The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Digital Compete, 2019-11-25 22:56:44

003Book_Why Smart City

003Book_Why Smart City

ทำไมตองเปนเมอื งอัจฉรยิ ะ

เซี่ยเหมนิ เมืองอจั ฉรยิ ะสเี ขียว
เซี่ยเหมิน (Xiamen) หรือชื่อในภาษาอังกฤษวา อามอย (Amoy)

เปนเมืองลำดับรองที่ตั้งอยูในมณฑลฝูเจี้ยน ติดกับชองแคบเกาะไตหวัน
ทางดานทิศตะวันออก เซี่ยเหมินเปนเมืองทาสำคัญตั้งแตในอดีตเมื่อป ค.ศ.
1981 รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนไดประกาศใหเมืองเซี่ยเหมินเปนเขต
เศรษฐกิจพิเศษ นักลงทุนจากไตหวันเขามาลงทุนในดานเขตอุตสาหกรรม
จำนวนมาก ทำใหเ ศรษฐกจิ ของเซ่ยี เหมินเจริญเติบโตอยางตอเน่ือง โดยเม่ือ
ป ค.ศ.2014 สถาบันสังคมศาสตรแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน (Chinese
Academy of Social Sciences หรือ CASS) ประกาศใหเมืองเซี่ยเหมิน
อยูในอันดับที่ 5 ของเมืองนาอยูในประเทศจีน ปจจุบันเมืองเซี่ยเหมินไดรับ
การขนานนามวาเปน เมอื งสเี ขยี ว เมอื งอนุรักษพ ลังงาน และยังเปนเมืองท่ีมี
ความโดดเดนในดานการทองเที่ยว (“Garden City”, “Eco-City” และ

51

ทำไมตอ งเปน เมอื งอัจฉริยะ

“Outstanding Tourist City”) ท่ีสำคัญ เซี่ยเหมิน ยังมีชื่อติดอนั ดบั ในเมือง
นา อยขู องผูทอ่ี ยใู นวยั เกษยี ณอกี ดวย

อุตสาหกรรมอัจฉริยะ ในป ค.ศ.2016 เมืองเซี่ยเหมินถูกจัดอยูใน
อันดับ 9 ของประเทศจีนที่มีอุตสาหกรรมอีคอมเมิรซเจริญเติบโตมากที่สุด
เซี่ยเหมินพัฒนารูปแบบเมืองอุตสาหกรรมโดยใชระบบ การประยุกต
ระหวางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ ระบบแรงงานอัจฉริยะ ระบบ Big Data
intelligent worker และ Digital Creative เขามาพัฒนารวมกันเปนเมือง
อุตสาหกรรมอัจฉริยะ และเมื่อป ค.ศ.2018 ที่ผานมา Baidu ผูผลิต
ซอฟตแวรอันดับตนของประเทศจีนไดรวมกับบริษัทผลิตรถยนตของ
เซี่ยเหมิน พัฒนา “รถยนตไรคนขับ” คันแรกของประเทศจีนเปนผลสำเรจ็
และกลายเปนตนแบบของการพัฒนาระบบขนสงคมนาคมอัตโนมัติของ
ประเทศจีน

อุโมงคคารบอนตำ่
เซี่ยเหมินไดทดลองใชโครงการ
ใหมๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาดาน
คมนาคมไรมลพิษ โดยเมื่อป 2016
เมืองเซี่ยเหมินไดผานการทดสอบ
จากหนวยงานที่ควบคุมการขนสง
ของประเทศในโครงการ “การ
คมนาคมสีเขียว” อุโมงคคารบอน
ต่ำของเมืองเซี่ยเหมินไดรับการจัดอันดับดีเยี่ยมสำหรับการเปนเมือง
คมนาคมสีเขียวในโครงการการพัฒนามุงเนนหลักการของการผสมผสาน
รูปแบบ “คารบอนต่ำ”,“อนุรักษสิ่งแวดลอม”,“การขนสงสะดวกสบาย”
แนวคิดและหลักการของอุโมงคคารบอนต่ำคือ เมื่อคนที่ขับรถเขาไปใน

52

ทำไมตอ งเปนเมอื งอจั ฉรยิ ะ

อุโมงคจะพบวา ดานบนของอุโมงคมีแถบสีขาวยาวออกไปหลายกิโลเมตร
เปนการแสดงคาของกาซคารบอนไดออกไซดที่มีในปริมาณต่ำ ลาสุดระบบ
แสงสวางในอุโมงค ไดเปลี่ยนจากแสงสเี หลือง เปนสขี าวทั้งหมด 11 แหงทั่ว
เมอื งเซี่ยเหมิน

โครงการประหยัดพลังงาน เซี่ยเหมินดำเนินการเปลี่ยนเปนรูปแบบ
แสงสวางในอุโมงคท างลอดเปนแบบ LED เนอื่ งจากระบบไฟฟา ทางในอุโมงค
จำเปนตองเปดตลอดเวลา ซึ่งทำใหลดตนทุนจากพลังงานไฟฟาแสงสวางใน
อุโมงคไดกวา 50% เปนการลดภาระคาใชจายและใชพลังงานที่เปนมิตรตอ
ส่ิงแวดลอม ทัง้ แสงสวางทปี่ ระหยัดพลังงานเปนรูปแบบการจดั การพลังงานที่
ไดรบั มาตรฐานระดบั สากล

การเดินทางสีเขียว โครงการคมนาคมสีเขียว ปจจุบันรัฐบาล
ประเทศจีนกำลังผลักดันโครงการพัฒนารถยนตพลังงานไฟฟาเพื่อลดการใช
พลงั งานจากฟอสซลิ ถอื เปนนโยบายสำคัญหลักของประเทศในสวนเมืองเซี่ย
เหมิน เริ่มทดลองใชงานจริงไปแลวจำนวนมาก โดยเมื่อป ค.ศ.2014 เซี่ยเห
มินไดดำเนินโครงการแท็กซี่พลังงานบริสุทธิ์ เปนกลุมแรกเพราะเห็นวาการ
ทดลองรถยนตพลังงานไฟฟากับแท็กซี่มีขอดีสองประการคือ 1.) รถแท็กซี่ที่
พลังงานไฟฟาสามารถประหยัดคาใชจายกวาการเติมน้ำมันไปมากกวาคร่ึง
2.) รถแท็กซี่ใชงานทั้งวันจึงสามารถชวยลดมลพิษทางอากาศไดมาก และ
ตอไปรถแท็กซี่พลังงานไฟฟาจะกลายเปนตลาดหลักๆ การเดินทางปจจุบัน
เมืองเซี่ยเหมินมีเสนทางรถเมลสาธารณะ 9 เสน ที่องคการขนสงเมืองและ
การขนสง สาธารณะ ไดมกี ารทดลองใชร ถเมลสาธารณะในเขตชุมชนท่ีเขาถึง
ยาก รถเมลสาธารณะสายใหมสองสายเปดใชบริการ โดยในชวงปลายป
ค.ศ.2016 เปนรถเมลสาธารณะที่ใชพลังงานไฟฟาจำนวน 280 คัน และมี

53

ทำไมตอ งเปน เมืองอจั ฉริยะ

เปาหมายวาในป ค.ศ.2020 รถเมลสาธารณะพลังงานไฟฟาใชมากถึง 80
เปอรเซ็นตข องจำนวนรถทงั้ หมด

ทางจักรยานลอยฟาของเมืองเซี่ยเหมิน สรางขนานกับใตทางดวน
ทำใหมีรมเงาบังแดดบังฝนไดตลอดทาง มีระยะทางยาว 7.6 กิโลเมตร
นับเปนทางจักรยานลอยฟาที่ยาวที่สุดในโลก มีทางเขา-ทางออกจำนวน 11
จุด เชื่อมกับสถานีรถโดยสารสาธารณะ 6 แหงมีความกวางสะดวกสบายใน
การใชงาน ทีส่ ามารถรองรับจักรยาน 2,000 คัน ตอช่วั โมง โดยหากบนเสน
ทางจักรยานมีความหนาแนนของการใชงาน ระบบจะใหผูเขาใหมรอกอน
โดยการออกแบบมาจากแนวคิดที่ชนะการประกวดการพัฒนาเมือง ของเด็ก
นักเรียนโรงเรียนมัธยม ที่ฝนวาอยากขี่จักรยานลอยฟาชมทัศนียภาพเมือง
หลังจากการเปดทดลองใชในป ค.ศ.2016 พบวาสามารถบรรเทาการสัญจร
บนทองถนนไดอยางมาก หลีกเลี่ยงควันพิษจากทองถนน เปนผลดีตอ
สุขภาพ ประหยัดเวลา และลดความเครียดของผูคนบนทองถนน มีการ
ตดิ ตัง้ กลอ งวงจรปด ตลอดเสนทาง เพอื่ เฝา ระวงั เหตกุ ารณ และปองกันความ
ปลอดภัย ที่สำคัญระบบประตูของแตละจุดของทางจักรยานจะปดอัตโนมัติ
เม่อื คำนวณพบวามีจกั รยานมากเกินขีดจำกัดแลว

54

ทำไมตอ งเปน เมอื งอัจฉรยิ ะ

แนวคิดความเปนเมืองอัจฉริยะในปจจุบันที่กลาวอาจเรียกไดวาเปน
ทฤษฎี และตัวแบบสำคัญ ที่เมืองตางๆ ในโลกที่ใชเปนมาตรฐานใหมของ
การพัฒนาปรับปรุง หรือการสรางเมืองใหม เชน การสรางเมืองใหมเฉิงกง
ของนครคุนหมิง และอีกหลายเมืองในประเทศจีน สวนท่ีเกาะไตหวัน ไดมี
การดำเนินงานตามแผนพัฒนา Taiwan Smart City ตั้งแตป ค.ศ.2017
เพือ่ ใหบ รรลุเปาหมายการพัฒนาเมอื งอจั ฉรยิ ะภายในป ค.ศ.2025 ในขณะท่ี
หลายเมืองจากอีกหลายมุมตางๆ ของโลกกำลังมีการพัฒนา และสรางเมือง
ตามหลักทฤษฎีเมืองอัจฉริยะ ในประเทศสหรัฐอเมริกามีการทุมเงิน
งบประมาณมากกวาแสนลานดอลลารสหรัฐ เพื่อการพัฒนาเมืองของรัฐ
ตางๆ โดยใชแนวคิดของ Silicon Valley ในมลรัฐซานฟรานซิสโก เปนตัว
แบบของการพัฒนาเมือง สิ่งเหลานี้เปนการสะทอนมุมมองในมิติการพัฒนา
ความเปนเมืองยุคปจจุบันและอนาคต การพัฒนาเมืองในรูปแบบเมือง
อัจฉริยะมีความจำเปนอยางมากสำหรับในหลายประเทศ เพราะการเติบโต
ของเมืองและการเพิ่มขึ้นของประชากรปจจุบัน เปนส่ิงจำเปนของการเร่ิมตน
วางแผน ผลักดัน หรือสูการปฏิบัติอยางจริงจัง และการสรางการมีสวนรวม
ของภาคประชาชน เปนสิ่งสำคัญตอความสำเร็จในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
เพราะการพัฒนาเมืองตองสามารถตอบสนอง ความตองการในการดำเนิน
ชีวิตของประชากรเมือง ทั้งทางดานเทคโนโลยี การใชทรัพยากรใหเกิด
ประโยชน ทั้งยังตองมีความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และการมีสวนรวมของ
ประชาชนในดา นตางๆ

55

ทำไมตอ งเปนเมอื งอจั ฉริยะ

Taipei's grand plan to create a citizen-centric smart city

56

ทำไมตอ งเปนเมอื งอัจฉรยิ ะ

พัฒนาเมืองอัจฉรยิ ะ ใหประโยชนอะไร

ประโยชนของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ เปนสวนสำคัญของการ
แกปญหาเมืองในหลายมิติ และสนับสนุนการพัฒนาของสังคมในทิศทางเชิง
บวก ตามแนวคิดขององคการสหประชาชาติวาดวย การพัฒนาเมืองใน
รูปแบบใหม ประกอบกับการนำใชวิทยาศาสตรเ ทคโนโลยีเขามาควบคุมการ
จัดการในดานตางๆ สงผลตอการพัฒนาเมืองทั้งทางตรงและทางออม จาก
การนำเสนอเรื่องเมืองอัจฉริยะที่ผานมา พอสรุปสาระสำคัญที่ไดประโยชน
จากการพฒั นาเมอื งในรูปแบบสมยั ใหมท ่ีนาสนใจดังน้ี

1. การพัฒนาเมืองกลายเปนรูปแบบการพัฒนาเมืองสมัยใหม ท่ี
สอดคลองกับการจัดการปญหาการเพิ่มขึ้นของประชากรเมือง การใช
ทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัดใหเกิดประโยชนและประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งใน
ระดับขององคการสหประชาชาติ และภูมิภาคเอเชีย ตางใหความสำคัญใน
การพัฒนาเมืองเพื่อตอบสนองในการพัฒนาชีวิตความเปนอยูของประชากร
นบั ต้ังแตเกดิ พัฒนาการตามกฎของมวั ร (Moore's law) ทำใหค วามกาวหนา
และความซับซอนของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสเหลานั้น พัฒนาไปสู
นวัตกรรมหลายรูปแบบออกมา การนำใชขอมลู ทางเทคโนโลยเี พือ่ เปน ปจจยั
หลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง จึงเกิดขึ้นและสงผลตอการพัฒนาใน
หลายมิติ เชน ระบบพลงั งาน ระบบขนสงสาธารณะ ระบบเศรษฐกจิ ระบบ
สาธารณูปโภค ระบบจัดการชุมชน ระบบดูแลสุขภาพ ระบบบริการ

57

ทำไมตอ งเปน เมืองอัจฉรยิ ะ

สาธารณะ ระบบราชการอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนการจัดการดูแลและการใช
ประโยชนจากทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ ม

2. ดานการพัฒนาเศรษฐกิจ ชวยเพิ่มประสทิ ธิภาพในการผลิตและ
การดำเนินธุรกิจ ชวยใหเกิดการประหยัดพลังงาน การมีระบบขนสง
สาธารณะท่ีมีประสิทธิภาพ ลดตน ทุนของการดำเนนิ ธรุ กจิ เพ่ิมประสทิ ธิภาพ
และความสามารถในการแขงขันใหกับเมือง ทำใหระบบการจัดการของธุรกิจ
ตางๆ เขามาอยูรวมในพื้นที่เดียวกันเพื่อแบงปนการใชทรัพยากร ทำใหเกิด
ความไดเปรียบในการแขงขันจากการลงทุนทางธุรกิจ ในดานการพัฒนา
ระบบขนสงอัจฉริยะยังมีสวนในการทำใหเศรษฐกิจเมืองเกิดการขยายตัว
เกิดการจางงาน ลดปญหาความเหลื่อมล้ำระหวางเมืองกับชนบทโดยการ
นำเอาเทคโนโลยีใหมเขามาตอ ยอด ใหเกดิ เปนนวัตกรรมของระบบเศรษฐกิจ
ใหมอกี ดว ย

3. ดานการพัฒนาเมือง ดวยรูปแบบเมืองอัจฉริยะชวยใหสามารถ
กำหนดทิศทาง การเติบโตของเมืองอยางมีเปาหมายทั้งยังควบคุมพื้นที่การ
พัฒนาเมืองใหสามารถบริหารจัดการพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพสูง และการ
พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเมืองในดานตางๆ ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร
เทคโนโลยจี ะชวยเพ่มิ การพัฒนาคุณภาพของทรัพยากรมนุษยใ หส งู ข้นึ สง ผล
ตอการบริการในรูปแบบอัจฉริยะจะมีปริมาณที่สูงตามไป และมุงเนนที่กลุม
เฉพาะของสังคม ซึ่งหมายถึงประชากรเมืองที่มีรายไดระดับกลางขึ้นไป ทำ
ใหเ กิดการยกระดบั รปู แบบบรกิ ารใหม

4. ดานสังคมและวัฒนธรรม การพัฒนาเมืองจะชวยสงเสริมให
คณุ ภาพชวี ติ ของประชากรเมืองดีขึน้ และสง ผลใหผูคนสามารถบริหารเวลาได
อยางมีประสิทธภิ าพ มีเวลาเหลือในการเขา รวมกิจกรรมของสังคม หรือการ

58

ทำไมตอ งเปน เมอื งอจั ฉริยะ

แลกเปลี่ยนถายทอดวัฒนธรรมของการดำรงชีวิตมากขึ้น และยังสามารถ
สรางสรรคกิจกรรมเพื่อใหเปนประโยชนตอสังคมในมิติตางๆ สงผลใหเกิด
ความเขมแข็งของชุมชนเมืองในรูปแบบ Smart Community และการมีสวน
รว มในการจัดการเมอื งในรูปแบบใหม

5. ดานสิ่งแวดลอม การจัดการเมืองอัจฉริยะจะชวยเพ่ิม
ประสิทธิภาพการใชพลังงานลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ ลดปริมาณการ
ปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ควบคุมและจัดการมลภาวะของเมืองในดาน
ตางๆ ควบคุมการใชพลังงานในทุกดานและทรัพยากรของเมือง ใหเกิด
ประโยชนและมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงการจัดเก็บพลังงาน การอนุรักษ
พืน้ ทีส่ เี ขียวอยางเหมาะสม

แนวคดิ เมอื งอัจฉริยะ เปน การจัดการเมอื งในรูปแบบของรฐั สมัยใหม
ที่จำเปนตองมีการการพัฒนาเมืองเพื่อการตอบสนองการใชชีวิตของคนเมอื ง
เชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก สิ่งที่เรียกวาเมืองอัจฉริยะ
(Smart City) ใหความสำคัญของการบรรลุเปาหมายการพัฒนาเมือง
อัจฉรยิ ะอยูท ่ี Smart People ซ่งึ เปน ปจ จัยท่ีสำคัญ เพราะความเขาใจตอการ
พัฒนาเมืองในบริบทใหม ความเปนเอกภาพของประชาชน ความมีระเบยี บ
มีวินัยรวมกัน การมีความตองการรวมกัน การมีเปาหมายในอนาคตรวมกนั
สิ่งเหลานี้เปนความสำคัญที่ผูบริหารเมือง หรือผูปกครองรัฐ ตองให
ความสำคัญในการยกระดับความรคู วามเขาใจ และเห็นถึงความจำเปนในการ
ผลกั ดัน

59

ทำไมตองเปน เมืองอจั ฉรยิ ะ

รปู แสดง โครงสรา ง Smart City

60

ทำไมตอ งเปนเมอื งอัจฉรยิ ะ

สามปจจยั สูการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ

1. วสิ ัยทศั นผนู ำ เปนปจจยั สำคัญอันดับแรก ซึง่ หมายถึงผูนำสังคม
ในทุกระดับตั้งแต ผูนำรัฐ ผูนำเมือง ผูนำชุมชน จำเปนตองมีวิสัยทัศน ท่ี
สะทอนความเขาใจตอการพัฒนาเมืองในรูปแบบใหม สามารถเขาใจการ
เปลี่ยนแปลงของวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และนำมากำหนดเปนนโยบายการ
พัฒนาเมือง การพัฒนารฐั รูปแบบใหม การขบั เคล่อื นแนวทางการพัฒนาการ
บริหารจัดการเมอื งยุคใหมท่ีใชกระบวนการการมีสวนรวม สงเสริมการสราง
เครือขายเชื่อมโยงประสานงาน การสรางเครือขายความรวมมือ ทำใหการ
บริหารเมืองเกิดประสิทธิภาพ และความรวมมือที่มุงสูความสำเร็จของการ
พฒั นาเมือง

2. สำนึกของสมาชิกสังคม ในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะคำวา Smart
People ตองขยายความจากที่ไดกลาวไปกอนหนานี้วา “ประชาชนอัจฉริยะ”
นั้นตองใหมีความหมายที่ชัดเจนคือ การมีสำนึกสาธารณะรวมกันของ
ประชาชนในสังคม หรือชุมชน หรือในรัฐ ที่มีตอรูปแบบการพัฒนาเมือง
สมัยใหม ซ่งึ ตอ งประกอบไปดวย

61

ทำไมตอ งเปน เมอื งอจั ฉริยะ

2.1 ความเปนเอกภาพในการมีเปาหมายเดียวกัน แตมิได
หมายความวามีความคิดเห็นที่แตกตางกันไมได เพราะ
ความคิดเห็นที่หลากหลาย บนพื้นฐานการเคารพความ
แตกตา ง กค็ ือความเปน เอกภาพ

2.2 ความมีระเบียบวินัย ภายใตโลกแหงเสรีภาพ สมาชิกของ
ชุมชนตองสรางเสริมความเขมแข็งในการรักษาระเบียบวินยั
ในการอยูรวมกนั ในสังคม ปราศจากการละเมิด

2.3 ความรูความเขาใจ โลกเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน ความจำเปน
ตอการพัฒนาความรูความเขาใจในกระบวนการพัฒนาเมือง
การพัฒนาสังคมจำเปนเรียนรูสิ่งใหมอยูเสมอ เพื่อเขาใจ
และการมีสว นรว มในการพัฒนาเมอื ง

62

ทำไมตอ งเปน เมืองอจั ฉริยะ

เชนนั้นแลวคำวา Smart People จึงถือวามีความสำคัญมาก ตอ
ปจจัยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ เพราะความเขาใจตอการพัฒนาเมืองใน
รูปแบบใหม ตองอาศัยความเปนเอกภาพ ความตองการรวมกัน การมี
เปาหมายในอนาคตรวมกัน ของประชาชนไปรวมกันขับเคลื่อน สิ่งเหลานี้
เปนความสำคัญที่นอกจากผูบริหารเมืองใหความสำคัญในการยกระดับความ
เขาใจแลว ประชาชนในสังคมนั้นๆ จำเปนตองมีสำนึกสาธารณะเปน
พ้ืนฐาน เพ่ือสรางเปา หมายรว มกันในการพัฒนา

3. กระจายอำนาจ การกระจายอำนาจการปกครองการตัดสินใจ
โดยเฉพาะการมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่นใหกับประชาชนทุกระดับของ
แตละพื้นที่ เพื่อใหตัวแทนขององคกรทองถิ่นในสวนตางๆหรือภาคประชา
สังคม มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น ควบคุมตรวจสอบความโปรงใส
ของการบริหารจัดการเมือง กำหนดเปาหมายการพัฒนาทองถิ่นตนเองได
อยางมีประสทิ ธิภาพ ไมต องรอการสั่งการ ไมตอ งรอการกำหนดนโยบายจาก
รัฐบาลสวนกลาง ซึ่งไมแนชัดวานโยบายจากสวนกลางจะตรงกับความ
ตองการของประชาชนในทองถิน่ หรอื ไม และหลักของการกระจายอำนาจนน้ั
หมายถึง 2 สวนที่สำคัญคือ 1.) กระจายอำนาจความรับผิดชอบอำนาจการ
ตัดสินใจ ที่สงผลตอการผูกพันตอการพัฒนาเมืองในระดับนโยบาย 2.)
กระจายอำนาจเงนิ อำนาจทรัพยากรเมือง ใหท อ งถน่ิ หรือชุมชนนั้นๆ สามารถ
มีตนทุนในการบริหารจัดการตนเองไดโดยไมจำเปนตองพึ่งรัฐบาลสวนกลาง
ดังน้ันการกระจายอำนาจคอื การสงเสรมิ สนับสนุนใหทองถนิ่ สามารถคิดและ
ตัดสินใจอนาคตของการพัฒนาทองถิ่นตนเอง เปนสิ่งที่รัฐบาลกลางของ
รฐั สมยั ใหม ตองถือเปน นโยบายทีส่ ำคญั ในการพัฒนาเมือง

63

ทำไมตอ งเปนเมืองอัจฉรยิ ะ

การพัฒนาเมืองอัจฉริยะถือวาเปนสิ่งใหม มีหลายประเทศที่เร่ิม
ดำเนินการจนไดรับผลสำเร็จไปแลวหลายดาน บางประเทศกำลังเดินตาม
เปาหมายอยา งจริงจงั และบางประเทศกำลังไดร บั ความสนใจความตนื่ ตัวจาก
หลายภาคสวนในสังคม แตอยางไรก็ตามการพัฒนาเมืองรูปแบบใหม คือ
ความจำเปนที่ทาทายความสามารถในการบริหารจัดการของรัฐตางๆ เพราะ
ความสำเรจ็ ในการพัฒนาเมืองอจั ฉริยะอยทู ี่ความเจริญรุงเรอื งทาง เศรษฐกิจ
สงั คม สงิ่ แวดลอมของประเทศน้นั เอง

64

ทำไมตองเปนเมอื งอจั ฉริยะ

บรรณานกุ รม

อรทยั กกผล. (2559). เมอ่ื “เมือง”กลายเปนโจทยข องการบริหารจดั การทอ งถน่ิ
สมัยใหม. กรงุ เทพ : วิทยาลัยพัฒนาการปกครองทอ งถน่ิ สถาบนั พระปกเกลา .
อานนั ท กาญจนพนั ธ. (2500).ทนุ ทางสังคมกับการพัฒนาเมอื ง.กรุงเทพ:

มูลนิธสิ ถาบนั สรา งสรรคปญญาสาธารณะ
Charbel Aoun. (2015). The Smart City Cornerstone: Urban Efficiency. United
Kingdom : Schneider Electric.
United Nations.(2013).Urban Resource Management. Republic of

Korea :International Symposium on Sustainable Cities
United Nations. (2016).City System Design.(On Line). Sources :
http://www.unosd.org/content/documents/2016Day0Opening20KalaVairavamoort
hyIntegrated Planning.pdf Sep 15, 2017.
National Library Board Singapore Government. (2016). Garden City Vision is
introduced. (On Line). Sources :
http://eresources.nlb.gov.sg/history/events/a7fac49f-9c96-4030-8709-
ce160c58d15chttps://www.nparks.gov.sg/about-us/city-in-a-garden.
Sep 15, 2017.
The Institute for Infocomm Research. (2016). Innovation To Singapore a
Smart Nation.(On Line). Sources : https://www.a-
star.edu.sg/i2r/RESEARCH/SMART-ENERGY-ENVIRONMENT.aspx. Sep 22,
2017.
ศนู ยข อมูลเพือ่ ธุรกจิ ไทยในจนี สถานเอกอัครราชทูต ณ กรงุ ปก กงิ่ . (2014). เซย่ี เหมนิ
ตดิ อนั ดับเมืองนา อยใู นจนี (On Line). Sources :
http://www.thaibizchina.com/thaibizchina/th/china-economic-
business/result.php?SECTION_ID=469&ID=14455.16 กนั ยายน 2560.
สถาบันอาคารเขียวไทย.(2560). โครงการสนบั สนนุ การออกแบบเมืองอจั ฉรยิ ะ (On
Line). Sources :http://www.thailandsmartcities.com/info/smart-city
16 กนั ยายน 2560

65

ทำไมตอ งเปน เมอื งอัจฉริยะ

นายภาสกร อรรถสษิ ฐ

ประวัต:ิ ทำงานในบรษิ ทั ดาน Power Electronic ตง้ั แตป พ.ศ.2528 ในยคุ
การศึกษา: คอมพวิ เตอร IBM Compatible และเรมิ่ ดำเนนิ ธุรกิจดา น เทคโนโลยี
สารสนเทศและระบบส่อื สารขอมลู ตั้งแต ป พ.ศ.2539 มีความสนใจ
ในการนำวทิ ยาศาสตรเทคโนโลยแี ละกระบวนการจัดการ เขามาพฒั นา
องคกร พฒั นาสงั คม และพฒั นาคน เพอ่ื ใหเกดิ การเปลี่ยนแปลงเชิง
คณุ ภาพ เคยมสี วนรวมในการผลักดันกฎหมายตางๆ ในการทำงาน
ดานนิติบญั ญตั ิ ในตำแหนง เลขานกุ ารประจำคณะกรรมาธิการ
การเมอื ง สภานติ ิบัญญตั ิ และเปนผทู รงคณุ วุฒิ ดา นการสง เสริม
กจิ การของ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร

Business Administration (บรหิ ารการจัดการท่วั ไป) มหาวทิ ยาลัย
ราชภัฏพระนคร / Master of Political Science (การเมืองการ
ปกครอง) มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง / วฒุ ิบัตร สถาบนั พระปกเกลา

งานปจ จบุ ัน: กรรมการสงเสริมกิจการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนคร
กรรมการผูจัดการ บรษิ ทั เดอะ คอมพีท เทคโนโลยี จำกัด /
บริษทั อีซี คอนเนคช่ัน จำกดั
ผนู ำเขา ผลิตภัณฑดานดาตา เทคโนโลยี และการพัฒนาซอฟตแวร
234/1-2 ซอยประชาชืน่ 37 ถนนประชาชื่น แขวงวงคส วาง
เขตบางซอื่ กรงุ เทพ 10800
Tel. 02-9101144, E-mail: [email protected]

66


Click to View FlipBook Version