The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMUTT Office of Sustainability, 2021-09-26 12:42:46

แผนการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ มจธ. 2563

KMUTT Operational plan for laboratory safety, 2020

การจดั ทาเอกสารประกอบการสารวจการปนเป้ือนสารรงั สี
ทางเจา้ หนา้ ท่ีวิจยั จะตอ้ งปฏิบตั ิและเตรียมเอกสารประกอบการสารวจการปนเป้ือนสารรงั สีและทาตาม

ขน้ั ตอนการสารวจการปนเป้ือนของ EESH
พงึ ระลกึ อยูเ่ สมอว่า แบบฟอรม์ บางอนั ของเอกสารจะตอ้ งเกบ็ ไวใ้ นแฟ้มบนั ทกึ ความปลอดภยั เกย่ี วกบั รงั สี

แมแ้ ต่ในกรณีทส่ี ารกมั มนั ตรงั สที ไ่ี ม่ปิดผนึกไมอ่ นุญาตใหน้ าไปใชใ้ นหอ้ งทอ่ี นุญาตใหใ้ ชร้ งั สกี ่อนทจ่ี ะมกี ารสารวจอยา่ ง
แน่นอน ในขณะท่กี ารสารวจการปนเป้ือนน้ีไมม่ คี วามจาเป็นตอ้ งทาเมอ่ื ไมม่ กี ารทางานเก่ยี วกบั รงั สใี นช่วงเวลาของ
สารวจแต่ละครงั้ และจะตอ้ งทาเอกสารในบนั ทกึ การสารวจการปนเป้ือนไวว้ า่ “ไมม่ กี ารทางานเกย่ี วกบั รงั ส”ี ซง่ึ ทาง
หน่วยงาน พ.ป.ส. และหน่วยงานของ มจธ. จะเขา้ มาตรวจสอบว่าในกรณีท่ตี อ้ งการลดภาระการจดั ทาเอกสารการ
สารวจการปนเป้ือน โดยผูไ้ ดร้ บั อนุญาตตอ้ งแสดงความจานง (โดยการเขยี น) วา่ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนน้ั ๆ ไดข้ อเพกิ ถอน
ใบอนุญาตการใชง้ านเก่ยี วกบั นิวเคลยี รก์ มั มนั ตรงั สี และมกี ารงดใชอ้ ยา่ งเป็นทางการโดยเจา้ หนา้ ทข่ี องศูนยบ์ ริการเพอ่ื
ความปลอดภยั ในการใชส้ ารรงั สี

อย่างไรก็ตามจะตอ้ งทราบไวว้ ่าหอ้ งปฏบิ ตั ิการท่ีไดร้ บั การเพิกถอนใบอนุญาตแลว้ จะตอ้ งแสดงความจานง
(โดยการเขยี น) ต่อศูนยบ์ ริการเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชส้ ารรงั สี เพอ่ื ขอใบอนุญาตใหมก่ ่อนท่จี ะเร่มิ ทางานเก่ยี วกบั
สารกมั มนั ตรงั สี การทางานก่อนโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจะมผี ลในการฝ่าฝืนกฎของศูนยบ์ ริการเพอ่ื ความปลอดภยั ในการ
ใชร้ งั สี และอาจถกู ปรบั จาก พ.ป.ส. ได้

การฝ่ าฝืนขอ้ บงั คบั ของ พ.ป.ส. ทพ่ี บไดโ้ ดยทว่ั ไป
ระหว่างการตรวจสอบของ พ.ป.ส. ทม่ี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี อาจเกิดกรณีเช่นน้ีได้ ดงั น้ี
 ขาดการจดั ทาและรวบรวมเอกสารการสารวจการปนเป้ือนท่ีทาเป็นประจา
 ขาดการป้ องกนั เพ่ือความมนั่ ใจในการใชส้ ารรงั สีจากบุคลากรผูท้ ่ีไม่ไดร้ บั อนุญาตใหใ้ ชก้ าร

เคล่อื นยา้ ยสารกมั มนั ตรงั สีโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต รวมถงึ การเก็บห่อสารกมั มนั ตรงั สสี ่งไปยงั หอ้ งท่ีเก็บสารรงั สีของ
หน่วยงาน

 ไมม่ กี ารตรวจการปนเป้ือนของมอื รองเทา้ พ้นื หอ้ งและพ้นื ทท่ี ท่ี างานหลงั จากการปฏบิ ตั งิ านหรอื
ก่อนออกจากหอ้ งปฏบิ ตั ิการ

 ขาดการฝึกอบรมซา้ เก่ยี วกบั การจดั ทาเอกสารประจาปีดา้ นความปลอดภยั จากรงั สี
 ขาดการสวมเครอ่ื งป้องกนั ทเ่ี หมาะสม (เส้อื ปฏบิ ตั ิการ ถงุ มอื ทใ่ี ชแ้ ลว้ ท้งิ ) หรอื ขาดการใชอ้ ุปกรณ์
ป้องกนั เมอ่ื ปฏบิ ตั งิ านกบั สารกมั มนั ตรงั สี
 ขาดการสวมเคร่อื งตรวจวดั ปรมิ าณรงั สเี ฉพาะตวั ทง้ั แบบทส่ี วมน้ิว และแบบทต่ี ดิ ตวั ตามขอ้ กาหนด
ของ ศูนยบ์ ริการเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี ในขณะปฏบิ ตั งิ าน
 ไมม่ กี ารแจง้ กบั ศูนยบ์ ริการเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี หรอื เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรก่อนท่ีจะ
ทางาน หยุดทางาน หรอื เปลย่ี นหอ้ งปฏบิ ตั ิการ/สถานทท่ี างานเก่ยี วกบั รงั สี
 ขาดการตดิ ฉลากคาเตอื นเกย่ี วกบั รงั สบี นภาชนะบรรจหุ รอื อปุ กรณต์ ่างๆ ทม่ี กี ารปนเป้ือนของรงั สี

51

 ขาดการรายงานต่อศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี เกย่ี วกบั การหกกระเดน็ หรอื เกดิ
การปนเป้ือนของรงั สภี ายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

 ขาดการตรวจสอบดูแลเก่ยี วกบั เอกสารของการจดั บรรจสุ ารกมั มนั ตรงั สี
 ขาดการจดั ทาขอ้ มลู ท่ถี กู ตอ้ งสมบูรณ์ เกบ็ ไวใ้ นบนั ทกึ หรอื สง่ ใหเ้จา้ หนา้ ท่ตี รวจสอบ
 ขาดการตรวจทางการแพทย์ เช่น ไมย่ อมทา thyroid count โดยเจา้ หนา้ ท่ขี องศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื
ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี เมอ่ื RSS ตอ้ งการใหท้ า

ความรบั ผดิ ชอบของผูท้ ไ่ี ดร้ บั อนุญาต (Responsibility of “Authorized Users”)
หนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบของผูท้ ่ีไดร้ บั อนุญาตใหใ้ ชส้ ารรงั สีโดยเฉพาะ ในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การดูแลให้

คาปรกึ ษาคาแนะนาและมองขา้ มไปถงึ บุคลากรแต่ละคนท่ใี หก้ ารดูแลอยู่ เพ่อื เตือนถึงความรบั ผดิ ชอบของผูท้ ่ไี ดร้ บั
อนุญาตโดยผูท้ ่ีทาหนา้ ท่ีควบคุมดูแลนนั้ จะตอ้ งในใจว่าผูท้ ่ีอยู่ในความดูแลแต่ละคนไม่ใชส้ ารกมั มนั ตรงั สที ่ีขดั กบั
ขนั้ ตอนปฏิบตั ิการเพ่ือความปลอดภยั เก่ียวกบั รงั สีของมจธ. และขอ้ กาหนดในใบอนุญาตใหใ้ ชส้ ารกมั มนั ตรงั สขี อง
มจธ. ขอ้ บงั คบั ของ พ.ป.ส. หรืออ่ืน ๆ ท่เี ส่ยี งต่อความปลอดภยั และสุขภาพของสาธารณชน บุคลากรผูอ้ ยู่ในความ
ดูแลนั้นประกอบดว้ ยเจา้ หนา้ ท่ีวิจยั ช่างเทคนิคของหอ้ งปฏิบตั ิการ ผูช้ ่วยในหอ้ งปฏิบตั ิการ และผูท้ ่ีเขา้ มาใน
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทกุ คน

ขอ้ กาหนดตามขอ้ บงั คบั ของ พ.ป.ส. (Regulatory Requirements)
ผูท้ ไ่ี ดร้ บั ใบอนุญาตจะตอ้ งดูแลและใหค้ าแนะนาแก่ผูด้ ูแลทอ่ี ยู่ในความรบั ผดิ ชอบของแต่ละคน และมกี าร

ตรวจสอบการใชส้ ารกมั มนั ตรงั สขี องแต่ละคนตามช่วงเวลาทก่ี าหนด และมกี ารบนั ทกึ การใชส้ ารรงั สขี องแต่ละคนดว้ ย
ผูไ้ ดร้ บั ใบอนุญาตและผูม้ สี ทิ ธใิ ชส้ ารรงั สอี ยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎระเบยี บของมจธ. ซง่ึ ทาหนา้ ทด่ี ูแลบคุ ลากรต่าง ๆ เหลา่ น้ี
ตอ้ งรบั ผดิ ชอบต่อการกระทาและการละเลยของผูท้ อ่ี ยูใ่ นความดูแลแต่ละคนดว้ ย

การควบคุมดูแลทพี่ อเพยี งจากผูท้ ไ่ี ดร้ บั อนุญาตใหใ้ ชส้ ารรงั สี (Adequate Supervisions by an Authorized
User)

เมอ่ื แต่ละคนไดร้ บั อนุญาตจากมจธ. เพอ่ื ทางานเก่ยี วกบั รงั สแี ลว้ จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบโดยตรงในเรอ่ื งต่อไปน้ีคือ
1. ปฏบิ ตั กิ ารใหส้ อดคลอ้ งตามขอ้ กาหนดมาตรฐาน และดูแลการใชส้ ารกมั มนั ตรงั สที ่ีอยู่ภายใตก้ ารดูแล
2. การใชเ้รดโิ อนิวคลโี อไทดอ์ ยา่ งปลอดภยั โดยนกั วจิ ยั ช่างเทคนิค นกั ฟิสกิ ส์ ทท่ี างานกบั สารรงั สภี ายใตก้ าร
ไดร้ บั อนุญาตใหใ้ ชส้ ารรงั สไี ด้
ผูไ้ ดร้ บั อนุญาตจะตอ้ งกาจดั การถอื ครองการใชเ้รดิโอนิวคลโี อไทดใ์ นกิจกรรมและจุดประสงคจ์ าเพาะตามท่ี
รบั ไดอ้ นุญาต และตอ้ งแน่ใจว่าการทางานกบั เรดิโอนิวคลโี อไทดภ์ ายใตก้ ารไดร้ บั อนุญาตนน้ั มกี ารดูแลอย่างเหมาะสม
และไดร้ บั เขา้ รบั การฝึกอบรมของ มจธ. เรยี บรอ้ ยแลว้ และตอ้ งฝึกการทางานอย่างปลอดภยั จนเคยชนิ การปฏบิ ตั ใิ ห้
สอดคลอ้ งกบั ขอ้ บงั คบั และป้ องกนั ไม่ใหร้ ่างกายไดรบั /ถูกรงั สีโดยไม่จาเป็นหรือง่ายต่อการปนเป้ือน นอกจากน้ี
ผูป้ ฏบิ ตั ิงานควรไดร้ บั คาสอนหรอื คาแนะนาเก่ียวกบั สุขภาพและคามปลอดภยั ในเร่อื งเก่ยี วกบั การไดร้ บั สารรงั สหี รือ
สารกมั มนั ตรงั สี และผูป้ ฏบิ ตั ิงานท่เี ป็นหญงิ ควรไดร้ บั สอนหรอื แนะนาเฉพาะเก่ยี วกบั ความเสย่ี งทเ่ี ป็นอนั ตรายต่อการ
สรา้ งเอมบริโอ/ทารกในครรภ์ และแจง้ การตง้ั ครรภก์ บั ผูป้ ระสานงานของ ศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี

52

(Radiation Safety Service RSS) โดย RSS จะใหก้ รอกในแบบฟอร์มคาขอ (Request) นอกจากน้ีผูท้ ่ีไดร้ บั
อนุญาตจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ นดงั น้ี

 จากดั การใชน้ ิวคลโิ อไทดก์ มั มนั ตรงั สี (radio mcleotide) ทไ่ี ดร้ บั อนุญาตใหใ้ ชท้ ง้ั ทอ่ี ยู่ในการดูแล
และในสถานทท่ี ไ่ี ดร้ บั อนุญาตใหใ้ ชห้ รอื เกบ็

 มกี ารบนั ทกึ ผลการสารวจการปนเป้ือนสารกมั มนั ตรงั สเี ป็นประจาและต่อเน่ือง
 มกี ารบนั ทกึ เก่ยี วกบั ความปลอดภยั เกย่ี วกบั รงั สี และการปฏบิ ตั ติ นใหส้ อดคลอ้ งตามขอ้ กาหนด
โดยตอ้ งเขา้ รบั การฝึกอบรมทกุ ปีสาหรบั พนกั งาน/ผูป้ ฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั รงั สี และตอ้ งจดั ทาอย่างต่อเน่ือง
 มกี ารจดั ทาเอกสารของการรบั จานวนทม่ี ี และการท้งิ นิวคลโิ อไทดก์ มั มนั ตรงั สที ม่ี อี ยู่ โดยจดั ทา
อย่างต่อเน่ือง
 ตอ้ งทาเร่อื งแจง้ กบั ศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี (Radiation Safety Service) ใน
กรณีทม่ี กี ารเพม่ิ พนกั งาน มกี ารเปลย่ี นแปลงขน้ั ตอนหรอื วธิ กี ารใชน้ ิวคลโี อไทดก์ มั มนั ตรงั สี และแจง้ ความประสงค์ใน
การเปลย่ี นแปลงการใชห้ อ้ งหรอื พ้นื ทซ่ี ง่ึ ในการเกบ็ /การใชห้ รอื การปฏบิ ตั กิ ารเก่ยี วกบั การกมั มนั ตรงั สี
 จดั ทาบญั ชรี ายการสารรงั สแี ละนิวคลโี อไทดก์ มั มนั ตรงั สที ม่ี อี ยู่ในความครอบครอง และสง่ มอบ
รายการน้ีใหก้ บั ฝ่ายบคุ คลของ RSS ทท่ี าหนา้ ทเ่ี ก่ยี วกบั การถอื บญั ชีรายการสารเคมี และตรวจสอบของหน่วยงาน พ.
ป.ส. ในกรณีทไ่ี ดร้ บั การรอ้ งขอ
 ตอ้ งใหแ้ น่ใจวา่ เคร่อื งตรวจวดั รงั สี เคร่อื งตรวจนบั รงั สี liquid scintillatin เครอ่ื งตรวจนบั รงั สี
แกมมา ไดร้ บั การสอบเทยี บและใชง้ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ในการตรวจวดั การปนเป้ือนของรงั สหี รืออตั ราการไดร้ บั รงั สี
 ตอ้ งใหแ้ น่ใจว่ามกี ารป้องกนั การใช้ การเคลอ่ื นยา้ ยทไ่ี มไ่ ดร้ บั อนุญาตของสารกมั มนั ตรงั สที ม่ี อี ยูใ่ น
ครอบครอง ซง่ึ ตอ้ งเชค็ การปิดลอ็ คประตูห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ าร หรอื การเก็บสารกมั มนั ตรงั สไี วใ้ นหอ้ งพเิ ศษ ตเู้ยน็ หรือตแู้ ช่
แขง็ ทม่ี กี ารลอ้ คประตู เมอ่ื ไม่มผี ูป้ ฏบิ ตั งิ านหรอื นอกเวลาปฏบิ ตั งิ าน
 ตอ้ งใหแ้ น่ใจว่าผูค้ วบคุมดูแลการปฏบิ ตั ิงานแต่ละคนมคี วามรูแ้ ละไดร้ บั การฝึกฝนเก่ียวกบั ความ
ปลอดภยั เก่ียวกบั รงั สมี าแลว้ อย่างดี และใหก้ ารแผ่รงั สี และ/หรือการปนเป้ือนของรงั สอี ยู่ในระดบั ตา่ ท่สี ุดเท่าท่จี ะทา
ได้ (ALARA)
 มกี ารทบทวนหรือตรวจสอบการวางแผนการใชก้ บั สารกมั มนั ตรงั สใี นหอ้ งปฏบิ ตั ิการท่มี กี ารเร่มิ ใช้
รงั สเี พอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ ระดบั ของรงั สี และการปนเป้ือนของรงั สีเป็นไปตามกฎ ALARA
 แจง้ ศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี หรอื RSS เกย่ี วกบั เหตฉุ ุกเฉินเก่ยี วกบั รงั สหี รือ
การหกตกหลน่ กระเดน็ ของสารกมั มนั ตรงั สี ซง่ึ มผี ลทาใหเ้กดิ การกระจายการปนเป้ือนของรงั สไี ปสูพ่ ้นื ท่ี
นอกเหนือจากบรเิ วณทจ่ี ากดั ไว้ (เช่น สานกั งาน ทางเดนิ ลฟิ ท์ ฯลฯ) รวมถงึ สถานทส่ี ่วนบคุ คลหรอื ในทส่ี าธารณะ
สง่ิ ทส่ี าคญั ในการดูแลรกั ษาเพอ่ื ใหก้ ารดาเนินการเป็นไปอย่างต่อเน่ือง มขี อ้ กาหนดใหม้ กี ารบนั ทกึ เป็นประจา
เช่น มกี ารจดั ทาบญั ชีรายการของนิวคลโี อไทดก์ มั มนั ตรงั สี การฝึกอบรมบุคลากร ผลการสารวจการปนเป้ือน การ
ก าจัด ข อ งเสี ย ฯ ล ฯ โด ย ผู้ใช้ส าร กัม มัน ต รัง สี ต้อ งไม่ ม อ งข้าม ห รือ ห ล ง ลื ม ใน ก าร จ ด บัน ทึ ก

53

กำรฝึกอบรมเกย่ี วกบั ควำมปลอดภยั (Safety Training)

ฝ่ายบริหารของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรีกาหนดนโยบายการไดร้ บั ใบอนุญาตการใชร้ งั สี
ของ พ.ป.ส. ว่าผูไ้ ดร้ บั อนุญาตและทีมงานตอ้ งเขา้ รบั การฝึกอบรมความปลอดภยั เน่ืองจากการใชร้ งั สี Radiation
Safety Safety orientation Course ภายใน 60 วนั หลงั จากเรม่ิ ทางานครง้ั แรกกบั สารรงั สไี อโซโทปรงั สี หรอื เร่มิ ทา
การควบคุมดูแลทท่ี างานกบั รงั สไี อโซโทป

ในการฝึกอบรมซง่ึ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานความปลอดภยั สากลเป็นเน้ือหาเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ขนั้ พ้นื ฐาน
เก่ยี วกบั รงั สี ความเส่ยี งจากรงั สี นโยบายความปลอดภยั เก่ยี วกบั รงั สขี อง มจธ. โดยทวั่ ไป การสาธติ การใช้
เคร่อื งตรวจวดั รงั สี (dosimeter) ส่วนบคุ คลอย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม และเคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการสารวจ แจง้ เงอ่ื นไขใน
การไดร้ บั ใบอนุญาตจาก พ.ป.ส. ของมหาวทิ ยาลยั และการเปลย่ี นแปลงขอ้ กาหนดของ พ.ป.ส. ทนั สมยั ทส่ี ุด และ
ทบทวนความถกู ตอ้ งและความรบั ผดิ ชอบของผูท้ ป่ี ฏบิ ตั งิ านเก่ยี วกบั รงั สี

ในหลกั สูตรของการฝึกอบรมน้ีไม่ไดก้ าหนดใหม้ ีการสอนบุคลากรแต่ละคนในเทคนิคของการใชส้ ารรงั สีท่ี
จาเพาะหรือวธิ ีการทดลองท่ีจาเพาะ แต่อย่างไรก็ตามก็สามารถท่ีจะเพ่ิมรายละเอียดของการฝึกอบรม โดยผูไ้ ดร้ บั
ใบอนุญาตซ่งึ หลกั สูตรการฝึกอบรมน้ีจดั ทาโดยศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี ซ่งึ เป็นหน่วยงานหน่ึงใน
EESH ของ มจธ. ซง่ึ ทาการสอนขอ้ กาหนดขนั้ พ้นื ฐาน โดยจดั ข้นึ หลายครง้ั ในแต่ละเดอื น

ควรตอ้ งทาความเขา้ ใจว่าการฝึกอบรมหลกั สูตรน้ีไม่ใช่การฝึกอบรมแทนการฝึกอบรม ซง่ึ จดั โดย EESH
ของ มจธ. ซง่ึ เก่ยี วขอ้ งกบั มาตรฐานความปลอดภยั ภายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (Laboratory Safety Standard) และ
ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั อนั ตราย (Hazard Communication)

พ.ป.ส. ไดก้ าหนดใหต้ ดิ โปสเตอรข์ อ้ ควรปฏบิ ตั สิ าหรบั บคุ ลากรผูป้ ฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั รงั สใี นหอ้ งปฏบิ ตั ิการทม่ี ี
สารกมั มนั ตรงั สอี ยู่ โปสเตอรน์ นั้ หาไดจ้ าก RSS/EESH ส่วนสาเนานน้ั อยูใ่ น อา้ งองิ ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

การหกกระเดน็ ของสารกมั มนั ตรงั สี หรือการเกดิ การปนเป้ือนสารรงั สี (Radioactive Material Spills or
contamination Incidents)

การแพร่กระจายของสารกมั มนั ตรงั สที อ่ี อกไปเกนิ จากบรเิ วณทห่ี กกระเดน็ นนั้ เกดิ ข้นึ ไดง้ า่ ยมากจากการเดนิ
ไปมาของบุคคลท่เี ก่ยี วของ้ กบั การหกกระเด็น หรอื การพยายามในการทาความสะอาด การป้องกนั การปนเป้ือนจาก
การแพร่กระจายโดยกาจดั การเคล่ือนไหวของบุคคลจนกระทงั่ มีการตรวจวดั และพบว่าปราศจากการปนเป้ือน
เรยี บรอ้ ยแลว้ ในกรณีท่กี ารหกกระเดน็ ของสารกมั มนั ตรงั สใี นจานวนนอ้ ย ทมี งานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนน้ั อาจสามารถทา
ความสะอาดไดเ้องโดยไมต่ อ้ งขอรบั การช่วยเหลอื จากบุคลากรในหน่วยความปลอดภยั หรอื หน่วยตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน
เวน้ แต่การหกตกกระเด็นของสารกมั มนั ตรงั สีอ่ืน ๆ อาจจะตอ้ งพิจารณาว่าเป็นเร่ืองใหญ่ท่ีตอ้ งมกี ารจดั การโดย
หน่วยงานเพอ่ื ความปลอดภยั หรอื ไม่

54

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารกรณีเกดิ การปนเป้ื อนสารกมั มนั ตรงั สบี นร่างกาย (Procedures for radioactive contamination on
the body)

1. ถอดเส้อื ผา้ ทโ่ี ดนสารรงั สอี อกทนั ที และลา้ งบริเวณท่โี ดนสารรงั สดี ว้ ยนา้ ใหด้ ูวธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารตามบทท่ี 4
เรอ่ื ง วธิ ปี ฏบิ ตั ิการเมอ่ื สารเคมหี กรดถูกร่างกาย และสารอนั ตรายกระเดน็ เขา้ ตา

2. เขา้ รบั การตรวจจากแพทยท์ นั ที มกี ารบาดเจ็บร่วมดว้ ย หรอื มกี ารปนเป้ือนทช่ี ้ชี ดั ว่าทาใหเ้กดิ อนั ตราย
3. รายงานต่อ ศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี Radiotion Safety Service/EESH
4. ดูจากบทอ่นื ของแผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. เก่ยี วกบั ขอ้ ควรปฏบิ ตั เิ มอ่ื
เกดิ การหกกระเดน็ (spills)

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารกรณีเกดิ การหกกระเดน็ ของสารกมั มนั ตรงั สใี นปริมาณ หรือการเกดิ การปนเป้ื อนรงั สใี นปริมาณน้อย
(Procedures for minor radioactive spills or contamination incidents)

1. เตอื นผูท้ อ่ี ยู่ในบรเิ วณเกดิ การหกกระเดน็ ของสารรงั สใี หร้ ะมดั ระวงั
2. แจง้ เหตตุ ่อศูนยบ์ รกิ ารเพ่อื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี Radiation Safety Service/EESH จากนน้ั
ตดิ ต่อกบั EESH ของมจธ. เพอ่ื รายงานสง่ิ ทเ่ี กดิ ข้นึ
3. สวมอปุ กรณป์ ้องกนั ประกอบดว้ ยเคร่อื งป้องกนั ตา ถงุ มอื ท่กี นั รองเทา้ และเส้อื ปฏบิ ตั ิการ
4. วางผา้ หรอื กระดาษทใ่ี ชใ้ นการดูดซบั บนของเหลวทห่ี ก วางผา้ ทซ่ี บั นา้ บนสารเป็นสารรงั สใี นรูปของของแขง็
(ผง,ช้นิ )
5. ใชค้ ีมคีบหนีบผา้ หรอื กระดาษซบั ใส่ถงุ พลาสติก นาไปท้งิ ภาชนะทใ่ี ชใ้ ส่ของเสยี ทเ่ี ป็นสารกมั มนั ตรงั สี
โดยเฉพาะ
6. ตรวจสอบพ้นื ท่ี มอื รองเทา้ ว่ามกี ารปนเป้ือนหรอื ไมโ่ ดยใชเ้ ครอ่ื งตรวจวดั รงั สแี บบสารวจ (survey
meter) หรอื วธิ เี ชด้ (Swipe Method) ทาความสะอาดซา้ จนระดบั ของรงั สมี นี อ้ ยจนไม่สามารถตรวจวดั ได้ (ระดบั ไม่
ต่างจากระดบั Back ground)
7. รายงานการเกิดการหกกระเด็นของสารรงั สไี ปยงั หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารฯ

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารกรณีเกดิ การหกกระเดน็ ของสารกมั มนั ตรงั สจี านวนมาก หรือการเกดิ การปนเป้ือนรงั สปี ริมาณมาก
(Procedures for major radioactive spills or contamination incidents)

1. ใหค้ วามสนใจผูท้ บ่ี าดเจบ็ หรอื ปนเป้ือนดว้ ยรงั สแี ละเคลอ่ื นยา้ ยผูป้ ระสบอบุ ตั ิภยั ออกจากบรเิ วณนน้ั
จากนน้ั ถอดเส้อื ผา้ ท่โี ดนสารรงั สอี อกและลา้ งนา้ ในบรเิ วณท่ไี ดร้ บั สารรงั สหี ลาย ๆ ครง้ั โดยใชน้ า้ ปรมิ าณมาก ๆ เพอ่ื
เจอื จาง

2. เตอื นบคุ คลในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหม้ กี ารอพยพออกจากบรเิ วณเกดิ เหตุ
3. กกั บรเิ วณผูไ้ ดร้ บั การปนเป้ือนจากสารรงั สี จนกระทงั่ มกี ารทาความสะอาด ตรวจวดั และไมพ่ บการ
ปนเป้ือนแลว้

55

4. แจง้ ศูนยบ์ รกิ ารเพ่อื ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สี Radiation Safety Service/EESH จากนน้ั ตดิ ต่อกบั
EESH มจธ. เพอ่ื รายงานสง่ิ ทเ่ี กิดข้นึ

5. ปิดประตู ตดิ ป้ายเป็นบรเิ วณทม่ี กี ารปนเป้ือน และกนั ไมใ่ หบ้ ุคคลอ่นื เขา้ ไปในพ้นื ท่ี
6. มบี คุ คลทร่ี ูว้ ธิ กี ารจดั การกบั เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ และมบี คุ ลากรผูป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทช่ี ่วยเหลอื ในการตอบโตภ้ าวะ
ฉุกเฉินซง่ึ ผ่านการฝึกอบรมการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินแลว้ อยู่ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
7. รายงานการเกดิ เหตไุ ปยงั หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และผูค้ วบคุมอาคารนน้ั
ของเสยี ทมี่ รี งั สใี นระดบั ตา่ (Low-Level Radioactive Waste, LLRW)
ปฏบิ ตั ิตามขอ้ กาหนดของ มจธ. ในการจดั การของเสยี ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทเ่ี ก่ยี วกบั การกาจดั และแยกของเสยี
ทม่ี รี งั สรี ะดบั ตา่ ทเ่ี หมาะสม

56

บทท่ี 9
บทเสรมิ
(ADDITIONAL TOPICS)

ขอ้ มูลเสรมิ หรอื เพม่ิ เตมิ ใน แผนกำรดำเนินงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำร มจธ. ฉบบั น้ี
ประกอบไปดว้ ย

 การประเมนิ ทางการแพทยห์ ลงั การไดร้ บั สารเคมอี นั ตรายเกนิ ระดบั ปลอดภยั
 การตรวจสอบเพอ่ื ความปลอดภยั และการตรวจสอบดูแลความเรยี บรอ้ ย
 การตรวจสอบเพอ่ื การบารุงรกั ษาและการบนั ทกึ
 การตรวจตดิ ตามสภาพแวดลอ้ ม

กำรประเมนิ ทำงกำรแพทยห์ ลงั จำกไดร้ บั สำรเคมีอนั ตรำยเกนิ ระดบั ปลอดภยั
(Medical Evaluation after Chemical Overexposure)

หากเกิดกรณีท่ีบุคลากรในหอ้ งปฏิบตั ิการสงสยั หรือเช่ือว่าตนไดร้ บั สารเคมีอนั ตรายเกินระดบั ปลอดภยั
บุคลากรผูน้ ้ันจะตอ้ งไดร้ บั การตรวจสอบและประเมินทางการแพทยท์ นั ที ในกรณีน้ีเคร่ืองมือท่ีใชต้ รวจติดตาม
สภาพแวดลอ้ มอาจมคี วามจาเป็น ซ่ึงเครอ่ื งมอื เหล่าน้ีจะช่วยช้ใี หเ้หน็ ว่ามกี ารไดร้ บั สารเคมอี นั ตรายเกินระดบั ปลอดภยั
หรือไม่ ควรมกี ารดาเนินการขน้ั ตอนใดท่จี ะช่วยลดหรือบรรเทาอุบตั ิภยั ท่อี าจเกิดข้นึ จากการไดร้ บั สารเคมเี กินระดบั
ปลอดภยั และควรมเี คร่อื งมอื ตรวจจบั ซ่งึ จาเป็นเพ่อื ป้องกนั การไดร้ บั สารเคมอี นั ตรายเพ่มิ ข้นึ อีก ซ่งึ ตอ้ งใหแ้ น่ใจว่า
ในหอ้ งปฏิบตั ิการนนั้ ๆ ไดม้ ีการจดั ทาเอกสารท่ีเก่ียวกบั กรณีหรืออุบตั ิภยั อนั เกิดข้นึ เน่ืองจากการไดร้ บั สารเคมี
อนั ตรายเกนิ ระดบั ปลอดภยั น้ีไวแ้ ลว้ เอกสารเหลา่ น้ีตอ้ งรวมถงึ วธิ กี ารแกไ้ ข หากเกดิ กรณีเหลา่ น้ีข้นึ ดว้ ย

ในกรณีท่บี ุคลากรในหอ้ งปฏิบตั ิการถูกสงสยั ว่าไดร้ บั สารเคมอี นั ตรายเกินระดบั ปลอดภยั ชนิดเฉียบพลนั
(acute) อนั เน่ืองมาจากการหก ตก หลน่ สูดดมหรอื โดยวธิ อี น่ื บคุ ลากรผูน้ นั้ ควรปฏบิ ตั ติ น ดงั น้ี

1. ตอ้ งไดร้ บั การปฐมพยาบาลทนั ที หรอื ดาเนินการตาม material safety data sheet (MSDS) ซง่ึ ควรจะ
มอี ยู่แลว้ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและเรยี กหยบิ มาใชไ้ ดส้ ะดวก

2. รายงานเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ต่อผูค้ วบคุมดูแลหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (supervisor) และ Chemical Hygiene
officer เรว็ ทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะเรว็ ได้ นาผูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั ส่งใหแ้ พทยด์ ูแลอาการทนั ที

3. ใหข้ อ้ มลู ท่คี รบถว้ นของอบุ ตั ิภยั และอาการบาดเจบ็ ทเ่ี กดิ ข้นึ ลงในบนั ทกึ accident/injury form ใหก้ บั ผู้
ควบคุมดูแลหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ซง่ึ accident/injury form น้ีจะตอ้ งกรอกขอ้ มลู ใหค้ รบถว้ นและสง่ ใหศ้ ูนยจ์ ดั การดา้ น
พลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH) ภายใน 24 ชวั่ โมงหลงั เกดิ อบุ ตั ิเหตุ

57

4. รายงานต่อศูนยก์ ารแพทยแ์ ละการพยาบาล มจธ. เพอ่ื ใหด้ าเนินการประเมนิ ผลทางการแพทย์ โดยแพทย์
ผูช้ านาญการ

5. หากศูนยจ์ ดั การดา้ นพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH) มจธ. ไดพ้ จิ ารณา
แลว้ เหน็ วา่ ควรใหม้ กี ารทาการตดิ ตามผลทางการแพทยส์ าหรบั บคุ ลากรผูน้ น้ั กค็ วรใหด้ าเนินการตรวจเพม่ิ เตมิ ซง่ึ ตอ้ ง
ประสานงานกนั ระหวา่ งศูนยก์ ารแพทยแ์ ละการพยาบาล มจธ. กบั ผูป้ ระสบอบุ ตั เิ หตุ

6. ค่าใชจ้ ่ายทเ่ี กดิ ข้นึ ในกรณีเกิดอบุ ตั ภิ ยั น้ีทง้ั หมด ทางมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ตอ้ งเป็น
ผูด้ าเนินการจ่ายค่าใชจ้ ่ายทง้ั หมด โดยผูป้ ระสบอุบตั ภิ ยั ไม่ตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่ายใด ๆ ทง้ั ส้นิ

7. ศูนยจ์ ดั การดา้ นพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH) มจธ. จะส่งรายงาน
ใหก้ บั ผูค้ วบคุมดูแลการปฏบิ ตั งิ านของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทผ่ี ูป้ ระสบอบุ ตั ภิ ยั ทางานอยู่ โดยรายงานฉบบั น้ีจะอธบิ ายถงึ การ
ดูแลบคุ ลากรในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ และอปุ กรณ์ป้องกนั หรือเครอ่ื งมอื ใดทผ่ี ูค้ วบคุมดูแลการปฏบิ ตั งิ านตอ้ งนามาใช้
เพอ่ื ทจ่ี ะป้องกนั ไมใ่ หเ้กดิ กรณีการไดร้ บั สารเคมอี นั ตรายเกนิ ระดบั ความปลอดภยั แบบน้ีอกี

กำรตรวจสอบเพอ่ื ควำมปลอดภยั และกำรตรวจดูแลควำมเรยี บรอ้ ย
(Safety & Housekeeping Inspections)

ศูนยจ์ ดั การดา้ นพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH) เป็นผูใ้ หข้ อ้ เสนอแนะ
เกย่ี วกบั เร่อื งการตรวจสอบเพอ่ื ความปลอดภยั และการตรวจตราดูแลในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ซง่ึ ตอ้ งทา
เป็นประจาทกุ 6 เดอื น โดยผูค้ วบคุมดูแลการปฏบิ ตั งิ าน ผูจ้ ดั การหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หรอื ผูท้ ไ่ี ดร้ บั การมอบหมายเป็น
ผูด้ าเนินการซง่ึ ศูนยจ์ ดั การดา้ นพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH) จะเป็นผูม้ อบใบ
รายการ Checklist เหลา่ น้ีจะครอบคลุมไปถงึ การตรวจตราดูแลความเรยี บรอ้ ยของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร แต่หอ้ งปฏบิ ตั ิการ
เองอาจทาเรอ่ื งขอรอ้ ง (Request) ให้ EESH มาดาเนินการตรวจสอบใหก้ ไ็ ด้ ซง่ึ สามารถท่จี ะทาการนดั หมายกบั
EESH ถงึ ช่วงเวลาทเ่ี หมาะสมในการตรวจสอบได้

กำรตรวจสอบเพอ่ื กำรบำรุงรกั ษำและกำรบนั ทึก
(Manitenance Inspection/Records)

นอกเหนือจากการตรวจสอบเพอ่ื ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการแลว้ การตรวจสอบเพอ่ื การบารุงรกั ษาใน
แต่ละช่วงเวลากเ็ ป็นสง่ิ จาเป็นท่ตี อ้ งดาเนินการ การตรวจสอบเหลา่ น้ีจะหมายรวมถงึ การบารุงรกั ษาเคร่อื งมอื และ
อปุ กรณเ์ พอ่ื ความปลอดภยั ชนดิ ตา่ ง ๆ (personal protective equipment) ซง่ึ ในสว่ นน้คี วรบนั ทกึ ถงึ ผทู้ ท่ี าหนา้ ท่ี
รบั ผดิ ชอบในการตรวจสอบ ช่วงเวลาทเ่ี หมาะสมในการตรวจสอบ เช่นทกุ 3 เดอื น หรอื 6 เดอื น บนั ทกึ การตรวจสอบ
ทไ่ี ดจ้ ะเกบ็ ไวท้ ไ่ี หนโดยละเอยี ด โดยบนั ทกึ เหลา่ น้ีจะอยู่ใน บนั ทกึ ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

58

กำรตรวจตดิ ตำมสภำพแวดลอ้ ม (Environmental Monitoring)

การตรวจติดตามสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งปฏิบตั ิการนนั้ หมายรวมถึงการวดั เพ่ือประเมนิ ระดบั การปนเป้ือน
ชนิด airborne contaminants ในบางกรณีการวดั เพ่ือประเมนิ ระดบั การปนเป้ือนเหล่าน้ีสามารถทาไดโ้ ดยตรงและ
ทราบถงึ ปริมาณของระดบั สารท่ไี ดร้ บั จรงิ จากเคร่ืองมอื หรืออุปกรณ์ท่ใี ชต้ รวจจบั /ตรวจวดั นน้ั ในบางกรณีอาจเก็บ
ตวั อย่างอากาศโดยใชอ้ ปุ กรณท์ เ่ี หมาะสม แลว้ นาตวั อยา่ งทเ่ี กบ็ มาแลว้ นน้ั มาวเิ คราะหห์ าปรมิ าณในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ

บรรทดั ฐานท่ีนามาใชใ้ นการตรวจสอบติดตามเพ่ือท่ีจะนามาประเมินว่าหอ้ งปฏิบตั ิการนั้นควรใช้
environmental monitoring หรอื ไม่ สามารถประเมนิ ไดจ้ าก

 บุคลากรในหอ้ งปฏิบตั ิการผ่านประสบการณ์ท่ีเก่ียวกบั กล่ินท่ีจาเพาะของสารอนั ตรายท่ีใชใ้ น
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

 บุคลากรในหอ้ งปฏิบตั ิการผ่านประสบการณ์เก่ียวกบั อาการท่ผี ดิ ปกติดา้ นกายภาพท่เี ก่ียวขอ้ งกบั
การไดร้ บั สารอนั ตราย

 หากไม่สามารถใชก้ ารควบคุมทางวศิ วกรรม (engineering control) ในขณะท่ตี อ้ งทางานเก่ยี ว
ของ้ กบั สารทม่ี นั่ ใจว่าเป็นสารเคมอี นั ตราย

 หากบคุ ลากรในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารถามถงึ ความเป็นไปไดข้ องการไดร้ บั สารเคมี ซง่ึ การใชส้ ารเคมนี นั้
ตอ้ งใชใ้ นเงอ่ื นไขหรอื สถานทห่ี รือมอี ปุ กรณจ์ าเพาะแต่ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนน้ั ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิตามเงอ่ื นไขนน้ั ได้
EESH สามารถช่วยใหห้ าคาตอบหรอื ช่วยเหลอื หรอื แกไ้ ขในกรณีถงึ การไดร้ บั สารเคมชี นิดนนั้ กบั บคุ ลากรใน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการนน้ั ๆ ได้

ในการทาโปรแกรมดา้ น Environmental monitoring สาหรบั สารเคมที ไ่ี ม่ใช่สารรงั สหี รอื สว่ นประกอบของ
สารรงั สี โปรดตดิ ต่อศูนยจ์ ดั การดา้ นพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั (EESH) ส่วนการทา
โปรแกรมสาหรบั สารเคมที เ่ี ป็นสารรงั สหี รอื ส่วนประกอบของสารรงั สหี รอื ในบรเิ วณทม่ี เี คร่อื งมอื ทส่ี ามารถแผ่รงั สีได้
โปรดตดิ ต่อศูนยบ์ รกิ ารเพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชส้ ารรงั สึ

การทา environmental monitoring เพอ่ื ประเมนิ ความปลอดภยั ในสถานท่ที างานภายใน มจธ. สว่ นใหญ่
อาจสามารถทาไดโดยไมต่ อ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่ายใด ๆ ซง่ึ ในกรณีทม่ี กี ารสงสยั วา่ ไดร้ บั สารเคมอี นั ตรายแบบเฉียบพลนั อาจมี
ความจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งทาการตรวจสอบตดิ ตามใหเ้รว็ ทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะเรว็ ได้ เพอ่ื ทจ่ี ะก่อใหเ้กดิ ประโยชนส์ ูงสุด และให้
ผลลพั ธท์ ไ่ี ดม้ คี วามหมายมากทส่ี ุด

59

ควำมปลอดภยั ดำ้ นไฟฟ้ ำ
(Electronic Safety)

อนั ตรายอนั เกิดจากกระแสไฟฟ้ าและการกระทาเพ่ือความปลอดภยั จากกระแสไฟฟ้ าใหส้ อดคลอ้ งกบั
มาตรฐานสากลนนั้ เป็นมาตรฐานท่ีไดก้ าหนดไวใ้ นขอ้ กาหนดปกติของ OSHA ซ่ึงการทาการใดใหส้ อดคลอ้ งกบั
มาตรฐานสากล ท่ีระบุไวเ้ พ่ือความปลอดภยั ดา้ นไฟฟ้าอาจทาการแกไ้ ขค่อนขา้ งลาบากในกรณีท่ีขอ้ ฝ่ าฝืนนนั้ เก่ียว
เน่ืองกนั กบั การท่ตี อ้ งทาการเปลย่ี นระบบการตดิ ตงั้ หรอื เดนิ สายระบบไฟฟ้าในตกึ ใหม่นนั้ ซง่ึ ค่าใชจ้ ่ายส่วนน้ี คณบดี
หรือผูอ้ านวยการศูนยว์ ิจยั ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการนนั้ ๆ ควรเป็นผูอ้ นุมตั ิเพ่อื แกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ ง ซ่งึ ในบางกรณี อาจจาเป็น
ท่ีจะตอ้ งมกี ารเปล่ียนหรือยา้ ยสถานท่ีสาหรบั หอ้ งเคร่ืองมือของตึกปฏิบตั ิการนนั้ ๆ หากปริมาณไฟฟ้ าในหอ้ งนนั้
ไมพ่ อเพยี งกบั การใชง้ านได้

ขอ้ มลู ต่าง ๆ ต่อไปน้ีไดน้ ามาจากคู่มอื ของหน่วยงาน EESH ในหวั ขอ้ “ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร :
วธิ ปี ฏบิ ตั ิการเพอ่ื ความกา้ วหนา้ ” เพอ่ื กระตนุ้ ใหเ้กดิ ความปลอดภยั ในสถานทท่ี างาน อนั เกย่ี วขอ้ งกบั การทางาน
ดา้ นไฟฟ้า ควรดาเนินการโดยวธิ ตี ่อไปน้ี

1. อปุ กรณไ์ ฟฟ้าทกุ ชนิดควรจะมสี ายดนิ และควรใชป้ ลกั๊ สามขาหรอื หมุ้ ฉนวนสองช้นิ
2. สายไฟฟ้าทใ่ี ชง้ านควรอยู่ในสภาพดไี มช่ ารุด และตรวจเชค็ อยู่เสมอ
3. เครอ่ื งมอื ชนิดใดท่ปี ลอกหมุ้ สายไฟชารุดหรอื มแี ต่เสน้ ลวดทองแดงใหห้ ยุดใชง้ านแลว้ นาไปซอ่ มส่วนท่ี
ชารุดใหเ้รียบรอ้ ย
4. การซอ่ มแซมไฟฟ้าทง้ั ตวั ระบบและอปุ กรณ์ ควรกระทาโดยผูช้ านาญการและไดร้ บั การรบั รองแลว้
5. ใชป้ ลกั๊ ไฟเด่ยี วในการต่อไฟฟ้าของเคร่อื งมอื ตวั ใดตวั หน่ึงเท่านนั้
6. ไมค่ วรใชป้ ลกั๊ หลายอนั ในการต่อเช่อื มไฟฟ้าเพม่ิ เติม
7. การเดนิ สายไฟฟ้าแบบถาวรไมค่ วรใชส้ ายไฟชนิดต่อ (extension cord) มาแทนท่ี
8. ไมค่ วรใชเ้ตา้ เสยี บชนดิ หลายเตา้ เสยี บหรอื เตา้ เสยี บชนดิ ตอ่ (outlet exten EESH) กบั เครอ่ื งมอื ใด ๆ ก็
ตามท่กี นิ ไฟสูงเกนิ 8 วตั ต์
9. ไมค่ วรใชไ้ ฟเกนิ กาลงั ไฟฟ้าทม่ี อี ยู่
10.ไมค่ วรทางานเกย่ี วกบั การต่อปลกั๊ ไฟหรอื ทางานเกย่ี วกบั ไฟฟ้าในขณะท่มี อื เปียกหรอื ในขณะท่ยี นื อยู่ในนา้
หรอื ใกลน้ า้
11.เคร่อื งมอื ไฟฟ้า เช่น เคร่อื งผสม (mixer) หรอื hot plate ไมค่ วรใชใ้ กลก้ บั สารไวไฟ
12.ไมค่ วร bypass อปุ กรณเ์ พอ่ื ความปลอดภยั (Safety device) บนช้นิ สว่ นของอปุ กรณไ์ ฟฟ้าหรอื
เครอ่ื งมอื ไฟฟ้า

60

บทท่ี 10
บทสรปุ
(CONCLUSION)

คู่มือ แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. ฉบบั น้ีไดจ้ ดั ทาข้นึ โดยมี
จุดม่งุ หมายท่จี ะใหบ้ ริการ/ช่วยเหลอื หอ้ งปฏิบตั ิการทงั้ หลายในมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี ในดา้ น
ต่าง ๆ หลาย ๆ ดา้ นทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ความปลอดภยั โดยมเี น้ือหาเกย่ี วกบั แนวทางปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นประโยชนแ์ ละขอ้ มลู ต่าง
ๆ ทค่ี รอบคลุมกบั ความปลอดภยั และสอดคลอ้ งกบั กฎระเบยี บเพ่อื ความปลอดภยั โดยตรง ซง่ึ แผนกำรดำเนินงำน
ดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิกำร มจธ. ฉบบั น้ีสามารถใชเ้ ป็นตน้ แบบของคู่มอื แผนการดาเนินงานดา้ นความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี สาหรบั กลุ่มหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารต่าง ๆ ซ่งึ อาจจะ
สามารถนาตน้ ฉบบั คู่มือ แผนกำรดำเนินงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิกำร มจธ. น้ีไปใชไ้ ดโ้ ดยตรง หรือ
นาไปดดั แปลง/ประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการหรือการใชง้ านของหอ้ งปฏิบตั ิการของตนเองได้ โดยท่ีจะ
พยายามเนน้ ถึงความสาคัญของความปลอดภยั และการสอดคลอ้ งกบั กฎระเบียบเพ่ือความปลอดภยั ท่ีเป็น
มาตรฐานสากล และยอมรบั กนั ทวั่ โลก ซง่ึ การทจ่ี ะทาให้ คู่มอื แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
มจธ. ของแต่ละหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั และหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารบริการใหม้ เี น้ือหาเนน้ ถงึ ความสาคญั ของความปลอดภยั และ
สอดคลอ้ งกบั กฎระเบียบเพ่ือความปลอดภยั ท่ีเป็นมาตรฐานสากลน้ันเป็นหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบของผูอ้ านวยการ
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแต่ละหน่วยวจิ ยั ต่อไป

แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ มจธ. ฉบบั น้ีไดป้ ระกอบดว้ ยเน้ือหา
สาระสาคญั สามส่วน รวมเขา้ ดว้ ยกนั อนั มนี โยบาย (policy) วธิ กี ารดาเนินการ (procedure) และแผนการดาเนินงาน
ดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ.

จากแผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. ฉบบั น้ี คณะผูจ้ ดั ทาคาดหวงั
ว่าเม่ือแต่ละหอ้ งปฏิบตั ิการไดล้ งมือปฏิบตั ิจริงในช่วงระยะเวลาหน่ึงแลว้ คงจะไดม้ ีการพิจาร ณาแกไ้ ขปรบั ปรุง
(revision) เพ่มิ เติม (addition) และมกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ขดา้ นอ่นื ๆ เพ่อื ใหเ้หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั กฎระเบยี บของ
ทางมหาวทิ ยาลยั

คณะผูจ้ ดั ทาหวงั ว่า แผนการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร มจธ. ทไ่ี ดจ้ ดั ทาข้นึ
ครงั้ น้ี คงจะเป็นประโยชนต์ ่อผูน้ าไปปฏบิ ตั ไิ มม่ ากกน็ อ้ ย และหวงั ว่าคงจะไดม้ กี ารปรบั ปรุงพฒั นา แผนการดาเนินงาน
ดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจธ. น้ีเป็นพ้นื ฐานสาหรบั โปรแกรมเพ่อื ความปลอดภยั ท่มี ปี ระสิทธภิ าพและ
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานความปลอดภยั สากลอนั เป็นประโยชน์สาหรบั บุคลากรในมหาวิทยาลยั พระจอมเกล้าธนบุรี
ต่อไป

61


Click to View FlipBook Version