหมาย และเทคโนโลยี รวมถึงประสบการณดานอื่น ๆ
ที่ลว นเปน ประโยชน และจำเปน ตอการดำเนินธุรกิจของบริษทั โดยองคป ระกอบของกรรมการบรษิ ัท สามารถสรปุ ไดดงั นี้

• กรรมการอิสระ จำนวน 6 คน (คิดเปนสัดสวนรอยละ 55) ไดแก นายนริศ ศรีนวล นายเสริมศักดิ์ จารุมนัส นายปราโมทย
อนิ สวา ง นายปรญิ ช ผลนวิ าศ นายปญญ เกษมทรพั ย และนายชัยวฒั น เลศิ วนารนิ ทร

• กรรมการที่มิใชผูบริหาร จำนวน 3 คน (คิดเปนสัดสวนรอยละ 27) ไดแก นางประพีร ปุยพันธวงศ นายสงวน ตังเดชะหิรญั
และนายโอฬาร ปุยพันธวงศ

• กรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน จำนวน 2 คน (คิดเปนสัดสวนรอยละ 18) ไดแก นายพงษศักดิ์ ศิริคุปต และ
นายไพฑรู ย กำชัย
อนง่ึ เดม็ โกไมมกี รรมการและกรรมการอสิ ระที่ดำรงตำแหนงในบรษิ ัทจดทะเบยี นมากกวา 5 บริษัท และเดม็ โกไมมนี โยบาย

ใหกรรมการที่เปนผูบริหารดำรงตำแหนง เปนกรรมการในบริษัทอื่น ทั้งนี้ ไมนับรวมบริษัทยอย บริษัทในเครือ และบริษัทรวมทนุ
ของบริษัท ซึ่งบริษัทมีความจำเปนตองเขา ไปกำกับดูแลการบริหารจัดการเพื่อประสิทธิภาพของบริษัท ทั้งนี้ บริษัทมีกรรมการท่ี
ไมใชผ บู รหิ ารมากกวาหน่งึ ทา นท่มี ปี ระสบการณ การทำงานเกี่ยวกับธรุ กิจของบริษทั

ประธานกรรมการและประธานเจาหนาที่บริหารมีหนา ท่ีความรับผดิ ชอบแยกตางหากจากกันและไมใชบุคคลเดียวกัน โดย
ประธานกรรมการ ทำหนาทีเ่ ปนประธานในที่ประชุมโดยควบคุมการประชุมของคณะกรรมการบรษิ ัท ใหเปนไปตามระเบียบวาระ
การประชุม และสนับสนุนใหกรรมการทุกคนมีสวนรวมในการประชุม เชน ตั้งคำถามหรือขอสังเกต ใหคำปรึกษาและให
ขอเสนอแนะตอผูบรหิ ารและสนบั สนนุ การดำเนนิ ธรุ กิจของบรษิ ทั แตจะไมกาวกายในการบรหิ ารจัดการกิจการของบรษิ ทั ประธาน

134 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

เจาหนา ทบี่ รหิ ารทำหนา ท่ีบรหิ ารจัดการกจิ การของบรษิ ทั และกำกับดแู ลใหก ารดำเนินงานของบริษัทเปนไปตามขอ บงั คบั บรษิ ัท มติ
ที่ประชมุ ผูถือหุน มตคิ ณะกรรมการบริษัท นโยบายและแผนการประกอบธรุ กิจของบรษิ ทั และกฎหมายทเ่ี กย่ี วของ

ทั้งนี้ เด็มโกไดกำหนดคุณสมบัติกรรมการอสิ ระสงู กวาขอ กำหนดข้ันต่ำของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเตมิ ในหวั ขอ 8.1.1 คณุ สมบัติกรรมการอิสระ

7.2.2 ขอ้ มูลกรรมการรายบุคคล

ในป 2564 เด็มโกมีการเพิ่มจำนวนกรรมการ 1 คน รายนามกรรมการและปที่ดำรงตำแหนง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564
มรี ายละเอียดดังน้ี

รายชอื่ กรรมการ ตำแหนง วนั ท่ีไดร บั จำนวนปที่
ตำแหนง เปน กรรมการ
1. นางประพีร ปุยพันธวงศ ประธานกรรมการ 26/5/2549
2. นายนริศ ศรนี วล ประธานกรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ 14/11/2557 15
กรรมการบรหิ ารความเสยี่ งองคก ร กรรมการความ 7
3. นายเสรมิ ศักด์ิ จารมุ นสั ย่ังยืน 11/7/2556
กรรมการอสิ ระ ประธานกรรมการสรรหา พิจารณา 8
4. นายปราโมทย อินสวา ง คา ตอบแทนและกำกับดูแลกจิ การ กรรมการ 29/1/2562
5. นายปรญิ ช ผลนิวาศ ตรวจสอบ กรรมการความยัง่ ยืน 27/4/2561 3
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสย่ี ง 4
6. นายปญ ญ เกษมทรพั ย องคกร กรรมการลงทุน กรรมการความย่งั ยืน 27/4/2561
กรรมการอสิ ระ ประธานกรรมการลงทนุ 4
7. นายสงวน ตังเดชะหริ ญั กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา พจิ ารณา 26/5/2549
8. นายโอฬาร ปุยพนั ธวงศ คาตอบแทนและกำกบั ดูแลกจิ การ 26/4/2560 15
กรรมการอสิ ระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา 4
9. นายชัยวฒั น เลศิ วนารนิ ทร พจิ ารณาคาตอบแทนและกำกบั ดแู ลกิจการ กรรมการ 12/5/2564
10. นายพงษศักดิ์ ศริ ิคุปต ความย่งั ยืน 26/5/2549 1
กรรมการ กรรมการบรหิ ารความเสย่ี งองคก ร 15
11. นายไพฑรู ย กำชยั กรรมการลงทนุ 29/4/2556
กรรมการ กรรมการสรรหา พจิ ารณาคา ตอบแทน 8
และกำกบั ดูแลกิจการ กรรมการลงทนุ
กรรมการบริหารความเสยี่ งองคก ร
กรรมการ กรรมการบรหิ ารความเสย่ี งองคกร
กรรมการ ประธานกรรมการความยง่ั ยืน ประธาน
กรรมการบริหาร ประธานเจาหนา ท่ีบรหิ าร
กรรมการบริหารความเสยี่ งองคก ร กรรมการลงทุน
กรรมการ กรรมการบรหิ าร กรรมการบรหิ ารความ
เส่ียงองคกร กรรมการลงทุน กรรมการผจู ัดการ

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 135
บรษิ ัท เด็มโก จำกัด (มหาชน)

วาระการดาํ รงตาํ แหน่ง
(1) กรรมการจำนวนหนึ่งในสามของคณะกรรมการบริษัทจะตองออกจากตำแหนงในทุกครั้งของการประชุมสามัญผูถือหุน
ประจำป โดยใหก รรมการซึง่ อยใู นตำแหนงนานทส่ี ุดเปน ผอู อกจากตำแหนง ในกรณีทก่ี รรมการที่จะพน จากตำแหนงดังกลาว
หากไมสามารถแบงไดพอดีหนึ่งในสาม ใหใชจำนวนท่ีใกลที่สุด กับหนึ่งในสาม โดยกรรมการซึ่งออกจากตำแหนงอาจไดรบั
การเลอื กตัง้ ใหก ลบั มาดำรงตำแหนง กรรมการใหมได
(2) เพื่อใหเปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี วาระการดำรงตำแหนงของกรรมการอิสระ แตละวาระไมเกิน 3 ป และไม
ควรดำรงตำแหนง เกนิ 3 วาระติดตอกนั กรรมการคนใดมีความเหมาะสมทจ่ี ะดำรงตำแหนงนานกวาน้ัน คณะกรรมการบรษิ ทั
จะพิจารณาความเปนอสิ ระและประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิหนาที่ของกรรมการรายดงั กลา ว และชี้แจงเหตุผลพรอมผลการ
ปฏิบัติหนาที่ตอผูถือหุน กรรมการอิสระมีวาระการดำรงตำแหนงติดตอกันไดสูงสุดไมเกิน 9 ป แตที่ประชุมผูถือหุนจะ
พิจารณาจากเหตผุ ล และความจำเปน ทค่ี ณะกรรมการบริษัทเสนอ และอนุมตั ิเลอื กกรรมการอิสระที่ดำรงตำแหนงกรรมการ
อิสระติดตอ กันเกิน 9 ป ดังกลา วเปนกรรมการอิสระตอไปได
(3) นอกจากการพน ตำแหนงตามวาระแลว กรรมการพน ตำแหนง เมือ่
• ตาย
• ลาออก

• ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจำกัด และ/หรือกฎหมายวาดวยหลักทรัพย
และตลาดหลักทรัพย

• ท่ีประชุมผถู อื หนุ ลงมติใหออกดวยคะแนนเสียงไมน อยกวา 3 ใน 4 ของจำนวนผูถ ือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
และมหี ุนนับรวมกันไดไมนอยกวา ก่ึงหน่งึ ของจำนวนหนุ ที่ถอื โดยผถู ือหนุ ทีม่ าประชุมและมสี ิทธิออกเสียง

• ศาลมคี ำพพิ ากษาหรือมติใหออก
• มรี ายงานผลการตรวจสอบภายในหรือมขี อ รอ งเรยี นเก่ียวกับการกระทำที่เปน การทจุ รติ คอรรปั ชนั และสนิ บน
(4) กรรมการคนใดจะลาออกจากตำแหนงใหยื่นใบลาออกตอเด็มโก การลาออกใหมีผลตั้งแตวันที่ใบลาออกไปถึง เด็มโก
กรรมการซึ่งลาออกจะแจง การลาออกของตนใหนายทะเบยี นบริษัทมหาชนทราบดวยกไ็ ด
(5) ในกรณีที่ตำแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการบริษัทแตงตั้งบุคคลซ่ึง
มคี ณุ สมบตั ิและไมมลี กั ษณะตอ งหามตามกฎหมายวา ดวยบรษิ ัทมหาชนจำกัด และ/หรือกฎหมายวา ดว ยหลกั ทรพั ยแ ละตลาด
หลกั ทรพั ยก ำหนดเขา เปนกรรมการแทนในการประชมุ กรรมการในคราวถัดไป เวนแตว าระของกรรมการจะเหลอื นอยกวา 2
เดอื น ทง้ั น้ีบคุ คลซ่ึงเขามาเปน กรรมการแทนดงั กลาวจะอยใู นตำแหนงกรรมการไดเ พยี งเทากับวาระท่ีเหลอื อยขู องกรรมการที่
ตนแทน

7.2.3 ขอ้ มูลเก่ียวกบั บทบาทหนา้ ท่ีของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทเปนผูใหความเห็นชอบในวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ ทิศทางและนโยบายในการดำเนินงาน แผนการ
ประกอบธุรกิจ และ งบประมาณประจำปของบริษัท และกำกับดูแลใหฝายจัดการดำเนินการใหเปนไปตามนโยบายและแผนการ
ประกอบธุรกิจที่กำหนดไว ภายใตขอบเขตของกฎหมาย วัตถุประสงคและขอบังคับของบริษัท และมติของคณะกรรมการบริษัท
และที่ประชมุ ผถู อื หุน โดยคำนงึ ถึงผลประโยชนสูงสดุ ของบรษิ ทั และผมู สี วนไดเ สยี เปน สำคญั ท้ังนี้ เพือ่ สรางความย่งั ยืนใหแ กบรษิ ทั
และเพื่อเพิ่มมูลคาใหแกผูถือหุนในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทกำหนดใหมีการพิจารณาทบทวนและใหความเห็นชอบใน
วิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ ทิศทางและนโยบาย ในการดำเนินงานของบรษิ ัทเปนประจำทุกป เพื่อใหเขากับสถานการณและสภาพ
ธรุ กจิ ที่เปลย่ี นแปลงไป

คณะกรรมการบริษทั กำหนดใหม ีการประชุมคณะกรรมการโดยไมมีกรรมการทเี่ ปนผูบ รหิ ารและฝา ยจดั การเขารวมประชุม
อยางนอยปละ 1 ครง้ั เพื่อใหกรรมการไดพ ิจารณาและทบทวนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร และฝายจัดการของบริษัท
รวมถึงพิจารณาและอภิปรายประเด็นตาง ๆ เกี่ยวกับการบริหารจดั การหรืออยูในความสนใจของคณะกรรมการ โดยมีการแจงผล
การประชมุ ให ประธานเจาหนา ที่บริหารรบั ทราบ เพือ่ พิจารณาและปรับปรงุ ตอ ไป ท้งั น้ี ในป 2564 คณะกรรมการบริษัทไดจัดให

136 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

มีการประชุมคณะกรรมการอิสระและกรรมการที่ไมเปนผูบ ริหาร โดยไมมีกรรมการท่ีเปนผูบ รหิ าร และฝายจัดการเขารวมประชุม
จำนวน 2 ครั้ง นอกจากนี้ คณะกรรมการยังเปดโอกาสใหผูสอบบัญชีของบริษัทเขาประชุมหารือกับคณะกรรมการโดยไมมี
กรรมการท่ีเปนผบู ริหารและฝายจดั การไดด วย

รวมถึงบริษัทไดมีการแบงแยกตำแหนง และอำนาจหนา ที่ของประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ
ผูจัดการ ไวอยางชัดเจน เพื่อประโยชนในการปฏิบัติหนาที่ การกำกับดูแล และความโปรงใสของการดำเนินงานภายใน ตาม
หลกั การกำกบั ดูแลกิจการทด่ี ี

คุณสมบตั กิ รรมการบรษิ ัท
(1) มีคุณสมบัติถูกตองและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายบริษัทมหาชนจำกัด กฎหมายหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
และการกำกับดูแลกิจการที่ดขี องบริษทั รวมท้งั ตอ งไมมีลักษณะทแ่ี สดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะไดรบั ความไววางใจให
บริหารจดั การกิจการท่ีมมี หาชนเปน ผูถอื หุนตามทคี่ ณะกรรมการกำกับหลักทรพั ยและตลาดหลักทรัพยประกาศกำหนด
(2) มีความรู ความสามารถ และประสบการณที่จะเปนประโยชนตอการดำเนินธุรกิจ มีความเปนอิสระ ปฏิบัติหนาที่กรรมการ
ดวยความระมัดระวงั ดวยความซื่อสัตย (Duty of Care and Duty of Loyalty) ตรงไปตรงมาและสามารถทมุ เทอทุ ศิ เวลาได
อยางเต็มที่ มีสุขภาพรางกายที่แข็งแรง และจิตใจที่สมบูรณ สามารถเขาประชุมคณะกรรมการบริษัทอยางสม่ำเสมอ มีการ
เตรียมตัวลวงหนากอนการประชุมเปนอยางดี มีสวนรวมที่สรางสรรคในการประชุม แสดงความคิดเห็นในที่ประชุมไดโดย
อิสระ มปี ระวัติการทำงาน และจรยิ ธรรม ท่ดี ีงาม และไดร บั การยอมรับจากสงั คม
(3) มีความรูความสามารถที่สำคัญตอธุรกิจของกลุมธุรกิจเด็มโก ไดแก ธุรกิจพลังงาน วิทยาศาสตร การบริหารรัฐกิจ วิศวกรรมศาสตร
เศรษฐศาสตร การบญั ชี การตลาด การเงิน และกฎหมาย
(4) ไมควรดำรงตำแหนง กรรมการบริษทั หลายแหง ในขณะเดียวกัน
(5) กรรมการไมสามารถประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันและเปน การแขงขันกับกิจการของเด็มโก หรือเขาเปนหุนสวน
หรือกรรมการในนติ ิบุคคลอ่ืนท่มี ีสภาพอยางเดียวกนั และเปนการแขงขนั กับกิจการของ เดม็ โก ไมวา จะทำเพ่ือประโยชนของ
ตนหรือของบคุ คลอ่ืน เวนแตจะแจง ใหท ่ปี ระชุมผูถ ือหุนทราบกอ นที่จะมมี ติแตงตัง้
(6) กรรมการตอ งแจง ใหเ ดม็ โก ทราบโดยไมช กั ชา หากมีสว นไดเสียในสัญญาทเ่ี ดม็ โกท ำขึ้น ไมวา โดยตรง หรือโดยออ ม หรือถือหุน
หนุ กู เพมิ่ ขึ้นหรอื ลดลงในกลมุ ธรุ กิจเด็มโก

หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบของ
คณะกรรมการบรษิ ทั

คณะกรรมการบริษัท มีบทบาทในการกำหนดนโยบาย และทิศทางในการดำเนนิ งานของกลุมธุรกิจเด็มโก ใหมีการเติบโต
มั่นคงอยางยั่งยืน โดยคณะกรรมการบริษัทมีความเปนอิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชนสูงสุดของเด็มโกและผูถือหุน

คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีการแบงแยกบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการบริษัทและฝายจัดการที่ชัดเจน

และดูแลใหมีระบบงานที่ใหค วามเช่ือมัน่ วา กจิ กรรมตาง ๆ ของเดม็ โกด ำเนินไปในลกั ษณะทถี่ กู ตอ งตามกฎหมายและจริยธรรม

กรรมการบริษัททุกทา นมีความเขาใจในหนา ท่ี ความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการและลักษณะการดำเนินธุรกิจของบริษัทและ

รับทราบทจี่ ะปฏิบัตติ ามนโยบายจริยธรรมธรุ กิจหรอื จรรยาบรรณ (CODE OF ETHICS OR STATEMENT OF BUSINESS CONDUCT)

คณะกรรมการบริษัทมหี นา ทเ่ี ปนตวั แทนของ ผถู ือหนุ และมีอำนาจ หนา ท่ี และความรับผิดชอบในการกำกับดูแลกิจการ มีดงั น้ี
• อำนาจหนา ที่และความรบั ผดิ ชอบตอการสรา งคุณคา ใหก ลมุ ธุรกจิ เดม็ โกเติบโตอยางมั่นคงยั่งยืน

(1) กำหนดวตั ถปุ ระสงค และเปาหมายหลัก (Objective) ครอบคลมุ ถึง เปาหมายและแนวคิดหลกั ขององคกร (Control

Idea) และเปาหมายในระยะสั้น แนวคิดหลักขององคกรสามารถสะทอนในรูปแบบของวิสัยทัศน หลักการ และ
รูปแบบธรุ กิจทส่ี รางคณุ คาใหแกกิจการใหเปน ไปเพื่อความยงั่ ยืน มจี รยิ ธรรม เคารพสทิ ธิ และมีความรับผิดชอบท่ีพึง

มีตอเศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดลอ ม และบคุ คลท่ีเกยี่ วขอ งภายใตการกำกับดแู ลกิจการท่ีดี

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 137
บรษิ ทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

(2) กำหนดกลยุทธ นโยบายการดำเนินงาน และพิจารณาอนมุ ตั ิแผนงานและงบประมาณ ตลอดจนการจดั สรรทรัพยากร
สำคัญ เพ่ือใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค และเปา หมาย ใหส ามารถแขง ขันได มผี ลประกอบการท่ีดี โดยคำนึงถงึ ผลกระทบทั้ง
ในระยะกลาง และระยะยาว สามารถปรบั ตวั ไดภ ายใตส ถานการณเ ปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็ว

(3) ติดตาม ประเมินผล กำกับดูแลการรายงานผลการดำเนินงาน ตลอดจนกลยุทธในระยะเวลาปานกลาง และ/หรือ
ประจำปข องกจิ การวา สอดคลองกับการบรรลุวัตถุประสงค และเปา หมายหลักของกลุมธุรกิจเดม็ โก สรางคุณคาใหทั้ง
กลมุ ธุรกิจเด็มโก ลกู คา ผมู ีสวนไดเ สีย และสงั คมโดยรวม

(4) สนบั สนนุ ใหมกี ารนำนวตั กรรม และเทคโนโลยมี าใชใ นเดม็ โกอ ยา งเหมาะสม และปลอดภยั
(5) มีหนาที่ดูแลใหกรรมการทุกคน และผูบริหารปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง (Duty of Care) และ

ซื่อสัตยสุจริตตอองคกร (Duty of Loyalty) และดูแลใหการดำเนินงานเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับ มติที่ประชุม
คณะกรรมการบรษิ ัท และมติท่ีประชุมผูถอื หุน
(6) สรางและขับเคลื่อนวฒั นธรรมองคกรที่ยดึ มั่นในจริยธรรม ประพฤตติ นเปนแบบอยา งในฐานะผูนำในการกำกับดูแล
กิจการ
(7) เขาใจขอบเขตหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบรษิ ัท และกำหนดขอบเขตการมอบหมายหนาที่ และ
ความรับผิดชอบใหคณะกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการผูจัดการ และฝายจัดการอยางชัดเจน
ตดิ ตามดูแลใหป ระธานเจา หนา ท่บี ริหาร กรรมการผจู ดั การ และฝา ยจัดการปฏบิ ัตหิ นาทต่ี ามทไ่ี ดรบั มอบหมาย
(8) กำหนดหลักการ นโยบาย และแนวทางในการดำเนนิ งานสำหรับกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน เชน นโยบายการ
กำกบั ดูแลกิจการ นโยบายบรหิ ารความเสี่ยง นโยบายลงทนุ จรยิ ธรรมในการประกอบธุรกจิ นโยบายการควบคุมการ
ใชขอ มูล กฎบัตร ขอบงั คบั เดม็ โก นโยบายการตอตานการทุจริตคอรร ัปชนั เปนตน
(9) มคี วามตั้งใจทจ่ี ะดำเนนิ ธุรกิจอยางตอ เน่ือง
(10) กำกับดูแลกิจการ ตามหลักการการกำกับดแู ลกจิ การท่ีดี (CG Code 2017) เพอื่ ใหกจิ การเปน ไปเพื่อการสรางคุณคา
ใหกิจการอยา งยง่ั ยนื

• อำนาจหนา ท่ีและความรับผดิ ชอบตอ การกำกับดแู ลใหก ลมุ ธรุ กิจเดม็ โกมีการบรหิ ารจดั การท่ดี ี
(1) คณะกรรมการบริษัท ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของเด็มโก ตลอดจนมติท่ี
ประชมุ ผถู ือหนุ ทช่ี อบดวยกฎหมาย ดว ยความซอื่ สัตย สจุ ริต ระมัดระวัง รักษาผลประโยชนข องเด็มโก
(2) คณะกรรมการบริษัท ตอ งจัดใหมกี ารประชุมผถู อื หนุ เปนการประชุมสามัญประจำป ภายใน 4 เดือน นับแตวันส้ินสุด
รอบระยะเวลาบญั ชขี องเดม็ โก รวมถึงการจัดสงเอกสารเชิญประชมุ ผูถือหุน
(3) คณะกรรมการบริษัท ตองจัดใหมีระบบการบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่มีความนาเชื่อถือได
รวมท้งั ดแู ลใหมีระบการจัดเก็บเอกสารที่ทำใหส ามารถตรวจสอบความถกู ตองของขอมลู ไดในภายหลัง มีการควบคุม
ภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารความเส่ยี งท่มี ีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล
(4) คณะกรรมการบริษทั ตอ งจัดใหม ีการทำงบการเงิน ณ วนั สิ้นสุดของรอบบญั ชขี องเด็มโก ใหมคี วามถูกตองเพื่อแสดง
ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานในรอบปที่ผานมาไดตรงตอความเปนจริง ครบถวนและถูกตองเปนไปตาม
มาตรฐานการบัญชที ร่ี บั รองโดยท่วั ไป และตรวจสอบโดยผูส อบบัญชขี องเด็มโก กอนทจ่ี ะนำเสนอตอ ทีป่ ระชมุ ผถู ือหุน
เพื่อพิจารณาและอนุมัติ
(5) คณะกรรมการบริษัท ตองมีการกำหนดและทบทวนวิสัยทัศน พันธกิจ นโยบาย เปาหมาย กลยุทธ และทิศทางการ
ดำเนินงาน การลงทุน และการบริหารจัดการที่เกี่ยวของกับกลุมธุรกิจเด็มโก พรอมอนุมัติแผนการดำเนินงาน และ
งบประมาณประจำป ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคและเปาหมายหลักของเด็มโก โดยพิจารณาถึงการจัดสรร
ทรัพยากรและการควบคมุ การดำเนินงานทเ่ี หมาะสม
(6) คณะกรรมการบริษัท ตอ งกำหนดและควบคุมดแู ลใหฝา ยจดั การ ดำเนินการใหเ ปนไปตามนโยบายที่กำหนดไวอยางมี
ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล โดยคำนงึ ถงึ ประโยชนของผถู ือหนุ เปน สำคญั

138 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

(7) คณะกรรมการบริษัทตองจัดการกลุมธุรกิจเด็มโกใหดำเนินการตามกฎหมายและความถูกตอง ในสังคมเปนไปตาม
วัตถปุ ระสงคทกี่ ำหนดไวในหนังสือบริคณหสนธิ และตามระเบียบท่กี ำหนดไวในขอบังคับของเดม็ โก รวมท้งั จัดการให
เปนไปตามมตขิ องท่ีประชมุ ผถู ือหุน

(8) คณะกรรมการบริษัท มีอำนาจแตงตั้ง ฝายจัดการ เพื่อทำหนาทีบ่ ริหารกิจการ รวมถึงกำหนดอัตราคาตอบแทนและ
สวสั ดกิ ารทเี่ หมาะสม

(9) คณะกรรมการบรษิ ัท ตองจัดการแตงตง้ั ประธานเจาหนา ทบ่ี ริหาร กรรมการผูจ ัดการ เพ่ือบริหารควบคมุ ดแู ลกิจการ
ทั้งปวงของบริษัท รวมถึงกำหนดอตั ราคาตอบแทน และสวสั ดิการทเ่ี หมาะสม ตลอดถงึ การสงเสริม สนับสนนุ ใหม ีการ
พัฒนาผูบริหารระดับสูง จัดใหมีแผนการสืบทอดตำแหนงสำหรับผูบริหารระดับสูง และติดตามดูแลใหมีการบริหาร
ทรพั ยากรบุคคลทีเ่ หมาะสม

(10) คณะกรรมการบริษัท ตองมีการใหคุณใหโทษแก ประธานเจาหนาท่ีบรหิ าร และกรรมการผูจัดการโดยกรรมการท่ไี ม
เปนผูบรหิ าร

(11) คณะกรรมการบริษัท ตองจัดใหมีระบบที่สนับสนุนการตอตานการทุจริตคอรรัปชันที่มีประสิทธิภาพเพื่อใหมั่นใจวา
ฝา ยจัดการไดตระหนักและใหความสำคัญกบั การตอตานการทุจริตคอรร ัปชันและสนิ บน รวมทง้ั ปฏิบตั ติ ามมาตรการ
ตอ ตา นการทจุ รติ คอรรัปชนั

(12) คณะกรรมการบริษัท ตองพิจารณาและมีมติอนุมัติการแตงตั้ง เปลี่ยนแปลง บุคคลเขาเปนกรรมการ และ/หรือ
ผบู รหิ ารในบรษิ ัทยอย หรอื บริษัทรว ม ตามสดั สว นการถือหุนในบริษัทยอย บรษิ ทั รว ม รวมถึงการกำหนดใชนโยบาย
การควบคุมและกลไกการกำกบั ดูแลกิจการที่เดม็ โก เขาไปลงทุนในบริษัทยอย หรือบรษิ ัทรวม เพื่อแสดงวาบริษทั มี
กลไกการกำกบั ดแู ลบริษัทยอ ยตามทีก่ ำหนดในประกาศที่ ทจ.28/2551 เรือ่ งการขออนุญาตและการอนุญาตใหเ สนอ
ขายหุนทอี่ อกใหม ฉบับตามทีไ่ ดมีการแกไข

(13) คณะกรรมการบริษัท ตอ งพิจารณากำหนดโครงสรางการบริหารกจิ การ มอี ำนาจในการแตง ต้ังคณะกรรมการชุดยอย
ตาง ๆ เชน คณะกรรมการบรหิ าร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งองคกร เปนตน รวมถึง
การกำหนด ขอบเขต อำนาจหนาที่ ตลอดจนคา ตอบแทน ของคณะกรรมการชุดยอ ยตา ง ๆ

(14) คณะกรรมการบริษัท ตองจัดทำกฎบัตร นโยบายการกำกับดูแลกิจการ จรรยาบรรณของกลุมธุรกิจเด็มโก เพื่อให
กรรมการ ผูบริหาร พนักงาน รวมถึงลูกจางทุกคน ใชเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติควบคูไปกับขอบังคับและ
ระเบยี บของเดม็ โก เพอ่ื ใหเกิดความเปนธรรมแกผมู สี วนเก่ียวของทกุ ฝา ย

(15) คณะกรรมการบรษิ ัท ตอ งจดั ใหมีเลขานกุ ารบริษัท เพอื่ ใหคำแนะนำดา นกฎหมาย และกฎเกณฑต าง ๆ ท่ีคณะกรรมการ
จะตอ งทราบ เพอื่ ชว ยใหค ณะกรรมการบรษิ ัท ปฏบิ ตั ิใหเ ปนไปตามทกี่ ฎหมายและกฎระเบยี บตาง ๆ ที่มผี ลบงั คับใช

เวน แตอ ำนาจในการดำเนินการดงั ตอ ไปนี้ จะกระทำไดก ็ตอเมื่อไดร บั อนมุ ตั ิจากทป่ี ระชุมผถู อื หนุ กอ น ทง้ั น้ีเร่ืองที่กรรมการ
มีสวนไดเสีย หรือมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใดกับกลุมธุรกิจเด็มโก ใหกรรมการซึ่งมีสวนไดเสีย หรือมีความขัดแยงทาง
ผลประโยชนด ังกลาว ไมมสี ทิ ธิออกเสยี งลงคะแนนในเรอ่ื งนน้ั

(ก) เรอ่ื งทก่ี ฎหมายกำหนดใหตอ งไดมติท่ปี ระชมุ ผูถือหนุ
(ข) การทำรายการที่กรรมการมีสวนไดเ สยี และอยูในขา ยทกี่ ฎหมาย หรอื ขอ กำหนดของตลาดหลักทรพั ยแ หงประเทศไทยระบใุ ห

ตอ งไดร ับอนมุ ตั จิ ากท่ีประชุมผถู อื หุน
เรื่องดังตอไปนี้จะตองไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการดวยคะแนนเสียงขางมากของกรรมการที่เขารวม
ประชุม และจากทป่ี ระชมุ ผูถอื หุนดว ยคะแนนเสยี งไมน อ ยกวา 3 ใน 4 ของจำนวนเสยี งท้งั หมดของผูถ ือหุนทีเ่ ขาประชุมและมีสิทธิ
ออกเสียงลงคะแนน
(ก) การขายหรอื โอนกจิ การของเด็มโกท้งั หมดหรอื บางสวนทีส่ ำคญั
(ข) การซื้อหรือรบั โอนกจิ การของบริษทั อ่นื หรือบริษทั เอกชนมาเปน ของเดม็ โก
(ค) การทำ แกไ ข หรือเลกิ สัญญาเก่ียวกับการใหเชากิจการของเดม็ โกท ้งั หมดหรอื บางสว นท่สี ำคญั การมอบหมายใหบ คุ คลอ่ืนเขา
จดั การธุรกิจของกลมุ ธรุ กจิ เด็มโกหรอื การรวมกิจการกับบุคคลอ่ืนโดยมีวัตถุประสงคจะแบงกำไรขาดทุนกัน

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 139
บรษิ ทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

(ง) การแกไ ขเพิม่ เตมิ หนังสอื บริคณหส นธิหรือขอ บงั คบั
(จ) การเพิ่มทนุ การลดทนุ การออกหุนกู การควบหรอื เลิกบริษัท
(ฉ) การอนื่ ใดทีก่ ำหนดไวภายใตบทบัญญตั ิของกฎหมาย วาดวยหลกั ทรัพย และ/หรอื ขอ กำหนดของตลาดหลกั ทรัพยแหงประเทศ

ไทย ใหตอ งไดรับความเห็นชอบจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษัทและที่ประชมุ ผถู อื หนุ ดว ยคะแนนเสียงดังกลาวขา งตน

กรรมการผูมอี ำนาจลงนาม
ชื่อและจำนวนกรรมการ ซึ่งมีอำนาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท คือ นางประพีร ปุยพันธวงศ นายสงวน ตังเดชะหิรัญ

นายพงษศักดิ์ ศิริคุปต นายไพฑูรย กำชัย กรรมการสองในสี่คนนี้ ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตราสำคัญของบริษัท หรือ
นายสงวน ตังเดชะหิรัญ นายพงษศักดิ์ ศิริคุปต นายไพฑูรย กำชัย นายโอฬาร ปุยพันธวงศ กรรมการสองในสี่คนนี้ ลงลายมือช่อื

รว มกันและประทับตราสำคัญของบริษัท

ขอ้ มลู คณะกรรมการชุดย่อยท่แี ตล่ ะชุดไดร้ บั การแต่งตง้ั

คณะกรรมการบริษัท เปนผูพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการชุดยอย (Board & Executive Committee) เพื่อทำหนาที่

พิจารณากลน่ั กรองงานตาง ๆ เปนการเฉพาะ โดยในป 2564 เดม็ โก มคี ณะกรรมการชดุ ยอ ย ดงั นี้

ก. คณะกรรมการชุดยอย (Board Committee) มีกรรมการอิสระ กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร และกรรมการที่เปนผูบริหาร

เปน กรรมการในคณะกรรมการชดุ ยอยนัน้ 5 คณะ คือ

• คณะกรรมการตรวจสอบ

• คณะกรรมการสรรหาพิจารณาคา ตอบแทนและกำกบั ดูแลกจิ การ

• คณะกรรมการบริหารความเสย่ี งองคก ร

• คณะกรรมการลงทนุ

• คณะกรรมการความย่ังยืน

ท้ังนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทคร้ังท่ี 9/2564 เมอื่ วนั ที่ 24 ธนั วาคม 2564 มมี ตปิ รับชื่อคณะกรรมการชุดยอยใหม

เพ่อื ความชดั เจนของภารกิจและสอดคลอ งตามหลกั การกำกับดแู ลกิจการทด่ี ี โดยใหม ีผลตั้งแต วันท่ี 1 มกราคม 2565 เปนตนไป

ดงั นี้

โครงสรางคณะกรรมการชดุ ยอ ย เดิม โครงสรา งคณะกรรมการชดุ ยอย ปรบั ใหม

• คณะกรรมการตรวจสอบ • คณะกรรมการตรวจสอบ

• คณะกรรมการสรรหา พิจารณาคาตอบแทนและ • คณะกรรมการกํากับดแู ลกิจการและความยงั่ ยนื

กาํ กับดแู ลกิจการ • คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคา ตอบแทน

• คณะกรรมการบริหารความเส่ียงองคก ร • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร

• คณะกรรมการลงทุน • คณะกรรมการลงทนุ

• คณะกรรมการความยั่งยนื

ข. คณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) ประกอบดวย กรรมการบริษัทท่ีเปนผูบริหาร และผบู ริหารระดับสูงในฝาย
จัดการ

ค. คณะกรรมการกำกับดูแลบริษัทยอย/บริษัทรวม (Sub-Board Committee) ประกอบดวยกรรมการบริษัท และผูบริหารท่ี
เกี่ยวขอ งกบั การบรหิ ารกจิ การของบริษทั ยอย/บรษิ ทั รว มนั้น 2 คณะ คอื
• คณะกรรมการกำกบั ดูแลบริษทั ยอย บรษิ ัท เดม็ โก เพาเวอร จำกดั (SBC-DP)

• คณะกรรมการกำกบั ดูแลบริษัทยอ ย บรษิ ัท เด็มโก เดอลาว จำกัด (SBC-DDL)

140 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกดั (มหาชน)

โดยคณะกรรมการชุดยอยจะมีการประชุมตามหลักเกณฑที่กำหนดในกฎบัตรคณะกรรมการชุดยอยแตละคณะและใน
นโยบายการกำกบั ดแู ลกิจการ โดยมกี ารกำหนดวันประชุมแตละคณะไวลวงหนาตลอดท้งั ป
ในป 2564 เดม็ โก มคี ณะกรรมการชุดยอย ดงั นี้
(1) คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ตามขอกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
กำหนดซึ่งประกอบดวยกรรมการอิสระอยางนอย 3 คน และอยางนอย 1 คนตองมีความรูทางดานบัญชีและการเงิน ซ่ึง
กรรมการที่ไดแตงตั้งมีคุณสมบัติครบถวนตามขอกำหนด เพื่อทำหนาที่ตรวจสอบการดำเนินกิจการของเด็มโก สอบทาน
ประสิทธิผลของการควบคุมภายในเพื่อใหมีความมั่นใจวาการปฏิบัติงานของหนวยงานตาง ๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ถูกตองตามกฎหมาย สอดคลองตามระเบียบปฏิบัติ ตลอดจนมาตรฐานทางจริยธรรมที่ดี การบริหารกิจการ ดำเนินไปอยาง
เหมาะสมมปี ระสิทธภิ าพ และเกิดประสิทธผิ ลสูงสดุ มกี ารสอบทานและตรวจสอบรายงานทางการเงนิ ของบริษัทรวมกับผูสอบ
บัญชี เพื่อใหมั่นใจวารายงาน ทางการเงินของเด็มโก มีความนาเชื่อถือ มีการเปดเผยขอมูลอยางครบถวนถูกตองเปนไปตาม
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และขอ กำหนดท่เี กย่ี วขอ ง เพือ่ สรางความม่นั ใจ และความนา เช่อื ถือแกผลู งทนุ และผมู สี ว นได
เสีย วาเดม็ โกมีการตรวจสอบและกำกับดูแลกจิ การอยางรอบคอบ เปนธรรม โปรง ใส และดำเนนิ ธุรกิจตามหลักการกำกับดูแล
กจิ การทด่ี ี นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังมีหนาที่สำคญั ในการเสนอแตงตั้งและเลกิ จา งผูส อบบญั ชีภายนอก พรอมท้ัง
เสนอคาตอบแทนของผสู อบบญั ชีแกค ณะกรรมการบรษิ ทั เพอ่ื ขออนมุ ตั ิจากท่ปี ระชมุ สามญั ผถู ือหนุ เปนประจำทกุ ป

รายช่อื คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 ประกอบดวย กรรมการอสิ ระ จำนวน 4 คน ดงั น้ี

ชือ่ – นามสกลุ ตำแหนง ในคณะกรรมการตรวจสอบ ตำแหนง ในคณะกรรมการ DEMCO

1. นายนรศิ ศรีนวล ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ

2. นายปริญช ผลนวิ าศ กรรมการ กรรมการอิสระ

3. นายเสริมศกั ด์ิ จารมุ นสั กรรมการ กรรมการอิสระ

4. นายปญ ญ เกษมทรัพย กรรมการ กรรมการอิสระ

ทั้งนี้กรรมการตรวจสอบมีคุณสมบัติเชนเดียวกับ “กรรมการอิสระ” และไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจาก
คณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดำเนินงานของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทาง
ผลประโยชน รวมถงึ ไมเปนกรรมการของบริษทั ยอย หรือบริษทั รว มของบรษิ ัท โดยมี นายปริญช ผลนิวาศ และนายเสริมศักด์ิ
จารุมนัส เปนกรรมการที่มีความรูและประสบการณดานบัญชีเพียงพอที่จะทำหนาที่ในการสอบทานความนาเชื่อถือของ
งบการเงนิ บรษิ ัท

องคประกอบและการแตงตง้ั
1. ประกอบดวยกรรมการบริษัท ที่เปนกรรมการอิสระจำนวนไมน อยกวา 3 คน และมกี รรมการตรวจสอบอยางนอ ย 1 คน
ทีม่ ีความรู ความเขาใจและประสบการณดา นบญั ชหี รือการเงนิ ซ่ึงสามารถสอบทานความเช่ือถือของงบการเงิน
2. คณะกรรมการบริษัท เปน ผพู จิ ารณาแตง ต้งั กรรมการบริษทั เพ่ือทำหนา ทกี่ รรมการตรวจสอบ โดยกรรมการตรวจสอบที่
พนตำแหนงตามวาระอาจไดร ับการแตงตง้ั จากคณะกรรมการบริษัทไดอีก
3. คณะกรรมการตรวจสอบ คัดเลือกกรรมการตรวจสอบ 1 คนใหดำรงตำแหนงประธานกรรมการตรวจสอบและเสนอ
คณะกรรมการบรษิ ทั เพื่อทราบ
4. ผูบรหิ ารสงู สุดสำนกั ตรวจสอบ (หวั หนาหนวยงานตรวจสอบภายใน) ทำหนาที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เพ่อื ทำ
หนาที่ชวยเหลือ สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบเก่ียวกับการนัดหมายประชุม จัดเตรยี มวาระการ
ประชุม จัดเตรียมและนำสงเอกสารประกอบการประชุม บันทึกรายงานการประชุม และอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการ
ตรวจสอบมอบหมาย

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 141
บริษัท เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

หนาท่แี ละความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
1. สอบทานประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของกระบวนการกำกบั ดูแลทดี่ ี การบริหารความเส่ียง และระบบการควบคุมภายใน
2. สอบทานใหบริษัท มีรายงานทางการเงินที่ถูกตองและนาเชื่อถือ รวมถึงการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ โดยการ
ประสานงานกับผูสอบบญั ชีภายนอก และผูบ ริหารทีร่ ับผิดชอบในการจดั ทำรายงานทางการเงนิ ทั้งรายไตรมาสและประจำป
ทั้งนี้ เพื่อใหสอดคลองกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศไทย และสงเสริมใหมีการพัฒนาระบบ
การรายงานทางการเงนิ ใหท ดั เทยี มกับมาตรฐานสากล
3. สอบทานการปฏิบตั ิงาน ใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลกั ทรัพย หรือขอกำหนดของตลาด
หลักทรัพยแหง ประเทศไทย นโยบาย กฎ ระเบยี บ ขอบงั คับ และกฎหมายอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ยี วของกับการดำเนินงานบรษิ ทั
4. สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน และพิจารณาการเปดเผยขอมูลให
เปน ไปตามกฎหมายและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
5. พิจารณาคัดเลือก เสนอแตง ตั้ง เลอื กกลบั เขา มาใหม และเลิกจาง ผูสอบบญั ชภี ายนอกของบรษิ ทั รวมถงึ พิจารณากำหนด
คา ตอบแทนของผูสอบบญั ชี เพอ่ื เสนอตอคณะกรรมการบริษัท ใหความเหน็ ชอบในการนำเสนอเพ่ือขออนมุ ัติในท่ีประชุม
ผถู ือหุน รวมท้งั ประชมุ รวมกบั ผูส อบบัญชโี ดยไมมผี บู รหิ ารและคณะผบู ริหารเขา รวมประชุมดวยอยางนอ ยปล ะ 1 คร้ัง
6. สอบทานความเหมาะสมของการปฏิบัติตามแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับมาตรการตอตานคอรรัปชันในการเขาสู
กระบวนการรบั รอง (Certification Process) ทลี่ งนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ
7. ตรวจสอบหาขอเท็จจริงและติดตามความคบื หนาเรอื่ งรอ งเรียนอนั เปน การกระทำท่ีอาจสอถึงการทุจริตท่ี คณะกรรมการ
ตรวจสอบไดรับผานกระบวนการรอ งเรียนและการแจงเบาะแสตามมาตรการปองกันทุจริต คอรรัปชันของบริษัท เพื่อให
มั่นใจวา มกี ารดำเนินการท่เี หมาะสม
8. สอบทานและใหความเห็นตอแผนงานตรวจสอบภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมตามวิธีการและ
มาตรฐานการตรวจสอบท่ียอมรับโดยทั่วไป
9. พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ความเพียงพอของงบประมาณ และบุคลากรของหนวยงาน
ตรวจสอบภายใน รวมถึงพิจารณาแตง ต้งั โยกยาย เลกิ จา ง และประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านประจำปของหวั หนาหนวยงาน
ตรวจสอบภายใน
10. อาจแสวงหาความเห็นที่เปนอิสระจากที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องไดตามความจำเปนดวย
คาใชจายของบริษัท โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ การดำเนินการวาจางใหเปนไปตามระเบียบ
ขอกำหนดของบรษิ ทั
11. ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการตรวจสอบ ตองเขารวมประชุมผูถือหุนของบริษัท เพื่อชี้แจงในเรื่องเกี่ยวกับ
คณะกรรมการตรวจสอบ หรอื การแตงต้ังผสู อบบญั ชี
12. พิจารณาใหความเห็นชอบการสอบทานขอมูลทางการเงิน รายไตรมาสของบริษัท และการตรวจสอบขอมูลทางการเงนิ
โดยผูส อบบัญชีรบั อนญุ าต กอ นรายงานตลาดหลักทรพั ยแหง ประเทศไทย
13. รายงานผลการดำเนนิ งานเกีย่ วกบั การตรวจสอบภายในตอคณะกรรมการบรษิ ทั เปน ประจำทกุ ป ซงึ่ รายงานระบเุ กย่ี วกับ
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบในเรือ่ งตาง ๆ ของการตรวจสอบภายใน ความเห็นตอรายงานทางการเงิน ความ
เพียงพอของระบบการควบคมุ ภายใน และรายงานอื่นทเ่ี หน็ วาคณะกรรมการบริษัทควรทราบ
14. พิจารณาใหความเห็นชอบกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบกอนนำเสนอขออนุมัติตอคณะกรรมการบริษัท และจัดใหมี
การทบทวนความเหมาะสมของกฎบัตรฯ อยา งนอ ยปละ 1 ครั้ง
15. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบที่ลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และเปดเผยไวในรายงานประจำป
ของบริษทั ตามหลกั เกณฑทต่ี ลาดหลกั ทรัพยแ หงประเทศไทย กำหนด ซึ่งประกอบดว ยขอ มูลอยางนอย ดังน้ี
1) ความเหน็ เกย่ี วกับความถกู ตอ ง เชอ่ื ถือไดของรายงานทางการเงนิ ของบรษิ ัท
2) ความเหน็ เกี่ยวกบั ความเพียงพอของระบบการควบคมุ ภายในของบริษทั
3) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดว ยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรพั ย
แหง ประเทศไทย หรอื กฎหมายท่ีเกยี่ วขอ งกบั ธุรกิจของบริษัท

142 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เด็มโก จำกัด (มหาชน)

4) ความเห็นเก่ยี วกบั ความเหมาะสมของผูสอบบญั ชี
5) ความเห็นเกยี่ วกับรายการทอี่ าจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน
6) จำนวนคร้งั ของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตล ะคน
7) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตรคณะกรรมการ

ตรวจสอบ (Audit Committee Charter)
8) รายงานอื่นใดที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบภายในขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับ

มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั
16. เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบไดร ับแจงจากผูสอบบัญชีในกรณีทีผ่ ูสอบบัญชตี รวจพบพฤติการณอันควรสงสัยวา ประธาน

เจาหนาที่บริหาร กรรมการผูจัดการหรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัท กระทำความผิด ตาม
พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย คณะกรรมการตรวจสอบตองรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องตนให
คณะกรรมการบริษัททราบภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงจากผูสอบบัญชีกอนรายงานสำนักงานคณะกรรมการ
กำกับหลกั ทรัพยและตลาดหลักทรพั ย
17. ในการปฏิบัตหิ นาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีขอสงสัยวามีรายการหรือการกระทำซึ่งอาจมผี ลกระทบ
อยางมีนัยสำคัญตอฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัท ใหรายงานสิ่งที่ตรวจพบดังตอไปนี้ในทันทีตอ
คณะกรรมการบรษิ ัท เพือ่ คณะกรรมการบริษทั จะไดหาแนวทางแกไ ขไดท นั เวลา

1) รายการความขัดแยงทางผลประโยชน
2) การทุจรติ หรอื มสี ิง่ ผดิ ปกติ หรือมีความบกพรอ งสำคัญในระบบการควบคมุ ภายใน
3) การฝาฝนกฎหมาย หรือขอกำหนดใด ๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของกับ

ธรุ กจิ ของบรษิ ทั
เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบไดรายงานรายการดังกลาวตอคณะกรรมการบริษัท และไดมีการหารือรวมกันกับ
คณะกรรมการบริษัทและผูบรหิ ารแลว วา ตอ งดำเนินการปรบั ปรุงแกไ ข ภายในระยะเวลาท่ีกำหนด หากปรากฎวามีการ
เพิกเฉยตอการดำเนนิ การแกไขโดยไมมเี หตุผลอันสมควร กรรมการตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง อาจรายงานสิ่งทีพ่ บโดยตรง
ตอสำนกั งานคณะกรรมการกำกบั หลักทรพั ยและตลาดหลักทรพั ย หรอื ตลาดหลกั ทรพั ยแหงประเทศไทยได
18. พิจารณาสอบทานคุณสมบตั ิของผูท่ีไดรับมอบหมายใหรับผดิ ชอบสงู สดุ ในสายงานบัญชแี ละการเงิน (CFO)/ผูควบคุมดูแล
การทำบัญชีใหเปนไปตามขอกำหนด คุณสมบัติของผูรับผิดชอบสูงสุดในสายงานบญั ชีและการเงิน และผูควบคุมดูแลการ
ทำบญั ชี ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรพั ยแ ละตลาดหลกั ทรัพย (ก.ล.ต.) และตลาดหลกั ทรัพยแ หงประเทศไทย
19. ปฏบิ ัตงิ านอืน่ ใดตามท่ีคณะกรรมการบริษัทมอบหมายดว ยความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

ในการปฏบิ ตั งิ านตามขอบเขตหนาที่ คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจเชญิ ผูบรหิ าร หรือคณะผบู รหิ าร หรอื บุคคลอ่นื ที่
เก่ียวของมาใหความเหน็ เขา รว มประชุมหรือใหขอ มลู ท่ีเกย่ี วของ

คณะกรรมการตรวจสอบรับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัทยังคงมีความรับผิดชอบในการ
ดำเนินงานตอบุคคลภายนอก

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท จะตองรายงานตลาด
หลักทรัพยแหงประเทศไทย ภายใน 3 วันทำการนับแตวันที่มีมติของคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว
ตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย วา ดว ยการรายงานผานส่อื อิเลก็ ทรอนิกส

(2) คณะกรรมการสรรหา พจิ ารณาค่าตอบแทน และกาํ กบั ดแู ลกิจการ
คณะกรรมการสรรหา พิจารณาคาตอบแทน และกำกับดแู ลกิจการ มีจำนวน 4 คน ประกอบดวยกรรมการอิสระ และ

กรรมการท่ไี มเปน ผบู รหิ าร โดยกรรมการสรรหา พจิ ารณาคา ตอบแทน และกำกับดูแลกจิ การ มสี ัดสว นกรรมการอสิ ระมากกวา

รอยละ 50 ของจำนวนกรรมการ

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 143
บรษิ ทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

รายชื่อคณะกรรมการสรรหา พิจารณาคาตอบแทนและกำกับดูแลกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ประกอบดวย

กรรมการอสิ ระ และกรรมการทไี่ มเปนผูบรหิ าร จำนวน 4 คน ดังน้ี

ชอื่ – นามสกลุ ตำแหนงในคณะกรรมการสรรหา พจิ ารณา ตำแหนงในคณะกรรมการ DEMCO
คาตอบแทนและกำกับดูแลกจิ การ

1. นายเสริมศักด์ิ จารุมนสั ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ

2. นายปรญิ ช ผลนิวาศ กรรมการ กรรมการอสิ ระ

3. นายปญ ญ เกษมทรัพย กรรมการ กรรมการอิสระ

4. นายโอฬาร ปยุ พนั ธวงศ กรรมการ กรรมการทไ่ี มเ ปน ผูบริหาร

หมายเหตุ : ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 7/2563 มีมติแตงตั้งนายปริญช ผลนิวาศ กรรมการอิสระ เปนกรรมการ
สรรหา พิจารณาคาตอบแทนและกำกับดูแลกจิ การ แทนนายสงวน ตังเดชะหิรัญ มผี ลตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2564

องคประกอบและคณุ สมบตั ิ
1. คณะกรรมการสรรหา พิจารณาคาตอบแทน และกำกับดูแลกิจการ (“คณะกรรมการสรรหาฯ”) ไดรับการแตงตั้งจาก
คณะกรรมการบริษัท โดยมจี ำนวนไมน อยกวา 3 คน ซึ่งประกอบดว ยกรรมการที่ไมไดเปนผบู รหิ าร โดยกรรมการสรรหา
พิจารณาคาตอบแทน และกำกับดูแลกิจการ (“กรรมการสรรหาฯ”) สวนใหญตองเปนกรรมการอิสระ และให
คณะกรรมการบรษิ ัทแตงตัง้ กรรมการสรรหาฯ ทเี่ ปนกรรมการอิสระคนหนึ่งเปนประธานกรรมการสรรหาฯ
2. กรรมการสรรหาฯ จะตองมีความรู ความสามารถ และประสบการณที่เหมาะสม ตลอดจนมีความรู ความเขาใจถึง
คณุ สมบัติ หนาท่ี และความรบั ผดิ ชอบของตน
3. คณะกรรมการสรรหาฯ สามารถแตง ต้งั พนกั งานของเดม็ โกจำนวน 1 คน ทำหนาท่ีเปนเลขานุการ คณะกรรมการสรรหาฯ

ภารกิจและความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา พิจารณาคา ตอบแทน และกำกับดูแลกิจการ
คณะกรรมการสรรหา พิจารณาคา ตอบแทนและกำกับดูแลกิจการ มีหนา ที่ และความรบั ผิดชอบหลกั ดังนี้

1. ดา นการสรรหา
1) กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการสรรหากรรมการ และผูมีอำนาจในการจัดการ เพื่อเสนอให
คณะกรรมการบรษิ ทั พิจารณาอนุมตั ิ และสง นโยบายดังกลาวใหหนวยงานกำกับเมอ่ื มีการรอ งขอ
2) คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและเปนไปตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวของ กำหนดเพ่ือ
ดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท กรรมการในคณะกรรมการชุดยอย และผูมีอำนาจในการจัดการ ใหคณะกรรมการ
พจิ ารณาอื่นทเ่ี หมาะสม
ทั้งนี้ ในการเสนอชื่อกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาฯ จะพิจารณาถึงประสบการณอยางนอยดาน
หนึ่งดานใดที่สำคัญสำหรับคณะกรรมการบริษัท (เชน วิศวกรรม พลังงานทดแทน บัญชีและบริหารการเงิน
กฎหมาย เทคโนโลยี บริหารธุรกิจ บริหารทรัพยากรบุคคล ฯลฯ ตลอดจนพิจารณาถึงความสามารถทีช่ วยใหการ
ดำเนนิ การของคณะกรรมการบริษัทเปน ไปอยางรอบคอบยิ่งข้ึน ความสามารถในการดำเนินการตัดสินใจทางธุรกิจ
อยา งมเี หตุผล ความสามารถในการคดิ อยางมกี ลยทุ ธ แสดงใหเห็นไดถึงความมีประสบการณใ นการเปน ผูนำ รวมท้งั
มีความชำนาญในวิชาชพี ระดบั สูง และมคี วามซ่ือสตั ย ตลอดจนมคี ณุ สมบตั สิ วนบคุ ลอ่นื ท่ีเหมาะสม
3) ดูแลใหคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดยอย มีขนาดและองคประกอบที่เหมาะสมกับองคกร รวมถึงมี
การปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับสภาพแวดลอ มท่ีเปล่ียนแปลงไป โดยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชดุ
ยอ ยจะตอ งประกอบดว ยบคุ คลท่มี คี วามรู ความสามารถ ทกั ษะ และประสบการณใ นดานตา ง ๆ
4) เปดเผยนโยบาย และรายละเอียดของกระบวนการสรรหาในรายงานประจำปของเดม็ โก
5) สรางความมั่นใจวาเด็มโกมีแผนการสืบทอดตำแหนง และความตอเนือ่ งในการบริหารที่เหมาะสมสำหรับตำแหนง
ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการผูจัดการ และผูมีอำนาจในการจัดการ และเสนอตอ
คณะกรรมการบรษิ ทั เพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ัติ

144 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

2. ดา นคา ตอบแทน
1) กำหนดนโยบายจายคาตอบแทนและผลประโยชนอื่น รวมถึงจำนวนคาตอบแทนและผลประโยชนอื่นใหแก
กรรมการบริษัท และผูมีอำนาจในการจัดการ โดยมีหลักเกณฑที่ชัดเจน โปรงใส และนำเสนอใหคณะกรรมการ
บริษัทพิจารณาอนุมตั ิ และ/หรือนำเสนอ เพื่อขอความเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือหุนแลว แตกรณี และสงนโยบาย
ดงั กลาวใหหนว ยงานกำกับหากมกี ารรอ งขอ
2) ดูแลใหก รรมการบริษทั และผูมอี ำนาจในการจัดการไดรับผลตอบแทนท่เี หมาะสมกับหนา ท่ี และความรบั ผดิ ชอบ
3) กำหนดแนวทางในการประเมินผลงานของกรรมการบริษัท และผูมีอำนาจในการจดั การเพือ่ พิจารณาผลตอบแทน
ประจำป
4) เปดเผยนโยบายเกี่ยวกับการกำหนดคาตอบแทน และเปดเผยคาตอบแทนในรูปแบบตาง ๆ รวมทั้งจัดทำรายงาน
การกำหนดคาตอบแทน โดยอยางนอยตองมีรายละเอียดเกี่ยวกับเปาหมายการดำเนินงาน และความเห็นของ
คณะกรรมการสรรหาฯ ไวใ นรายงานประจำปข องเด็มโก
5) เสนอแนะคาตอบแทนที่เหมาะสมของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอยตอคณะกรรมการบริษัท
เพอ่ื ใหความเหน็ ชอบกอ นเสนอท่ีประชุมผถู อื หนุ เพือ่ พิจารณาอนมุ ัติ
6) ทบทวนขอ เสนอของฝายจดั การเรื่องนโยบายจายคาตอบแทน แผนการกำหนดคาตอบแทนและผลประโยชนพิเศษ
อ่นื นอกเหนือจากเงินคาจา งสำหรบั พนกั งานเด็มโก และเสนอแนะตอ คณะกรรมการบริษัทเพอื่ พจิ ารณาอนุมตั ิ
7) ทบทวนเปาหมายและหลักเกณฑการปฏิบัติงาน (Performance Target and Criteria) สำหรับเด็มโกประธาน
กรรมการบริหาร ประธานเจาหนา ที่บรหิ าร กรรมการผจู ดั การ และเสนอแนะตอ คณะกรรมการบรษิ ทั เพ่อื อนมุ ตั ิ
8) เสนอแนะคาตอบแทนและผลประโยชนที่เหมาะสมสำหรับประธานกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหาร
กรรมการผจู ัดการ เลขานุการบรษิ ทั เลขานกุ ารคณะกรรมการชุดยอยและทีป่ รกึ ษาบรษิ ทั ตอ คณะกรรมการบริษัท
เพือ่ พจิ ารณาอนมุ ตั ิ

3. ดา นการกำกับดูแลกิจการ
1) กำหนดนโยบายดานการกำกับดูแลกจิ การของกลุมธุรกจิ เด็มโกเพ่ือเสนอตอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาใหความ
เห็นชอบ ติดตามเพื่อใหมีการปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการ รวมถึงทบทวนและปรับปรุงนโยบายใหมี
ความเหมาะสมอยา งสมำ่ เสมอ
2) กำกบั ดูแลใหก ารปฏบิ ัติงานของเด็มโกเปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทด่ี ีของหนว ยงานที่มีอำนาจกำกับดูแล
ตามกฎหมาย เชน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย
แหง ประเทศไทย เปนตน
3) จัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปของประธานกรรมการ กรรมการรายบุคคล คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการชุดยอย และประธานเจา หนา ที่บรหิ าร

4. ดา นนโยบายทรัพยากรบคุ คลและวฒั นธรรมองคกร
1) พิจารณาใหความเห็นและเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายดานทรัพยากรบุคคล เพื่อใหสอดคลองกับกลยุทธในการทำ
ธุรกิจของกลุมธุรกิจเด็มโก ซึ่งรวมถึงการปรับปรุง และพัฒนาบุคลากรใหมีจำนวน ความรู ทักษะ ประสบการณ
และแรงจูงใจทเ่ี หมาะสม
2) กำหนดนโยบาย และกำกับใหมีการจัดทำแผนสืบทอดตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการผูจัดการ และผูมี
อำนาจในการจัดการอ่ืน โดยระบตุ ัวบุคคลท่จี ะทำหนา ทแ่ี ทน พรอมจดั ใหมรี ะบบพฒั นาบคุ ลากร เพื่อเตรยี มความพรอ ม
3) พิจารณาและใหความเหน็ เกีย่ วกับแผนการปลูกฝง และพฒั นาวัฒนธรรมองคกร

(3) คณะกรรมการบรหิ ารความเสย่ี งองคก์ ร
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร (Corporate Risk Management Committee : CRMC) ไดจัดตั้งขึ้นตามมติ

ของคณะกรรมการบรษิ ทั ประกอบดวยกรรมการบรษิ ัทอยางนอย 3 คน และอยา งนอ ย 1 คนตอ งเปน กรรมการอสิ ระ โดยไดมี

การกำหนดขอบเขตหนาที่ และความรับผิดชอบ ใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับภารกิจของบริษัท คณะกรรมการบริษัทได

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 145
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงที่เปนกระบวนการทำงานภายในองคกร ซึ่งถือเปนเครื่องมอื
สำคญั ประการหน่งึ ของการบรหิ ารจัดการของบรษิ ัท คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งองคกรจะใหก ารสนับสนุนและปฏิบัติการ
ในนามของคณะกรรมการบริษัท ซึ่งอาศัยหลักการพื้นฐานของการกำกับดูแลกิจการขององคกรที่ดี (Good Corporate
Governance) โดยมกี ารเช่ือมโยงกับวสิ ัยทัศน พนั ธกจิ และเปา หมายขององคกร และใหม ีกรอบการบรหิ าร จดั การความเสี่ยง
องคกรตามแนวทางสากล (COSO Enterprise Risk Management Framework : COSO ERM) รวมถงึ สง เสรมิ และสนับสนนุ
ใหมีการบริหารความเส่ียงทั่วทั้งบริษัท และปลูกฝงใหเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมของเดม็ โก เพื่อใหผูมีสวนไดเสียของเด็มโก
สามารถเชื่อมันอยา งสมเหตุสมผลวาการดําเนินงานของเด็มโก มุงไปสูการบรรลุ วัตถุประสงคและเปาหมายของบริษัทอยางมี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลตลอดจนดูแลใหผ ูบรหิ ารระดับสูงถงึ หัวหนาหนวยงานบริหารความเสีย่ ง ปฏบิ ัตติ ามนโยบายและ
กลยุทธการบริหารความเสี่ยง รวมถึงระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได รวมทั้งมีความเห็นหรือมีสวนรวมในการประเมิน
ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลในการปฏิบัตงิ านของผบู ริหารสงู สุดสายงานบริหารความเส่ยี ง

รายชอ่ื คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคก ร ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2564 ประกอบดว ยกรรมการ 7 คน ดงั นี้

ช่ือ – นามสกลุ ตำแหนงในคณะกรรมการ ตำแหนง ในคณะกรรมการ DEMCO
บริหารความเสย่ี งองคกร

1. นายปราโมทย อินสวา ง ประธานกรรมการ กรรมการอสิ ระ

2. นายนรศิ ศรนี วล กรรมการ กรรมการอสิ ระ

3. นายสงวน ตังเดชะหริ ญั กรรมการ กรรมการทไ่ี มเ ปน ผูบริหาร

4. นายโอฬาร ปยุ พันธวงศ กรรมการ กรรมการทไ่ี มเ ปน ผูบริหาร

5. นายชัยวฒั น เลศิ วนารินทร กรรมการ กรรมการอิสระ

6. นายพงษศ ักดิ์ ศริ คิ ุปต กรรมการ กรรมการทเี่ ปน ผบู รหิ าร

7. นายไพฑรู ย กำชยั กรรมการ กรรมการทเ่ี ปน ผบู ริหาร

องคป ระกอบและคณุ สมบัติ
1. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร ไดรับการแตงตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการบริษัทอยาง
นอย 3 คน และอยา งนอย 1 คน ตอ งเปน กรรมการอิสระ
2. กรรมการบริหารความเสยี่ งองคกร จะตอ งมคี วามรู ความสามารถ และประสบการณท ีเ่ หมาะสม ตลอดจนมีความรูความ
เขา ใจถงึ คุณสมบัติ หนาท่ีและความรบั ผิดชอบของตน
3. ผูบริหารสูงสุดสายงานบริหารความเสี่ยงของบริษัท ทําหนาที่เลขานุการคณะกรรมการบรหิ ารความเสี่ยงองคกร เพื่อทํา
หนาที่ชวยเหลือ สนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร เกี่ยวกับการนัดหมายประชุม
จัดเตรียมวาระการประชุม จัดเตรียมและนําสงเอกสารประกอบการประชุม บันทึกรายงานการประชุมและอื่น ๆ ตามที่
คณะกรรมการบริหารความเส่ียงองคกรมอบหมาย

ภารกิจและความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเส่ยี งองคกร
1. พิจารณานโยบายการบรหิ ารความเส่ียงที่สอดคลองกับวตั ถุประสงค เปาหมายหลัก กลยุทธ และความเสี่ยงที่ยอมรับได
ของกลุมบริษัทเด็มโกกอนเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ ควรใหความสำคัญกับสัญญาณเตือนภัย
ลว งหนาและดูแลใหม กี ารทบทวนนโยบายการบริหารความเสย่ี งปล ะ 1 ครั้ง
2. ดูแลใหกลุมบริษทั เด็มโกมีการระบุความเสี่ยง โดยพิจารณาปจจัยทั้งภายนอกและภายในองคกรที่อาจสงผลใหบริษัทไม
สามารถบรรลุวตั ถุประสงคท กี่ ําหนดไว
3. ดูแลใหม่ันใจวากลุมบริษัทเด็มโกไดมีการประเมินผลกระทบและโอกาสที่เกิดขึ้นของความเสี่ยงที่ระบุไว เพื่อจัดลำดับ
ความเสีย่ ง และมีวิธจี ดั การความเสยี่ งทีเ่ หมาะสม
4. กำกับดูแลใหมีการดำเนินการบริหารความเสี่ยงดานการทุจริต การตอตานการคอรรัปชันและสินบน โดยการประเมิน
ความเส่ียง และทบทวนมาตรการตอ ตานการทจุ รติ คอรร ัปชันและสินบนใหเพยี งพอ เหมาะสม

146 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

5. ติดตาม และประเมินผลประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงอยางสม่ำเสมอและใหขอคิดเห็นในความเสี่ยงที่อาจจะ
เกิดขึ้น รวมทั้งแนวทางการกำหนดมาตรการควบคุม หรือบรรเทา (Mitigation Plan) และ การพัฒนาระบบการจัดการ
บริหารความเสีย่ งองคกรใหแกค ณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับจัดการ เพื่อใหม ีประสทิ ธิภาพอยา งตอเน่ืองและอยู
ในระดบั ท่ยี อมรับได

6. ใหขอ เสนอแนะ แนวทาง ติดตาม และประเมนิ ผลการบริหารความเส่ียงตอคณะกรรมการบรหิ ารความเส่ยี งระดับจัดการ
(Risk Management Committee : RMC) เพือ่ นําไปดำเนนิ การปรับปรงุ แกไ ขการบรหิ ารความเสีย่ งองคก รตอไป

7. รายงานผลการบริหารความเสี่ยงองคกรใหคณะกรรมการบริษัทรับทราบ และในกรณีที่มีปจจัยหรือเหตุการณสำคัญ
ซึ่งอาจมีผลกระทบตอกลุมบริษัทเด็มโกอยางมีนัยสําคัญ ตองรายงานตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบและพิจารณา
โดยเรว็ ท่สี ดุ

8. ปฏิบัตหิ นาทีอ่ ่ืนใดตามทีค่ ณะกรรมการบรษิ ทั มอบหมาย

อนึ่ง การสอบทานระบบบริหารความเสี่ยงองคกรยังคงเปนหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและสํานักงาน
ตรวจสอบ

(4) คณะกรรมการลงทนุ
คณะกรรมการลงทุน (Investment Committee : IC) จัดตั้งขึ้นตามมติของคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย

กรรมการอยางนอย 5 คน โดยมีกรรมการที่เปนผูบริหารไมเกิน 2 คน และประธานกรรมการลงทุนตองเปนกรรมการอิสระ
โดยไดตระหนักถึงประโยชน และความสำคัญของหลักการพื้นฐานของการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate
Governance) ตามหลักปฏิบัติประการหนึ่งไดแก การมุงเนนใหกลุมธุรกิจเด็มโก รักษาความนาเชื่อถือทางดานการเงิน ดวย
การกำหนดใหกลุมธุรกิจเด็มโก มีมาตรการการติดตามความพอเพียงของสภาพคลองในการดำเนินธุรกิจ มีกลไก ตรวจจับ
สัญญาณที่จะแสดงใหเห็นแนวโนมของปญหาทางการเงินทีอ่ าจเกดิ ขึ้น รวมถึงมีแผนงานในการดำเนินธรุ กจิ การแกไขปญหาที่
เหมาะสมและทันเวลา โดยมีการเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน ภารกิจ และเปาหมาย ขององคกร ในการกำหนดแผนการลงทุนของ
กลุมธรุ กจิ เด็มโกไดค ำนึงถึงผลตอบแทนการลงทนุ ความเพยี งพอของสภาพคลอ งและการจดั สรรแหลงเงินทนุ ของบริษทั ภายใต
กรอบนโยบายการลงทุน นโยบายการบริหารความเสี่ยง ระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนที่คณะกรรมการบริษัทกำหนด
ขอ กำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยแ ละตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ตลาดหลกั ทรัพยแ หง ประเทศไทย และ
กฎระเบียบรวมท้ังกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง เพือ่ ใหผ ูมสี วนไดเ สยี ของเด็มโก สามารถเชื่อมั่นอยา งสมเหตสุ มผลวา การดาํ เนินงานของ
กลมุ ธรุ กจิ เดม็ โก มุงไปสูก ารบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ ละเปาหมายของกลมุ ธรุ กจิ เด็มโกอ ยา งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล

นอกจากนี้คณะกรรมการลงทุนตองนำเสนอกรอบนโยบายที่เปลี่ยนแปลงตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณากับ
จดั ทำรายงานของคณะกรรมการลงทุน เปดเผยไวใ นรายงานประจำปข องบริษัท ตามหลักเกณฑทีต่ ลาดหลกั ทรัพยแหง ประเทศ
ไทยกำหนดดว ย

รายชื่อคณะกรรมการลงทนุ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 ประกอบดว ยกรรมการ 6 คน ดงั น้ี

ชือ่ – นามสกลุ ตำแหนงในคณะกรรมการลงทุน ตำแหนง ในคณะกรรมการ DEMCO

1. นายปรญิ ช ผลนวิ าศ ประธานกรรมการ กรรมการอสิ ระ

2. นายปราโมทย อนิ สวาง กรรมการ กรรมการอสิ ระ

3. นายสงวน ตังเดชะหริ ัญ กรรมการ กรรมการท่ีไมเ ปน ผูบ รหิ าร

4. นายโอฬาร ปุยพันธวงศ กรรมการ กรรมการท่ีไมเ ปนผบู รหิ าร

5. นายพงษศ ักดิ์ ศิริคุปต กรรมการ กรรมการท่ีเปน ผบู รหิ าร

6. นายไพฑูรย กำชัย กรรมการ กรรมการทเี่ ปน ผบู ริหาร

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 147
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

องคป ระกอบและคุณสมบตั ิ
1. คณะกรรมการลงทุนไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท โดยมีจำนวนกรรมการอยางนอ ย 5 คน ซึ่งประกอบดวย
กรรมการท่เี ปน ผบู ริหารไมเ กิน 2 คนโดยใหคณะกรรมการบรษิ ทั แตง ต้ังกรรมการลงทุนทเี่ ปน กรรมการอิสระคนหน่ึงเปน
ประธานกรรมการลงทนุ
2. เปนผูมีความรู ความสามารถ เขาใจถึงลักษณะธุรกิจของกลุมบริษัทเด็มโก บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของ
คณะกรรมการลงทุน รวมทง้ั ความรูเรอื่ งการกำกบั ดูแลกจิ การเปน อยา งดี
3. ผูบริหารสูงสุดดานการบัญชีและการเงินของบริษัท ทำหนาที่เลขานุการคณะกรรมการลงทุนในการชวยเหลือสนับสนนุ
การดำเนินงานของคณะกรรมการลงทุนเกี่ยวกับการนัดหมายประชุม จัดเตรียมวาระการประชุม จัดเตรียมและนำสง
เอกสารประกอบการประชุม บันทกึ รายงานการประชุม และอน่ื ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการลงทุนมอบหมาย

ภารกิจและความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการลงทนุ
1. กำหนดกลยุทธและนโยบายการลงทุน นโยบายการบริหารสภาพคลอง และนโยบายการจัดสรรแหลงเงินทุนของบริษทั
และบรษิ ัทยอย เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตอ คณะกรรมการบริษทั
2. กำหนดกรอบการลงทุน การบรหิ ารสภาพคลอ งและการจดั สรรแหลง เงนิ ทุนของบรษิ ัทและบรษิ ัทยอ ย
3. พจิ ารณาแผนกลยุทธ แผนการลงทุน แผนการบริหารสภาพคลอง แผนการจัดสรรแหลงเงนิ ทนุ ของบริษัทและบริษัทยอย
ใหสอดคลองกบั กรอบนโยบายท่อี นมุ ตั โิ ดยคณะกรรมการบริษัท รวมถึงใหส อดคลองกับนโยบายบรหิ ารความเส่ียงภายใต
ขอกำหนดของ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
กฎระเบยี บ รวมท้งั กฎหมายท่เี ก่ยี วขอ ง
4. กำกบั ดแู ลการลงทนุ การบริหารสภาพคลอง และการจดั สรรแหลงเงินทนุ ของบริษัทและบริษทั ยอย ใหเ ปนไปตามกรอบ
นโยบายแผนดำเนินงาน ระเบยี บวิธปี ฏบิ ัติ รวมถึงนโยบายบริหารความเสยี่ ง ท่ไี ดรบั อนุมัติจากคณะกรรมการบรษิ ทั
5. สอบทานและปรับเปลี่ยนกลยุทธ กรอบนโยบาย และแผนดำเนินการ ทั้งในสวนของการลงทุน การบริหารสภาพคลอง
และการจัดสรรแหลงเงินทุนของบริษัทและบริษัทยอย ใหเหมาะสมกับสถานการณ และใหนำเสนอกรอบนโยบายที่
เปลีย่ นแปลงตอคณะกรรมการบริษัท เพอ่ื พจิ ารณาอนุมัติ
6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการลงทุนที่ลงนามโดยประธานกรรมการลงทุน และเปดเผยไวในรายงาน ประจำปของ
บริษัท ตามหลักเกณฑท่ตี ลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยกำหนด

(5) คณะกรรมการความยงั ่ ยนื
คณะกรรมการความยั่งยืน ไดรับแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย กรรมการอิสระ กรรมการที่ไมเปน

ผูบริหาร และกรรมการทเี่ ปนผูบริหารอยา งนอย 5 คน โดยไมน อ ยกวา 60% ตอ งเปนกรรมการอิสระ
คณะกรรมการความยั่งยืน มีบทบาทหนาที่ เพื่อชวยเสริมสราง และกำกับดูแลกระบวนการในการขับเคลื่อนธุรกิจสู

ความยั่งยืนในระดับองคกร และเพื่อใหมั่นใจวาการดำเนินการตามทิศทาง นโยบาย และกลยุทธในการดำเนินธุรกิจของกลุม
ธุรกิจเด็มโก มีการบูรณาการกรอบและประเด็นความยั่งยืนที่สำคัญ (Materiality) และแนวทางสูการพัฒนาความยั่งยืนที่มี
ความชัดเจน บุคลากรในองคกร ตั้งแตระดับกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน มีสวนรวมในการนำพาใหธุรกิจกาวไปขางหนา
และเติบโตอยางยั่งยืน ทำใหผูมีสวนไดเสียมั่นใจไดวา กลุมธุรกิจเดม็ โกดำเนินงานอยูบนพื้นฐานของการกำกับดูแลกิจการท่ีดี
สามารถรักษาขีดความสามารถในการแขงขัน และพัฒนาศักยภาพในการเติบโต แมสภาพแวดลอมในการดำเนินธุรกิจจะ
เปล่ียนแปลงไป

148 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บรษิ ัท เด็มโก จำกัด (มหาชน)

รายชื่อคณะกรรมการความยั่งยนื ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564 ประกอบดว ยกรรมการ 6 คน ดังนี้

ช่ือ – นามสกลุ ตำแหนงในคณะกรรมการความยง่ั ยนื ตำแหนง ในคณะกรรมการ DEMCO

1. นายพงษศ กั ด์ิ ศิริคปุ ต ประธานกรรมการ กรรมการท่ีเปนผบู ริหาร

2. นายนริศ ศรนี วล กรรมการ กรรมการอิสระ

3. นายปราโมทย อนิ สวา ง กรรมการ กรรมการอสิ ระ

4. นายเสริมศักด์ิ จารุมนสั กรรมการ กรรมการอิสระ

5. นายปญญ เกษมทรพั ย กรรมการ กรรมการอสิ ระ

6. นายไพฑูรย กำชัย กรรมการ กรรมการทเี่ ปนผบู ริหาร

องคป ระกอบและคุณสมบัติ
1. คณะกรรมการความยั่งยืนประกอบดวย กรรมการอิสระ กรรมการที่ไมเปนผูบรหิ าร และกรรมการที่เปนผูบริหารอยางนอย
5 คน และไดรับอนุมตั ิโดยคณะกรรมการบริษทั โดยไมนอยกวา 60% ตองเปนกรรมการอิสระ
2. ประธานกรรมการความยัง่ ยืนตองผา นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการความยั่งยืนและอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริษัท
3. มีคณุ สมบตั ิและไมมลี ักษณะตอ งหามตามกฎหมายวา ดวยบริษัทมหาชนจำกดั และกฎหมายอนื่ ที่เก่ยี วของ
4. กรรมการความย่ังยืนท่ีเปนกรรมการอิสระตอ งมีความเปนอิสระตามหลกั การกำกับดูแลกิจการท่ีดีของบริษัท และยึดถือ
ปฏบิ ตั ิตามหลักการกำกับดแู ลกิจการท่ีดีของกลุม ธรุ กจิ เด็มโก
5. เปนบุคคลที่มีความรูความสามารถและประสบการณที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการความยั่งยืน
และสามารถอุทิศเวลาอยา งเพียงพอในการปฏิบัติหนาที่เพื่อใหการดำเนินงานของคณะกรรมการความยั่งยืนสำเร็จตาม
วัตถปุ ระสงค

ภารกิจและความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการความยงั่ ยืน
1. พิจารณาและกำหนดเปาหมาย นโยบาย กลยุทธ ตลอดจนแผนดำเนินการดานความยั่งยืนที่สอดคลองกับการดำเนิน
ธรุ กิจทง้ั ในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอ มขององคก ร
2. กำหนดระยะเวลาในการดำเนนิ งานตลอดจนผรู ับผดิ ชอบในแตละดา นอยางชดั เจน
3. มอี ำนาจในการแตง ตง้ั คณะทำงานพัฒนาความยั่งยืน (SDM) เพอ่ื รว มรบั ผดิ ชอบ และดำเนินงานตาง ๆ เพอื่ ขออนุมัติตอ
คณะกรรมการบริษัท
4. กำกับดูแลใหมีการปฏิบัติตาม นโยบาย กลยุทธ แผนดำเนินการดานความยั่งยืน ผานคณะทำงานพัฒนาความยั่งยืน
(Sustainability Development Management : SDM)
5. กำหนดประเดน็ ความย่งั ยนื ท่สี ำคญั (Materiality) และใหความเหน็ ตอ คณะกรรมการบริษัทเก่ียวกับนโยบายพัฒนาความ
ยั่งยนื ทสี่ อดคลองกับกรอบแนวทางในการกำกับดูแลกิจการท่ดี ขี องบริษทั เพอื่ ขออนมุ ตั ติ อคณะกรรมการบริษทั
6. มีอำนาจหนาที่ในการขอขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ และมีอำนาจในการเชิญผูที่มีสวนเกี่ยวของมาประชุมเพื่อให
ขอมลู ทเี่ กย่ี วขอ งตามทีจ่ ำเปน
7. พจิ ารณาใหคำแนะนำและพิจารณาอนุมตั ิรายงานการพฒั นาความยั่งยืน เพอ่ื ขออนุมัติตอคณะกรรมการบรษิ ัท
8. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง และการปฏิบัติงานโดยรวมของคณะกรรมการความยั่งยืนทั้งคณะ ตลอดจน
ประเมนิ ความพอเพยี งของกฎบัตรนี้ เปนประจำทุกป
9. ดำเนินการอื่น ๆ ที่เห็นสมควร เพื่อใหการพัฒนาความยั่งยืนของกลุมธุรกิจเด็มโก บรรลุเปาหมายที่กำหนด หรือตามท่ี
คณะกรรมการบรษิ ทั มอบหมาย

แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564 149
บริษทั เด็มโก จำกดั (มหาชน)

7.4.1 รายชื่อและตาํ แหน่งของผูบ้ รหิ าร

รายชื่อผูบริหารของเด็มโก ตามนิยามในประกาศคณะกรรมการตลาดทุนที่ ทจ.23/2551 ของสำนักงานคณะกรรมการ

กำกบั หลักทรัพยแ ละตลาดหลกั ทรัพย (ก.ล.ต.) ซ่งึ หมายถึงผูจ ดั การ หรอื ผดู ำรงตำแหนง ระดบั บรหิ ารส่รี ายแรกนับตอจากผูจัดการ

ลงมา ผูซ่ึงดำรงตำแหนงเทียบเทากับผูดำรงตำแหนงระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และหมายความรวมถึงผูดำรงตำแหนงระดับ

บรหิ ารในสายบัญชีและการเงนิ ท่เี ปนระดับผูจดั การฝายข้นึ ไป หรอื เทยี บเทา

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มี รายนามผบู รหิ าร ตามนยิ าม ดังน้ี

ชือ่ -นามสกลุ ตำแหนง

1. นายพงษศกั ด์ิ ศิรคิ ุปต ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาท่บี รหิ าร

2. นายไพฑรู ย กำชัย กรรมการบรหิ าร กรรมการผูจ ดั การ

3. นายรกั ษา สารณาคมนกลุ กรรมการบรหิ าร รองกรรมการผจู ดั การสายวศิ วกรรม 1

4. นายฉัตรชัย พชื พันธ กรรมการบรหิ าร รองกรรมการผจู ัดการสายสนบั สนุนธรุ กิจ

5. นายนรินทร เอกนพิ ิฐสริ กรรมการบรหิ าร รองกรรมการผูจ ัดการสายงานวศิ วกรรม 2

6. นางสาวรัชนวี ิภา ปยุ พันธวงศ กรรมการบรหิ าร รองกรรมการผูจัดการสายพัฒนาธรุ กิจ

7. นางสาววรรณฤดี สุวพนั ธ รองกรรมการผจู ัดการ สำนักงานตรวจสอบ

8. นางสาวสาวติ ตรี พ่งึ รัศมี กรรมการบริหาร ผูชวยกรรมการผูจัดการสายงานบัญชีบริหารการเงินและ

งบประมาณ (CFO)

ทั้งนี้ ผูบริหารของเด็มโกไมเคยเปนพนักงานหรือหุนสวนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกที่เด็มโก ใชบริการอยูในชวง 2 ปที่
ผานมา และไมป รากฏวามปี ระวัตกิ ารทำความผิดตามกฎหมายในระยะ 10 ปท ่ผี า นมาเกยี่ วกับ

1) การถูกพิพากษาวากระทำผิดทางอาญา ยกเวนที่เปนความผดิ อันเกิดจากการฝา ฝนกฎจราจร ความผดิ ลหุโทษ หรือความผดิ
ในทำนองเดยี วกนั

2) การถกู พิพากษาใหเปนบุคคลลมละลายหรือถกู พิทกั ษทรพั ย
3) การเปน ผูบ รหิ าร หรอื ผมู ีอำนาจควบคมุ ในบรษิ ัท หรอื หางหุนสวนท่ีถกู พพิ ากษาใหเปน บุคคลลมละลาย หรือถกู พทิ ักษท รัพย

โครงสรา งการบรหิ ารกจิ การ โดยมปี ระธานเจาหนา ท่ีบรหิ าร ทำหนา ท่หี ัวหนาของฝายจดั การ ดังนี้

150 แบบ 56-1 One Report/รายงานประจำป 2564
บริษทั เดม็ โก จำกัด (มหาชน)

นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัท ไดจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) เพื่อมอบอำนาจใหกระทำการ
แทนคณะกรรมการบริษัทในการบริหารกิจการ (Execution) ในสวนที่เกินอำนาจของฝายจัดการ โดยไมตองรอใหคณะกรรมการ
บริษัทเปนผูตัดสินใจ เนื่องจากงานบางสวนดังกลาวตองดำเนินการอยางรวดเร็ว เพื่อใหทันกับการประกอบธุรกิจ หรือทำหนาท่ี
กลั่นกรองเรื่องราวตาง ๆ ของฝายจัดการที่เสนอใหคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดยอย (Board Committee) พิจารณา
คณะกรรมการบรหิ ารจงึ ทำหนาทจ่ี ดั การงานประจำบางสว นดวย

ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 มี รายนามคณะกรรมการบรหิ าร ดงั น้ี

ชอื่ -นามสกุล ตำแหนง

1. นายพงษศ ักด์ิ ศริ คิ ุปต ประธานกรรมการบรหิ าร ประธานเจาหนาท่บี ริหาร

2. นายไพฑรู ย กำชยั กรรมการบริหาร กรรมการผูจ ดั การ

3. นายรกั ษา สารณาคมนกุล กรรมการบรหิ าร รองกรรมการผจู ดั การ สายวิศวกรรม 1

4. นายฉตั รชัย พชื พนั ธ กรรมการบรหิ าร รองกรรมการผูจัดการ สายสนับสนนุ ธรุ กิจ

5. นายนรินทร เอกนิพิฐสริ กรรมการบริหาร รองกรรมการผูจัดการ สายงานวศิ วกรรม 2

6. นางสาวรัชนวี ภิ า ปยุ พนั ธวงศ กรรมการบรหิ าร รองกรรมการผจู ัดการ สายพัฒนาธุรกิจ

7. นางสาวอรวรรณ ศริ ิวงศ* กรรมการบริหาร เลขานุการบริษัท ผูชวยกรรมการผูจัดการ สำนักงานกรรมการ

ผจู ดั การและเลขานกุ ารบริษัท

8. นางสาวสาวิตตรี พง่ึ รัศมี กรรมการบริหาร ผชู ว ยกรรมการผจู ดั การสายงานบญั ชีบริหารการเงินและงบประมาณ

(CFO)

9. นายยงยทุ ธ อรุณเทววโิ รจน** กรรมการบรหิ าร ผูช วยกรรมการผูจัดการสายงานบรหิ ารทรัพยากรทางวศิ วกรรมกลาง

10. นายสุชาติ กอ คณุ ากร*** กรรมการบรหิ าร ผชู วยกรรมการผูจดั การสายงานบริหารงานกอสราง 2

หมายเหตุ * ลาออกจากการเปน กรรมการบริหาร เมื่อวนั ที่ 14 พฤษภาคม 2564
** ลาออกจากการเปน กรรมการบริหาร เม่ือวนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564
*** ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2564 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2564 มีมติแตงตั้งเปนกรรมการบริหาร
แทนลำดับท่ี 7


Click to View FlipBook Version