The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Digital Compete, 2019-11-25 22:56:44

003Book_Why Smart City

003Book_Why Smart City

ทำไมตอ งเปน เมืองอัจฉรยิ ะ

เจา ของ: บรษิ ทั เดอะ คอมพีท เทคโนโลยี จำกัด

เขยี นโดย: ภาสกร อรรถสษิ ฐ

ปกและภาพโดย: ธรี นาถ เสือโต

ISBN: 978-616-93450-0-8

พิมพ: ธนั วาคม 2562

จำนวนพิมพ: 600 เลม

ราคา: บาท

ภาสกร อรรถสิษฐ
ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉริยะ.-กรงุ เทพฯ : เดอะ คอมพีท เทคโนโลย,ี
2562. 70 หนา.

1.เปล่ียนแปลงทางสงั คม 2.ความเจริญของสงั คม 1.ชอ่ื เรือ่ ง

303.4
ISBN : 978-616-93450-0-8

สงวนลขิ สิทธ์ิ ตาม พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธิ์

จัดพิมพโ ดย
บริษัท ชยากร พรนิ้ ติ้ง จำกัด
27 ซอยมาเจรญิ 3 แยก 4-3 แขวงหนองแขม
เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160

ทำไมตอ งเปน เมืองอัจฉรยิ ะ

บทนำความคิด

สังคมโลกเปลี่ยนแปลงไปทุกวันอยางไมหยุดนิ่ง ในขณะที่ประชากร
โลกก็มีจำนวนมาก และอายุยืนยาวมากขึ้นทุกวัน เหตุมาจากความ
เจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทำใหเกิดการวิวัฒนาการการ
พัฒนาในทั่วทุกดานของสังคมอาทิเชน เศรษฐกิจ การเมือง สังคม
การแพทย การศึกษา แตในอีกดานวิวัฒนาการดังกลาวทำใหเกิดการอพยพ
ยายถิ่นฐานของประชากรจากชนบทเขาเมือง เมืองตางๆ ในสังคมโลกเกิด
การขยายตวั และสงผลกระทบเชิงลบตอสง่ิ แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติถูก
ทำลาย เกิดมลภาวะตางๆ ในสังคม ภัยธรรมชาติ เกิดความแออดั ของสังคม
เมอื ง ความเหลื่อมล้ำทางสงั คม และการแยงชงิ ทรพั ยากร

วันนี้ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาถึงจุดของการ
เปลี่ยนแปลง เมืองจึงไมไดหมายถึงการพัฒนาใหเกิดความเจริญทางสังคม
ดังที่กลาวมา แตตองทำใหความกาวหนาของเทคโนโลยี และความซับซอน
ของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส พัฒนาสูนวัตกรรมทางเทคโนโลยี เพื่อเปน
ปจ จัยสำคญั ในการขบั เคล่อื นการพัฒนาเมอื งรูปแบบใหมสงผลตอการพัฒนา
ทีเ่ ปน ประโยชนต อการดำรงชวี ิตประชากรโลก เชน การจดั การพลังงาน การ
ขนสงสาธารณะ ระบบเศรษฐกจิ การจัดการชุมชน ตลอดจนการจดั การดแู ล
และใชประโยชนจากทรัพยากรอยา งมีประสิทธิภาพ เพื่อทำใหชีวิตประชากร
เมืองมคี ณุ ภาพดขี ้ึน

02

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉริยะ

การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ นอกจากเปนประโยชนตอการดำรงชีวิต
ของประชากรเมืองทำใหชีวิตคนเมืองมีคุณภาพทดี่ ีข้ึนแลว ยังเปนสวนสำคัญ
ของการแกปญหา การโยกยา ยถิน่ ท่อี ยูของประชากร ลดปญหาความเหล่ือม
ลำ้ ระหวางสังคมเมืองกับชนบท พัฒนาระบบเศรษฐกจิ ใหมคี วามเขมแข็ง ทั้ง
ยงั สามารถกำหนดทิศทางการขยายเมอื งตามเปาหมาย สนบั สนนุ การพัฒนา
ของสังคมในทิศทางเชิงบวก ตามหลักการขององคการสหประชาชาติท่ีวา
ดว ย การพฒั นาเมอื งในรปู แบบใหม กับการนำใชเทคโนโลยแี ละกระบวนการ
จดั การเมืองในดา นตา งๆ

การกำหนดทิศทางของเมืองในรูปแบบใหม สำนึกของประชาชนที่มี
ตอชุมชนและสังคมเมือง มีสวนสำคัญอยางยิ่ง ภาคประชาชนจึงเปนปจจัย
หลักของการพัฒนา ในขณะท่ผี ูน ำชมุ ชน ผูนำสังคมตอ งมวี ิสัยทัศน ของการ
พฒั นาเมอื งทกี่ วา งไกล ทำใหค นทกุ คนในสังคมมีสวนรวม เกดิ ความรสู ึกเปน
เจา ของรวมกนั กำหนดอนาคตการพัฒนาสังคมรว มกนั ดวยตนเอง ไมร อการ
พง่ึ พาจากรัฐบาลสวนกลาง เชน นีแ้ ลวไมวาจะเปนเมอื งในรูปแบบไหน สังคม
ก็จะมีภูมิตานทานตอผลกระทบดานลบ ทั้งเปนสังคมเมืองที่มีความเขมแข็ง
และยงั่ ยนื

ภาสกร อรรถสษิ ฐ

03

ทำไมตองเปน เมอื งอัจฉรยิ ะ

สารบญั หนา

บทนำความคดิ 2
ความเปน เมอื งในวนั น้ี 6
ทำไมตอ งเปน เมืองอจั ฉริยะ 15
หลกั การเมอื งอัจฉรยิ ะ (Smart City) 19
21
1. Smart Energy พลงั งานอัจฉรยิ ะ 25
2. Smart Mobility การเคลื่อนไหวอัจฉริยะ 29
3. Smart Water ทรัพยากรนำ้ อัจฉรยิ ะ 33
4. Smart Public Services การบริการสาธารณะอัจฉริยะ 37
5. Smart Buildings ท่อี ยอู าศยั อัจฉรยิ ะ 41
6. Smart Data Center ศูนยขอ มูลอัจฉรยิ ะ 45
เมืองอจั ฉรยิ ะ ใครทำอะไรที่ไหน 45
สงิ คโปรเ มืองอัจฉริยะ 51
เซยี่ เหมินเมอื งอจั ฉรยิ ะสเี ขียว 57
พัฒนาเมืองอจั ฉริยะ ใหประโยชนอะไร 61
สามปจ จยั สูก ารพฒั นาเมืองอัจฉริยะ 65
บรรณานุกรม

04

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

05

ทำไมตอ งเปนเมืองอจั ฉริยะ

ความเป็นเมืองในวันนี้

“เมือง” ในความหมายของคนทั่วไปคือ พื้นที่หรืออาณาบริเวณที่มี

บานเรือน ผูคนอาศัยรวมกันอยูจำนวนมาก มีระบบบริการสาธารณะทั่วถึง
แสดงถงึ การปฏิสัมพันธใ นเชิงพาณชิ ย และอตุ สาหกรรมท่มี ลี ักษณะของการ
เปนศูนยกลาง แตสิ่งที่กลาวมานั้น ในวันนี้ไมสามารถใหความเปนเมืองท่ี
สมบูรณไดหากขาดการพฒั นาการวางแผนเมืองอยา งมที ศิ ทาง โดยความเปน
เมืองในยุคปจจบุ ันและอนาคตมีปจ จัยที่ผูม ีสว นเก่ยี วของ ซึ่งหมายถึงสมาชิก
ของสังคมเมือง จำเปนตองเขาใจรับรูและกำหนดทิศทางเปาหมายของการ
พฒั นาเมอื งรวมกัน เพราะปจจุบนั เมืองทกุ เมอื งในโลกกำลังประสบกับปญหา
ตางๆ เชน ปญหาการขยายตัวของเมืองอยางไรทิศทาง ปญหาการแยงชิง
ทรัพยากร ปญหาสิ่งแวดลอม ปญหาประชากร ดังนั้นการจัดการโครงสราง
เมือง นโยบายการพัฒนาเมือง การวางแผนกำหนดกรอบทิศทางการขยาย
เมืองอยางเปนระบบ กลายเปนความสำคัญของรัฐทุกรัฐและในยุคที่ความ
เจริญกาวหนา ของเทคโนโลยพี ัฒนามาถงึ ข้นั ทีส่ งผลตอ บริบทของการดำเนิน
ชีวิตมนุษย บริบททางสังคม และอีกหลายมิติ เมืองจึงเปนสวนหนึ่งที่กำลัง
ถกู ทา ทายตอการเปล่ียนแปลงครง้ั นี้

06

ทำไมตองเปน เมืองอัจฉรยิ ะ

เมืองกบั ตนทุนทรัพยากร

บทบาทของเมืองกับทรัพยากร เพราะวาเมืองอยูในฐานะของ
ผูบริโภคทรัพยากร เพื่อใหเกิดการพัฒนาทั้งทางดาน เศรษฐกจิ สังคม และ
ชีวิตความเปนอยูของประชากรเมื่อเมืองขยายตัวและเติบโตขึ้น อัตราการใช
ทรัพยากรจึงเพิ่มขึ้นจำนวนมาก ดังนั้นเมืองจำเปนตองมีการจัดการ
ทรัพยากรอยางมีคุณภาพและเปนระบบ เพื่อใหชุมชนและสังคมเมืองมี
หลกั ประกนั วาจะมที รัพยากรใชอยางเพยี งพอและยั่งยืน โดยประกอบไปดวย
หลกั สำคัญดังนี้

.

1. พัฒนาโดยหลักความเปนธรรม การใชทรัพยากรอยางมี
ประสิทธิภาพ เริ่มดวยความเปนธรรมของการใช “ผูใชเปนผูจาย” และการ
ชดเชยใหกับผูที่ไดรับผลกระทบจากการใชทรัพยากร สนับสนุนภาคเอกชน
ในการสงเสรมิ ธุรกจิ ท่รี ักษาสงิ่ แวดลอ ม ใชเทคโนโลยีอยางชาญฉลาด เพือ่ ให
ไดทั้งผลผลิตทางอุตสาหกรรมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง
แบงปนการรับรองสิทธิการใชทรัพยากรของประชากรในสังคมเมืองอยาง
เสมอภาค

2. การทดแทนทรัพยากร ลดการใชพลังงานที่ใชแลวหมดไปอยางมี
นัยสำคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งพลังงานจากฟอสซิล เพื่อสงวนทรัพยากร
ธรรมชาติ และลดมลภาวะของเมือง กำหนดมาตรการในการใชเทคโนโลยี
ใหม พัฒนาการผลิตแหลงพลังงานหมุนเวียนทดแทน เชน พลังงานแสง
พลังงานลม และพลังงานคลื่น รวมทั้งบริหารการใชพลังงานอยางมี
ประสทิ ธิภาพ

1(ทมี่ า: http://www.allaroundplastics.comarticlesustainability1898)

07

ทำไมตอ งเปนเมอื งอจั ฉริยะ

รูปแสดงการผลิตพลังงานหมนุ เวียน1

3. การหมุนเวียนทรัพยากร

สงเสริมใหเกิดกระบวนการ

หมุนเวียนผลผลิตที่เลิกใชให

สามารถนำกลับมาใช (Recycle)

ในรูปแบบ Green Business

รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ในการบริโภคผลิตภัณฑของคน

ในสังคม ลดปริมาณผลิตภัณฑที่ รปู แสดงการนำกลับมาใชใ หม2
เสียหายงายโดยผานหลักการ

Reengineering ที่ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีเพื่อเขามาเพ่ิม

ประสิทธิภาพทางเทคนิคของผลิตภัณฑ เชน การยืดอายุ การสรางความ

คงทนของผลิตภัณฑ

2(ทม่ี า: http://www.adeq.or.th/พลังงาน/)

08

ทำไมตอ งเปน เมอื งอจั ฉริยะ

เมอื งกบั ส่งิ แวดลอม
ความหมายของสิ่งแวดลอมที่มีผลตกกระทบตอความเปนเมือง มี

ความสำคัญอยางยิ่ง เพราะสิ่งแวดลอมของเมืองจะเปนปจจัยหนึ่งที่สะทอน
คุณภาพชีวิตประชากรเมือง โดยความหมายของสิ่งแวดลอมที่กลาวมามีทั้ง
สิ่งแวดลอมที่มีชีวิต และสิ่งแวดลอมที่ไมมีชีวิต ในทน่ี ี้ประกอบกันเปนสอง
สว นใหญๆ คอื (1).สิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ (2).ส่ิงแวดลอ มทมี่ นษุ ยส รา งขึน้

รปู แสดงเมอื งกับส่ิงแวดลอ มของ “มักกะสัน”

(ท่มี า: http://yusabuy.com/2015/05/30/มักกะสัน-สวนสรา งสรรค-makkasan/)

โดยสาระความสำคัญจะอยูท่ีการกำหนดสิ่งแวดลอมท่ีมนุษยสรางข้ึน
ซึ่งตองเกิดความเหมาะสมและสอดคลองกับความเปนเมือง เพราะ
สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นมีสวนสำคัญที่ทำให ทั้งความเปนเมืองและ

09

ทำไมตองเปนเมอื งอัจฉรยิ ะ

สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติไดรับผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ดังนั้น
หลักการของความเปน เมืองทีม่ คี ุณภาพตองประกอบไปดว ย

1. วถิ ใี นการบริโภคของประชากรท่เี ปน มิตรกับสงิ่ แวดลอม
2. การใชท รัพยากรทางธรรมชาตติ อ งไมส ง ผลกระทบตอ ระบบ

นเิ วศวทิ ยา
3. สง่ิ แวดลอ มทมี่ นษุ ยสรา งขึน้ ตอ งเปนมติ รกับส่งิ แวดลอ มทาง

ธรรมชาติ
เมืองที่มีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง และมีแนวโนมมากขึ้นในทุก
ดาน หากขาดการวางนโยบายที่มีประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง ยอมสงผล
กระทบตอสิ่งแวดลอมในทางลบของเมือง เชน ปญหาปริมาณขยะที่เพ่ิมข้ึน
จากการบริโภค ปญหาน้ำเสียทั้งจากภาคครัวเรือนและอุตสาหกรรม จำนวน
ยานพาหนะที่มีจำนวนมากสงผลตอ ปญหาการจราจร ปญหามลพิษทาง
เสียง มลพษิ ทางอากาศ การกอ สรางที่ขาดการควบคุมและไมม ีประสิทธิภาพ
ก็เปนที่มาของปญ หาฝุนละอองที่เกินคามาตรฐาน ดังนั้นการบริหารเมืองท่มี ี
กฎเกณฑ และระเบียบขอบังคับอยางเขมงวดเปนธรรม เพื่อใหสภาพความ
เปน เมือง ทำใหป ระชากรเมอื งมีคณุ ภาพชีวิตทดี่ ี จงึ มคี วามสำคัญอยา งมาก

10

ทำไมตอ งเปนเมอื งอจั ฉรยิ ะ

เมอื งกับภยั พิบตั ิ

ภัยพิบัติกำลังกลายเปน ปญหาใหญข องเมืองในระดบั นานาชาติ เพราะ
เมื่อเกิดภัยพิบัติในแตละครั้งทำใหเกิดความเสียหายทั้งชีวิต และทรัพยสิน
จำนวนมาก เนื่องจากเมืองมีความหนาแนนของประชากรจำนวนมาก ซึ่ง
สาเหตขุ องภัยพิบตั ิมาจากปจ จยั 2 สวนคอื

1. ภัยพิบตั ิจากธรรมชาติ ที่มีผลปจจัยมาจากการเปล่ยี นแปลงสภาวะ
ภูมอิ ากาศของโลก กำลังคกุ คามความเปนเมืองอยางมาก โดย เฉพาะปญหา
การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลก ในปจจุบันองคการสหประชาชาติ กำหนดใหมี
ยุทธศาสตรการลดภัยพิบัติระหวางประเทศ (International Strategy for
Disaster Reduction หรือ ISDR) เพื่อสรางความรวมมือระดับนานาชาตใิ น
การปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นหลายรูปแบบ ทั้งพายุ
แผนดินไหว น้ำทวม คลื่น
ยักษดังนั้นในกระบวนการ
สรางระบบปองกันความ
ปลอดภัย ตองอาศัยความ
รวมมือ การแลกเปลี่ยน
ขอมูลสารสนเทศในระดับ
นานาชาติ ตลอดจนการ
วางระบบปองกันภัยของ
เมือง เชน การเฝาระวัง ทมี่ า:https://www.tnews.co.th/columnist/175743/
การเตือนภยั การปองกันภยั และแกปญ หาเมือ่ เกดิ ภัยพบิ ตั ิ

11

ทำไมตอ งเปนเมืองอัจฉรยิ ะ

2. ภัยพิบัติจากการกระทำของมนุษย ภัยจากการกอการรายถือเปน

ภัยพิบัติรูปแบบหนึ่งที่สำคัญซึ่งแตกตางจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เพราะ

เปนภัยจากมนุษยท ี่สรา งขึน้ เพ่ือกอการราย มุงเนนการเกิดในพืน้ ทีเ่ มืองเปน

สวนใหญ โดยเฉพาะ

พื้นที่ชุมชนเพื่อความ

ตองการใหความเสียหาย

มีขนาดใหญและบริเวณ

กวางการปองกันภัยพิบัติ

จ า ก ก า ร ก  อ ก า ร ร  า ย น้ี

จำเปนตองสรางความ

รวมมือที่เขมแข็งในดาน

ท่มี า:https://www.tnews.co.th/columnist476408/ ตางๆ เชน ความรวมมือ
ในระดับสังคม เมืองจึง

ตองสรางเครือขายสังคมในการปองกันที่ดี การบูรณาการดานการขาว

ระหวางหนว ยงานรฐั กับความรว มมือขอมลู สารสนเทศระดบั นานาชาติ

“การกำหนดแนวทางและการวางรปู แบบการปอ งกนั “
ภัยพบิ ัตทิ งั้ 2 ดานของเมอื งทดี่ ีและมปี ระสทิ ธิภาพ
จะสามารถสรางความม่ันคง และความเชอ่ื มน่ั ของ
ประชากรเมอื งแมว าสง่ิ ทกี่ ลาวมายงั มิได
ครอบคลมุ ภัยพบิ ตั ิ
หรอื เหตุรายในทุกมติ กิ ต็ าม

12

ทำไมตอ งเปนเมอื งอจั ฉรยิ ะ

เมืองกับการสรางเอกลกั ษณ
นอกจากบทบาทของเมืองในดานตางๆ แลว เมืองจำเปนตองแสดง

ความเปนเอกลักษณที่มีความโดดเดนตามคุณลักษณะทางกายภาพของเมือง
เพื่อสรางทิศทางการพัฒนา ทั้งยังสามารถบงบอกความเปนตัวตนของเมือง
ไดเปนอยางดี ดังนั้นการพัฒนาเมืองใหโดดเดนในดานใดดานหนึ่ง หรืออาจ
มีมากกวาหนึ่งดาน จะชวยพัฒนาทั้งองคความรูของประชากรเมือง
สนับสนุนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ระบบสังคม และยังทำใหความเปน
เมืองมีความนาสนใจในสายตาประชาคมโลกอีกดวย เชน ความเปนเมือง
ดานศูนยกลางทางดา นเศรษฐกิจและคมนาคม ดานศูนยกลางทางการศึกษา
ดานศูนยก ลางการแพทย หรือการพัฒนาเมอื งรูปแบบ เมืองทองเท่ียว เมือง
ทอี่ ยอู าศัย เมอื งศาสนาวัฒนธรรม เมืองอตุ สาหกรรม เมอื งวิทยาศาสตร ซง่ึ
การสรางเอกลักษณความเปน เมอื งในบริบทตางๆ นี้ จำเปน ตองพิจารณาจาก
รากเหงาประวัติศาสตรความเปนมาของเมือง พิจารณาจากศักยภาพทาง
ทรพั ยากรภายในเมือง ตลอดจนลักษณะทางดา นภมู ิศาสตรข องเมือง

หากเมอื งสามารถสรางเอกลักษณไดตรงกับศักยภาพและความเปนมา
ของเมืองนนั้ ๆ จะสามารถสรางความโดดเดนและกลายเปนจุดขายกระตุนใน
เกิดมูลคา เพ่ิมในดานเศรษฐกจิ ทำใหเ มืองเติบโตอยางเขมแขง็ ยั่งยืน และสง
ตอวฒั นธรรมประวตั ศิ าสตรจากรุน สรู ุน

13

ทำไมตอ งเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

เมืองในอนาคต

เมืองในอนาคตกำลังกลายเปนเรื่องที่ทั้งโลกกำลังใหความสนใจไปใน
ทศิ ทางเดยี วกนั คอื การเตรียมความพรอ มในการออกแบบอนาคตของเมืองที่
มีความสลับซับซอนของปญหาในมิติตางๆ ทั้งยังตองพัฒนาเมืองเพื่อรองรับ
ความยืดหยุนตอการรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเมือง การเปลี่ยน
เมืองในอนาคตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การลดนอยลงของกาซคารบอนฯ
ในชั้นบรรยากาศ การรักษาระบบนิเวศวิทยาของธรรมชาติใหสมดุล การ
พัฒนาดานภาวะแวดลอม ทั้งตอ งใหความสำคญั กบั ปญหาการสรางความเปน
ธรรมท่ีจะทำใหคนจนเมอื ง คนดอยโอกาส เปนสว นหน่งึ ของชีวิตเมือง ไดรับ
การบรกิ ารอยางเทา เทยี มอยา งมีศักดศ์ิ รเี ชนกับประชากรเมอื งทุกคน

ประมาณการจากธนาคารโลกรายงานวาภายใน ค.ศ.2030 จะมีอยาง
นอย 27 มหานครในโลก เปนเมืองที่มีประชากรอาศัยอยูมากกวา 10 ลาน
คน ซึ่งสวนใหญอยูในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก และภายในป ค.ศ.2030 น้ี
ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ยังไดประมาณการตอไปวา สาธารณรัฐ
ประชาชนจนี จะมปี ระชากรประมาณหนึ่งพนั ลานคนท่ีอาศยั อยูใน 221 เมือง
ทั่วประเทศ จึงเปนความสำคัญของกระบวนการจัดการเมืองที่กำลังพัฒนา
และสรางขึ้นใหม สงผลตอความพยายามในการลดผลกระทบจากการใช
ทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัด ADB ยังคาดการณการเติบโตของประชากร
เมืองของโลกวา ในอีก 20 ปขางหนาวาจะเติบโตจาก 3 พันลานเปน 4
พันลานคน เมืองตางๆ ในโลกจึงกำลังเผชิญกับความทาทายของการจัดการ
ปญหาเมืองในอนาคตอันใกล

14

ทำไมตองเปน เมืองอัจฉรยิ ะ

ทำไมตองเปน เมืองอัจฉริยะ

รัฐบาลทั่วโลกกำลังใหความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ และ
การพัฒนาการใชขอมูลของประเทศต้งั แตอดีตถึงปจจุบัน โดยการนำ
เทคโนโลยีอินเตอรเน็ตที่เรียกวา IOT (Internet Of Thing) และ Big
Data มาประยุกตใชประมวลผลวิเคราะหขอมูลเพื่อประโยชนในการศึกษา
ตรวจสอบ ปองกัน และการพัฒนาเมือง ตลอดจนปรับปรุงคุณภาพชีวิตของ
ประชากรเมืองในทุกมตขิ องสงั คม

ท่มี า: https://www.bankinfosecurity.com/gao-assesses-iot-cybersecurity-other-risks-a-9926

15

ทำไมตองเปน เมืองอัจฉริยะ

ตามท่ีองคการสหประชาชาติคาดการณวาภายในป ค.ศ. 2020 นี้
ประชากรเมืองจะเพิ่มขึ้นคิดเปน 55% ของจำนวนประชากรทั้งหมด นั่น
หมายความวาเมืองตางๆ ในโลกจะมีประชากรจำนวนมากอาศัยอยูบนพื้นท่ี
สวนนอยของโลก การเติบโตดังกลาวทำใหรัฐตางๆ กำลังเผชิญกับความทา
ทายที่เพิ่มขึ้น ทั้งระบบขนสงคมนาคม การอยูอาศัยที่แออัด และการจัดหา
พลังงาน เพื่อตอบสนองความตองการของประชากรที่เพิ่มมากขึ้น และใน
อนาคตความสามารถของการจัดหาพลังงานทดแทน จะตองควบคูไปกับ
กระบวนการจัดการเก็บพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ การผลิตพลังงานจาก
ฟอสซิลจะคอยๆ ถูกปฏิเสธ เพราะการผลิตพลังงานรูปแบบนี้กอใหเกิด
ปญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาวะภูมิอากาศโลก กอในเกิดมลภาวะ ทั้งยัง
สิ้นเปลืองทรัพยากรในการจัดหาอยางมาก จากนี้ไปผูนำรัฐในแตละประเทศ
จำเปนตองมีวิสัยทัศนตอการจัดการพลังงานอยางชาญฉลาดเพราะพลังงาน
กลายเปนทั้งยุทธศาสตร และตนทุนที่สำคัญอันดับแรกของการพัฒนาความ
เปน รฐั สมยั ใหม

16

ทำไมตอ งเปนเมอื งอจั ฉริยะ

ในความเปนจริงยังมีความทาทายอีกมากในการพัฒนาใหกลายเปน
"เมืองอัจฉริยะ" เชน การลงทุนสำหรับโครงสรางพื้นฐานเมือง, การพัฒนา
ซอฟตแวรเมืองและสวนสำคัญในการผลักดันสูความสำเร็จซึ่งผูบริหารเมือง
หลายแหงในโลกจำเปนตองแสวงหา คือรวมมือระหวางภาครัฐเอกชน และ
ประชาชนอยางจริงจังสำหรับการพัฒนาในมิติตางๆ ของเมืองเพื่อใหเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด สามารถสรางระบบการจัดการ และแกปญหาที่เกิดขึ้น
ของสังคมเมืองไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดผลกระทบเชิงลบ มุงสูการพัฒนา
เมืองไดอยางย่ังยืน โดยมีเปา หมายการพฒั นาทสี่ ำคญั 4 ดา นดงั นี้

1. เมืองที่มีคุณภาพในการวางแผนการจัดวางระบบสาธารณูปโภค
เมืองการบริหารจัดการดานพลังงานตั้งแตระบบการผลิต การสงจายการใช
งานที่มีประสิทธิภาพสูง ทั้งยังตองพัฒนาการใชพลังงานทดแทน ทั้งระบบ
ทั่วไปและระบบที่ใชรองรับเทคโนโลยี ติดตั้งอุปกรณเสริมทั้ง Hardware
และ Software ที่ชวยสนับสนุนการพัฒนาการบริหารจัดการเมืองและ
แนวคดิ การสรา งเมืองอัจฉริยะท่ีดี

2. มีความสามารถในการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะ
ดานขอมูลสารสนเทศการสื่อสาร เปนปจจัยในการพัฒนาเมือง ที่สำคัญ
สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบ นำใชขอมูลทาง
เทคโนโลยีเพื่อชวยใหเมืองสามารถตอบสนองความตองการในการพัฒนา
ระบบบรกิ ารดานตาง ๆ

3. การพัฒนาพื้นฐานทางดา นเศรษฐกิจและการลงทุนทีค่ วบคูไปกับ
กิจกรรมเมือง เพื่อเปนการรองรับการพัฒนาเมืองอยางตอเนื่องเปนสิ่งที่มี
ความจำเปนอยางยิ่งการพัฒนาระบบ Logistic ระบบขนสงสาธารณะท่ี
ทันสมัย การสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจเมืองตอ งสง ผลกระทบเชงิ บวก
ตอเศรษฐกิจชนบทอยา งมนี ัยยะและเปนไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ

17

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

4. สงเสริมใหเกิดการคนควาวิจัยและพัฒนางานดานเทคโนโลยีที่มี
ความเหมาะสมกับเมืองในอนาคต เปนความจำเปนอยางยิ่ง ในการวิจัยและ
พฒั นางานเทคโนโลยีเมืองจำเปนตองพึ่งพาการบริหารจัดการดานเทคโนโลยี
อยตู ลอดเวลา และการวจิ ัยดานเทคโนโลยี จะชวยใหก ลไกการบริหารจัดการ
ดานสิ่งแวดลอมเมืองสภาพสังคมชุมชนเมืองมีคุณภาพสูงขึ้น โดยสามารถ
พัฒนาใหเกิดความสอดคลองเหมาะสมกับความตองการของประชากรเมือง
ไดดที ั้งปจ จบุ นั และในอนาคต

มาตรฐานที่กลาวมาถือไดวาเปนคุณสมบัติเบื้องตนที่สำคัญ และยัง
เปนหลักการสากล ที่นานาชาติใหการยอมรับวาเปนแนวทางของการพัฒนา
เมืองสูความเปน“เมืองอัจฉริยะ”ทั้งยังเปนการพัฒนาเมืองในรูปแบบการมี
สวนรวมของประชากรเมืองทำใหประชากรเมืองมีคุณภาพชีวิตบนพื้นฐาน
สภาพแวดลอมที่ดี เปนสังคมแหงการเรียนรูและพัฒนาภูมิปญญาอยางมี
ประสิทธภิ าพ

18

ทำไมตองเปน เมอื งอัจฉรยิ ะ

หลักการเมืองอัจฉรยิ ะ (Smart City)

จากการศึกษาโดย Mr.Charbel Aoun รองประธาน
อาวุโสดา น Electric's Smart Cities Strategy and
Innovation ของบริษัท Cisco System
Corporation ซึ่งเปนบริษัทที่ทำงานดานการพัฒนา
Smart City Networking ของประเทศอังกฤษได
นำเสนอไววาเปนการพัฒนาขึ้นเพื่อใหเกิดชุมชน
เมืองที่สามารถอำนวยความสะดวกแกผูอยูอาศัย
Mr.Charbel Aoun และพัฒนาคุณภาพในการใชชีวิต เปนเมืองนาอยู
และมีการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัดไดอยางมีประสิทธิภาพ โดย
กระบวนการทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงระบบโครงสรางพื้นฐาน
ของเมืองเขาดวยกันแบบพลวัต (Dynamic) ผานการบริหารจัดการเมือง
เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ในขณะที่การประชุมของคณะกรรมาธิการ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาแหงสหประชาชาติวาดวยเมือง
อัจฉริยะ เมื่อป ค.ศ.2016 ไดใหการรับรองคำจำกัดความของเมืองอัจฉริยะ
หมายถึง “เมืองอัจฉริยะอยางยั่งยืนคือ เมืองแหงนวัตกรรมที่ใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการสื่อสาร และเครื่องมืออื่นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต มี
ประสิทธิภาพของการปฏบิ ัติงาน การบริการและความสามารถในการแขงขัน
ของเมอื ง ขณะเดยี วกันคณุ สมบตั ขิ องเมอื งอัจฉริยะตองตรงกบั ความตองการ
ของคนปจจุบนั และคนรนุ ตอไปทัง้ ดานเศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดลอ ม”

19

ทำไมตองเปนเมืองอจั ฉรยิ ะ

จากนิยามและความหมายที่มีความหลากหลาย ครอบคลุมการนำใช
วิทยาศาสตรเทคโนโลยี เขามาเปนสวนสำคัญในการสรางนวัตกรรม เพื่อ
ขับเคลื่อนความเปนเมืองอัจฉริยะอยางยั่งยืน ทั้งยังเปนสวนสำคัญของการ
พัฒนาประเทศโดยรวม ดังนั้น Mr.Charbel Aoun ไดใหรายละเอียดสำคัญ
ของการพัฒนาในรูปแบบเมืองอัจฉริยะ ในบทรายงานเรื่อง The Smart
City Cornerstone ของเขาตั้งแตเมื่อป ค.ศ.2013 วาจะตองประกอบไป
ดว ยคณุ ลกั ษณะอัจฉริยะสำคัญ 6 ดา นคอื

20

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

21

ทำไมตอ งเปน เมืองอจั ฉรยิ ะ

1. พลังงานอัจฉริยะ
หมายถึงโครงสรางการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งระบบ

พลังงานไฟฟาอัจฉริยะนั้นตองประกอบเปนสวนยอยๆ เริ่มจาก Smart Grid
ที่เปนโครงขายไฟฟาที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมาบริหาร
จดั การ ควบคมุ การผลิต การสงจา ยพลังงาน รองรบั การเช่ือมตอ ระบบไฟฟา
จากแหลงพลังงานหลักและพลังงานทางเลือกที่มีหลากหลายรูปแบบทั้งเปน
พลังงานสะอาด กระจายอยูท ั่วไป (Distributed Energy Resource) เปน
ระบบบริหารการใชทรัพยากรใหมีเกิดประโยชนสูงสดุ รวมถึงการบริการกบั
ผูเชื่อมตอโครงขายทั้งผูจำหนายพลังงาน และผูใชพลังงานผานระบบมิเตอร
อัจฉริยะที่ติดตั้ง IOT เพื่อประมวลผลแจงสถิติการใชพลังงานไดอยางมี
ประสิทธิภาพ มีความมั่นคงปลอดภัย เชื่อถือได ตามมาตรฐานสากล ซ่ึง
ระบบอัจฉรยิ ะนี้ อธิบายจากการพฒั นาจากเทคโนโลยี 3 ดาน อรทยั กกผล
(2559 : 92) ประกอบดวย 1.)ระบบวงจรอิเล็กทรอนิกสและระบบฝงตัว
(Electronics and Embedded Systems) 2.)ระบบควบคุมอัตโนมัติ
(System Control and Automation) 3.)ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร
(Information and Communication)

22

ทำไมตองเปนเมืองอจั ฉริยะ

1.1 ระบบการเชื่อมตออัจฉริยะ (Smart Electrical connection
System) เปน โครงขายการจายพลังงานไฟฟาท่ีมีการเชอ่ื มตอ จากตนทางไป
ปลายทางของการใชพ ลังงานในพื้นที่ตางๆ ดังนั้นโครงขา ยอัจฉริยะ ตองเปน
โครงขายสำคัญที่สามารถสรางความมั่นคงทางพลังงานของเมืองสมัยใหม
และยงั ทำใหก ารใชพลังงานเปน ไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถอำนวยความ
สะดวกใหกับผูใ ชไ ฟฟา โดยคณุ สมบตั พิ นื้ ฐานของระบบการเชื่อมตอ อัจฉริยะ
ประกอบไปดว ย อรทยั กก ผล (2559 : 93)

 สามารถในการตรวจวัดสภาวะของระบบ ณ เวลาจริง และ
ทำงานไดเองโดยอัตโนมตั ทิ ้งั สภาวะปกตแิ ละสภาวะฉกุ เฉนิ

 สามารถสื่อสารขอมูลโตตอบขอมูลกับผูควบคุมระยะไกลหรือ
ระบบควบคุมงานที่เปน AI ในรูปแบบตางๆ ทั้งภายในและ
ภายนอก

 สามารถขายและซื้อไฟฟากับคูสัญญาในหลากหลายรูปแบบ
หลายระดับ ซึ่งอาจจะเปนทั้งผูใชไฟฟาและผูผลิตไฟฟาหลาย
ระดับ ท้ังขนาดใหญ ขนาดเลก็ หรอื บคุ คลธรรมดา

 รองรับการใชรถยนตไ ฟฟา ขนสงมวลชนระบบราง บานเรือนท่ี
พกั อาศยั และสำนกั งาน ในรปู แบบอจั ฉรยิ ะ

1.2 แหลง จายพลงั งานอัจฉรยิ ะ (Smart Electrical Energy Supply)
เปนรูปแบบของแหลงพลังงานที่นอกจากโรงไฟฟาตามรูปแบบเดิม เชน
โรงไฟฟา ถานหิน, กาซ, เขอื่ นพลงั งานน้ำขนาดใหญ เปนตน น้ันแลว รปู แบบ
การผลิตพลังงานไฟฟา ตามแนวคิดพลังงานอัจฉริยะมีบทบาทสำคัญอยาง
มากในอนาคตจากรูปแบบท่หี ลากหลายเชน อรทยั กก ผล (2559 : 93)

23

ทำไมตอ งเปน เมืองอัจฉริยะ

 พลังงานทดแทน (Renewable Energy) หมายถึงพลังงานที่
สามารถสงผลกระทบเชิงบวกตอการใชทรัพยากรธรรมชาติ
หมายถึงพลังงานลม, พลังงานแสง, พลังงานชีวภาพ, พลังงาน
ชีวมวล, พลงั งานคลื่นน้ำ, พลงั งานความรอนใตพิภพ, เปน ตน

 แหลง ผลิตพลงั งานไฟฟาขนาดเลก็ (Distributed Generation)
เปนการขยายตัวของการผลิตท่ีกระจายตามพื้นที่ตาง ๆ เชน
เซลลแสงอาทิตยขนาดเล็กที่ติดตั้งบนหลังคาที่อยูอาศัย หรือ
โรงเรือนภาคธุรกิจ (Rooftop Photo Voltaic) การผลิตไฟฟา
ขนาดเล็กจากเสาไฟตามแนวถนนในรูปแบบ (Hybrid Turbine)
กงั หันลมเซลลแสงอาทิตย เปน ตน

 การพฒั นารปู แบบของแหลงกักเก็บพลังงาน (Energy Storage)
เชน สรางระบบตัวเก็บประจุไฟฟาคุณภาพสูง หรือ Ultra
capacitor ในรูปแบบ High quality battery, Lithium cell,
Aluminum cell เปนตน

 การพัฒนายานยนตไฟฟารูปแบบใหม (Electric Vehicle) ใน
อนาคตตองเปนแหลงผลิตพลังงาน และเก็บสะสมพลังงานได
ยาวนาน เชน ระบบ Fuel Cell EV

โครงสรางของการจัดการพลังงานอัจฉริยะนั้น มีสาระสำคัญในสอง
ดานคือ 1.แหลงผลิตพลังงานอัจฉริยะ และ 2.ระบบการเชื่อมตออัจฉริยะ
โดยมีความสามารถในการจัดการผลิต การสงจาย การบริการผูใชพลังงาน
นำวิทยาศาสตรเทคโนโลยีเขามาบริหารจัดการควบคุมการใชทรัพยากร ให
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถขยายพลังงานตามโครงขายคมนาคมเพ่ือ
การพฒั นาชุมชนและตอบสนองการพฒั นาเมืองอัจฉริยะ

24

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

25

ทำไมตองเปน เมืองอัจฉริยะ

2. การเคลอ่ื นไหวอจั ฉรยิ ะ

การเคลื่อนไหวที่หมายถึง การขนสง การคมนาคม การจราจร ใน
ทุกรูปแบบ แตปจจุบันการพัฒนาเมืองในรูปแบบใหม สิ่งที่เมืองกำลังเผชิญ
ปญ หาอยา งมากคือ การขยายตวั ของเมืองโดยเฉพาะระบบขนสงคมนาคม ท่ี
สงผลกระทบตอระบบนิเวศนของสังคม ทั้งการเคลื่อนที่แบบขยายไรการ
จัดการระบบอัจฉริยะสงผลตอเปาหมายดานนโยบายสาธารณะอยางมี
นัยสำคัญดังนั้นการลดความคับคั่งการลดจำนวนยานพาหนะสวนบุคคลบน
ถนนโดยการจัดสรางโครงสรางขนสงมวลชนระบบราง และการเชื่อมตอแนว
ถนนจากระบบรางที่สามารถเขาถึงชุมชน จะสามารถลดปญหาการจราจร
ตดิ ขดั ลดการเกิดอุบัติเหตุทางจราจรไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดการสูญเสีย
เวลาในการเดินทางและขนสงสงผลใหคุณภาพอากาศของชุมชนเมืองที่ดีข้ึน
สามารถจดั การพืน้ ท่สี าธารณะใหเกิดประโยชนสงู สุด

โครงขายคมนาคมปจจบุ ัน จำเปนตองสรางความเชื่อมโยงโครงสรา ง
ของการขนสงระบบราง กับระบบยานพาหนะไฟฟาอัจฉริยะ ดวย Smart
Terminal เพื่อความสะดวกในการเดินทางและลดหรือยกเลิกการใช
ยานพาหนะพลังงานน้ำมัน เปนยุทธศาสตรการสรางเมืองสมัยใหมการ
พัฒนาเมืองอัจฉริยะตองใหความสำคัญตอการขนสงระบบราง เพราะมี
ความสามารถในการเคลื่อนยายผูคนจากจุดหมายหนึ่งไปยังจุดหมายหน่ึง
ดวยความรวดเร็วและจำนวนมากอีกทั้งความปลอดภัยอยูในระดับสูงเม่ือ
เปรียบเทียบกับยานพาหนะอื่นสำหรับรถยนตพลังงานไฟฟาในปจจุบันกำลัง
ไดรับความนิยมและเปนเปาหมายของการพัฒนาในหลายประเทศเชนกันแต

26

ทำไมตอ งเปนเมอื งอัจฉรยิ ะ

การพฒั นารถยนตไ ฟฟาจำเปน ตอ งมีรูปแบบ Smart Vehicle เพือ่ พฒั นาใหมี
ความปลอดภัย ความถูกตอ งและแมนยำในการเดินทาง

รูปแสดงระบบ Area Traffic Control Systems
การพฒั นาระบบควบคมุ จราจรอจั ฉรยิ ะเชน Area Traffic Control
Systems สามารถควบคุมไฟสัญญาณจราจร ประมวลผลปญหาความ
หนาแนน ในจุดแยกและแนวถนน ทั้งระบบ ควบคุมการจราจรระบบราง
และรวมถึงการควบคุมการเคลื่อนยายระบบขนสงรูปแบบอื่นๆ ผานระบบ
เครือขายการประมวลผลดวย กลองวงจรปดระบบอัตโนมัติแบบ Real time

27

ทำไมตองเปนเมืองอจั ฉริยะ

ระบบ Car sensor ที่มีคุณสมบัติเปน IOT โดยใชระบบ AI ในการ
ประมวลผลสงขอมลู เพื่อการแกไขปญหาไดในทันที รวมท้ังระบบ Transport
Support ที่สามารถใหคำแนะนำเกี่ยวกับเสนทางจราจร สำหรับผูใชรถ ใช
ถนนได และมี Software สนับสนุนในรูปแบบของ Application บน Smart
Phone ที่สามารถใหขอมูลเกี่ยวกับการจราจรโดยผูใชงาน Smart Phone
สามารถเขาถงึ ขอ มลู ทเ่ี ปน ประโยชนแ บบทนั ทแี ละตลอดเวลา

การใชเทคโนโลยีการเคลื่อนที่อยางชาญฉลาดรวมกัน
อยางบูรณาการจะนำพาใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ
ใหมดานการคมนาคมขนสง การใหบริการแบบ On-
Demand Service เชนบริการของ Grab, Messenger
หรือบริษัทดาน Logistic ตางๆ เปนรูปแบบการ
ใหบริการระบบ Real Time ทำใหไมจำเปนตองมี
ยานพาหนะอยูบนถนนจำนวนมาก เกิดการสิ้นเปลือง
พลังงาน ทั้งยังมีความปลอดภัยในการเดินทาง หรือ
โครงสรางระบบ car2go, carpools, car rent, เปน
ระบบแบงปนทรัพยากร ผูเดินทางไมจำเปนตองเปน
เจาของรถ ไมจำเปนตองมีภาระ การใหบริการใช
พาหนะในหลายรูปแบบ รวมไปถึง Application ที่ชวย
วางแผนการเดินทาง ตลอดจนการพัฒนาเสนทาง
จักรยานภายในเมืองที่สามารถเชื่อมตอระหวาง ชุมชน
กับสถานที่สำคัญ ที่มีเสนทางเปน Loop หลายชั้น
สามารถชวยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเดินทางของ
คนเมือง ใหเปน มิตรกับส่ิงแวดลอมมากขึน้

28

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

29

ทำไมตองเปน เมืองอจั ฉรยิ ะ

3. ทรพั ยากรนำ้ อจั ฉริยะ

การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำใชเพื่อการบริโภค จะตองอาศัยการ
ผสมผสาน ทางดา นขอ มลู กายภาพของสภาวการณน้ำทางธรรมชาติในแตละ
ชว งทัง้ อดีต ปจ จุบนั และอนาคตการคาดการณท างธรรมชาติ (อุทกศาสตร)
การบริหารจัดการ การใชน้ำในทุกระดับ (ประเภทกลุมธุรกิจ ครัวเรือน)
เพื่อนำกระบวนการทางเทคโนโลยีดานตางๆ เขามาควบคุมการสงจายน้ำ
การจัดการบริหารน้ำตนทุน น้ำสวนเกิน การพัฒนาระบบควบคุมการรั่วไหล
อัตโนมัติ (Sensor by IOT) เพื่อชวยใหส ามารถตัดการจา ยน้ำบริเวณท่ีเกิด
การรั่วไหลไดทันที โดยไมตองรอการตรวจสอบจากบุคคล ลดการสิ้นเปลือง
และชวยใหงานบำรุงรักษาเปนไปดวยความรวดเร็ว การสงขอมูลการใชน้ำ
แบบ Real Time (Smart Meter) ลดการใชพนักงานเดินตรวจจดขอมูล ซึง่
มีโอกาสผิดพลาดสูง และขอมูล ก็ไมเปน Real Time จะทำใชผูใชน้ำเขาใจ
สถานการณใชง านปจ จุบันผดิ พลาด หรอื อาจเกดิ ปญหาอน่ื ใดในขณะน้นั

นอกจากการบริหารจัดการน้ำเพื่อการบริโภคแลว เมืองอัจฉริยะ
จำเปนตองพัฒนาระบบควบคมุ น้ำแลงน้ำทวม ไปควบคูการใชน้ำ ดังนั้นการ
จัดการดานระบบอุทกศาสตรออนไลน รวมถึงแผนการบริหารจัดการน้ำมี
ความเชื่อมโยงระหวางน้ำตนทนุ ทั้งน้ำใตด ินน้ำผวิ ดิน การระบายน้ำสวนเกนิ
อยางเหมาะสมการคาดการณปริมาณฝนในแตละชวงเวลา การจัดการดาน
สถิติทางอุทกศาสตร เพื่อบริหารโครงสรางการใชน้ำ การระบายน้ำ ควบคุม
อุทกภัยดวยระบบอัตโนมัติ (Sensor by IOT) จากปริมาณน้ำที่มีมาก
เกินไปดวยระบบ Floodway ทั้งยังตองวิเคราะหอุปทานของน้ำธรรมชาติท่ี
ผา นเขาชมุ ชนเมอื งโดยไมส ามารถควบคุมปริมาณได

30

ทำไมตอ งเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

การจัดการน้ำเสียอยางเปนระบบ และมีประสิทธิภาพเปน
ความสำคัญของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเพราะน้ำเสียถือเปนมลภาวะที่
กระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชากรเมือง การควบคุมและ
คำนวณตนทุนคาใชจายที่เหมาะสม สำหรับประชาชนที่ตองรับภาระนั้นๆ
ทั้งการควบคุมการบำบัดน้ำใชแลว ดวยเทคโนโลยีการจัดการที่สามารถนำ
กลับมาใชใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการตรวจสอบวิเคราะห คา
มาตรฐานอยางเหมาะสมกอนสงน้ำออกสูระบบธรรมชาติ หรือนำกลับมา
บรหิ ารการใชประโยชนอ ีกครง้ั

31

ทำไมตอ งเปนเมอื งอัจฉรยิ ะ

รปู ระบบจัดการน้ำอัจฉรยิ ะ (Smart Water)

32

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

33

ทำไมตองเปน เมืองอจั ฉริยะ

4. การบรกิ ารสาธารณะอจั ฉรยิ ะ
การบริการสาธารณะอัจฉริยะเปนรูปแบบจัดการงานบริการ

ประชาชนของภาครัฐ ที่มีการใหบริการดานตางๆ ที่จำเปนตองทำให
ประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยงาย อำนวยความสะดวกควบคู กับความ
ปลอดภัยในการใชชีวิตของประชาชนเชน

รปู Smart Public Services การบริการสาธารณะอจั ฉรยิ ะ

34

ทำไมตองเปนเมอื งอจั ฉริยะ

4.1 Smart Security ระบบกลองวงจรปดในบริเวณพื้นที่สาธารณะ
ที่ไมใชเพียงแคบันทึกและมีเจาหนาที่ที่ตรวจสอบได แตประชาชนตอง
สามารถเขาถึงโดยผาน Application บน Smart Phone เมื่อตองการ
พรอมกับระบบ AI ในการตรวจสอบควบคุมอาชญากรรมหรืออุบัติเหตุที่
เกิดขึ้นในพื้นที่สาธารณะโดยเปนระบบที่สามารถประมวลผลเปรียบเทียบ
อัตลักษณของบุคคล หรือยานพาหนะและวัตถุอื่นใดอยางแมนยำ สามารถ
ติดตามพฤติกรรมและการเคลื่อนที่ของเหตุอันตรายไดอยางตอเนือง ตั้งแต
ตนทางถึงปลายทาง ระบบแจงเตือนความปลอดภัยในพื้นที่สาธารณะ ซึ่ง
หมายถึงจุดแจงเตือนที่กระจายอยูทั่วไปในพื้นที่สาธารณะที่ประชาชน
สามารถเขาถึงไดงาย โดยเชื่อมสัญญานกับระบบกลองวงจรปดและสถานี
ตำรวจใกลเ คียงเพือ่ สรา งความปลอดภัยในการใชชีวติ ของประชากรเมอื ง

4.2 Smart Light ระบบไฟฟาสองสวางในพื้นที่ถนน หรือชุมชน
ควรผานระบบเทคโนโลยเี พ่ือ คำนวณหาคาความสวางของแสงท่ีเหมาะสมใน
แตล ะชวงสภาวะภูมิอากาศของการปดเปดระบบไฟฟาการเปลี่ยนหลอดไฟฟา
ในพื้นที่สาธารณะใหเปนแบบ Smart LED ที่สามารถใหแสงสวางสูงและ
สิ้นเปลืองพลังงานต่ำ ในขณะที่สามารถควบคุมการทำงานในดานอื่นๆ ไป
พรอมกันและพื้นที่ใหแสงสวางจำเปนตองมีความสามารถผลิตพลังงานเสริม
ไดอ ยา งเหมาะสมเชนกัน

4.3 Smart Environment ปจจุบันรัฐบาลในหลายประเทศ มี
แผนการบรหิ ารจัดการส่งิ แวดลอมในรูปแบบ Green City Plan เปน แนวทาง
ในการออกแบบการจัดการดานสิ่งแวดลอม เชน การปรับแตงทางเดินเทา
ใหเปนระบบระบายความรอน ทั้งยังใหความสวยงามของพื้นที่ ฟนฟูแหลง
ระบายน้ำ คัดแยกขยะของเสีย ตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมสากล การรักษา

35

ทำไมตองเปน เมอื งอัจฉรยิ ะ

และเพิ่มจำนวนของสภาพแวดลอมสีเขียว โดยการวัดผลจากคาความสมดุล
ระหวา งการพัฒนาและการอนรุ กั ษพ ้ืนท่ี เพ่ือทำใหสภาพแวดลอ มนาอยูยิ่งขึ้น
การใชมาตรการควบคุมการใชทรัพยากรอยางคุมคาเพื่อลดปริมาณขยะและ
ของเสีย เชนการกำหนดใหมีการวัดผลดวยการเก็บคาใชจายเพิ่ม หากผูซื้อ
สินคาในรานคาตองการใชถุงพลาสติกเพื่อใสสินคาในราน และกำหนด
มาตรการการนำขยะกลับมาใชใ หม

แนวคดิ ดานการบรกิ ารสาธารณะน้ีในแตล ะแนวคิดของเมืองอัจฉริยะ
นั้น อาจใหความหมายไดกวางกวาที่นำเสนอ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะก็
อาจจะใหความสำคัญในดานที่เจาะจง เฉพาะดานใดดานหนึ่ง ที่ชุมชนหรือ
เมอื งนั้นเห็นถึงความจำเปน ตอ งใหค วามสำคัญก็เปนได

36

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

37

ทำไมตอ งเปน เมอื งอจั ฉริยะ

5. ท่ีอยูอาศัยอจั ฉริยะ
การออกแบบอาคารการจัดการรูปแบบอาคารที่อยูอ าศัย และอาคาร

สำนักงานในทกุ ระดับในปจ บุ ันท่ีกอสรางขึ้นตองมรี ูปแบบและมีประสิทธิภาพ
ผานเกณฑมาตรฐานของโครงสรางประหยัดพลังงาน ในดานตางๆ เชน
ปรมิ าณของแสงสวางธรรมชาติทเ่ี พยี งพอเพื่อลดการใชแสงสวางจากพลังงาน
ไฟฟา การกอสรางที่ไมทำใหอุณหภูมิภายในอาคารสูงมาก มีระบบการ
ถายเทอากาศที่ดี เพื่อลดการใชเครื่องปรับอากาศ การเลือกใชวัสดุในการ
กอ สรา งที่เปน มิตรกับส่ิงแวดลอ ม ลดการสิน้ เปลอื งพลังงาน การสรางพื้นท่ีสี
เขยี วเพอื่ ปรบั สภาวะอุณหภูมิโดยรอบอาคารอยางเหมาะสม สนบั สนุนใหเ กิด
ระบบนิเวศทางธรรมชาติของเมืองเพิ่มขึ้น การวางระบบการจัดการน้ำเสีย
และของเสีย ของอาคาร โดยเฉพาะอาคารขนาดใหญจำเปนตองมี
กระบวนการ Recycle ที่สามารถนำน้ำเสียกลับมาใชในดานตางๆ เพื่อให
เกิดประโยชนในการใชทรัพยากรอยางคุมคากระบวนการตรวจสอบ การ
สิ้นเปลือง การรั่วไหล การปดเปด การใชพลังงานในรูปแบบอัตโนมัติ และ
ยงั ตองรวมถึงระบบวิเคราะหขอมูล ของการใชพลงั งานภายในอาคาร เพ่ือให
เกดิ ประโยชนและความคุมคาในการอนุรกั ษพ ลงั งาน

38

ทำไมตอ งเปนเมอื งอจั ฉรยิ ะ

การดำเนินชีวิตของประชากรเมือง กำลังมุงไปสูรูปแบบอัจฉริยะใน
หลายดาน หรือที่เรียกวา Smart Live ดังนั้นความจำเปนทางดาน
Technology และ Connectivity ที่เขามาชวยพัฒนา Application ตาง ๆ
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถสงเสริมกิจกรรมตาง ๆ ทั้งการดำเนินกจิ กรรมทาง
ธุรกิจ กิจกรรมพัฒนาชุมชนและกิจกรรมสวนบุคคล ใหสามารถดำเนินชีวิต
ไปอยางมีคุณภาพ สะดวกรวดเร็ว จึงจะสอดคลองกับการพัฒนาสังคม
อจั ฉรยิ ะ

39

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

รปู Smart Building ตึกอัจฉริยะ

40

ทำไมตองเปน เมอื งอจั ฉรยิ ะ

41

ทำไมตอ งเปนเมืองอจั ฉรยิ ะ

6. ศูนยขอมูลอัจฉริยะ

การจัดโครงสรางศูนยร วบรวมขอ มูลในทุกๆ มิติของการพัฒนาเมอื ง
ในรูปแบบเมืองอัจฉริยะ มีความสำคัญอยางยิ่ง ในการควบคุม ตรวจสอบ
แกไขปญหา ไดอยางทันที และยังเปนสวนสำคัญในการสงขาวขอมูลดาน
ตางๆ ใหประชากรเมืองไดรับทราบขอมูลที่ตองการรับทราบ และถูกตอง
หรือขอมูลที่เปนประโยชน เชน สภาพภูมิอากาศ สภาพการจราจร สภาพ
สังคม สภาพเศรษฐกิจการเงิน และอื่นๆ ทั้งยังตองเปนขอมูลที่มีลักษณะ
Real Time และขอมูลเชิงสถิติเพื่อประกอบการวิเคราะห การพิจารณา
ตัดสินใจดำเนินโครงการตางๆ ที่เกี่ยวของโดยตองมี Application ที่ให
ประชาชนสามารถเขาถึงแหลง ขอมลู ไดโดยงา ย

นอกจากน้นั ระบบศูนยข อมลู อจั ฉริยะจะตองประกอบไปดวย ระบบ
รักษาความปลอดภยั ระบบขนสงมวลชน ระบบการจราจร ระบบการจัดการ
และโครงขายไฟฟาประปา ระบบการตรวจสอบสภาวะทางภูมิศาสตรของ
เมืองในทุกมิติ ระบบการควบคุมผังและพื้นที่เมือง ระบบสารสนเทศอื่นๆ ท่ี
จำเปน โดยระบบตางๆ ที่กลาวมา ตองใชการพัฒนาทางเทคโนโลยีในการ
ประมวลผลขอมูลแบบ Real Time และนำทุกระบบมาเชื่อมตอกัน เพื่อให
สามารถมองเห็นภาพรวมของขอมูลในทุกมิติ และมีรูปแบบการใหบริการ
ขอมูลตอผูใชงานไดในหลากหลายรูปแบบ และเปนแบบ One data for
Variety of services โดยมีระบบความปลอดภยั สูงในรูปแบบ Blockchain

42

ทำไมตอ งเปน เมืองอัจฉรยิ ะ

ภาครัฐจำเปนตองพัฒนาแหลงรวบรวมขอมูลกลางแหงเดียวของ
เมือง ที่เรียกวา Big Data บนพื้นฐานประสิทธภิ าพอนิ เตอรเน็ตความเร็วสูง
โดยตองบูรณาการขอมูลภาครัฐของแตละหนวยงานที่เกี่ยวเนื่องกัน กับ
ขอ มูลประชากรเมือง ตองเปนฐานขอมลู เดียวกัน และไมซ้ำซอน ซ่ึงจะทำให
ประชาชนผูใ ชขอมลู ไมสับสน และเกิดความผดิ พลาดได

ระบบการบริการของภาครัฐ ตองสงเสริมและพัฒนารูปแบบ
เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และ
บุคคลทั่วไปดวยกระบวนการ Digital Transformation ซึ่งจะทำใหเกิด
นวัตกรรมทางเทคโนโลยี เปนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจรูปแบบใหม ทำให
ระดับรายไดป ระชาชาตมิ คี วามมั่นคง การพฒั นารูปแบบการเงินการคลังดวย
ระบบ Smart Money ลดการใชธนบัตร ท้ังยังสามารถควบคุมการ
เคลื่อนไหวของเงินในระบบใหมีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพดวย
เทคโนโลยี Blockchain ตรวจสอบการดำเนินธุรกรรมการเงินดวยระบบ AI
ปองกนั ปญ หาจากการทจุ ริต ยกระดับความนาเชื่อถือของท้งั ระบบสงั คม

ในทางรฐั ศาสตรถือวาแนวคดิ เมืองอัจฉริยะหรือ Smart City จะเปน
การจุดประเด็นในการกระจายอำนาจ และสรางความสามารถในการบริหาร
จัดการเมืองของแตละทองถิ่น สวนในอีกมิติถือไดวา เปนการสรางอำนาจ
ใหกับประชาชนและชุมชนในการรวมกำหนดทศิ ทาง การแสดงความคิดเห็น
และการเขาถึงขอมูลตา งๆ ในการบรหิ ารจัดการเมือง ตวั อยา งเชน การสราง
ระบบแจงความเสยี หาย ในรปู แบบโครงสรางพ้ืนฐานเมอื งจากภาคประชาชน
ผานระบบ Application หากระบบดังกลาวมีการใชอยางตอเนื่อง ก็จะแสดง
ใหเห็นวาขอมูลมีผลลัพธตอการดำเนินงานจริงอยางไร ทำใหเกิดความ
ชัดเจน ในการวางแผนงานแตละปรวมถึงงบประมาณ ใหสอดคลองกับความ

43

ทำไมตองเปน เมืองอจั ฉรยิ ะ

เสียหายที่แจงเขามา จะถือวาเปนการพลิกโฉมการวางแผนงบประมาณของ
เมืองไดเ ชนกัน

รูป โครงสรา ง Digital Transformation

44

ทำไมตองเปนเมอื งอัจฉริยะ

เมืองอัจฉรยิ ะ ใครทำอะไรทไ่ี หน

สงิ คโปรเ มอื งอจั ฉริยะ
สิงคโปรไดรับการรับรองเปนประเทศ Smart net แหงแรกของโลก

โดยสรางมาตรฐานในกรอบการทำงานรวมกันของทุกภาคสวน จากการ
วัดผลในการปฏิบัติงานที่สามารถนำนวัตกรรมการเสริมสรางในตาราง
คะแนนระดับโลกที่ผานมา สิ่งนี้ไมใชเรื่องใหมสำหรับสิงคโปร เพราะชวง
แปดปที่ผานมา (ค.ศ.2012) สิงคโปรไดรับการจัดอันดับเปนประเทศแรกๆ
ของโลก ในดัชนีความสะดวกของการดำเนินธุรกิจ ของธนาคารโลกและ
มหาวทิ ยาลัย Tufts ซ่ึงไดรับการยอมรบั วา เปนประเทศที่มรี ะบบ Broadband
ที่เร็วที่สุดในโลก โดย Ookla (Ookla เปนบริษัทในระดับสากลที่ดำเนินการ
ทดสอบความเร็วเทคโนโลยีดานเครือขายมือถือและบรอดแบนด) มีระบบ
เศรษฐกิจ Digital ท่ีมีการเปล่ยี นแปลงเร็วทส่ี ุด และในป ค.ศ.2019 สิงคโปร
ไดรับการจัดอันดับความเปนเมืองอัจฉริยะ อยูในอันดับที่ 1 ของโลกโดย

45

ทำไมตองเปน เมืองอัจฉริยะ

IMD World Competitiveness Center จากจำนวน 102 เมืองทั่วโลกท่ี
ดำเนินการผลักดันความเปนเมืองอัจฉริยะ ปจจุบันสิงคโปรกำลังบรรลุเปา
หมายความเปน “Smart Nation” เพื่อพัฒนาศักยภาพของการแขงขัน และ
ความเปน เลิศของประเทศ

Digital Transformation ในสิงคโปรเ ปนการนำประเทศเขาสูความ
เปน Smart City โดยหนวยงานพัฒนาขอมูลการติดตอสื่อสารของสิงคโปร
(The Info-communications Development Authority of Singapore
หรือ IDA) ซึ่งเปนหนวยงานที่จัดตั้งโดยรัฐบาล ไดนำนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชเพื่อเพิ่มประสบการณในการดำเนินชีวิตของ
ประชากรสงิ คโปรท ุกคน ไดแ ก คมนาคมอจั ฉรยิ ะ, การสาธารณสุขอจั ฉริยะ,
การดำเนินชีวิตอัจฉริยะ, การบริการดิจิทอลอัจฉริยะ, ระบบสาธารณูปโภค
อัจฉรยิ ะ, ชมุ ชนอจั ฉรยิ ะ ครอบคลมุ การยกระดับการพัฒนาประเทศทุกดาน
โดยสิงคโปรมีเปาหมายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะใหครบทุกดา น แตในที่นี้ขอ
นำเสนอตวั อยา งท่นี าสนใจ 2 ดา นคอื

1. Smart Healthcare โครงการนี้มีเปาหมายสำคัญดานการ
สาธารณสุข เพื่อเพิ่มความพึงพอใจใหกับผูปวย โดยการนำเทคโนโลยีเขามา
สนับสนุนการบริการทางการแพทย เชน การนำระบบเซ็นเซอรขนาดเล็กมา
แปะตดิ ไวท ีผ่ วิ หนงั เพอื่ คอยตรวจระดับชีพจร อณุ หภูมิของรายกาย ความชื้น
และสงขอมูลกลับมายังศูนยควบคุมเพื่อใหทีมแพทยคอยเฝาระวังสุขภาพ
แบบ Real time การดูแลสุขภาพดวยระบบควบคุมจากระยะไกล (Tele
health) ท่ีสามารถชวยใหผ ปู วยตรวจวัดสุขภาพตนเอง เชน การวัดความดัน
เลือด อุณหภูมิ ฯลฯ แลวสงกลับไปยังทีมแพทยของโรงพยาบาลโดย
อตั โนมัติ ซ่ึงเม่อื แพทยดำเนนิ การวนิ ิจฉัยแลว กจ็ ะใหค ำแนะนำตางๆ กลับมา
ไดทันที รวมทั้งระบบ Healthcare Kiosk เปนระบบดูแลสุขภาพเบื้องตนท่ี

46

ทำไมตองเปน เมอื งอัจฉริยะ

สามารถตรวจรางกาย เชน เจาะเลือด วัดอุณหภูมิ วัดความดัน ดวยตนเอง
เบ้อื งตน สำหรับเปน ขอมูลกอนการพบแพทย

2. Smart Mobility สำหรับสิงคโปรแลว โครงการการเดินทาง
อัจฉริยะ เกิดขึ้นมาและมีเปาหมายยาวไปถึงป ค.ศ.2030 ที่จะทำใหระบบ
การคมนาคมภายในสิงคโปร สามารถรองรับประชากรที่มีจำนวนมากขึ้นให
ได โดยทำให 75% ของประชากร หันไปใชการโดยสารระบบขนสง
สาธารณะในชั่วโมงเรงดวนใหได โดยเมื่อป ค.ศ.2014 ที่ผานมามีอัตรา
ประชากรที่ใชบริการขนสงสาธารณะอยูที่ 66% โดยโครงการใหการ
รับประกันวา 85% ของการเดินทางภายในระยะ 20 กิโลเมตร ดวยการ

47

ทำไมตอ งเปน เมอื งอัจฉริยะ

ขนสงโดยสารสาธารณะนั้น จะไปถึงที่หมายไดภายในเวลาไมเกิน 60 นาที
โดยวางยุทธศาสตรหลักเพื่อทำการปรับปรุงการคมนาคมไว 4 ประเด็นคือ
การประชาสัมพันธ, การตอบสนองดวยความสะดวก, การมีความปลอดภัย
สงู สุดและการคมนาคมทใ่ี ชพลงั งานสะอาด และมกี ารนำเทคโนโลยมี าใชเพื่อ
ปรับปรุงสภาพการจราจร เชน เพิ่มจำนวนกลอง และปายบอกทางที่ติดตั้ง
ตามถนนตางๆ มากขึ้น รวมถึงเพิ่มชองทางในการเขาถึงขอมูล แผนที่ และ
การจราจรใหมากขึ้น โดยเฉพาะบนอุปกรณ Smart Device นอกจากน้ัน
IDA ไดกำหนดโครงการพัฒนาตามมาตรฐาน Smart Mobility เพื่อใหบรรลุ
เปาหมายภายในป ค.ศ.2030 ทีป่ ระกอบไปดวย

1. การใชระบบนำรอง (Beacon) เพื่อติดตั้งเสนทางการเดินทาง
ของรถโดยสารสาธารณะ รถฉุกเฉนิ รถพยาบาล รถดับเพลิง เพื่อนำ
ขอมูลตำแหนงของรถเหลานี้ ไปคิดคำนวณการเปดไฟเขียวและไฟ
แดงตามแยกตางๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนที่ใหรถ
เหลา นเ้ี ปน พิเศษ

2. การนำเทคโนโลยี Data Analytics มาใชปรับปรุงการจราจร
และควบคุมกับเหตุการณที่เกิดขึ้น รวมถึงใชการวิเคราะห เพื่อ
คาดการณการจราจรและปญหาตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นลวงหนา เพื่อหา
แนวทางหลีกเล่ยี งปญหาเหลา นนั้

3. มีระบบควบคุมรถโดยสารสาธารณะแบบอัจฉริยะ เพื่อใชงาน
รวมกันระหวางทุกฝาย และทำใหคนขับรถสามารถทำงานไดอยามี
ประสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้ึน

48

ทำไมตอ งเปนเมอื งอจั ฉริยะ

4. สรา งระบบ Smart Junction โดยใช 3D Laser Scanner เพื่อ
ตรวจจับรถยนตที่ติดอยูบริเวณแยก และใชเทคโนโลยีการสื่อสาร
แบบ Vehicle to Infrastructure (V2I) เพื่อเชื่อมตอรถยนตทุก
คันเขากับระบบของบริเวณจุดแยกนั้นๆ จากนั้นจึงใชAlgorithm
คำนวณวารถจะชนกันหรือไม กอนจะสงคำสั่งใหรถเหลานั้นหยุด
หรือเปลี่ยนทิศทาง กอนที่จะเกิดอุบัติเหตุหรือสามารถนำขอมูลจาก
รถยนตแตละคัน จากระบบการสื่อสารแบบ Vehicle to Any
Communication (V2X) เพื่อนำไปแจงเตือนคนที่เดินขามถนนได
วากำลังมีรถมา และรวมถึงการแจงเตือนคนขับไดวาทิศทางที่กำลัง
ไปนั้นมีคนกำลงั ขา มถนน

5. นำดาวเทียมมาใชในระบบคิดคาใชจายในการใชทางในพื้นท่ี
ชั้นในทีม่ ีจำนวนการจราจรหนาแนน ดำเนินการสรางระบบเสนทางที่
รองรับรถยนตไรคนขับอยางเต็มตัวในอนาคตทั้งรถยนตสวนตัวแบบ
ไรคนขับ, รถโดยสารไรคนขับแบบ On-Demand, รถขนสงสินคา
แบบไรคนขับ สำหรับรถโดยสารสาธารณะแบบไรคนขับ สิงคโปร
ตั้งเปา หมายจะใหบริการอยา งเปนระบบในป ค.ศ.2022

6. การพัฒนาโครงสรางยานพาหนะที่ใชพลังงานไฟฟาเปนสวน
หลัก และปรับเปลย่ี นรปู แบบการใชพ ลงั งานแสงอาทติ ยใหมากขน้ึ

การพัฒนาเมืองอัจฉริยะใน 2 ดานที่นำเสนอมาเปนที่นาสนใจอยาง
มากนอกจากนั้นสิงคโปรยังมีนโยบายพัฒนาระบบการศึกษาที่มุงเนน
เปาหมายสูความเปน Smart Nation การสรางความนาเชื่อถือและความ
เชื่อมั่นเปนสิ่งที่รัฐบาลสิงคโปรใ หความสำคัญมาก โดยระยะเวลากวา 20 ป
ที่ผานมา สิงคโปรสามารถพัฒนามหาวิทยาลัยสองแหงคือ National

49

ทำไมตองเปนเมืองอจั ฉรยิ ะ

University of Singapore และ Nanyang Technological University
ใหมีคุณภาพการเรียนการสอนติดอยูในอันดับหนึ่งในสิบของโลก ดวยการ
เรยี นการสอนทเ่ี นนความงาย เรียนจากความเปนจริง และสง่ิ ทจี่ ำเปนตอการ
ใชช วี ิตในโลกยคุ ใหม 4 ดา นคอื เทคโนโลยี คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร และ
ภาษา ซึ่งเปนสวนสำคัญที่ทำใหการพัฒนาประเทศของสิงคโปรอยูใน
ระดับชนั้ นำของโลก ทงั้ ยงั เปน ตน แบบของการเปนรัฐสมยั ใหม

50


Click to View FlipBook Version