The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2021-11-15 03:15:17

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู รยี น
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี น
ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

เอกสารประกอบลำ�ดับท่ี ๕
โครงการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น

ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้
สำ�หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

๓๗๑.๔๒ สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
ส๖๙๑ น เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียน
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กรงุ เทพฯ : สกศ., ๒๕๖๒
๑๕๐ หนา้
ISBN : 978-616-270-206-8
๑. เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียน ๒. ชอ่ื เร่ือง

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
สิง่ พิมพ์ สกศ. อันดับท่ี ๓๔/๒๕๖๒
ISBN 978-616-270-206-8
พมิ พค์ ร้งั ที่ ๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
จ�ำ นวน ๒,๐๐๐ เล่ม
ผจู้ ัดพมิ พ์เผยแพร ่ กลุ่มมาตรฐานการศกึ ษา
สำ�นกั มาตรฐานการศึกษาและพฒั นาการเรยี นรู้
ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา
๙๙/๒๐ ถนนสโุ ขทยั เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐
โทรศพั ท์ ๐ ๒๖๖๘ ๗๑๒๓ ตอ่ ๒๕๒๘
โทรสาร ๐ ๒๒๔๓ ๑๑๒๙
Website : www.onec.go.th
พมิ พท์ ี่ บรษิ ทั ๒๑ เซ็นจูรี่ จำ�กดั
เลขที่ ๑๙/๒๕ หมู่ ๘ ถนนเตม็ รกั -หนองกางเขน
ต�ำ บลบางคูรดั อ�ำ เภอบางบัวทอง
จังหวดั นนทบรุ ี ๑๑๑๑๐
โทร : ๐ ๒๑๕๐ ๙๖๗๖-๘
โทรสาร : ๐ ๒๑๕๐ ๙๖๗๙
www.21century.co.th

คำ�นํา

การจัดการศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบัน ประสบปัญหา
เรื่องหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล
ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ หลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีกำ�หนดให้เด็กระดับประถมศึกษา
ตอนต้น (ป.๑ – ๓) เรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซ่ึงมีตัวชี้วัด
จ�ำ นวนมาก ไมส่ อดคลอ้ งตามหลกั พฒั นาการเดก็ ทอ่ี ยใู่ นชว่ งรอยเชอ่ื มต่อ
ระหว่างเด็กปฐมวัยและเด็กประถมศึกษา เด็กจะอยู่ในช่วงระหว่าง
การปรับตัว ดังน้ันการปรับหลักสูตรและการเรียนการสอนให้มีความ
ยดื หย่นุ สูงจะช่วยใหค้ รสู ามารถพัฒนาเด็กทมี่ คี วามพร้อมแตกตา่ งกนั
มากในช่วงวยั น้ี ไดพ้ ฒั นาไปตามล�ำ ดับข้ัน
ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั และ
ความจ�ำ เปน็ ดงั กลา่ วจงึ รว่ มกบั คณะท�ำ งานและคณะวจิ ยั ซง่ึ ไดร้ บั มอบหมาย
จากคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏิรูปการศึกษา ดำ�เนินโครงการวิจยั
และพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้
โดยเอกสารแนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐานฉบบั น้ีเปน็ เอกสารเลม่ ท่ี๕ ของโครงการ จดั ท�ำ ขน้ึ เพอ่ื น�ำ เสนอ
แนวทางการน�ำ สมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ – ๓)
ไปปรับใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
ส�ำ นกั งานฯ ขอขอบคณุ คณะวจิ ยั และคณะท�ำ งานในโครงการวจิ ยั
และพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้
ตลอดจนทกุ ฝา่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ งทไ่ี ดร้ ว่ มกนั ศกึ ษาวจิ ยั จนประสบความส�ำ เรจ็
บรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีกำ�หนดไว้ อันเป็นประโยชน์อย่างย่ิงต่อ
การปฏริ ปู หลักสูตร การจัดเรียนการสอน และการวัดผล ประเมินผล
ของการศกึ ษาไทย

(นายสุภทั ร จ�ำ ปาทอง)
เลขาธิการสภาการศึกษา



คำ�ชี้แจง

เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ ผลงานสว่ นหนง่ึ ของ “โครงการวจิ ยั และพฒั นา
กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น” ซ่ึงเป็นโครงการ
วิจัยนำ�ร่องท่ีดำ�เนินการโดยคณะทำ�งานและคณะวิจัยท่ีจัดต้ังข้ึน
โดยคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษาเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบ
ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษาดา้ นหลกั สตู รและการจดั
การเรียนการสอน
โครงการวจิ ยั ดงั กลา่ วมผี ลงานทเ่ี ปน็ ผลผลติ รวมทง้ั สน้ิ ๒ ชดุ ดงั น้ี
๑. รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี นระดับ
ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
๒. เอกสารประกอบจำ�นวน ๑๒ เล่ม ได้แก่
เล่มท ี่ ๑ ประมวลความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรและ
การจัดการเรียนการสอน
เล่มท่ี ๒ กระบวนการก�ำ หนดสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) และ
วรรณคดีเกีย่ วขอ้ งกับสมรรถนะ
เลม่ ท่ี ๓ การวิเคราะห์ความสอดคล้องของสมรรถนะหลัก
ผูเ้ รยี นระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กับหลักการสำ�คัญ ๖ ประการ
เล่มท ่ี ๔ กรอบสมรรถนะผ้เู รียนระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓)
เล่มท่ี ๕ แนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รียนระดับ
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

เลม่ ที ่ ๖ คูม่ ือ การนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รยี นระดบั
ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) ไปใช้ในการพฒั นาผเู้ รยี น
เล่มที่ ๗ ทรัพยากรการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะของ
ผูเ้ รยี นยคุ ใหม่

เลม่ ท่ี ๘ สื่อ ส่ิงพิมพ์ ประชาสัมพันธโ์ ครงการ
เลม่ ท่ี ๙ รายงานแนวคดิ แนวทาง ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
และพันธกิจสำ�คัญในการปฏิรูปการศึกษา ผ่านหลักสูตรและการจัด
การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum
and Instruction)
เล่มท่ี ๑๐ บทสรุปรายงานแนวคิด แนวทาง ข้อเสนอแนะ
เชงิ นโยบาย และพนั ธกจิ สำ�คัญในการปฏิรูปการศึกษา ผ่านหลักสูตร
และการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (Competency-Based
Curriculum and Instruction)
เล่มท่ี ๑๑ เขา้ ใจสมรรถนะอย่างงา่ ย ๆ ฉบบั ประชาชน และ
เขา้ ใจสมรรถนะอยา่ งงา่ ย ๆ ฉบบั ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และบคุ ลากร
ทางการศึกษา
เลม่ ท่ี ๑๒ การปฏริ ปู เพอ่ื การจดั การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะเชงิ รกุ
เอกสารฉบบั นเี้ ปน็ เอกสารประกอบเลม่ ท่ี ๕ ของโครงการซงึ่ เปน็
ส่วนที่นำ�เสนอสาระสำ�คัญทั้งแนวคิดพื้นฐานสำ�คัญ กรอบสมรรถนะ
ผู้เรียนซึ่งเป็นข้อมูลรายละเอียดบอกส่ิงที่ผู้เรียนทำ�ได้ หลังจากจบ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน และส่วนท่ีเป็นหัวใจสำ�คัญคือแนวทางท่ีทำ�ให้
ผู้เรียนเกดิ สมรรถนะ ซึง่ เปน็ ส่วนที่จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ครู ผ้บู ริหารและ
สถานศกึ ษาโดยตรง ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาจงึ เหน็ สมควร
ใหจ้ ดั พมิ พเ์ ผยแพรเ่ พอื่ ประโยชนใ์ นการน�ำ ไปใช้ อยา่ งไรกต็ ามเพอื่ ความ
เข้าใจที่ชัดเจนขึ้นและประสิทธิภาพในการนำ�ไปใช้ ขอแนะนำ�ให้ผู้ใช้
ศกึ ษาเอกสารอื่น ๆ ของโครงการประกอบกนั ไปดว้ ย

สารบัญ หน้า

ค�ำ น�ำ ๑
ค�ำ ชแ้ี จง ๑๙
ส่วนท่ี ๑ เกรน่ิ น�ำ ความคิด
ส่วนท่ี ๒ กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รียนระดบั การศึกษา ๒๒
ขั้นพ้นื ฐาน และกรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น ๒๕
ระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ – ๓) ๒๗
๑. ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร ๓๐
(Thai Language for Communication) ๓๒
๒. คณิตศาสตรใ์ นชีวติ ประจำ�วัน ๓๔
(Mathematics in Everyday Life) ๓๖
๓. การสบื สอบทางวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ๓๙
(Scientific Inquiry and Scientific Mind)
๔. ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร
(English for Communication)
๕. ทกั ษะชวี ิตและความเจริญแหง่ ตน
(Life Skills and Personal Growth)
๖. ทักษะอาชพี และการเปน็ ผู้ประกอบการ
(Career Skills and Entrepreneurship)
๗. ทกั ษะการคิดข้ันสงู และนวัตกรรม
(Higher - Order Thinking Skills and Innovation)
๘. การรู้เทา่ ทันส่ือสารสนเทศและดจิ ทิ ัล
(Media, Information and Digital Literacy : MIDL)

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้
๔๑
๙. การทำ�งานแบบรวมพลังเป็นทมี และมภี าวะผนู้ ำ� ๔๓
(Collaboration Teamwork and Leadership) ๔๙
๑๐. การเป็นพลเมืองท่เี ข้มเเขง็ /ต่ืนรทู้ มี่ สี �ำ นึกสากล ๕๑
(Active Citizen with Global Mindedness) ๗๘
สว่ นท่ี ๓ แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียน ๘๐
๘๔
๓.๑ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นให้มีสมรรถนะหลัก ๘๘
ผ่านกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๙๒
๓.๒แนวทางการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั สกู่ ารพฒั นาผเู้ รยี น ๙๗
๑๐๗
แนวทางท่ี ๑ : ใชง้ านเดิม เสริมสมรรถนะ ๑๒๑
แนวทางท่ ี ๒ : ใชง้ านเดมิ ตอ่ เติมสมรรถนะ ๑๒๓
แนวทางที่ ๓ : ใชร้ ปู แบบการเรยี นรู้สกู่ ารพฒั นาสมรรถนะ
แนวทางที่ ๔ : สมรรถนะเปน็ ฐาน ผสานตวั ชวี้ ดั ๑๓๕
แนวทางที่ ๕ : บรู ณาการ ผสานหลายสมรรถนะ

แนวทางท ี่ ๖ : สมรรถนะชวี ติ ในกิจวตั รประจ�ำ วนั
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ร่างระดบั ความสามารถในการอ่านและการเขยี น
ระดบั A 1 ของสถาบนั ภาษาไทยสริ นิ ธร จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั และ ระดบั ความสามารถทางภาษา
องั กฤษตามกรอบ CEFR และ FRELE - TH
ภาคผนวก ข รายชื่อคณะทำ�งานและคณะวิจัย โครงการวิจัย
และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับ
ประถมศึกษาตอนต้น

สว่ นท่ี ๑

เกริ่นนำ�ความคดิ



สว่ นที่ ๑

เกรน่ิ น�ำ ความคดิ

หัวใจสำ�คัญของการศึกษาคือ “การเรียนรู้ของผู้เรียน” ในการปฏิรูป
การศึกษาให้ประสบความสำ�เร็จจึงมีความจำ�เป็นต้อง “ปฏิรูปการเรียนรู้”
ของผเู้ รยี น ซง่ึ ในการปฏริ ปู การเรยี นรนู้ น้ั มอี งคป์ ระกอบส�ำ คญั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั
อีกหลายประการ ได้แก่ ๑) ครผู ู้สอน ๒) หลกั สูตร ๓) การเรียนการสอน และ
๔) การวัดและประเมนิ ผล องคป์ ระกอบทั้ง ๔ ประการดงั กล่าวจะสนับสนุน และ
เออื้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรทู้ มี่ คี ณุ ภาพ และเกดิ สมรรถนะส�ำ คญั ทส่ี ามารถใชไ้ ด้
ในชวี ติ จรงิ ส�ำ หรบั ปัจจัยส�ำ คญั ที่ท�ำ ให้ตอ้ งมกี ารจัดการเรียนรูม้ ีดงั น้ี
๑. การเปลีย่ นแปลงของโลกและสังคม
ในยคุ ปจั จบุ นั และในอนาคต โลกจะเปลยี่ นแปลง เตบิ โต และเคลอ่ื นไหว
อยา่ งรวดเรว็ ในทกุ มติ ิ และเปน็ ไปในทศิ ทางทห่ี ลายคนอาจคาดไมถ่ งึ ซงึ่ เกดิ จาก
หลายเหตผุ ล โดยเฉพาะเนอ่ื งจากความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี ความเปลย่ี นแปลง
ทเี่ กดิ ข้นึ ส่งผลกระทบท้ังต่อวถิ ีชวี ิต เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง วัฒนธรรม และ
ท่สี ำ�คญั คือส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาในประเด็นดังน ี้
◊ ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ทำ�ใหบ้ คุ คล/ผู้เรียนสามารถเข้าถงึ
เนอื้ หาและขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเรว็ การเรยี นรเู้ นอ้ื หาจากครมู คี วามจ�ำ เปน็
น้อยลง แต่ส่ิงที่ผู้เรียนต้องการมากข้ึนคือการพัฒนา “ทักษะกระบวนการ”
ทจ่ี ะตอ้ งใชใ้ นการจดั กระท�ำ กบั ขอ้ มลู มหาศาลใหม้ คี วามหมาย และไปใชป้ ระโยชน์
แกช่ วี ิตของตนเองได้
◊ เมอื่ เทคโนโลยกี า้ วหนา้ การเดนิ ทางตดิ ตอ่ ไปมาหาสกู่ นั และการเชอื่ มโยง
ผา่ นโลกออนไลน์จึงเกิดข้ึนอยา่ งมากมาย หลากหลายชอ่ งทาง คณุ ลักษณะใหม่
ที่จำ�เป็นต้องพัฒนาผู้เรียนคือ ความเป็นพลเมืองโลก ทักษะข้ามวัฒนธรรม
(Cross cultural understanding) การเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ลั (Digital citizen)

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 1

◊ การมีขอ้ มูล สารสนเทศ และ ความร้ใู หม่ ๆ เกิดขึน้ มาก สงิ่ สำ�คญั
จ�ำ เปน็ อกี ประการหนง่ึ ทบ่ี คุ คล/ผเู้ รยี นตอ้ งมคี อื เรอื่ งของการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ
และดิจทิ ลั
◊ ในอนาคตจะเกดิ การเปลย่ี นแปลงเกย่ี วกบั อาชพี มากมาย เนอื่ งจาก
ความต้องการของผู้บริโภคเปลี่ยนไป อาชีพเก่า ๆ หลายอาชีพจะหายไป และ
จะมีอาชีพใหม่ ๆ ท่ีเราไม่รู้จักเกิดขึ้น ท่ีสำ�คัญคือ เป็นอาชีพที่เกิดเร็ว และ
เปลย่ี นแปลงเรว็ จงึ ตอ้ งเตรยี มคนในเรอ่ื งทกั ษะการเปน็ ผปู้ ระกอบการและทกั ษะ
การเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอื่ ง
◊ ในยุคท่ีมีการแสดงความคิดความเห็นอย่างเสรี และรวดเร็ว
ผ่านสื่อต่าง ๆ จึงมักมีแนวคิดหลากหลาย และหลายแนวคิดเป็นประเด็น
ถกเถยี ง (Controversial Issue) ไม่อาจลงข้อสรปุ ได้ จึงจำ�เปน็ ตอ้ งพัฒนาทกั ษะ
การคดิ วจิ ารณญาณ การวพิ ากษ์ และวฒั นธรรมแหง่ การตงั้ ค�ำ ถาม (Questioning
Culture) ตลอดจนการทำ�ใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นร้ปู รัชญา (Philosophy for Children:
P4C) ในการดำ�รงชีวติ
◊ ในศตวรรษท่ี ๒๑ ผเู้ รยี นตอ้ งมที กั ษะส�ำ คญั ทจี่ �ำ เปน็ ในการใชช้ วี ติ
แม้หลายทักษะจะเป็นทักษะเดิม แต่ต้องเพ่ิมความเข้มข้นและความสามารถ
ในการน�ำ ไปใชใ้ นสถานการณท์ ซ่ี บั ซอ้ น อกี สว่ นหนง่ึ เปน็ ทกั ษะใหมท่ ต่ี อ้ งบม่ เพาะ
และพฒั นาใหเ้ กดิ แกผ่ เู้ รยี น อาทิ ความรอบรดู้ า้ นการเงนิ การเปน็ ผปู้ ระกอบการ
ความรอบรู้ด้านพลเมือง ทักษะการสร้างสรรค์และการผลิตนวัตกรรม การคิด
เชงิ วพิ ากษ์ การรว่ มมอื รวมพลงั ความเปน็ ผนู้ �ำ และความสามารถในการปรบั ตวั
๒. ปญั หาส�ำ คญั รุนแรง ทีเ่ กดิ ขึ้น
◊ ปัญหาคณุ ภาพของผเู้ รยี นในภาพรวม
ปัญหาท่ีแสดงถึงความด้อยคุณภาพของการศึกษาและระบบ
การเรียนรู้ของผู้เรียน คือ ความด้อยคุณภาพของผู้เรียนทั้งในระดับชาติและ
นานาชาตทิ ม่ี คี ณุ ภาพตา่ํ ลงจนนา่ วติ ก รวมทง้ั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทอ่ี ยู่
ในระดับต่ําไมไ่ ดม้ าตรฐานสากล แสดงให้เหน็ อยา่ งชัดเจน จากขอ้ มลู สำ�คญั คอื

2 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รียนระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

๑) ผลการทดสอบ O-NET ของผูเ้ รียนพบว่าคุณภาพของผู้เรยี น
ตาํ่ กว่าค่าเฉล่ียในทุกสาระการเรยี นรู้ และมแี นวโนม้ ตา่ํ ลงทกุ ปี
๒) ผลการสอบ PISA ทป่ี ระเมนิ เดก็ อายุ ๑๕ ปี ทว่ั โลกวา่ มคี วาม
พรอ้ มท่จี ะอยู่ร่วมในสงั คมเพียงใด โดยมุ่งทดสอบว่านักเรียนสามารถน�ำ สง่ิ ท่ไี ด้
เรียนในห้องเรียนไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาในชีวิต หรือสถานการณ์จริงได้
หรอื ไม่ ผลการประเมนิ พบวา่ เดก็ ไทยมคี ณุ ภาพตาํ่ กวา่ คา่ เฉลย่ี ทง้ั ในวชิ าคณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และดา้ นการอ่าน แสดงใหเ้ ห็นวา่ คุณภาพของผู้เรียนไทยยงั ไม่ได้
มาตรฐานสากล และคะแนนตํ่ากว่าคา่ เฉลย่ี อย่างตอ่ เนื่อง
๓) ระดับความสามารถของนกั เรียนไทยเมื่อเทยี บกับชาติตา่ ง ๆ
อยใู่ นระดบั ตา่ํ มาก เมือ่ เทยี บกบั ชาตอิ ่นื ๆ พบวา่ มนี ักเรียนถงึ รอ้ ยละ ๔๖.๗๕
ทม่ี ผี ลการศกึ ษาตา่ํ และมเี พยี งรอ้ ยละ ๐.๔๖ เทา่ นน้ั ทม่ี ผี ลการศกึ ษาในระดบั สงู

◊ ผลจากการศึกษาคุณลักษณะของผเู้ รียน
ผลจากการจดั การศกึ ษาทง้ั ในดา้ นหลกั สตู ร การเรยี นการสอน และ
การวดั ผลประเมนิ ผล มขี อ้ คน้ พบวา่ แมจ้ ะมผี เู้ รยี นจ�ำ นวนหนง่ึ ประสบความส�ำ เรจ็
มคี ณุ ลกั ษณะเปน็ ทพ่ี อใจ แตเ่ มอ่ื พจิ ารณาโดยรวมแลว้ พบวา่ ผเู้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะ
ดงั น้ี
๑) ความรทู้ ว่ มหวั เอาตวั ไมร่ อด คอื ไดเ้ รยี นรเู้ นอ้ื หาสาระจ�ำ นวนมาก
แตไ่ ม่สามารถประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ให้เปน็ ประโยชน์ในการดำ�รงชีวิต
๒) หวั โต ตวั ลบี คือ มกี ารเรียนรทู้ ข่ี าดความสมดุล เน้นทางดา้ น
สติปัญญาความรู้ แต่ขาดการพัฒนาในด้านอ่ืน ๆ เช่น การลงมือปฏิบัติ
การพฒั นาลักษณะนิสัย
๓) รธู้ รรมะ แตไ่ มม่ ธี รรมะ คือ มคี วามรู้ แต่ปฏบิ ัตติ ามท่รี ไู้ ม่ได้
เพราะขาดการฝึกฝนอย่างเพียงพอ รวมท้ังขาดประสบการณ์ที่ช่วยให้ซาบซ้ึง
ในคณุ ค่าและความหมายของส่งิ ท่ีเรียน
๔) นกแก้วนกขุนทอง คือ สามารถเรียนรู้โดยจดจำ�ความรู้
ความเขา้ ใจในระดบั ผวิ เผนิ ไมร่ ลู้ กึ ไมร่ จู้ รงิ ท�ำ ใหไ้ มส่ ามารถน�ำ ความรไู้ ปประยกุ ต์
ใช้ในการท�ำ งานและการแก้ปัญหา

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน 3

๕) เก่งแบบเป็ด คือ ไม่เช่ียวชาญอะไรสักอย่าง ไม่รู้จักตนเอง
ไม่รู้ศักยภาพและความถนัดของตน ไม่มีเป้าหมายในชีวิต ไม่มีเอกลักษณ์ของ
ตนเอง ขาดความภาคภมู ใิ จในตนเอง
๖) เรียนเพือ่ สอบ คอื เรียนเพอื่ ใหไ้ ดเ้ กรดหรอื ใหส้ อบผ่าน ๆ ไป
ไมไ่ ดเ้ รยี นเพื่อให้เกิดการเรียนรแู้ ละการนำ�ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิต
๗) เรยี นแบบตัวใครตวั มนั คอื ต่างคนตา่ งเรียน ไม่เกี่ยวขอ้ งกับ
คนอน่ื ไมส่ นใจวา่ จะเรยี นรไู้ ปชว่ ยเหลอื สงั คม หรอื สรา้ งความเปลย่ี นแปลงอะไรได้
๘) ไมส่ นใจทจ่ี ะเรยี นรใู้ นระบบ เพราะไมเ่ หน็ คณุ คา่ ของการเรยี น
การเรียนไมม่ คี วามหมายต่อชีวติ ของตน


สาเหตุส�ำ คญั


จากข้อมูลข้างต้น สาเหตุที่ทำ�ให้เด็กไทยด้อยคุณภาพ มีหลายประการ

แต่ผู้ที่ตกเป็นจำ�เลยที่ถูกกล่าวหามากท่ีสุด ก็คือ ครู! และคงเป็นการยาก

ที่จะบอกว่าค�ำ ตอบนี้ถูกหรอื ผิด ในส่วนคำ�ตอบถกู เพราะครูเป็นบุคคลทใี่ กล้ชดิ
กับผู้เรียนมากท่ีสุด การเรียนรู้ทั้งหลายที่เด็กได้รับมาจากครูเป็นส่วนใหญ่
การทเี่ ดก็ จะเรยี นรไู้ ดด้ หี รอื ไมเ่ พยี งใดนนั้ ขนึ้ กบั ความสามารถของครู ทงั้ ตวั ครแู ละ
การสอนของครู ต่างกม็ ีอทิ ธพิ ลตอ่ เด็กในทกุ ๆ ดา้ น ดังนั้น ความด้อยคณุ ภาพ
ของเด็กก็น่าจะมาจากครแู ละการสอนของครูเป็นสำ�คัญ

แต่ในส่วนคำ�ตอบผิด เพราะความด้อยคุณภาพของนักเรียนเป็นความ

รบั ผดิ ชอบของครเู พยี งฝา่ ยเดยี วกไ็ มไ่ ด้ เพราะมตี วั แปรอนื่ ๆ อกี เปน็ จ�ำ นวนมาก
ที่มีอิทธิพลส่งผลกระทบต่อท้ังครูและผู้เรียน ผู้บริหารและนโยบาย การบริหาร
จัดการทั้งด้านกายภาพ งบประมาณ บุคลากร สิ่งอำ�นวยความสะดวก และ
สวสั ดกิ าร อกี ทงั้ ผปู้ กครอง ชมุ ชน นโยบาย และการบรหิ ารการศกึ ษาระดบั ทอ้ งถน่ิ
ต่างก็ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครู นอกจากน้ันรัฐและนโยบายระดับชาติ
ซึ่งเป็นระบบใหญ่ท่ีดูเหมือนห่างไกลจากตัวครูและนักเรียน ล้วนส่งผลกระทบ
โดยตรงตอ่ ครเู เละนกั เรยี นเชน่ เดียวกนั

4 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

ดังนั้น ความด้อยคุณภาพของนักเรียนจึงมีผลมาจากความสัมพันธ์
เชอื่ มโยงกนั ระหวา่ งบริบทต่าง ๆ ท่ีอยู่แวดลอ้ ม ปญั หาจึงไมไ่ ด้อย่ทู ตี่ ัวครูเพยี ง
คนเดยี ว แตอ่ ยู่ทส่ี ง่ิ ท่ีมาสัมพนั ธ์กบั ตวั ครูท้ังหมด ดงั เเผนภาพ

สา หลักสูตร ส่งผลกระทบตอ่ การสอนเเละการวดั ประเมินผล

กระบวนการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น สง่ ผลกระทบตอ่

สง่ ผลกระทบตอ่ คุณภาพผูเ้ รียน
(ผลสัมฤทธิ์ ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ

สมรรถนะ เเละคณุ ลกั ษณะ)

เนอ่ื งจากหลกั สตู ร การสอนและการวดั ผลประเมนิ ผลแบบเดมิ ยงั ไมส่ ามารถ
ส่งผลกระทบต่อกระบวนการเรียนรู้ และคุณภาพผู้เรียน ตามท่ีพึงปรารถนา
จึงจำ�เป็นต้องแสวงหาแนวคิด แนวทาง และวิธีการอื่นท่ีจะสามารถช่วยให้ได้
ผลลัพธต์ ามท่ีตอ้ งการ


ทางออกสำ�คญั


ปัญหาข้างต้นเกิดขึ้นหลายประเทศ และหลายประเทศเลือกทางออก
ส�ำ คญั ประการหนง่ึ คอื การจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะ (Competency – Based
Education : CBE) ซึง่ เปน็ การจัดการศึกษาด้วยระบบหลกั สูตรฐานสมรรถนะ
(Competency – Based Curriculum : CBC) การจัดการเรียนการสอน
ฐานสมรรถนะ (Competency – Based Instruction : CBI) และการวดั และประเมนิ ผล
ฐานสมรรถนะ (Competency – Based Assessment : CBA) ซึ่งเป็น
การศกึ ษาที่ยดึ ผ้เู รียนเป็นศนู ย์กลาง (Learner Centered) เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียน
ไดเ้ รยี นรตู้ ามความสนใจ ความถนดั และก้าวหน้าไปตามความสามารถของตน

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 5

โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะหลักที่จำ�เป็นสำ�หรับการทำ�งาน
การแก้ปัญหา และการดำ�รงชวี ิต โดยมีลกั ษณะสำ�คัญ ดงั นี้
๑) มุ่งให้ผู้เรียนแสดงความสามารถท่ีเชี่ยวชาญ เน้นการนำ�ความรู้
ไปใช้จรงิ
๒) กำ�หนดความคาดหวงั ไว้สงู และคาดหวงั กบั ผเู้ รียนทุกคน
๓) ผู้เรียนรับผิดชอบต่อตัวเองให้ถึงเป้าหมาย สามารถออกแบบ
การเรียนของตนเองได้ สามารถเรียนได้ในสถานที่และเวลาท่ีแตกต่างกัน
โดยการช่วยเหลือ สนับสนุนอย่างยืดหยุ่น ตามลักษณะเฉพาะของผู้เรียน
๔) ผู้เรียนจะได้รับการประเมินเม่ือพร้อม และเป็นการประเมิน
ความก้าวหน้าตามอัตราของตนเอง เน้นประเมินท่ีท้าทาย เน้นการปฏิบัติด้วย
เครื่องมือวัดทีเ่ ขา้ ถงึ ความเชี่ยวชาญของผเู้ รยี น
สาระส�ำ คัญทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการจัดการศึกษาฐานสมรรถนะมีดังนี้
๑. สมรรถนะ (Competencies)
สมรรถนะเปน็ ความสามารถของบคุ คลในการใชค้ วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ
และคณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ทตี่ นมใี นการท�ำ งานหรอื การแก้ปญั หาต่าง ๆ จนประสบ
ความส�ำ เรจ็ ในระดับใดระดบั หนงึ่ สมรรถนะแสดงออกทางพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ
ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ สมรรถนะจึงเป็นผลรวมของความรู้ ทักษะ
เจตคติ คุณลักษณะ และความสามารถอื่น ๆ ที่ช่วยให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคล
ประสบความสำ�เรจ็ ในการทำ�งาน

คนทกุ คนมีศักยภาพ (Potential) ภายใน ซงึ่ เปน็ ความสามารถท่ีแฝง
อยใู่ นตวั บคุ คล แตล่ ะคนมศี กั ยภาพในดา้ นใดดา้ นหนง่ึ หรอื หลายดา้ นแฝงอยแู่ ลว้
แตอ่ าจยงั ไมไ่ ดแ้ สดงออกใหเ้ หน็ จนกวา่ จะไดร้ บั การกระตนุ้ หรอื ไดร้ บั การศกึ ษา
หรือเรียนรู้ที่เหมาะสมกับภาวะแฝงน้ัน และเม่ือศักยภาพนั้นปรากฏออกมา
หากไดร้ บั การสง่ เสรมิ ตอ่ ไป กจ็ ะท�ำ ใหบ้ คุ คลนนั้ มคี วามสามารถในดา้ นนนั้ สงู ขน้ึ
ดังน้ันการไดเ้ รียนรสู้ าระความรู้ (Knowledge) และไดร้ ับการฝึกทักษะ (Skills)
ต่าง ๆ รวมท้ังการได้รับการพัฒนาคุณลักษณะ (Attributes) ที่พึงประสงค์
เหลา่ นัน้ สามารถช่วยพัฒนาบุคคลใหม้ คี วามสามารถเพ่ิมสูงขนึ้ ได้

6 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

อยา่ งไรกต็ าม ความรู้ ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ทบี่ คุ คลไดเ้ รยี นรู้
อาจไม่ช่วยให้บุคคลประสบความสำ�เร็จในการทำ�งาน หากบุคคลนั้นขาด
ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ทต่ี นมใี นการ
ปฏบิ ตั งิ าน หรอื อกี นยั หนง่ึ กค็ อื การขาดความสามารถเชงิ สมรรถนะ ดงั นนั้ ความรู้
ทักษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ทบ่ี ุคคลได้เรียนรนู้ ้ันจะยังไมใ่ ชส่ มรรถนะ
จนกวา่ บคุ คลนนั้ จะไดแ้ สดงพฤตกิ รรมแสดงออกถงึ ความสามารถในการน�ำ ความรู้
ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่าง ๆ ท่ีมีในการทำ�งานหรือการแก้ปัญหา
ในสถานการณต์ ่าง ๆ จนประสบความส�ำ เรจ็ ในระดบั ใดระดบั หนึ่ง ซงึ่ สามารถ
น�ำ เสนอเป็นกรอบเเนวคิดดงั นี้

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียนระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 7

THE CONCEPTUAL FRAMEWORK OF "COMPETENCY"
กรอบเเนวคดิ เกี่ยวกบั "สมรรถนะ"

ศักPยOภTาEพNภTาIAยLใน

ความรู้ ทกั ษะ เจตคต/ิ คุณลักษณะ
KNOWLEDGE SKILL ATTITUDE/ATTRIBUTE

APPLY/UปSรEะยุกตใ์ ช้ ประยุกต์ใช้ ประยAุกตP์ใPชL้Y/USE
APPLY/USE
งาน/สถานการณ/์ ชีวิต
TASK/JOB/LIFE SITUATIONS

สมรรถนะ COMPETENCY
(ABILITY/CAPABILITY/PROFICIENCY)

- Ability to do/preform สามารถปฏิบัตทิ �ำ
- Under condition เง่ือนไข/งาน/สถานการณ์
- Critical/Proficiency ตามเกณฑท์ ่กี ำ�หนด

8 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ตัวอย่างการมีสมรรถนะ

ตัวอย่างที่ ๑
เมื่อโรงเรียนต้องจัดงานท่ีต้องเชิญแขกมาท้ังส้ิน ๒๐๐ คน คุณครู
ให้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ช่วยวางแผนในการจัดโต๊ะว่าควรจัดจำ�นวน
เท่าไหร่ นักเรยี นได้อภิปรายร่วมกนั มฝี ่ายหนึ่งเสนอให้จัดน้อยกวา่ ๒๐๐ เพราะ
โดยสว่ นใหญแ่ ขกทม่ี างานยอ่ มนอ้ ยกวา่ จ�ำ นวนทเ่ี ชญิ เสมอ เพราะอาจมแี ขกบางคน
ซง่ึ ตดิ ธรุ ะมาในวนั งานไมไ่ ด้ อกี ฝา่ ยกค็ า้ นวา่ ควรจดั โตะ๊ ใหค้ รบตามจ�ำ นวนทเ่ี ชญิ
เหลอื ดกี วา่ ขาด อกี ฝา่ ยคา้ นวา่ การเหลอื ทนี่ งั่ เอาไว้ เปน็ การสน้ิ เปลอื งงบประมาณ
ทงั้ ปรมิ าณอาหาร ปรมิ าณโตะ๊ และเกา้ อี้ นอ้ งแจนเสนอใหใ้ ชฟ้ งั กช์ นั ของโปรเเกรม
เอกซ์เซล Normdist ที่ได้เรียนมา ในการคำ�นวณหาจำ�นวนของท่ีนั่งท่ีจะจัด
ใหม้ ีความเสย่ี งต่อแขกล้นงานน้อยที่สดุ ทกุ คนเห็นดว้ ยเพราะเป็นวธิ ีทีม่ ีเหตุผล
รองรบั ไมไ่ ด้ใช้เพยี งความรสู้ กึ ในการแกป้ ญั หา
• น้องแจนมีสมรรถนะคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน เพราะ
แกป้ ญั หาของโรงเรยี นโดยใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตรท์ เ่ี รียน เช่อื มโยงกบั ปญั หา
ท่ีตนเองพบในชวี ติ จริงได้อยา่ งมเี หตุผลตามวัย
ตัวอยา่ งที่ ๒
ในช่วงเวลาท่ีเกิดพายุปาบึก สายสุดาซึ่งเป็นคณะกรรมการนักเรียนของ
โรงเรียนมัธยมในตำ�บล ได้เรียนรู้เรื่องการทำ�งานร่วมกัน และฝึกฝนเรื่องการ
ทำ�งานเปน็ ทมี ผา่ นกิจกรรมตา่ ง ๆ ไดร้ วบรวมเพื่อน ๆ ๑๐ คน ช่วยเจ้าหน้าท่ี
ในการดแู ลเดก็ ๆ และคนแก่ ในศนู ยอ์ พยพ สายสดุ าเปน็ ผปู้ ระสานงาน และแบง่
หนา้ ทใี่ หเ้ พอื่ น ๆ ท�ำ ตามความถนดั ทงั้ การจดั หาอาหาร การจดั ยาดแู ลผเู้ จบ็ ปว่ ย
และใหก้ �ำ ลงั ใจแกผ่ ทู้ เี่ ปน็ หว่ งกงั วลเกย่ี วกบั ทรพั ยส์ นิ ทเี่ สยี หายยามใดทงี่ านมปี ญั หา
สายสดุ าและเพอ่ื น ๆ จะระดมความคดิ หาวธิ แี กป้ ญั หา อกี ทง้ั ใหก้ �ำ ลงั ใจซง่ึ กนั และกนั
เพอื่ ท�ำ งานนใี้ หส้ �ำ เรจ็ โดยมสี ายสดุ าเปน็ ผปู้ ระสานงาน ซง่ึ ท�ำ ใหเ้ ดก็ ๆ คนแก่ และ
ทกุ คน ในศูนย์อพยพ มีสขุ ภาพกายใจที่ดี พรอ้ มรบั มอื กับปญั หาท่ีเกดิ ขึ้นต่อไป


เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน 9

• สายสดุ า และเพอ่ื น ๆ มสี มรรถนะการท�ำ งานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี
เพราะมีทักษะในการทำ�งานร่วมกันและปฏิบัติตามบทบาทเพื่อการทำ�งาน
ให้บรรลุเป้าหมาย ในส่วนสายสุดานั้นมสี มรรถนะการเป็นผู้นำ�และใช้ภาวะ
ผนู้ �ำ อยา่ งเหมาะสม สามารถประสานและน�ำ กลมุ่ แมบ่ า้ นใหป้ ฏบิ ตั งิ านได้ โดยน�ำ
ความสามารถของสมาชกิ แตล่ ะคนมาใชเ้ พอื่ การปฏบิ ตั งิ านใหป้ ระสบความส�ำ เรจ็
ตวั อยา่ งที่ ๓
นักเรียนพบว่า แหล่งนํ้าของหมู่บ้านเร่ิมส่งกล่ินเหม็น เพราะมีคน
นำ�สิ่งปฏิกูลไปท้ิง เมื่อศึกษาระเบียบของหมู่บ้านพบว่า มีข้อห้ามอยู่แต่ไม่ได้
บงั คบั ใชอ้ ยา่ งจรงิ จงั จงึ รวมตวั กนั กบั เพอ่ื น ๆ ไปปรกึ ษาผใู้ หญบ่ า้ น เพอื่ หาวธิ กี าร
แก้ปัญหา สรุปไดว้ า่ ควรมกี ารแจ้งขอ้ มูลเสียงตามสายของหมบู่ า้ นและตดิ ป้าย
ประกาศเตอื นพร้อมแจง้ บทลงโทษผู้ฝ่าฝนื
• ปัญหาสาธารณะไม่ใช่เรื่องของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นเรื่องของ
ทุกคน ที่ต้องมีคนกล้าคิด และรวมตัวกันเพ่ือพิจารณาหาผู้มีอำ�นาจหน้าที่
ในการด�ำ เนนิ การแกไ้ ขปญั หาตามระบบ นกั เรยี นกลมุ่ นจ้ี ดั วา่ เปน็ ผมู้ ีสมรรถนะ
การเปน็ พลเมืองทีเ่ ขม้ เเข็ง/ต่ืนรู้
จากตัวอย่างท่ยี กมา แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ลักษณะของผู้มสี มรรถนะ ซงึ่ คงไมม่ ี
ใครปฏเิ สธว่า เป็นคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ และหากวเิ คราะห์เจาะลึกลงไปอกี
จะเห็นได้ว่าผู้ที่มีสมรรถนะต่าง ๆ ดังกล่าวน้ัน มีคุณสมบัติร่วมท่ีเหมือนกันคือ
สามารถทำ� (งาน / กิจกรรม)ได้สำ�เร็จ หากวเิ คราะหว์ ่าท�ำ ได้สำ�เรจ็ เพราะอะไร?
คำ�ตอบกค็ ือ เพราะ
๑) มคี วามรแู้ ละน�ำ ความรมู้ าใชใ้ นสถานการณต์ า่ งๆได้เชน่ สายสดุ าและเพอ่ื น
มีความรเู้ กยี่ วกบั การท�ำ งานร่วมกันและนำ�มาใชใ้ นการท�ำ งานรว่ มกันในครัง้ นี้
๒) มีทักษะ เช่น สายสุดาและเพ่ือนมีทักษะในการทำ�งานร่วมกัน
ทั้งการวางแผน จัดบทบาทหนา้ ท่ี และการแก้ปญั หาที่เกิดขึ้นรว่ มกนั

10 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๓) มเี จตคติ แรงจงู ใจ และคณุ ลักษณะทีส่ ่งเสริมพฤติกรรม การกระทำ�
ให้บรรลุผล เช่น สายสุดาและเพื่อนมีความมุ่งม่ันมีแรงจูงใจในการทำ�งาน
ใหส้ ำ�เร็จแม้จะมปี ัญหาขนึ้ กไ็ มย่ อ่ ท้อ
ดงั นน้ั สมรรถนะจงึ เปน็ ความสามารถของบคุ คลในระดบั ทป่ี ฏบิ ตั งิ านใด
งานหนึ่งได้สำ�เร็จ โดยใช้ความรู้ทักษะ เจตคติ / คุณลักษณะ ท่ีตนมีอยู่ หรือ
สมรรถนะเปน็ พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความสามารถของบคุ คลในการน�ำ ความรู้
ทกั ษะ และคุณลักษณะเฉพาะของตน มาประยุกตใ์ ชใ้ นงาน หรือในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ไดจ้ นประสบความส�ำ เรจ็

แต่

- คนมคี วามรู้ แตไ่ มใ่ ชค้ วามรหู้ รอื ไมส่ ามารถใชค้ วามรู้ = ยงั ไมม่ สี มรรถนะ
(เชน่ ผู้มีความรู้ภาษาองั กฤษ แต่ไม่สามารถพูดคยุ กับชาวต่างชาติได้)
- คนมที กั ษะ แตไ่ ม่นำ�ทักษะนน้ั มาใช้ = ยังไม่มสี มรรถนะ (เช่น มีทกั ษะ
การอ่าน เขยี น ฟงั พูด สอบผา่ นการทดสอบ แตไ่ ม่กลา้ สอ่ื สารกบั ชาวต่างชาติ)
- คนมีเจตคติ มีแรงจูงใจ แต่ไม่นำ�มาใช้งาน = ยังไม่มีสมรรถนะ
(เช่น ชอบภาษาอังกฤษ มีเจตคติท่ีดีต่อภาษาอังกฤษ แต่ไม่ยอมพูดส่ือสารกับ
ชาวตา่ งชาต)ิ ดงั นนั้ สมรรถนะจะเกดิ ขนึ้ ได้ กต็ อ่ เมอ่ื บคุ คลมโี อกาสไดฝ้ กึ ใชค้ วามรู้
ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะทต่ี นมใี นการท�ำ งาน การแกป้ ญั หา ในสถานการณต์ า่ ง ๆ
จนเกดิ ความชำ�นาญ และความม่ันใจ ท�ำ ให้สามารถทำ�งานต่าง ๆ ไดส้ ำ�เร็จ
สมรรถนะมีได้หลายระดับตามความจำ�เป็นหรือความต้องการ
ในหลาย ๆ เรอ่ื ง เราจ�ำ เปน็ ตอ้ งมสี มรรถนะในระดบั พอใชก้ ารได้ จงึ จะอยรู่ อดอยดู่ ี
แตใ่ นบางเรอ่ื ง เราจ�ำ เปน็ ตอ้ งมสี มรรถนะในระดบั สงู ขน้ึ ดงั นน้ั ในการพฒั นาและ
การวดั สมรรถนะ จงึ ตอ้ งมกี ารก�ำ หนดเกณฑก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Criteria) วา่
ต้องการในระดับใด เช่น สำ�หรับคนทั่วไปอาจจำ�เป็นต้องมีสมรรถนะการใช้
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารในระดับพอใช้การได้ คือ สมรรถนะส่ือสาร
เรอ่ื งทว่ั ๆ ไปพอเขา้ ใจกนั แตส่ �ำ หรบั ผทู้ ตี่ อ้ งการไปศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ สมรรถนะ
ทางดา้ นน้ีกจ็ �ำ เปน็ ตอ้ งอยใู่ นระดบั สงู ซ่งึ มักจะมีการก�ำ หนดมาตรฐานเอาไว้

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน 11

สมรรถนะทสี่ งู ขน้ึ ตอ้ งอาศยั ความรู้ ทกั ษะ ทสี่ งู ขนึ้ มากขนึ้ ดว้ ย แตค่ วามรู้
ทักษะที่สูงขึ้น อาจส่งผลหรือไม่ส่งผลต่อการเกิดสมรรถนะก็ได้ ข้ึนอยู่กับ
ประสบการณ์ ในการนำ�ความรู้และทักษะเหล่าน้ันมาใช้ รวมท้ังคุณลักษณะ
ส่วนตนท่ีมีว่าเอ้ืออำ�นวยเพียงใด สรุปว่าองค์ประกอบสำ�คัญของสมรรถนะ
มี ๗ ประการ คือ ๑) ความรู้ (Knowledge) ๒) ทักษะ (Skill) ๓) คณุ ลกั ษณะ /
เจตคติ (Attribute / Attitude) ๔) การประยกุ ตใ์ ช้ (Application) ๕) การกระท�ำ /
การปฏบิ ตั ิ (Performance) ๖) งานและสถานการณต์ า่ ง ๆ (Tasks / Jobs /
Situations) ๗) ผลส�ำ เรจ็ (Success) ตามเกณฑท์ กี่ �ำ หนด (Performance Criteria)
๒. หลกั สตู รฐานสมรรถนะ (Competency – Based Curriculum : CBC)
ศาสตราจารย์ ดร.ธำ�รง บัวศรี (๒๕๓๕) ได้กล่าวถึงลักษณะสำ�คัญ
ของหลักสูตรฐานสมรรถนะว่าเป็นหลักสูตรท่ียึดความสามารถของผู้เรียน
เป็นหลัก การออกแบบหลักสูตรตามแนวคิดนี้จะมีการกำ�หนดเกณฑ์
ความสามารถที่ผู้เรียนพึงปฏิบัติได้ หลักสูตรที่เรียกว่าหลักสูตรเกณฑ์
ความสามารถจัดทำ�ขึ้นเพ่ือประกันว่าผู้ท่ีจบการศึกษาระดับหน่ึง ๆ จะมีทักษะ
และความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ ตามทตี่ อ้ งการ เปน็ หลกั สตู รทไ่ี มไ่ ดม้ งุ่ เรอ่ื งความรู้
หรือเน้ือหาวิชาท่ีอาจมีความเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา แต่จะมุ่งพัฒนา
ในดา้ นทกั ษะ ความสามารถ เจตคตแิ ละคา่ นยิ ม อนั จะมปี ระโยชนต์ อ่ ชวี ติ ประจ�ำ วนั
และอนาคตของผู้เรียนในอนาคต หลักสูตรนี้มีโครงสร้างให้เห็นถึงเกณฑ์
ความสามารถในด้านต่าง ๆ ทีต่ อ้ งการใหผ้ ูเ้ รียนปฏบิ ัติในแต่ละระดับการศึกษา
และในแตล่ ะระดบั ชนั้ ทกั ษะและความสามารถจะถกู ก�ำ หนดใหม้ คี วามตอ่ เนอื่ งกนั
โดยใช้ทักษะและความสามารถทม่ี ใี นแตล่ ะระดับเป็นฐานสำ�หรบั เพิ่มพูนทักษะ
และความสามารถในระดับต่อไป
หลกั สตู รฐานสมรรถนะ มีลักษณะส�ำ คญั ดงั น้ี ๑) เปน็ หลกั สูตรทมี่ ุ่งเน้น
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่จำ�เป็นต้องใช้ในการดำ�รงชีวิต โดยมี
การกำ�หนดสมรรถนะหลักท่ีเหมาะสมแต่ละช่วงชั้น ให้ครูผู้สอนนำ�ไปใช้เป็น
หลักในการกำ�หนดจุดประสงค์และสาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน
และการวัดและประเมินผล ๒) เป็นหลักสูตรท่ีให้ความสำ�คัญกับพฤติกรรม
การกระท�ำ การปฏบิ ตั ขิ องผเู้ รยี น มใิ ชท่ ก่ี ารรหู้ รอื มคี วามรเู้ พยี งเทา่ นน้ั แตผ่ เู้ รยี น

12 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ตอ้ งสามารถประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ทักษะ เจตคติ ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะต่าง ๆ
ในการแกป้ ญั หาสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ๓) เปน็ หลกั สตู รทใ่ี ชผ้ ลลพั ธ์
(สมรรถนะ) นำ�สจู่ ดุ มงุ่ หมายการเรยี นรู้ มใิ ชห่ ลกั สตู ร (เนื้อหาสาระ) นำ�สผู่ ลลพั ธ์
(สมรรถนะ) ๔) เป็นหลักสตู รที่ใหผ้ เู้ รยี นเป็นศูนยก์ ลางและสามารถปรับเปลี่ยน
ไ ดต้ ามความต้องการของผ้เู รยี น ครู และสังคม

๓. การจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ (Competency – Based

Instruction : CBI)
การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ เป็นการเรียนการสอน
ท่ีมีจุดประสงค์การเรียนรู้ฐานสมรรถนะเป็นเป้าหมาย คือ มุ่งเน้นการพัฒนา
ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะต่าง ๆ
อยา่ งเปน็ องคร์ วมในการปฏิบตั งิ าน การแกป้ ญั หา และการใช้ชวี ติ เปน็ การเรยี น
การสอนท่ีเชื่อมโยงกับชีวิตประจำ�วัน เรียนรู้เพื่อให้สามารถใช้การได้จริง
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำ�วัน เป็นการเรียนเพื่อใช้ประโยชน์
ไมใ่ ช่การเรียนเพ่ือรเู้ ท่านนั้
การจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะเนน้ “การปฏบิ ตั ”ิ โดยมชี ดุ ของ
เนอื้ หาความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะท่จี ำ�เปน็ ตอ่ การน�ำ ไปสู่สมรรถนะ
ท่ีต้องการ จึงทำ�ให้สามารถลดเวลาเรียนเน้ือหาจำ�นวนมากที่ไม่จำ�เป็น เอ้ือให้
ผู้เรียนมีเวลาในการเรียนรู้เน้ือหาที่จำ�เป็นในระดับที่ลึกซึ้งขึ้น และมีโอกาส
ได้ฝึกฝนการใช้ความรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ
ในระดับช�ำ นาญหรอื เชีย่ วชาญ เป็นการเรียนการสอนท่ีมีการบรู ณาการความรู้
ข้ามศาสตร์ ความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานใดงานหน่ึง
จะได้รับการนำ�ไปใช้เพื่อความสำ�เร็จของการปฏิบัติงาน การเรียนการสอนเป็น
การบูรณาการมากข้นึ
การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะนั้นผู้เรียนสามารถใช้เวลา
ในการเรยี นรู้ และมคี วามกา้ วหนา้ ในการเรยี นรไู้ ปตามความถนดั และความสามารถ
ของตน สามารถไปได้เร็วหรือช้าแตกต่างกันได้ ในส่วนการให้ข้อมูลป้อนกลับ
แก่ผู้เรียนเพื่อการปรับปรุงพัฒนา เป็นปัจจัยสำ�คัญที่ช่วยให้การเรียนรู้
ฐานสมรรถนะประสบความส�ำ เรจ็

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 13

๔. การวดั และประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ (Competency – Based
Assessment : CBA)
การวัดและประเมินผลฐานสมรรถนะเป็นการดำ�เนินการท่ีมุ่งวัด
สมรรถนะอันเป็นองค์รวมของความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่าง ๆ
ไมใ่ ชเ้ วลามากกบั การสอบวดั ตามตวั ชว้ี ดั จ�ำ นวนมาก เปน็ การวดั จากพฤตกิ รรม
การกระทำ� การปฏิบัติ ท่ีแสดงออกถึงความสามารถในการใช้ความรู้ ทักษะ
เจตคติ และคณุ ลักษณะต่าง ๆ ตามเกณฑ์การปฏบิ ัติ (Performance Criteria)
ทกี่ �ำ หนดเปน็ การวดั องิ เกณฑ์ มใิ ชอ่ งิ กลมุ่ และมหี ลกั ฐานการปฏบิ ตั ิ (Evidence)
ใชต้ รวจสอบได้
การวัดและประเมินผลฐานสมรรถนะนี้เน้นการใช้การประเมินตาม
สภาพจริง (Authentic Assessment) จากสิ่งท่ีผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง และ
ความกา้ วหนา้ ในการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ การประเมนิ จากการปฏบิ ตั ิ (Performance
Assessment) หรอื การประเมนิ โดยใชแ้ ฟม้ สะสมผลงาน (Portfolio Assessment)
รวมถึงการประเมินตนเอง (Self-Assessment) และการประเมินโดยเพื่อน
(Peer Assessment) การวัดและประเมินผลท่ีใช้สถานการณ์เป็นฐาน
เพ่ือให้บริบทการวัดและประเมินเป็นสภาพจริงมากขึ้น เช่น อาจเตรียมบริบท
เป็นข้อความ รูปภาพ ภาพเคล่อื นไหว สถานการณ์จำ�ลอง หรือสถานการณ์
เสมอื นจรงิ ในคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ สามารถประเมนิ ไดห้ ลายประเดน็ ในสถานการณเ์ ดยี วกนั
การประเมินไปตามลำ�ดับขั้นของสมรรถนะท่ีกำ�หนด หากไม่ผ่านจะต้องได้รับ
การซอ่ มเสรมิ จนกระทง่ั ผา่ นจงึ จะกา้ วไปสลู่ �ำ ดบั ขน้ั ตอ่ ไป ส�ำ หรบั การรายงานผลนน้ั
เป็นการให้ข้อมูลพัฒนาการและความสามารถของผู้เรียนตามลำ�ดับขั้น
ท่ีผ้เู รียนท�ำ ได้ตามเกณฑท์ กี่ ำ�หนด

14 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

การพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน และการพัฒนาแนวทาง
การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน

การปฏิรูปการเรียนรู้ เพ่ือนำ�ไปสู่การแก้ไขปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น
ควรมกี ารเตรยี มความพรอ้ มในการน�ำ การจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะมาใช้ โดยเฉพาะ
การพฒั นาหลกั สตู ร ซง่ึ เปน็ งานใหญท่ ตี่ อ้ งใชเ้ วลาและกระบวนการพฒั นา ตลอดจน
การมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทกุ ภาคสว่ นเปน็ อยา่ งมาก คณะกรรมการอสิ ระ
เพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษา จงึ ไดเ้ เตง่ ตง้ั คณะท�ำ งานวางเเผนจดั กรอบสมรรถนะหลกั สตู ร
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานขน้ึ เพอื่ จดั ท�ำ สมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นเพอื่ เปน็ ตวั อยา่ งในการ
ด�ำ เนนิ งานจดั ท�ำ หลกั สตู รฐานสมรรถนะตอ่ ไป โดยคณะท�ำ งานไดร้ ว่ มกบั คณะวจิ ยั
ด�ำ เนนิ โครงการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้
ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มหี นา้ ทใี่ นการ ๑) พฒั นากรอบสมรรถนะหลกั
ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (จบมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖) ซงึ่ เปน็ ผลปลายทาง
เพ่ือเป็นฐานในการพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษา
ตอนต้น (ประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) ๒) พัฒนาสมรรถนะหลักของผู้เรียน
ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓) ๓) พัฒนาแนวทาง
การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ ๔) ทดลองใช้กรอบสมรรถนะหลักของ
ผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น และแนวทางการจัดการเรียนการสอน
ในโรงเรยี นสงั กดั ตา่ ง ๆ และ ๕ ) จดั ท�ำ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายดา้ นการจดั หลกั สตู ร
การเรยี นการสอน และการวดั และประเมินผลฐานสมรรถนะ
เอกสารฉบบั น้นี �ำ เสนอผลผลิตสำ�คญั ๒ สว่ น จากโครงการวิจยั ดังกล่าว
คอื กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานและกรอบสมรรถนะ
หลกั ของผเู้ รยี นระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ( ป.๑ – ๓ ) และ แนวทางการพัฒนา
สมรรถนะผู้เรียน

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รยี นระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 15



สว่ นที่ ๒

กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและกรอบสมรรถนะหลกั
ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ – ๓)



สว่ นที่ ๒

กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รยี น
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและกรอบสมรรถนะหลกั
ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ – ๓)

กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และกรอบสมรรถนะ
หลกั ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ( ป.๑ – ๓ ) ทพ่ี ฒั นาขนึ้ น้ี ประกอบดว้ ย
สมรรถนะสำ�คัญ ๑๐ สมรรถนะ เป็นสมรรถนะที่สามารถตอบสนอง และ
มีความสอดคล้องกับหลักการส�ำ คัญ ๖ ประการ ดังนี้
๑) ความต้องการของประเทศตามท่ีกำ�หนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ แผนปฏริ ปู ประเทศดา้ นตา่ ง ๆ
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
และมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑
๒) สอดคลอ้ งกบั ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ซง่ึ เปน็ ทกั ษะทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การ
ดำ�รงชวี ติ ในโลกปจั จุบนั และอนาคต
๓) สง่ เสรมิ การใชศ้ าสตรพ์ ระราชา พระราโชบายของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
รัชกาลที่ ๑๐ และพระราชดำ�รัสของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จ
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
๔) ให้ความสำ�คญั กับความเป็นไทย ความเปน็ ชาตไิ ทย เพ่อื ด�ำ รงรักษา
เอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทยใหถ้ าวรสบื ไป
๕) สอดคล้องกับหลักพัฒนาการตามวัยของมนุษย์และตอบสนองต่อ
ความแตกตา่ งทหี่ ลากหลายทง้ั ของผู้เรียน บริบท และภมู ิสังคม
๖) สามารถเทียบเคยี งกับมาตรฐานสากลได้

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รียนระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 19

สมรรถนะท้ัง ๑๐ ประการ เป็นสมรรถนะหลักที่เด็กและเยาวชนไทย
จะตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาในชว่ งเวลา๑๒ปีของการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเพอ่ื ใหส้ ามารถกา้ วทนั
การเปลย่ี นแปลงและด�ำ รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพในโลกแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
สมรรถนะทง้ั ๑๐ประการตอ่ ไปน้ี ประกอบดว้ ยค�ำ อธบิ าย และรายละเอยี ด
สมรรถนะท้ังในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานเเละระดับประถมศึกษาตอนต้น
(ป. ๑-๓) คณะท�ำ งานเเละคณะวจิ ัยไดพ้ ฒั นารายการสมรรถนะยอ่ ยของแต่ละ
สมรรถนะหลกั ทัง้ ในระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานและระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้
รวมทง้ั ไดพ้ ฒั นาแนวทางการน�ำ สมรรถนะไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นได้ ๖ แนวทาง และ
น�ำ ไปทดลองใชใ้ นโรงเรยี นสงั กดั ตา่ งๆเพอ่ื ศกึ ษาความเปน็ ไปได้กระบวนการน�ำ ไปใช้
ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ครแู ละนกั เรยี น รวมทง้ั ปจั จยั ทเ่ี ออ้ื และเปน็ อปุ สรรคตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน
ของครูและการเรียนรู้ของนักเรียน ผลจากการวิจัยและพัฒนาดังกล่าว
สามารถน�ำ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ พฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอน การวดั ผลและ
การประเมนิ ผล รวมทง้ั การพฒั นาครใู หส้ ามารถเพม่ิ คณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอน
และพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ สมรรถนะทตี่ อ้ งการในชวี ติ ประจ�ำ วนั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
สมรรถนะภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน ทักษะ
กระบวนการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ รวมทงั้ สมรรถนะการ
ใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร สมรรถนะทัง้ ๔ นี้ เป็นสมรรถนะท่จี ะช่วยให้เด็ก
และเยาวชนไทย เปน็ คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) คอื มคี วามรแู้ ละเครอ่ื งมอื
พนื้ ฐานทจ่ี ะใชใ้ นการแสวงหาความรแู้ ละเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ สว่ นสมรรถนะทกั ษะ
ชวี ิตและความเจริญแหง่ ตน และทักษะอาชีพและการเปน็ ผูป้ ระกอบการจะช่วย
ให้เด็กและเยาวชนไทยมีชีวิตทอ่ี ยู่ดีมีสุข (Happy Thais) สำ�หรับทักษะการ
คิดขั้นสูงและนวัตกรรม รวมท้ังการรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศและดิจิทัล จะช่วย
เพ่ิมพูนความสามารถ ความเก่ง ให้เด็กและเยาวชนไทยคิดเก่ง และรู้ทันโลก
ทำ�ใหเ้ ด็กและเยาวชนไทยเกง่ ขึ้น มีความสามารถสูง (Smart Thais) สง่ ผลต่อ
การเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขันระดับโลกด้วย สว่ น ๒ สมรรถนะสดุ ทา้ ย
คอื สมรรถนะการท�ำ งานแบบรวมพลัง เป็นทมี และมภี าวะผู้นำ� และสมรรถนะ
การเปน็ พลเมอื งทเ่ี ขม้ เเขง็ /ตนื่ รทู้ ม่ี สี �ำ นกึ สงั คม จะชว่ ยใหเ้ ดก็ และเยาวชนไทยเปน็

20 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

ผทู้ สี่ ามารถท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื เปน็ ผนู้ �ำ ทดี่ แี ละเปน็ พลเมอื งไทยใสใ่ จสงั คมและ
มสี �ำ นกึ สากล (Active Thai Citizen with Global Mindedness) มคี วามรบั ผดิ ชอบ
มสี ว่ นรว่ มในกจิ การของสงั คมและผดงุ ความเปน็ ธรรมในสงั คม เพอื่ การอยรู่ ว่ มกนั
อยา่ งสันตสิ ุขตลอดไป ดังแผนภาพ

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 21

รายละเอียดของ ๑๐ สมรรถนะหลกั ท้งั ในระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานและระดบั
ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) มดี ังนี้
๑. ภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สาร (Thai Language for Communication)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

ค�ำ อธบิ าย คำ�อธบิ าย
ฟงั พูด อา่ นและเขียน เพื่อสื่อสาร ฟัง ดู พูด อ่าน และเขียนข้อความ
ข้อมูล ความรู้ ความรสู้ กึ นกึ คิด โดยใช้ ความรู้ นทิ าน เรอ่ื งราวสน้ั ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง
ประสบการณ์ความรู้ทางหลักภาษา กับตนเองและสิ่งใกล้ตัวด้วยภาษา
และกลวธิ กี ารใชภ้ าษาทช่ี ว่ ยใหส้ ามารถ ทง่ี า่ ย ๆ โดยมคี วามสามารถในการอา่ นและ
รบั สารไดถ้ กู ตอ้ ง เขา้ ใจ เปดิ กวา้ งไตรต่ รอง การเขยี นในระดบั A1ตามทส่ี ถาบนั ภาษาไทย
ประเมินและนำ�ไปใช้ในชีวิต สามารถ สิรินธรกำ�หนด สนุกกับการทดลองใช้คำ�
ถา่ ยทอดและผลติ ผลงานผา่ นกระบวนการ ข้อความต่าง ๆ สนใจเรียนรู้เรื่องราว
พดู และเขยี นไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยค�ำ นงึ เกี่ยวกับเมืองไทยและวัฒนธรรมไทย
ถึงผรู้ บั สาร เหมาะสมกบั กาลเทศะ เกดิ ผ่านการฟังและอ่านข้อความ เรื่องราว
ประโยชนแ์ กต่ นเองและสว่ นรวม รวมทง้ั ที่ใช้ภาษาง่าย ๆ สามารถสร้างผลงาน
ใชภ้ าษาไทยเปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู้ โดยใชค้ วามรดู้ งั กลา่ วและมคี วามภาคภมู ใิ จ
เขา้ ใจสงั คม วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย ในงานของตน
และถ่ายทอดสร้างผลงานต่อยอด
สร้างสรรค์จากความรู้ ความคิดท่ไี ดร้ ับ

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. รับฟังอย่างตั้งใจและเข้าใจ ๑. รับฟังการสนทนา ข้อความสั้น ๆ
ลกึ ซง้ึ ในผพู้ ดู และสาระทร่ี บั ฟงั ทง้ั ทเ่ี ปน็ เร่ืองราวง่าย ๆ ที่นำ�เสนอในหลากหลาย
ขอ้ ความ ค�ำ พูด ท่าทาง สญั ลักษณ์และ รูปแบบ อย่างตัง้ ใจ มมี ารยาท เข้าใจและ
กราฟกิ ตา่ ง ๆ เขา้ ใจมมุ มองทแ่ี ตกตา่ งกนั เพลดิ เพลนิ กับส่งิ ทฟี่ งั สามารถตง้ั คำ�ถาม
ตามบริบทสังคมและวัฒนธรรม มีการ ตอบค�ำ ถามแสดงความรสู้ กึ และความคดิ เหน็
ตรวจสอบความเขา้ ใจใหต้ รงกนั ระหวา่ ง ของตนทม่ี ตี อ่ เรอ่ื งทฟ่ี งั ยอมรบั ความคดิ เหน็
ผู้พูดและผู้ฟังรวมทั้งตรวจสอบความ ท่ีแตกต่างจากตน และนำ�ความรู้ที่ไดจ้ าก
ถกู ตอ้ งของขอ้ มลู กอ่ นตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั การฟังไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ
เร่ืองที่ฟัง และเลือกนำ�ความรู้ท่ีได้จาก
การฟงั ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ของตนและ
สว่ นรวม

22 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รียนระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

๒. พูดเพ่ือวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ๒. พูดสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ
ในสถานการณ์ท่ีหลากหลายอย่าง ในชีวิตประจำ�วัน บอกความรู้สึกนึกคิด
สร้างสรรค์ โดยคำ�นึงถึงลักษณะและ ของตนเลา่ เรือ่ งและเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ หรอื
ความต้องการของผู้ฟัง สามารถพูดได้ บอกผา่ นการเลน่ บทบาทสมมตุ ิ การแสดง
กระชบั ถกู ตอ้ ง ตรงประเดน็ เข้าใจง่าย ง่าย ๆ ได้ ตั้งคำ�ถามและตอบคำ�ถามให้
ใชส้ อื่ และภาษาทา่ ทางประกอบไดอ้ ยา่ ง ผ้อู ื่นเขา้ ใจได้อยา่ งส้นั ๆ มีมารยาทในการ
มปี ระสิทธภิ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะ พดู โดยค�ำ นงึ ถงึ ความเหมาะสมกบั กาลเทศะ
บริบททางสงั คมและวัฒนธรรม รวมทัง้ และผรู้ ับฟงั
ตรวจสอบความเข้าใจของผู้ฟัง และ ๓. อ่านบทอ่าน ข้อความง่าย ๆ
ประเมินเพื่อปรบั ปรุงการพดู ของตน ท่ีปรากฏในส่ือส่ิงพิมพ์ และสิ่งแวดล้อม
๓. อ่านสาระในรูปแบบต่าง ๆ ได้ รอบตัว โดยมีความสามารถในการอ่าน
โดยมีวัตถุประสงค์การอ่านที่ชัดเจน ในระดับ A1 ตามท่ีสถาบันภาษาไทย
อา่ นได้อย่างเข้าใจ ถูกตอ้ ง ตรงประเด็น สิรินธรกำ�หนด* สามารถตั้งคำ�ถามและ
โดยใช้ประสบการณ์ ความรู้ และ หาข้อมูลที่ต้องการคิดก่อนตัดสินใจเช่ือ
กลวิธกี ารอา่ นต่าง ๆ สามารถวิเคราะห์ และน�ำ ความรขู้ อ้ คดิ จากสง่ิ ทอี่ า่ นไปใชใ้ นชวี ติ
แปลความ ตีความ และประเมินสาระ ๔. เขยี นข้อความ เรอ่ื งส้ัน ๆ เพอื่ บอก
ได้อย่างรู้เท่าทันในเจตนาของผู้เขียน ความคิด ความรู้สึก หรือแต่งเรื่องตาม
และนำ�ความคิดความรู้ที่ได้จากการ จินตนาการ โดยมีความสามารถในการ
อ่านไปใช้ประโยชน์ในชีวิตของตนและ เขยี นในระดบั A1 ตามทส่ี ถาบนั ภาษาไทย
ส่วนรวม สริ นิ ธรก�ำ หนด* สามารถเขยี นใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย
๔. เขยี นโดยมวี ตั ถปุ ระสงคท์ ช่ี ดั เจน ถูกต้องตามหลักภาษาไทย และคำ�นึงถึง
ในการสื่อสารข้อมูล ความรู้ ความคิด ผอู้ า่ นและผูท้ ตี่ นเขยี นถึง
ความรู้สึก ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ๕. ฟงั ดู หรอื อา่ นบทอา่ น ขอ้ ความรู้
โดยใช้กลวิธีการนำ�เสนอท่ีเหมาะสม หรือเรื่องส้ัน ๆ ทใ่ี ช้ภาษางา่ ย ๆ เกีย่ วกับ
สามารถเขยี นสอื่ ความหมายไดต้ รงตาม เมืองไทยและวัฒนธรรมท่ีดีงามของไทย
เจตนา เข้าใจได้ง่าย และถูกต้องตาม มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
อักขรวิธี ใช้กระบวนการเขียนผลิตงาน สามารถพูด หรือเขียนข้อความ เร่ืองส้ัน ๆ
ในทางสร้างสรรค์อย่างรับผิดชอบและ ซ่ึงใช้ประโยชน์จากความรู้ หรือสร้าง
เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ ่ืน ผลงานง่าย ๆ เช่น ภาพวาด แบบจ�ำ ลอง
หรือส่งิ ประดิษฐ์ท่ีใช้ความรดู้ ังกล่าว

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียนระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 23

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)
๕. ใช้ภาษาไทยในการศึกษา ๖. ฟงั พดู อา่ น เขยี น อยา่ งมคี วามสขุ
เรยี นรู้สรา้ งความเขา้ ใจพน้ื ฐานทางสงั คม สนกุ กบั การเรยี นรแู้ ละทดลองใชภ้ าษาไทย
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของไทย เพ่อื วัตถปุ ระสงคต์ ่าง ๆ
มคี วามภาคภมู ิ ผกู พนั ในความเปน็ ไทย
สามารถกลนั่ กรองและสบื สานสง่ิ ดงี าม
ที่บรรพบุรุษได้สร้างไว้และพัฒนาให้มี
คุณค่าต่อไป
๖. พดู อา่ นและเขยี นภาษาไทยได้
ถกู ตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี โดยเลอื กใชค้ �ำ ศพั ท์
ความรเู้ กยี่ วกบั หลกั ภาษาและกลวธิ ตี า่ ง ๆ
รว่ มกบั ประสบการณช์ วี ติ ในการน�ำ เสนอ
และผลิตผลงาน
*ระดับความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาไทยซึ่งสถาบันภาษาไทย
สิรนิ ธร จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ไดท้ ำ�วิจยั และพัฒนาขน้ึ เปน็ ระดบั ต่าง ๆ โดยระดบั
A1 เป็นระดับความสามารถที่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น
(ป.๑-๓) (ดูขอ้ มลู ในภาคผนวก ก)

24 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

๒. คณติ ศาสตร์ในชวี ิตประจ�ำ วัน (Mathematics in Everyday Life)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

ค�ำ อธบิ าย ค�ำ อธิบาย
มที กั ษะด้านการแกป้ ัญหา การให้ สามารถแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
เหตุผล การสื่อสารและการสื่อความ ให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ สื่อสารและ
หมายทางคณติ ศาสตร์ และการเชอื่ มโยง ส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ รวมท้ัง
ทางคณิตศาสตร์ เพ่ือให้รู้เท่าทัน สามารถเชอ่ื มโยงทางคณติ ศาสตร์ ในระดบั
การเปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกิจ เนอ้ื หาทเ่ี รยี น เพอ่ื น�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ
สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม ประจำ�วนั ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
นำ�ความรคู้ วามสามารถ เจตคติ ทักษะ
ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้
ส่ิงต่าง ๆ และในสถานการณ์ใหม่ ๆ
เพ่ือให้ได้มาซึ่งความรู้ใหม่หรือการ
สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหม่ ๆ และน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ช้
ใ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
สมรรถนะ
๑. แก้ปัญหาในชีวิตประจำ�วัน สมรรถนะ
ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั คณติ ศาสตร์ โดยประยกุ ต์ ๑. แก้ปัญหาในชีวิตประจำ�วันที่
ความรู้ความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ เหมาะสมกบั วยั โดยใชก้ ระบวนการแกป้ ญั หา
เพอ่ื ทำ�ความเข้าใจปัญหา ระบุประเด็น ทางคณติ ศาสตรแ์ ละค�ำ นงึ ถงึ ความสมเหตุ
ปัญหา วิเคราะห์ปัญหา วางแผน สมผลของค�ำ ตอบที่ได้
แก้ปัญหา โดยหากลวิธีท่ีหลากหลาย ๒. ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ท่ีเรียน
ในการแกป้ ญั หา และด�ำ เนนิ การจนได้ หาขอ้ สรปุ ท่ีอธิบายความคิดของตนอย่าง
ค�ำ ตอบทส่ี มเหตุสมผล สมเหตสุ มผลตามวัย
๒. หาขอ้ สรปุ หรอื ขอ้ ความคาดการณ์ ๓. ใชศ้ พั ท์สญั ลกั ษณ์แผนภมู ิแผนภาพ
ของสถานการณป์ ญั หา และระบถุ งึ ความ อย่างง่าย ๆ เพ่ือส่ือสารให้ผู้อ่ืนเข้าใจ
สมั พนั ธข์ องขอ้ มลู เพอ่ื ยนื ยนั หรอื คดั คา้ น ในความคดิ ของตนเอง ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย
ข้อสรุปหรือข้อความคาดการณ์นั้น ๆ และเหมาะสมกบั วยั เนอื้ หา และสถานการณ์
อย่างสมเหตุสมผล และใช้เหตุผล ๔. อธิบายความรู้และหลักการทาง
แบบอุปนัย (Inductive Reasoning) คณิตศาสตร์ ที่เชื่อมโยงกับปัญหาหรือ
ในการสร้างแบบรูปและข้อคาดเดา สถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ตี นเองพบในชวี ิตจรงิ
หรือใช้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ลตามวยั ในการตรวจสอบ
Reasoning) ขอ้ สรปุ และสรา้ งเหตผุ ลสนบั สนนุ ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 25

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)
๓. ออกแบบ อธิบาย และนำ�เสนอ ๕. คดิ ในใจในการบวก ลบ คณู หาร
ข้อมูลที่ส่ือความหมายให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ได้อย่างคล่องแคล่ว ว่องไว แม่นยำ�
ตรงกัน เพ่ือแสดงความเข้าใจหรือ เพ่ือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ท่ีเกิดขึ้น
ความคิดที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ของ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ในชีวิตประจำ�วัน
ตนเอง โดยใช้การพูดและเขียน วัตถุ
รูปธรรม รูปภาพ กราฟ สญั ลกั ษณท์ าง
คณิตศาสตร์ และตัวแทน รวมท้ังบอก
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาในชีวิต
ประจำ�วนั กับภาษาและสัญลักษณท์ าง
คณิตศาสตร์ได้อย่างหลากหลายและ
เหมาะสมกับเน้ือหาและสถานการณ์
๔. เชอื่ มโยงความรหู้ รอื ปญั หาทาง
คณติ ศาสตรท์ เ่ี รยี นมากบั ความรู้ ปญั หา
หรือสถานการณ์อื่นทีต่ นเองพบ ซึง่ อาจ
เปน็ การเชอ่ื มโยงภายในวชิ าคณติ ศาสตร์
เชอ่ื มโยงคณติ ศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ นื่ ๆ และ
เชื่อมโยงคณติ ศาสตรก์ ับชวี ติ ประจ�ำ วัน
เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาและการเรยี นรู้
แนวคดิ ใหม่ทีซ่ บั ซอ้ นหรือสมบูรณ์ขน้ึ
๕. ใช้ความคิดคล่อง ความคิด
ยืดหยุ่น ความคิดริเร่ิม และความคิด
ละเอียดลออ ในการคิดแก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์ และขยายความคิดที่มี
อยู่เดิม เพอื่ สรา้ งแนวคดิ ใหม่ ปรับปรุง
หรอื พฒั นาองคค์ วามรทู้ างคณติ ศาสตร์
หรือศาสตร์อ่ืน ๆ โดยใช้คณิตศาสตร์
เปน็ ฐาน

26 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

๓. การสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and
Scientific Mind)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

คำ�อธิบาย ค�ำ อธบิ าย
เปน็ ผมู้ จี ติ วทิ ยาศาสตรท์ มี่ คี วามใฝร่ ู้ สนใจในปรากฏการณร์ อบตวั กลา้ พดู
มุ่งม่ัน อดทนในการศึกษาหาความรู้ กล้าซักถาม เพื่อให้เข้าใจในเหตุและผล
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของปรากฏการณ์น้ัน สนุกที่จะหาข้อมูล
รกั ในความมเี หตผุ ลกลา้ พดู กลา้ แสดงออก สำ�รวจตรวจสอบส่ิงต่าง ๆ เพ่ือให้ได้
รับฟังความคิดเห็นและทำ�งานร่วมกับ ค�ำ ตอบในเรือ่ งทอ่ี ยากรู้
ผอู้ ื่นได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสรา้ งแผนภมู ิ แผนภาพ แบบ
สามารถใช้กระบวนการสืบสอบ จ�ำ ลองอยา่ งงา่ ยเพอื่ อธบิ ายปรากฏการณ์
ทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการแสวงหาความรู้ ทางธรรมชาติ แลว้ ใชห้ ลกั เหตผุ ลสนบั สนนุ
สรา้ งและใชแ้ บบจ�ำ ลองทางความคดิ และ หรือคดั คา้ น ขอ้ โตเ้ ถยี งในประเดน็ ทีส่ งสัย
แบบจ�ำ ลอง๓มติ ิเพอื่ อธบิ ายปรากฏการณ์ หรอื สนใจ และใชก้ ระบวนการออกแบบทาง
ทางธรรมชาติและปรากฏการณ์ที่เป็น วิศวกรรมในการศึกษาปัญหา ออกแบบ
ผลจากการกระทำ�ของมนุษย์ รวมท้ัง สร้างต้นแบบนวัตกรรมอย่างง่าย ซึ่งอาจ
ใช้การโต้แย้งเพื่อตัดสินใจในประเด็น เปน็ สง่ิ ประดษิ ฐห์ รอื วธิ กี ารเพอ่ื ใชแ้ กป้ ญั หา
ทางวทิ ยาศาสตรท์ มี่ ผี ลกระทบตอ่ ตนเอง ในชวี ติ ประจ�ำ วนั
ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม ประเทศ และโลก
สามารถใชค้ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์
และกระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรม
เพื่อสร้างนวัตกรรม ซึ่งเป็นผลงาน
ส่ิงประดิษฐ์หรือวิธีการท่ีใช้แก้ปัญหา
ในชีวิตประจำ�วัน ด้วยความตระหนัก
และความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม
และโลก

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 27

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. สามารถเขียนผังเช่ือมโยงเหตุ ๑. สามารถเชอ่ื มโยงเหตแุ ละผลของ
และผลจากเหตตุ น้ ทางถงึ ผลปลายทาง ปรากฏการณ์ และเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ
โดยแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงเหตุ ในชีวติ ประจำ�วนั
และผลแทรกระหว่างเหตุต้นทางและ ๒. อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ผลปลายทางอยา่ งเปน็ ล�ำ ดบั และครบถว้ น และการเปล่ียนแปลงในชีวิตประจำ�วัน
เพื่อสรุป/สร้างความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ด้วยการใชห้ ลกั เหตผุ ลท่ีไม่ซบั ซ้อน
๒. อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ ๓. ต้ังคำ�ถามเก่ียวกับปรากฏการณ์
และปรากฏการณ์ที่เป็นผลจากการ ต่าง ๆ ที่พบในชีวิตประจำ�วัน คาดคะเน
กระท�ำ ของมนษุ ยด์ ว้ ยการใชเ้ หตผุ ลแบบ หาคำ�ตอบและคิดวิธีการหาคำ�ตอบโดย
อปุ นยั แบบนริ นยั และทง้ั อปุ นยั และนริ นยั อาจใช้วัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือช่วยในการ
ประกอบกันอย่างสมเหตุสมผล ส�ำ รวจตรวจสอบ เกบ็ ขอ้ มลู และสรปุ ค�ำ ตอบ
๓. สบื สอบความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ๔. สามารถเขียนแผนภาพแผนภูมิ
โดยสามารถตง้ั ค�ำ ถามส�ำ คญั ออกแบบ แบบจำ�ลองอย่างง่าย เพ่ืออธิบายความรู้
และวางแผนการส�ำ รวจตรวจสอบขอ้ มลู ความเข้าใจ และความคิดของตน
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเคร่ืองมือ ๕. กล้าพูดให้ความคิดสนับสนุน
ทเ่ี หมาะสม เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ หรอื คดั คา้ นเกยี่ วกบั เรอื่ งทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่
ข้อมูลและนำ�เสนอผลการสำ�รวจ เปน็ ปญั หาถกเถยี งกนั สามารถชแี้ จงเหตผุ ล
ตรวจสอบ รวมทัง้ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ โดยมหี ลกั ฐานประกอบ
ท่ีได้รับการยอมรับจากสาธารณะ ๖. นำ�คำ�ตอบท่ีได้จากการสืบสอบ
ซ่ึงนำ�ไปสู่การพัฒนาความเป็นผู้รัก ไปคดิ สรา้ งตน้ แบบสง่ิ ประดษิ ฐอ์ ยา่ งงา่ ย ๆ
ในความมีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์
๔. ออกแบบและสรา้ งแบบจำ�ลอง
โดยใชค้ วามรแู้ ละหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์
และใชแ้ บบจ�ำ ลองเพอ่ื อธบิ ายปรากฏการณ์
ธรรมชาติ และปรากฏการณ์ท่ีเป็นผล
จากการกระท�ำ ของมนษุ ย์


28 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)
๕. โตแ้ ยง้ ในประเดน็ ทางวทิ ยาศาสตร์
โดยการให้เหตุผลสนับสนุนหรือ
คดั ค้าน พร้อมท้งั หลักฐานเชิงประจกั ษ์
เพื่อการตัดสินใจเลือกเหตุผลท่ีดี
นา่ เชอ่ื ถอื มากทสี่ ดุ และกลา้ พดู กลา้ แสดง
ความคดิ เหน็ บนฐานความรู้ พรอ้ มรบั ฟงั
ความคดิ เห็นผู้อื่น
๖. วางแผนหาวิธีการแก้ไขปัญหา
ในชีวิตประจำ�วันอย่างเป็นขั้นตอน
โดยใชก้ ระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรม
ที่ประกอบด้วยข้ันตอนการระบุปัญหา
การสบื คน้ ขอ้ มลู เพอ่ื ใชใ้ นการออกแบบ
การสร้างต้นแบบโดยใช้วัสดุอุปกรณ์
ภายใต้ข้อจำ�กัด หรือตามสภาพบริบท
ตลอดจนการทดสอบคณุ ภาพของตน้ แบบ
เพ่ือให้ได้ข้อมูลย้อนกลับในการปรับ
แก้ไขการออกแบบและต้นแบบให้มี
ความเหมาะสม

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 29

๔. ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร (English for Communication)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

ค�ำ อธิบาย ค�ำ อธบิ าย
สามารถใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะทางภาษา สามารถใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะทางภาษา
อังกฤษรวมทั้งเจตคติและคุณลักษณะ อังกฤษรวมท้ังเจตคติและคุณลักษณะ
ส่วนบุคคล ในการส่ือสารฟังพูดอ่าน ส่วนบุคคลในการส่ือสารฟังพูดอ่านเขียน
เขียนทั้งในด้านการรับสาร การส่งสาร ท้ังในด้านการรับสาร การส่งสาร การ
การมีปฏิสัมพันธ์ มีกลยุทธ์ในการ มปี ฏสิ มั พนั ธ์ มกี ลยทุ ธใ์ นการตดิ ตอ่ สอื่ สาร
ตดิ ตอ่ สอื่ สาร สามารถสอ่ื สารไดถ้ กู ตอ้ ง สามารถสื่อสารได้ถูกต้องคล่องแคล่ว
คล่องแคล่ว เหมาะสมกับบริบททาง เหมาะสมกบั บรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรม
สังคมและวัฒนธรรม และสามารถ และสามารถแลกเปลย่ี นถา่ ยทอดความคดิ
แลกเปลย่ี นถา่ ยทอดความคดิ ประสบการณ์ ประสบการณ์และวัฒนธรรมไทยไปยัง
และวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลก สงั คมโลกไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรคเ์ หมาะสมกบั วยั
ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรคม์ เี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี น มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษา ใช้ภาษา
ภาษา ใชภ้ าษาอยา่ งมน่ั ใจโดยสามารถ อย่างม่ันใจโดยสามารถใช้ภาษาในการ
ใช้ภาษาในการติดต่อส่ือสารได้ตาม ติดต่อส่ือสารได้ตามกรอบอ้างอิงความ
กรอบอา้ งองิ ความสามารถทางภาษาของ สามารถทางภาษาของสภายโุ รป (CEFR)
สภายโุ รป (CEFR) ในระดบั B1 หรอื ตาม ในระดับ A1 หรือตามกรอบอ้างอิงภาษา
กรอบอา้ งองิ ภาษาองั กฤษของประเทศไทย อังกฤษของประเทศไทย (FRELE-TH)
(FRELE-TH) ซง่ึ พฒั นาจากกรอบอา้ งองิ ซึ่งพัฒนาจากกรอบอ้างอิงความสามารถ
ความสามารถทางภาษาของสภายุโรป ทางภาษาของสภายุโรป ๒๐๐๑ได้ใน
๒๐๐๑ ได้ในระดับ B1 ระดบั A1

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. เข้าใจประเด็นสำ�คัญของเร่ือง ๑. รู้ (ฟังหรืออ่านรู้ความหมาย)
ทฟ่ี งั เมอ่ื ผพู้ ูด/คู่สนทนาพูดอยา่ งชดั เจน ค�ำ ศพั ทท์ พี่ บบอ่ ยๆ และส�ำ นวนพนื้ ฐานเกย่ี วกบั
ในหัวข้อท่ีคุ้นเคยและพบบ่อยเกี่ยวกับ ตนเองครอบครวั และส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว
การทำ�งาน การไปโรงเรียน กิจกรรม ๒. เข้าใจ (ฟังเข้าใจ) และสามารถ
ยามว่าง เป็นต้น ตัวอย่างของการพูด โต้ตอบกับผ้พู ดู /ค่สู นทนาได้เมอื่ คสู่ นทนา
ในลกั ษณะดงั กลา่ ว เชน่ การเลา่ เรอ่ื งสนั้ ๆ ใชส้ �ำ นวนง่าย ๆ พดู ชัดเจนและชา้ ๆ และ
เปน็ ต้น คสู่ นทนาอาจพดู ส�ำ นวนนนั้ ๆซา้ํ (Repetition)
และพดู ซา้ํ โดยใชถ้ อ้ ยค�ำ ใหม่ (Rephrasing)
เมื่อพูดเก่ียวกับหัวขอ้ ท่ีคาดเดาได้

30 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

๒. สามารถอ่านงานเขียนท่ีเป็น ๓. สามารถให้ (พดู หรือเขยี น) ขอ้ มูล
ขอ้ เทจ็ จรงิ และตรงไปตรงมาในประเดน็ ส่วนตัวเบ้ืองต้นเก่ียวกับตนเองโดยใช้คำ�
ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สาขาและความสนใจของ และวลีท่ีส้ันและง่ายหรือใช้ประโยค
ตนเองและเข้าใจในระดับทีน่ า่ พอใจ พ้นื ฐานได้
๓. สามารถใช้ภาษาท่ีง่ายและ ๔. เข้าใจคำ�ศัพท์วลีประโยคสั้น ๆ
หลากหลายเพื่อสนทนาในหัวข้อที่ รวมไปถงึ ค�ำ สง่ั ทใ่ี ชบ้ อ่ ย ๆ ในสถานการณ์
คุ้นเคย แสดงความคิดเห็นของตนเอง ท่ีคุ้นเคยไม่ว่าจะเป็นท้ังในการพูดและ
และแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อที่ การเขียน
ตนเองคนุ้ เคย สนใจ หรอื หวั ขอ้ เกย่ี วกบั ๕. สามารถใช้คำ�ศัพท์วลีสั้น ๆ และ
ชีวิตประจ�ำ วัน สำ�นวนที่ใช้ในการสื่อสารเรื่องราวในชีวิต
๔. สามารถสร้างงานเขียนง่าย ๆ ประจำ�วันเพ่ือส่ือสารและบรรยายข้อมูล
ที่มีความคิดเชื่อมโยงกันในประเด็น สว่ นบคุ คล สี ตวั เลขพนื้ ฐาน สงิ่ ของพนื้ ฐาน
ต่าง ๆ ที่คุ้นเคยในสาขาที่ตนเองสนใจ กิจวัตรประจำ�วนั ฯลฯ
โดยเชอ่ื มโยงส่วนต่าง ๆ ในงานเขยี นให้ ๖. มีคำ�ศัพท์จำ�กัด (สามารถจดจำ�
เป็นลำ�ดบั ต่อเนือ่ งกันได้ และใชค้ �ำ ศพั ทไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง) ซงึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็
๕. เข้าใจคำ�และวลีสำ�คัญในบท คำ�โดด ๆ ระดับพื้นฐานและใช้วลีส้ัน ๆ
สนทนาและตดิ ตามหวั ขอ้ ในการสนทนา เกี่ยวกับสถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันท่ี
ได้ พบไดท้ ว่ั ไป
๖. สามารถคาดเดาความหมายของ
ค�ำ ทไ่ี มร่ คู้ วามหมายจากบรบิ ทและสรปุ
ความหมายของประโยคไดห้ ากเกยี่ วขอ้ ง
กับหัวข้อที่คุน้ เคย
๗. สามารถหาวธิ ถี า่ ยทอดประเดน็
ส�ำ คญั ทต่ี นเองตอ้ งการสอ่ื สารในบรบิ ทที่
หลากหลายโดยตอ้ งเปน็ เรอ่ื งราวทต่ี นเอง
จำ�ไดห้ รือหาวธิ ีทจ่ี ะถา่ ยทอดเรอ่ื งราว

* หมายเหตุ ไดใ้ ชส้ มรรถนะตามกรอบอา้ งองิ FRELE-TH เปน็ พน้ื ฐาน โดยการวงเลบ็
ขยายคำ�บางค�ำ เพอื่ ความชดั เจนเป็นประโยชนต์ อ่ การจัดการเรยี นการสอน ช่วยให้ครู
วเิ คราะหไ์ ด้ง่ายขึน้ (ดูขอ้ มลู ในภาคผนวก ก)

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 31

๕. ทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

คำ�อธิบาย ค�ำ อธบิ าย
รจู้ กั ตนเอง พ่งึ ตนเอง และดำ�เนิน รจู้ กั ตนเอง พ่ึงตนเองและดูแลตนเอง
ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ได้เหมาะสมตามวัย มีสุขนิสัยในการทำ�
พอเพียง สามารถบริหารจัดการเรื่อง กิจวัตรประจำ�วัน สามารถป้องกันตนเอง
ของตนเองไดอ้ ยา่ งสมดลุ ทง้ั ทางรา่ งกาย จากภัยตา่ ง ๆ ควบคุมอารมณ์ของตนได้
จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา และปรับตนให้เล่น เรียน และทำ�กิจกรรม
มีสุขภาพแข็งแรง เป็นคนดี มีวินัย ตา่ ง ๆ รว่ มกบั เพื่อน ๆ ได้ มีสมั มาคารวะ
มสี นุ ทรยี ภาพ ชนื่ ชมในความงามรอบตวั และปฏิบัติตนต่อผู้อ่ืนได้อย่างเหมาะสม
มคี วามมน่ั คงทางอารมณม์ บี คุ ลกิ ความ กบั บทบาทของตน ปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบยี บ
เปน็ ไทยผสานความเปน็ สากล ทะนบุ �ำ รงุ และข้อตกลงของครอบครัว และโรงเรยี น
รกั ษาศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ และธ�ำ รง รับผิดชอบในหน้าท่ีของตน สามารถ
เอกลักษณ์ความเป็นไทย สร้างและ คิดหาวิธีแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับตน และ
รักษาความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลอ่ืน ลองแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีสุนทรียภาพ
รับผิดชอบในบทบาทหน้าท่ีของตนที่มี ในความงามรอบตวั และเขา้ รว่ มในกจิ กรรม
ต่อครอบครัวและสังคม พร้อมรับการ ทางศลิ ปวฒั นธรรมของสงั คม
เปลี่ยนแปลง สามารถเผชิญปัญหา
แกป้ ญั หา ยอมรบั ผลทเี่ กดิ ขนึ้ และฟนื้ คนื
สภาพจากปญั หาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ รวมทงั้
สามารถน�ำ ตนเองในการเรยี นรู้ พฒั นา
ตนเองและพัฒนาชีวิตให้มีความสุข
ความเจรญิ ก้าวหนา้ อยา่ งย่ังยนื

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. รจู้ กั ตนเอง พงึ่ ตนเอง และก�ำ หนด ๑. รจู้ กั ตนเอง บอกสงิ่ ทส่ี ามารถท�ำ ได้
เป้าหมายชีวิตตามความสามารถและ และสง่ิ ทที่ �ำ ไมไ่ ดบ้ อกไดว้ า่ ตนชอบ ไมช่ อบ
ความถนัดของตน วางแผนและดำ�เนนิ อะไร บอกความคดิ ความรสู้ กึ ความตอ้ งการ
ชีวิตตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ และปัญหาของตนเองได้
พอเพียงเพือ่ ไปสู่เป้าหมาย ๒. มวี นิ ยั ในการปฏบิ ตั ติ ามสขุ บญั ญตั ิ
๒. มวี ินัยในการดแู ลจดั การตนเอง ทำ�กจิ วัตรประจำ�วนั ทง้ั การกิน เล่น เรียน
ใหม้ สี ขุ ภาวะทางกายทด่ี อี ยา่ งสมดลุ กบั ชว่ ยท�ำ งาน พักผ่อน นอนหลับอย่างพอดี
สขุ ภาวะดา้ นอนื่ ๆ โดยมสี ขุ ภาพแขง็ แรง พอเหมาะกบั วัย

32 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

กิน อยู่ ดู ฟังเป็น ปกป้องตนเองให้ ๓. ระมัดระวังตนเองจากภัยต่าง ๆ
ปลอดภยั จากภยั ตา่ ง ๆ ทง้ั โรคภยั อบุ ตั ภิ ยั บอก หรือซักถามครู หรือผู้ใหญ่ในเรื่องที่
ภยั ธรรมชาติ ภยั ทางเพศ ภยั จากสงิ่ เสพตดิ ไมร่ ู้ ไมแ่ น่ใจ ก่อนตัดสินใจ
และอบายมุขต่าง ๆ รวมทั้งภัยจาก ๔. ควบคมุ อารมณ์ ปรบั ตัว รว่ มเล่น
สือ่ สารสนเทศและเทคโนโลยี และเรยี นกบั เพอื่ น ๆ ได้ รจู้ กั แบง่ ปนั สามารถ
๓. ควบคมุ อารมณ์ ความคิด และ แก้ปญั หาด้วยสันติวิธี
พฤติกรรมใหแ้ สดงออกอย่างเหมาะสม ๕. ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บและขอ้ ตกลง
รักษาบุคลิกภาพความเป็นไทยผสาน ของครอบครัวและโรงเรียนรวมท้ังมี
กบั สากลอย่างกลมกลนื สัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่และปฏิบัติตนต่อ
๔. เปน็ คนดี สามารถแยกแยะสงิ่ ดี ผู้อื่นไดอ้ ย่างเหมาะสม
ชวั่ ถกู ผดิ มคี วามกลา้ หาญเชงิ จรยิ ธรรม ๖. ละเว้นการกระท�ำ ทไ่ี ม่ควรท�ำ และ
ยืนหยัดในการทำ�ส่ิงที่ถูกต้อง น้อมนำ� ตงั้ ใจท�ำ ความดี หรือช่วยคนในครอบครัว
หลักศาสนาที่ตนยึดถือมาเป็นเคร่ือง และผอู้ ่นื
ยึดเหน่ยี วในการดำ�รงชวี ิต ๗. เข้าร่วมในกิจกรรมทางศิลปะ
๕. รักษาระเบียบวินัยของสังคม นาฏศลิ ป์ ดนตรี นนั ทนาการ กฬี า รวมทงั้
สร้างและรักษาความสัมพันธ์อันดีกับ การชนื่ ชมธรรมชาตริ อบตวั และการเขา้ รว่ ม
ผอู้ น่ื รบั ผดิ ชอบในบทบาทหนา้ ทขี่ องตน ในกจิ กรรมทางศิลปวฒั นธรรม
ทม่ี ีต่อครอบครวั และสังคม
๖. มสี นุ ทรยี ภาพ ชนื่ ชมความงาม
ในธรรมชาติ ศิลปวฒั นธรรมและรกั ษา
เอกลักษณค์ วามเปน็ ไทยให้ธ�ำ รงต่อไป
๗. พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง
สามารถปรบั ตวั เผชญิ ปญั หา แกป้ ญั หา
ยอมรบั ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ และฟน้ื คนื สภาพจาก
ปัญหาได้อยา่ งรวดเร็ว
๘. สรา้ งแรงจูงใจและน�ำ ตนเองใน
การเรียนรู้ เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ โดยใช้
ทักษะการเรียนรู้หลากหลาย ท้ังทักษะ
การเรยี นรทู้ กั ษะการสบื คน้ ขอ้ มลู ทกั ษะ
การสบื สอบ ทกั ษะการสรา้ งความรแู้ ละ
นวัตกรรม รวมทั้งทกั ษะการประยุกตใ์ ช้
ความรเู้ พอ่ื พฒั นาตนเองและชีวิต

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 33

๖.ทกั ษะอาชพี และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

ค�ำ อธิบาย คำ�อธบิ าย
มเี ปา้ หมายและการวางแผนอาชพี รจู้ กั ตนเอง มเี ปา้ หมายในการท�ำ งาน
ตามความสนใจและความถนดั มคี วามรู้ และพยายามท�ำ งานใหส้ �ำ เรจ็ ตามเปา้ หมาย
และทักษะพ้ืนฐานสู่อาชีพท่ีเหมาะสม มที กั ษะและลกั ษณะนสิ ยั ทด่ี ใี นการท�ำ งาน
มีทักษะและคุณลักษณะนิสัยที่ดี มีความเพียร ความอดทน ความซ่ือสัตย์
ในการทำ�งาน มีทักษะในการทำ�งาน และความรับผิดชอบ มีทักษะพ้ืนฐาน
และพฒั นางาน โดยยดึ หลกั ปรชั ญาของ ดา้ นการเงนิ ทงั้ ดา้ นการใชจ้ า่ ยและการออม
เศรษฐกจิ พอเพยี ง มีความร้แู ละทักษะ และสามารถแสดงความคิดสร้างสรรค์
พื้นฐานของการเป็นผู้ประกอบการที่ดี ผ่านกจิ กรรมต่าง ๆ
สามารถคิดสร้างงาน สร้างนวัตกรรม
ท่ีเป็นประโยชน์ต่อตน ครอบครัว หรือ
สังคม

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. วเิ คราะหต์ นเอง คน้ หาเปา้ หมาย ๑. สามารถตง้ั เปา้ หมายในการท�ำ งาน
ของชวี ติ เตรยี มทกั ษะเฉพาะอาชพี และ และต้ังใจทำ�งานให้สำ�เร็จตามเป้าหมาย
การปฏิบัติงานท่ีสอดคล้องกับความ ทค่ี ดิ ไว้
สนใจ ความถนัด และสติปัญญาและ ๒. ท�ำ งานดว้ ยความเอาใจใส่ มคี วาม
ฝกึ ฝนอาชพี ทส่ี นใจอยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอ่ื เปน็ เพยี ร อดทน พยายามท�ำ งานใหด้ ที ส่ี ดุ ตาม
พน้ื ฐานในการประกอบอาชพี ในอนาคต ความสามารถ
๒. ก�ำ หนดเปา้ หมายในการท�ำ งาน ๓. มีทักษะพ้ืนฐานด้านการเงินรู้จัก
ที่ชัดเจน วางแผน จัดเรียงล�ำ ดับความ ความหมายและคา่ ของเงนิ การใชจ้ า่ ยเงนิ
สำ�คัญของงานและบริหารเวลาอย่างมี การออม รวู้ า่ เงนิ มาจากการท�ำ งานและเงนิ
ประสิทธิภาพ มจี �ำ กดั สามารถใหค้ วามเหน็ ในการหาเงนิ
๓. ปฏิบัติงานอย่างมุ่งมั่น อดทน ได้อย่างง่าย ๆ
รับผิดชอบ และเพียรพยายาม เพื่อให้
บรรลุเปา้ หมาย

34 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รยี นระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

๔. คดิ และปฏิบตั ิงานใด ๆ โดยใช้ ๔. แสดงความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คอื ผ่านการแสดงออกทางกิจกรรมต่าง ๆ
ทำ�พอประมาณอย่างมีเหตุผล และ ทั้งกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์
มีภูมิคุ้มกัน บนฐานของความรู้และ การประดิษฐ์ หัตถกรรม การเล่น และ
คณุ ธรรม การผลิตชนิ้ งาน โดยใช้ส่ือและเทคโนโลยี
๕. มคี วามรแู้ ละทกั ษะพนื้ ฐานของ
การเปน็ ผปู้ ระกอบการทด่ี ีสามารถวางแผน
การลงทนุ การผลติ การตลาด การบรหิ าร
จัดการด้านทรัพยากร บุคลากร และ
การเงิน
๖. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้
ในการสร้างผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์
มีจรรยาบรรณและความรับผิดชอบ
ต่อสังคม

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 35

๗.ทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู และนวตั กรรม (Higher - Order Thinking Skills and
Innovation) HOTS: Critical Thinking, Problem Solving, Creative Thinking

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

คำ�อธบิ าย คำ�อธิบาย
สามารถใช้การคิดเป็นเคร่ืองมือ วิเคราะห์ข้อมูลหรือเรื่องง่าย ๆ ที่ไม่
ในการเรยี นรู้ และการใชช้ วี ติ มกี ารคดิ ให้ ซบั ซอ้ นและคดิ ตดั สนิ ใจตามหลกั เหตผุ ลได้
รอบคอบกอ่ นทจ่ี ะกระทำ�หรือไมก่ ระท�ำ ส�ำ รวจตนเองแลว้ สามารถระบปุ ญั หาของ
การใด ๆ บนฐานของข้อมูลที่เพียงพอ ตนและปัญหาท่ีมีกับเพื่อน และคิดหา
รวมทัง้ มกี ารวเิ คราะห์ วพิ ากษ์ ประเมิน สาเหตุ และวิธีการแก้ปัญหา แล้วลงมือ
ข้อมูล เหตุผลและหลักฐานต่าง ๆ แก้ปัญหาด้วยวิธีการที่เลือก สามารถ
มีวิจารณญาณในการคิดตัดสินใจ ติดตามผล ประเมินผลและสรุปผลการ
โดยยึดหลักเหตุผล และการพิจารณา แก้ปัญหาของตนได้ คิดหรือจินตนาการ
อย่างรอบด้าน ท้ังในด้านคุณ โทษ ความคดิ แปลกใหม่ในกิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น
และความเหมาะสมตามหลักกฎหมาย การเลน่ การประดษิ ฐ์ การท�ำ ของเลน่ ของใช้
ศลี ธรรมคณุ ธรรมคา่ นยิ มรวมทง้ั ความเชอื่ การเลา่ นทิ าน การวาดภาพ การแสดงออก
และบรรทดั ฐานของสงั คมและวฒั นธรรม ทางศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และกีฬา
สามารถแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ โดยมี
การวเิ คราะหห์ าสาเหตทุ แี่ ทจ้ รงิ และหา
วธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื ทางออกทเ่ี หมาะสม
กบั บคุ คล สถานการณ์ และบรบิ ท รวมทง้ั
สามารถรเิ รม่ิ ความคดิ ใหม่ ๆ แปลงความคดิ
น้ันให้เป็นรูปธรรม และบริหารจัดการ
จนเกิดผลผลิตเป็นผลงานในลักษณะ
ตา่ ง ๆ เชน่ แนวคดิ ใหม่ กระบวนการใหม่
ส่งิ ประดษิ ฐ์ ผลติ ภัณฑ์ และนวตั กรรม
ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ชวี ติ ของตน ผอู้ นื่ สงั คม
ประเทศและโลก

36 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. คิดพิจารณาเร่ืองต่าง ๆ โดยมี ๑. ฟงั /อา่ นขอ้ มลู เรอ่ื งราวสนั้ ๆ งา่ ย ๆ
ขอ้ มลู เกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งนน้ั อยา่ งเพยี งพอ ทไ่ี มม่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ นแลว้ สามารถสรปุ
สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมนิ ความเขา้ ใจของตนและแสดงความคดิ เหน็
ข้อมูลและเหตุผล สามารถสรุปความ อยา่ งมีเหตผุ ลเกยี่ วกับเร่ืองนั้นได้
เข้าใจและใหค้ วามเห็นในเรอ่ื งนน้ั ๆ ๒. ช้ีแจงเหตุผลของการตัดสินใจ
๒. ใช้วจิ ารณญาณ มกี ารตัดสินใจ ในเร่ืองต่าง ๆ ในชีวิตประจำ�วันของตน
เร่ืองต่าง ๆ บนฐานของข้อมูล เหตุผล และบอกไดว้ า่ การตดั สนิ ใจของตนมคี วาม
หลกั ฐานรวมทงั้ การพจิ ารณาอยา่ งรอบดา้ น เหมาะสมอยา่ งไร
ทง้ั ในดา้ นคณุ โทษ และความเหมาะสม ๓. บอกปญั หาของตนเอง และปญั หา
ตามหลักกฎหมาย ศีลธรรม คุณธรรม ท่มี กี ับเพอ่ื น เลอื กปัญหาที่สามารถแก้ไข
ค่านิยม ได้ด้วยตนเอง คิดหาสาเหตุ วิธีการแก้ไข
๓. ระบุปัญหาที่เกิดข้ึนกับตนเอง รวมถึงคิดหาวิธีการแปลกใหม่ แล้วเลือก
และผูอ้ ืน่ ได้ มีมมุ มองต่อปัญหาในทาง วิธกี ารทด่ี ีท่สี ุดเพอ่ื น�ำ มาใชแ้ กป้ ญั หา
บวก กลา้ เผชญิ ปญั หา และคดิ แกป้ ญั หา ๔. ลงมือแก้ปัญหาด้วยตนเอง และ
อยา่ งเปน็ ระบบ โดยมกี ารวเิ คราะหป์ ญั หา รว่ มมอื กบั เพอ่ื นในการแกป้ ญั หา โดยใช้
และหาสาเหตทุ แี่ ทจ้ รงิ วธิ กี ารแกป้ ญั หา วิธีการท่ีเลือกไว้แล้วติดตามผลและ
ทห่ี ลากหลายและแปลกใหม่ เลอื กวธิ กี าร ประเมนิ ผลการแกป้ ัญหา
ทเ่ี หมาะสมทส่ี ดุ แลว้ วางแผนด�ำ เนนิ การ ๕. สามารถคิดคลอ่ ง คดิ หลากหลาย
แก้ปัญหาอยา่ งเป็นขั้นตอน คิดยืดหยุ่น คิดจินตนาการ และคิดริเร่ิม
๔. ลงมอื แกป้ ญั หาดว้ ยตนเอง และ เกย่ี วกับสิง่ ต่าง ๆ ที่อยูร่ อบตัว
ร่วมมือกับผู้อื่นในการแก้ปัญหาอย่าง ๖. จินตนาการเร่ืองราว ความคิด
เป็นระบบ มีการดำ�เนินการตามแผน แปลกใหม่จากสิ่งรอบตัว และแสดงออก
เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและ ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การเล่น
ประเมินผล การวาดภาพ การเลา่ นทิ าน การพดู อธบิ าย
การประดิษฐ์ การสร้าง การทำ�ของเล่น
ของใช้ และการแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี
นาฏศิลป์ และกฬี า

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 37

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)
๕. มีความยืดหยุ่นทางความคิด
สามารถมอง/คิดและให้ความเห็น
ในเรื่องต่าง ๆ ได้หลากหลายแง่มุม
หลายมติ ิ หลายวธิ ี ยนิ ดรี บั ฟงั ความคดิ เหน็
ทแ่ี ตกตา่ ง สามารถประสานหรอื สงั เคราะห์
ความคิดที่แตกต่าง และริเริ่มความคิด
ใหม่ ๆ
๖. คดิ รเิ รมิ่ สงิ่ ใหม่ ๆ ซงึ่ อาจเปน็ การ
ปรับหรือประยุกต์จากของเดิม หรือ
ต่อยอดจากสิ่งเดิม หรือริเริ่มความคิด
แปลกใหม่ที่แตกต่างจากเดิม โดย
สามารถอธิบายความคิดให้ผู้อ่ืนเข้าใจ
และท�ำ ใหค้ วามคดิ นนั้ เกดิ ผลเปน็ รปู ธรรม
เปน็ แนวคดิ ใหม่กระบวนการใหม่ นวตั กรรม
สิ่งประดิษฐ์ และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
อนั เป็นประโยชนต์ ่อตนเอง

38 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รียนระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

๘. การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั (Media, Information and Digital
Literacy : MIDL)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

ค�ำ อธบิ าย คำ�อธิบาย
เข้าถึง เข้าใจ วิเคราะห์ ตีความ รู้จักและใช้สื่อสารสนเทศ เข้าใจ
ประเมินคุณค่า ความน่าเช่ือถือของส่ือ ความต้องการของตนเองเมื่อต้องเรียนรู้
สารสนเทศ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ เลอื ก หรอื ใชป้ ระโยชน์ เขา้ ใจวธิ กี ารเขา้ ถงึ แหลง่
รบั และใชป้ ระโยชน์ รวมทง้ั สรา้ งสรรคส์ อื่ สารสนเทศ แหลง่ เรยี นรู้ และการใชป้ ระโยชน์
ขา่ วสาร และสอ่ื สารอยา่ งเปน็ ผรู้ เู้ ทา่ ทนั จากสอ่ื ประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื และคณุ คา่
ตนเอง โดยค�ำ ถงึ ผลกระทบตอ่ ผอู้ น่ื และ เหน็ ประโยชน์และโทษของส่อื สารสนเทศ
สงั คมโดยรวม รวมทง้ั สามารถใชป้ ระโยชน์ และเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถสืบค้น
จากสอ่ื สารสนเทศและเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั อ่าน สรา้ งสือ่ และขา่ วสารอยา่ งงา่ ย และ
เพ่ือพัฒนาตนเองชุมชน และสังคม เลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์
โดยคำ�นึงถึงคุณ โทษ และผลกระทบ ตอ่ ตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน
ที่จะเกดิ ต่อผ้อู ื่นและสังคม

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. เขา้ ถงึ แหลง่ สอ่ื สารสนเทศ และ ๑. รู้จักและเลือกใช้เครื่องมือ และ
เทคโนโลยีดิจิทัลที่หลากหลาย เพื่อใช้ แหล่งส่ือสารสนเทศเพ่ือการสืบค้น และ
สืบค้นข้อมูลและสารสนเทศท่ีต้องการ เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการอย่างเหมาะสม
อย่างเข้าใจ และเลือกเร่ืองท่ีจะเกิด กับวยั
ประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน และสงั คม ๒. ใชส้ อื่ และจดั การเวลาในการใชส้ อ่ื
๒. เขา้ ใจความรสู้ กึ และความตอ้ งการ อย่างระมัดระวังโดยไม่ให้เกิดผลเสียต่อ
ของตนเองเมอื่ ใชส้ อ่ื สารสนเทศ ทง้ั การ ตนเองและผ้อู น่ื
เขา้ ถงึ สง่ ตอ่ และกระจายขอ้ มลู ขา่ วสาร ๓. ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลท่ีจะเชื่อ
โดยรับผิดชอบผลกระทบทั้งต่อตนเอง หรือไม่เชื่อ ปฏิบัติตามหรือไม่ปฏิบัติตาม
ผู้อนื่ และสังคม สื่อ สารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล
โดยรวู้ ่าสอ่ื มีวตั ถปุ ระสงค์ในการส่อื สาร

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 39


Click to View FlipBook Version