The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMUTT Office of Sustainability, 2021-09-26 12:42:46

แผนการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ มจธ. 2563

KMUTT Operational plan for laboratory safety, 2020

คำนำ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี มีนโยบายดา้ นความปลอดภยั ท่ีจะใหท้ ุกกิจกรรมของ
มหาวิทยาลยั เป็นไปตามกฎหมายความปลอดภยั อย่างเคร่งครดั โดยมอบหมายให้ศูนยก์ ำรจดั กำรดำ้ นพลงั งำน
ส่งิ แวดลอ้ ม ควำมปลอดภยั และอำชีวอนำมยั (ศูนย์ EESH) จดั ทาระบบบรหิ ารจดั การและจดั ทาระเบยี บปฏบิ ตั ิขอ้ บงั คบั
ดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ มความปลอดภยั ใหส้ อดคลอ้ งกบั เป้าหมายวิสยั ทศั น์ของมหาวทิ ยาลยั และประสานใหเ้ กิดการ
ดาเนินการปฏิบตั ิตามระเบยี บใหเ้ ป็นรูปแบบเดียวกนั ทง้ั มหาวทิ ยาลยั ประกอบกบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้
ธนบรุ ี ( มจธ.) ในฐานะมหาวทิ ยาลยั วจิ ยั แห่งชาตทิ ่ี เขา้ ร่วม โครงการยกระดบั มาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ตั ิการวจิ ยั
ในประเทศไทย (Enhancement of Safety Practice of Research Laboratory in Thailand “ESPReL”) มาตง้ั แต่
ปี พศ. 2558 เพ่ือทาการยกระดบั มาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฏิบตั ิการวิจยั ทุกคณะ สานกั ภายในมหาวิทยาลยั
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ใหส้ อดคลอ้ งตามนโยบายของสานกั งานการวจิ ยั แห่งชาติ และเพอ่ื กระตุน้ ใหห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ าร
ทุกหอ้ งภายในมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี คานึงถึงมาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฏิบตั ิการและมกี าร
พฒั นาความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอย่างต่อเน่ือง และไดม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากรและสรา้ งเครือขา่ ยทพ่ี รอ้ มทจ่ี ะขยายผล
ใหเ้กดิ การนามาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฎบิ ตั กิ ารไปสู่หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเครอื ขา่ ย

การจดั ทา แผนกำรดำเนินงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิกำร มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลำ้
ธนบุรี น้ีข้นึ เพ่อื เป็นแนวทางปฏิบตั ิสาหรบั บุคลากรทุกระดบั อนั ประกอบดว้ ยอาจารย์ นกั วจิ ยั พนกั งาน เจา้ หนา้ ท่แี ละ
นกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ซ่งึ มหี นา้ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การใชส้ ารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ตั ิการการวจิ ยั
การบริการและการเรียนการสอน โดยมุ่งหวงั ท่ีจะให้ แผนกำรดำเนินงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิกำร
มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลำ้ ธนบุรี น้ีเป็นคู่มอื และแผนปฏบิ ตั ิงานท่ใี หค้ วามมนั่ ใจในความปลอดภยั ในสุขภาพ
ของผูป้ ฏบิ ตั งิ านในการป้องกนั ตนเองจากอนั ตรายของสารเคมี นอกจากนนั้ แลว้ ยงั ใหแ้ นวทางปฏิบตั ิเพ่อื ความปลอดภัย
และสอดคลอ้ ง (compliance) กบั กฎระเบยี บ/ขอ้ บงั คบั ตามมาตรฐานสากลในการปฏบิ ตั งิ านท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั สารเคมี จุล
ชวี วทิ ยา สารรงั สี และอนั ตราย อ่นื ๆ รวมถงึ ความปลอดภยั ต่อสง่ิ แวดลอ้ มอกี ดว้ ย

คู่มอื ฉบบั น้ีจะถกู นาไปใชห้ รอื มกี ารปรบั เปลย่ี น/เพม่ิ เตมิ ขอ้ มลู ไดต้ ามความเหมาะสม ทงั้ น้ีข้นึ อยู่กบั การ
ตดั สนิ ใจของหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการของแต่ละแห่งภายใน มจธ. ซ่งึ มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบท่จี ะทาการปรบั เปลย่ี น /เพ่มิ เตมิ หรือ
ประยุกตใ์ ชแ้ ผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ฉบบั น้ี
เป็นแนวทางในการท่จี ะนาไปพฒั นาใหเ้ ป็นคู่มอื ท่มี คี วามเหมาะสมกบั หอ้ งปฏบิ ตั ิการท่ตี นเองปฏบิ ตั ิงานอยู่ โดยท่หี วั หนา้
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแต่ละแหง่ จะทาหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบทจ่ี ะนาแผนน้ีไปลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ

คณะผูจ้ ดั ทาหวงั เป็นอย่างย่งิ ว่าคู่มอื ฉบบั น้ีจะเป็นประโยชนต์ ่อผูม้ หี นา้ ท่เี ก่ียวขอ้ ง ผูส้ นใจ และบุคคล
ทวั่ ไป และหากมขี อ้ เสนอแนะประการใด คณะผูจ้ ดั ทายนิ ดีรบั ฟงั ขอ้ แนะนาและขอ้ คิดเหน็ เพอ่ื ท่จี ะไดน้ าไปปรบั ปรุงแกไ้ ข
ใหถ้ กู ตอ้ งต่อไป

คณะผูจ้ ดั ทำ
มกรำคม 2563

2

บทท่ี 1 บทนำ

(INTRODUCTION)

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี มนี โยบายดา้ นความปลอดภยั ท่จี ะใหท้ ุกกิจกรรมของมหาวทิ ยาลยั
เป็นไปตามกฎหมายความปลอดภยั อย่างเคร่งครดั โดยมอบหมายใหศ้ ูนยก์ ำรจดั กำรดำ้ นพลงั งำน ส่ิงแวดลอ้ ม ควำม
ปลอดภยั และอำชีวอนำมยั (ศูนย์ EESH) จดั ทาระบบบริหารจดั การและจดั ทาระเบียบปฏิบตั ิขอ้ บงั คบั ดา้ นพลงั งาน
สง่ิ แวดลอ้ มความปลอดภยั ใหส้ อดคลอ้ งกบั เป้าหมายวสิ ยั ทศั นข์ องมหาวทิ ยาลยั และประสานใหเ้กิดการดาเนินการปฏิบตั ิ
ตามระเบียบใหเ้ ป็นรูปแบบเดียวกนั ทง้ั มหาวิทยาลยั มจธ.จึงไดจ้ ดั ทาแผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน
หอ้ งปฏิบตั ิการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี (มจธ.) ซ่ึงเป็นมาตรการเพ่ือความปลอดภยั ของบุคลากร
ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอย่างเคร่งครดั

แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. เป็นแผนงานท่ีเขียนไวอ้ นั ประกอบไปดว้ ย
นโยบาย (policy) และวิธีปฏิบตั ิการ (procedure) เพ่ือป้ องกันอนั ตรายจากสารเคมีอนั จะบงั เกิดต่อสุขภาพของ
ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในสถานทท่ี างาน
องคป์ ระกอบของ แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. จะตอ้ งประกอบไปดว้ ย

1. การกาหนดหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบของบุคลากร สาหรบั การปฏิบตั ิงานในแผนการดาเนินงานดา้ นความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ซง่ึ รวมถงึ การมอบหมายงานจากผูบ้ รหิ าร หรอื หวั หนา้ งาน

2. วิธีปฏิบตั ิการตามมาตรฐาน หรือ SOPS (Standard Operation Procudure) เป็นขน้ั ตอนและวิธีการการ
ปฏิบตั ิการเพ่ือความปลอดภยั และสุขภาพ ซ่งึ บุคลากรในหอ้ งปฏิบตั ิการตอ้ งทาตามขน้ั ตอนเหล่าน้ีในการปฏบิ ตั ิงานใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ซง่ึ รวมถงึ การใชส้ ารเคมอี นั ตรายและสารอนั ตรายอน่ื ๆ

3. การจัดหารายละเอียดของขอ้ มูลข่าวสาร และการฝึ กอบรมของผูป้ ฏิบัติการจะแจง้ ใหบ้ ุคลากร
ผูป้ ฏบิ ตั กิ ารทราบก่อนทจ่ี ะมกี ารกาหนดภาระงาน หรอื มอบหมายงานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหป้ ฏบิ ตั เิ พอ่ื รบั ทราบถงึ สถานทเ่ี ก็บ
สารเคมอี นั ตราย ซง่ึ ขอ้ มลู ทใ่ี หจ้ ะประกอบดว้ ย

 เน้ือหาและรายละเอยี ดของพระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยการทางานท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั สารเคมอี นั ตรายใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

 สถานทข่ี องหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทเ่ี ป็นกองอานวยการหรอื ศูนยข์ องงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
 บญั ชีรายการสารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารพรอ้ มดว้ ย MSDS หรอื SDS
 วธิ กี ารและความหมายของการประเมนิ อนั ตรายของสารเคมรี วมถงึ การกาหนดปรมิ าณและระยะเวลาใน

การปฏบิ ตั กิ ารท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั สารเคมอี นั ตรายแต่ละชนิด
4. การฝึกอบรมของผูป้ ฏบิ ตั งิ าน ซง่ึ อย่างนอ้ ยทส่ี ุดตอ้ งรวมถงึ สง่ิ ต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี

 อนั ตรายของสารเคมอี นั ตรายในสถานทป่ี ฏบิ ตั งิ านหรอื หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทม่ี ผี ลกระทบหรอื เก่ยี วขอ้ งกบั
สุขภาพและร่างกายของผูป้ ฏบิ ตั งิ าน

 วธิ กี ารป้องกนั อนั ตรายจากสารเคมเี หลา่ นน้ั ในขณะปฏบิ ตั งิ าน
 วธิ กี ารและวธิ สี งั เกตเพอ่ื ช่วยในการตรวจสอบวา่ มกี ารปนเป้ือนของสารเคมอี นั ตราย

3

 เครอ่ื งหมายและสญั ลกั ษณ์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั สารเคมอี นั ตราย รวมถงึ อาการทแ่ี สดงใหร้ ูถ้ งึ วา่ มกี าร
Expose ต่อสารเคมอี นั ตรายในหอ้ งปฏบิ ตั ิการสูงเกนิ ขดี กาหนด โดยอาจมอี ปุ กรณเ์ ป็นตวั ช่วยตรวจวดั

5. การดาเนินการและการนาอุปกรณ์ควบคุมเพ่ือความปลอดภัยไปใชป้ ฏิบตั ิการเพ่ือลดการ Expose
ต่อสารเคมอี นั ตรายของผูป้ ฏบิ ตั ิการ โดยใช้

 Engineering Control การควบคุมทางวศิ วกรรมโดยการออกแบบหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหเ้หมาะสมกบั งาน
และอาศยั เครอ่ื งมอื /อปุ กรณเ์ พ่อี ความปลอดภยั ในการทางาน เช่น Fume Hood, Laminar Flow

 Personal Protective Equipment อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล เช่น ถงุ มอื , หนา้ กาก, แวน่ ตา
, เส้อื กาวน์ ชนิดต่าง ๆ

 การปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื ความปลอดภยั และสุขนิสยั ของผูป้ ฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ
6. มกี ารตรวจสอบ/ตรวจเชค็ เครอ่ื งมอื /อปุ กรณเ์ พอ่ื ความปลอดภยั อยูเ่ ป็นประจาวา่ เคร่อื งมอื อปุ กรณ์เหล่านนั้ อยู่
ในสภาพท่ใี ชง้ านไดเ้ป็นอย่างดี
7. มี Material Safety Data Sheet (MSDS) หรอื SDS และขอ้ มลู อน่ื ๆ ของสารเคมที ใ่ี ชใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
เพอ่ื ใหท้ ราบถงึ ระดบั ของอนั ตรายและขอ้ ควรระวงั ของสารเคมอี นั ตรายบางชนิด
8. มีการจดั หาเพ่ิมเติมขอ้ มูลหรือสภาวะท่ีเป็นการป้ องกนั บุคลากรผูป้ ฏิบตั ิการใหป้ ลอดภยั จากการทางา นท่ี
เก่ียวขอ้ งกบั สารเคมอี นั ตราย ซ่งึ หมายรวมถึงในบางกรณีทต่ี อ้ งมกี ารขออนุญาตทจ่ี ะทางานเก่ยี วขอ้ งกบั สารเคมอี นั ตราย
นน้ั เป็นกรณีพเิ ศษ โดยจะทางานไดต้ ่อเมอ่ื ไดร้ บั การอนุญาตจากหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการหรอื ผูไ้ ดร้ บั มอบหมายใหด้ ูแลดา้ นน้ี
เทา่ นน้ั

4

Chemical Hygiene Plan

แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ของ ศูนยก์ ำรจดั กำรดำ้ นพลงั งำน สง่ิ แวดลอ้ ม
ควำมปลอดภยั และอำชีวอนำมยั (EESH) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี น้ีจะรวมทง้ั ในส่วนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั
ความปลอดภยั จากสารเคม,ี ชวี วทิ ยา, สารรงั สแี ละความปลอดภยั ดา้ นอ่ืน ๆ โดยมสี ว่ นประกอบหลกั อยู่ 3 ส่วนคอื

 แผนกำรดำเนินงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำร มจธ. ซง่ึ อธบิ ายถงึ นโยบายทวั่ ไปและขนั้ ตอน
ของวิธีปฏิบตั ิและการกระตุน้ ใหเ้ กิดการพฒั นากิจกรรมดา้ นความปลอดภยั ท่ีจาเพาะในแต่ละ
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

 สมุดบนั ทึก ซ่งึ มจี ุดม่งุ หมายท่ีจะใหเ้ อกสารเพ่ือความปลอดภยั ท่ีจาเพาะของแต่ละหอ้ งปฏิบตั ิการท่ี
จดั ทาข้นึ นน้ั ช่วยทาใหเ้กดิ ความสะดวกสบายในการพฒั นาและทาใหก้ จิ กรรมดา้ นความปลอดภยั ดาเนิน
ไปอย่างต่อเน่ือง นอกจากน้ันยงั ใชใ้ นการบันทึกการสอดคลอ้ งเพ่ือความปลอดภยั (Safety
Compliance)

 ไฟลอ์ ำ้ งอิง แผนกำรดำเนินงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิกำร มจธ. ซ่งึ ประกอบดว้ ยขอ้ มูล
เสรมิ จากแหลง่ ต่าง ๆ ทจ่ี ะช่วยสนบั สนุนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ.

จุดประสงค์ของการมีสมุดบนั ทึกดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ.ก็เพ่ือท่ีจะช่วยใหเ้ กิดความ
สะดวกสบายท่จี ะดาเนินการต่อไปตามบนั ทกึ ท่เี ขยี นไว้ บนั ทกึ เหล่านน้ั เป็นส่งิ ท่จี าเป็นสาหรบั การลงมอื ปฏิบตั ิการจริงใน
โปรแกรมเพ่ือความปลอดภยั ใหเ้ ป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ และ/หรือเพ่ือยืนยนั การสอดคลอ้ ง (Compliance) ตาม
ขอ้ กาหนด

ในขณะทไ่ี ฟลอ์ า้ งองิ จากแผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ.เป็นส่วนของงานท่รี องรบั
เอกสารท่มี ขี อ้ มลู ท่เี ป็นประโยชนท์ ่ไี ดจ้ ากแหล่งต่าง ๆ มากมาย เพอ่ื ใชใ้ นการลงมอื ปฏิบตั ิการจริงของการดาเนินงานดา้ น
ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. ซ่ึงเอกสารเหล่าน้ีไดม้ าจากหน่วยงาน OSHA, KMUTT, IOSHA, EESH และ
แหล่งอ่ืน ๆ ซ่งึ หวั หนา้ หอ้ งปฏิบตั กิ ารต่าง ๆ จะถูกกระตุน้ ใหเ้พ่มิ เติมส่งิ อ่นื เขา้ ไปในการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. หากเขาคิดว่าเป็นประโยชนแ์ ละมคี วามสาคญั ต่อการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
มจธ. ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

เหตผุ ลและควำมจำเป็นท่ีตอ้ งมแี ละตอ้ งใชแ้ ผนกำรดำเนินงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำร มจธ.
ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำร

 แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. เป็นเอกสารการควบคุมคุณภาพท่ีมี
ความจาเป็นและสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานของหอ้ งปฏิบตั ิการท่มี กี ารควบคุมคุณภาพโดยวิธกี าร Good
Laboratory Practices (GLP)

 แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. เป็นขอ้ กาหนดท่ีกาหนดโดย ซ่ึง
กาหนดไวใ้ หห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารต่าง ๆ ซง่ึ ผูป้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งทางานเก่ยี วขอ้ งกบั สารเคมอี นั ตราย

5

 บุคลากรใน มจธ. บางหน่วยงานและหวั หนา้ หอ้ งปฏิบัติการอาจตอ้ งรบั ผิดชอบตามกฎหมาย
อนั อาจมผี ลเน่ืองมาจากการเขา้ มาตรวจสอบหอ้ งปฏบิ ตั ิการจากหน่วยงานรฐั บาล

 บคุ ลากรใน มจธ. บางหน่วยงานและหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอาจตอ้ งรบั ผดิ ชอบตามกฎหมายในกรณีท่ี
เกดิ การบาดเจบ็ หรอื การเจบ็ ป่วยเน่ืองมาจากการกระทาทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกบั กฎหมายและพระราชบญั ญตั ิ
ของรฐั ทก่ี าหนดไว้

 มกี ารคาดหมายวา่ ต่อไปในอนาคต หน่วยงานรฐั บาลตอ้ งมกี ารตรวจสอบ Safety Compliance ของท่ี
จะปฏบิ ตั ิการกบั หน่วยงานของรฐั บาลก่อนทจ่ี ะใหเ้งนิ สนบั สนุน

 อาจมีขอ้ กาหนดอย่างเป็ นทางการในอนาคตอันใกลถ้ ึงกรณี ท่ีหอ้ งปฏิบัติการท่ีไม่มี Safety
Compliance อาจจะไม่ผ่านการพิจารณาใหก้ ารสนบั สนุนทุนวิจยั จากแหล่งทุนต่าง ๆ ทง้ั ในและนอก
ประเทศ

 การสอนและการฝึกฝนเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ ถือเป็นหลกั สูตรท่ีอยู่ในแต่ละ
หอ้ งปฏิบตั ิการ ซ่ึงตอ้ งใหน้ กั ศึกษาไดร้ บั ความรูแ้ ละการฝึกฝนทางดา้ นความปลอดภยั ก่อนท่ีจะเขา้
ปฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

 การพฒั นาและการลงมอื ปฏิบตั ิงานจริงตามแผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ
มจธ. จะเกดิ ผลทาใหห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารทกุ หอ้ งของมจธ. มคี วามปลอดภยั สูงข้นึ

6

บทท่ี 2
แนวทำงปฏบิ ตั เิ พ่อื ควำมปลอดภยั

(SAFETY GUIDELINE)

แนวทำงปฏบิ ตั เิ พ่อื ควำมปลอดภยั ของมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลำ้ ธนบรุ ี

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี (มจธ.) ไดจ้ ดั หาและจะดาเนินการจดั หาต่อไปอยา่ งต่อเน่ือง
เก่ียวกบั มาตรการดา้ นส่งิ แวดลอ้ มความปลอดภยั ความปลอดภยั และสุขภาพในขณะปฏบิ ตั ิงานสาหรบั หน่วยงาน คณะ
บุคลากร/ผูป้ ฏบิ ตั ิงานและนกั ศึกษา โดย “ศูนยก์ ารจดั การดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ”
หรือ EESH ของ มจธ. จะเป็นผูท้ ่ีจะทางานร่วมกบั หวั หนา้ หอ้ งปฏิบตั ิการต่าง ๆ เพ่ือท่ีจะป้องกนั อุบตั ิเหตุและเพ่ือให้
บรรลผุ ลของการสอดคลอ้ ง (Compliance) กบั กฎระเบยี บวา่ ดว้ ยความปลอดภยั

จุดประสงคข์ องความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการนนั้ ไดด้ าเนินการตามนโยบายและคาแนะนาจากท่าน
อธิการบดีและคณะกรรมการเพ่อื ความปลอดภยั และสุขภาพสง่ิ แวดลอ้ มของมจธ. ถึงบุคลากรทท่ี างานในหอ้ งปฎิบตั ิการ
ทงั้ หลาย อนั มีหวั หนา้ หอ้ งปฏิบตั ิการ, ผูร้ ่วมงานทุกระดบั (Staff) และนักศึกษา โดยแต่ละบุคคลจะมีหนา้ ท่ีความ
รบั ผดิ ชอบและมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมต่าง ๆ เพอ่ื ใหบ้ รรลุผลในโปรแกรมเพอ่ื ความปลอดภยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแต่ละคนจะมหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบท่จี ะช่วยป้องกนั บคุ ลากรทุกคนในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
ของตนใหป้ ลอดภยั จากอนั ตรายอนั เกดิ จากงานทต่ี นเองปฏบิ ตั ิ ซง่ึ หนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบอนั น้ีมคี วามสาคญั เป็นอย่างมากและไม่
สามารถปดั ความรบั ผดิ ชอบหรอื ใหผ้ ูอ้ ่นื ทาแทนได้

บุคลากรแต่ละคนควรท่ีจะทาความเขา้ ใจกบั อนั ตรายท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การทางานของตนตง้ั แต่ก่อนเร่ิม
ปฏบิ ตั ิงาน และควรท่จี ะรูส้ กึ สบายใจว่าไดม้ อี ปุ กรณเ์ พอ่ื ความปลอดภยั อยู่ครบถว้ น เพอ่ื ความมนั่ ใจในความปลอดภยั ของ
ตนเอง ซ่งึ ในช่วงท่ไี มป่ ฏบิ ตั งิ านนน้ั ก็มคี วามสาคญั เช่นกนั เพราะอาจทาใหล้ ะเลยการปฏบิ ตั ิตนตามกฎเพ่อื ความปลอดภยั
และทาใหเ้กิดความไมป่ ลอดภยั ข้นึ ได้ งานทต่ี อ้ งปฏิบตั ิใด ๆ ก็ตามท่อี าจทาใหเ้กดิ อนั ตรายหรอื ไม่ปลอดภยั ควรท่จี ะตอ้ ง
ระมดั ระวงั ใหม้ ากข้นึ และทุกคนตอ้ งมหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบในการเก่ียวขอ้ งกบั กิจกรรมเพ่ือความปลอดภยั เพ่อื ใหม้ นั่ ใจใน
ความปลอดภยั ของตนเองและผูอ้ ่นื

สง่ิ จำเป็นของควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำร อยา่ งนอ้ ยทส่ี ุดตอ้ งประกอบดว้ ย

 สมควรท่ีจะทาความคุน้ เคยและทาความเขา้ ใจกบั แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. ซ่งึ แผนงานปกตอิ นั น้ีอาจตอ้ งมกี ารพฒั นา เพ่อื ใหไ้ ดแ้ ผนงานท่จี าเพาะมากกว่า
สาหรบั กลมุ่ วจิ ยั ทท่ี างานแตกต่างกนั ออกไป

 ผูบ้ ริหารหรือหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ควรท่จี ะทาหนา้ ท่รี บั ผิดชอบในการพฒั นา, ลงมอื ปฏิบตั ิจริง และ
จดั ทาเอกสารในส่วนของงานท่จี าเพาะของ การดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ.
ซ่ึงทาหนา้ ท่ีปกติประจาวนั (routine) ในการตรวจสอบความปลอดภยั , จดั การดา้ นการฝึกอบรมท่ี

7

เหมาะสม, ดูแล/บารุงรกั ษาอปุ กรณ์เพ่อื ความปลอดภยั , ติดสญั ลกั ษณ์เคร่อื งหมาย/ฉลากทเ่ี หมาะสม,
และทาการบนั ทึกอย่างต่อเน่ือง โดยหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการวจิ ยั ทงั้ หลายต่างกเ็ ป็นกรรมการใน แผนการ
ดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. น้ี
 การพฒั นา แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ.สาหรบั แผนงานปกติและ
แผนงานท่ีจาเพาะเหล่านน้ั จะถูกเขยี นออกมาเป็นวธิ ีการปฏิบตั ิการในรูปของ Standard Operating
Procedures (SOPSs) ท่ีจาเพาะเฉพาะหอ้ งปฏิบตั ิการงานในส่วนน้ีเป็นส่วนท่ีสาคัญมากใน การ
ดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ.และจดั วา่ วธิ กี ารปฏบิ ตั กิ ารหรอื SOPSs นน้ั เป็น
พ้นื ฐานสาหรบั การปฏบิ ตั ิการจรงิ ซง่ึ ตอ้ งใชใ้ นการฝึกอบรมพนกั งานหรือผูป้ ฏบิ ตั ิงานในหลกั สูตร “การ
ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในสถานทท่ี างาน” ของหน่วยงาน
 การฝึกอบรมพนกั งาน/ผูป้ ฏิบตั ิงานในส่วนท่ีเป็นเน้ือหาของ การดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน
หอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ.ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการมาตรฐาน ส่วนประกอบและความสาคญั ของ
ความปลอดภยั “ศูนยก์ ารจดั การดา้ นพลงั งาน ส่ิงแวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั หรือ
EESH” จะเป็นผูด้ าเนินการฝึกอบรมใหก้ บั บุคลากรทุกคน ซ่ึงหมายรวมถงึ การฝึกอบรมในขอ้ กาหนด
ขนั้ พ้นื ฐาน, การฝึกอบรมและแนวทางปฏิบตั ิในความปลอดภยั ท่จี าเพาะของแต่ละหอ้ งปฏิบัติการและ
วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ
 มกี ารกาหนดใหก้ ารปฏิบตั ิการเพ่ือความปลอดภยั ในสถานท่ีทางาน เป็นขอ้ บงั คบั ของมหาวิทยาลยั
เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรทกุ คนตอ้ งปฏบิ ตั ิ และเป็นสว่ นหน่ึงของ Standard Operating Procedures (SOPSs)

หนำ้ ท่คี วำมรบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั ควำมปลอดภยั (Safety Responsibilities)

ผูท้ ่ที างานอยู่ในมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรีทุกคนมคี วามชอบธรรมท่คี าดหวงั ในความ
ปลอดภยั และมหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบในการท่ชี ่วยใหค้ วามมนั่ ใจในความปลอดภยั ของตนเองและผูอ้ ่ืน โดยทุกคนมีบทบาท
สาคญั ในเร่อื งความปลอดภยั เท่าเทยี มกนั ซ่งึ หนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบของคนบางกลุ่มเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ภายใน มจธ. อาจ
ยกตวั อย่างไดด้ งั น้ี

 อธิกำรบดี มจธ. มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการจดั ตงั้ องคก์ ร/หน่วยงานเพอ่ื ความปลอดภยั เช่น “ศูนยก์ าร
จดั การดา้ นพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั หรอื EESH” ของ มจธ. รวมถงึ การใหน้ โยบายและ
สนบั สนุนใหเ้กดิ การจดั การเพอ่ื ความปลอดภยั ข้นึ ภายใน มจธ.

 ผูอ้ ำนวยกำร ศนู ยก์ ำรจดั กำรดำ้ นพลงั งำน สง่ิ แวดลอ้ ม ควำมปลอดภยั และอำชีวอนำมยั หรอื EESH
ของมจธ. มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการใหค้ วามรู/้ ฝึกอบรม, ใหค้ าปรกึ ษาแนะนารวมถงึ ช่วยเหลอื คณะ หน่วยงานต่าง ๆ
หน่วยงานวจิ ยั บคุ ลากรตลอดจนนกั ศึกษาในเร่อื งราวทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความปลอดภยั

 หน่วยงำน คณะ/ศูนย์ มหี นา้ ท่รี บั ผดิ ชอบในการใหก้ ารสนบั สนุนดา้ นความปลอดภยั ของหอ้ งปฎบิ ตั กิ าร
ในหน่วยงาน/คณะ/ศูนยน์ นั้ ๆ และช่วยจดั หาอุปกรณ/์ เคร่อื งมอื และอ่นื ๆ ทต่ี อ้ งการเพอ่ื ใหค้ วามมนั่ ใจในความปลอดภยั
ของเจา้ หนา้ ท่ี พนกั งาน นกั วจิ ยั นกั ศึกษา และความปลอดภยั ในหน่วยงาน/คณะ/ศูนยน์ น้ั ๆ

8

 หวั หน้ำหอ้ งปฏบิ ตั ิกำร มหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบในการตกลงใจ ลงมอื ปฏบิ ตั ิและจดั ทาเอกสารท่เี หมาะสม
ตามนโยบายเพ่ือความปลอดภยั และขน้ั ตอนการปฏิบตั ิท่ีเป็นไปตาม แผนการดาเนินงานดา้ นความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ซง่ึ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมต่าง ๆ ดงั น้ี

- ทารายการหรือขอ้ ความปฏิบตั ิและจดั ทาของโปรแกรมเพ่ือความปลอดภยั สาหรบั บุคลากรใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

- จดั ทารายการสารเคมี (Chemical inventory) ใหค้ รบถว้ นและ update ทกุ 6 เดอื น
- เขียนวิธีปฏิบัติการ หรือ Standard Operation Procedures (SOPSs) ของหอ้ งปฏิบตั ิการและ

หอ้ งปฏิบตั ิการท่จี าเพาะสาหรบั สารเคมอี นั ตรายแต่ละตวั หรอื หอ้ งปฏิบตั กิ ารในกระบวนการอ่นื ท่ไี ม่ได้
รวมอยู่ใน SOPSs ของ Chemical Hygiene Plan โดยทวั่ ๆ ไป
- จดั ทาเอกสาร SOPS และดาเนินการแกไ้ ข/ปรบั ปรุงและนามาใชอ้ ย่างต่อเน่ือง และใช้ SOPS นน้ั เพ่ือ
นาไปฝึกอบรมเจา้ หนา้ ทแ่ี ละพนกั งานทป่ี ฏบิ ตั กิ ารอยู่ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนน้ั ๆ
- จดั ทาแผนการและดาเนินการตรวจสอบการปฏบิ ตั ิการดา้ นความปลอดภยั เป็นประจาและสมา่ เสมอใน
ช่วงเวลาทก่ี าหนดไวอ้ ย่างแน่นอน และทาการแกไ้ ขบรเิ วณท่เี กดิ ปญั หา รวมถงึ การจดั ทาเอกสารเกย่ี วกบั
การตรวจสอบ และการตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ิงานดา้ นความปลอดภยั
- มกี ารประชุม/วจิ ารณ์ เก่ยี วกบั หวั ขอ้ ดา้ นความปลอดภยั ในการประชุมภายในหอ้ งปฏิบตั ิการ ซ่งึ จดั ข้นึ
เป็นประจาทุกเดือน บนั ทึกจากหอ้ งประชุมเหลาน้ีสามารถท่จี ะนาเสนอและใชใ้ นการแกไ้ ขเอกสารเพ่ือ
ความปลอดภยั ใน Safety Awareness และ action ได้
- ตรวจสอบความปลอดภยั ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายทต่ี งั้ ไว้
 ผูร้ บั ผิดชอบดำ้ นควำมปลอดภยั หอ้ งปฏิบตั ิกำร หรือบุคลากรท่ีเหมาะสมและถูกแต่งตงั้ โดยหวั หนา้
หอ้ งปฏิบตั ิการ ซ่งึ คุน้ เคยหรือรูจ้ กั กบั ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื ความปลอดภยั รวมถงึ วธิ ีการใชเ้ คร่อื งมอื /อุปกรณ์/วสั ดุ
อ่นื ๆ ทใ่ี ชเ้พอ่ื ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเป็นอย่างดี
 ผูค้ วบคุมดูแลหอ้ งปฎบิ ตั กิ ำร (Supervisory Laboratory Staff) มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการช่วยเหลอื
ในการพฒั นาและดาเนินการใชข้ อ้ บงั คบั ตามนโยบายเพอ่ื ความปลอดภยั ทว่ี างไวร้ วมถงึ ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
 บคุ ลำกร/เจำ้ หนำ้ ท่/ี พนักงำนในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำร และในสถำนกำรณ์นอกหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำรท่ตี อ้ งทำงำน
เกย่ี วขอ้ งกบั สำรเคมอี นั ตรำย มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการเรยี นรูแ้ ละทาตามวธิ กี ารเพ่ือความปลอดภยั ในสถานทท่ี างาน และ
ตามขอ้ กาหนดใน SOPs ของแต่ละหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
 ศนู ยก์ ำรจดั กำรดำ้ นพลงั งำน สง่ิ แวดลอ้ ม ควำมปลอดภยั และอำชีวอนำมยั หรอื EESH มหี นา้ ท่ี
รบั ผดิ ชอบในการใหก้ ารฝึกอบรม ตรวจสอบและตดิ ตามการ Expose (Exposure monitory) ทาหนา้ ทต่ี รวจเชค็ ให้
ใบรบั รองการทางานของตดู้ ูดควนั (Fume Hood) ตปู้ ลอดเช้อื (Biosafety cabinet) ใหข้ อ้ มลู MSDS ของสารเคมที ใ่ี ช้
ทงั้ หมดรวมถงึ เป็นศูนยข์ อ้ มลู MSDS ของ มจธ. และช่วยเหลอื ในการลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ตาม แผนการดาเนินงานดา้ น
ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ.

9

หอ้ งปฎบิ ตั กิ ำร (Laboratory Rooms)

แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ควร
ประกอบดว้ ยรายชอ่ื ของบุคลากรทป่ี ฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทงั้ หมด หมายเลขหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หมายเลขโทรศพั ทท์ ่ี
สามารถตดิ ต่อได้ ซง่ึ หอ้ งเหลา่ น้ีจะรวมถงึ หอ้ งปฎบิ ตั กิ ารและหอ้ งชนิดอน่ื ๆ เช่น หอ้ งควบคุมอณุ หภูมิ หอ้ งเกบ็ สารเคมซี ง่ึ
มสี ารเคมอี นั ตรายอยู่ ตเู้กบ็ สารเคมแี ละหอ้ งเล้ยี งสตั วท์ ดลอง ในกรณีน้ีตอ้ งเป็นหอ้ งปฏบิ ตั ิการทเ่ี ป็นไปตามมาตรฐาน
สาหรบั หอ้ งกลางทใ่ี ชร้ ่วมกนั ในหลายกลมุ่ วจิ ยั นนั้ แต่ละกลุ่มวจิ ยั ควรทารายการหอ้ งท่ีตนเองใช้ และจดั ทาแผนโดย
ช้ใี หเ้หน็ การมอบหมายการปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี พอ่ื ความปลอดภยั และ Compliance ในหอ้ งกลางน้ีดว้ ย

การจดั ทารายการหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตามแผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. นนั้ ควรจะทา
การปรบั แผนทกุ ปี และเขยี นบนั ทกึ ไวใ้ นบนั ทึกการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. ซง่ึ รายการเหลา่ น้ี
ไดก้ าหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั เพอ่ื ความปลอดภยั ของมหาวทิ ยาลยั และตอ้ งสามารถดงึ ขอ้ มลู เหลา่ น้ีมาใชไ้ ดง้ า่ ยในกรณีทเ่ี กดิ
ภาวะฉุกเฉิน

ควำมปลอดภยั ของสำนกั งำน (Office Safety)

บคุ ลากรทป่ี ฏบิ ตั งิ านอยูใ่ นสานกั งานอ่นื ท่ีไมใ่ ช่หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใน มจธ. จะไมอ่ ยูใ่ นขอ้ บงั คบั และไมต่ อ้ งปฏิบตั ติ น
ตาม แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ถงึ แมว้ ่าความ
ปลอดภยั ของบคุ ลากรทไ่ี ม่ไดป้ ฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร กม็ คี วามสาคญั เท่าเทยี มกบั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกต็ าม บคุ ลากร
ในมจธ.ทกุ คนจะถูกกระตนุ้ ใหร้ ูจ้ กั ถงึ ความปลอดภยั ในสถานท่ที างานในดา้ นทต่ี นเองเก่ยี วขอ้ งโดยฝ่ายบรหิ าร และ/หรอื
โดยสานกั งานเพอ่ื ความปลอดภยั

10

บทท่ี 3
วธิ ีปฏบิ ตั กิ ำรในภำวะฉุกเฉิน
(EMERGENCY PROCEDURE)

ขอ้ กำหนด (Requirements)

สาหรบั วิธีปฏิบตั ิการท่ีตอ้ งดาเนินการในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินภายในหอ้ งปฏิบตั ิการเพ่ือใหก้ าร
ดาเนินการน้ีสอดคลอ้ ง (compliance) กบั มาตรฐานสากลประกอบเป็นส่วนหน่ึง แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั
ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ควรตอ้ งมขี อ้ มลู ดงั ต่อไปน้ีสมบรู ณค์ รบถว้ น

 ควรทาความคุน้ เคยและตดิ “แนวทางปฏบิ ตั เิ มอ่ื เกดิ ภาวะฉุกเฉิน” ของ “ศูนยก์ ารจดั การดา้ น
พลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ” หรอื EESH ของ มจธ.

 มกี ารจดั ทาแผนทท่ี างออกฉุกเฉิน (emergency egress map) ประจาอาคารทห่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารตง้ั อยู่
 จดั ทารายช่ือของบุคคลและหมายเลขโทรศพั ท์ท่ีสามารถติดต่อไดใ้ นกรณีฉุกเฉินแปะติดไวใ้ กล้

โทรศพั ทท์ กุ เครอ่ื ง
 ควรทาความคุน้ เคยและตดิ สญั ญาณแสดงใหเ้หน็ ตาแหน่งของประตู (door sign) ตดิ ไวด้ า้ นนอก

บรเิ วณประตูใหญ่ทางเขา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ
 พฒั นาและจดั ทาเอกสารเกย่ี วกบั วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารในภาวะฉุกเฉินในหอ้ งปฏบิ ตั ิการเฉพาะทาง

แนวทำงปฏบิ ตั เิ ม่ือเกดิ อบุ ตั เิ หตุ/เหตฉุ ุกเฉินจำกสำรเคมี

แนวทางปฏบิ ตั เิ มอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุ หรอื เหตฉุ ุกเฉินจากสารเคมขี ้นึ ภายในอาคารทกุ อาคารใน มจธ. ราษฎร์
บรู ณะ ผูป้ ระสบอบุ ตั เิ หตหุ รอื ผูพ้ บเหน็ การเกดิ อบุ ตั เิ หตตุ อ้ งดาเนินการหรอื ปฏบิ ตั กิ ารตามขนั้ ตอนดงั ต่อไปน้ี

1. กำรแจง้ เหตุ (Notification)
ในกรณีท่เี กดิ ภาวะฉุกเฉินหรอื อบุ ตั เิ หตขุ ้นึ ภายในมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ศนู ยก์ ารจดั การ

ดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั EESH มจธ. จะเป็นหน่วยงานแรกทท่ี าหนา้ ทต่ี อบโตภ้ าวะ
ฉุกเฉินและประสานงานกบั หน่วยงานทง้ั ภายในและภายนอก มจธ. ท่ที าหนา้ ทต่ี อบโตภ้ าวะฉุกเฉินโดยตรง และแจง้ เหตุ
ใหก้ บั ฝ่ายบริหารของมหาวทิ ยาลยั และต่อจากนนั้ จงึ จะดาเนินการตามวธิ กี ารทร่ี ะบไุ วใ้ น แผนการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินหรอื
Emergency Response Plan ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรตี ่อไป

11

2. กำรหกหลน่ ของสำรเคมี ,สำรชีวภำพและสำรกมั มนั ตรงั สี (Chemical , Biological ,Radiogical Spills)

ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามหวั ขอ้ Spill หรอื การหกหลน่ ของสารตามบทท่ี 4 และบทท่ี 7 ต่อไปใน แผนการดาเนินงานดา้ นความ

ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ฉบบั น้ี

3. ผูป้ ระสบอบุ ตั ิภยั /ไดร้ บั บำดเจบ็ (Personal Injury)

ในกรณีทเี่ กดิ การบาดเจ็บสาหสั (Personal Injury)
 โทรศพั ทเ์ รยี กตามหมายเลขฉุกเฉินท่ตี ดิ ไว้ และขอความช่วยเหลอื ดา้ นการแพทย์ หรอื เรยี กรถพยาบาล
หรอื เรยี กหน่วยตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินแลว้ แต่กรณี
 หา้ มเคลอ่ื นยา้ ยผูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั เพราะอาจทาใหเ้กดิ อนั ตรายเพ่ิมมากข้นึ
 เรม่ิ ใหก้ ารปฐมพยาบาลในกรณีทผ่ี ูใ้ หก้ ารช่วยเหลอื ไดร้ บั การฝึกอบรมดา้ นการปฐมพยาบาลแลว้ เทา่ นนั้

ในกรณีทเี่ กดิ การบาดเจบ็ เลก็ นอ้ ย (For minor injury)
 ใหก้ ารปฐมพยาบาลในกรณีทผ่ี ูป้ ระสบเหตผุ ่านการฝึกอบรมดา้ นการปฐมพยาบาลแลว้ เทา่ นน้ั
 อาการบาดเจบ็ ไมว่ า่ จะเลก็ นอ้ ยแค่ไหน ควรทจ่ี ะใหผ้ ูท้ ไ่ี ดร้ บั บาดเจบ็ รบั การตรวจเชค็ จากแพทยท์ ่หี อ้ ง
พยาบาลก่อน แต่หากหอ้ งพยาบาลปิดควรเรียกรถพยาบาลเพอ่ื พาไปพบแพทย์
 หากผูป้ ระสบอุบตั ิภยั เป็นบุคลากรภายใน มจธ. ตอ้ งรายงานการเกิดอุบตั ภิ ยั ต่อหอ้ งพยาบาลหรือศูนย์
การแพทยภ์ ายใน มจธ.
 หากตอ้ งการความช่วยเหลอื เพ่มิ เติมใหต้ ดิ ต่อ กลมุ่ งำนบรกิ ำรสุขภำพและอนำมยั (คลนิ ิกบำงมด) โทร
02-470-8445 หรือโรงพยาบาลท่ีมี contact service กบั มจธ. หรือโรงพยาบาลบางปะกอกท่ี
หมายเลขโทรศพั ท์ (02) 109-1111
 รายงานเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และกรอกแบบฟอรม์ รายงานการเกดิ อุบตั ิเหตุ

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารในกรณีเส้อื ผา้ ถูกไฟไหม้ (Procedure for clothing on fire)
 กล้งิ ตวั ผูป้ ระสบอุบตั ิภยั ลงบนพ้นื เพ่อื ดบั ไฟ หรือลา้ งตวั ดว้ ยนา้ หรอื ทาใหเ้ ปียกนา้ เพ่ือดบั ไฟในกรณีท่ี
Safety shower อยู่ใกล้
 ตอ้ งรีบนาส่งโรงพยาบาลทนั ที โดยติดต่อขอรถพยาบาลไดจ้ ากโรงพยาบาลบางปะกอกท่ีหมายเลข
โทรศพั ท์ (02) 109-1111
 รายงานเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ/กรอกแบบฟอรม์ รายงานการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเมอ่ื สารเคมหี กถูกร่างกาย (Procedure for chemical spill on the body)
 ถอดเส้ือผา้ ท่ีสารหกรดออก เปิดน้าใหไ้ หลผ่านร่างกายจาก Safety shower หรือใชส้ ายยางรด
อย่างนอ้ ย 15 นาที
 ตอ้ งใหแ้ น่ใจวา่ ไมม่ สี ารตกคา้ งอยู่ในรองเทา้
 ผูป้ ระสบเหตตุ อ้ งใหร้ ายละเอยี ดของชนิดและประเภทของสารเคมที ่หี กรดถกู ร่างกายอย่างถกู ตอ้ ง

12

 คน้ ขอ้ มลู MSDS เพอ่ื หารายละเอยี ดของการจดั การทถ่ี กู ตอ้ งในการรกั ษาพยาบาลเบ้อื งตน้ (First Aid)
 ผูป้ ระสบเหตุเรยี กรถพยาบาลจากโรงพยาบาลบางปะกอกทห่ี มายเลขโทรศพั ท์ (02) 109-1111 เพ่อื นาส่ง

และประสานกบั หอ้ งพยาบาลท่ีหมายเลขโทรศพั ท์ 8445, 8446 หรือ หอ้ งปฏิบตั ิการกลางเพ่ือการ
วเิ คราะหแ์ ละบรกิ าร/หน่วยงาน EESH ไดท้ ห่ี มายเลขโทรศพั ท์ 8293 , 8294
 สง่ หอ้ งพยาบาลหรอื โรงพยาบาลทนั ที
 รายงานหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหท้ ราบ
 ปฏบิ ตั กิ ารตามวธิ กี ารเมอ่ื สารเคมหี กหลน่ บางส่วนหลน่ บนพ้นื หอ้ ง
 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและหอ้ งพยาบาลจดั ทารายงานอุบตั เิ หตตามแบบฟอรม์ ของการรายงาน

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเมอ่ื สารมพี ิษกระเด็นเขา้ ตา (Procedures for hazardous material splashed in eye)
 ใชน้ า้ ลา้ งลูกตาและภายในตาใหล้ า้ งต่อเน่ืองตลอดเวลาจนแน่ใจว่าพอเพียงแลว้ ซ่งึ ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 15
นาที
 เปิดเปลอื กตาดูว่าลา้ งสะอาดหมดจรงิ รวมถงึ ภายในลูกตาดว้ ย หา้ มขย้ตี า
 ผูป้ ระสบเหตุตอ้ งทราบชนิดและประเภทของสารเคมีท่ีกระเด็นเขา้ ตา และคน้ หาขอ้ มูล MSDS, SDS
เพอ่ื ใหท้ ราบถงึ วธิ กี ารจดั การดา้ นการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ทถ่ี กู ตอ้ ง
 ส่งหอ้ งพยาบาลหรอื โรงพยาบาลทนั ทโี ดยนา MSDS, SDS ไปดว้ ย
 รายงานหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทราบ
 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและหอ้ งพยาบาลจดั ทารายงานอุบตั เิ หตุตามแบบฟอรม์ ของการรายงาน

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเมอื่ เกดิ บาดแผลเลก็ นอ้ ยหรือมแี ผลเจาะเลก็ นอ้ ย (Procedures for minor cuts and puncture
wounds)

 ลา้ งและถแู รงๆ บรเิ วณบาดแผลดว้ ยนา้ และสบู่หลายนาที
 ตอ้ งนาส่งสถานพยาบาลเพอ่ื ตรวจดูอาการ
 รายงานเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเมอ่ื เกดิ ไฟลวกหรือพุพองเนื่องจากความรอ้ น (Procedure for thermal burns)
 หากแผลพพุ องเน่ืองจากไฟไหมห้ รือไฟลวกกินบริเวณกวา้ งกว่าฝ่ามือหรือเกิดแผลพุพองบนใบหนา้ หรือ
ศีรษะใหถ้ อื วา่ ผูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั ไดร้ บั บาดเจบ็ สาหสั
 สาหรบั แผลพุพองท่ไี ม่มอี าการแตกใหเ้หน็ ผิวหนงั เปิด ใหล้ า้ งดว้ ยนา้ เยน็ โดยเปิดนา้ กอ๊ กจานวนมากราด
แลว้ ใชผ้ า้ ตกแต่งแผลชนิดช้นื ทฆ่ี ่าเช้อื แลว้ ปิดทบั และใชผ้ า้ พนั แผลพนั หลวมๆ
 สาหรบั แผลพุพองท่เี ป็นตุ่มและแตกใหเ้ หน็ ผวิ หนงั เปิด ใหใ้ ชผ้ า้ ตกแต่งแผลท่ฆี ่าเช้อื แลว้ ชนิดแหง้ ปิดทบั
และใชผ้ า้ พนั แผลพนั หลวมๆ หา้ มใชน้ า้ ลา้ งเพราะอาจทาใหเ้พม่ิ การเสย่ี งของการเกดิ การชอ็ คเน่ืองจากขาด
นา้

13

 ตอ้ งนาส่งสถานพยาบาลหรอื โรงพยาบาลทนั ที
 รายงานเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ/กรอกแบบฟอรม์ รายงานการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ

วิธีปฏิบตั ิการเม่ือเกิดอาการบาดเจ็บสาหสั อนั เน่ืองจากการระเบิด, ตกจากท่ีสูงฯลฯ ซ่ึงรวมถึงอาการบาดเจ็บ
เล็กนอ้ ย แต่ทาใหเ้ กดิ การช็อกหรือหมดสติ (Procedures for major injury from explosion, fall, etc. (Including
minor injury that cause shock unconsciousness)

 ใหอ้ ยู่ในความสงบ และติดต่อหอ้ งพยาบาลทนั ที กรณีหอ้ งพยาบาลปิดใหโ้ ทรศพั ทเ์ รยี กรถพยาบาลจาก
โรงพยาบาลบางปะกอก หมายเลขโทรศพั ท์ (02) 109-1111 และแจง้ เหตุการณ์เพ่อื ทางโรงพยาบาลจะ
ไดจ้ ดั การหาอุปกรณ์ช่วยชีวิตท่ีจาเป็นและเหมาะสมมาให้ และขอคาแนะนาในการจดั การช่วยชีวิต
เบ้อื งตน้ จากแพทย์

 เร่ิมใหอ้ ุปกรณ์ช่วยชีวิตในกรณีท่จี าเป็นตามคาแนะนาของแพทย์ หากมกี ารเสยี เลอื ดปริมาณมาก ตอ้ ง
หยุดเลอื ดและเพม่ิ ความดนั

 หมุนโทรศพั ทห์ มายเลขฉุกเฉินเรียกศูนยว์ ิทยุนเรนทร ท่ีหมายเลขโทรศพั ท์ 1669 หรือ เรียก 191 ใน
กรณีทต่ี อ้ งการการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินดา้ นการแพทย์ ใหช้ ่อื บุคคลผูป้ ระสบอุบตั ภิ ยั (ในกรณีท่ที ราบ)
สถานทเ่ี กดิ ข้นึ และอธบิ ายรายละเอยี ดปญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ

 ไมค่ วรเคลอ่ื นยา้ ยผูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั เพราะอาจทาใหเ้กดิ อนั ตรายเพม่ิ มากข้นึ
 รกั ษาอุณหภมู ริ ่างกายของผูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั ใหค้ งท่ี เพม่ิ ผา้ เพอ่ื คลมุ ตวั ใหอ้ ่นุ ข้นึ หากจาเป็น
 ถา้ ผูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั หยุดหายใจ ตอ้ งไดร้ บั การช่วยเหลอื จากผูท้ ท่ี ราบ/รูจ้ กั วธิ ใี ชก้ ารช่วยชวี ติ หรอื CPR
 อยู่เป็นเพอ่ื นผูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั จนกระทงั่ รถพยาบาลมาถงึ
 รายงานเหตกุ ารณอ์ นั เกดิ ข้นึ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและผูอ้ านวยการฝ่ายอาคารและสถานท่ี
 รายงานการเกดิ อบุ ตั เิ หตุตามแบบฟอรม์ การรายงาน

4. กำรเกดิ ไฟไหมห้ รอื เกดิ กำรระเบดิ (Fire or Explosion)

การเกิดไฟไหมเ้ลก็ นอ้ ย (ซง่ึ ช้ใี หเ้หน็ ถงึ ความจาเพาะ โดยมไี ฟไหมใ้ นบรเิ วณเลก็ ๆ หรอื ช้นิ ส่วนของเครอ่ื งมอื ซง่ึ
ไฟไมส่ ามารถเขา้ ไปถงึ ไดง้ า่ ย ซง่ึ สามารถดบั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งทาการอพยพผูค้ น แต่อย่างไรกต็ าม การอพยพคนทนั ทเี ป็นส่งิ ท่ี
จาเป็นในกรณีท่ไี มส่ ามารถควบคุมเพลงิ ได)้ การดบั ไฟควรจะกระทาโดยบุคลากรทผ่ี า่ นการฝึกอบรมมาแลว้ ผูป้ ฏบิ ตั งิ าน
ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทกุ คนจะตอ้ งไดร้ บั การฝึกอบรมในดา้ นการใชอ้ ปุ กรณด์ บั เพลงิ

ในกรณีเพ่อื ความปลอดภยั เน่ืองจากไฟไหม้ ใหป้ ฏบิ ตั ติ นตามขน้ั ตอนต่อไปน้ี
 ไมเ่ ขา้ ไปในหอ้ งซง่ึ เตม็ ไปดว้ ยควนั ไฟ
 ไมเ่ ขา้ ไปในหอ้ งทม่ี ไี ฟลกุ ไหมอ้ ยู่โดยไมม่ คี นช่วยเหลอื อยู่ดา้ นหลงั
 ไมค่ วรเขา้ ไปในหอ้ งทเ่ี มอ่ื จบั บรเิ วณหนา้ ประตูคร่งึ บนแลว้ มคี วามรูส้ กึ อ่นุ หรอื รอ้ น

14

 รายงานปญั หาท่เี กดิ ข้นึ ดว้ ยการกดป่มุ สญั ญาณเตอื นไฟไหม้ (fire alarm) ใหห้ วั หนา้ ฝ่ายอาคารและ
สถานท่ที ราบ และจดั หาอปุ กรณด์ บั เพลงิ หรอื อปุ กรณป์ ้องกนั ตนเอง

 เตอื นบคุ ลากรทกุ คนในหอ้ งปฏบิ ตั ิการใหท้ ราบ หากในกรณีท่ไี มส่ ามารถดบั ไฟไดเ้องใหก้ ดป่มุ สญั ญาณ
เตอื นไฟไหมห้ รอื โทรศพั ทฉ์ ุกเฉิน และรายงานการเกดิ อุบตั เิ หตไุ ฟไหม้

 ดบั ไฟหรอื ใชน้ า้ ยาดบั เพลงิ เคมชี นิดโฟมทเ่ี หมาะสมกบั สารเคมที ไ่ี ฟกาลงั ลุกไหมอ้ ยู่ ซ่ึงในกรณีน้ีจะทาได้
ต่อเมอ่ื ผูท้ าการดบั ไฟไดผ้ ่านการฝึกอบรมดา้ นอคั คภี ยั มาแลว้ และมน่ั ใจว่าสามารถทาไดโ้ ดยไม่ตอ้ ง
เสย่ี งต่อสุขภาพและความปลอดภยั ของตนเองและผูอ้ ่ืน
 ใชค้ ารบ์ อนไดออกไซดส์ าหรบั กรณีเกดิ เพลงิ ไหมข้ องเหลวตดิ ไฟ (type B) หรอื เน่ืองจาก
กระแสไฟฟ้า (type C)
 ใชน้ า้ ยาดบั เพลงิ ชนิด Dry powder-ABC สาหรบั ไฟไหมส้ ารท่ตี ิดไฟหรอื เผาไมแ้ บบธรรมดา
(type A), หรอื ของเหลวตดิ ไฟ (flammable liquid) ซง่ึ เป็น type B หรอื เน่ืองจาก
กระแสไฟฟ้า type C
 ใชน้ า้ ธรรมดาดบั ไฟกรณีไฟลุกไหมเ้น่ืองจากสารทเ่ี ผาไหมไ้ ดแ้ บบธรรมดาหรอื type A
ใชน้ า้ ยาดบั เพลงิ ชนิด Dry powder D สาหรบั type D ซง่ึ เป็นไฟฟ้าเกดิ จากโลหะถูกเผา
ไหม ้

* ในกรณีของไฟอนั เกดิ จากกระแสไฟฟ้ า จะตอ้ งปิ ดไฟ บริเวณ main switch ทนั ที และตอ้ งจา
กฎ PASS เมอ่ื ใชอ้ ปุ กรณด์ บั เพลงิ วา่

P คอื Pull the pin ดงึ สลกั
A คอื Aim the extinguisher at the base of fire เลง็ เครอ่ื งดบั เพลงิ ไปทต่ี น้ เหตไุ ฟไหม้
S คอื Squeeze the trigger กดไกจบั เครอ่ื งดบั เพลงิ
S คอื Sweep the nozzle กวาดหวั ฉีดไปใหท้ วั่ บรเิ วณจากดา้ นซา้ ยไปดา้ นขวา

 ตอ้ งรูท้ างออกหรอื ทางหนีไฟทต่ี นเองสามารถหนีไดอ้ ย่างปลอดภยั เสมอ
 หลกี เลย่ี งควนั ไฟ และไอ
 รายงานการเกดิ ไฟไหมใ้ หก้ บั หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทนั ที
 กรอกแบบฟอรม์ การรายงานอบุ ตั เิ หตุ

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารกรณีเกดิ เพลงิ ไหมอ้ ยา่ งรุนแรง/หรือระเบดิ (Procedures for major fires or explosions)
 เตอื นผูท้ อ่ี ยู่ในบรเิ วณเกดิ เหตใุ หอ้ พยพหนีไฟ
 กดสญั ญาณไฟไหมท้ อ่ี ยู่ใกลท้ ่สี ุด เรยี กโทรศพั ทฉ์ ุกเฉินหรอื 191 และรายงานการเกดิ เพลงิ ไหม้ โดย

บอกบรเิ วณทเ่ี กดิ เหตุ พรอ้ มตาแหน่ง/ขอบเขตของเพลงิ ไหม้ และสภาพแวดลอ้ มเฉพาะทอ่ี าจก่อใหเ้กดิ

15

อนั ตรายได้ เช่น สารเคมี หรอื เคร่อื งมอื /อปุ กรณท์ ช่ี ารุด ในกรณีทไ่ี มป่ ลอดภยั ไมค่ วรใชโ้ ทรศพั ทใ์ น
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ควรใชโ้ ทรศพั ทห์ อ้ งอ่นื แจง้ เหตุ
 ช่วยเหลอื ผูอ้ ่นื ในการอพยพ หากสามารถทาไดอ้ ยา่ งปลอดภยั หากเกดิ กรณีทเ่ี กดิ ไฟลกุ ไหมบ้ นเส้อื ผา้ ใหจ้ บั
ผูป้ ระสบอบุ ตั ิภยั นน้ั เกลอื กกล้งิ บนพ้ืนหรอื ทาใหเ้ปียกดว้ ยนา้ โดยใช้ Safety shower เพอ่ื ใหไ้ ฟดบั
 ปิดประตทู กุ บานเพอ่ื ไมใ่ หไ้ ฟออกมา
 อพยพผูค้ นออกจากอาคาร หรือพ้นื ทป่ี ลอดภยั ทางบนั ได หา้ มใชล้ ฟิ ต์ วางแผนเสน้ ทางอพยพพรอ้ มทางเลอื ก
อน่ื ในกรณีทอ่ี พยพทนั ทจี ะมผี ลทาใหเ้กดิ อนั ตรายหรอื ยงั ไมอ่ ยูใ่ นภาวะทเ่ี ผชญิ อนั ตรายในทนั ที ใหอ้ ยู่ในทเ่ี กดิ
เหตุก่อนจนกวา่ แน่ใจว่าจะอยู่ในสถานการณท์ ่ปี ลอดภยั
 ควรมบี คุ ลากรทม่ี คี วามรู้ เช่ยี วชาญ เกย่ี วกบั การตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน หรอื เจา้ หนา้ ท่หี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารท่ีมคี วามรู้
และผ่านการฝึกอบรมดา้ นการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินมาแลว้ อยู่ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื คอยช่วยเหลอื
 นบั จานวนผูป้ ฏบิ ตั งิ านในพ้นื ทท่ี เ่ี กดิ เหตุ และรายงานผูต้ ดิ ในบริเวณเกดิ เหตแุ ละผูส้ ูญหายต่อตารวจหรอื
พนกั งานดบั เพลงิ
 หา้ มกลบั เขา้ ไปในอาคารทเ่ี กดิ เพลงิ ไหม้ เวน้ แต่ในกรณีทผ่ี ูด้ ูแลอาคาร หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรือ Chemical
Hygiene officer รบั รองว่าสามารถกลบั เขา้ ไปในอาคารได้
 หากมหี น่วยงาน นกั ขา่ ว หรอื ผูอ้ ่นื ตดิ ต่อหรอื มขี อ้ สงสยั ถามเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ใหต้ ดิ ต่อผูอ้ านวยการสานกั
บริหารอาคารและสถานท่ี หรอื ผูอ้ านวยการศูนย์ EESH ซง่ึ ไดร้ บั มอบหมายใหแ้ ถลงขา่ ว
 รายงานเหตกุ ารณเ์ พลงิ ไหมก้ บั หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หรอื หวั หนา้ อาคาร
 ในกรณีทเ่ี กดิ เพลงิ ไหมห้ รอื ระเบดิ ในหอ้ ง ควรรบี ออกจากหอ้ ง และปิดประตูหนา้ ต่างทกุ บานใหส้ นิท
 กรอกแบบฟอรม์ รายงานการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ

5. เม่อื กำลงั ไฟฟ้ ำตก (Power Failure)
 ใหป้ ิดเครอ่ื งมอื หรอื อปุ กรณ์ทนั ทเี พอ่ื ป้องกนั ความเสยี หาย ในกรณีทไ่ี ฟฟ้าตดิ ๆ ดบั ๆ หรอื กาลงั ไฟฟ้าไม่
คงท่ี
 ควรมไี ฟฉุกเฉิน หรอื มี flash light ไวใ้ นหอ้ ง
 ควรวางแผนลว่ งหนา้ เพอ่ื ลดความเยน็ โดยใชป้ มั๊ ช่วยกระจาย และหากเกดิ ปญั หาไฟฟ้าดบั หรอื ไฟตกควรจะ
ปิดปมั๊ หลอ่ เยน็
 ขอ้ ควรระวงั ใหเ้ปิดรูระบายของ vacuum pump หากเป็นไปได้
 ขอ้ ควรระวงั ใหเ้ปิดการทางานของอปุ กรณใ์ นกระบวนการเคมี และใหป้ ิดปมั๊ นา้ หลอ่ เยน็
 ไมค่ วรเปิดเคร่อื งมอื เพอ่ื ปฏบิ ตั งิ านจนกว่ากระแสไฟฟ้าจะคงท่ี
 รายงานเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หรอื หวั หนา้ อาคาร

16

6. เม่ือเกดิ ภำวะฉุกเฉินในอำคำรอน่ื (Other Building Emergencies)
ในส่วนน้ีจะรวมถงึ การเกดิ ภาวะฉุกเฉินในอาคารอน่ื เช่น
 การเกดิ ทอ่ นา้ แตกทาใหน้ า้ ทว่ ม
 การเกิดทอ่ แกส๊ แตกหรอื รวั่
 ระบบไฟฟ้าหรอื ระบบแสงสวา่ งมปี ญั หา
 เกดิ ปญั หาข้นึ กบั ระบบต่างๆ ต่อไปน้ี เช่น liquid nitrogen, gaseous nitrogen, demonized water,
fresh/air flow, heat/air condition, ทอ่ ดูดอากาศของ fume hood เป็นตน้
 อนั ตรายตามทางเดนิ เช่น กระเบ้อื งปพู ้นื แตก, พรมขาด, ขยะ หรอื ฝุ่นผง
 ปญั หาเน่ืองจากการตกหลน่ ของฝ้า, ผนงั กน้ั , ประตูหรอื หนา้ ต่าง
 ปญั หาเน่ืองจากอปุ กรณต์ กแต่งหอ้ งหรอื อาคารแตกหกั เสยี หาย

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเมอื่ เกดิ ภาวะฉุกเฉินในอาคารอ่ืน (Procedures for other building emergencies)
 รายงานการซ่อมแซมแตกหกั เสยี หายทงั้ หมดใหท้ ราบ
 รายงานภาวะฉุกเฉินทเ่ี กดิ ข้นึ ทง้ั หมดต่อหวั หนา้ อาคาร
 หากเกิดภาวะฉุกเฉินนอกเวลาทาการใหร้ ายงานภาวะฉุกเฉินต่อสานกั บรหิ ารอาคารและสถานท่ี มจธ. ท่ี
หมายเลขโทรศพั ท์ (02)-470-8207 หรอื หมายเลข 191
 ตอ้ งใหข้ อ้ มลู ต่อไปน้ีในกรณีแจง้ เหตฉุ ุกเฉิน :- ช่อื ผูแ้ จง้ , จดุ เกดิ เหตแุ ละรายละเอยี ดของภาวะฉุกเฉินท่ี
เกดิ ข้นึ
 ถา้ อนั ตรายทเ่ี กดิ ข้นึ คุกคามต่อชวี ติ หรอื สุขภาพเน่ืองจากภาวะฉุกเฉินใหด้ าเนินการดงั น้ี
 อพยพออกจากพ้นื ท่ี
 ปิดประตูและป้องกนั การเขา้ -ออกสถานทเ่ี กดิ เหตุ
 โทรศพั ทฉ์ ุกเฉินเรยี ก ศูนยก์ ารจดั การดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั
หรือ EESH หรือผูป้ ระสานงานประจาอาคาร ทนั ทโี ดยแจง้ ช่อื , จดุ เกดิ เหตุ และอธบิ ายถงึ
รายละเอยี ดของภาวะฉุกเฉินทเ่ี กดิ ข้นึ
 ตอ้ งมบี คุ ลากรผูม้ คี วามรูแ้ ละความสามารถจดั การการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินและมบี คุ ลากรผูผ้ ่านการอบรม
ดา้ นการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินมาแลว้ อยู่ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ
 รายงานปญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ซง่ึ ในทกุ กรณีของการเกดิ อุบตั ิเหตทุ กุ รูปแบบตอ้ งจดั ทา
รายงานอบุ ตั เิ หตุตามแบบฟอรม์ ทก่ี าหนดไว้

17

ในกรณีท่เี กดิ เหตฉุ ุกเฉิน
กรุณำโทรแจง้ ตำมหมำยเลขโทรศพั ท์ ดงั น้ี

 ศูนยว์ ทิ ยุนเรนทร โทร. 1699

(หน่วยระงบั เหตใุ นกรณีเกดิ เหตฉุ ุกเฉินรา้ ยแรง)

 หอ้ งพยาบาล โทร. (02) 470-8445, 8445
 ร.พ. บางปะกอก 1 โทร. (02) 109-1111

 ยามรกั ษาความปลอดภยั โทร. 8207 (สายใน)

 เหตุด่วนเหตรุ า้ ย โทร. (02) 470-8207 (สายนอก)

 อบุ ตั เิ หตไุ ฟไหม้ โทร. (02) 470-8207 (สายนอก)

 ศูนย์ EESH โทร. (02) 470-8293

หมายเหตุ
ในกรณีการเกิดเหตุฉุกเฉินเน่ืองจากสารเคมีหรือจากอุบตั ิเหตุกบั บุคลากร/นกั ศึกษา ณ มจธ.บางมด ให้

ดาเนินการดงั น้ี
1. แจง้ สายด่วนภายใน มจธ. ท่หี มายเลขโทรศพั ท์ (02) 470-8207 หรอื (02) 470-9090
2. แจง้ หอ้ งพยาบาล โทร. 8445, 8446 หรอื แจง้ หน่วยงาน EESH ทห่ี มายเลข 8293 หรอื 8294

18

ตวั อยำ่ งขน้ั ตอนกำรปฏบิ ตั เิ ม่ือประสบเหตเุ พลงิ ไหมเ้ น่ืองจำกสำรเคมี

ผูป้ ระสบเหตุ สามารถดบั เพลงิ ได้

ดบั ทนั ทโี ดยใชถ้ งั ดบั เพลงิ ใชแ้ ผนปฏบิ ตั กิ ารระงบั อบุ ตั ภิ ยั
หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร/บรเิ วณใกลเ้คียง เบ้อื งตน้
(ในกรณีทผ่ี า่ นการฝึกซอ้ มการใช้
ถงั ดบั เพลงิ แลว้ ) และ/หรอื กดป่มุ  แจง้ หอ้ งพยาบาล/โรงพยาบาล
สญั ญาณเพลงิ ไหม้ (Fire Alarm)  แจง้ หน่วยงาน EESH
 แจง้ 8207
ผูป้ ระสบเหตปุ ระเมนิ สถานการณ์ ไมส่ ามารถดบั เองได้  แจง้ ศูนยว์ ทิ ยนุ เรนทร

สามารถดบั ได้ แจง้ เหตใุ หผ้ ูร้ บั ผดิ ชอบ
ประจาหน่วยงาน
รายงานหวั หนา้ หน่วยงานและ
ผูร้ บั ผดิ ชอบตามลาดบั ขนั้ ตอน และ ประกาศเรยี กทมี งานระงบั เหต
กรอกแบบฟอรม์ รายงานอบุ ตั เิ หตุ ฉุกเฉินประจาอาคารปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี

อพยพบคุ ลากร
ออกนอกอาคาร/พ้นื ท่ี

รายงานตามลาดบั สายงาน ประสานกบั หน่วยงานภายใน
รบั ผดิ ชอบ และหน่วยงานภายนอกในการ

บนั ทกึ ในสมดุ บนั ทกึ การเกดิ ระงบั เหตุ
อบุ ตั เิ หตุ
สามารถดบั เพลงิ ได้
สรปุ แจง้ /จดั ทารายงานประจาปี

19

บทท่ี 4
กำรจดั กำรอนั ตรำยจำกสำรเคมี
(CHEMICAL HAZARD MANAGEMENT)

ขอ้ กำหนด

เพ่อื ท่ีจะใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล งานในส่วนน้ีของนโยบาย การดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารจะตอ้ งดาเนินการงานในสว่ นต่าง ๆ ต่อไปน้ีใหเ้สรจ็ เรยี บรอ้ ย

 ตดิ โปสเตอรแ์ สดงตาแหน่ง/สถานทเ่ี ก็บ MSDS หรอื SDS ของสารเคมใี นบรเิ วณทเ่ี หน็ ไดง้ า่ ย
 จดั ทา MSDS หรอื SDS ของสารเคมที ใ่ี ชใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอย่างต่อเน่ืองและให้ up-date เสมอ
 มกี ารฝึกอบรมเก่ยี วกบั การจดั ทาเอกสารทจ่ี าเพาะของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
 พฒั นาและจดั ทารายการเก่ยี วกบั ผลกระทบของสารเคมอี นั ตราย

มำตรฐำนกำรตดิ ต่อขอ้ มลู อนั ตรำย (Hazard Communication Standard)

มาตรฐานน้ีมจี ุดประสงคท์ ่ีจะส่งต่อขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สารเคมีอนั ตรายในหอ้ งปฏิบตั ิการทงั้ หลายใหก้ บั
พนกั งาน/บุคลากรหรือผูป้ ฏิบตั ิงาน ในมหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี ผูท้ ่ีตอ้ งปฏิบตั ิงานกบั สารเคมี
เหลา่ น้ี ซง่ึ มาตรฐานน้ีไดจ้ ดั ทาเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากลท่ใี ชโ้ ดยมขี อ้ กาหนดในมาตรฐานเป็นดงั น้ี คือ มกี าร
ประเมนิ ความอนั ตรายของสารเคมอี นั ตราย, เขยี นโปรแกรมการติดต่อขอ้ มูลอนั ตรายข้นึ ติดฉลากและทารายการ
สารเคมีอนั ตราย, จดั ทา MSDS ,SDS ของสารเคมีท่ีใชใ้ นหอ้ งปฏิบตั ิการอย่างต่อเน่ือง, จดั ฝึกอบรมพนกั งาน/
ผูป้ ฏบิ ตั งิ าน ซง่ึ ศูนยก์ ำรจดั กำรดำ้ นพลงั งำน สง่ิ แวดลอ้ ม ควำมปลอดภยั และอำชีวอนำมยั หรือ EESH ของ มจธ.
ไดต้ งั้ ขอ้ กาหนดข้นึ มาใหผ้ ูจ้ ดั การหอ้ งปฏบิ ตั ิการทงั้ หลายทาการติดฉลากและจดั ทารายการสารเคมอี นั ตรายข้นึ ภายใน
หอ้ งปฏิบตั ิการของตนเอง ซ่ึงโปรแกรมการติดต่อขอ้ มูลอนั ตรายน้ี ทางมจธ. ไดจ้ ดั ทาเอกสารพรอ้ มจดั ทาเวบไซด์
เพ่อื ใหบ้ ุคลากรทุกคนสามารถเปิดดูได้ ซ่งึ พนกั งานหรอื เจา้ หนา้ ท่ีหอ้ งปฏบิ ตั ิการท่เี ขา้ มาปฏบิ ตั งิ านใหม่ถกู กาหนดให้
เขา้ รบั การฝึกอบรมซง่ึ จดั ข้นึ โดย EESH ทกุ คน

กำรบ่งช้ีควำมเป็นอนั ตรำย (Hazard Identification)

สารเคมอี นั ตรายเป็นสารเคมซี ง่ึ ทาใหเ้กดิ อนั ตรายต่อสุขภาพในภาวะเฉียบพลนั (acute) หรอื เร้อื รงั
(chronic) ใหก้ บั ผูป้ ฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร้ บั สารเคมนี น้ั แหลง่ ของขอ้ มลู ดงั กลา่ วจะกลา่ วถงึ ต่อไปน้ีอาจเป็นประโยชน์ในการ
ช่วยบง่ ช้คี วามเป็นอนั ตรายของสารเคมี

 ฉลำก (Label)
 สารเคมอี นั ตราย :- ภาชนะบรรจสุ ารเคมที งั้ หมดจะมฉี ลากตดิ เพอ่ื บง่ ช้ถี งึ สว่ นประกอบและ
อนั ตรายของสารเคมนี นั้ ๆ ภาชนะบรรจุสารเคมสี ่วนใหญ่จะถกู ตดิ ฉลาก โดยหน่วยงานท่ี

20

เกย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มลู สารเคมอี นั ตราย (HMIS) และสมาคมป้องกนั ไฟแหง่ ชาติ (NFPA) โดย
เป็นฉลากรูปเพชรใหเ้หน็ ชดั
 ของเสยี อนั ตราย :- ภาชนะบรรจขุ องเสยี จากสารเคมอี นั ตราย จะตอ้ งตดิ ฉลากดว้ ยสลากของ
เสยี อนั ตรายซง่ึ ตดิ ต่อขอรบั ไดจ้ าก หน่วยงานสารอนั ตราย (Hazadous Materials office)
จาก EESH ของมจธ. ก่อนทจ่ี ะใชภ้ าชนะบรรจขุ องเสยี อนั ตรายควรกรอกขอ้ มลู เก่ยี วกบั ของ
เสยี อนั ตรายชนิดนนั้ ใหค้ รบถว้ นบนฉลาก

 Material Safety Data Sheets (MSDS) สาเนาของ MSDS หรอื SDS สามารถทจ่ี ะหาไดจ้ าก
EESH และหากทาเร่อื งขอทาง EESH กจ็ ะทาการจดั ส่งให้ ซง่ึ MSDS หรอื SDS น้ีทางบรษิ ทั ผูข้ ายสารเคมกี จ็ ะใหม้ า
พรอ้ มกบั สารเคมแี ต่ละตวั ท่ไี ดท้ าการจดั ซ้อื อยูด่ ว้ ยเช่นกนั MSDS หรอื SDS ของสารเคมใี นแต่ละหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารขอ
งมจธ. นน้ั สามารถทจ่ี ะดงึ ขอ้ มลู ไดจ้ ากฐานขอ้ มลู MSDS หรือ SDS ของ EESH มจธ. โดยใชค้ อมพวิ เตอรใ์ น
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ

 รายการแสดงค่าของ PEL หรอื permissible exposure limits ของสารเคมอี นั ตรายแต่ละตวั
 รายการแสดงค่าของ TLV หรอื Threshold Limit Values ของสารเคมอี นั ตรายแต่ละตวั
 แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรบั สารเคมอี นั ตราย ซง่ึ เป็นเอกสารซง่ึ จดั ทาข้นึ โดย EESH ของมจธ.

กำรประเมนิ อนั ตรำยจำกสำรเคมี (Chemical Hazard Assessment)

ผูอ้ านวยการหอ้ งปฏิบตั ิการตอ้ งเป็นผูถ้ ูกกาหนดใหจ้ ดั ทารายการของสารเคมีอนั ตรายท่ีมีอยู่ในการ
ครอบครอง, ใชห้ รอื ผลติ ข้นึ ในแต่ละหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ซ่งึ อยู่ในความรบั ผิดชอบของผูอ้ านวยการหอ้ งปฏิบตั ิการนน้ั ๆ
รายการสารเคมอี นั ตรายเหลา่ น้ีควรจะตอ้ ง update ทุกปีหรอื บอ่ ยกว่านนั้ ซง่ึ MSDS หรอื SDS ของสารเคมอี นั ตราย
เหลา่ น้ีตอ้ งมกี ารคน้ หานามาใชไ้ ดง้ า่ ยและอยู่ในสถานท่ที ่ที กุ คนในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทราบและหยบิ ออกมาใชไ้ ดท้ นั ทว่ งที

รายการสารเคมที จ่ี ดั ทาข้นึ นนั้ ควรจะมหี วั ขอ้ ทอ่ี ่านงา่ ยและชดั เจน ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย
 หมายเลขประจาหอ้ งและชอ่ื อาคาร
 สถาบนั หรอื คณะ
 ช่อื ของบคุ คลผูจ้ ดั ทารายการสารเคมี
 วนั ทจ่ี ดั ทารายการสารเคมี

ซ่งึ ไม่มกี าหนดเฉพาะท่ชี ้ชี ดั ถงึ รูปแบบของขอ้ มลู ท่คี วรบรรจุอยู่ในรายช่อื หรือรายการสารเคมอี นั ตราย และ
หวั หนา้ หอ้ งปฏิบตั ิการเองควรท่ีจะพิจารณาถึงการจดั การสารเคมีอนั ตรายในหอ้ งปฏิบตั ิการของตนเอง ซ่งึ รายการ
สารเคมที จ่ี ดั ทาควรช้ชี ดั ใหเ้หน็ ถงึ รายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

 ชอ่ื สารเคมี
 ทเ่ี กบ็
 ขอ้ มลู อนั ตรายพ้นื ฐาน หรอื การแยกประเภท

21

 ปรมิ าณทม่ี อี ยู่
 ถา้ สารเคมชี นิดนน้ั ถกู สงั่ มาใชอ้ ีก
 ถา้ มกี ารเพม่ิ หรอื ลดปรมิ าณของสารอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั
ซง่ึ EESH อาจเสนอหวั ขอ้ ทจ่ี ะจดั ทารายการสารเคมใี หแ้ ต่ละหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนาไปใชเ้พอ่ื เป็นแบบแผน
เดยี วกนั หมดทงั้ มจธ. ซง่ึ อาจจะเป็นไปในรูปแบบดงั น้ี : ปรมิ าณ/ช่อื สารเคม/ี ประเภทของอนั ตราย/สถานทเ่ี กบ็ /วนั ท่ี
ไดร้ บั /วนั ทน่ี าออกไปใช้ ซง่ึ ประเภทของอนั ตรายของสารเคมแี ต่ละตวั นนั้ อาจมไี ดม้ ากเกนิ กว่าหน่ึงกไ็ ด้ และสามารถ
แสดงใหเ้หน็ โดยใชส้ ญั ญลกั ษณ์แทนเป็นแบบเดยี วกนั ทวั่ มจธ. ดงั เช่น A=Compressed Gas, B=Severe Posion,
C=Modurate Poison, D=Water Reactivity, E=Oxidizer, F=Flammable, G=Compressed Gas,
H=Radiovactive, I=Biohazard, J=Carcinogen, K=Non-Hazadous, L= “Other”, notation อนั เป็นหนา้ ทข่ี อง
หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการทจ่ี ะเป็นผูด้ าเนินการจดั ทาประเภทของอนั ตรายลงใน “รายการสารเคมอี นั ตราย” ในกรณีทม่ี ี
สารเคมที ใ่ี ชอ้ ยูห่ รอื เกบ็ ไวใ้ นหอ้ งปฏิบตั กิ าร อาจทาใหเ้กดิ อนั ตรายได้
ควรทาสาเนาของ “รายการสารเคมอี นั ตราย” เก็บไวบ้ ริเวณดา้ นนอกหอ้ งปฏบิ ตั ิการใกลก้ บั ประตูทางออก
เพ่อื สามารถนาออกมาใชไ้ ดใ้ นกรณีเกิดอบุ ตั ิเหตุ เช่น ไฟไหมใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั ิการ เป็นตน้ นกั ผจญเพลงิ หรือบุคลากรท่ี
ทาหนา้ ท่ตี อบโตภ้ าวะฉุกเฉินไม่ควรเขา้ ไปปฏิบตั ิการดบั ไฟหรือจดั การกบั ภาวะฉุกเฉินหากไม่มขี อ้ มูลเก่ียวกบั ความ
เส่ียงอนั ตรายท่ีจะตอ้ งเขา้ ไปเผชิญในหอ้ งปฏิบตั ิการนั้น ๆ และอาจตอ้ งทาสาเนาอีกชุดหน่ึงเก็บไวท้ ่ีหวั หนา้
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ซง่ึ จะถกู เรยี กตวั มาบญั ชาการหรอื ใหค้ าแนะนาในกรณีตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน

กำรเกบ็ สำรเคมี (Chemical Storage)

หากไมแ่ น่ใจในการเก็บสารเคมท่มี อี ยู่บางตวั ว่าเหมาะสมหรือไม่ ควรหาขอ้ มูลจาก MSDS หรือ SDS ถาม
ผูด้ ูแลหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรอื EESH ซง่ึ การเกบ็ สารเคมสี ามารถแยกประเภทการเกบ็ ออกเป็นดงั น้ี

 ของเหลวติดไฟงำ่ ย (Flammable Liquid) สารเคมปี ระเภทน้ีตอ้ งทาการเก็บไวใ้ นตเู้กบ็ เฉพาะ
ของเหลวตดิ ไฟงา่ ย ซง่ึ เป็นไปตามมาตรฐานสากล NEPA หรอื หอ้ งเกบ็ เฉพาะของเหลวตดิ ไฟงา่ ย ซง่ึ เป็นไปตาม
ขอ้ กาหนดของ OSHA ซง่ึ จะตอ้ งเป็นหอ้ งทม่ี กี ารระบายอากาศทม่ี ี ,มรี ะบบแสงสวา่ ง ,กนั ระเบดิ ,มสี ญั ญาณความ
ปลอดภยั ภายใน มสี ายดนิ และ bonding สารเคมที เ่ี ป็นชนิด Oxidizer , กรดและสารเคมตี วั อ่นื ทอ่ี าจเป็นอนั ตราย
หากนามาไวร้ วมกนั จะไมถ่ ูกอนุญาตใหน้ ามาเก็บในบรเิ วณตูห้ รอื หอ้ งน้ี หา้ มตดิ ตง้ั แหลง่ ทท่ี าใหต้ ดิ ไฟ (ignition
source) ภายในต/ู้ หอ้ ง หรอื บรเิ วณใกลบ้ รเิ วณท่เี ก็บสารเหล่าน้ี

 สำรกดั กร่อน (Corrosives) สารกดั กร่อนอาจมฤี ทธ์เิ ป็นกรดหรอื ด่างกไ็ ด้ ซง่ึ กรดและด่างไมค่ วร
เกบ็ ไวร้ ่วมกนั และไมค่ วรเกบ็ รวมกบั สารตดิ ไฟ และสารไหมไ้ ฟ ควรใชถ้ าดกนั หกรองขวดหรือภาชนะทบ่ี รรจกุ นั ขวด
แตกหรอื หก

 สำร Oxidizer ควรแยกเก็บต่างหากในบรเิ วณจากสารตดิ ไฟ (flammable) หรอื สารไหมไ้ ฟ
(combustible) สารชนิดน้ีอาจทาปฏกิ ริ ิยาทอ่ี ณุ หภมู หิ อ้ งทาใหเ้กดิ ระเบดิ หรอื ไฟไหม้ ไมค่ วรผสมสารทเ่ี ป็น Oxidizer
กบั สารไหมไ้ ฟ บางครงั้ อาจเกิดระเบดิ เมอ่ื สมั ผสั กบั สารอนิ ทรยี ์ ตวั อยา่ งเช่น perchloric acid, chromic acid และ
hydrogen peroxide

22

 สำรพษิ และสำรเป็นพษิ (toxic and poisonous Materials) สารชนิดน้ีควรแยกเกบ็ ต่างหาก ไม่
ควรเกบ็ ไวใ้ นทเ่ี ดยี วกนั กบั กรดหรอื สารติดไฟ

 แกส๊ ท่เี ป็นของเหลวแช่แขง็ (Cryogenic Liquified Gases) เกบ็ ไวใ้ นทเ่ี ยน็ และมกี ารระบาย
อากาศเป็นอย่างดี แกส๊ แช่แขง็ เหลา่ น้ีจะตม้ ใหล้ ะลายทอ่ี ุณหภมู หิ อ้ งและจะตอ้ งมที ่อระบายอากาศเพอ่ื ป้องกนั อนั ตราย
จากแรงดนั อากาศท่เี กดิ ข้นึ แกส๊ ท่รี ะบายออกมาเหลา่ น้ีสามารถเขา้ มาแทนทอ่ี อกซเิ จนไดห้ ากอยูใ่ นบรเิ วณท่ปี ิดมดิ ชดิ
ไมม่ รี ูระบายอากาศ สว่ นแกส๊ ทอ่ี ยูใ่ นรูปของเหลวจะทาใหผ้ วิ หนงั บรเิ วณทถ่ี กู สมั ผสั มอี าการไหมเ้น่ืองจากความเย็น
(cold-contact burn)

 สำรท่ที ำปฏกิ ริ ยิ ำกบั น้ำ (Water Reactive Compounds) ควรแยกเก็บต่างหากไวใ้ นสถานทไ่ี กล
จากนา้ หรอื แหลง่ ทม่ี นี า้ อยู่

 สำรชนิด Pyrophoric (Pyrophoric compounds) ควรแยกเกบ็ ไวต้ ่างหากไวภ้ ายใตไ้ นโตรเจน
 สำรชนิ ดท่ีทำให้เกิด Peroxide (Peroxide Formnig Compounds) ไม่ควรเก็บรวมกับ
สารอินทรยี ห์ รอื สารละลาย ควรเกบ็ ไวใ้ นภาชนะทเ่ี ป็น Airtight และเกบ็ ในทม่ี ดื เยน็ แต่ไมเ่ ป็นเยอื กแขง็ และแหง้ ไม่
ควรไม่อนุญาตใหแ้ หล่งท่ีเป็นตวั นาความรอ้ น, ถูกบดหรือจบั ตวั เป็นกอ้ นอยู่ใกลก้ บั ตูบ้ ริเวณท่ีเก็บสารเคมชี นิดน้ี
บนั ทกึ เก่ียวกบั วนั ท่ีไดร้ บั สารและนาสารออกมาใช้ ท่ีทาใหเ้ กิด peroxide รวมถึงการขจดั หรือกาจดั ของเสียซ่ึงตอ้ ง
กระทาหลงั จากวนั หมดอายุแลว้ ทนั ที รายการสารเคมชี นิดน้ีบางส่วนเกบ็ ไวใ้ น MSDS ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการและบอกถงึ
เวลาท่ีสารตวั น้ีใชใ้ นการทาใหเ้ กิด peroxide ตวั อย่างของสารชนิดน้ีไดแ้ ก่ diethyl ether, vinylidene chloride,
sodium amide, styrene, tetrahydrofuran และ dioxane
 สำรชนิ ดพิเศษอ่ืน ๆ (Special compounds) ใหป้ ฏิบัติตามคู่มือการเก็บสารเคมีจาก
บรษิ ทั ผูผ้ ลติ เช็คดูความช้นื ในขวดสารทท่ี าใหเ้กดิ การระเบดิ ซ่งึ มกั จะเก็บไวแ้ บบเปียกหรือในรูปสารละลาย ตอ้ งจด
วนั ท่ที ่สี ารชนิดทก่ี ่อใหเ้กิดระเบดิ ไดง้ า่ ยเมอ่ื สนั่ สะเทอื นเขา้ มา และขจดั มนั ออกไปทนั ทเี มอ่ื หมดอายุ สารพวก Picric
acid และ benzoyl peroxide อาจตอ้ งเก็บในท่เี ปียก หากในกรณีท่สี ารละลายนน้ั แหง้ และมผี ลกึ เกิดข้นึ ซ่งึ เป็นชนิด
ก่อใหเ้ กิดระเบิดไดง้ ่ายเม่ือสนั่ สะเทือน ตอ้ งไม่ใหเ้ กิดการสนั่ สะเทือนหรือกระชากข้นึ สารเคมบี างตวั เช่น diethyl
pyrocarbonate จะตอ้ งแช่ตูเ้ ยน็ เพ่อื ใหค้ งตวั (Stable) และเมอ่ื เกิดกรณีท่ไี ม่คงตวั ควรคลายฝา ซ่งึ อาจจะทาใหเ้ กิด
ระเบดิ ไดเ้ ม่อื ผสมกบั สารท่ีเผาไหมง้ ่าย ตวั อย่างของสารพวกน้ีไดแ้ ก่ silver perchlorate, ammonium, sodium,
potassium perchlorate และ organic perchlorate เช่น methyl perchlorate ในปริมาณสูงอาจทาใหเ้ กิดระเบดิ
ไดเ้มอ่ื ผสมกบั สารทเ่ี ผาไหมง้ า่ ย
 แกส๊ อดั ลมบรรจุถงั (Compressed Gases Cylinders) ถงั บรรจุแก๊สควรเก็บไวใ้ นบริเวณท่ีมี
อากาศถ่ายเท แต่บรเิ วณเหลา่ น้ีเช่น ล้นิ ชกั หรอื ลอ็ กเกอรร์ วมถงึ หอ้ งโถง, บนั ได, ใกลล้ ฟิ ตห์ รอื เฉลยี ง ไมค่ วรใชน้ ามา
เกบ็ ถงั บรรจแุ กส๊ อดั ลม นอกจากนน้ั แลว้ ถงั บรรจแุ กส๊ ออกซเิ จนและ oxidizer อ่นื ๆ ไม่ควรนาไปเก็บไวร้ วมกบั แกส๊
เช้อื เพลงิ หรอื สารเผาไหมง้ า่ ย เวน้ แต่ในกรณีท่มี กี ารแยกดว้ ยวธิ พี เิ ศษแลว้
 วิธีปฏิบตั ิกำรเพ่ือควำมปลอดภยั เพ่ิมเติม (Additional Safety Procedure) ควรจดั ทารายการ
สารเคมหี ากมรี ายการสารเคมอี นั ตรายเป็นจานวนมากก็อาจเกดิ อนั ตรายได้ และจะทาใหเ้กดิ ของเสยี ในระยะยาวต่อไป

23

การเก็บสารเคมชี นิดอน่ื ๆ ควรเก็บไวใ้ นชนั้ ท่มี นั่ ใจว่าปลอดภยั และอยูต่ า่ กว่าระดบั สายตา หากเป็นภาชนะบรรจขุ นาด
ใหญ่ควรเกบ็ ไวช้ น้ั ลา่ งสุด ไมค่ วรเกบ็ สารเคมโี ดยวางบนพ้นื หอ้ ง

บริเวณท่ีใชเ้ ก็บสารเคมคี วรจะเป็นบริเวณท่ีเย็น, แหง้ มีอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก และมแี สงสว่าง
พอเพยี ง ควรมชี ุดทใ่ี ชจ้ ดั การกบั การหกตกหลน่ ของสารเคมี (Chemical spill kit) ท่เี หมาะสม และมชี ุดดบั เพลงิ ไว้
บรเิ วณใกลก้ บั ทเ่ี กบ็ สารเคมี ภาชนะทใ่ี ชบ้ รรจคุ วรปิดใหส้ นิท และอยู่ในสภาพทเ่ี รยี บรอ้ ย และควรทาความสะอาดและ
เชค็ ดูใหแ้ น่ใจวา่ ดา้ นนอกของภาชนะทใ่ี ชบ้ รรจไุ มม่ เี ศษหรอื สารเคมตี ดิ คา้ งอยู่

เม่ือไดป้ ระยุกตใ์ ชท้ ง้ั วิธีการใชเ้ ก็บโดยปฏิบตั ิตามคาแนะนาท่ีระบุไวใ้ น MSDS หรือ SDS ของ
สารเคมีชนิดนั้นแลว้ ควรจะนาวิธีปฏิบตั ิน้ันทาเป็ น SOP ของแผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภัยใน
หอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. หอ้ งปฏิบตั ิการของตนเองดว้ ย ก่อนท่ีจะเร่ิมปฏิบตั ิงานกบั สารเคมีอนั ตราย ควรผ่านการ
ฝึกอบรมถงึ วธิ ีการใชแ้ ละการเกบ็ ทเ่ี หมาะสม ในกรณีท่ไี มแ่ น่ใจว่าวธิ ีปฏบิ ตั กิ ารทป่ี ลอดภยั กบั สารเคมชี นิดหน่ึงชนิดใด
โปรดตดิ ต่อสอบถามไดท้ ่หี น่วยงาน EESH ของ มจธ.

ขอ้ มูลของสำรเคมจี ำกแหลง่ อน่ื (Other Sources of Chemical Information)

แหล่งขอ้ มูลอ่ืนสาหรบั สารเคมีอาจหาไดจ้ ากหอ้ งสมุด เช่น หอ้ งสมุดเคมี (Chemistry Library), The
Merck Index. The International Technical Information Institute’s Toxic and Hazard Industrial
Chemicals Safety Manual เหลา่ น้ีเป็นตน้

ของเสยี อนั ตรำย (Hazadous Waste)

โปรแกรมท่ีเก่ียวกบั การจดั การของเสียอนั ตรายของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี ซ่ึงเป็น
โครงการความร่วมมอื ของ 5 มหาวิทยาลยั โดยการสนบั สนุนจากสานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั (สกว.) ซ่งึ ได้
จดั ทาคู่มอื เก่ียวกบั วธิ ีบริหารจดั การของเสียอันตราย โดยเก็บไวท้ ่ศี ูนยก์ ารจดั การดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความ
ปลอดภยั และอาชีวอนามยั มจธ. EESH ซ่งึ คู่มอื เหล่าน้ีสามารถขอสาเนาออกมาเป็นวธิ ีปฏิบตั ิการมาตรฐาน SOPs
เก่ียวกบั สารเคมีอนั ตรายซ่ึงแนบอยู่กบั แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. ของ
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ซง่ึ คู่มอื ของเสยี อนั ตรายหรอื Hazadous Waste Manual ซง่ึ ถอื เป็นส่วนหน่ึงของแผนการดาเนินงาน
ดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. นน้ั จะประกอบไปดว้ ย หวั ขอ้ ต่อไปน้ี

 ความหมาย/คาจากดั ความของ hazardous waste
 สง่ิ ทต่ี อ้ งทาก่อนการผสมสารเคมี (Prioritizing mixture)
 สารเคมที ส่ี ามารถเขา้ กนั ได้ (Chemical compalibility)
 สารตอ้ งหา้ มและการบรรจุ (Forbidden materials and packages)
 การกาจดั หรอื ขจดั สารเคมที ไ่ี ม่ทราบว่าเป็นชนิดใด (unknows)
 สารท่ที าใหเ้กดิ การระเบดิ และสารตอ้ งหา้ ม (Explosives and forbidden materials)
 สารกมั มนั ตรงั สี (Radioactive materials)

24

 สารชีวภาพทเ่ี ป็นอนั ตรายและสารเคมรี กั ษา (Biohazardous & Chemotherapy materials) ของ
เสียท่เี ป็นสารเคม,ี สารชีวภาพ และสารกมั มนั ตรงั สี จะทาการเกบ็ รวบรวมโดยแยกชนิด/ประเภท และนาส่ง EESH
ซ่งึ ตอ้ งเก็บในภาชนะท่ีถูกตอ้ ง และติดฉลากแสดงใหช้ ดั เจนในขณะท่ีของเสียไม่เป็นพิษอาจจะปล่อยท้ิง ไว้ ซ่ึงการ
จดั การของเสียในหอ้ งปฏิบตั ิการของ มจธ. ตอ้ งปฏิบตั ิตามคู่มือการจดั แยกประเภทและจดั เก็บของเสียภายใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของ มจธ. อยา่ งเคร่งครดั ซง่ึ จะบอกถงึ วธิ กี ารจดั การของเสยี แต่ละประเภทอย่างชดั เจน

แนวทำงปฏบิ ตั ทิ วั่ ไปในกำรนำมำประยกุ ตใ์ ชก้ บั ของเสยี ทเ่ี ป็ นเคมีได้

 Incompatible Chemicals ตอ้ งแยกเกบ็ สารเคมที เ่ี ขา้ กนั ไม่ไดอ้ อกไวใ้ หเ้หมาะสม ใหด้ ูตามตำรำง
กำรเขำ้ กนั ไดข้ องสำรเคมี (compatibility chart)

 สำรละลำย/สำรอนิ ทรยี ์ (Aqueous/Organic) อย่าพยายามผสมสารละลายกบั สารอนิ ทรเ์ ขา้
ดว้ ยกนั เพราะสารผสมอาจจะอยู่ในรูปสารละลายเน้ือเดียว หรอื แยกชน้ั และสารละลายกบั สารอนิ ทรียเ์ พยี งชนิดเดยี ว
อาจแยกชน้ั กนั

 Aqueous Solutions ควรแยกเก็บสารละลายกรด และด่างออกจากกนั จดรายการว่ามี anion
หรอื cation ชนิดใดอยูใ่ นสารละลาย สว่ นทส่ี าคญั คือ โลหะต่าง ๆ cyanide และ sulfide ถา้ เป็นไปไดค้ วรหลกี เล่ยี ง
การรวมตวั กบั สารอนิ ทรยี ห์ รอื เคร่อื งมอื สารท่มี ี Asbestos เป็นส่วนผสม (Asbestos containing materials or
Equipment)

 เกบ็ แยกของเสยี จากสารเหลา่ น้ีออกจากของเสยี อ่นื ๆ และตดิ ฉลากใหเ้รียบรอ้ ย หากตอ้ งการเกบ็
ของเสยี ชนิดน้ีดว้ ยวธิ กี ารเฉพาะใหข้ อคาปรกึ ษาจาก EESH

 Batteries แบตเตอร่ีสามารถเก็บรวบรวมไวแ้ ลว้ นากลบั มาใชใ้ หม่ได้ โดยทาการเก็บเซลแหง้ ของ
แบตเตอร่เี กบ็ ไวใ้ นถงั เฉพาะทข่ี อไดจ้ าก EESH หากเก็บจนเตม็ ถงั แลว้ กส็ ามารถเรยี ก EESH ใหจ้ ดั การมาเกบ็ หรอื นา
ถงั ใหมม่ าเปลย่ี น

 สำรประกอบชนิดท่ีเป็ น Cyanide และ Sulfide แยกเก็บสารเหล่าน้ีออกจากของเสียอ่ืน ๆ ติด
ฉลากและเขียนแสดงใหเ้ ห็นชดั เจน ซ่ึงสารเหล่าน้ีอาจอยู่ในรูปสารประกอบท่ีบริสุทธ์ิ หรือสารละลายก็ไดแ้ ลว้
ดาเนินการตามคู่มอื การจดั แยกประเภทและจดั เกบ็ ของเสยี ภายใหอ้ งปฎบิ ตั กิ ารของ มจธ.

 โลหะท่ีเป็ นพิษ (EP Toxic Metals) โลหะหรือสารประกอบโลหะต่อไปน้ี ไม่ควรท้ิงร่วมกบั
สารอินทรยี เ์ ด็ดขาด เช่น arsenic, barium, cadmium, chromium, lead mercury, selenium, silver, copper,
nickel tallium, zinc. เพราะสารอินทรีย์จะเผาไหมส้ ารเหล่าน้ีทงั้ ในรูปของของเหลวหรือของแข็งโลหะรวมถึง
สารประกอบของโลหะเหลา่ น้ีหา้ มเผาโดยเดด็ ขาด แยกสารเหลา่ น้ีออกจากของเสยี ชนิดอน่ื และตดิ ฉลากใหเ้หน็ ชดั เจน

 สำรหรอื วสั ดุทร่ี ะเบิดได้ (Explosive Materials) สารท่รี ะเบดิ ไดเ้ช่น picric acid ทม่ี ี
ส่วนประกอบของนา้ มากกว่า 10% สารประกอบอนุพนั ธุข์ อง picric acid หรอื สารประกอบพวก azo หรอื
perchlorates จะตอ้ งจดั เกบ็ แยกจากของเสยี อ่นื และเกบ็ แยกต่างหากเดย่ี ว ๆ ซง่ึ ตอ้ งแจง้ EESH ซง่ึ จะมกี ารจดั เก็บ
แบบพเิ ศษของสารชนิดน้ี

25

 ระดบั ควำมเป็นพษิ (Hazard Classes) การแยกระดบั ความเป็นพษิ เป็นขอ้ กาหนดทจ่ี ะแยกสารท่ี
เป็น incompatible ออกจากกนั ซง่ึ การเกบ็ ของเสยี โดยการแยกของเสยี เป็นชนิดต่าง ๆ ตามท่กี าหนดไวใ้ นคู่มอื การ
จดั การของเสยี ของ มจธ. ซง่ึ สว่ นทน่ี อกเหนือจากนน้ั กจ็ ะอยู่ในขอ้ กาหนดเพ่มิ เตมิ จาก EESH มจธ. เช่นกนั ซง่ึ มี

26

ขอ้ กาหนดเอาไวเ้ช่น แยกสาร Organic ออกจาก inorganic และของแขง็ ออกจากของเหลว และถา้ เป็นไปได้ แยก
halogenated organic กับ non-halogenated organics โดยแยกเก็บวสั ดุท่ีใชบ้ รรจุของเสียแตกต่างกันตาม
คุณสมบตั ิ และติดฉลากบนถงั เก็บใหช้ ดั เจน และบนั ทกึ ไวใ้ นใบบนั ทกึ รายการของเสยี ทาเคร่อื งหมายแยกระดบั ความ
เป็นพิษบนถงั เก็บ เช่น ของเหลวไวไฟ ถา้ สารประกอบมคี ุณสมบตั ิความเป็นพิษมากกว่าหน่ึงอย่าง ควรแยกเก็บไว้
ต่างหาก เช่น ถา้ สารเคมเี ป็นทงั้ สารไวไฟและสารกดั กร่อน กใ็ หต้ ดิ ฉลากแสดงความเป็นพษิ ทงั้ สองชนิดลงบนถงั เก็บ

 กำรติดฉลำก (Labeling) ถงั เกบ็ ของเสยี ทง้ั หมด จะตอ้ งติดฉลากดว้ ยช่อื เดิมของมนั ใหค้ รบ บอก
ถงึ หมายเลขหอ้ ง ตึก วนั ท่เี ร่มิ เก็บ และรวมถงึ วสั ดุท่ใี ชก้ ารจดั เก็บ การติดฉลากของเสยี ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการเก่ียวกบั
การสอน สามารถขอคาแนะนาไดจ้ าก EESH และตามคู่มือการจดั แยกประเภทและจดั เก็บของเสียภายใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารมจธ.

 กำรแยกของเหลว/ของแข็ง (Liquids/Solids) ไม่ควรผสมของเสียสารเคมที ่ีเป็นของเหลวและ
ของแขง็ เขา้ ดว้ ยกนั ในถงั เกบ็ อนั เดยี วกนั ควรจะเกบ็ แยกต่างหาก ของแขง็ ควรเก็บในภาชนะปากกวา้ ง ของเหลวควรใช้
แกลลอนหรอื อาจจะใชภ้ าชนะปากกวา้ งหรอื ว่าทม่ี หี ูห้วิ กไ็ ด้ ซง่ึ สามารถขอถงั เกบ็ ของเสยี แต่ละชนิดไดจ้ าก EESHมจธ.

 สำรประกอบโลหะของปรอท (Matallic Mercury) เก็บแยกต่างหาก และตดิ ฉากใหช้ ดั เจน
 Organo Metallics หากมขี องเสยี ประเภทน้ีตอ้ งเกบ็ ในถงั เฉพาะทเ่ี ป็นชนิด EP toxic Metals
และเกบ็ แยกจากของเสยี พวกอ่นื และติดฉลากใหช้ ดั เจน
 Polychlorinated Biphenyls (PCB’s) เก็บของเสยี ท่เี ป็น polychlorinated Biphenyls และ
สารประกอบ PCB แยกออกจากของเสยี อน่ื ติดฉลากเขยี นความเขม้ ขน้ (ppm) และ aroclor ใหช้ ดั เจน
 Pyrophoric Meterials จะตอ้ งแยกออกจากของเสยี อ่นื และแยกเก็บต่างหาก
 ของมคี มและเขม็ ฉีดยำ การกาจดั ท้งิ ของมคี มและเขม็ ฉีดยา ควรเลอื กภาชนะทไ่ี มร่ วั่ ไมโ่ ดนเจาะ
งา่ ย เขม็ ฉีดยาไมส่ ามารถงอได้ ตดิ ได้ ถา้ เตม็ ใหป้ ิดผนึกภาชนะใหแ้ น่นตดิ ฉลากใหเ้หน็ ชดั เจนแลว้ เรยี ก EESH มาเกบ็
 สำรเคมีท่ไี ม่ทรำบชนิด (Unknowns) จดั เกบ็ แยกต่างหากจากของเสยี อ่นื ๆ และติดฉลาก
ต่างหาก อาจทาการวเิ คราะหเ์ พอ่ื ใหท้ ราบถงึ ขอ้ มลู คร่าว ๆ เพอ่ื จะไดท้ ราบชนิดต่อไป และสามารถเก็บรวมกบั ของเสยี
ประเภทเดยี วกนั ได้
 สำรเคมีทไ่ี วต่อน้ำ (Water-Reactive Chemicals) เกบ็ แยกต่างหากจากของเสยี อ่นื ติดฉลากให้
เหน็ ชดั เจน
 กำรเกบ็ สำรเคมอี นั ตรำย ปฏบิ ตั ิตามคู่มอื การจดั การสารเคมอี นั ตราย มจธ.
 เม่ือขวดบรรจุของเสยี เต็ม แจง้ ให้ EESH ทราบเพอ่ื จะนาของเสยี รวมไวใ้ นถงั เกบ็ รวมและนาถงั
ใหมม่ าเปลย่ี น
 กำรทำควำมสะอำด ภายนอกภาชนะบรรจขุ องเสยี ตอ้ งสะอาด หากมกี ารหกลน้ ออกมาตอ้ งเชด็ ให้
สะอาด

27

บทท่ี 5
วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ำรมำตรฐำน
(STANDARD OPERATING)

ขอ้ กำหนด (Requirement)

เพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ตั ิการในส่วนน้ีสอดคลอ้ งกบั แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ของ
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ควรจะตอ้ งจดั เตรยี มส่วนต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ีใหเ้รยี บรอ้ ย

 มกี ารเขยี นเกย่ี วกบั กฎความปลอดภยั เบ้อื งตน้
 มกี ารเขยี นเน้ือหาของ SOPs โดยทวั่ ไป
 มกี ารเขยี นเน้ือหาของ SOPs ในสว่ นของหอ้ งปฏบิ ตั ิการเฉพาะทาง
 มกี ารตดิ โปสเตอรช์ ้ใี หเ้หน็ วธิ หี รอื สถานทใ่ี นตาแหน่งการคน้ ขอ้ มลู MSDS
การปฏบิ ตั ิการเพ่อื ความปลอดภยั ในสถานท่ที างาน เป็นส่งิ จาเป็นเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ
เป็นส่ิงท่ีจาเป็นตอ้ งรู้ เขา้ ใจ และติดตามโดยบุคคลท่ีทางานเก่ียวกบั เคร่ืองมือและสารอนั ตรายเพ่ือท่ีจะใหเ้ กิดผล
ในทางปฏบิ ตั ิ จงึ จาเป็นจะตอ้ งพฒั นาและมเี อกสารตามวธิ ีปฏบิ ตั กิ ารมาตรฐาน (Standard Operating procedures,
SOPs) SOPs เป็นขอ้ กาหนดทางดา้ นเทคนิคเก่ียวกบั กระบวนการในหอ้ งปฏิบตั ิการและส่ิงท่ีจาเป็นเก่ียวกบั ความ
ปลอดภยั SOPs นน้ั สามารถแบง่ ได้ 3 ส่วนคือ
 กฎความปลอดภยั เบ้อื งตน้
 เน้ือหาของ SOPs โดยทวั่ ไป
 เน้ือหาของ SOPs ในสว่ นของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะทาง

กฎควำมปลอดภยั เบ้อื งตน้ (Basic Safety Rule)

การปฏบิ ตั ิตนในขณะปฏบิ ตั ิงานบางอย่างถอื ไดว้ ่าเป็นพ้นื ฐานเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการนน้ั ๆ
หรอื เป็นการปฏบิ ตั ทิ ่เี หมาะสมเมอ่ื ทางานเก่ยี วกบั สารเคมซี ง่ึ สามารถทาใหเ้กดิ อนั ตรายได้ (เช่น การสวมเคร่อื งป้องกนั
ตา/หนา้ กากท่ีเหมาะสม การปิดท่ีกน้ั ตูด้ ูดควนั เม่ือปฏิบตั ิงานในตูด้ ูดควนั เสร็จแลว้ ไม่สูบบุหร่ีหรือทานอาหารใน
บรเิ วณทใ่ี กลก้ บั สารอนั ตราย อ่นื ๆ) สง่ิ เหล่าน้ีเป็นสามญั สานึกปกตทิ เ่ี ป็นสง่ิ สาคญั ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ิ ถา้ หากไดม้ กี ารปฏบิ ตั ิ
ตามกฎเพ่ือความปลอดภยั เบ้อื งตน้ แลว้ แต่ยงั พบว่าการทางานเก่ียวกบั สารเคมีอนั ตรายบางตวั นนั้ มีความยุ่งยาก
ซบั ซอ้ น และบางครงั้ กไ็ ม่เคยหรอื รูว้ ธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นในการทางานกบั สารเคมตี วั นนั้ มาก่อน ดงั นน้ั จงึ จะตอ้ งปฏบิ ตั ิตาม
วธิ กี ารเพอ่ื ความปลอดภยั หรอื Safety Procedure ต่อไป

28

เน้ือหำโดยทวั่ ไปของ SOPs (General SOPs)

เน้ือหาโดยทวั่ ไปของ SOPs ส่วนใหญ่นามาจากการประยุกต์ SOPs ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหลาย ๆ แห่ง ซ่งึ อาจ
รวมถึงวิธีปฏิบตั ิการซ่งึ เป็นขอ้ กาหนดหรอื ขอ้ เสนอแนะของมหาวิทยาลยั ท่ใี ชก้ นั โดยทวั่ ไป อาจรวมถงึ วธิ ีปฏบิ ตั ิการ
เฉพาะ ซ่ึงใชส้ าหรบั เคร่ืองมอื ในหอ้ งปฎิบตั ิการบางตวั หรือสารเคมบี างชนิด แหล่งขอ้ มูลสาหรบั เน้ือหาของ SOPs
โดยทวั่ ไปนนั้ มาจากหนงั สอื อา้ งองิ เอกสารจากบรษิ ทั ผูผ้ ลติ สารเคมี และผูผ้ ลติ เคร่อื งมอื อปุ กรณ์ประกอบท่ใี ชใ้ นการ
ฝึกอบรม (เช่น วดี โี อเทป ซง่ึ สามารถหาไดจ้ ากหอ้ งสมดุ หรอื จาก EESH)

“ศูนยก์ ารจดั การดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ” หรือ EESH ของ มจธ. ได้
เสนอแนะใหป้ ฏบิ ตั ิตาม SOPs โดยทวั่ ไปซง่ึ สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นส่วนของการเกบ็ การใช้ และการจดั การของ
เสยี ของสารเคมี ซ่งึ อาจเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพและสภาพแวดลอ้ ม ผูท้ ่ีปฏบิ ตั ิงำนในหอ้ งปฏบิ ตั ิกำรทุกคนจำเป็ นท่ี
จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ำมวธิ ีปฏบิ ตั กิ ำรมำตรฐำนหรอื SOPs อยำ่ งเคร่งครดั ซง่ึ เน้ือหาของ SOPs โดยทวั่ ไปจะประกอบดว้ ย

1) ฉลากสารเคมี (Chemical Labels)
จะตอ้ งอ่านฉลากของสารเคมอี นั ตรายอยา่ งระมดั ระวงั เพอ่ื ใหเ้ขา้ ใจก่อนนามาใชท้ ุกครง้ั การเตรียมสารท่ี

เจอื จางจากสตอ๊ กของสารเคมอี นั ตรายนน้ั ๆ จะตอ้ งตดิ ฉลากบอกรายละเอยี ด ความเขม้ ขน้ และอนั ตรายของสารเคมี
ตวั นน้ั ใหช้ ดั เจน

2) ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ของสาร (Material Safety Data Sheets,MSDS)
ผูใ้ ชส้ ารเคมที ุกคนจะตอ้ งรูข้ อ้ ควรระวงั เก่ียวกบั ส่งิ ท่เี ป็นอนั ตรายซ่งึ เป็นคุณสมบตั ิเฉพาะของสารเคมี

เม่อื ใชส้ ารเคมเี หล่านนั้ ซ่งึ สามารถดูไดจ้ าก MSDS หรือ SDS ของสารเคมีชนิดนน้ั ซ่ึง MSDS หรือ SDS สาหรบั
สารเคมอี นั ตรายนน้ั ควรจะเกบ็ ไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ ภายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร MSDS หรือ SDS น้ีหาไดจ้ ากฐานขอ้ มลู ของ
มจธ. หรือโฮมเพจของ EESH โดยขอ้ มูลของ MSDS ควรจะรวมอยู่ในไฟลอ์ า้ งอิงของ ประจาหอ้ งปฏิบตั ิการ
โปสเตอรแ์ สดงตาแหน่งวธิ กี าร หรอื สถานท่ใี นการคน้ ขอ้ มลู ของ MSDS หรือ SDS ควรจะติดในทท่ี ่เี ห็นไดช้ ดั ในแต่
ละหอ้ งปฏบิ ตั ิการเพ่อื ใหก้ ารปฏิบตั สิ อดคลอ้ งตามมาตรฐานของ Federal Hazard Communication Standard ซ่งึ
เป็นมาตรฐานสากล โปสเตอรเ์ หลา่ น้ีจะหาไดจ้ าก EESH ของ มจธ.

3) อุปกรณป์ ้ องกนั สว่ นบุคคล (Personal Protective Equipment, PPE)
อุปกรณ์ป้ องกนั ส่วนบุคคลท่ีจาเป็นตอ้ งใชส้ าหรบั สารเคมีแต่ละชนิดนนั้ จะระบุไวใ้ นฉลากคาเตือน

อนั ตรายของสารเคมี หรือใน MSDS หรือ SDS (เช่นถุงมือนีโอปริน (neoprene) ผา้ กนั เป้ือน แว่นกนั สารเคมี
กระเด็นเขา้ ตา อ่นื ๆ ซ่งึ อาจจะกาหนดใหใ้ ชร้ ะหว่างท่ปี ฏบิ ตั ิการโดยใชส้ ารเคมนี นั้ อยู่ ขอ้ กาหนดของหอ้ งปฏิบตั ิการ
เก่ียวกบั อุปกรณ์ป้องกนั ส่วนบุคคลน้ีควรจะกาหนดโดยหวั หนา้ หอ้ งปฏิบตั ิการแต่ละแห่ง โดยคานึงถงึ อนั ตรายของ
สารเคมที ่อี าจจะเกิดข้นึ เป็นหลกั สาหรบั กรณีน้ีแต่ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารควรจดั ทาบญั ชชี นิดของอุปกรณ์ป้องกนั ส่วนบุคคล
ท่ีมีอยู่ว่าใชส้ าหรบั ทาอะไร และเก็บท่ีไหน โดยมีคู่มือแนะนาการทาความสะอาดการดูแลรกั ษา และการซ่อมแซม
รวมอยู่ดว้ ย

อปุ กรณ์ป้องกนั ส่วนบคุ คลจะประกอบไปดว้ ยอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการป้องกนั ตา, มอื และเทา้ ถา้ ไดร้ บั ขอ้ มลู
ไมเ่ พยี งพอจาก MSDS หรอื SDS หรอื แหลง่ อน่ื เก่ยี วกบั PPE ทต่ี อ้ งใชใ้ หต้ ดิ ต่อ EESH ของ มจธ. สาหรบั ความ
ช่วยเหลอื ทางดา้ นเทคนิค และใหด้ ูท่ี PPE Guideline สาหรบั ขอ้ มลู เพม่ิ เติมใน Homepage ของ EESH

29

4) อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการเกบ็ หรือบรรจุสารเคมี (Containment Devices)
ขอ้ แนะนาจากฉลากท่ตี ดิ มากบั ขวดบรรจุสารเคมี หรอื ขอ้ แนะนาจาก MSDS หรอื SDS ทเ่ี กย่ี วกบั

อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการบรรจหุ รอื จดั เกบ็ สารเคมชี นิดใดนนั้ (เช่น ตูด้ ูดควนั , glove box, ตเู้ยน็ ทนระเบดิ ) ใหถ้ อื เป็น
ขอ้ กาหนดทใ่ี ชส้ าหรบั การเกบ็ และการใชส้ ารเคมชี นิดนน้ั ๆ และตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามอย่างเคร่งครดั

5) ของเสยี เคมี (Chemical Waste)
ของเสยี เคมถี กู กาหนดไวว้ ่าจะตอ้ งถกู กาจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ระเบยี บเก่ยี วกบั สง่ิ แวดลอ้ มของทอ้ งถน่ิ น้ัน

ๆ และใหเ้ป็นไปตามระเบยี บของ มจธ. ว่าดว้ ยการจดั การของเสยี ภายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ซง่ึ ตอ้ งมกี ารแยกประเภทของ
เสยี และบนั ทกึ ปรมิ าณของเสยี แต่ละประเภท แต่ละวนั ก่อนนาไปใส่ไวใ้ นภาชนะบรรจุของเสยี ทต่ี ดิ ฉลากแยกประเภท
ไวแ้ ลว้ ต่อจากนนั้ จงึ จะเป็นขน้ั ตอนการบาบดั ของเสยี ขนั้ ตน้ ในของเสยี บางประเภท ซง่ึ จะระบไุ วใ้ นคู่มอื การจดั แยก
ประเภทและการจดั เกบ็ ของเสยี ภายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของมจธ. ซง่ึ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามโดยเครง่ ครดั ไมค่ วรท้งิ ของเสยี เคมี
ลงในทอ่ นา้ ท้งิ โดยทไ่ี มไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิการขอ้ กาหนดทใ่ี หไ้ วโ้ ดย EESH

เน้ือหำของ SOPs ในสว่ นของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำรเฉพำะทำง (Lab- Specific SOPs)

ทกุ ๆ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรอื กลุ่มหอ้ งปฏบิ ตั ิการจะมเี ครอ่ื งมอื วธิ กี ารหรอื สารเคมบี างอย่าง ซง่ึ มอี นั ตราย
เฉพาะอย่าง ซง่ึ ไมม่ กี าหนดไวโ้ ดยวธิ ปี ฎบิ ตั กิ ารมาตรฐานทวั่ ไป (General SOPs) หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแต่ละหอ้ ง
ควรจดั การตามความเหมาะสมในสง่ิ เหลา่ น้ีและจดั ทา SOPs เฉพาะทางในสว่ นของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของตนเองข้นึ มา
เฉพาะ สาเนาของ SOPs เฉพาะทางเหลา่ น้ีควรจะเก็บไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ ประจาหอ้ งปฎบิ ตั กิ าร

* ขอ้ พจิ ำรณำทจ่ี ะกลำ่ วถงึ ตอ่ ไปน้ีจะช่วยในกำรจดั ทำ SOPs ในสว่ นของหอ้ งปฏบิ ตั ิกำรเฉพำะทำงสำหรบั
กำรปฏบิ ตั งิ ำนเกย่ี วกบั สำรเคมีท่ีเป็นอนั ตรำยได้

1) พจิ ำรณำถงึ กระบวนกำรทำงเคมี (Consider the chemical process)
 คานึงถงึ ปฏกิ ิรยิ าทอ่ี าจเกิดข้นึ ไป ปฏกิ ริ ยิ าขา้ งเคยี ง โดยจดั ทารายการปฏกิ ริ ยิ าเหลา่ น้ีไวก้ ่อนเรม่ิ

ปฏบิ ตั งิ าน
 คานึงถงึ ตวั ทาปฏกิ ริ ยิ า intermediate และผลติ ภณั ฑใ์ นเร่ืองของการตดิ ไฟ (flammability)

ความเป็นพษิ (toxicity) และปฏกิ ริ ยิ าอนั ตราย (reactivity) ท่จี ะเกดิ ข้นึ โดยจะพจิ ารณาถงึ สง่ิ เหลา่ น้ี
- สามารถย่อยสลายไดห้ รอื ไม่ ถา้ ไดใ้ ชเ้วลาเท่าไร และไดผ้ ลติ ภณั ฑอ์ ะไร
- ความเสถยี รเป็นอยา่ งไร เมอ่ื ท้งิ ไวใ้ นทท่ี ม่ี อี ากาศรอ้ น มแี สง ในนา้ โลหะ อ่นื ๆ
- ไวต่อการกระทบหรอื ไม่
- อยู่รวมกบั สารใดไมไ่ ด้ และจะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าอะไร
- เป็นพษิ หรอื ไม่ ถา้ ใช่เป็นชนิดใด (เป็นพษิ ต่อระบบทางเดนิ หายใจ ระบบยอ่ ยอาหาร ระคาย
เคอื งผวิ หนงั ) จะตอ้ งป้องกนั อย่างไร
- ขอ้ แนะนาในการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ เมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตขุ ้นึ

30

 จะตอ้ งทราบในสง่ิ ต่อไปน้ี เช่น การฝึกใชเ้กย่ี วกบั อปุ กรณป์ ้องกนั ต่าง ๆ การดูแลรกั ษาการใช้
สารเคมที เ่ี ป็นอนั ตราย และการใชอ้ ปุ กรณ์ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอย่างถกู ตอ้ ง

 หาปรมิ าณและอตั ราการหมนุ เวยี นของความรอ้ นและกา๊ ช ซง่ึ อาจจะถกู ปลอ่ ยออกมาระหว่างการทา
ปฏกิ ริ ยิ า โดยใชข้ อ้ มลู ทาง kinetic และ thermodynamic จากปฏกิ ิรยิ าเคมที เ่ี กดิ ข้นึ

2) คำถำมเกย่ี วกบั กระบวนกำรทำงพลวตั หรอื dynamic (Question the process dynamic)
 ความรุนแรงทจ่ี ะเกดิ ข้นึ
 ผลของตวั เร่งปฏกิ ริ ยิ าและตวั ยบั ยงั้ คอื อะไร
 อากาศมผี ลกระทบต่อปฏกิ ิรยิ าอย่างไร
 ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ป็นของเสยี จะใชห้ รือกาจดั ไดถ้ ูกตอ้ งอย่างไร

3) กำรวำงแผนเกย่ี วกบั ควำมไม่แน่นอนทจ่ี ะเกดิ ข้ึน (Develop contingency plan)
 ระบบกระแสไฟฟ้าขดั ขอ้ ง
 ระบบทาความเยน็ เสยี
 ระบบดูดไอเสยี ไมท่ างาน
 ระบบความดนั สูงกว่าปกติ
 มนี า้ รวั่ เขา้ ไปในระบบ
 มอี ากาศรวั่ เขา้ ไปในระบบ
 เกดิ การลกุ ไหมเ้น่ืองจากปฏกิ ริ ิยาทเ่ี กดิ ข้นึ (มเี ครอ่ื งดบั เพลงิ ทเ่ี หมาะสมอยู่ใกลบ้ รเิ วณใกลเ้ คียง
หรอื ไม)่
 ภาชนะหรอื อปุ กรณ์ทใ่ี ชท้ าปฏกิ ริ ิยาแตกหรอื สารเคมหี ก ตก หล่นขณะทาปฏกิ ิรยิ า

4) วธิ กี ำรปฏบิ ตั กิ ำรระหว่ำงกระบวนกำรทดลอง (During the process)
1. จดั หาสง่ิ เหล่าน้ีใหเ้พยี งพอ: เคร่อื งทาความเยน็ การระบายอากาศ การลดความดนั และการฟอกอากาศ
2. แยกภาชนะทท่ี าปฏกิ ริ ิยาออกถา้ เป็นไปได้ และตรวจสอบอปุ กรณ์ทใ่ี ชบ้ อ่ ยครงั้ ในระหวา่ งการทาปฏกิ ริ ยิ า
3. ตดิ ฉลากคาเตอื นทเ่ี หมาะสมใกลก้ บั อปุ กรณท์ เ่ี ป็นอนั ตราย
4. ใหข้ อ้ มลู กบั ผูร้ ่วมงานท่ที างานอ่นื ในบรเิ วณใกลเ้คยี ง เก่ียวกบั สารเคมที ใ่ี ช้ และอนั ตรายทอ่ี าจเกิดข้นึ ได้
5. ใหอ้ ยู่ในบรเิ วณและทาการควบคุมระบบ ซง่ึ จะทาใหท้ ราบถงึ สง่ิ ผดิ ปกตทิ เ่ี ป็นอนั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ ข้นึ ได้
6. ใหร้ ายงานสง่ิ ผดิ ปกตแิ ละอบุ ตั เิ หตุทเ่ี กดิ ข้นึ ในทนั ที
7. อปุ กรณบ์ างอยา่ งของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารจะมอี นั ตรายเฉพาะ ซง่ึ จะตอ้ งทา SOPs ของการใชอ้ ปุ กรณน์ น้ั

เพอ่ื ใหแ้ น่ใจในความปลอดภยั ของผูใ้ ช้ โดยทาในลกั ษณะเดียวกบั สาหรบั การทา SOPs ของอปุ กรณเ์ ฉพาะชนิดอ่นื

31

5) อนั ตรำยเฉพำะทำงและวธิ ีปฏบิ ตั กิ ำร (Special hazard and Procedure)
หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแต่ละแห่งควรจะมกี ารแยกช้ชี ดั และเตรยี มรายการของอปุ กรณเ์ ครอ่ื งใช้ ทม่ี อี นั ตราย

เฉพาะทางแยกออกมาใหเ้หน็ และจดั ทาวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องอปุ กรณห์ รอื สารเคมที อ่ี นั ตรายเฉพาะทางเหลา่ น้ีออกมา เพอ่ื ท่ีจะ
ไดม้ กี ารดูแลจดั การเป็นพเิ ศษต่อไป ตามมาตรฐานของหอ้ งปฏบิ ตั ิการของ OSHA ไดเ้สนอแนะวา่ อปุ กรณห์ รอื สารทม่ี ี
อนั ตรายเฉพาะทางเหลา่ น้ีหมายรวมถงึ พษิ ท่มี ผี ลต่อระบบสบื พนั ธุ์ (reproductive toxins) วตั ถทุ เ่ี ป็นพษิ อย่างแรง
และเกดิ ผลทนั ที และสารก่อมะเรง็ (Select Carcinogen) รายการและความเป็นพษิ รวมถงึ วธิ กี ารปฏบิ ตั ขิ องสาร
อนั ตรายเฉพาะทางบางตวั น้ีควรจะอยู่ในสมดุ บนั ทกึ ตามมาตรฐานหอ้ งปฏบิ ตั ิการของ OSHA กาหนดใหพ้ จิ ารณาใน
สง่ิ ต่อไปน้ี

1. จดั ใหม้ บี รเิ วณพเิ ศษสาหรบั เกบ็ การทางาน และการใชง้ าน
2. เครอ่ื งมอื หรอื อปุ กรณท์ ใ่ี ชบ้ รรจทุ เ่ี หมาะสมขณะปฏบิ ตั งิ าน เช่น ตดู้ ูดควนั หรอื glove box
3. วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเคลอ่ื นยา้ ยของเสยี ท่ปี นเป้ือนอยา่ งปลอดภยั
4. วธิ ปี ฏบิ ตั ิการแยกสง่ิ ปนเป้ือน
การพจิ ารณาควรคานึงถงึ สภาพการใชง้ าน อนั ตรายทเ่ี กดิ กบั ผวิ หนงั อนั ตรายจากการสูดดม การใชอ้ ุปกรณ์
ป้องกนั สว่ นบคุ คล ระบบการไหลเวยี นของอากาศ สญั ญาณเตอื น สง่ิ ทใ่ี ชใ้ นการควบคุมการปนเป้ือน เช่น glove box
วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารแยกสง่ิ ปนเป้ือนและการจดั การของเสยี การกาหนดหวั ขอ้ เฉพาะต่าง ๆ เหลา่ น้ีควรมกี ารปรกึ ษาหารอื โดย
ผูร้ ูห้ ลาย ๆ คน แลว้ ทาการสรุปออกมาเป็นวธิ ปี ฏบิ ตั กิ าร ก่อนทจ่ี ะนามาปฏบิ ตั จิ รงิ
ตามมาตรฐานหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของ OSHA กาหนดใหห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารใดกต็ ามทม่ี กี ารใชส้ ารอนั ตรายต่าง ๆ
ปฏบิ ตั ิตามขอ้ กาหนดเพอ่ื ความปลอดภยั เป็นพเิ ศษของพนกั งานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนนั้ ๆ โดยตอ้ งมกี ารกระทาท่ี
ช้ใี หเ้หน็ วา่ มกี ารป้องกนั อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ข้นึ โดยวธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษและมเี คร่อื งมอื อปุ กรณ์ทใ่ี ชค้ วบคุม/ป้ องกนั เป็น
พเิ ศษอยู่ครบถว้ นแลว้ จงึ จะมกี ารลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารจรงิ ได้
การใหค้ วามหมายหรอื ช้ชี ดั ใหเ้หน็ เกย่ี วกบั สารเคมบี างตวั ทจ่ี ดั ประเภทไวใ้ นสารเคมอี นั ตรายเฉพาะทางนนั้ มี
ขอ้ กาหนดทไ่ี มแ่ น่นอน แต่สารเคมที ม่ี คี ุณสมบตั เิ ป็นไปตามขอ้ กาหนดดงั กลา่ วถงึ ต่อไปน้ีใหถ้ อื วา่ เป็นสารเคมที ่ีตอ้ งมี
การควบคุมเฉพาะและมวี ธิ ีปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะ
 สารเคมที ม่ี คี วามเป็นพษิ เมอ่ื เขา้ ปากหรอื กิน ถกู ผวิ หนงั ทางเดินหายใจ ตามคานิยามในมาตรฐาน
เก่ยี วกบั สารอนั ตรายของ OSHA
 สารเคมที จ่ี ดั อยู่ในขอ้ ใดขอ้ หน่ึงต่อไปน้ี
- สารก่อมะเรง็ หรอื carcinogen ทก่ี าหนดโดย OSHA
- อยู่ในรายการของ National Toxicology Program (NTP) ทเ่ี ป็น carcinogenic
- อยูใ่ นรายการของ NTP ท่คี าดวา่ จะเป็น Carcinogenic
- Carcinogen กลมุ่ หน่ึงในรายการของ International Agency for Research on Cancer
(IARC)
- Carcinogen กลมุ่ 2 A หรอื 2 B ตามรายการของ IARC

32

- สารเคมชี นิดใดกต็ ามทเ่ี ป็นสารเหตใุ หเ้กดิ ความเป็นพษิ ตาม Safe Drinking Water and
toxic Enforcement Act of 1986

- สารเคมอี ่นื ๆ ท่หี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารพบวา่ มอี นั ตราย
- สาหรบั สารผสมอาจจะยกเวน้ ไดเ้มอ่ื มสี ารพษิ นอ้ ยกว่า 1% โดยนา้ หนกั และนอ้ ยกวา่ 0.1 %

โดยนา้ หนกั สาหรบั สารทค่ี าดว่าเป็น Carcinogen และสารทท่ี าใหเ้กดิ อนั ตรายข้นึ โดยทไ่ี มม่ ี
ขอ้ มลู ทบ่ี ง่ บอกว่าสารผสมนน้ั มกี ารกาหนดความเสย่ี งของบคุ ลากรทป่ี ฏบิ ตั ิการ
หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรือผูท้ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย จะตอ้ งเป็นผูร้ บั ผดิ ชอบในการกาหนดสารเคมที เ่ี ป็นอนั ตราย
เฉพาะ เม่ือมีการกาหนดแลว้ จะตอ้ งมวี ิธีการปฏิบตั ิท่ีสามารถลงมอื ปฏิบตั ิไดจ้ ริงในหอ้ งปฏิบตั ิการในส่วนของวิธี
ปฏิบตั ิการ การฝึกหดั และอุปกรณ์ท่มี ีประสิทธิภาพ เพ่ือใชใ้ นการขจดั อนั ตรายท่อี าจเกิดข้นึ วธิ ีปฏิบตั ิการและการ
ฝึกหดั เหล่าน้ีอย่างนอ้ ยท่สี ุดควรประกอบไปดว้ ยการกาหนดบริเวณ การกาหนดอุปกรณ์ในการบรรจุหรือเก็บขณะ
ปฏบิ ตั ิงาน เช่น ตูค้ วนั glove box วธิ ีปฏบิ ตั ิการเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดุอุปกรณ์อย่างปลอดภยั การแยกส่งิ ปนเป้ือน หรอื มี
การเหน็ ชอบร่วมกนั ในวธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเฉพาะทางก่อนลงมอื ปฏบิ ตั ิ

33

บทท่ี 6
กำรฝึกอบรมเร่อื งควำมปลอดภยั

(SAFETY TRAINING)

ขอ้ กำหนด

เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล งานในส่วนน้ีของนโยบายนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร จะตอ้ งดาเนินการงานในส่วนต่าง ๆ ต่อไปน้ีใหเ้สรจ็ เรยี บรอ้ ย

1. พนกั งานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทง้ั หมดตอ้ งเขา้ รบั การฝึกอบรมและใหค้ วามสนใจกบั การฝึกอบรมเรอ่ื งความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอย่างจรงิ จงั ตามกฎระเบยี บของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ดงั ทก่ี าหนด
ไวโ้ ดยศูนยก์ ารจดั การดา้ นพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH)

2. ในการฝึกอบรมสาหรบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทเ่ี ฉพาะทางสาหรบั วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเฉพาะในการปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
กบั สารเคมอี นั ตราย เช้อื ทก่ี ่อใหเ้กดิ โรคในทางชวี ภาพ และอปุ กรณต์ ่าง ๆ ทส่ี ามารถก่อใหเ้กดิ อนั ตรายได้

3. ตอ้ งมกี ารทาเอกสารและบนั ทกึ การทางานอยา่ งต่อเน่ืองของการฝึกอบรมทงั้ หมดทท่ี าข้นึ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

การฝึกอบรมเป็นส่วนประกอบท่ีสาคญั สาหรบั โปรแกรมความปลอดภยั ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ การฝึกอบรมเหลา่ น้ี
เป็นสง่ิ ทก่ี าหนดข้นึ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล และเป็นทย่ี อมรบั ตามกฎหมายว่าดว้ ยความปลอดภยั ในการ
ทางาน รวมถงึ กฎระเบยี บของ มจธ. ดว้ ย

หลกั สูตรฝึกอบรมความปลอดภยั ในการทางานหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและโรงประลอง

1. การฝึกอบรมคน้ ความปลอดภยั และป็นไปตามมอ้ ดาหนดสาหรบั นกั วจิ ยั
- นโยบายดา้ นความปลอดภยั และมาตรฐานการบฏบิ ตั งิ าน มจร.
- กฏหมายและมาตรฐานคน้ ความปลอดภยั ในประทศและตาางประเทศ
- Guidelines on Laboratory Safety และ Responsible Conduct of Research
- Safety in Laboratories
- Biosafety
- มาตรฐานการวจิ ยั ของประเทศ

2. ความปลอดภยั ในการท่างานกบั สารเคมแี ละสารชวิ ภาพ
- นโยบายดา้ นความปลอดภยั มจร. และฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั คน้ ความปลอดภยั
ในการทางานหอ้ งปฏบิ ตั ิการและโรงประลอง มจธ.
- กฏหมายของไทยท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การควบคุมกากบั ดูแลการใชส้ ารอนั ตราย
- มาตรฐานการทางานวจิ ยั ของ มจธ
- การทางานอย่างดูกตอ้ งและปลอดภยั ในหอ้ งบฏบิ ตั ิการ

34

- การจดั การสารเคมแี ละของเสยี อนั ตราย
- Sustainable Development Goals 2030
3. ความปลอดภยั ในการทางานในโรงงานอตสาหกธรม
- ความปลอดภยั ในการทางานในโรงงานอตุ สาหกรรม
- ความปลอดภยั ในการทางานกบั เครอ่ื งมอื ในกระบวนการผลติ
- Plant Control Technique
- บญั ญตั ิ 10 ประการ ของงานความปลอดภยั
4. ความปลอดภยั ในการทางานกบั คร่อื งมอื เครอ่ื งจกั ราล
- ความปลอดภยั ในการทางานกบั เคร่อื งจกั รเคร่อื งกล
- การใชเ้ครอ่ื งมอื ขนาดเลก็ และการบารุงรกั ษา
5. ความปลอดภยั ในการทางานเกย่ี วกนั ไฟฟ้า
- อนั ตรายจากกระแลไฟฟ้า
-GROUNDING SYSTEMS
- Safety Lock out /Tag out
- อนั ตรายจากไฟดูดและการปฐมพยาบาลเบ้อื งตนั
การสอบ Safety test และ เงอ่ื นไขในการเขา้ สอบ
1. ผูม้ สี ทิ ธ์สิ อบตอ้ งเขา้ ร่วมการฟีกอบรมในเวลาไมน่ อ้ ยกว่า 90 %
2. ตอ้ งไดร้ บั คะแนนไมน่ อ้ ยกว่า 70 % จงึ จะมสี ทิ ธิไดร้ บั Safety Card ซง่ึ มอี ายุ 2 ปิ

ขอ้ กาหนดตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทใ่ี ชส้ ารเคมอี นั ตรายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
 บรษิ ทั ทผ่ี ลติ สารเคมตี วั น้ีตอ้ งประเมนิ อนั ตรายของสารเคมตี ่าง ๆ ทบ่ี รษิ ทั ผลติ ข้นึ ใหก้ บั ผูใ้ ชท้ ราบ
 บริษทั ผูผ้ ลิตสารเคมีและผูใ้ ชส้ ารเคมีตอ้ งแจง้ ขอ้ มูลรายละเอียดอนั ตรายของสารเคมีในสถานท่ี
ปฏิบตั ิงานใหพ้ นกั งาน/ผูป้ ฏิบตั ิการทราบโดยเอกสารหรือโปรแกรมการแจง้ ขอ้ มูลอนั ตรายใน
สถานทท่ี างาน
 โปรแกรมการแจง้ ขอ้ มลู อนั ตรายในสถานทท่ี างาน ตอ้ งประกอบดว้ ยการตดิ ฉลากสารเคมอี นั ตราย
เอกสารขอ้ มลู เพอ่ื ความปลอดภยั (MSDS) สญั ญลกั ษณเ์ ตอื นถงึ อนั ตราย (warning signs) และ
การฝึกอบรมพนกั งาน
 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี ไดเ้ผยแพร่ขอ้ กาหนดวา่ ดว้ ยกฎหมายทต่ี อ้ งรู้ (Right-
to Know) ใหท้ กุ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตอ้ งแสดงรายการของสารเคมอี นั ตรายทม่ี เี กบ็ ไวท้ ง้ั หมดเป็นประจา
ทกุ หกเดอื น ดว้ ยขอ้ มลู ทส่ี ามารถคน้ หาไดง้ า่ ย เพอ่ื ใชใ้ นกรณีเกดิ อบุ ตั เิ หตุหรอื เกดิ ภาวะฉุกเฉิน

35

ขอ้ กาหนดตามมาตรฐานว่าดว้ ยความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (The Laboratory Safety Standard
Legislation require)

 การบง่ ช้ถี งึ ชนิดของอนั ตราย
 มจธ. ตอ้ งควบคุมดูแลพนกั งาน/ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของมจธ. ใหไ้ ดร้ บั สารเคมชี นิดต่าง

ๆ ตา่ กว่าระดบั ทอ่ี นุญาตใหไ้ ดร้ บั สารเคมชี นิดนนั้ ๆ
 มจธ. ตอ้ งเขยี นและส่งเสรมิ ใหม้ กี ารลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ ตาม แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั

ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ทวั่ ไปหรอื เฉพาะทาง ประกอบดว้ ย การฝึกงานท่จี าเป็น วธิ ีปฏบิ ตั ิการและ
นโยบายต่าง ๆ เพ่ือใหแ้ น่ใจว่าพนกั งาน/ผูป้ ฏิบตั ิงานในหอ้ งปฏิบตั ิการไดร้ บั การคุม้ ครองจาก
สารเคมที เ่ี ป็นอนั ตรายทกุ ตวั ทใ่ี ชใ้ นสถานทท่ี างาน
 การฝึกอบรมพนกั งาน/ผูป้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งคานึงถงึ อนั ตรายของสารเคมที ใ่ี ชใ้ นสถานทท่ี างาน
 มกี ารใหค้ าปรกึ ษาและตรวจสุขภาพประจาปี โดยแพทยเ์ ฉพาะทาง
 มกี ารใชเ้คร่อื งกรองอากาศหรอื หนา้ กากกรองอากาศ (respirator) ทเ่ี หมาะสม
 มกี ารบนั ทกึ เก็บขอ้ มลู

องคป์ ระกอบของหอ้ งปฏบิ ตั ิการปลอดภยั ตามโครงการยกระดบั มาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั
ในประเทศไทย (Enhancement of Safety Practice of Research Laboratory in Thailand,ESPReL)

กรอบคิดของหอ้ งปฏิบตั ิการปลอดภยั ประกอบดว้ ย 7 องค์ประกอบท่ีเช่ือมโยงกนั อย่างเป็นระบบ
ประกอบดว้ ย

1) การบริหารระบบการจดั การดา้ นความปลอดภยั
2) ระบบการจดั การสารเคมี
3) ระบบการจดั การของเสยี
4) ลกั ษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร อปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื
5) ระบบการป้องกนั และแกไ้ ขภยั อนั ตราย
6) การใหค้ วามรูพ้ ้นื ฐานเกย่ี วกบั ดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
7) การจดั การขอ้ มลู และเอกสาร

ศึกษาเพม่ิ เตมิ ท่ี : http://esprel.labsafety.nrct.go.th/book.asp

36

การฝึกอบรมโดยผูแ้ ทนของ ศูนยก์ ารจดั การดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั
(EESH)

พนกั งานหรือผูป้ ฏิบตั ิงานในหอ้ งปฏบิ ตั ิการทง้ั หมดรวมถึงนกั ศึกษาไดถ้ ูกกาหนดใหเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมใน
เร่ืองมาตรฐานความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ (Laboratory Safety Standard) ก่อนท่ีจะไดร้ บั อนุญาตใหเ้ ขา้
ปฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และจากนน้ั จะตอ้ งทาการฝึกอบรมอกี อย่างนอ้ ยทุก ๆ 2 ปี หลงั จากการฝึกอบรมครงั้ แรก
โดยการฝึกอบรมจะจดั ทาข้นึ โดยศูนยจ์ ดั การดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH) ซง่ึ
จะมตี ารางฝึกอบรมบคุ ลากรทกุ เดอื น โดยแต่ละหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารจะตอ้ งทาการนดั หมายลว่ งหนา้ อย่างนอ้ ยหน่ึงเดอื น

37

กำรฝึกอบรมดำ้ นควำมปลอดภยั อน่ื ๆ (Other Safety Training)

คณะกรรมการปฏิบตั ิงานดา้ นส่งิ แวดลอ้ มความปลอดภยั และสุขภาพของ มจธ. ไดม้ นี โยบายท่จี ะใหม้ กี าร
ฝึกอบรมดา้ นความปลอดภยั อ่นื ๆ ใหก้ บั บคุ ลากรของ มจธ. ซ่งึ รวมถงึ การฝึกอบรมดา้ นการป้องกนั อคั คีภยั และการ
ฝึกอบรมการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ โดยขอความร่วมมือจากหน่วยดบั เพลิงเขตทุ่งครุ ราษฎรบ์ ูรณะ และจาก
โรงพยาบาลพระป่ินเกลา้ ช่วยเป็นวทิ ยากรในการฝึกอบรมดงั กลา่ ว ทง้ั น้ีเพ่อื ความปลอดภยั ของบุคลากร มจธ. ทุกคน
ซง่ึ พนกั งาน/ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทผ่ี ่านการฝึกอบรมดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอย่างนอ้ ย 1 ปีแลว้
ควรเขา้ ร่วมฝึกอบรมความปลอดภยั ดา้ นเหลา่ น้ี

เอกสำรกำรฝึกอบรม (Documentation of Traning)

เป็นหนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบของหวั หนา้ หอ้ งปฏิบตั ิการ ทต่ี อ้ งแน่ใจว่าพนกั งานผูป้ ฏบิ ตั ิงานทุกคนไดร้ บั การ
ฝึกอบรมภาคปฏิบตั ิการจากผูท้ ่ีไดร้ บั มอบหมายมา ซ่ึงจดั เตรียมโดย EESH หรือผ่านการฝึกอบรมดา้ นความ
ปลอดภยั ท่ีจาเป็นจาก EESH เรียบรอ้ ยแลว้ ผูจ้ ดั การหอ้ งปฏิบตั ิการจะตอ้ งเก็บบนั ทึกการฝึกอบรมต่าง ๆ ของ
พนกั งาน/ผูป้ ฏบิ ตั ิงานในหอ้ งปฏบิ ตั ิการของตนเองเอาไวด้ ว้ ย บนั ทกึ เหลา่ น้ีจะตอ้ งจดั ทาอย่างต่อเน่ือง และบนั ทกึ การ
ฝึกอบรมเหลา่ น้ีควรจะเกบ็ ไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ ประจาหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนน้ั ๆ

กำรฝึกอบรมกำรปฏบิ ตั ิกำรเฉพำะทำง (Laboratory-Specific Traning)

นอกเหนือจากการฝึกอบรมซง่ึ จดั โดย EESH แต่ละหอ้ งปฏิบตั ิการกส็ ามารถท่จี ะจดั ใหม้ กี ารฝึกอบรมและ
ปฏบิ ตั ิการฝึกอบรมข้นึ จริงในโปรแกรมการฝึกอบรมเฉพาะทาง ซ่งึ การฝึกอบรมเฉพาะทางน้ีควรจะครอบคลุมไปถึง
การฝึกปฏบิ ตั งิ านทจ่ี าเป็น วธิ ีปฏบิ ตั ิการ และนโยบายเพ่อื ใหแ้ น่ใจว่าพนกั งานหรอื ผูป้ ฏบิ ตั ิงานไดร้ บั การคุม้ ครองจาก
อนั ตรายท่เี กิดข้นึ เน่ืองจากสารเคมี เช้อื ก่อโรค และวสั ดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ใี ชใ้ นสถานทท่ี างาน ท่จี ะสามารถก่ อใหเ้กิด
อนั ตรายกบั พวกเขาได้ การฝึกอบรมควรจดั ทาข้นึ โดยวิทยากรท่ีมีความรูค้ วามชานาญและเขา้ ใจอย่างถ่องแทถ้ ึง
อนั ตรายท่จี าเพาะทง้ั หมดท่มี อี ยู่ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการนนั้ โปรแกรมการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการและผูเ้ขา้ ร่วมฝึกอบรมใน
แต่ละโปรแกรมนน้ั จะตอ้ งมกี ารจดั ทาเอกสารใหค้ รบถว้ นแลว้ นามาแนบไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ กลุม่ การ
วจิ ยั ส่วนใหญ่จะมกี ารจดั ประชุมเป็นประจาในแต่ละเดือนเพ่ือพูดคุยกนั ถึงแผนการวิจยั และความกา้ วหนา้ การนา
หวั ขอ้ เร่อื งความปลอดภยั พ้นื ฐานมาเป็นส่วนหน่ึงของการประชมุ ทุกครง้ั เช่น การประชมุ ประจาเดอื นจงึ เป็นส่ิงท่คี วร
กระทาและทาใหบ้ งั เกดิ ประสทิ ธผิ ลในดา้ นความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ

รายการดงั ท่ีจะกล่าวถึงต่อไปน้ีเป็นหวั ขอ้ ความปลอดภยั ซ่ึงเป็นขอ้ เสนอแนะสาหรบั นามาวิจารณ์หรือถก
ปญั หากนั ซ่ึงสามารถใชเ้ ป็นแนวทางปฏิบตั ิท่ีเป็นไปไดใ้ นการนามาใชก้ บั การฝึกอบรมปฏิบตั ิการเฉพาะทางของ
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารต่อไป

38

1) บทนำ (Introduction)
อ่านแผน แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้

ธนบุรี ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทงั้ หมด จะเหน็ ภาพรวมของ แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ.
มาตรฐานความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ และวิธีปฏิบตั ิการมาตรฐานหรือ SOPs กาหนดท่ีเก็บสมุดบนั ทึกใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหช้ ดั เจน ซ่งึ จะทาใหพ้ นกั งานหรอื ผูป้ ฏบิ ตั งิ านทง้ั หลายสามารถใชเ้ป็นเอกสารอา้ งองิ ไดง้ า่ ยเมอ่ื ตอ้ งการ
ใช ้

2) ทบทวนขอ้ มลู เก่ยี วกบั เหตฉุ ุกเฉิน (Emergencies)
ทบทวนขอ้ มลู เก่ียวกบั เหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ท่อี ยู่ใน แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ

ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ หาคาตอบของคาถามต่าง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั เหตุฉุกเฉินท่เี กิดข้นึ อาทิเช่น คุณมเี คร่ืองดบั เพลิง
ชนิดต่าง ๆ ท่คี ุณจาเป็นตอ้ งใชห้ รือยงั คุณมคี วามรู/้ ความสามารถในการขจดั หรือการทาความสะอาดสารท่ีหกลน้
ออกมาหรือไม่ คุณมชี ุดปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ประจาหอ้ งปฏบิ ตั ิการหรือไม่? จดั ทาวกี ารปฏิบตั ิเพ่ือดูแลรกั ษาความ
ปลอดภยั ในดา้ นการล็อคประตู วางแผนว่าจะตอ้ งทาอะไรบา้ งเม่อื เกิดเหตุการณ์ไฟดบั วางแผนการอพยพผูค้ นใน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการออกจากสถานท่ีอนั ตรายเมอ่ื เกิดเหตุฉุกเฉิน ซง่ึ รวมถงึ ว่าจะตอ้ งปิดระบบอะไรบา้ ง และจะใหอ้ ะไรบา้ ง
ทางานเมอ่ื เกดิ เหตฉุ ุกเฉิน ปรบั ขอ้ มลู ในส่วนของเหตฉุ ุกเฉินใน สมดุ บนั ทกึ ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการใหท้ นั เหตกุ ารณ์และทา
ใหส้ มบูรณ์

3) ผูม้ ีหนำ้ ท่รี บั ผิดชอบ (Reponsible Persons)
ไดม้ กี ารจดั แบง่ หนา้ ทต่ี ่าง ๆ ทเ่ี หมาะสมดา้ นความปลอดภยั ใหท้ กุ คนมสี ่วนร่วมใหแ้ ก่ผูท้ างานภายใน

หอ้ งปฏบิ ตั ิการหรอื ไม่และแต่ละคนไดร้ บั หนา้ ทเ่ี หลา่ นน้ั ไดท้ าหนา้ ทท่ี ่ไี ดจ้ ดั แบง่ ใหไ้ ดเ้ป็นอยา่ งดหี รอื ไมใ่ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
ของทา่ น

4) กฎควำมปลอดภยั ขน้ั พ้นื ฐำน (Basic Safety Rules)
ทบทวนในสว่ นของวสั ดุอปุ กรณ์ต่าง ๆ เพอ่ื ความปลอดภยั ในภาคอา้ งองิ ของ แผนการดาเนินงานดา้ นความ

ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. โดยหาคาตอบในคาถามต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั งานในส่วนน้ี จดบนั ทกึ กฎขอ้ บงั คบั
ต่าง ๆ ทม่ี คี วามสาคญั เฉพาะกบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของตนเอง กาหนดพ้นื ทเ่ี ฉพาะสาหรบั การบรโิ ภคอาหารภายใน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการซง่ึ ตอ้ งไมใ่ หม้ กี ารปนเป้ือนสารเคมอี ย่างเดด็ ขาด ใชร้ ะบบ buddy system คอื ตอ้ งมเี พอ่ื นทางานดว้ ย
ทกุ ครง้ั หากตอ้ งทางานนอกเวลาหลงั เบกิ งานปกติ วจิ ารณ/์ ถกกนั เรอ่ื งวธิ กี ารเพอ่ื ความปลอดภยั บางอยา่ งทไ่ี มค่ อ่ ยมี
ผูส้ นใจปฏบิ ตั ิ พฒั นากฎความปลอดภยั ขน้ั พ้นื ฐานต่าง ๆ ทจ่ี าเพาะเฉพาะหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนนั้ ๆ และบนั ทกึ ไวใ้ นสมดุ
บนั ทกึ
5) รำยกำรสำรเคมี (Chemical Inventories)

ทบทวนรายการสารเคมตี ่าง ๆ ทอ่ี ยูใ่ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของตนเอง ดูวนั สารวจรายการสารเคมคี รงั้ สุดทา้ ย
เมอ่ื ไหร่ พจิ ารณารายการสารเคมที ส่ี ารวจเพอ่ื ตรวจความเรียบรอ้ ย วางแผนการการตรวจเชค็ รายการสารเคมคี รง้ั
ถดั ไป หาวธิ กี ารท่เี หมาะสมในการกาจดั สารเคมที ไ่ี มไ่ ดใ้ ชแ้ ลว้ หรอื เสอ่ื มสภาพแลว้

39

6) โครงกำรกำรจดั กำรของเสยี (Waste Disposal Program)
ทบทวนวธิ กี ารจดั การของเสยี ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี ทจ่ี ดั ทาโดย EESH ของ มจธ.

ทก่ี าหนดไวใ้ นไฟลอ์ า้ งองิ ของ แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. โดยถกปญั หาและผนวก
หรอื เพม่ิ เตมิ และตอบคาถามของปญั หาต่าง ๆ ทม่ี สี ่วนเกย่ี วขอ้ งในการจดั การของเสยี หอ้ งปฏบิ ตั ิการของตนเองว่าใน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการนน้ั ๆ ทาการติดฉลากบอกชนิดมกี ารจดั การของเสยี หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของตนเองว่าในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนนั้
ๆ ทาการตดิ ฉลากบอกชนิดมกี ารจดั การของเสยี อยา่ งเหมาะสมหรอื ไม่ มปี ญั หาเก่ยี วกบั การจดั การของเสยี ท่ไี มไ่ ดใ้ ช้
เป็นประจาหรอื ไม่ ควรจะตอ้ งทาการบนั ทกึ และดาเนินการบนั ทกึ ต่อเน่ืองไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ

7) กำรจดั ซ้ือ/จดั หำ กำรแบง่ ประเภท และกำรจดั เกบ็ สำรเคมี (Chemical Procurement, Distributin, and
Storage)

มกี ารถกปญั หาหรอื วจิ ารณ์เร่อื งการปฏบิ ตั /ิ วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการจดั เกบ็ สารเคมี พฒั นาวธิ ีปฏบิ ตั กิ ารของการ
จดั ซ้อื /จดั หาสารเคมที ใ่ี ชใ้ นปฏบิ ตั ิการเฉพาะทางรวมถงึ การแบง่ ประเภทและการจดั เก็บสารเคมี และบนั ทกึ วธิ ี
ปฏบิ ตั กิ ารตามมาตรฐานหรอื สมดุ บนั ทกึ SOPs ของวธิ กี ารเหลา่ น้ีในสมดุ บนั ทกึ ประจาหอ้ งปฏบิ ตั ิการ

8) วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ำรในกำรปฏบิ ตั งิ ำนกบั สำรเคมอี นั ตรำย (Particularly hazard Procudure of Substances)
วจิ ารณ์เร่อื งการการใชว้ สั ดุมพี ษิ หรอื สารมพี ษิ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร พฒั นาโปรแกรมในการกาจดั สารทอ่ี ยู่ในรูป

Peroxide ท่ีเก่าหรือหมดอายุแลว้ ทาการแยกพ้ืนท่ีเฉพาะสาหรบั การปฏิบตั ิงานกบั สารท่ีมคี วามเป็นพิษสูง ทาการ
พฒั นาวิธีปฏิบตั ิการของหอ้ งปฏิบตั ิการเฉพาะทางและทาการพฒั นาวิธีปฏิบตั ิการสาหรบั เก็บและการใชท้ ุกอย่างท่ี
สามารถเกดิ ระเบดิ (explosive) ได้ หรอื ใชส้ ารเคมชี นิด prophoric

9) วธิ ีปฎบิ ตั กิ ำรท่ีตอ้ งกำรกำรยอมรบั ทจ่ี ำเพำะกอ่ นดำเนินกำร (Procedure Requiring Special Prior Approval)
ตอ้ งบง่ ช้ถี งึ มาตรการความปลอดภยั ท่ตี อ้ งการเพม่ิ ข้นึ จากปกตวิ ่าคืออะไร ทาการพฒั นาวธิ ีปฏบิ ตั กิ ารสาหรบั

หอ้ งปฎบิ ตั กิ ารเฉพาะทางซง่ึ ตอ้ งการยอมรบั ทจ่ี าเพาะก่อนดาเนินการหรอื วธิ ปี ฏบิ ตั ิการสาหรบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะทาง
อ่นื ใดทไ่ี มไ่ ดก้ ลา่ วถงึ ในบทอน่ื ๆ

10) กำรทำงำนเกย่ี วกบั อปุ กรณ์พเิ ศษ (Working with Special Equipment)
วจิ ารณเ์ รอ่ื งความปลอดภยั ทางดา้ นไฟฟ้าทใ่ี ชใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั ิการ การต่อทอ่ ส่งแกส๊ ป่มุ ปิด-เปิด ปิดอยู่หรอื ไม่

ไดใ้ ชจ้ ดั ตงั้ อยู่ในลกั ษณะไหน กาหนดการทาความสะอาดตเู้ยน็ ตแู้ ช่แขง็ การพฒั นาวธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารเก่ยี วกบั เคร่อื งมอื
เหลา่ น้ีและพฒั นาแนวทางต่าง ๆ ทจ่ี ะป้องกนั อุบตั เิ หตอุ นั อาจเกิดข้นึ

11) เครอ่ื งแตง่ กำยและอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรำย (Protective Apparel and Equipment)
วจิ ารณถ์ งึ สถานการณท์ จ่ี าเป็นตอ้ งใชแ้ วน่ ตานิรภยั หนา้ กาก หรือเคร่อื งป้องกนั หนา้ และความจาเป็นต่าง ๆ

สาหรบั การใชเ้ครอ่ื งกรองอากาศ ตปู้ ลอดเช้อื และ glove box พฒั นาวธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การ
ปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะทางและอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

40

12) กำรดูแลบำรุงรกั ษำและตรวจสอบ (Housekeeping Maintenance and Inspections)
วจิ ารณถ์ งึ การจดั เก็บอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื ต่าง ๆ หรอื ความบอ่ ยของการนามาใช้ ทาการกาหนดทางออกฉุกเฉิน

วจิ ารณถ์ งึ การซอ่ มบารุงช้นิ สว่ นต่าง ๆ จดั ทาโปรแกรมตรวจสอบในรูปแบบปกติและตรวจสอบภายใน พฒั นาวธิ ี
ปฎบิ ตั กิ ารกบั การปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะทางและอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

13) กำรระวงั /ตดิ ตำมดูแลสง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental Monitoring)
วจิ ารณถ์ งึ ค่า PEL และ TLV สาหรบั สารเคมตี ่าง ๆ ทใ่ี ชใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและวธิ กี ารลดการไดร้ บั สารเคมี

ของพนกั งาน/ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนนั้ วจิ ารณ์ถงึ การก่อสรา้ งการระบายอากาศในอาคารและการใชต้ ดู้ ูดควนั
ทาการพฒั นาวธิ ีปฏบิ ตั กิ ารในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะทางสาหรบั การเฝ้าระวงั ตดิ ตามดูแลสง่ิ แวดลอ้ มเท่าทจ่ี าเป็น ทาการ
บนั ทกึ สง่ิ ต่างๆ ลงในสมดุ บนั ทกึ

14) กำรทำงำนทเ่ี กย่ี วกบั อปุ กรณ์/สำรอนั ตรำยทำงดำ้ นชีวภำพ (Working with Biologically Hazardous
Materials)

ทบทวนการประยุกตใ์ ชว้ สั ดุอุปกรณ์หรือสารอนั ตรายท่อี ยู่ในไฟลอ์ า้ งอิงของ แผนการดาเนินงานดา้ นความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. และกลา่ วถงึ ปญั หาต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ทบทวนว่าไดม้ กี ารติดป้ายพ้นื ทเ่ี ฉพาะสาหรบั
การทางานท่ีตอ้ งเก่ียวขอ้ งกบั วสั ดุอนั ตรายทางชีวภาพหรือไม่ มกี ารติดป้ายท่เี หมาะสมบอกถึงตาแหน่งหอ้ งควบคุม
อุณหภูมิ/หอ้ งเย็น/ตูเ้ ย็น/ตูแ้ ช่แข็งหรือไม่ พฒั นาวิธีปฏิบตั ิการในการปฏิบตั ิการเฉพาะดา้ นจดบนั ทึกขอ้ มูลอย่าง
ต่อเน่ืองลงในสมดุ บนั ทกึ

15) กำรทำงำนเกย่ี วขอ้ งกบั สำรกมั มนั ตภำพรงั สี (Working with Radioisotopes)
ทบทวนถงึ สารหรอื วสั ดุต่าง ๆ ท่กี ล่าวถงึ ใน และไฟลอ์ า้ งอิงของ แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน

หอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. และถกปญั หาต่าง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง ตอ้ งมนั่ ใจว่าผูป้ ฏบิ ตั ิงานทุกคนไดผ้ ่านการฝึกอบรมเร่อื งการ
ทางานเก่ียวขอ้ งกบั สารกมั มนั ตภาพรงั สมี าอย่างถูกตอ้ งเหมาะสมแลว้ และมี badged ไวต้ รวจวดั ระดบั รงั สที ่ตี นเอง
ไดร้ บั เรียบรอ้ ยแลว้ มนั่ ใจว่าการจดั เก็บกมั มนั ตภาพและรายการสารรงั สีท่มี อี ยู่เป็นขอ้ มูลปจั จุบนั อยู่เสมอ มกี ารจดั
สถานท่จี าเพาะท่ีใชส้ าหรบั การปฏิบตั ิงานเก่ียวกบั รงั สีโดยเฉพาะหรือไม่ มกี ารแสดงสญั ญลกั ษณ์ว่าเป็นหอ้ งทางาน
เก่ียวกบั รงั สีติดไวห้ รือเปล่า พฒั นาวิธีปฏิบตั ิการกบั การปฏิบตั ิการเฉพาะทางทางดา้ นรบั สี จดบนั ทึกขอ้ มูลอย่าง
ต่อเน่ืองลงในสมดุ บนั ทกึ

16) โครงกำรตรวจสอบทำงกำรแพทย์ (Medical Program)
กล่าวถึงความจาเป็นสาหรบั การติดเคร่ืองมือเพ่ือวดั ระดบั สารอนั ตรายบางตวั ท่ีผูป้ ฏิบตั ิงานไดร้ บั และ

กล่าวถึงการบาดเจ็บอนั เน่ืองจากการปฏบิ ตั ิการเฉพาะดา้ น สุขภาพของพนกั งานหรือผูป้ ฏบิ ตั ิงานแต่ละคนท่ีทางาน
เก่ยี วกบั สารเคมหี รอื วสั ดุอปุ กรณท์ เ่ี ป็นอนั ตรายไดร้ บั การดูแลเอาใจใส่และเฝ้าระวงั ตดิ ตามเป็นอย่างดหี รอื ไม่

41

17) โครงกำรฝึกอบรม (Traning Program)
พนกั งานหรือผูป้ ฏิบตั ิงานไดใ้ ส่ใจ และตงั้ ใจในการเขา้ รบั การฝึกอบรมจากหน่วยงานของตนเองและจาก

EESH ของมจธ. หรือไม่ พฒั นาและจดั ทาเอกสารเก่ียวกบั โปรแกรมการฝึ กอบรมภายในหอ้ งปฏิบตั ิการเอง
ผูป้ ฏบิ ตั งิ านไดอ้ ่าน ทาความเขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตามขอ้ ควรระวงั ท่รี ะบุไวใ้ น MSDS หรือ SDS หรือไม่ มสี ญั ญลกั ษณ์
ต่าง ๆ และฉลากตดิ ไวอ้ ย่างเหมาะสมหรอื ไม่ มอี ุปกรณเ์ พอ่ื ความปลอดภยั รวมถงึ อปุ กรณด์ ูดซบั สารเคมอี นั ตรายหรอื
ชดุ ทาความสะอาดสารอนั ตรายทอ่ี าจหกหลน่ มใี หบ้ ริการอย่างพอเพยี งและใชไ้ ดก้ ารดใี นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรอื ไม่ บนั ทกึ
ของสานกั งานเก่ียวกบั การฝึกอบรมไดป้ รบั ใหท้ นั สมยั อยู่เสมอหรือไม่ บนั ทกึ ส่ิงท่ีจดั ทาข้นึ อย่างต่อเน่ืองลง ในสมดุ
บนั ทกึ ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
18) มหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลำ้ ธนบรุ ี และมำตรกำรเพอ่ื ควำมปลอดภยั ของรฐั (KMUTT and Federal
Safety Standard)

ทบทวนเร่อื งวสั ดุอุปกรณต์ ่าง ๆ และสารต่างๆ ท่บี นั ทกึ อยู่ในส่วนอา้ งอิงของ แผนการดาเนินงานดา้ นความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ ท่ีอธิบายถึงนโยบายของ มจธ. และโปรแกรมความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ ไฟล์
โครงการเพ่ือความปลอดภยั ของ มจธ. อ่ืน ๆ และมาตรฐานความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการและของรฐั อ่ืน ๆ
กลา่ วถงึ ปญั หาต่าง ๆ ท่มี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งและวจิ ารณว์ ่าไดม้ กี ารนาขอ้ กาหนดต่าง ๆ ของกฎหมายเพอ่ื ความปลอดภยั เขา้
มาใชใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอย่างเหมาะสมหรอื ไม่
19) หวั ขอ้ เกย่ี วกบั ควำมปลอดภยั เพม่ิ เติม (Additional Safety Session Topics)

 โอกาสทจ่ี ะเกดิ อบุ ตั เิ หต/ุ อบุ ตั เิ หตทุ เ่ี กดิ ข้นึ /อาการบาดเจบ็ ต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในปจั จบุ นั และวธิ ีป้องกนั
เพอ่ื ไมใ่ หเ้กดิ ข้นึ อกี

 เครอ่ื งมอื ชนิดใหม่และวธิ ปี ฏบิ ตั ิการมาตรฐาน SOPs ทส่ี อดคลอ้ งกนั และการฝึกอบรม
 วธิ ปี ฏบิ ตั ิการอนั ใหม่และวธิ ปี ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐาน SOPs ทส่ี อดคลอ้ งกนั และการฝึกอบรมท่ตี รง

ตาม SOPs
 ผลของการตรวจสอบ ณ ปจั จบุ นั และวธิ กี ารแกไ้ ขในบรเิ วณทเ่ี กดิ ปญั หา
 การฝึกอบรมโดยบคุ คลภายนอกหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เช่น EESH หน่วยดบั เพลงิ หรอื โรงพยาบาล

42

บทท่ี 7
กำรจดั กำรอนั ตรำยจำกสำรชีวภำพ
(BIOLOGICAL HAZARD MANAGEMENT)

ขอ้ กำหนด

 ทาการเขยี นและนาแผนไปปฏบิ ตั จิ รงิ ตามแผนกำรดำเนินงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำร
มหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลำ้ ธนบรุ ี

 จดั ทาเอกสารเกย่ี วกบั การสมั ผสั สารชวี ภาพอนั ตราย (Document Exposures)
 การทาโปรแกรมการดูแลตรวจตราและบารุงรกั ษา (Maintain housekeeping schedule)
เมอ่ื กลา่ วถงึ ภมู หิ ลงั โดยทวั่ ๆ ไปแลว้ หลกั การพ้นื ฐานทางดา้ นความปลอดภยั ทางชวี ภาพหรอื Biosafety
และอธบิ ายถงึ ระดบั ความปลอดภยั ทางชวี ภาพ ซง่ึ ประยุกตใ์ ชก้ บั แต่ละหน่วยงาน และในการควบคุมอนั ตรายซง่ึ จะหา
ขอ้ มลู ไดจ้ ากศูนยจ์ ดั การดา้ นพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั หรอื EESH มจธ. ซง่ึ ดาเนินการ
ตามแนวปฏบิ ตั ทิ ไ่ี ดจ้ ากหน่วยงานมาตรฐานสากล National Industrial Hygiene (NIH) ดงั เอกสาร “คู่มอื ความ
ปลอดภยั ทางชวี ภาพในหอ้ งปฏบิ ตั ิการจลุ ชีววทิ ยาและชวี วทิ ยาทางการแพทย์ (Biosafety in Microbiological and
Biomedical Laboratories Manual” ซง่ึ แนวปฏบิ ตั เิ หลา่ น้ีจะถกู นามารวมไวใ้ น แผนการดาเนินงานดา้ นความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ซง่ึ สาเนาของแนวปฏบิ ตั เิ หลา่ น้ีอาจขอไดจ้ าก EESH ของมจธ. ซง่ึ ไดเ้กบ็ สาเนาจาก
OSEH ของสหรฐั อเมรกิ าเอาไว้ ขอ้ มลู เหลา่ น้ีบคุ ลากรทกุ คนทท่ี างานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สารชวี ภาพ
อนั ตราย ควรจะตอ้ งทาความเขา้ ใจและตอ้ งผ่านการฝึกอบรมในการปฏบิ ตั งิ านเก่ยี วกบั สารชวี ภาพอนั ตรายเหลา่ น้ี
ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ในดา้ นการจดั การสารชวี ภาพอนั ตรายสามารถขอไดจ้ าก EESH และนามาเกบ็ ไวใ้ น อา้ งองิ ของ
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ

กำรเขียนแผนควบคุมกำรสมั ผสั สำรชีวภำพอนั ตรำย (Written Exposure Control Plan)

แผนการควบคุมการสมั ผสั สารชวี ภาพอนั ตราย (Exposue control Plan, ECP) สามารถนามาประยุกตใ์ ช้
กบั นกั วจิ ยั ทกุ คนท่ที างานเก่ยี วขอ้ งหรอื สมั ผสั กบั สารชวี ภาพอนั ตราย โดยแผน ECP น้ีสามารถใชไ้ ดก้ บั งานท่บี ุคลากร
ทุกคนปฏบิ ตั ิอยู่โดยทส่ี ามารถทาการทบทวนและปรบั ปรุงใหท้ นั สมยั ใหม่ทุกปี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้
ธนบุรีไดใ้ ห้ เอกสารตน้ แบบ (template or model document) เพ่ือจดั เตรียมทาแผนการควบคุมการสมั ผัส
สารชวี ภาพอนั ตรายสาหรบั เช้อื ทท่ี าใหเ้กดิ โรค ซง่ึ การใชเ้อกสารน้ีเป็นตน้ แบบในการทาสาหรบั สารชวี ภาพอนั ตรายชนิด
อ่ืนสามารถนาไปประยุกตแ์ ละจดั ทาได้ โดยขอตน้ แบบเอกสารน้ีไดจากศูนย์การจดั การดา้ นพลงั งาน ส่ิงแวดลอ้ ม
ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH) ของ มจธ.

43

กำรกำหนดระดบั กำรสมั ผสั และกำรประเมินอนั ตรำยหลงั กำรสมั ผสั สำรชีวภำพอนั ตรำย
(Exposure Determination and Post-Exposure Evaluation)

ในกรณีท่ีมกี ารสมั ผสั หรือทางานเก่ียวขอ้ งกบั สารชีวภาพอนั ตราย ซ่งึ เป็นเช้ือท่กี ่อโรด บุคลากร/เจา้ หนา้ ท่ี
ผูป้ ฏิบตั ิงานควรลา้ งบริเวณท่ีมกี ารสมั ผสั ดว้ ยนา้ ในปริมาณมาก และหากบริเวณท่ีสมั ผสั มีบาดแผลหรือเกิดการ
บาดเจ็บ ควรไปพบแพทยเ์ พ่ือตรวจดูอาการ/อนั ตรายทนั ที หลงั จากการเกิดการสมั ผสั สารชีวภาพอนั ตรายของ
บคุ ลากรใด ๆ กต็ าม ควรจะตอ้ งมกี ารประเมนิ ผลทางการแพทย์ และตดิ ตามผลของอนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ภายหลงั ซ่งึ
การประเมนิ และตดิ ตามผลควรจะรวมถงึ การปฏบิ ตั กิ ารดงั ต่อไปน้ี

 จดั ทาเอกสารแจง้ เสน้ ทางตดิ เช้อื อนั ตรายทผ่ี ูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั ไดร้ บั เช่นทางผวิ หนงั , ทางปาก , ทาง
บาดแผล และเหตกุ ารณอ์ ่นื ๆ ทเ่ี ป็นเหตใุ หไ้ ดร้ บั การตดิ เช้อื ครงั้ น้ี

 หากเป็นไปไดค้ วรช้ชี ดั ถงึ สาเหตแุ หล่งทท่ี าใหเ้กดิ อนั ตราย
 ใหจ้ ดั การตรวจสอบทางการแพทย์ และติดตามผลทางการแพทยส์ าหรบั ผูป้ ระสบอุบตั ิภยั ซ่งึ การ
ตดิ ตามผลทางการแพทยจ์ ะตอ้ งมกี ารตรวจสอบสุขภาพทุก 6 เดือนอย่างต่อเน่ือง เพ่อื ตรวจหาเช้ือ หรือตรวจเลอื ด
เพอ่ื ดูอนั ตรายเดดิ จากการติดเช้อื รายงานผลทางการแพทย์ และวธิ ดี าเนินการเพอ่ื ความปลอดภยั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
หลงั การตดิ เช้อื

นโยบำยทำงกำรแพทย์ (Medical Policies)

ทาง มจธ. ไดจ้ ดั ใหม้ สี วสั ดิการทางการแพทยใ์ หก้ บั บคุ ลากร/พนกั งานของ มจธ. ทกุ คน โดยมกี ารตรวจสอบ
ทางการแพทย์ ตรวจร่างกาย และสุขภาพประจาปี และในกรณีของการไดร้ บั อุบตั ภิ ยั หรอื อบุ ตั เิ หตจุ ากสารเคมี หรอื
ในขณะปฏบิ ตั งิ าน ทาง มจธ. กม็ กี ารประกนั อบุ ตั ภิ ยั /อบุ ตั เิ หตุ โดยจ่ายค่ารกั ษาพยาบาลทง้ั หมด รวมถงึ ค่าทดแทนใน
บางกรณีตามขอ้ กาหนดของการประกนั ภยั

โปรแกรมกำรฝึกอบรม (Training Program)

หวั หนา้ หอ้ งปฏิบตั ิการจะตอ้ งทาการบนั ทึกการเขา้ รบั การฝึกอบรมของพนกั งาน/เจา้ หนา้ ท่ี/นักวิจยั ซ่ึง
ปฏบิ ตั ิงานอยู่ในหอ้ งปฏิบตั ิการท่ตี นเองรบั ผิดชอบอยู่ ซ่งึ การฝึกอบรมน้ีจะรวมไปถงึ อนั ตรายจากการสมั ผสั กบั สาร
อนั ตรายในขณะปฏิบตั ิงาน โดยในบนั ทกึ จะระบุวนั ท่ที าการฝึกอบรม ,เน้ือหาของการฝึกอบรม ,ช่ือและคุณวุฒิของ
วทิ ยากร และตาแหน่งหนา้ ทข่ี องนกั วจิ ยั /พนกั งาน/เจา้ หนา้ ท่ี ซง่ึ การบนั ทกึ การฝึกอบรมทงั้ หมดจะเกบ็ รกั ษาเป็นเวลา 3
ปี นบั จากวนั ทไ่ี ดร้ บั การฝึกอบรม การฝึกอบรมเก่ยี วกบั การสมั ผสั สารชวี ภาพอนั ตรายสาหรบั เช้อื ก่อโรคจะดาเนินการ
โดย EESH ซ่งึ เป็นขอ้ กาหนดท่ใี หบ้ ุคลากรทุกคนท่ีปฏบิ ตั ิงานเก่ยี วขอ้ งกบั สารชีวภาพอนั ตรายเหลา่ น้ีตอ้ งเขา้ รบั การ
ฝึกอบรม ซง่ึ โปรแกรมการฝึกอบรมของ EESH สามารถขอขอ้ มลู ไดจ้ าก EESH

44

 ของเสยี ประเภทชวี ภาพอนั ตราย (Biohazadous Waste) ขอ้ มลู เหลา่ น้ีสามารถหาไดจ้ าก Web
page ของ EESH อนั ประกอบดว้ ย

- EESH Biohazardous Solid Waste Stream Flow Chart
- EESH Biohazardous Liquid Waste Stream Flow Chart
- Biohazardous Waste Disposal Guideline
 ของมคี ม (Sharps) การกาจดั ของมคี ม เช่น เขม็ แกว้ แตก มดี โกน ฯลฯ ใหเ้กบ็ ไวใ้ นถงั ทเ่ี ตรยี มไว้
พเิ ศษ และตดิ ฉลากไวว้ า่ เป็นของเสยี ชนิดตดิ เช้อื
 ของแขง็ (Solids) ของเสยี ชวี อนั ตรายทเ่ี ป็นของแขง็ เช่น เส้อื กาวนท์ ใ่ี ชแ้ ลว้ เกบ็ ใสล่ งในถงั ใส่ของ
เสยี ชวี ภาพอนั ตรายโดยเฉพาะ ซง่ึ สามารถขอไดจ้ ากทาง EESH และตดิ ฉลากของเสยี อนั ตราย
 ของเหลว (Liquid) ของเสยี ชวี ภาพอนั ตรายทเ่ี ป็นของเหลวเช่น เช้อื หรอื อาหารเล้ียงเช้อื ตอ้ งนาไป
ฆ่าเช้อื ใหเ้รียบรอ้ ย แลว้ จงึ ดาเนินการตามวธิ จี ดั การของเสยี ในหอ้ งปฎบิ ตั กิ ารของมจธ. ซง่ึ ไดร้ ะบวุ ธิ กี ารไวอ้ ย่างชดั เจน
รวมถงึ กรณีท่ขี องเหลวทเ่ี ป็นของเสยี ชวี ภาพอนั ตรายซง่ึ ปะปนกบั สารเคมตี วั อ่นื ๆ ดว้ ย ซง่ึ ตอ้ งจดั เป็นของเสยี เคมี
อนั ตรายเฉพาะนน้ั ตอ้ งดาเนินการเรยี กใหห้ น่วยงาน EESH ใหจ้ ดั การ
 ของเสยี ท่ฆี ่าเช้อื แลว้ (Autoclaved Waste) นาของเสยี ทฆ่ี ่าเช้อื แลว้ ลงในถงุ ใส่ของเสยี ท่ฆี ่าเช้อื
แลว้ ซง่ึ สามารถขอไดจ้ ากทาง EESH ซง่ึ จะไดด้ าเนินการตามวธิ ีการจดั การของเสยี ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของมจธ. ต่อไป

กำรควบคุมโดยมีกำรฝึกปฏบิ ตั งิ ำนในสถำนทท่ี ำงำน (Workplace Practice Controls)
กำรตรวจตรำดูแล (Housekeeping)

 ทาความสะอาดและฆ่าเช้อื เคร่อื งมอื อปุ กรณ์ รวมถงึ พ้นื ผวิ ปฏบิ ตั งิ านทนั ที หลงั จากทไ่ี ดป้ ฏบิ ตั ิงาน
เสรจ็ แลว้ ใชส้ ารละลาย bleach ชนิด commercial ในความเขม้ ขน้ 10X (v/v) ซง่ึ เป็นสารละลายฆ่าเช้อื โรค
(disinfectant) ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการทาความสะอาด สารละลายอ่นื ๆ ทม่ี คี ุณสมบตั เิ ป็น disinfectant ทว่ี างขาย
ตามทอ้ งตลาดหรอื บริษทั ทข่ี ายสารเคมที วั่ ๆ ไป กส็ ามารถนาไปใชไ้ ด้ การฆ่าเช้อื หรอื ทาลายเช้อื ทป่ี นเป้ือนเคร่ืองมอื
หรอื อปุ กรณเ์ คร่อื งใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านก่อนการเก็บหรอื เคลอ่ื นยา้ ยหรอื ใชง้ านต่อไป ตดิ ฉลากเครอ่ื งมอื ท่ีปนเป้ือนดว้ ย
คาว่า มกี ารปนเป้ือน “contaminated” ตอ้ งนาเอาถงุ คลุมหรอื อปุ กรณ์ทใ่ี ชห้ ่อหรอื ปิดออกในกรณีทถ่ี งุ คลุมหรอื
อปุ กรณท์ ใ่ี ชห้ อ่ เกดิ มกี ารปนเป้ือนเพม่ิ มากข้นึ และเหน็ ชดั

กำรควบคมุ ทำงวศิ วกรรม (Engineering Controls)

 การทางานทกุ อย่างทท่ี าใหเ้กิดการกระจายตอ้ งทาในตูป้ ลอดเช้อื

45

อปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรำยส่วนบคุ คล (Personal Protective Equipment, PPE)

 สวมเส้อื กาวน์ เส้อื คลุมปฏบิ ตั กิ าร ผา้ กนั เป้ือนหรอื เส้อื ผา้ ป้องกนั ชนิดอน่ื ๆ
 สวมเส้อื ผา้ ท่ปี ้องกนั ของเหลว ในกรณีทก่ี ารปฏบิ ตั งิ านอาจมผี ลกระเดน็ หรอื กรายของของเหลวซง่ึ
เป็นสารชวี ภาพอนั ตราย
 สวมถงุ มอื ในกรณีทต่ี อ้ งเกบ็ ตวั อยา่ งหรอื ปฏบิ ตั งิ านกบั เช้อื ก่อโรคหรอื สารชวี ภาพอนั ตราย
 สวมถงุ มอื ยางหรอื PVC ชนิดใชแ้ ลว้ ท้งิ เปลย่ี นถงุ มอื ทกุ ครง้ั เมอ่ื มรี อยรวั่ หรอื ขาด ถงุ มอื ชนิดใช้
แลว้ ท้งิ เหลา่ น้ีควรตอ้ งมปี ระจาหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
 ลา้ งมอื บรเิ วณผวิ หนงั ทป่ี นเป้ือนจากเช้อื หรอื สารชวี ภาพอนั ตรายดว้ ยนา้ และสบู่ทนั ที หรอื เรว็ ท่ีสุด
เทา่ ทจ่ี ะเรว็ ได้ หลงั ถอดถงุ มอื และหลงั จากพบว่าสมั ผสั กบั เช้อื หรอื สารชวี ภาพอนั ตรายนนั้ ๆ
 ใชผ้ า้ คลุมหนา้ ในการป้องกนั กรณีทางานเกย่ี วกบั สารชวี ภาพอนั ตรายท่เี สย่ี งต่อการถกู กระเดน็
กระจาย พงุ่ เป้นผอย ซง่ึ เคร่อื งมอื /อปุ กรณ์ป้องกนั หรอื คลุมหนา้ เหลา่ น้ีจะประกอบดว้ ยกระจกตดู้ ูดควนั /ตปู้ ลอดเช้อื
หนา้ กาก (shield) ผา้ ปิดหนา้ (Masks) และแวน่ กนั อนั ตราย (safety) หรอื หนา้ กากเตม็ หนา้ และควรทางานในตู้
ปลอดเช้อื เมอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารกบั เช้อื /สารชวี ภาพอนั ตรายหรอื ฟ้งุ กระจาย
 ถอดอปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล PPE ทนั ทหี ลงั ออกจากบรเิ วณทป่ี ฏบิ ตั งิ าน และเรว็ ท่สี ุด
เทา่ ทจ่ี ะเรว็ ได้ หากเกิดการปนเป้ือนในปรมิ าณสูง PPE ทต่ี ดิ เช้อื หรอื ปนเป้ือนในนา้ ท้งิ ในรูปของของเสยี ชวี ภาพ
อนั ตราย

GOOD LABORATORY PRACTICES (GLP)
 ใหถ้ อดของมคี มออกจากกระเป๋าเส้อื คลมุ ปฏบิ ตั กิ าร และอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คลก่อน

เปลย่ี นเส้อื ผา้
 ใหต้ ิดฉลากเตอื นทถ่ี งั บรรจขุ องเสยี ตเู้ยน็ ตูแ้ ช่แขง็ ทเ่ี ป็นทเ่ี กบ็ สารชวี ภาพอนั ตรายหรอื เช้ือก่อโรค

ตดิ ฉลากเครอ่ื งมอื ทป่ี นเป้ือนซง่ึ จะตอ้ งตดิ วา่ “ปนเป้ือนสารอนั ตราย” ในเคร่อื งมอื ทย่ี งั มกี ารปนเป้ือนอยู่ ซ่งึ ตอ้ งแยก
ถงั บรรจขุ องเสยี สารชวี ภาพอนั ตรายแต่ละชนิดออกจากกนั แลว้ ทาการเกบ็ รวบรวมของเสยี อนั ตรายแต่ละชนิด ไวโ้ ดย
การตดิ ฉลากใหเ้หน็ ชดั ว่าเป็นชนิดใด ซง่ึ สาคญั มากในการเกบ็ การขนส่ง การเคลอ่ื นยา้ ยหรอื การกาจดั ควรตดิ
สญั ญลกั ษณแ์ สดงอนั ตรายไวบ้ รเิ วณหนา้ ทางเขา้ -ออกสถานทป่ี ฏบิ ตั กิ าร ซง่ึ เส่ยี งต่ออนั ตราย

 ไมค่ วรจบั หรอื ถอื เศษเครอ่ื งแกว้ ทแ่ี ตกซง่ึ อาจปนเป้ือนจากเช้ือหรือสารชวี ภาพอนั ตรายโดยใชม้ อื เปลา่
 ไมค่ วรใชป้ ากดูดปิเปตโดยตรง
 ลดการกระเดน็ หรอื การกระจายสารชวี ภาพอนั ตรายในขณะปฏบิ ตั งิ าน
 ไมค่ วรหกั งอ หรอื ดดั ของมคี มทต่ี ดิ เช้อื /สารชวี ภาพอนั ตรายโดยใชม้ อื เปลา่
 หา้ มกนิ ด่มื สูบบหุ ร่หี รอื เตมิ เครอ่ื งสาอาง หรอื เปลย่ี น Contact lens ในขณะทางาน
 หา้ มเก็บอาหารและเคร่อื งด่มื ในตเู้ยน็ หรอื ตแู้ ช่แขง็ ซง่ึ เกบ็ เช้อื ทเ่ี กดิ โรค/สารชวี ภาพอนั ตราย
 ลา้ งมอื หลงั การปฏบิ ตั งิ านทกุ ครงั้

46

กำรทำงำนกบั ตวั อย่ำงท่เี ป็นสำรชีวภำพอนั ตรำย (Specimen Handling)

ภาชนะบรรจทุ ใ่ี ชใ้ นการขนสง่ หรอื ส่งตวั อย่าง จะตอ้ งตดิ ลากทป่ี ้องกนั นา้ หรอื ป้องกนั การ leak ถา้ ดา้ นนอก
ภาชนะปนเป้ือนจากเช้อื กค็ วรจะตดิ ฉลากอนั ทส่ี องไว้ และควรใชภ้ าชนะบรรจชุ นิดป้องกนั การ leak ภาชนะบรรจุ
เหลา่ น้ีจะตอ้ งตดิ ฉลากดว้ ยชอ่ื ของหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั งิ าน ผูน้ าส่งตวั อย่าง หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั รายละเอียดของเช้อื /
สารชวี ภาพอนั ตราย และหมายเลขโทรศพั ทต์ ดิ ต่อ

กำรหกหลน่ ของสำรชีวภำพ (Biological Spills)

การหกหล่นของสารชีวภาพภายนอกตูป้ ลอดเช้ืออาจทาใหเ้ กิดการกระจายของเช้ือซ่ึงสามารถแพร่ไดใ้ น
บรรยากาศกระจายทวั่ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ การหกหล่นเหลา่ น้ีจะเป็นเร่อื งรา้ ยแรงถา้ หากเช้อื ทป่ี ฏบิ ตั งิ านอยู่นนั้ ตอ้ งปฏบิ ัติ
ตามขอ้ กาหนดของความปลอดภยั ชีวภาพในระดบั 3 Biosafety Level (BL 3) ซ่ึงสารหรือเช้ือเหล่าน้ีสามารถทาให้
เกิดโรคไดโ้ ดยการติดต่อทางอากาศหรือลมหายใจ เพ่ือป้องกนั ความเส่ียงภยั ต่อการสูดเอกสาร/เช้ือทาใหเ้ กิดโรค
เหลา่ น้ีเขา้ ไป ผูป้ ฏบิ ตั ิงานจะตอ้ งกลน้ั หายใจ และออกนอกหอ้ งปฏบิ ตั ิการทนั ที หอ้ งปฏบิ ตั ิการควรจะจดั การทาความ
สะอาดสารท่หี กตกหล่นภายใน 30 นาที และทาการขจดั เช้ือท่แี พร่กระจายในอากาศออกจากหอ้ งปฏบิ ตั ิการโดยการ
ดูดอากาศผา่ นระบบระบายอากาศ

อุปกรณ์ป้องกนั ท่เี หมาะสมเป็นส่ิงท่ีสาคญั ท่ตี อ้ งนามาใชใ้ นการจดั การกบั การขจดั การปนเป้ือนจากการหก
หลน่ ของเช้อื /สารชีวภาพอนั ตรายตามขอ้ กาหนดใน BL2 หรอื BL3 เคร่ืองมอื เหล่าน้ีจะรวมถงึ เส้อื คลุมปฏบิ ตั ิการตวั
ยาว เส้ือกาวน์ ชนิดผูกหลงั หรือ jumpsuit ถุงมือชนิดใชแ้ ลว้ ท้ิง ท่ีคลุมรองเทา้ ชนิดใชแ้ ลว้ ท้ิง แว่นป้ องกนั ตาท่ี
ปลอดภยั และหนา้ กากชนิดเตม็ หนา้ ตอ้ งใชอ้ ปุ กรณ์เหลา่ น้ีเพอ่ื ป้องกนั หนา้ ตา และเยอ่ื บจุ มกู จากสารชวี ภาพอนั ตราย
ทฟ่ี ้งุ หรอื กระจาย

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารในกรณีทเ่ี กดิ การหกหล่นของสารชีวภาพบนร่างกาย (Procedure for biological spill on body)
 ถอดเส้อื ผา้ ทป่ี นเป้ือนจากเช้อื ออกแลว้ ลา้ งบรเิ วณทส่ี มั ผสั เช้อื อย่างแรงดว้ ยนา้ ยาฆ่าเช้อื และนา้ เป็น
เวลา 3 นาที
 ตอ้ งพบแพทยห์ รอื ไปหอ้ งพยาบาลทนั ที
 รายงานการเกดิ เหตกุ ารณข์ ้นึ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ
 ควรดูในบทอ่ืนของ แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. ท่ีเป็นแนว
ปฏบิ ตั ใิ นการจดั การการหก หลน่

วธิ ปี ฎบิ ตั กิ ารในกรณีทเี่ กดิ การหกหล่นทเี่ กย่ี วกบั เช้ือที่อยูใ่ น BL ระดบั 1 (Predecures for spills involving
microorganisms require BL1-Containment)

 สวมถงุ มอื ชนิดใชแ้ ลว้ ท้งิ
 ชบุ ผา้ เช็ดมอื ในนา้ ยาฆ่าเช้อื และวางไวบ้ นบรเิ วณทเ่ี กดิ การหกหล่น

47

 ใส่ผา้ เชด็ มอื นนั้ ลงในภาชนะเกบ็ ปิดใหแ้ น่นและเขยี นคาว่า สารตดิ เช้อื บนภาชนะนน้ั
 ทาความสะอาดบรเิ วณทห่ี ก หลน่ ดว้ ยผา้ ชบุ นา้ ยาฆ่าเช้อื ผนื ใหม่
 รายงานการเกิดการหกหลน่ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารในกรณีการเกดิ การหกหล่นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เช้ือทอี่ ยู่ในระดบั BL2 (Procedures for spills involving
microorganisms require BL2- Containment)

 เตอื นบคุ ลากรทป่ี ฏบิ ตั งิ านบริเวณนน้ั ใหท้ ราบถงึ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ
 สวมใสอ่ ปุ กรณป์ ้องกนั ความปลอดภยั
 ปิดบรเิ วณทห่ี ก หลน่ ดว้ ยผา้ เช็ดมอื ซง่ึ ชบุ นา้ ยาฆ่าเช้อื หรอื กระดาษซบั
 ระมดั ระวงั ในการเตรียมนา้ ยาฆ่าเช้อื ในอตั ราส่วนของการเจอื จาง 1:10 และหยดลงบนบรเิ วณขอบ

ของสารทห่ี ก หลน่ อยู่โดยพยายามหลกี เลย่ี งการกระเดน็
 ท้งิ เวลาใหน้ า้ ยาฆ่าเช้อื โรคทากบั สารทห่ี กหลน่
 ใชผ้ า้ เชด็ มอื เชด็ สารทห่ี กหลน่ โดยชบุ จากขอบของ spill เขา้ สูส่ ่วนกลาง
 ทาความสะอาดบรเิ วณหก หลน่ ดว้ ยผา้ เชด็ มอื ทช่ี บุ นา้ ยาฆ่าเช้อื ผนื ใหม่
 ใส่ผา้ เชด็ มอื ลงไปในภาชนะแลว้ ปิดใหส้ นิทเขยี นตดิ ฉลากวา่ “สารตดิ เช้อื ” บนภาชนะนน้ั
 รายงานการเกิดการหกหลน่ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

วธิ ปี ฎบิ ตั กิ ารในกรณีทเ่ี กดิ การหกหล่นทเ่ี กยี่ วกบั เช้ือทอี่ ยู่ใน BL3 (Procedures for spills involving
microorganisms require BL3- Containment)

 ตรวจดูผูบ้ าดเจบ็ หรอื ผูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั และนาออกจากบรเิ วณทเ่ี กดิ เหตุ ควรถอดเส้อื ผา้ ทป่ี นเป้ือน
และลา้ งบริเวณทส่ี มั ผสั หรอื ปนเป้ือนดว้ ยสบแู่ ละนา้ ถแู รง ๆ

 เตอื นบคุ ลากรผูป้ ฏบิ ตั งิ านในบริเวณนนั้ ใหท้ าการอพยพ
 ปิดประตูบรเิ วณทเ่ี กดิ เหตุ
 โทรศพั ทเ์ รยี ก EESH รายงานการเกดิ การหก หลน่
 ตอ้ งมผี ูท้ ม่ี คี วามรูค้ วามชานาญและเช่ยี วชาญการเกดิ กรณีแบบน้ี และมบี คุ ลากรหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

ผา่ นการฝึกงานดา้ นช่วยเหลอื การตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินรายงานการเกดิ การหกหลน่ ต่อหวั หนา้
หอ้ งปฏบิ ตั ิการและหวั หนา้ อาคาร
 รายงานการเกดิ การหกหลน่ ต่อหวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและหวั หนา้ อาคาร

48

บทท่ี 8
กำรจดั กำรอนั ตรำยจำกรงั สี
(RADIOLOGICAL HAZARD MANAGEMENT)

ขอ้ กำหนด มจธ.

ดูแลการบนั ทกึ รายการต่าง ๆ ใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของรฐั หรอื ตามขอ้ กาหนดของ

ดงั ต่อไปน้ี
 บญั ชรี ายการสารกมั มนั ตรงั สี
 ผลการสารวจการปนเป้ือน
 การฝึกอบรมการรกั ษาความปลอดภยั จากรงั สสี ว่ นบคุ คล และการฝึกอบรมประจาปี
 บญั ชีของเสยี ทม่ี รี งั สี

ขอ้ พจิ ำรณำทวั่ ไป

สารประกอบกมั มนั ตรงั สี เคร่อื งมอื ทม่ี กี ารผลติ รงั สี แหลง่ ทม่ี กี ารปิดกน้ั รงั สหี รอื แหลง่ ป้องกนั รงั สี และ
เคร่อื งมอื ท่ปี ระกอบดว้ ยแหลง่ กาเนิดรงั สเี หลา่ น้ีจะตอ้ งการการอนุญาตเป็นกรณีพเิ ศษ อกี ทง้ั ยงั มกี ารฝึกอบรม โดย
ยดึ ตามนโยบาย และวธิ ดี าเนินการของมหาวทิ ยาลยั บคุ ลากรใดทท่ี างานกบั สารหรอื เครอ่ื งมอื เหลา่ น้ีจาเป็นจะตอ้ งมี
การระบกุ ฎเกณฑใ์ นการจดั การกบั อนั ตรายจาเพาะอนั เน่ืองจากรงั สไี วใ้ น แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ฉบบั น้ี นอกจากน้ียงั ตอ้ งมขี อ้ กาหนดเฉพาะจากหน่วยงานซง่ึ เป็นตวั แทนของรฐั บาล เช่น
สานกั งานพลงั งานปรมาณูเพอ่ื สนั ติ (พ.ป.ส.) ซง่ึ จะบอกถงึ การจดั หา การใชแ้ ละการทาลายสารกมั มนั ตรงั สี และ
เครอ่ื งมอื ทม่ี กี ารผลติ เกย่ี วกบั รงั สี การกระทาใดทไ่ี มส่ อดคลอ้ งหรอื ทล่ี ะเลยไมท่ าตามขอ้ กาหนดจะทาใหเ้กดิ ผล
เสยี หายตามมาภายหลงั รวมถงึ มกี ารตกคา้ งของสารกมั มนั ตรงั สี หรอื มกี ารใชก้ ารผลติ เกย่ี วกบั รงั สรี วมถงึ การถกู ปรบั
ค่าเสยี หาย

ผลกระทบของขอ้ กาหนดเหล่าน้ีจะอยู่นอกเหนอจากขอบเขตของแผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. จึงจาเป็นจะตอ้ งมกี ารติดต่อกบั ศูนยก์ ารจดั การดา้ นพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และ
อาชวี อนามยั (EESH) สาหรบั คาแนะนาและความช่วยเหลอื ในการพฒั นานโยบายและวธิ ดี าเนินการทจ่ี าเป็นสาหรบั การ
กระทาทส่ี อดคลอ้ งตามขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ เหลา่ นน้ั

ในกรณีท่ตี อ้ งการ สาหรบั คาแนะนาและความช่วยเหลอื โดยเฉพาะ ซง่ึ เก่ยี วกบั ขนั้ ตอนการดาเนินการภายใต้
โปรแกรมปลอดภยั เกย่ี วกบั รงั สี โปรดตดิ ต่อศูนยบ์ ริการเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชส้ ารรงั สี

ผูท้ ใ่ี ชส้ ารกมั มนั ตรรงั สี หรอื ทางานเกย่ี วกบั เอกซเรย์ หรอื เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการผลติ เก่ยี วกบั รงั สอี น่ื ๆ ควร
ตดิ ต่อกบั ศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชส้ ารรงั ส/ี EESH สาหรบั คาแนะนาและความช่วยเหลอื ดา้ นรงั สี

49

กำรปฏบิ ตั ทิ ส่ี อดคลอ้ งตำมกฎขอ้ บงั คบั (Regulatory compliance)

บทนา (Introduction)
สานกั งานพลงั งานปรมาณูเพ่ือสนั ติ (พ.ป.ส.) ไดเ้ ป็นผูร้ วบรวมและตรวจสอบเก่ียวกบั กฎขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ

ทางดา้ นการใชร้ งั สี ซ่ึงทาง มจธ. ไดป้ ฏิบตั ิการสอดคลอ้ งกบั กฎขอ้ บงั คับเหล่าน้ี ดงั น้ันจึงจาเป็นท่ีผูท้ ่ีใชส้ าร
กมั มนั ตรงั สจี ะตอ้ งทาตามขนั้ ตอนเพอ่ื ความปลอดภยั เก่ยี วกบั รงั สแี ละโปรดตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่าขน้ั ตอนต่าง ๆ ท่จี ะ
กล่าวถึงดงั ต่อไปน้ี จะสามารถหาไดแ้ ละนามาปฏิบตั ิตามไดต้ ลอดเวลาในหอ้ งปฏิบตั ิการหรือในคณะท่ีท่านปฏิบตั ิ
งานอยู่

การเกบ็ สารกมั มนั ตรงั สี
การใชส้ ารกมั มนั ตรงั สีจะใชใ้ นหอ้ งปฏิบตั ิการหรือคณะท่ีไดร้ บั อนุญาตจากคณะกรรมการวางนโยบาย

เก่ยี วกบั รงั สขี อง มจธ. (Radiation Policy committee, RPC) และ พ.ป.ส. โดยเจา้ หนา้ ทข่ี องศูนยบ์ ริการเพ่อื ความ
ปลอดภยั ในการใชร้ งั สี (Radiation Safet Service, RSS) จะเป็นผูต้ ิดตามประกาศใบอนุญาตการใชร้ งั สี โดยมี
สญั ลกั ษณข์ องรงั สี และมขี อ้ ความ “ระวงั สารกมั มนั ตรงั ส”ี

สถาบนั เก่ยี วกบั ทางการแพทยแ์ ละการวจิ ยั ไดม้ ีประกาศโทษเก่ยี วกบั การฝ่าฝืน (Notices of Violation,
NOV) ฉบบั ใหม่ ซง่ึ ออกโดย NRC ซง่ึ เป็นหน่วยงานสากลดา้ นการใชร้ งั สี โดยกาหนดโทษไว้ หากหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใดละ
เวน้ กรณีดงั ต่อไปน้ี

1. การป้องกนั สารกมั มนั ตรงั สจี ากการขนยา้ ยทไ่ี มไ่ ดร้ บั อนุญาต (1 CFR 2ก. 1801&20.1802)
2. การตดิ ป้ายทห่ี อ้ งเก็บหรอื ใชส้ ารกมั มนั ตรงั สี (10 CFR 20.1902)
3. การตดิ ฉลากภาชนะบรรจสุ ารกมั มนั ตรงั สี หรือสง่ิ ทม่ี รี งั สปี นเป้ือนดว้ ยฉลากคาเตอื นท่เี หมาะสม (10

CFR 20.1904) โดยฉลากทต่ี ดิ ประตูหรอื ตดิ ทต่ี แู้ ช่แขง็ นน้ั สามารถหาไดจ้ าก พ.ป.ส. หรอื RSS หรอื
EESH

โปรแกรม ALARA
เจา้ หนา้ ทผ่ี ูป้ ฏบิ ตั งิ าน/นกั วจิ ยั จะตอ้ งรูแ้ ละเขา้ ใจถงึ แนวความคิดหลกั ของ ”as low as is reasonably

achievable” (ALARA) โดย พ.ป.ส. ตอ้ งการใหผ้ ูม้ ใี บอนุญาตใหม้ กี ารใช้ การปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ การควบคุมทาง
วศิ วกรรมและวธิ ีปฏบิ ตั ิการทง้ั หลายใหต้ ง้ั บนหลกั การของการป้องกนั รงั สี เพอ่ื ใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั งิ านไดร้ บั สารรงั สใี นระดบั
ปลอดภยั และใหเ้กดิ ผลกบั คนในชมุ ชนในระดบั ตา่ ทส่ี ุดเท่าทส่ี ามารถทาได้

การส่งเสรมิ ใหม้ กี ารปฏบิ ตั จิ รงิ ตามโปรแกรม ALARA ของ มจธ. น้ีอยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบของฝ่ายบรหิ าร
คณะกรรมการนโยบายเกย่ี วกบั รงั สี ศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี /EESH ผูใ้ ชท้ ไ่ี ดร้ บั ใบอนุญาต และ
ผูใ้ ชส้ ารกมั มนั ตรงั สที กุ คน และเป็นความรบั ผดิ ชอบของผูใ้ ชส้ ารกมั มนั ตรงั สใี นการทจ่ี ะดูแลรกั ษาการไดร้ บั สารรงั สี
ของบคุ ลากรทงั้ ภายในและภายนอกหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร รวมถงึ การปนเป้ือนจากรงั สตี าม ALARA

50


Click to View FlipBook Version