The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Aj Sunisa Patumchai, 2018-08-27 06:03:20

jirachaya

jirachaya1

Keywords: jirachaya1

กระบวนการในการแกป้ ญั หา ประกอบด้วย 4 ขัน้ ตอนคอื

1. การวิเคราะหแ์ ละกาหนดรายละเอยี ดของปญั หา
การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปญั หา (State the problem) ข้นั ตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสดุ ก่อนท่ี

จะลงมอื แก้ปญั หา ซึง่ ผู้แกป้ ญั หามกั จะมองข้ามความสาคญั ของขัน้ ตอนน้ีอย่เู สมอ จุดประสงคข์ องข้ันตอนนี้ คอื การทา
ความเข้าใจกบั ปัญหา เพอื่ แยกให้ออกวา่ ข้อมูลที่กาหนดมาในปญั หาหรือเง่อื นไขของปัญหาคอื อะไร และสง่ิ ทตี่ ้องการ
คอื อะไร อีกทั้งวิธกี ารที่ใชป้ ระมวลผล

กล่าวโดยสรุปมอี งคป์ ระกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้
1.การระบขุ ้อมลู เข้า ได้แก่ การพิจารณาขอ้ มลู และเงอ่ื นไขท่ีกาหนดมาในปัญหา
2.การระบขุ ้อมูลออก ไดแ้ ก่ การพจิ ารณาเป้าหมายหรอื สงิ่ ที่ต้องการหาคาตอบ
3.การกาหนดวธิ กี ารประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวธิ ีการไดม้ าซ่ึงคาตอบหรือขอ้ มูลออก

2. การเลอื กเครอ่ื งมอื และออกแบบข้ันตอนวิธี
การเลือกเครอ่ื งมือและออกแบบขั้นตอนวธิ ี (Tools and Algorithm development) เปน็ ข้นั ตอนของการ

วางแผนในการแกป้ ัญหาอยา่ งละเอยี ดถถ่ี ว้ น หลังจากทเ่ี ราทาความเข้าใจกับปัญหา พจิ ารณาขอ้ มลู และเงือ่ นไขทม่ี อี ยู่
และสิง่ ท่ีตอ้ งการหาในขั้นตอนที่ 1 แล้ว เราสามารถคาดคะเนวิธกี ารทจ่ี ะใชใ้ นการแก้ปัญหา ขนั้ ตอนนี้จาเปน็ ตอ้ งอาศยั
ประสบการณข์ องผู้แก้ปัญหาเปน็ หลัก หากผแู้ ก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทานองนมี้ าแลว้ กส็ ามารถดาเนนิ การตาม
แนวทางทเี่ คยปฏบิ ัตมิ า

ขน้ั ตอนนี้จะเรม่ิ จากการเลือกเคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการแก้ปญั หา โดยพจิ ารณาความเหมาะสมระหว่างเคร่อื งมอื กบั
เงือ่ นไขต่าง ๆ ของปัญหา ซง่ึ หมายรวมถงึ ความสามารถของเคร่อื งมือในการแกป้ ญั หาดังกล่าว และส่ิงท่ีสาคัญคือ
ความคนุ้ เคยในการใช้งานเคร่ืองมอื นนั้ ๆ ของผแู้ กป้ ญั หา

อีกสงิ่ หนึ่งในการแกป้ ญั หา คือยุทธวิธที ใ่ี ชใ้ นการแก้ปญั หาหรือท่ีเราเรียกว่าข้นั ตอนวิธี (algorithm) ในการ
แก้ปัญหา หลังจากทเ่ี ราไดเ้ คร่อื งมอื ช่วยแกป้ ัญหาแลว้ ผู้แก้ปญั หาต้องวางแผนวา่ จะใชเ้ ครื่องมือดงั กลา่ วเพ่อื ใหไ้ ด้
ผลลัพธ์ทถ่ี กู ต้องและดีทีส่ ุด การออกแบบข้นั ตอนวธิ ีในการแก้ปัญหา ผูแ้ ก้ปญั หาควรใช้แผนภาพหรือเคร่ืองมือในการ
แสดงขั้นตอนการทางานเพื่อให้งา่ ยตอ่ ความเข้าใจ เช่น ผงั งาน (flowchart) ท่จี าลองขั้นตอนวิธีการแกป้ ญั หาในรูปของ
สัญญลักษณ์ รหสั ลาลอง (pseudo code) ซ่งึ เปน็ การจาลองขน้ั ตอนวธิ กี ารแกป้ ัญหาในรปู ของคาบรรยาย การใช้
เครอื่ งมอื ชว่ ยออกแบบดังกลา่ วนอกจากแสดงกระบวนการท่ชี ัดเจนแลว้ ยังชว่ ยให้ผแู้ กป้ ัญหา สามารถหาขอ้ ผิดพลาด
ของวิธกี ารท่ใี ช้ไดง้ า่ ย และแกไ้ ขได้อยา่ งรวดเร็ว

3. การดาเนินการแก้ปญั หา
การดาเนินการแกป้ ญั หา (Implementation) หลงั จากที่ไดอ้ อกแบบขนั้ ตอนวิธเี รยี บร้อย ขั้นตอนนเ้ี ป็น

ขั้นตอนทต่ี อ้ งลงมือแกป้ ญั หา โดยใช้เครอื่ งมือทไ่ี ด้เลอื กไว้ หากการแกป้ ัญหาดังกลา่ วใชค้ อมพิวเตอร์เข้ามาชว่ ยงาน
ขน้ั ตอนนี้กเ็ ปน็ การใชโ้ ปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพวิ เตอร์เขยี นโปรแกรมแกป้ ญั หา ขน้ั ตอนนีต้ ้องอาศยั ความรู้
เกยี่ วกบั เครอ่ื งมือท่ีเลือกใช้ ซง่ึ ผู้แกป้ ญั หาตอ้ งศกึ ษาให้เขา้ ใจและเช่ยี วชาญ ในขณะที่ดาเนนิ การหากพบแนวทางท่ี
ดีกว่าที่ออกแบบไว้ กส็ ามารถปรับเปลี่ยนได้

4. การตรวจสอบและปรับปรงุ
การตรวจสอบและปรบั ปรงุ (Refinement) หลังจากท่ลี งมอื แกป้ ญั หาแล้ว ตอ้ งตรวจสอบให้แน่ใจวา่ วิธกี ารนี้

ให้ผลลพั ธท์ ่ถี กู ต้อง โดยผูแ้ ก้ปญั หาตอ้ งตรวจสอบว่าขน้ั ตอนวิธที ส่ี ร้างขน้ึ ใหส้ อดคลอ้ งกับรายละเอียดของปัญหา ซงึ่
ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลเข้า และขอ้ มลู ออก เพอื่ ให้มน่ั ใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าไดใ้ นทุกกรณอี ย่างถูกต้องและสมบรู ณ์ ใน
ขณะเดียวกันกต็ อ้ งปรับปรุงวธิ ีการเพื่อให้การแกป้ ญั หานไี้ ด้ผลลพั ธ์ทดี่ ที ส่ี ุด

6 วธิ แี ก้ปญั หาการบริการท่ีผิดพลาด
เม่ือเกิดเหตุการณท์ ่กี ารบรกิ ารไม่เป็นไปอยา่ งท่ีเราตอ้ งการ และทาใหล้ ูกคา้ ไม่พอใจอยา่ งยงิ่ 6 ขน้ั ตอนน้ีจะ

ชว่ ยใหส้ ถานการณ์ดีขึ้นได้
►รับฟังลกู ค้าอย่างตงั้ ใจ แสดงออกให้เหน็ ว่าเราเขา้ ใจความรสู้ กึ เขา และร้สู กึ เสยี ใจกบั เหตุการณท์ ่ีเกดิ ข้ึน
►หา้ มโตแ้ ย้ง ไม่ว่ากรณใี ดกต็ ามหา้ มโตแ้ ยง้ ลูกคา้ โดยเด็ดขาด เพราะการโต้แย้งจะทาใหล้ ูกค้าโกรธมากขน้ึ
►กล่าวขออภัยและขอบคุณท่ีไดใ้ ห้ข้อมลู กล่าวขอโทษอย่างจริงใจหลายๆคร้ัง และขอบคุณทีเ่ ขาไดแ้ จง้ เหตกุ ารณใ์ ห้
เราไดร้ บี ทราบ
►สรุปความต้องการของลกู คา้ วา่ ต้องการให้แกไ้ ขอะไร พยายามสรปุ ประเด็นให้ได้ว่าลกู ค้าต้องการให้เราแก้ไขอะไร
เพราะมบี อ่ ยทีล่ กู คา้ พูดออกมาไมช่ ัดเจนวา่ จากปัญหาทเ่ี กดิ ขึน้ ตอ้ งการใหม้ ีการแกไ้ ขปญั หาอย่างไร
►ดาเนนิ การแกไ้ ขอยา่ งเรง่ ดว่ น รีบดาเนินการแก้ไขอยา่ งรบี ดว่ น ทิ้งงานอื่นๆไวก้ ่อน แสดงให้ลูกคา้ เห็นวา่ ปัญหาของ
เขาเปน็ เรอ่ื งสาคัญทสี่ ุด จะช่วยสรา้ งความพึงพอใจลกู คา้ ได้
►แจง้ ให้ลกู ค้าทราบพรอ้ มเพ่ิมบรกิ าร/สินคา้ เสรมิ ให้ เม่อื ดาเนินการแก้ปัญหาให้แลว้ แจ้งลกู คา้ ทันทวี ่าเราดาเนินการ
แก้ปัญหาอย่างไรไปแลว้ บางบริษัทมกี ารให้ของขวญั หรือสินค้าเพื่อแสดงความรับผดิ ชอบในเหตุการณ์ทีเ่ กิดข้นด้วย

6. กิจกรรมการเรียนรู้
สปั ดาห์ท่ี 1 กระบวนการสอนแบบบรรยาย เรื่องความรูเ้ กย่ี วกบั การบริการทด่ี ี
1. ผู้สอนอธิบายหลกั เกณฑ์การใหค้ ะแนน การเก็บคะแนนในแต่ละบทเรยี น
2. ครผู ู้สอนเรม่ิ เข้าสบู่ ทเรยี น โดยการอธบิ ายความร้เู กี่ยวกบั การบริการที่ดี
3. เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนแสดงความคดิ เห็นและยกประเด็นคาถามเพอ่ื คน้ หาคาตอบท่สี งสยั
4. ให้ผเู้ รยี นบันทกึ เนอื้ หา และการยกตัวอยา่ งลงในสมดุ จดบนั ทกึ ประจาวิชา
5. มอบหมายงานให้ผเู้ รยี นไปคน้ ควา้ เพ่ิมเติมเกย่ี วกับความร้เู ก่ียวกบั การบรกิ าร

สปั ดาหท์ ่ี 2 กระบวนการสอนแบบบรรยาย เรื่องความรเู้ ก่ียวกับการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าขณะ
ปฏบิ ัตงิ านด้านการบรกิ าร

1. ผสู้ อนอธบิ ายหลกั เกณฑ์การให้คะแนน
2. ครูผสู้ อนเรมิ่ เข้าสบู่ ทเรยี น โดยการอธบิ ายความรูเ้ กย่ี วกับการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ ขณะปฏบิ ัติงานด้าน
การบริการ
3. ให้ผู้เรียนแสดงความรู้เกี่ยวกบั การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ ขณะปฏบิ ตั งิ านดา้ นการบริการ จากน้นั ออกมา
อภิปรายหน้าชนั้ เรียน
4. เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นแสดงความคดิ เห็นและยกประเดน็ คาถามเพือ่ คน้ หาคาตอบทสี่ งสัย
5. ใหผ้ ้เู รยี นบนั ทกึ เนื้อหา และการยกตัวอย่างลงในสมุดจดบนั ทกึ ประจาวิชา
6. มอบหมายงานให้ผูเ้ รยี นไปค้นคว้าเพิ่มเติมเกย่ี วกับความรูแ้ กไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าขณะปฏบิ ัติงานดา้ นการ
บรกิ าร

สปั ดาห์ท่ี 3 กระบวนการสอนแบบปฏบิ ตั ิ เรอ่ื ง ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใหบ้ รกิ ารและการแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ได้
1. ผูส้ อนอธบิ ายหลักเกณฑ์การใหค้ ะแนน
2. ครผู ้สู อนเรม่ิ เขา้ สู่บทเรียน โดยการอธบิ ายรปู แบบการเรยี นร้ใู นหน่วยการเรียนประจาสปั ดาห์
3. ใหผ้ เู้ รียนแบง่ กลุ่ม สร้างสถานการณ์จาลองในการบรกิ ารแกน่ กั ทอ่ งเท่ียว จากนนั้ ออกมาแสดงหนา้ ชน้ั
เรียน
4. เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นแสดงความคิดเหน็ และยกประเดน็ คาถามเพื่อคน้ หาคาตอบทสี่ งสยั
5. ให้ผเู้ รียนบนั ทึกเนื้อหา และการยกตวั อยา่ งลงในสมดุ จดบนั ทึกประจาวชิ า
6. มอบหมายงานใหผ้ เู้ รยี นไปค้นคว้าเพิม่ เติมเกยี่ วกับวิธกี ารนาเสนอ ปฏิบัตเิ ก่ียวกบั การใหบ้ รกิ ารนกั ท่องเทีย่ ว

สปั ดาหท์ ่ี 4 กระบวนการสอนแบบปฏิบัติ เรอ่ื ง ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารให้บรกิ ารและการแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ได้
1. ผูส้ อนอธิบายหลกั เกณฑก์ ารให้คะแนน
2. ครูผู้สอนเรม่ิ เขา้ สู่บทเรยี น โดยการอธิบายรูปแบบการเรียนรูใ้ นหน่วยการเรยี นประจาสปั ดาห์
3. ให้ผู้เรียนแบ่งกล่มุ สร้างสถานการณจ์ าลองในการบรกิ ารแกน่ ักทอ่ งเท่ยี ว จากนัน้ ออกมาแสดงหน้าชัน้
เรียน
4. เปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นแสดงความคิดเห็นและยกประเด็นคาถามเพื่อค้นหาคาตอบทสี่ งสัย

5. ให้ผเู้ รียนบนั ทึกเนอื้ หา และการยกตวั อยา่ งลงในสมดุ จดบนั ทึกประจาวชิ า
6. สรปุ บทเรยี นเก่ยี วกับความรเู้ กยี่ วกับการบรกิ ารทด่ี ี การแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าขณะปฏบิ ตั ิงานดา้ นการ
บรกิ าร และวตั ถปุ ระสงค์ในการฝึกปฏบิ ตั โิ ดยการสรา้ งสถานการณจ์ าลอง ปฏบิ ัตเิ กย่ี วการบรกิ ารท่ถี ูกตอ้ ง

7. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
- หนงั สอื เรยี น วชิ าศิลปะการบรกิ าร

แหล่งการเรยี นรู้
- ค้นควา้ จากอินเตอร์เน็ต

- ห้องสมดุ โรงเรยี น ศนู ย์วิทยบรกิ าร
- หอสมดุ ประจาท้องถน่ิ

8. หลักฐาน , การจดบนั ทกึ เพ่มิ เติมในใบความรู้
5.1 หลักฐานความรู้
-เอกสารเนอื้ หาสาระ สมดุ บันทกึ
5.2 หลกั ฐานการปฏบิ ัตงิ าน
- แบบทดสอบท้ายบท

9. วดั และประเมินผล
- ความสนใจในการเรยี น การค้นควา้ การมีสว่ นรว่ มในกิจกรรม
- การซกั ถาม การตอบคาถาม
- การนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
- บุคลกิ ภาพของผู้นาเสนองาน
- การประเมนิ ผลโดยกลุ่มเพอื่ น การประเมินตนเอง

10. แบบฟอร์มการประเมินผลการนาเสนอช้นิ งาน (Folio)

แบบประเมินผล*

กจิ กรรม…………………………………………………………………………………………………………….

ชอื่ ………………………………..………..……………………..สาขาวชิ า………………………….เลขท่ี………

เลขที่ รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
432 1

1 ความสนใจการเรยี น

2 ความร่วมมอื กันภายในกลมุ่ และภายในช้นั เรียน

3 ความคิดสร้างสรรคแ์ ละความสวยงามของผลงาน

4 ความถกู ต้องของเนือ้ หา

5 ความสาเรจ็ ของผลงาน

รวม

บันทกึ ความคิดเห็น…………………………………………………………………..………………………………………………………..
. ………………………...…………………………………………………………………………………………………….…………………………………..

……………………………..
อาจารย์ประจาวชิ า
..………/…………./……….
* การนาเสนอแฟม้ งาน/งานเดี่ยว/งานกลมุ่ (เมอื่ ผู้เรยี นประเมนิ ได้ 2,1 พอใช้ ปรับปรุง สามารถประเมินใหม่ได้ ใน
รายการประเมินข้อทมี่ ีจดุ อ่อนได้ 1 หรือ 2 ครั้ง มีเกณฑ์ว่าได้ไม่เกนิ 3 ดี โดยผู้สอนเป็นผ้กู าหนดเวลา)

11. แบบฟอรม์ การประเมนิ ผลดา้ นจิตพิสัย (Affective Domain)
แบบบันทกึ การสงั เกตความรับผดิ ชอบการทางาน (มสธ. 2538:167)
แบบประเมินผลดา้ นจิตพสิ ยั

ตั้งใจ เตม็ ใจ มุง่ ม่นั รับอาสา กระตอื รอื ขยนั และ

เลข ชอ่ื -สกลุ ทางาน แก้ไข ทางานให้ ผ้อู ื่น ลน้ ในการ ใหค้ วาม
ที่ จริงจงั ปัญหา สาเร็จ ทางาน ทางาน รว่ มมอื ดี
321 321 321 321 321 321

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

ความหมายของคะแนนให้ใส่เคร่อื งหมาย 4 ลงในชอ่ งวา่ งตามระดับคะแนน ดังน้ี

3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง

12. กิจกรรมเสนอแนะ
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................

13. บนั ทึกหลงั หารสอน
13.1 การประเมินผลหลังการสอน
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
13.2 ปัญหาทพี่ บ
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
13.3 แนวทางแก้ปัญหา
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................

แผนการสอน/การเรียนร้ปู ฏิบตั ิ หน่วยท่ี 6

ช่อื วิชา 2700-1003 ศลิ ปะการใหบ้ รกิ าร สอนครง้ั ที่ 16-18
คาบรวม 9
ชื่อหนว่ ย บูรณาการตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการไดม้ าซ่ึงประโยชนจ์ ากการปฏบิ ตั ิ จานวนคาบ 9

เก่ียวกบั การให้บรกิ ารนกั ทอ่ งเทีย่ ว และคดิ คน้ วัสดธุ รรมชาตทิ ส่ี ามารถนามาใช้ในการบรกิ าร

และเพอ่ื เปน็ การอนรุ ักษธ์ รรมชาติ ตามโครงการพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

เร่อื ง ประโยชน์จากการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับการให้บริการนักทอ่ งเท่ียว

1. หัวข้องานการสอน/การเรียนรู้
1. ความรเู้ กยี่ วกบั หลักการปฏบิ ัติงานดา้ นการบริการ
2. ประโยชนจ์ ากการปฏบิ ตั ิเก่ียวกับการใหบ้ ริการนักทอ่ งเท่ียว
3. น้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการปฏิบตั งิ านด้านการบริการ

2. สาระสาคญั
การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นอาชพี การบริการนั้นถอื ไดว้ ่ามีความจาเป็น
อย่างยิง่ เนอื่ งจากงานบรกิ ารจาเปน็ ต้องมีการบรหิ ารจัดการอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การใช้ทรัพยากรอยา่ ง
คุ้มค่าเพอ่ื เกดิ ประโยชน์ทางด้านการบรกิ ารอย่ามีประสทิ ธภิ าพ รวมไปถงึ การรู้จกั ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดล้อมรอบตัวมาประยุกตใ์ ชใ้ นงานบรกิ ารก็จะทาให้การทางานนนั้ เปน็ ไปไดง้ า่ ย มีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
สูงสุด

3. สมรรถนะประจาหนว่ ย
ตระหนกั ถึงการนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการปฏิบตั ิงานดา้ นการบริการได้คิดคน้ วสั ดุ

ธรรมชาตทิ สี่ ามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการบรกิ ารได้

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้
จดุ ประสงคท์ ั่วไป

1. เพ่ือให้มีความร้เู กีย่ วกบั หลักการปฏบิ ัตงิ านด้านการบริการ
2. เพือ่ ใหม้ ีความเขา้ ใจเกย่ี วกับการไดม้ าซงึ่ ประโยชน์จากการปฏิบัติเก่ยี วกับการใหบ้ ริการนักทอ่ งเทย่ี ว
3. เพอื่ ให้สามารถน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นการบริการ
4. เพื่อให้สามารถคิดคน้ วสั ดธุ รรมชาติทส่ี ามารถนามาประยกุ ต์ใช้ในการบริการ
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
5. สามารถอธิบายหลกั การปฏบิ ัตงิ านดา้ นการบรกิ ารได้
6. สามารถบอกประโยชนจ์ ากการปฏิบตั เิ ก่ียวกับการใหบ้ รกิ ารแก่นกั ท่องเทย่ี วได้
7. มีความตระหนกั ในการนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการปฏบิ ัติงานด้านการบรกิ ารได้
8. สามารถคดิ คน้ วสั ดธุ รรมชาติท่ีสามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้ในการบรกิ ารได้

5. เน้อื หาสาระ

เพ่ิมคุณคา่ งานดว้ ยบรกิ ารจากใจ
1. ความสามคั คี ของพนกั งานทุกระดบั

1.1 ทาด้วยความจรงิ ใจ เต็มใจ เชอ่ื สตั ย์
1.2 มีจิตใจเข้มแข็ง มคี วามอดทน ไมท่ อ้ ถอย สงู้ าน
1.3 ทาใจเบิกบาน ให้สนกุ กบั งาน
1.4 มนี ้าใจ รู้จกั ใหอ้ ภยั ไมเ่ หน็ แก่ตวั
ผลตอบแทน
คา่ ของงาน(Job value)
ส่วนในด้านพนักงาน ผลตอบแทนก็คือ ค่าจา้ งหรือเงินเดือน สวัสดกิ ารและผลประโยชนอ์ ืน่ ซึ่งบรษิ ทั กาหนดให้
เพ่อื เปน็ การตอบแทนการทางาน โดยที่ พนกั งานตอ้ งปฏบิ ตั ิหน้าท่ตี ามทไี่ ด้รับมอบหมาย โดยใชว้ ชิ าความรู้ ทกั ษะ
ความชานาญตามตาแหน่งของงาน ซึง่ ตนไดร้ บั ไว้ตามสญั ญาจา้ งแรงงาน
การบรหิ ารผลตอบแทน จงึ มคี วามหมายมใิ ชเ่ ฉพาะเรื่องการบริหารคา่ จา้ งหรือเงินเดือน แต่หมายถงึ ต้ังแตก่ าร
กาหนดลกั ษณะงาน ค่าของงาน (Job Value) การวดั ผลการทางาน ตลอดจนถงึ การบริหารสวสั ดิการ และ
ผลประโยชน์ตา่ ง ๆ ซ่งึ บรษิ ทั กาหนดใหเ้ ปน็ ผลตอบแทนการทางาน และการกาหนดระเบียบวธิ ปี ฏิบัติเก่ียวกบั การจา่ ย
หรอื การจัดให้พนกั งานได้รบั ผลตอบแทนการทางานดงั กลา่ วอย่างถูกต้อง
การบริหารผลตอบแทนจึงจาเป็นต้องมกี ารวางแผน การจดั ระบบงาน การควบคุมกิจกรรมที่เกีย่ วข้องกบั การ
จา่ ยผลตอบแทนตามผลการปฏิบัตงิ านทพี่ นักงานไดท้ ุ่มเท (Contribute) ใหแ้ กบ่ รษิ ัท

เป้าหมายของการบรหิ ารผลตอบแทนการทางาน
เปา้ หมายหลกั ในการจัดระบบการบรหิ ารผลตอบแทนการทางาน นอกเหนอื จากเพื่อธารงรกั ษาทรัพยากร

บุคคลของบรษิ ทั แล้ว ยงั มเี ปา้ หมายหลักดังน้ี
1. เพื่อให้เกิดความเปน็ ธรรม ผู้ทมี่ ีผลการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ีท่ีสุด ควรไดร้ บั ผลตอบแทนสงู สุด
2. เพื่อจงู ใจให้พนกั งานทางานอยา่ งมีประสิทธิผลสงู สุด
3. เพอื่ สามารถแข่งขันกบั ตลาดได้ คอื สามารถธารงรักษาบคุ ลากรท่ีมีคุณภาพและสามารถคดั เลอื ก สรรหาผมู้ ี

ความสามารถเข้ามาเปน็ พนักงานบริษทั
4. สามารถควบคมุ ตน้ ทุนและค่าใช้จ่ายเกย่ี วกบั ผลตอบแทนการทางานใหส้ อดคล้องกบั ผลผลติ และผลการ

ดาเนินธรุ กิจ
5. เพอื่ ใหก้ ารจ่ายผลตอบแทนเปน็ การจา่ ยตามผลการปฏิบตั ิงาน (Pay per Performance)
6. เพ่ือสะดวกแก่การบริหารและการจดั การให้เป็นไปตามนโยบายและหลักการบรหิ ารบคุ คลในเรอ่ื ง ต่าง ๆ

ซง่ึ ได้แก่
6.1 การจ้างแรงงาน
6.2 การสับเปลยี่ น โยกย้าย แตง่ ตง้ั เลอ่ื นตาแหน่งพนักงาน
6.3 มาตรฐานงานและการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน

6.4 การบรหิ ารคา่ จา้ งและเงนิ เดอื น
6.5 การบรหิ ารสวสั ดกิ าร
6.6 การจดั การเกี่ยวกบั ผลประโยชน์ต่าง ๆ ทบี่ ริษัทจดั ให้แก่พนักงาน ฯลฯ
7. เพื่อส่งเสรมิ ความสมั พันธ์อันดีระหวา่ งผ้บู ังคับบัญชาและผใู้ ตบ้ ังคับบัญชา รวมท้งั เป็นการส่งเสริมความ
รว่ มมือจากพนกั งาน โดยอาศยั หลักแหง่ ความยตุ ธิ รรมในการจา่ ยผลตอบแทนการทางาน

การทาใหล้ ูกค้าเกิดความพงึ พอใจสงู สดุ
เนน้ ทีก่ ารทาสนิ คา้ ใหม้ ีคุณภาพ มีการบรกิ ารหลังการขายท่ดี ีกว่า และมีการส่ือสารไปยงั ลกู คา้ และACCOUNT

MANAGERให้มากเพียงพอ แตก่ ารจะทาให้ประสบความสาเร็จได้ต้องไมแ่ ขง่ ขนั ทรี่ าคา แต่จะเป็นการเพมิ่ มลู คา่ ของแบ
รนด์ให้สูงขน้ึ

การฟังความตอ้ งการของลกู ค้าเปน็ ส่งิ สาคัญท่สี ดุ ตอ้ งรู้ว่าลูกค้าตอ้ งการอะไร หลงั จากน้ันจงึ วางแผนว่าจะทา
อย่างไร เพราะหากไม่รคู้ วามตอ้ งการของลูกคา้

การทาแผนงานออกไปกจ็ ะไม่สาเร็จ
1. ตอ้ งมีการฝึกอบรมพนกั งาน เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ ข้อมลู ข่าวสารมากข้นึ ในเร่ืองการขายและเรอ่ื งต่างๆ พนกั งาน

ทกุ คนสามารถอธิบายและใหบ้ รกิ ารท่ดี ขี องบริการใหล้ ูกคา้ เห็นประโยชน์ของบริการ ที่จะทาให้ลูกคา้ เกิดความพึงพอใจ
สงู สุด และทาใหล้ กู คา้ มีความม่ันใจในการให้บริการมากข้ึน รวมทง้ั คุณภาพการให้บริการท่ดี ี

วิธกี ารสร้างพนักงานเพื่อความพึงพอใจของลกู ค้า
การทาให้ลกู คา้ พึงพอใจสงู สุด และอยู่กับเราไปนานทีส่ ุด
1. คุณภาพการใหบ้ รกิ าร กอ่ ให้เกิดประโยชนแ์ กล่ ูกคา้
2. ราคาทเี่ ปน็ ธรรม
3. บริการหลงั การขายทด่ี ี
4. มาตรฐานการใหบ้ รกิ าร
5. หลักประกันการใหบ้ รกิ าร SLA (Service Level Agreement) ต้องทาใหล้ กู คา้ มคี วามมั่นใจใน

บริการ
6.มีคนดูแลพบลูกค้าทเ่ี ป็น ACCOUNT MANAGER
7. จัดงานขอบคณุ ลูกค้า(Marketing Event)

การงานเพ่อื ความเบกิ บาน
อย่าเลง็ ผลอนั เลิศแตจ่ งทาดว้ ยวิธีอันเลิศ
สัจจะและความจรงิ ใจคือเคร่ืองเสริมสร้างบุคลกิ ภาพและความสาเร็จ หวั ใจสาคญั ของนกั พฒั นาจงทาทกุ อยา่ ง

ให้....
รวดเรว็ เร่งรีบ รวบรัด และตอ้ ง เรยี บรอ้ ย ดว้ ย
รจู้ ริง ไมต่ ้องจา ทาได้ มีประโยชน์

ถ้ารู้ไม่จริง แต่อยากจา ทาไม่ได้มแี ตโ่ ทษ
หากปฏบิ ัติได้แล้วท่านจะเปน็ คนท่ีมคี ุณค่าและมคี วามเจริญรงุ่ เรอื ง
ชวี ติ ก็คือการงาน
งานคอื เครอ่ื งสรา้ งความสาเร็จ

ขอ้ คดิ ควรปฏิบตั ิ
Positive Thinking คิดแตท่ างบวก สร้างโลกสวยงาม
Smile ยมิ้ แยม้ แจม่ ใส สร้างความประทับใจ
Yours จรงิ ใจให้กนั ชว่ ยเหลือการงาน
Compromise สมานสามคั คี ด้วยการประนปี ระนอม
Human Relations สมั พนั ธ์ท่ีดี สรา้ งมติ รผกู พนั
Oral Communication สอ่ื สารชดั เจน แก้ไขขอ้ ขดั แยง้
P-S-Y-C-H-O ในการทางานร่วมกับผอู้ ื่นอยา่ งมีความสุข

Positive Thinking….คิดแต่ทางบวก
สร้างโลกสวยงาม ในการทางานใด ๆ ก็ตาม ทัศนคติเป็นสิง่ สาคัญ ซึง่ ทศั นคตยิ ่อมมีส่วนสัมพันธ์โดยตรงต่อการ

แสดงออกทางพฤติกรรม และหากคณุ เองมีทัศนคตหิ รอื ความคดิ ในเชิงลบ ตวั คณุ เองยอ่ มมีพฤติกรรมท่ีไม่อยากให้ความ
รว่ มมือใด ๆ การนนิ ทาว่ารา้ ย การแสดงพฤตกิ รรมท่กี า้ วร้าว และในที่สดุ สง่ิ เหล่านเี้ องจะส่งผลทาใหค้ ุณไมม่ ีความสขุ
กับงานของคณุ เอง ดังนนั้ เพอ่ื ใหค้ ณุ สามารถทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขและสนุกกับส่งิ ทีก่ าลงั ทาอยู่ ขอใหค้ ณุ
ปรบั ความคดิ ทัศนคตขิ องตวั คุณเองโดยใหม้ องโลกในทางบวกไว้เสมอไม่วา่ จะเปน็ กบั หวั หน้างาน เพือ่ นร่วมงาน ลกู ทีม
ของคณุ เอง หรอื แม้กระท่งั ลูกค้าทคี่ ุณต้องติดต่อดว้ ย

Smile…ย้ิมแย้มแจ่มใส สรา้ งความประทับใจ
คุณควรจะสรา้ งความประทับใจแกผ่ อู้ ื่นด้วยการใหร้ อยยม้ิ การยิม้ แย้มแจม่ ใสจะทาใหค้ ณุ มีเสน่ห์ทน่ี า่ คบหา

สมาคมด้วย แน่นอนว่าคงจะไมม่ ีใครอยากร่วมงานกับคนทท่ี าหนา้ น่ิวค้ิวขมวดอยู่เป็นประจา ทาหนา้ บึ้งตึงอยู่
ตลอดเวลา หรอื ทาสีหนา้ เบือ่ หนา่ ยเม่อื ต้องทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืน….การทางานด้วยรอยยม้ิ จะส่งผลให้คณุ ทางานอย่างมี
ความสุข และทาให้คณุ พร้อมทีจ่ ะรับมอื กับปัญหาตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดข้ึน เพราะใจคุณมคี วามสุข กจ็ ะทาให้จติ คุณไม่ฟุ้งซา่ น
และในทีส่ ุดเมือ่ จติ คณุ นิง่ คุณย่อมมสี ติ สมาธิ และปัญญาในการวางแผนงานและตัดสินปญั หาต่าง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ

Yours…จรงิ ใจใหก้ นั ช่วยเหลือการงาน
คุณควรมคี วามจริงใจที่จะให้ความชว่ ยเหลอื และช่วยแกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ ทเี่ กิดข้ึนในการทางานแก่เพือ่ น

รว่ มงานของคุณ โดยคณุ ควรมคี วามมุ่งหวงั ทจี่ ะให้การทางานประสบผลสาเรจ็ ในเปา้ หมายท่ีกาหนดขึน้ รว่ มกนั ความ
จริงใจจะส่งผลให้คุณเปน็ ผู้รบั ฟงั และเป็นผใู้ ห้ที่ดี ซงึ่ คณุ ไมจ่ าเป็นทจี่ ะตอ้ งรอใหบ้ คุ คลอน่ื มารอ้ งขอใหค้ ุณช่วยก่อน คุณ
สามารถอาสาชว่ ยเหลือในการทางานหรอื การจัดการกบั ปัญหาตา่ ง ๆ และหากคุณมคี วามจรงิ ใจในการให้ความ

ชว่ ยเหลือแกบ่ ุคคลตา่ ง ๆ …ก็จะทาให้คุณมคี วามต้องการและความพยายามในการแสวงหาวธิ ีการเพอ่ื จัดการกบั ปัญหา
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ….ความจรงิ ใจทีค่ ุณแสดงออกมานนั้ ยอ่ มสร้างความประทบั ใจและทศั นคตทิ ่ีดีจากบุคคลรอบขา้ งตวั คุณ

Compromise ….. สมานสามัคคี ดว้ ยกาประนปี ระนอม
แน่นอนว่าการทางานรว่ มกนั นั้นย่อมตอ้ งมีปญั หาความขดั แย้งเกิดข้นึ อาจเนื่องมาจากทศั คตแิ ละความคิดเห็น

ทไี่ มต่ รงกนั หรืออาจเปน็ เพราะความขดั แยง้ ทางผลประโยชนท์ ่ีไมล่ งรอยกนั หากคณุ เป็นผู้หนง่ึ ทอ่ี ยใู่ นสถานการณข์ อง
ความขดั แยง้ ทีเ่ กดิ ขึ้น คณุ ควรเป็นผูท้ าใหเ้ กดิ ความสามัคคดี ้วยการสรา้ งความประนีประนอมระหว่างกนั ความพยายาม
ทาให้สถานการณ์ลดความตึงเครียดลงโดยท้ังสองฝา่ ยไม่เสียผลประโยชน์ สรา้ งสถานการณ์ในลกั ษณะของ Win Win
Situation นั่นคือไม่มีฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ไดเ้ ปรียบหรือเสยี เปรียบ…..การท่ีคุณปลอ่ ยนิง่ ดดู าย โดยไมพ่ ยายามทาอะไร
เพอ่ื ให้สถานการณ์ของความขัดแย้งคลี่คลายลง ยอ่ มจะสง่ ผลตอ่ การประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลในการทางานของ
กล่มุ หรอื ทมี งานของคณุ เองได้

Human Relations …สมั พนั ธท์ ีด่ ี สร้างมติ รผูกพัน
ความมีมนษุ ยสมั พนั ธเ์ ร่ิมจากการเริม่ ตน้ ทักทาย การแสดงความเปน็ มติ รกับบุคคลตา่ ง ๆ ทงั้ ท่รี ู้จกั และท่ีไม่

รู้จักมาก่อน และรวมไปถงึ การแสดงความรู้สึกเปน็ หว่ งเปน็ ใย การแสดงไมตรีจิตกบั ผ้อู ่นื ตลอดจนการแสดงกิรยิ า
ทา่ ทางและการใชว้ าจาเพ่ือสรา้ งความคนุ้ เคย การรักษาความสัมพนั ธ์อนั ดีงามไว้….ซงึ่ พฤติกรรมตา่ ง ๆ เหลา่ น้ีจะทาให้
คณุ มีเพ่ือนหรอื เครือข่ายทกี่ ว้างขวางทพ่ี ร้อมจะใหข้ ้อมูลและใหค้ วามรว่ มมือกบั คุณในการทางานใด ๆ ก็ตาม
นอกจากนก้ี ารท่ีคณุ มเี ครอื ข่ายมากมายยอ่ มหมายถึงคุณไดร้ บั การยอมรบั จากกลมุ่ คนเหล่านัน้ ซึง่ พร้อมทีจ่ ะชว่ ยเหลือ
คณุ อยตู่ ลอดเวลา

Oral Communication….สื่อสารชัดเจน แก้ไขขอ้ ขัดแยง้
ความสามารถในการส่ือสารด้วยวาจาเป็นลกั ษณะพฤตกิ รรมอยา่ งหนึ่งท่จี าเปน็ สาหรับการทางานรว่ มกับผ้อู นื่

หากคุณพูดหรือให้ขอ้ มลู ข่าวสารทค่ี ลมุ เครอื ไมช่ ัดเจน ถกู ตอ้ งแก่บคุ คลหรอื หนว่ ยงานอ่ืนแล้วหละ่ ก็ เหตกุ ารณ์เหล่านี้
อาจจดุ ประกายให้คณุ เกดิ ขอ้ ขดั แย้งหรอื ปัญหาในการทางานรว่ มกับผู้อนื่ ได้….ดังนัน้ ขอให้คณุ ตระหนกั ไว้เสมอว่าขอ้ มลู
ทคี่ ุณกาลังสอื่ ออกไปนนั้ ควรจะตอ้ งชดั เจน ถูกตอ้ ง และเป็นปจั จุบันอยูเ่ สมอ เพราะข้อมลู ของคุณอาจจะเปน็ ประโยชน์
อย่างมากตอ่ การทางานของบคุ คลหรือหนว่ ยงานอ่นื

สรุป

การทางานร่วมกบั ผู้อน่ื ใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ได้นน้ั
คณุ ควรเริม่ ต้นจากการมองตัวคณุ เองและปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมของตวั คณุ เองใหเ้ ป็นคนทมี่ องโลกในแง่ดี การ

ย้ิมแยม้ แจม่ ใสอยู่เสมอ มีความจรงิ ใจในการใหค้ วามช่วยเหลือ การประนปี ระนอม การสร้างความสมั พนั ธท์ ่ดี ีกับผูอ้ นื่
รวมทง้ั การใหข้ อ้ มูลทชี่ ดั เจน ….ซ่ึงพฤตกิ รรมต่าง ๆ เหลา่ นี้ยอ่ มจะทาใหค้ ณุ มเี สน่หแ์ ละสร้างความประทบั ทดี่ ีกบั บคุ คล
อ่นื ทีค่ ณุ ต้องทางานรว่ มด้วย

1. นานวัตกรรมเทคโนโลยี เขา้ มาใช้ในองคก์ ร เพอ่ื ตอบสนองการแข่งขนั ทางธุรกจิ

2. ใช้วิจารณญาณรบั ผดิ ชอบ และแก้ไขปญั หาใหล้ กู ค้าเหมอื นเปน็ ปัญหาของตนเอง เพ่ือให้ เกนิ ความ
คาดหมายของลกู คา้

3. รักษามาตรฐานงานบรกิ าร
4. ให้มีการตดั สินใจในทกุ เร่ืองได้เร็วทสี่ ดุ
5. ตนื่ ตัวต่อความตอ้ งการ และขอ้ ร้องเรยี นของลกู ค้า
6. พร้อมตอ่ การเปลย่ี นแปลง เพราะการเปลย่ี นแปลงเปน็ หัวใจของความสาเร็จในธรุ กิจ
7. มคี วามรับผิดชอบตอ่ การปฏบิ ัตงิ านในหน้าท่ี
8. บรกิ ารลกู คา้ ดว้ ยความจรงิ ใจ ตัง้ ใจ อย่างเปน็ ระบบดว้ ยความเปน็ มืออาชพี ความมงุ่ ม่นั ในการเป็นศนู ย์รวม
การบริการลูกค้า
9. แก้ไขขอ้ ผดิ พลาดอยา่ งสร้างสรรค์ และไม่กลา่ วโทษกนั
10. พนักงานรสู้ กึ จงรกั ภักดตี ่อองคก์ ร

ผลสารวจ 10 อันดบั แรก ซึ่งเปรยี บเสมือนเปน็ บันได 10 ขนั้ แรก
"ร่วมใจสร้างสรรค์ พรอ้ มรับการแขง่ ขนั มงุ่ ม่ันคุณภาพบริการ ผสานเทคโนโลยีลา้ สมยั คอื หวั ใจ CAT TELECOM"

คาขวญั ท่ไี ดร้ บั รางวัลชนะเลิศ คอื
" รวมใจเป็นหนึ่ง รว่ มสูร้ ่วมสร้าง มงุ่ เนน้ ผลงาน พัฒนา CAT TELECOM “

การบรกิ ารท่ดี ี
ศิลปะการต้อนรบั และสร้างความประทับใจให้กับลูกค้า
เมือ่ พูดถึงคนไทย ชาวตา่ งประเทศทีเ่ คยไดร้ จู้ ัดแตไ่ หนแตไ่ รมาก มักจะตอบเปน็ เสียงเดียวกันว่า “นา่ รกั ”

จนได้สมญานามว่า “สยามเมืองยิ้ม” เพราะการยิ้มให้แกก่ นั ย่อมแสดงถงึ การผูกมิตรไมตรีขั้นแรกน่ันเอง
เมือ่ การผกู มิตรไมตรเี ร่มิ ขึน้ แล้วดว้ ยการยิม้ ถ้าไม่มีการต้อนรบั ขับสูท่ ีด่ ี การยิม้ น้ันก็คงจะจบลงเฉยๆ ไม่

เป็นทปี่ ระทับใจของชนทวั่ โลกแน่ แตด่ ้วยขนบธรรมเนยี มประเพณีท่ดี ขี องไทยหลาย ๆ อยา่ ง สรา้ งความประทับใจ
ให้กบั ผู้มาเยือนเสมอ ไม่ว่าเข้าผู้น้นั จะเป็นใคร เพราะคนไทยมักจะสอนลูกหลายสืบต่อกนั มาวา่ “ใครมาถงึ เรือนชาน
ด้องตอ้ นรบั ” และเรากถ็ ือปฏบิ ัติเช่นน้ันมาจนกระทง่ั ปจั จบุ นั

การต้อนรบั ไม่ใช่ทาเพือ่ ให้หมดหน้าทีไ่ ป แตจ่ ะตอ้ งทาให้ดีทีส่ ุด และสร้างความประทับใจแก่ผู้มาติดตอ่
ด้วย
การบรกิ าร หมายถงึ

1. การทพ่ี นกั งานมีความเอาใจใสค่ วามตอ้ งการของลกู คา้ ตอบคาถามและปฏิบตั ิต่อลกู ค้าในฐานะทเ่ี ป็น
เพื่อนมนษุ ยด์ ว้ ยกัน

2. การตอบสนองความต้องการของลูกคา้ ด้วยอธั ยาศยั ไมตรอี นั ดี
3. สัมพันธภาพท่ีมชี ีวิตชวี าระหว่างองคก์ ารหรอื กจิ การกบั ลกู คา้

หลัก 6 ประการท่สี าคัญในการตอบสนองความคาดหวงั ของลกู คา้
1. ความสามารถ คือ ประสิทธิภาพและความฉับไวในการทางาน
2. ความรู้งาน สามารถตอบคาถามและแก้ปญั หา โดยเรียนรูเ้ ก่ยี วกับสนิ ค้าและบริการ รวมทัง้

กระบวนการตา่ ง ๆ ซง่ึ เป็นส่วนสาคัญในงาน
3. ความภาคภมู ิ ความตั้งอกต้ังใจในการทางาน มคี วามรับผิดชอบต่อผลการปฏบิ ตั ิงาน
4. การแสดงออก แสดงใหเ้ ห็นถึงทศั นคตติ ่องานบรกิ าร ต้องเตรยี มพร้อมและกระตอื รอื ร้นท่จี ะบรกิ าร

เสมอ
5. มมี ารยาท ทัศนคติ ในการชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนและความพยายามอย่างจริงใจที่จะเขา้ ใจและตอบสนองความ

ตอ้ งการของลกู ค้า
6. ความพยายามท่ีมากวา่ ความคาดหมายของลกู ค้า ความมีใจเพิม่ ขน้ึ อีกเปน็ พเิ ศษ และความเตม็ ใจ

ชว่ ยเหลือ จะนาผลยงิ่ ใหญม่ าใหใ้ นเชงิ ของความพึงพอใจของลกู คา้

การต้อนรับที่ดี
1. ใหเ้ กียตผิ ู้มาตดิ ตอ่ เสมอ ท้งั กาย วาจา ใจ
2. แสดงความยินดตี ้อนรับ ไมว่ า่ ผตู้ ดิ ต่อจะมาในรูปแบบใด
3. ตอ้ งหาวตั ถุประสงค์ของผ้มู าติดต่อให้ได้
4. พยายามสนองความต้องการของผูม้ าติดตอ่ เทา่ ทีส่ ามารถจะทาได้ไมค่ วรพดู วา่ “ไม่ได้”
5. อยา่ แสดงความเบ่ือหนา่ ย เซง็ กับผ้มู าตดิ ตอ่
6. พยายามให้ผมู้ าตดิ ตอ่ เขา้ ใจในงานใหม้ ากทส่ี ุด
7. อยา่ ทาตวั เปน็ ผูพ้ ดู แตผ่ ้เู ดียว

8. รบั ผิดชอบในหนา้ ที่จนถงึ ท่ีสุด ไม่ท้งิ ลกู คา้
“ลกู คา้ ” คือ อาคนั ตุกะสาคญั ท่สี ุดที่มาชมสินค้าของเรา
“ลกู คา้ ” มอี สิ ระ ไมต่ อ้ งพึ่งเรา เราต่างหากที่ตอ้ งอาศยั “ลกู คา้ ”
“ลกู ค้า” มใิ ช่ผ้ทู ่ขี ดั จงั หวะการทางานของเรา
“ลูกค้า” คอื จุดประสงค์ของธรุ กจิ การงานของเรา
“ลูกค้า” มใิ ช่บคุ ลนอกธรุ กจิ ของเรา
“ลกู คา้ ” เป็นสว่ นหนง่ึ ของธุรกิจของเรา

การให้บริการแก่ “ลูกค้า” มิได้หมายถงึ การใหค้ วามช่วยเหลอื แก่เขา “ลูกคา้ ” ต่างหากเปน็ ผูใ้ หค้ วาม
ช่วยเหลือเรา โดยใหเ้ รามโี อกาสใหบ้ รกิ ารแกเ่ ขา
พฤติกรรมในการใหบ้ ริการแก่ลูกคา้
(10 Tips for Face-To-Face Success)

1. ทกั ทายลูกค้าอย่างเปน็ มิตร : Offer the customer friendly greeting
2. ใหค้ วามสนใจแก่ลูกค้าอยา่ งเตม็ ที่ : Give the customer your full attention
3. สบสายตาลกู ค้าขณะสนทนา : Keep eye contact with the customers
4. ไม่สนใจกับสง่ิ ทม่ี ารบกวน : Ignore distractions

5. ใชภ้ าษาทา่ ทางแสดงทศั นคติทดี่ ี เช่น ยม้ิ ผงกศีรษะแสดงความเขา้ ใจ : Use non-verbal gesture to
show positive attitude

6. สนใจคาพดู ของลกู ค้า : Concentrate on what the customer is saying
7. ถามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ : Ask question for common understanding
8. อย่าขดั จังหวะขณะท่ลี ูกคา้ กาลงั พูด : Do mot interrupt
9. บนั ทึกสาระสาคญั เพือ่ กันลืม : Take notes
10. หลีกเล่ียงการเสนอความคิดเหน็ ถา้ ยงั ฟงั ไมจ่ บ : Avoid giving an opinion unless the
customer has finished his/her comment

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
สปั ดาห์ที่ 1 กระบวนการสอนแบบบรรยาย เรื่องหลกั การปฏิบตั งิ านด้านการบรกิ าร
1. ผสู้ อนอธบิ ายหลกั เกณฑ์การให้คะแนน การเกบ็ คะแนนในแต่ละบทเรยี น
2. ครูผูส้ อนเริ่มเข้าสู่บทเรียน โดยการอธิบายหลกั การปฏบิ ตั งิ านดา้ นการบรกิ าร
3. เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนแสดงความคดิ เห็นและยกประเด็นคาถามเพือ่ ค้นหาคาตอบทีส่ งสยั
4. ให้ผ้เู รยี นศกึ ษาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามแนวพระราชดาริ ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว

มาใช้ในการปฏิบตั ิงานด้านการบริการ
5. มอบหมายงานใหผ้ เู้ รยี นไปคน้ คว้าเพ่มิ เติมเกี่ยวกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามแนวพระราชดาริ

สัปดาหท์ ี่ 2 กระบวนการสอนแบบปฏบิ ตั ิ เร่ือง การคดิ คน้ วสั ดธุ รรมชาติทส่ี ามารถนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ
บรกิ าร

1. ผ้สู อนอธิบายหลกั เกณฑก์ ารให้คะแนน
2. ครูผู้สอนเรมิ่ เขา้ สบู่ ทเรยี น โดยการอธิบายรปู แบบการนาวัสดุมาประยุกตใ์ ชใ้ นการบริการนักทอ่ งเที่ยว
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความประทบั ใจได้
3. ใหผ้ ู้เรียนแบ่งกลุ่ม ระดมความคดิ ออกแบบวัสดุอุปกรณ์ และส่งิ ต่างๆ มาประยุกตใ์ ช้ในการบรกิ ารเพ่ือสร้าง
ความประทบั ใจแกน่ กั ท่องเทยี่ วได้
4. เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนแสดงความคดิ เหน็ และยกประเดน็ คาถามเพอื่ ค้นหาคาตอบท่ีสงสัย
5. ใหผ้ ู้เรียนบันทกึ เนื้อหา และการยกตัวอยา่ งลงในสมุดจดบนั ทึกประจาวชิ า
6. สรปุ บทเรียนเก่ียวกับหลกั การปฏบิ ัติงานด้านการบริการ ประโยชน์จากการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับการใหบ้ ริการ
นกั ท่องเท่ียว น้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการปฏบิ ัติงานดา้ นการบริการ และการคดิ ค้นวัสดุ
ธรรมชาติทส่ี ามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้ในการบรกิ าร

7. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้
- หนังสอื เรียน วิชาศลิ ปะการบรกิ าร

แหลง่ การเรียนรู้
- คน้ ควา้ จากอินเตอร์เนต็

- หอ้ งสมดุ โรงเรยี น ศูนยว์ ิทยบริการ
- หอสมุดประจาทอ้ งถ่นิ

8. หลักฐาน

5.1 หลกั ฐานความรู้

-เอกสารเนือ้ หาสาระ สมุดบันทึก , การจดบันทกึ เพ่มิ เตมิ ในใบความรู้

5.2 หลักฐานการปฏิบตั ิงาน

- แบบทดสอบทา้ ยบท

9. วัดและประเมนิ ผล

- ความสนใจในการเรยี น การคน้ คว้า การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม

- การซักถาม การตอบคาถาม

- การนาเสนอหนา้ ชั้นเรียน

- บุคลกิ ภาพของผ้นู าเสนองาน

- การประเมินผลโดยกลุม่ เพื่อน การประเมนิ ตนเอง

10. แบบฟอร์มการประเมินผลการนาเสนอช้ินงาน (Folio)

แบบประเมินผล*

กิจกรรม…………………………………………………………………………………………………………….

ชื่อ………………………………..………..……………………..สาขาวิชา………………………….เลขที่………

เลขท่ี รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
432 1

1 ความสนใจการเรียน

2 ความร่วมมือกนั ภายในกลุ่มและภายในชั้นเรยี น

3 ความคดิ สร้างสรรค์และความสวยงามของผลงาน

4 ความถกู ตอ้ งของเน้อื หา

5 ความสาเรจ็ ของผลงาน

รวม

บนั ทกึ ความคิดเห็น………………………………………………………………………………………..…………………………………….
………………………...…………………………………………………………………………………………..……………………………………………..

……………………………..
อาจารยป์ ระจาวชิ า

..………/…………./……….

* การนาเสนอแฟม้ งาน/งานเดี่ยว/งานกลุม่ (เมอื่ ผ้เู รียนประเมินได้ 2,1 พอใช้ ปรบั ปรุง สามารถประเมนิ ใหมไ่ ด้ ใน
รายการประเมินข้อทมี่ จี ุดออ่ นได้ 1 หรือ 2 ครัง้ มีเกณฑ์ว่าไดไ้ ม่เกิน 3 ดี โดยผูส้ อนเปน็ ผู้กาหนดเวลา)

11. แบบฟอรม์ การประเมนิ ผลดา้ นจิตพิสัย (Affective Domain)
แบบบันทกึ การสงั เกตความรับผดิ ชอบการทางาน (มสธ. 2538:167)
แบบประเมินผลดา้ นจิตพสิ ยั

ตั้งใจ เตม็ ใจ มุง่ ม่นั รับอาสา กระตอื รอื ขยนั และ

เลข ชอ่ื -สกลุ ทางาน แก้ไข ทางานให้ ผ้อู ื่น ลน้ ในการ ใหค้ วาม
ที่ จริงจงั ปัญหา สาเร็จ ทางาน ทางาน รว่ มมอื ดี
321 321 321 321 321 321

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

ความหมายของคะแนนให้ใส่เคร่อื งหมาย 4 ลงในชอ่ งวา่ งตามระดับคะแนน ดังน้ี

3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง

12. กิจกรรมเสนอแนะ
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................

13. บนั ทึกหลงั การสอน
13.1 การประเมินผลหลังการสอน
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
13.2 ปัญหาทพี่ บ
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
13.3 แนวทางแก้ปัญหา
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

สาขาวชิ า : การโรงแรม/สาขางาน การท่องเท่ียว ใบสั่งงาน
แผน่ ที่ : 1
ช่ือวชิ า : ศิลปะการใหบ้ ริการ รหัสวชิ า 2700-1003 หน้าท่ี

งาน : คน้ ควา้ เกี่ยวกบั ความสาคญั ของธุรกิจบริการ

คาส่ัง ใหผ้ เู้ รียนคน้ ควา้ เกี่ยวกบั ความหมายและความสาคญั ของการบริการมาโดยละเอียด

คาสั่งย่อย
1. คน้ ควา้ และรวบรวมความหมายของการบริการ 5 ท่ีมา
2. คน้ ควา้ ความสาคญั ของงานบริการ
3. นาเสนอหนา้ ช้นั เรียนแลกเปลี่ยนกบั เพอ่ื น

ลาดบั ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน
1. ศึกษาคน้ ควา้
2. รวบรวมและสรุป
3. นาเสนองานหนา้ ช้นั เรียน

เคร่ืองมือ/อปุ กรณ์
1. ใบงาน
2. หนงั สือ
3. ระบบอินเทอร์เน็ต

กาหนดระยะเวลา ใชเ้ วลา 30 นาที
1. การคน้ ควา้ ใชเ้ วลา 20 นาที
2. การรวบรวมและสรุป ใชเ้ วลา 5 นาที
3. การนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2

สาขาวชิ า : การโรงแรม/สาขางาน การท่องเที่ยว ใบส่ังงาน
แผน่ ที่ : 1
ช่ือวชิ า : ศิลปะการใหบ้ ริการ รหสั วชิ า 2700-1003 หน้าที่

งาน : คน้ ควา้ อาชีพในธุรกิจบริการ

คาสั่ง ใหผ้ เู้ รียนคน้ ควา้ เกี่ยวกบั อาชีพในธุรกิจบริการ

คาส่ังย่อย
1. ใหผ้ เู้ รียนจบั คู่คน้ ควา้ เก่ียวกบั อาชีพในธุรกิจบริการ
2. ศึกษารายละเอียดของอาชีพ ลกั ษณะการใหบ้ ริการ การปฏิบตั ิงาน การใหบ้ ริการ
3. นาเสนอหนา้ ช้นั เรียนแลกเปลี่ยนกบั เพอื่ น

ลาดบั ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน
1. ศึกษาคน้ ควา้
2. รวบรวม เรียบเรียงเน้ือหาและสรุป
3. นาเสนองานหนา้ ช้นั เรียน

เครื่องมอื /อุปกรณ์
1. ใบงาน
2. หนงั สือ
3. ระบบอินเทอร์เน็ต

กาหนดระยะเวลา ใชเ้ วลา 30 นาที
1. การคน้ ควา้ ใชเ้ วลา 20 นาที
2. การรวบรวมและสรุป ใชเ้ วลา 5 นาที
3. การนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

สาขาวชิ า : การโรงแรม/สาขางาน การทอ่ งเที่ยว ใบมอบหมายงาน
หน้าที่
ชื่อวชิ า : ศิลปะการใหบ้ ริการ รหสั วชิ า 2700-1003
แผน่ ท่ี : 1
งาน : การระดมสมองในหวั ขอ้ บุคลิกภาพท่ีดีของพนกั งานบริการ

คาสั่ง ให้ผเู้ รียนทางานกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ร่วมกนั ระดมสมอง ( Brain Storming) ในหวั ขอ้ บุคลิกภาพท่ีดีของ
พนกั งานบริการ

คาสั่งย่อย
1. แบง่ ผเู้ รียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
2. ระดมสมองเร่ือง บุคลิกภาพท่ีดี /บุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม/บุคลิกภาพท่ีดีของพนกั งานบริการ/พร้อมหารูป

ภาพประกอบ
3. นาเสนอหนา้ ช้นั เรียน

ลาดับข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน
1. ศึกษาคน้ ควา้
2. รวบรวม เรียบเรียงเน้ือหาและสรุปในโปรแกรมนาเสนอ PowerPoint
3. นาเสนองานหนา้ ช้นั เรียน

เครื่องมอื /อปุ กรณ์ ใชเ้ วลา 30 นาที
1. ใบงาน ใชเ้ วลา 20 นาที
2. หนงั สือ ใชเ้ วลา 5 นาที
3. ระบบอินเทอร์เน็ต

.

กาหนดระยะเวลา
1. การคน้ ควา้
2. การรวบรวมและสรุป
3. การนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

สาขาวชิ า : การโรงแรม/สาขางาน การท่องเท่ียว ใบส่ังงาน
แผน่ ท่ี : 1
ช่ือวชิ า : ศิลปะการใหบ้ ริการ รหัสวชิ า 2700-1003 หน้าที่

งาน : การระดมสมองในหวั ขอ้ บุคลิกภาพที่ดีของพนกั งานบริการ

คาสั่ง ใหผ้ เู้ รียนจดั อภิปรายในหวั ขอ้ เรื่อง “ทศั นคติท่ีดีและการทางานดว้ ย Service Mind”
(เสริ มสร้างการทางานเป็ นทีม)

1. แบ่งผเู้ รียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ร่วมกนั คน้ ควา้ ขอ้ มูลการทางานดว้ ย Service Mind
2. นาขอ้ มลู การอภิปรายมาจดั บอร์ด เพื่อการประชาสมั พนั ธ์

คาสั่งย่อย
1. ใหก้ ลุ่มผเู้ รียนคน้ ควา้ งานในเร่ือง ทศั นคติที่ดีและการทางานดว้ ย Service Mind
2. จดั กิจกรรมอภิปรายทีละกลุ่ม เพือ่ แลกเปล่ียนความคิด

ลาดบั ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน
1. ศึกษาคน้ ควา้
2. รวบรวม เรียบเรียงเน้ือหาและจดั ทาเอกสาร
3. อภิปราย

เครื่องมอื /อุปกรณ์
1. ใบงาน
2. หนงั สือ
3. ระบบอินเทอร์เน็ต

กาหนดระยะเวลา
1. การคน้ ควา้ ใชเ้ วลานอกชว่ั โมงเรียน
2. การรวบรวมและสรุปใชเ้ วลา 15 นาที
3. การอภิปรายหนา้ ช้นั เรียนใชเ้ วลากลุ่มละ 15 นาที

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5

สาขาวชิ า : การโรงแรม/สาขางาน การทอ่ งเที่ยว ใบสั่งงาน
แผน่ ที่ : 1
ช่ือวชิ า : ศิลปะการใหบ้ ริการ รหัสวชิ า 2700-1003 หน้าที่

งาน : แสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกบั พฤติกรรมลูกคา้

คาส่ัง ใหผ้ เู้ รียนแสดงบทบาทสมมุติ (Role Play) พฤติกรรมของผรู้ ับบริการ (เสริมสร้างการทางานเป็นทีม)
1. แบง่ ผเู้ รียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน
2. ศึกษาคน้ ควา้ เกี่ยวกบั ลกั ษณะพฤติกรรมลูกคา้ กลุ่มต่างๆ
3. นาขอ้ มลู มาจดั บอร์ด เพ่ือเผยแพร่ขอ้ มูล
4. ผเู้ รียนทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self-report)

คาส่ังย่อย
1. ใหก้ ลุ่มผเู้ รียนคน้ ควา้ งานในเร่ือง พฤติกรรมและความตอ้ งการของลูกคา้
2. จดั กิจกรรมอภิปรายทีละกลุ่ม เพอื่ แลกเปลี่ยนความคิด

ลาดบั ข้นั ตอนการปฏิบัติงาน
1. ศึกษาคน้ ควา้ เกี่ยวกบั ลกั ษณะพฤติกรรมลูกคา้ กลุ่มตา่ งๆ
2. รวบรวม เรียบเรียงเน้ือหาและจดั ทาเอกสาร
3. นาเสนอในรูปแบบ Role Play

เคร่ืองมือ/อุปกรณ์
1. ใบงาน
2. หนงั สือ
3. ระบบอินเทอร์เน็ต

กาหนดระยะเวลา
1. การคน้ ควา้ ใชเ้ วลานอกชว่ั โมงเรียน
2. การรวบรวมและสรุปใชเ้ วลา 15 นาที
3. การอภิปรายหนา้ ช้นั เรียนใชเ้ วลากลุ่มละ 15 นาที

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

สาขาวชิ า : การโรงแรม/สาขางาน การท่องเที่ยว ใบสั่งงาน
แผน่ ท่ี : 1
ชื่อวชิ า : ศิลปะการใหบ้ ริการ รหัสวชิ า 2700-1003 หน้าท่ี

งาน : ระบุลกั ษณะของมนุษยสมั พนั ธ์ที่ดีและลกั ษณะที่ไมด่ ี

คาส่ัง ใหผ้ เู้ รียนระดมสมองในหวั ขอ้ ลกั ษณะของมนุษยสัมพนั ธ์ท่ีดีและลกั ษณะท่ีไม่ดี

คาสั่งย่อย
1. ให้ผเู้ รียน จบั คู่เขียนลกั ษณะของมนุษยสัมพนั ธ์ท่ีดีและลกั ษณะของมนุษยสมั พนั ธ์ที่ไมด่ ีลงในตารางบน

กระดาษ ประเภทละ 10 ลกั ษณะ
2. นาเสนอแลกเปลี่ยนกบั เพือ่ นในช้นั เรียน คนละ 3 นาที

ลาดบั ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน
1. ศึกษาคน้ ควา้ และระดมสมองเกี่ยวกบั เร่ือง มนุษยสมั พนั ธ์ที่ดีและลกั ษณะของมนุษยสัมพนั ธ์ท่ีไมด่ ี
2. รวบรวม เรียบเรียงเน้ือหาและจดั ทาเอกสาร
3. นาเสนองานหนา้ ช้นั เรียน

เคร่ืองมือ/อปุ กรณ์
1. ใบงาน
2. หนงั สือ
3. ระบบอินเทอร์เน็ต

กาหนดระยะเวลา
1. การคน้ ควา้ ใชเ้ วลานอกชวั่ โมงเรียน
2. การรวบรวมและสรุปใชเ้ วลา 15 นาที
3. การอภิปรายหนา้ ช้นั เรียนใชเ้ วลากลุ่มละ 5 นาที

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7

สาขาวชิ า : การโรงแรม/สาขางาน การทอ่ งเท่ียว ใบส่ังงาน
แผน่ ที่ : 1
ชื่อวชิ า : ศิลปะการใหบ้ ริการ รหัสวชิ า 2700-1003 หน้าท่ี

งาน : เทคนิคการใหบ้ ริการเพอ่ื สร้างความพงึ พอใจ

คาส่ัง ใหผ้ เู้ รียนแสดงบทบาทสมมุติ (Role Play) การใหบ้ ริการแก่ลูกคา้

คาสั่งย่อย
1. ใหผ้ เู้ รียนกาหนดธุรกิจบริการ 1 ประเภท
2. กาหนดสถานการณ์ในการใหบ้ ริการแก่ลูกคา้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มจบั ฉลาก เพ่ือเลือกระหวา่ งการบริการดีและ

การบริการที่ไม่ดี (1 กลุ่ม จบั ฉลากเลือก 1 แบบ)
3. สรุปและอธิบายรูปแบบของการใหบ้ ริการดงั กล่าว

ลาดับข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน
1. แบง่ ผเู้ รียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน เลือกธุรกิจ 1 ธุรกิจ
2. กาหนดสถานการณ์การใหบ้ ริการแก่ลูกคา้
3. แสดงบทบาทสมมุติ (Role Play)

เครื่องมือ/อุปกรณ์
1. ใบงาน
2. หนงั สือ
3. ระบบอินเทอร์เน็ต

กาหนดระยะเวลา
Role Play ใชเ้ วลากลุ่มละ 15 นาที

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8

สาขาวชิ า : การโรงแรม/สาขางาน การท่องเที่ยว ใบสั่งงาน
แผน่ ที่ : 1
ช่ือวชิ า : ศิลปะการใหบ้ ริการ รหัสวชิ า 2700-1003 หน้าที่

งาน : การแกไ้ ขปัญหาการร้องเรียนจากลูกคา้

คาสั่ง ใหผ้ เู้ รียน
1. แสดงบทบาทสมมุติ (Role Play) การใหบ้ ริการท่ีดี/การใหบ้ ริการท่ีไม่ดี
2. การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ /การแกไ้ ขปัญหาการร้องเรียนจากลูกคา้

คาส่ังย่อย
1. ให้ผเู้ รียน จบั กลุ่ม กลุ่ม ละ 5 คน แสดงบทบาทสมมุติในการใหบ้ ริการ ( Role Play) ในหวั ขอ้ เรื่อง

การใหบ้ ริการท่ีดี/การใหบ้ ริการท่ีไม่ดี
2. กาหนดสถานการณ์ในการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ /การร้องเรียนจากลูกคา้
3. ใหผ้ เู้ รียนแกไ้ ขปัญหาตามสถานการณ์ท่ีกาหนดให้

ลาดับข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน
1. แสดงบทบาทสมมุติการใหบ้ ริการ
2. กาหนดสถานการณ์ปัญหาให้ผเู้ รียน
3. ใหผ้ เู้ รียนแกไ้ ขปัญหาตามกรณีศึกษาที่ให้

เครื่องมอื /อปุ กรณ์
1. ใบงาน
2. หนงั สือ
3. ระบบอินเทอร์เน็ต

กาหนดระยะเวลา
ใชเ้ วลาคนละ 15 นาที

filaiTrinpotifsu
nl?nitduil r ilryrtnu 25bt

Tal

o.iwut utuNwu

ejqirf ntrTnffu

instr-,srnnint=eos

il[ n o 7u n N: D nu n? rhtntYcln*t

nfinnglnuintr

al

s

(:c :^

G :aFr

@ 0a o\ . d'

CD

(F -

(4" = la)< .L

(cF' F -c! o 6-N :-
-(F@ (JDc
e r-6 Nr.Qco:: * :J
oNt-bi'u:NEt
c!

N (D
CC
=Fe \or o\ I
=
((G- O.l a :E UJ
C
(G@ t@r s 3.- UJ
3 |ar.))\o(.) €
(Fg () Nt\r.r-^ oa6I+ Fe=r iiCF(4"
)F J -a$ tltr G-

e ^D
F"=
N N at 6l at a{ .I <:^ s -6q
qG)
ot< -
-(F
=d Nd dN suEr EgE ol6'-lrnt>s-E{/l c) oFlrcc
6f '.p CC
7a CD
=
dN 9 ]E
)n=@E
ra
s ot-- elaPr<"l (G )a
-{Ge qt€'. i.- (G

=a dta2E $€c vOr H arc

-{@r riv aaOl,.?ia)rafu ^<t-=6t-GNEsl zdJ

il R{sO*ar €E(l-.ara r- (h -{@F

(G 6t :E (C

D
- sF
n o,-rq@rn o> -!f
((i r-(,
-F @ r) r.) =='?er7z5 l E 6; o->.ro{
- -; -=-- Fg;-{F e 6l+
5= (Gr 6l (.) r) c =a OG@
=i {F= NEF
G =NabMEa.,^. O6tA:tr
@
= =
((n = G G =
G
d@E .F !L G
.F@ (G
e (G
G G 6F
'TDE 6 @ = :fGi
G c i7) t7)
= G
G= aa = 6l
=p b=
(G@ G G (G
GGG
(q

\o N E ti ?is 6ls

(.t ci N d c\l tr) d;

)+ o Of6-laNr a-t ea +

r r rN N Nf- F- ot N i- RsDF;N 6Fl-6 f-6
N aI+ -4*= <
a.l

o7 E" e sBsc.lctf,- .i Es a <i) _6__
=qr-:
@iDj(f;5;F q 6a -iAt@cc q4N Io€-c\t- ,; Na< o 6,;
5P)E{ P^ a€O6lr.r-.)+'?E€- rN, o6n
(G=F=c2, 5Eo -,Etrd'= s.,6?-? oOi-l66; ,; 5aI-l e9c+u.r)
$ac
S
O hru

11 *

t6- 6s^ 6rc {f a Gr6 E;;
cl
olt,:

Yr.-
--F (:
ON 6FI-+6 F-|, 6r-l+ .J1
-rDG:ciF= crrf-6 (c ,5
F6-rC, :E
(C=C-e!--d-=FF a.l

;N =LD F4 n5C?\.:-:,g @ ')-

'l q=

$sLprrrurZ[,vtmgguGu

(q"iCArI-EF=Gb"-'EG;th(*=F" 'q -oF F G 11G -{(Fa
=GFb-,a7-(tF-ttsp\l 5 )E
-+ qF F IE (c

d" ,= )1p

f,^tfrov r

?mflt autYlFtun:yuo{

:#airr L..1t.a.0..:.1Q..g.9- fiu:,, ..is.il:.n,!\ir:mt.................... .... *rirsnsr 1.:.L:.L nnr:6nur r/zsor

:rusi o{-nor5uurrplunTvr nr:I:.:u:r.r il'ty:rz natn fiooror:rifirjEnur ur.:anno^ u::rmrmn{

atou :fr'arj:y,6ro': 50-ulucIna

I1 L tl 5 L 7 "l 4 l0 l1 tL 11 t4 15 1t, l't

I 6r270r0036 u1{d'l?flun?::01 lJ]Xd5Efl //

2 $fr+rftffi* lr e!.^^d;q, ra,^qir* . .-/ t tr Y 'd-

I0 \ \v",1

3 6 I 270r 0038 u1{dt?@0uyddt:ly,lfu aJ

?Fr?.in

4 6r270r0039 uro6:Iryo urnami / /\

5 61270r0040 uranTovla loBo /

6 6t27010041 ursarrflriuflr ilrqrxri I/ c\,

'1 612't010a42 u-tif,t10a'lt?:u 9e /

fltutrJtgl

8 6127010043 urrarrf'cyryr:o fiqr \.Y
ry .! 1/

9 6t2'7010045 ilruuqr!fl qrJii'n /

l0 .l .I

1l 6r27010048 utar'::niryvur u"ri,fr'uil{ /

12 6r270r0049 u]8:funqfl osslflu /

t3 6r27010050 ursarr:fifnd luGmd'r $r { / / Nr

t4 6127010051 u1{d1??::flrfl: flttuou'l'ta /I

l5 6127010052 ulu?1l?d r4 //

rrryil{ I/

l6 6r270t0053 ursarrffinrr::al ruulnnaq \ \ \v,,1

t1 6r270100s5 urrano:firy il:yyriq \

t8 6r270t0056 u1{dr?0d581 iltnR-flF{l

qu/, un::}JB rtr \, V / \ \\, ql $,1
',1
II9 6r270100s8 u-t{ dl?tv{iua: rfluoto t{1
{ { \ry ql 'l .,J
20 6127010059 utorrilnri

2t 61270r0060 uxorraruq6 arfir6uil[tllwlor.

22 61270r0061 uranoiur qa::uro[,] *lg* v ! /,\l / \t / /

23 fr'"reiu fr\rna

24

25

26

21

28

2t)

30

:Hflna8J 61?',70102 :?:Jf,ru-luu4fulf4lailst9jtri 5 nu unenuliqjr t7 nu

ffKrl"t

:.i*rs, Uqg: 199 ,$delirnJfrij3r::;:
).1ti,yIl. Y.riljt ri!:11l.JIret!;
:iufiodnGeuu*,ru:-riv'l nt:j:,rr::,il t-jt.lj.t/1 nl.ti i

k\=t -i

n rolj :#m:J:riirsi: 1,0-'ilt3Jf,nn o €

bv* P5

I lt,l L 3 q 5 6 7 6 .;,
{/ lo t1
4s lt1 15 1c 17
f ))4 }tvlt
6ll70l()001 U lrlrlrlclflRll {
/
? 6t27010002 ur.rar:iinun: rl':.:ir.iw

J 6r27010001 ul'r111'10fr lRt " rljfu0t /6 q," )/

4 6127010004 u't.tdtl0:ltut ad

tdo[ylr]

5 6127010005 ul.idtt0adl:tttSiu rrdl-iliif.l a

6 61270r0006 ut{fl1?slal/6ud fltuFl -lt:uvt:

1 6127010007 ulad'r?ryutJI t:nr utnrn!il a

8 6r27010009 u't idt?Tn <Dst a@ c

d: uutrt

9 6t27010010 rrafqgriur,{ 'ln*n.-rq DI' $fl

t0 61270 r0i) I l utnflt't9t-l.iafl nfuou hr

II 6I 2701 (i0 t 2 ut rdt'tt:ftt difl:

-/l2 Ul) { dll
612701001.1 Jf,1-r ld 5 i J l^l

l-l 6 I 27(l 100l,l ut{fl1?u1,\'t}lu .q

[tn']l^l?{

t4 61270t0015 urqarril:yrina: uyr:flti I

t5 61170r0016 utndttl^l:ryat 1t-lo sll arl .i

l6 6127010018 ursar'rnrifl ]tl:rnr

11 6127010019 ulndl'lu:Jnu: dd //

lFl[1UU //

t8 6r270r0020 ulndllTryufr5 q tur0n I
I
l9 612701002r ur,:nr':r8:rRr usqnrirl:yu'tl
MV
20 6127010022 1-l lufliln: lfl\;t?tzuU
$r
2l 6127010023 ur.rflrrflilq1l-u "f rndr
/
72 612.10t0021 ut.rdtld5fl5 r0:iuu
0/ /
2-7 6127010025 ulflan/ Trt9ru al]J[0:iu /

74 61270t0026 ut'lflr?q^!?ry\'xmtu l,r0.tnntu /

25 6r27010029 utndt1oTiIudiai] 0::tlt:it!

26 6r270i0010 ur.irlt'10:0:t 0H1{0}J

I21 6r270t0032 ut.i,1.l'iY'lJuR p.t]9rn't
28 61270i0031 ul.idtl00:ut
I
F]10u115

29 6l27010014 ulul.r',ltJti/iT: :Fld.]t,uu /

-t () (iI2701(lUl5 Ul;,liIIrl ;dlr 1 fllIUl /1 /

:?l-r{flLllJ 61270101 ;lliet!tltuflf=ldAaa 'utT]8 6 plu unflfl'ut1itut 2.t f-tu

i .I

A?qmA gtaur?lFlufi:uuo{ {'uqr-

:roiry, .L|g.l.--.Lg1l-nui,, l1[ffnr:gs\l*:l (g:,?9-* 1.1.:.?!..). .n*,on,-1i.k? Uflt:flnut l/2s6r

:rss4qo4ar<int5autmun3tr nr:I:lu:r t)tt:tz ne:tz fiooror:dfirJEnur uxanrad u::rynnnrl

atou :fr'or]:v,i16'r Y0-utildna

I 6r27010036 ul{dt?nun'15:tu 11?d:&fl-1-1 1 L 9 tt 5 L 7 g q l0 lr 1L 15 Itt I 1a 11

2 612+I.1403J- I t1.iry]1fldal I tqtGtl il5.l ,l il \ / {, s{ /

AT t\l a

u1{dt?a oul?d t:[llfu a/

?at?{a _1-1
+t_1
6r27010038 qt ,\l t/ o,l

o"4 61270r0039 uro6:1r6 urnaui-1 1l ,,1 { l, \ '!

+z5 6t27010040 urunTovln 1o6o -,1 -1 { tY ,l p1 //

6 612'7otoo4t uxar:qriunr rjr;rrrd-1 \ .i

'7 6127010042 uxar:orfiri+z {'ruqrfr-1 /
V v \\
8 6t27010043 ur.:ar:r''ryryi:a frer -1 *1 +2 n/

rZ9 612'7010045 uluuflrufl qrJaln -1 -1 tql q / v-

l0 6tz.K)+9946- /

ll 61270r0048 urrarrrfryvarlt udd'uvrf-1 /
/ //
+2t2 6t270t0049 ulu:funqn olrtrrt'a -1 11
/
rl3 6r27010050 uxarr:fifnri* luGriri: -1

t4 6r270r00sr urrdrr:::uffirz nrtyourio-,1-1

l-r-t5 6127010052 urailr{a udfrr -1-1 /

lo 61270r0053 uxar':ffinrr::u ruulonqr 4-1.;'1L I n \/

t1 612701005s urar.:o:firy rl:smole -1-1 ,\b \ \V0\| .,1

r8 6r27010056 ur{d1?0fl:u1+2 tutnflnfl -1 //
v v v / {\ \
l9 6127010058 ursarlfirusl:r un:fud -1 h
20 61270r0059 utsanilnri rflEoro 4-t
c/ q/ V cl { \ \

2l 6127010060 uxcnauqfi arfrrdutu J['r".s-.-I":
6r270r0061
22 uxRrro3ur Qr::urn

ffr"ifu23 drn\ma -1-1-1 rr \ o{ .rl { \ \{l'r\l \)

24.

25

26

21

28

29

30

:HAnAN 6177ArA2 :?lJ0l1.l'lllllileilHlllltt 5 ftll Ur-4l^flflE]HnJ{ l7 fiU

{'uuqfrr.,$ -
I r.t i.,-::',..1 .l 1-i;;::.1

;::,Tru,1J.9".1.:.Lgg.?;u-,, trn{t\d^yylcrin.ryrll (?.7.,10:..11;.??!,),, i,,,i* 1:?.L i:::,i;:; ,,5,,
'l

:tude#nGuuttruunitr n'::i:.rir:,..r -:ir.:.rrl il'r.1.'7r io,lr.lrrrifi:l3i,Hr :;':lel::iYrEu'l yr:H,JJrisru

it tfiu :#arl:v{rsr: 'IJ 0-t-i I jif,il a

I 6r27010001 utur'rqoifrnil illrilrar t t1 5 4 5 6 7 9 lo 1l 1e 1\ Irl ltt 16 17

/ / //

) 6127010002 Llifll?nan, 8flT fi r.ri,ii'lJ // /

3 6127010003 ul.:dl'lQfllfl r ruixt I I s/
///
4 61270r0004 u-rndl'10:su] 4d
n rf / /
rdotl t.l
I// /
5 6127010005 u1.:dta'dttt:tfiSiu l.lf,u1{F]

6 6r27010006 ut.tdtlTu6/su/ ntua ''lt:u1tT

1 6127010007 Ulndl?ryUltld:ilt lllFltr-11.1u /

8 6l 270 l(x)09 ul{dtlYna tryt il:6ry / //
uu'\"]

9 61170r0010 urunToriuvi "lnin::ru ilt / /0

lL) 61270100r l ul.:d11Fr?.1AO nfuou I$t /

I] 61270r0012 ulid't'15:Flt diill 0[ / /

t2 6t270100r3 ursadr:3l\{fl Ut?iqll ///

ll 6r270r00r4 u1.1fl1-tulituu v I/
ttrt-11^l?.i

t4 6r270r00r5 utldrril:yn-dd: uyL:irri // /

l5 6127010016 ur{dt?yt5s9ll l]l-lFt I v

t6 61270t0018 urlar:nrifi lri: riu /I

1l 6127010019 u-l{dl?uiln1\: 1Jf}r1lUU

t8 6r270r0020 ulsdl?q45ryuil5 AtU110{ /

I9 6r270r002r ut xdn1r4yl ]tl r unudl il:ril"lj /
20 6t270t0022 uluflfln:
{q /I

tnflfl9lu /

2t 6127010023 utiflt?fl}JquB ltnnI t st / /

22 6 [7u 10024 ut{dt'ld:n)- r0:iulJ o {,
//
23 6r270t0025 u1-u/0:t0nu {]ilro:tu
Af I / /
24 6121()10026 Ul{d]'ldia/dlrrYyf,1'lB i,miflAlfl
r0 /
25 6r27010029 utndt'10:ilt!u-t a 055u]:fl!

26 6127010030 utndt'loTt:t 0u'lJ0JJ

71 6127010032 ulnflt'l1l:uRt t{]ryfr-i

2rl 6ll70r00ll ul{fl1'100:'Ht I /

Ft]ou?t:

l9 6 [7U 1 00]-l Ul8llliljt'1.\U: -1flefillUl-t I
I
It) 6r270t0015 urrar r'lrqfnrr ai-;yr $l
1?lJ0tt'luund6odat-r'ut,utu 6 nu unflflTJt14[r]n 2"1 ftu
lfid{fla3J 5127010t

?llUrAUlYtFlUn:yCtO{ iuc{tln$

no:ur geFry r?l l dl.lr{.e ltg .:9g .:!.1..:?!) ,,,i.on* \:?--r- iJnr:finur rlzsrr

nr:I:rrr:u il'tu:tz natrz duu-,u-,rddrjEn*', ursonrl6u::rmiund

:#ar]ryiir6'; TO-Ut3JdflA

6127010036 ul{d]?flun?::t]l 5lJt1d:yFl

612'701

6127010038 urui:lysr urnq'vrB
61270r0039 ^q5
6r27010040
6r270r0041 u'lutuf,v{a
61270t0042
6127010043 uirar:eriuflr riilr:rd \t
6r270r0045
ulad-)lriufur:fl ytflt

uruurlrufl qr-Jn-n

6t2'101

6127010048 utu:ninrla oYutflu
6127010049
6127010050 uxarr:fifqrri lyrGurir
6r270r005r
6t2'7AtO0s2 ul.rdr??::fuflT nlilrut?n
6r270r0053
61270r00ss utu?ll?d r4
6127010056 [[ry11{
6127010058
6127A10059 urlarrffinrr::u nrulnnal
6r270r0060
6127010061 ursdno:firy r.l:sytifl \1

uradtlod:ul lJtnflnFl

uxanrfiryor:-r un:frd

lrramilnri rfllora "{6

u t I ntra::q6 arfir6o(lilw

ut{d110:!1 d?5:ilUn

{vr frc, dr} ua

:ye'fla?J 61270102 !aa4 -5'ii1-r iiflfr'n!lYili I 7 Fllr

: ?ri q lU ?UU ilfr fl llf ltr

-'..-,,i :"I'1'; ;''1',-:.1 a'^{oln{

::i*i,,, yJ9? lg-gJ;.-,, II.4t*qiqdrl0r5*,"(oq_ ?9 11.:gg) ,,;i;i;i,,, 1:?:I I

:r ': l: ii ,'l : i

i 'o :, ,:

:#ail:ydrm-r Y8-'fl li.jalalQ

:/ l iLlgl+lr,l617

6 i27rJ i0001 U l'Jtlri,liifl'l] J lq ll/lt
6r27010002
6t270t0001 ullflttanu, ufl)- ft1.1Ll.j'1.J
6r27010004
6I2701000.5 ul{dl?0</d;tn:=flJ {fl1J litFl
6r270r0006
6r27010007 ulidtluuti]:flJ utfti.nlJil
6l270I0009 ut.1f,t'lT6nSYt
6127010010 U 'lUrlli lrur1/1] ar r'

6[70tuu]I Ul{ fll-lFl'l.ln.rl f,:al1.lel

61270i0012 ul.rdl-lrlnt tqr rt I 'lfU
6 t2701(X) r-l utu4dr:y]^titfl nnl0U
61270100r4 i:tifr:
6127010015 lJ t? iq.x
6t270100t6
61270100t8 ulndl'l1l55Fl1 1l t'lF]
6127010019
61271)10020 ursnlirifl h: rar
6127010021
612701002.2 ur'rdrlutunfl: iflriflrr
6121010023
6rr70I00?-l ulndl'lTryun: q18110{
61270r0025
6r270r0026 rur'rarr':8:rn latirl:yul
6 r27t) 10029
6r27010010 urRi:alq'rio ri rndr
61270t0032
6127010011 U]Ua/ f,:lnAU .lllil,05r,l,
6i270l0i)14
61170I0015 tl l.i dt l0 5 0: t 0 il?l ol.i
ulridlll!)=ur-I f"i.lY'ilt
utifltl?lE;ut .nt0r.-1lt:

Ltrj,'1.l rit.-/,i;.1,r1 rl ;Il

i?'ifrni.l:;i i) { 271} I {) I i -.)ll ood ll-i 11 rl FIi'l l.l l"ltlti ,,d

t l 1-l '1.,1 r'l fl ilU l'14 i'll'l

:,i*i.r,?991:.1?9.1 ;ui.,, 61ur;ulrr A

:.rU4Yri 01{nt:Ui,lt[ililf]lYl i']lT i':..11ii, 1ll.ld'l.l *:'UfijI irl5 i'l).1IItl t,,1

ato'u :'#arl::iirfi': 1'0-ul].rfinii

61270t0001 uranqnfinii .firli1'mr
6r270r0002
6t270r0001 urs dllt]-nun: d':lrrL*i
5r270r0004
6r270r0005 uld dt'l"Iuaur'<ftllll9t 1ttu1]5
6127010006
6r270r0007 u-l{dt'l"l^rnrYt da:@8ua/
61270t0009
6r27010010 u rsoTq riuvi lpri n: rtrL
612701001 1
6127010012 ut.rdl?Fl:l'ine nilo!
61270i00r3
6127010014 ul.ldl'lrlf.)l drtfl:
61270r0015
61270r0016 ur4ud rs;?r.rB utTiql
6127010018
61270100r9 u]{rft'lu'vituu trRI ?1r:{
6r27010020 uxanil:yfrao: urr:i:.rd
6r270r002]
61210100)2 ulndl:l lT5glt lJt?Ft
6121010023
6121010{)24 ur'rar'rnrifl h:-rtu
6r270r0025
61170tu026 u']ildt?ux]ai l:- finrluu
6r27010029
6127010030 ut.ldt'l:sur): qtum0n
6i270100r2
61270t0011 urrar::fr: rnr ratiil:yrri
6t270 1003.1
6i270t0015 ul8qnnr tr-t9t 1tfltlt

utrarra:Lqu''a n'rn#t

ulqdl-ld: r-t5 rO:tuu

utua/ o:r,0gru atilr0:fu

ut.tdt'td6ydy)l)Y0]liJ il0 ifln tu

ul.t dtt0:0:1 0ug1.t0:J

ul{dt't}t:l-ijlt p{lYat
ut.1iIt:00:tlt
I

Flt0u',1:

ur'rorr'hrinur disr

5?ielflali l':l il noll-tluuryf3tfr n'Fl l"ij"ttl o {'-lU ud

1li-lfltl!'ltltUrl

,-

,,iruvo0 015

^ iyrsrffurvrnfin:yaol

:#aiu,?7911:P91. no?, grm?r.il0eg,r"i\"L!lr* ltt ,.?.?.--..!.9 ?.!:r nnr:nnu,,zsor
'g:.)n,i,on,
:raBI of-ionrTsurrruuaniryr nr:I<:.:u:ru ilev:rz na:tz fiooror:rifirJ6nur
ursanr:6r::rmrnnrl

alflu :#orJ:v,f,rfi'r TO-Ut?JdflA

I lt li1 t_
t{ 5 L 7 $ q lo I l3 11 ,i5 1e

6127010036 u1{d]?flufl?::fu .ulxd:yq

2

3 6r270r0038 utidt?0@u1d1d :ry,ltu aJ T

lgJt?iFt V

4 6127010039 ureri:lr6 urnar,rG \t

urunioua5 61270r0040 1o6o {\\ \
/
6 6t270r0041 ursarrqiSuflr rir:rrsd
I il
7 612'1010042 urqannr-firi ri'ururo

8 6t2'70t0043 utndt'lnfuillr:fl ylfll .v

uruuqrLd() 6r270r0045 qrJii'n N .{ "t

t0 612701O04{\*.- rnganrq lnri - "io.-* - --

ll 6r270r0048 u't{fll?lJ@uflJryU1 tu I

US0U11:

l2 6t2'7010049 ulu:funflql o5Ttflu

l3 6r270100s0 uxar'::frfnri lr,,rBuflr v{ I

t4 61270r0051 ut{dt??::flrfl: nlil0ul?a

t5 61270r00s2 ulu?1]?d ,4

tlryT$

l6 6r270r00s3 urqarafiEnrr::ru ruulnnar {

t1 6r270r0055 urlar:o:tiry il:yr.rrl-Fl /\\\

l8 612701u056 urndr?ofl:ut il]nRflFl !\ r
\!
rl9 61270r0058 uxRr:rfiqer: un:furi Vt Y \I 1/

20 6127010059 uxar:ilnri rflloro Irl \J

21 6r270r0060 ul{dl?flrJq9l d{drouxJ In

22 6r2701006r ur{dt?o:Et d'l:5fu1i6 .i / I i/ 777

dvrtru23 {,.'}rna \i \

24

25

26

27

28

29

30

:fifrna8J 6127 A1{.t2 n!5d@4a UnfinUtHflli t7 nu

T'JtJl'tU-J"r-t'ltftf]',lru1T1U

€v -

Xuo'r aqt

r< \ ?yrsrfi'sryrnfin:uuo.l

r

:#ai, t7.9..?..:j.g_g.h +.;r(!!_u.S::.I13*J.ff g.lLg.I,"-l"p"Tgn""!".:"l":."t].r.ry.4. ..... .... . nrirufin ?._9..:.t fln-':6nu, r/zsor

:ratiso-fionrTuurmunTrr nr:I:.:u:r.r iltx.rrz oattz fiuu',0',rridrj5nr', ursanr;d u::rmrmnd

atou :#oil:yiirEr-: ra-ul3Jdna

1 Lg 5 6 7 g 1 d n 1t 13 1,1 t5 1L 1?

I 6t270r0036 u't{dt?nun?5T0i 1t1?d:en 't /

2 ffi+r0€:.7- {+C-€fF1ctffi!=: / s / / / $l \l V T

l 6r27010038 ut{fl]?0a u?d]d:[1^1il at \{

?fl',]nfl

uru6:1ry64 6127010039 urnauG / q/

5 61270r0040 uronlgvra 1o6o

6 612't010041 utqdmfliSuflr ilr:s:sd /f V

1 6121010042 ut{fr't'lfilzd:{ u nI ililtg4l

6 6121010043 uxanf'qryr:a frar I / ry t/ 1 ,{
9 612't01004s uruurlrlrfl qrln-n /
^l
IO 5ru$l-0045- v: +{
/ i' l, .I

ll 6r270r0048 ulddtllJuu[rjstjt ,u 4
ltryouyt5

t2 6t27010049 uru:Blnqsl 0T51flu

urar::frfsrri13 6127010050 lvrBuri': MI ill

14 6r270r0051 u]{d'l'l?::fufl: fl]il0u]1a /,
/
l5 61270100s2 ulu?yr?d lrq!4ff{

t6 6r270r0053 urldmffiRrr::ru rnulnnal I.{

11 6127010055 ur.:ar:o:fiy rl:vyri'e \ \1l Y /V

lti 6n70r0056 ulddl?odru] q'i

ulflRno

rl9 61270r0058 utl nrrrfiryn: un:frri \ S { tr/ \l il \ q V
{
20 6t27010059 ut.:amilnri (ffuoro /l / { u \ V
I y,l
2t 6r270r0060 uxanarqG arfir6u:i snl

22 6r270r006r uxnrro3sr qrrr*r{uduu\l t/ xl / /

23 {'"ottrv 6r}rno

24

25

26

2'1

!6

2t)

30

:HdnqN 612701il2 :?tuO]u'tul]n4qf4alflb],lr-lu -5 nu unflfl!]l4iuS 17 nU

xc/ut6

:#oirr \:ql:rl9l.6oiryr ur.v: ilqrflx"- -.'nll;T'.i,]-r n$,$** ,oa^\:.2:L flnr:finur r/zso r

:ruB4uo4 rlntSaurmunTtr nt:I:su:u {ty.ztt n:,.zt1 T4 00t0t:zui iluro:nu1 u'tu0tunt1.,{ y

nrruvlrflt

atou :#r:J:ydr6': Y0-ulltdna

60270 r 000 I ursaren,uGryr rirlrr.:ri ,yr.,r \L 5 4 It6 7 g q lo 1t 4'tr2, xd t5 Xe

602',7A10002 ulidt?t:uu1 sad?oddn r /

2 +\+ /

3 60270 r 0003 U'l{fl1?ryU1ndlilFl lIfldryil: Lrru av

4 60270 r 0004 uxnrrynGyr 'h:uqnd $, \T
5 60270 r 0006 urayolur: fnd u*,rJ
6 602701000'l u rsarrrigr ururiu ,-: i

'7 60270 r 0009 ut{dl?sfl]l,,l|: rd::Jdud1ul]o.t {.}

8 60270r0010 utu1aJd,1Fl1.'!nfl i-t]J9l gY

9 60270t0012 uxnrrGqrffld {'um:il^vTnrj' 1,6u o o1 '[

lc) 60270r0013 uxar':6:rn: id'tL tui / \v

ll 60270100r4 u'tuuu@ldlv,l}1r 8'lrua

t2 602701001s utar':u4d5nruci aril:yrdBr ooaj

13 6027010016 ul{dtxuqiln nritio:ru ,)i: q1;

t4 6027010017 ursanfrrynru$i' irdu:l:ori llc,?,

t5 60270100r8 utar':iliur dtin'lyr:ti'upi,,c,n

16 60270r0019 unar:iliorr uroi6n: \.1; til rtJ

11 60270 1 002 I uxarruosrua rfiuar S\ .v
l8 602'/0\0022 uronrqvrrri n{flrtu fr.u

l9 6027010023 utoqilrav4lieuri unri {* F
20 6027010024 uxarr:Lyfrl::u siur{r r.;r

2l 6021010026 Ul{d'l?5duflt !:tn: Xl.ta.t \.,j Y d.
ururqn:i12 6027010027
rl:rmiltor r, , {

uorh23 60270 l 0028 uxarr{uufiq ,",-1.

24 60210t0029 urqar:ffiii'nuai rfirunrn rrlr t ,/ /
[, I
25 60270 I 0030 ur{dr?crnqilr rirunrquG lua lA
II
76 60270 r 003 l ur':aircl:yr rourl{ ildi ot /
21 60270 1 0033 ursdrrofrd:r naxhar ;[1\u
28 60270 I 0034 urrnr:o5ar urrrfi ;itrrt ,,t

7L) 60270 r 003s ur{flr3r1Jruo?::ru 1urjr., rJr

30

5YdflAil 6{}2701 0 i :1Xl oo,^ ?l]UnflitlJ tljttj 6 il1-r o4 FtLl

f,lU uflflfl!111fll.1

' q' :' -

o.ifi ,, onlrdau d:ssirnrn tE uu'i .., -.1-/]H..91............
iflurdurunfin:ssal

or 'n'tt$o{t n!il1t?uutfriorunru /lurior:rd'unvuuurfiouantzuanr:r-l:vufiuvlq6n::lnr:aouto{nI

rnruci:sdunsttuu 5=6urn 4=d 3=uo"[d 2=nr:rJYurjfi 1=hiairu

ri'r{anr:rJ:vffiu :squnuuuu v1il1UtUq

5 432 1

Tt. dnlY'lYlXLU /

1.1 nr:m:tsioirar /

d,dqqd {
/-
1.2 nl:n?1JqlJn?1lJL!U:u tUUU LUIJUt:UU
/
1.3 nr:fnurnruavornturTutiuu / /

z. qnf,nnrn

2.1 nr:usilntuqnlfl L14lJ1Ya:J

-2--.-2---n--1;;:B[lju1ta; u{ 4u
iln11:.]lJfiLou

2.3 nruutouuLamuto{

z. a nr:"Ldnrurf; oar: ua u fi ;1{u:: urn'rn nr: ti uuf

3. nr:rirrflun1:6ou

3.1 Xvvt64u '-uai oU:ua.inn'l:t:uuI!

ruovra0ona0{fl

- ;^ r\;,; ;@il; ;; ; il f,i\iilil q; ; ; il ;il ;;il--*

;;

a.a nr:tdi6nr:aoufi ua1nfin1u

( nr:u::u r u, fl l:a'tBn, ri uu r{Jun{u, fl I ::1 tJ {'lurafirrYu,
nr:6vuvun' iru0nfio{, nr:rJfrrifilSlutavdu 1 )

oI i. n',: ril orlo nral#{r3 uut-n nruvio ua 0{ Frx'l}.1 fi o uriu

3.5 o &o nuv"tin: Y vd 6lY Ltau:?lJ
fr
nr:n'.irir v rluil t5 uu Lt n:uu'lun1:Flfl

act

ttao{n'l'l}lFl0l[14u

3.6 nr:a1!.tXuour vv | .
LaFl:{Fl'ulnflu:ua{Fl

3.7 nr:fdlduY,u4Yv-Yn^tYrv:t5uui / nr:Fnurnunl1 ttav$ua{nun?l

LV!:JtnlJ

=ry-ry

rXrdonr:r.J:vrfiu :uoun&uuu 11lr1Utfiq

54 3 2 1

4. nr:iotuasd:stfiuHa /

+.t aonnfro{ttaun:ounqlnoil:valn

4.2 nr:il:stiuzuanuanlvllil

(aouil:tiu,aoldrtriu,aor.nJ fr ffi ,nr:51 u{1u,n1:

1.rouv1.r'r u{'tu,nr:fir rtuffil nfi'o,fr'l tnrtnqfi n::1,

AUq:UL . .) l

:1ilnultuu 5 140 1b o/o
66nr:6onjairfiusi drna:rutolnY tlu
v 100;.tfr,*.tr*vdurvuuuqlqn (80) ovtdzuad'ui5
Ft rfu9l?u

r{Juuloir6up{ )

nrrl6otfi ultasda tauauuc

a:dHant:fi rua nrurnrusi nil1n tr
I
9t o/o - 100 o/o = 9l nc
8t o/o - 90 o/o =
7t o/o - 80 o/o = vro'Ld n
6t o/o _ 70 o/o =
sirn'ir 60 o/o = nr:rJYurJll tr

tililru

uotu \5.1Y . $l*)!9* . {Yur:flrvr. .zuutvfl

0tu6rfi(rq,] gtuarlr6nf ) ( urtofiait uauufl )

ri'rurarir .q1}.\C g!.93 ................ s{r urnrir ri'r r,t rir ur'.ru nit r n r :1: I u:n

vlJ'lut14E

t AX o 2- n&:{ rt'ofl'lrlLe:u--u
rl:vufruvt'.ldusiruru

tj:vrfiurr{1fi 1 tnruvirJru 6oolo

rJ:vrfiunrilfi 2 tnruqir'iru 7oolo

z. {fi uvroa1Jnv truu utdriilri'rufir u"ruun

I :ue. fir yrir ur.r u ni t r : r zu a n r : fi uy n rufr'r a ! il n r fl : 1 1.1 fl o { [tii u n

nr:fi ruonr:aou rJ:sqirnrn rBsuii

AUA

?Yru'rautilnun5su0{

nogltuo{ dJ v/ lutior:vrYrnuLLuu rfi o uraorzua nr:rJ:v ffi uuqfi n::rnr:aouro.inl

n:til111uu[n:0{14tJ'ru

rnruq{:vdunvuuu 5 = 6rrn 4=O 3=vrohi 2=nn:ilYul:r 1,=lririru
1

ria{onr:rJ:srfiu :sounsuuu 14il1Ut149rI

5 432 1

t. anrnri'atrj /

1.1 nr:n:{siorrar -/

1 :_2 n1 :n?u q:rrntr tfl u:v uf, uuturYu r,i uu
1.3 nr:Ynrsrnnuav orolurYu rlsu

z. rlnf,nnTn

2.1, nr:urirnruafl 1v! r14lllvalJ

z.z n*iliuf;ur finmilriquou r

2.3 rnutfiafiulomuroq

z.q atflil nrurf; oa'r: uavairw::ur nrn nr:riuui

3. nT:r;t'rrfiun1:6rou

3.1 d.r',arrud'or rYllorrJ:va.:rinr:riuuf

3.2 nnaonuy:nnruiri'rlil un v ncuo::l of uo::n

r.e nr:hh6nr:aoufi ualnualrr

(. nr:u::uru, nr:arBm, ui uu rfl un{:r, n1::'r u{lurarirdu,

yvy'

nr:dunriruonfior, nr:rJfrrj6oiluav6u 1 )

43. n r : rti nlo n r a"Lrfrri'rt u ud'n n r uyi o ura o I n'l ur 6 o uiu

5-.- d d, o i
iri. il n 1 : n { n r 0 1il fl n : u 6'ufr rB er uldn :s u r u n r : 6 rr ua s u

Ad

Ltao{n?l:Jno[uu

3.6 nr:a:ilrfloyr toin:rmrlonrl:sarvi

3.7 nr:fi uuvnr:rtuuf / nr:finrsrdun{r irayirurirdunr{r

tl\utnil

fi'r{onr:d:crfiu :vounuttuu 14tJ1Ut149r
c
54 3 21

4. nr:inuasd:sfiu?la

+.t aonndo{rtavn:ounailoqil:varri

4.2 nr:r]:vufruruartrttanrflqir

(aouil:riu,aou drtflu,aorrJ fr uffi ,nr::1 u{1u,nr:

tJoul4tJ'r [J{'ru,nr:lir uurfl nfi'n,#c tnfl l,,{qfr n::ru,

Jdu1:vt1 ... ..r......................)

l?lrnsuuu *6 Lg 6s1sfly 91,?_5 on

fluod d o 4\Y Y 00 vr:orerzua:':: :vor rnvuuuaqsrqaoor ((80) oclfrtJaa''1,'r
1-i1B,Ja51:-i?ta{a:, LLl t1-lM Lo o fr-lo')

d, , 6 d d.

[1JUIU0:L{U91 )

,ACy

n?1ilnq tfi uuas$a t6ltJo[tus

a:druanr:fi riln qrurn6uryi olJln d
-91. o/o 1.00 o/o fi
8t o/o - 90 o/o uo"td n
7t o/o - 80 o/o nr:rJYurJlr
6t o/o - 70 o/o triairu tr

:, n
n
sirn:r 60 o/o

r .......... La{?Jo
A o..............-----..-.-...............:.......-tv{airnr:ururt CIfrhff y^
....................ryurilfl
arfr

( urrarriitrur vr:uurrou) ( utofinit rauua )

sl'rLryilr n:$drt:r6'rr ru.runitrnr:Iin Lr:!l rir rurarir ri'r rarir ur.runitr nr:I:r u::r

l4lJ',tUlfin.""..."....."..""...-......"-T

9yv

1. rJ:vffiufr'rfrudruru z nYr sianrrrGuu

. Yt

il:srfiunirfi 1 rnrus{,.i'ru 6oolo

ZA
rJ:vffiun:-rfi 2 nuqir,nu 7Oo/o

2^ . Ya I uuu V tv Y

rs'llutilfl ff :lJnu LLa?a{u114u't uzuun

3-u.Y^ya,'rufruruunTtr:rr:uaranr:fl ryrnuaraqilnrfl :?r.rro{wlufl

ด้านท่ี 4 การเขา้ รว่ มกิจกรรม

4.1 ใหค้ าปรกึ ษาในการแกป้ ัญหาหรือให้
คาแนะนาแกน่ ักเรียน นกั ศกึ ษาจนเป็นผลสาเรจ็

4.2 การเขา้ รว่ มกิจกรรมตามทว่ี ิทยาลัยฯ
มอบหมาย

ดา้ นท่ี 4 การเข้ารว่ มกิจกรรม (10 คะแนน)

4.1 ใหค้ าปรึกษาในการแก้ปัญหาหรือให้
คาแนะนาแกน่ กั เรยี น นกั ศกึ ษาจนเปน็
ผลสาเรจ็
4.2 การเขา้ ร่วมกิจกรรมตามที่วิทยาลัยฯ
มอบหมาย

หวั หน้าแผนกวิชาการโรงแรม

4.1 ให้คาปรึกษาในการแกป้ ญั หาหรอื ให้คาแนะนาแกน่ ักเรยี น นักศกึ ษาจนเป็น
ผลสาเร็จ

ปญั หานักเรยี นหนีเรียนบอ่ ยครงั้ เนือ่ งจากตดิ เพ่อื นต่างหอ้ งเรยี น โดยครทู ่ีปรกึ ษาพดู คุย
กับนกั เรียนและเชิญผูป้ กครองมารบั ทราบพฤติกรรมนักเรยี น จนนกั เรียนได้มกี ารปรับพฤติกรรม
และได้เข้าเรยี นอยา่ งสม่าเสมอ

4.2 การเขา้ รว่ มกิจกรรมตามท่ีวิทยาลยั ฯมอบหมาย

โครงการเยีย่ มบา้ นสานสัมพนั ธ์-ครูศษิ ย์ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ภายใต้โครงการลดปัญหาการออก
กลางคนั ของผ้เู รียนอาชีวศึกษา ระหว่างวนั ที่ 10-17 สิงหาคม 2561

คณะทา่ งานตกแตง่ สถานท่จี ดั งานสัปดาห์หอ้ งสมดุ
ตามคา่ สง่ั วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ที่ 1115/2561 รูปภาพ ณ วนั ที่ 7 สงิ หาคม 2561

น่านักเรยี นปฏิบตั งิ านตกแตง่ สถานทตี่ ่างๆในวิทยาลัย เนอื่ งในวนั เฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระ
นางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ ในรชั กาลที่ 9

ดา้ นท่ี 5 หนา้ ท่พี เิ ศษท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

ดา้ นท่ี 5 หนา้ ท่พี ิเศษท่ไี ด้รบั มอบหมาย (5 คะแนน)

หวั หน้าแผนกวิชาการโรงแรม


Click to View FlipBook Version