The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2021-11-15 03:15:17

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)
๓. วิเคราะห์ วิพากษ์และประเมิน ๔. เลอื กสาระทม่ี ปี ระโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากสอ่ื
สื่อสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล สารสนเทศ ไปใชใ้ นชีวิตประจำ�วัน ให้เกดิ
ในจดุ ประสงคข์ องการสอ่ื สาร กระบวนการ ประโยชนก์ ับตนเอง และครอบครัว
สร้าง และบทบาทของส่ือ สารสนเทศ ๕. เลือกสรรข้อมูล และสร้างสื่อ
และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั แบบตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ สารสนเทศในแบบต่าง ๆ แล้วส่ือสาร
ผู้รู้เท่าทันผลกระทบที่อาจจะเกิดกับ โดยค�ำ นงึ ถงึ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื
ตนเอง ผู้อ่นื และสังคม
๔. ประยกุ ตใ์ ชค้ วามฉลาดรดู้ า้ นดจิ ทิ ลั
ประกอบดว้ ยการจดั การเวลา การรกั ษา
ข้อมลู ส่วนตวั การรกั ษาความปลอดภัย
ของตนเอง และการตั้งรับภัยคุกคาม
ทางโลกออนไลน์ เมื่อต้องสัมพันธ์กับ
เทคโนโลยดี ิจิทลั ในสถานการณต์ า่ ง ๆ
๕. ใช้ความรู้และความเข้าใจด้าน
ส่ือสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล
อยา่ งรบั ผดิ ชอบและมจี รยิ ธรรม ทงั้ เพื่อ
การเรยี นรู้ การใชช้ วี ติ และความสมั พนั ธ์
กับบุคคลอื่น ๆ ในโลกความจริงและ
โลกเสมอื น

40 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

๙. การท�ำ งานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี และมภี าวะผนู้ �ำ (Collaboration Teamwork
and Leadership)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

ค�ำ อธิบาย คำ�อธิบาย
มีทักษะในการท�ำ งานกล่มุ ท�ำ งาน มีทักษะในการทำ�งานกลุ่ม เป็นผู้นำ�
เป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วม และสมาชิกที่ดีของกลุ่ม กำ�หนดวิธีการ
ทำ�งานแบบร่วมมือรวมพลัง โดยการ ทำ�งานท่ีจะช่วยให้งานสำ�เร็จ มีมารยาท
สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ขจดั ปญั หา แบง่ ปนั ในการรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน
แลกเปล่ียนความรู้และความคิด ใหก้ ารสนบั สนนุ หรอื โตแ้ ยง้ อยา่ งมเี หตผุ ล
เห็นคุณค่าของการทำ�งานร่วมกันและ ใหค้ วามรว่ มมอื ในการท�ำ งาน รบั ผดิ ชอบงาน
ปฏิบัติตามบทบาทเพ่ือการทำ�งาน ที่ได้รับมอบหมาย ช่วยกลุ่มในการแก้
ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทกี่ �ำ หนด มคี วามเปน็ ปัญหาและรักษาความสัมพันธ์อันดีของ
ผู้นำ�และใช้ภาวะผู้นำ�อย่างเหมาะสม สมาชกิ ทุกคนในกลุ่ม
กับสถานการณ์ สามารถแกป้ ัญหาและ
น�ำ กลมุ่ ใหไ้ ปสเู่ ปา้ หมายสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
ใหผ้ ู้อ่นื ได้พฒั นาตนเอง น�ำ จดุ เด่นของ
สมาชิกมาใช้เพ่ือให้บรรลุผลสำ�เร็จ
รว่ มกนั ปฏบิ ตั ติ นในฐานะสมาชกิ กลมุ่ ทด่ี ี
ท�ำ งานรว่ มกนั ดว้ ยความไวว้ างใจ เปดิ ใจ
รบั ฟงั และเคารพความคดิ เหน็ ทแี่ ตกตา่ ง
สามารถประสานความคดิ และใชส้ นั ตวิ ธิ ี
ในการจัดการปัญหาความขัดแย้ง
สร้างและรักษาความสัมพันธ์ทางบวก
กับสมาชิก

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 41

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. มีทักษะการเป็นผู้นำ� การเป็น ๑. ท�ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ผนู้ �ำ กลมุ่ และสมาชกิ
สมาชิกกลุ่ม และกระบวนการทำ�งาน กลุ่มท่ีดีโดยมีกระบวนการทำ�งานหรือวิธี
กลุ่ม/กระบวนการทำ�งานเป็นทีมท่ีดี การท�ำ งานท่ีดแี ละเหมาะสม
มีประสิทธิภาพ ๒. รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื สนบั สนนุ
๒. แลกเปลยี่ นความรู้แบง่ ปนั ความคดิ หรือโต้แย้งความคิดเห็นของผู้อ่ืนอย่างมี
ด้วยความเต็มใจเพื่อสนับสนุนส่งเสริม เหตุผล
ใหก้ ลมุ่ บรรลผุ ลตามเปา้ หมายทก่ี �ำ หนด ๓. รว่ มท�ำ งานกลมุ่ กบั เพอื่ น ใหค้ วาม
รว่ มกัน รว่ มมอื ในการท�ำ งาน รบั ผดิ ชอบตอ่ บทบาท
๓. รบั ฟงั ยอมรบั และเคารพความคดิ และหนา้ ทท่ี ไี่ ดร้ บั มอบหมาย ใสใ่ จในการ
เหน็ มมุ มองทแี่ ตกตา่ งของผอู้ น่ื อยา่ งจรงิ ใจ ทำ�งาน พยายามทำ�งานให้ดีที่สุด และ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ช่วยเหลอื เพ่อื น
อย่างแทจ้ รงิ ๔. เมื่อการทำ�งานกลุ่มเกิดมีปัญหา
๔. ร่วมทำ�งานกลุ่ม ปฏิบัติตน ช่วยกันระดมคิดหาวิธีการแก้ไขปัญหา
ในฐานะสมาชิกกลุ่มที่รับผิดชอบต่อ และชว่ ยกลุ่มแกป้ ัญหา โดยสันตวิ ธิ ี
หน้าท่ีและบทบาทที่ได้รับมอบหมาย ๕. ชว่ ยสร้างและรักษาความสัมพนั ธ์
อย่างใส่ใจ และให้ความไว้วางใจกัน อันดีของเพอ่ื นในกลุ่ม
และกัน เพ่ือให้เกิดความสำ�เร็จในการ
ทำ�งาน และความสัมพนั ธท์ ี่ดี
๕. สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อ่ืนได้
พฒั นาตนเองและใชค้ วามสามารถของ
แต่ละคนเพือ่ ให้บรรลุผลส�ำ เรจ็ ร่วมกนั
๖. ปรบั ตวั พรอ้ มประสานความคดิ
ที่มีความแตกต่าง พร้อมใช้สันติวิธี
ในการจัดการปัญหาความขัดแย้ง
เพอ่ื สรา้ งและรกั ษาความสมั พนั ธท์ างบวก
กบั สมาชกิ

42 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

๑๐. การเปน็ พลเมอื งทเ่ี ขม้ เเขง็ /ตน่ื รทู้ ม่ี สี �ำ นกึ สากล (Active Citizen with
Global Mindedness)

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

คำ�อธิบาย ค�ำ อธบิ าย
ปฏบิ ตั ติ นในฐานะพลเมอื งทมี่ คี วาม ปฏิบัติตนตามระเบียบ กฎ กติกา
รบั ผดิ ชอบ ด้วยการปฏบิ ตั ิตามบทบาท ขอ้ ตกลงของครอบครวั โรงเรยี น และสงั คม
หน้าท่ี ขนบธรรมเนยี มประเพณี เคารพ มสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื รกั ษาสมบตั ิ
กฎ กตกิ า ข้อตกลง และกฎหมาย ส่วนรวม ภูมิใจในความเป็นชาติ อธิบาย
ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองที่มี ความคดิ และการตดั สนิ ใจของตนเองอยา่ งมี
ส่วนร่วมด้วยการเรียนรู้เพื่อให้ตนเอง เหตผุ ล มคี วามสมั พนั ธอ์ นั ดใี นการอยรู่ ว่ มกนั
มคี วามรพู้ นื้ ฐานดา้ นการเมอื งการปกครอง กับผู้ท่ีมีความแตกต่างหลากหลายและ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างพึ่งพาอาศัยกัน มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมสว่ นรวมไดเ้ หมาะสม
ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรดู้ ว้ ยการท�ำ งานจติ อาสา กับวยั
รับผิดชอบต่อส่วนรวมโดยร่วมมือกับ
ผูอ้ ่นื ในการแก้ปญั หาและพฒั นาสังคม
ปฏบิ ตั ติ นในฐานะพลเมอื งทม่ี งุ่ เนน้
ความเปน็ ธรรมของสงั คม เคารพศกั ดศ์ิ รี
ความเป็นมนุษย์ เชื่อมั่นในหลักการ
การอยู่รว่ มกนั ท่ามกลางความแตกตา่ ง
หลากหลาย มีส่วนร่วมทางการเมือง
ในระดบั ตา่ ง ๆ แกไ้ ขความขดั แยง้ อยา่ ง
สันติวิธี มีส่วนร่วมในการสร้างการ
เปลยี่ นแปลง ใหเ้ กดิ ความเทา่ เทยี มและ
เปน็ ธรรมในระดบั ท้องถน่ิ ประเทศชาติ
และโลก ทง้ั ในความเปน็ จรงิ และโลกดจิ ทิ ลั
เพ่อื ให้เกดิ สันติภาพและความย่งั ยืน

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 43

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)

สมรรถนะ สมรรถนะ
๑. ปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีของ ๑. ปฏิบัติตนด้วยความเข้าใจและ
พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย อันมี ใหค้ วามเคารพตอ่ สญั ลกั ษณแ์ ทนความเปน็
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข สถาบันหลักของชาติท่ียึดเหนี่ยวจิตใจ
๒. เคารพสิทธิและเสรีภาพของ ร่วมกนั ของผคู้ น
ตนเองและผู้อื่น เคารพและปฏิบัติ ๒. ปฏิบัติตามบทบาทและหน้าที่
ตามกฎ กติกา ข้อตกลงและกฎหมาย ทร่ี บั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั ชนั้ เรยี น โรงเรยี น
รวมท้ังแนวปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม และชุมชนอยา่ งเหมาะสม
และประเพณี ๓. อยู่ร่วมกันอย่างเอ้ืออาทร รักษา
๓. ให้เกียรติผู้อ่ืน เห็นอกเห็นใจ สิทธิของตนเอง โดยเคารพและไม่ละเมิด
เออ้ื อาทร ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื เพอ่ื การอยรู่ ว่ มกนั สทิ ธขิ องผ้อู ื่น
อย่างสงบสุข ๔. อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ อยา่ งพง่ึ พาอาศยั กนั
๔. ร่วมมือกับผู้อ่ืนในการทำ�งาน ทงั้ ผทู้ อี่ ยใู่ นชนั้ เรยี น โรงเรยี น ครอบครวั และ
สาธารณะและจิตอาสา ชุมชน ด้วยความเข้าใจในความแตกต่าง
๕. ติดตามสถานการณ์ เหตุการณ์ ด้านอายุ เพศ ความถนัด ฐานะ และ
บา้ นเมอื ง และปัญหาของชมุ ชน สังคม บทบาทหน้าท่ี
และโลก มสี ว่ นรว่ มทางตรงหรอื ทางออ้ ม ๕. รว่ มกบั ผอู้ น่ื แสวงหาทางออกอยา่ ง
ในการพัฒนาเปลี่ยนแปลง และแก้ไข เปน็ เหตเุ ปน็ ผล เมอื่ เผชญิ กบั ปญั หา ความ
ปัญหา ขัดแยง้ หรอื มีความคิดเหน็ ไม่ตรงกนั
๖. มกี ารตดั สนิ ใจและการแกป้ ญั หา ๖. เข้าใจเร่ืองส่วนตัวและส่วนรวม
ร่วมกนั สามารถแสดงจดุ ยนื ของตนเอง และใชข้ องสว่ นรวมอยา่ งระมดั ระวงั ไมก่ อ่
มที กั ษะในการตดั สนิ ใจ การแกไ้ ขปญั หา ใหเ้ กดิ ความเสยี หายและถนอมรกั ษาใหผ้ อู้ น่ื
การแกไ้ ขความขดั แยง้ ดว้ ยการใหค้ วาม ไดใ้ ช้
ร่วมมือ และการแสดงออกซึ่งความ ๗. ปฏิบัติตนต่อผู้อ่ืนท้ังในระดับ
สามารถทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั ทา่ มกลางความ ครอบครวั และโรงเรยี น โดยคำ�นึงถงึ ผลดี
หลากหลาย ผลเสียที่จะเกิดข้นึ


44 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. ๑-๓)
๗. มที กั ษะการตคี วาม การตดิ ตาม ๘. มีส่วนร่วมในการกำ�หนดกติกา
ขา่ วสาร เหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื ง และความ ปฏบิ ตั ติ ามกตกิ าในหอ้ งเรยี น และโรงเรยี น
เคล่ือนไหวเชิงการเมือง การตีความ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับเปลี่ยนให้
นโยบายและการตดั สนิ ใจทางการเมอื ง เหมาะสมเพื่อการอยรู่ ว่ มกนั อย่างสงบสุข
และการวิจารณ์ข้อมูลข่าวสารจากสื่อ ๙. มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมจติ อาสาหรอื
รวมถึงผลประโยชน์และระบบคุณค่าท่ี แกไ้ ขปัญหาส่วนรวมท่ีเหมาะสมตามวยั
เกี่ยวข้องกนั
๘. มีส่วนร่วมกับกลุ่ม หน่วยงาน
หรือองค์กรเพื่อกิจการสาธารณะ เป็น
อาสาสมัครในประเด็นทางสังคมที่
หลากหลาย สามารถทำ�งานกับชุมชน
และภาคประชาสงั คมระดบั ตา่ งๆทเ่ี หมาะสม
กับความรู้ความสามารถของตนเอง
๙. มที กั ษะการจดั การการเปลยี่ นแปลง
และประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ ลดหรอื ขจดั ขอ้ ขดั แยง้
และการแสวงหาทางออกด้วยวิธีการ
ตา่ ง ๆ เช่น การประนีประนอม

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 45



ส่วนท่ี ๓

แนวทางในการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี น



ส่วนท่ี ๓

แนวทางในการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี น

การจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ เปน็ การเรยี นการสอน
ทม่ี จี ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรฐู้ านสมรรถนะเปน็ เปา้ หมาย คอื มงุ่ เนน้
การพฒั นาความสามารถในการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และ
คณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ องคร์ วมในการปฏบิ ตั งิ าน การแกป้ ญั หา
และการใชช้ วี ติ เปน็ การเรยี นการสอนทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ จรงิ เรยี นรู้
เพ่อื ให้สามารถใช้การได้จริงในสถานการณ์ต่าง ๆ เป็นการเรียน
เพอ่ื ใชป้ ระโยชน์ ไมใ่ ชก่ ารเรยี นเพอ่ื รเู้ ทา่ นน้ั
การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะเน้น “การปฏิบัติ”
โดยมชี ดุ ของเนอ้ื หาความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะทจ่ี �ำ เปน็
ตอ่ การน�ำ ไปสสู่ มรรถนะทต่ี อ้ งการ จงึ ท�ำ ใหส้ ามารถลดเวลาเรยี นเนอ้ื หา
จ�ำ นวนมากทไ่ี มจ่ �ำ เปน็ เออ้ื ใหผ้ เู้ รยี นมเี วลาในการเรยี นรเู้ นอ้ื หาทจ่ี �ำ เปน็
ในระดบั ทล่ี กึ ซง้ึ ขน้ึ และมโี อกาสไดฝ้ กึ ฝนการใชค้ วามรใู้ นสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ทจ่ี ะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะในระดบั ช�ำ นาญหรอื เชย่ี วชาญ
เปน็ การเรยี นการสอนทม่ี กี ารบรู ณาการความรขู้ า้ มศาสตร์ ความรู้
ในศาสตร์ต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้องกับการปฏิบัติงานใดงานหน่งึ จะได้
นำ�ไปใช้เพ่ือความสำ�เร็จของการปฏิบัติงาน การเรียนการสอน
เปน็ การบรู ณาการมากขน้ึ
การจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะนน้ั ผเู้ รยี นสามารถใชเ้ วลา
ในการเรยี นรู้ และมคี วามกา้ วหนา้ ในการเรยี นรตู้ ามความถนดั และ
ความสามารถของตน สามารถไปไดเ้ รว็ – ชา้ แตกตา่ งกนั ได ้ ในสว่ น
การใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั แกผ่ เู้ รยี นเพอ่ื การปรบั ปรงุ พฒั นา เปน็ ปจั จยั
ส�ำ คญั ทช่ี ว่ ยใหเ้ กดิ การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะประสบความส�ำ เรจ็

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 49

สาระข้างต้นกล่าวถึงลักษณะสำ�คัญของการจัดการเรียนการสอนฐาน
สมรรถนะซงึ่ มเี ปา้ หมายเพอ่ื การพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะตา่ ง ๆ ส�ำ หรบั เนอื้ หา
ในสว่ น ๓ นี้ เสนอแนวทาง และตวั อยา่ งหลากหลายของการจดั การเรยี นการสอน
ฐานสมรรถนะเพื่อพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กิด ๑๐ สมรรถนะ
ในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักท้งั ๑๐ สมรรถนะ สู่การพฒั นาผู้เรยี นน้นั
มีหลักการสำ�คัญ ดังน้ี
๑. สมรรถนะหลกั ทกุ ดา้ นสามารถพฒั นาผเู้ รยี นไดห้ ลายลกั ษณะ ทงั้ พฒั นา
ผ่านกิจกรรมในชีวิตประจำ�วันหรือกิจกรรมท่ีเป็นกิจวัตรในโรงเรียน กิจกรรม
พัฒนาผ้เู รยี น และกจิ กรรมการเรียนรู้ในห้องเรยี น
๒. สมรรถนะหลกั ทุกด้านสามารถพฒั นาผู้เรียนผา่ นเนื้อหาสาระตา่ ง ๆ
ในทกุ กลมุ่ สาระ และอาจจะเกย่ี วขอ้ งกบั เนอ้ื หาสาระตา่ ง ๆ (Subjects / Disciplines/
Areas) ได้ ไมเ่ ทา่ กนั นอกจากนยี้ งั พฒั นาผา่ นสาระทเี่ ปน็ เรอ่ื งราวเหตกุ ารณแ์ ละ
ประเดน็ ส�ำ คญั ในปจั จบุ นั (Current Issues) บรบิ ท (Context) รวมทงั้ ประสบการณ์
และกิจกรรม (Experiences & Activities)
๓. ในการออกแบบกจิ กรรมเพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นอาจจะผสานและบรู ณาการ
หลาย ๆ สมรรถนะทง้ั ทเ่ี ปน็ สมรรถนะยอ่ ยในสมรรถนะหลกั นน้ั หรอื สมรรถนะยอ่ ย
ในสมรรถนะหลักอ่นื ๆ
๔. ในการออกแบบกจิ กรรมเพื่อพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ กดิ สมรรถนะใด ๆ นัน้
ผสู้ อนตอ้ งวเิ คราะห์สง่ิ ต่าง ๆ ดังน้ี
๔.๑ ความรทู้ ่ีจำ�เปน็ ต่อการเกิดสมรรถนะทต่ี ้องการ ซง่ึ เลือกมาจาก
เนอ้ื หาสาระ มโนทศั น์ของศาสตรส์ าขาวชิ าต่าง ๆ

๔.๒ ทักษะที่จำ�เป็นต่อการเกิดสมรรถนะที่ต้องการ ซึ่งเลือกมาจาก
ทง้ั ทกั ษะส�ำ คัญของศาสตรส์ าขาวชิ าตา่ ง ๆ และทกั ษะทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบหลัก
ของสมรรถนะ

๔.๓ เจตคติ คุณลักษณะนิสัย แรงจูงใจ ฯลฯ ท่ีจำ�เป็นต่อการเกิด
สมรรถนะ

๔.๔ สถานการณต์ า่ ง ๆ ทจ่ี ะน�ำ สมรรถนะทต่ี อ้ งการไปใช้ หลงั จากนนั้
จึงนำ�สมรรถนะมาแตกเป็นสมรรถนะย่อยตามระดับการเรียนรู้เพื่อออกแบบ

50 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ผลการเรยี นรู้ (Learning Outcomes / Specific Competencies) และออกแบบ
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ (Learning Experiences) ทจ่ี ะท�ำ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรแู้ ละ
เกิดความรู้ ทักษะ เจตคติ/คุณลักษณะ และสามารถนำ�ความรู้ทักษะ เจตคติ/
คณุ ลักษณะ ไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ
๓.๑ แนวทางการพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีสมรรถนะหลกั ผา่ นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
สมรรถนะที่กำ�หนดขึ้นข้างต้นมีลักษณะเป็นสมรรถนะหลัก (Core
Competencies) หมายถึง สมรรถนะที่มีความสำ�คัญเนื่องจากเป็นสมรรถนะ
ทจ่ี �ำ เปน็ ส�ำ หรบั ผเู้ รยี นทกุ คนเพอ่ื ใชใ้ นการเรยี นรู้ การท�ำ งาน และการใชช้ วี ติ อยา่ งมี
คณุ ภาพในครอบครวั ชุมชน สงั คม ประเทศและโลก และเปน็ ฐานของสมรรถนะ
(ระดบั ทสี่ งู กวา่ ) เฉพาะงาน หรอื สมรรถนะวชิ าชพี หรอื สมรรถนะองคก์ รในอนาคต
ของผู้เรียน นอกจากนั้น ยังหมายรวมถึงลักษณะสำ�คัญร่วมที่สามารถพัฒนา
ข้ามกลุ่มหรือผ่านกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ หรือนำ�ไปประยุกต์ใช้
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ ในส่วนนี้จึงตัวอย่างข้อมูลความสัมพันธ์
เช่ือมโยงของสมรรถนะหลักกับแนวทางการพัฒนาผู้เรียนในกลุ่มสาระ
การเรยี นรูต้ ่าง ๆ ไวด้ งั นี้

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 51

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๑) สมรรถนะหลกั ◊ ใช้ภาษาไทยในการรับข้อมูล ถ่ายทอดข้อมูล
ด้านภาษาไทย แลกเปลยี่ นความคิดความรสู้ ึกและประสบการณ์
เพ่ือการส่อื สาร ◊ ใช้รูปแบบ และหลักการทางภาษาที่เหมาะสมกับ
(Thai Language บรบิ ทผ้ฟู ัง และใช้เพ่ือบรรลุวตั ถุประสงค์เฉพาะ
for Communication) ◊ ใช้เทคนิคในการส่ือสารเพ่ือให้เกิดความเข้าใจและ
การถ่ายทอดขอ้ ความไดผ้ ลดยี ่ิงขนึ้
◊ ใช้ภาษาไทยในการส่ือสาร เพ่ือแสดงออกถึงความ
เขา้ ใจ เหน็ อกเหน็ ใจ ความเมตตา และการใหเ้ กยี รติ
◊ ใชห้ ลกั ภาษาวรรณศลิ ป์ ทศั นศลิ ป์ วรรณกรรมในชวี ติ
ประจ�ำ วนั อย่างภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย

๒) สมรรถนะหลัก ◊ เรียนรู้ สัญลักษณ์ และรูปแบบคณิตศาสตร์ผ่าน
ด้านคณิตศาสตร์ การอ่าน และการเขียนโดยใช้ภาษาไทยแลกเปลยี่ น
ในชีวิตประจ�ำ วัน ความคิด หรือสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
(Mathematics in สญั ลกั ษณ์ และรปู แบบคณติ ศาสตร์ โดยใชภ้ าษาไทย
Everyday Life)

๓) สมรรถนะหลัก ◊ สืบสอบความรู้และมโนทัศน์เกี่ยวกับภาษาไทย
ดา้ นการสืบสอบ ท่ีสนบั สนุนด้วยหลกั ฐานเชิงประจักษ์
ทางวิทยาศาสตร์ ◊ ใช้เหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้านในประเด็นถกเถียง
และจิตวทิ ยาศาสตร์ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ เชน่ การอภปิ รายและการโตว้ าที
(Scientific Inquiry ◊ สร้างผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วยกระบวนการ
and Scientific Mind สร้างสรรค์นวัตกรรมท่ีถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
คา่ นยิ ม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ความงดงามของภาษา
เพ่อื อนุรักษค์ วามเปน็ ไทย

๔) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับคำ�สำ�คัญ หรือนิยามศัพท์
ด้านภาษาองั กฤษ เกยี่ วกบั ภาษาไทย ความเปน็ ไทย และวฒั นธรรมไทย
เพอ่ื การสอื่ สาร ◊ ใชภ้ าษาองั กฤษเกย่ี วกับขน้ั ตอน หรือการด�ำ เนินการ
(English for เกีย่ วกับความเปน็ ไทย และวัฒนธรรมไทย
Communication)

52 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รียนระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
๕) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้ภาษาอังกฤษท่ีเป็นเน้ือหาเก่ียวกับภาษาไทย
ดา้ นทกั ษะชวี ติ และ
ความเจริญแห่งตน ความเป็นไทย และวฒั นธรรมไทยเปน็ ข้อความหรอื
(Life Skills and บทอา่ นสนั้ ๆ
Personal Growth) ◊ สืบค้นข้อมูลจากตำ�ราหรืออินเทอร์เน็ตที่เป็นภาษา
อังกฤษเพื่อการศึกษาความรู้เกี่ยวกับความเป็นไทย
และวฒั นธรรมไทย
◊ ใช้สมรรถนะภาษาอังกฤษดา้ นการฟงั หรอื อ่าน และ
จดบนั ทกึ ยอ่ ๆเกย่ี วกบั ความเปน็ ไทยและวฒั นธรรมไทย
◊ เรียนรู้การจัดการชีวิต การพึ่งพาและพัฒนาตนเอง
ผา่ นการฟัง และอ่านจากแหลง่ ความร้ตู ่าง ๆ
◊ ถ่ายทอดความรู้แลกเปล่ียนความคิดเกี่ยวกับการ
จดั การชวี ติ การพงึ่ พาและพฒั นาตนเองทสี่ มดลุ ผา่ น
การพูด และการเขยี นในลกั ษณะต่าง ๆ
◊ รบั รู้ ช่นื ชมเห็นคณุ คา่ ในความงดงามของภาษาและ
วัฒนธรรมไทย

๖) สมรรถนะหลัก ◊ เรียนรู้การจัดการชีวิต การพ่ึงพาและพัฒนาตนเอง
ด้านทักษะอาชพี ผ่านการฟัง และอ่านจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
และการเปน็ ◊ ถ่ายทอดความรู้แลกเปล่ียนความคิดเก่ียวกับ
ผปู้ ระกอบการ การจดั การชวี ติ การพง่ึ พาและพฒั นาตนเองทส่ี มดลุ
(Career Skills ผา่ นการพูด และการเขียนในลักษณะตา่ ง ๆ
andEntrepreneurship) ◊ รบั รู้ ชนื่ ชมเหน็ คณุ คา่ ในความงดงามของภาษาและ
วฒั นธรรมไทย

๗) สมรรถนะหลกั ◊ พฒั นาทักษะในการตัดสนิ ใจเรอ่ื งตา่ ง ๆ บนฐานของ
ด้านทกั ษะการคดิ ขอ้ มลู เหตผุ ลและหลกั ฐานอยา่ งรอบดา้ นและเหมาะสม
ขัน้ สูงและนวัตกรรม ตามบริบทเชิงวัฒนธรรมผ่านการใช้ภาษาไทย
(Higher-OrderThinking เพอ่ื การสอื่ สารทง้ั การฟงั การพดู การอา่ น และการเขยี น
Skills and Innovation : ◊ ระบุปญั หาตา่ ง ๆ รวมถึงวเิ คราะหส์ าเหตุของปัญหา
HOTS Critical หาวธิ กี ารแกป้ ญั หา และเลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หาทเ่ี หมาะสม
Thinking, Problem ทสี่ ดุ โดยใชภ้ าษาไทย
Solving,Creative
Thinking

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 53

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
◊ อธบิ ายกระบวนการแกป้ ญั หาทตี่ นเองไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ

อยา่ งเปน็ ข้นั ตอนและเป็นระบบโดยใช้ภาษาไทย
◊ ปรบั ความคดิ ของตนเองใหม้ คี วามยดื หยนุ่ สามารถมอง/

คดิ และใหค้ วามเหน็ ในเรอื่ งตา่ ง ๆ อยา่ งหลากหลาย
แง่มุมด้วยการใช้ภาษาไทยในการสื่อสารท้ังการฟัง
การพูด การอ่าน และการเขยี น
◊ พัฒนาความคิดริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ และสื่อสารด้วยรูป
แบบแตกตา่ งจากเดิม

๘) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้ส่ือ สารสนเทศที่พบเห็นในชีวิตประจำ�วันในการ
ดา้ นการรู้เท่าทัน พฒั นาทกั ษะการฟงั และการอ่าน
สอ่ื สารสนเทศและดจิ ทิ ลั ◊ เรียนรู้รูปแบบการใช้ภาษาของส่ือและกลวิธีการใช้
(Media, Information ภาษาในสอื่ และตคี วามจดุ ประสงคแ์ ละรูปแบบการ
and Digital Literacy: ส่ือสารของโฆษณา ละคร และข่าว
MIDL)

๙) สมรรถนะหลกั ◊ เรียนรู้การจัดการชีวิต การพึ่งพาและพัฒนาตนเอง
ด้านการทำ�งาน ผา่ นการฟงั และอา่ นจากแหล่งความรตู้ า่ ง ๆ
แบบรวมพลงั เปน็ ทีม ◊ ถ่ายทอดความรู้แลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับ
และมีภาวะผู้น�ำ การจัดการชีวิตการพ่ึงพาและพัฒนาตนเองท่ีสมดุล
(Collaboration ผ่านการพดู และการเขียนในลักษณะต่าง ๆ
Teamwork and ◊ รบั รู้ ช่นื ชมเหน็ คุณคา่ ในความงดงามของภาษาและ
Leadership) วัฒนธรรมไทย

๑๐) สมรรถนะหลกั ◊ ศึกษาและเรียนรู้วงคำ�ศัพท์และรูปแบบภาษา
ดา้ นการเป็น เก่ียวกบั การเมอื งการปกครอง รัฐศาสตร์ กฎหมาย
พลเมอื งทเ่ี ขม้ เเขง็ /ตน่ื รู้ ◊ ส่ือสารเพ่ือสร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกัน
ท่ีมสี �ำ นกึ สากล อย่างปรองดอง สมานฉนั ท์ ยุติความขัดแยง้
(Active Citizen with ◊ อ่านวรรณกรรมประจำ�ชาติ และวรรณกรรม
GlobalMindedness) เปรียบเทียบทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียน และโลก
เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจในการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งปรองดอง
สมานฉนั ท์เเละสนั ติ

54 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๑) สมรรถนะหลัก ◊ ฟงั พดู อา่ น และเขยี นค�ำ ศพั ทท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั คณติ ศาสตร์
ดา้ นภาษาไทย แนวคดิ และกระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ ละค�ำ ทว่ั ไป
เพอ่ื การสื่อสาร ที่มีความหมายเฉพาะในบรบิ ททางคณติ ศาสตร์
(Thai Language for ◊ ใช้ภาษาไทยในการถ่ายทอดความคิดและแบบแผน
Communication) ทางคณิตศาสตร์
◊ พูดอภิปราย แสดงความคิดความเห็นเกี่ยวกับ
ความคดิ ทางคณิตศาสตร์
◊ ใชภ้ าษาไทยในการสรา้ งและตคี วามขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
กบั คณิตศาสตร์
◊ ใชแ้ บบจ�ำ ลองภาษาและสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์
ในการสือ่ สาร สื่อ-ความหมาย และการนำ�เสนอ

๒) สมรรถนะหลัก ◊ สรา้ งกฎเกณฑ์ทางคณติ ศาสตร์ วิเคราะหต์ รวจสอบ
ด้านคณิตศาสตร์ กระบวนการคณิตศาสตร์ วิธีแก้ปัญหา และการได้
ในชวี ิตประจำ�วัน มาของกฎเกณฑน์ น้ั โดยใชว้ ธิ กี ารใหเ้ หตผุ ลเชงิ อปุ นยั
(Mathematics in
Everyday Life) ◊ ให้เหตุผลเชิงนิรนัยหรือตรรกศาสตร์เพื่อตรวจสอบ
ข้อโตแ้ ยง้ ในวชิ าคณติ ศาสตร์

◊ สืบค้นผลกระทบของสมมติฐานในกระบวนการ
คณติ ศาสตร์ วธิ แี ก้ปญั หา หรอื การสรปุ

◊ อธิบาย เปรียบเทียบ แปลความหมายของแผนภูมิ
รปู ภาพจากสอ่ื ตา่ ง ๆ เพอ่ื ตอบปญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วนั
ของตน ออกแบบแผนภูมริ ปู ภาพ หรอื ตารางโดยใช้
เทคโนโลยี

๓) สมรรถนะหลัก ◊ สร้างกฎเกณฑท์ างคณติ ศาสตร์ วิเคราะหต์ รวจสอบ
ด้านการสืบสอบ กระบวนการคณิตศาสตร์ วิธีแก้ปัญหา และการได้
ทางวทิ ยาศาสตร์ มาของกฎเกณฑน์ นั้ โดยใชว้ ธิ กี ารใหเ้ หตผุ ลเชงิ อปุ นยั
และจติ วิทยาศาสตร์ ◊ ให้เหตุผลเชิงนิรนัยหรือตรรกศาสตร์เพ่ือตรวจสอบ
(Scientific Inquiry ข้อโตแ้ ย้งในวิชาคณิตศาสตร์
and Scientific Mind ◊ สืบค้นผลกระทบของสมมติฐานในกระบวนการ
คณิตศาสตร์ วธิ แี กป้ ัญหา หรอื การสรปุ

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 55

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
◊ อธิบาย เปรียบเทียบ แปลความหมายของแผนภูมิ

รปู ภาพจากสอื่ ตา่ งๆ เพอื่ ตอบปญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วนั
ของตน ออกแบบแผนภูมริ ูปภาพ หรือตารางโดยใช้
เทคโนโลยี

๔) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้ภาษาองั กฤษเกย่ี วกบั คำ�สำ�คญั หรือนยิ ามค�ำ ศัพท์
ด้านภาษาองั กฤษ ท่ีเก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์แนวคิดและกระบวนการ
เพื่อการสือ่ สาร ทางคณติ ศาสตร์และคำ�ท่วั ไปท่ีมีความหมายเฉพาะ
(English for ในบริบททางคณิตศาสตร์
Communication)
◊ ใชภ้ าษาองั กฤษเกีย่ วกับข้นั ตอน หรือการดำ�เนนิ การ
ที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์แนวคิดและกระบวนการ
ทางคณติ ศาสตร์

◊ ใชภ้ าษาองั กฤษทเี่ ปน็ เนอื้ หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั คณติ ศาสตร์
แนวคดิ และกระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ ละค�ำ ทว่ั ไป
ที่มีความหมายเฉพาะในบริบททางคณิตศาสตร์เป็น
ข้อความหรอื บทอ่านสนั้ ๆ

◊ สืบค้นข้อมูลจากตำ�ราหรืออินเทอร์เน็ตที่เป็นภาษา
องั กฤษเพอ่ื การศกึ ษาความรทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั คณติ ศาสตร์
แนวคดิ และกระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ ละค�ำ ทว่ั ไป
ท่ีมีความหมายเฉพาะในบรบิ ททางคณติ ศาสตร์

◊ ใช้สมรรถนะภาษาอังกฤษด้านการฟัง หรือการอ่าน
และจดบนั ทกึ ยอ่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั คณติ ศาสตรแ์ นวคดิ
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์และคำ�ทั่วไปท่ีมี
ความหมายเฉพาะในบรบิ ททางคณิตศาสตร์

๕) สมรรถนะหลัก ◊ แก้ปัญหาชีวิต การจัดการและดำ�เนินชีวิตให้พอดี
ด้านทักษะชีวติ และ มคี วามสมดลุ ทกุ ดา้ นโดยใชค้ วามรแู้ ละกระบวนการ
ความเจริญแหง่ ตน ทางคณติ ศาสตร์
(Life Skills and
Personal Growth)

56 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๖) สมรรถนะหลกั ◊ พัฒนาทักษะทำ�งาน การประกอบอาชีพ และ
ดา้ นทักษะอาชีพและ การประกอบการโดยเฉพาะการปฏบิ ตั งิ าน การบรหิ าร
การเปน็ ผปู้ ระกอบการ จดั การ และการจดั การดา้ นการเงนิ โดยใชค้ วามรแู้ ละ
(Career Skills and กระบวนการทางคณิตศาสตร์
Entrepreneurship)

๗) สมรรถนะหลกั ◊ วเิ คราะหว์ พิ ากษแ์ ละประเมนิ ขอ้ มลู ทางคณติ ศาสตร์
ด้านทกั ษะการคดิ โดยเฉพาะข้อมูลที่เป็นจำ�นวนให้เหตุผลตลอดจน
ข้ันสูงและนวตั กรรม สื่อสารความหมายทางคณิตศาสตร์ตามที่ตนเองมี
(Higher-Order ความเขา้ ใจและให้ความเห็น
Thinking Skills and ◊ ตดั สินใจหาข้อสรปุ ทางคณติ ศาสตร์บนฐานของการ
Innovation: HOTS เชอื่ มโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตรอ์ ยา่ งรอบดา้ น
Critical Thinking, ◊ ระบุปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่พบในชีวิตประจำ�วัน
Problem Solving, วิเคราะห์องค์ประกอบของปัญหาโดยใช้ความรู้ทาง
Creative Thinking) คณติ ศาสตรร์ วมถงึ หาวธิ กี ารแกป้ ญั หาทห่ี ลากหลาย
และเลือกวธิ กี ารแกป้ ัญหาทเี่ หมาะสมทีส่ ดุ
◊ ลงมือแก้ปัญหาด้วยตนเองอย่างเป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบโดยใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตร์หรอื ความรู้
เกย่ี วกบั สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ ชว่ ยในการตดั สนิ ใจ
ลงมอื แกป้ ญั หาในขน้ั ตอนต่าง ๆ
◊ ฝึกฝนให้มีความยืดหยุ่นทางความคิด มองและให้
ความเห็นในปัญหาหรือสถานการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับ
คณิตศาสตร์ที่หลากหลายแง่มุมโดยเฉพาะการ
พจิ ารณาปญั หาและการแกไ้ ขปญั หาทางคณติ ศาสตร์
◊ คดิ รเิ รม่ิ วธิ กี ารแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรใ์ นรปู แบบใหม่ๆ
สอ่ื สารและน�ำ เสนอการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์
ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจและนำ�เสนอความคิดนั้น
อยา่ งเปน็ รปู ธรรม

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 57

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๘) สมรรถนะหลกั ◊ ใช้ส่ือ สารสนเทศ ที่พบเห็นในชีวิตประจำ�วันในการ
ดา้ นการรู้เทา่ ทนั เรยี นรกู้ ารน�ำ เสนอขอ้ มลู ดว้ ยสญั ลกั ษณ์ รปู แบบทาง
สอื่ สารสนเทศและดจิ ทิ ลั คณิตศาสตร์ ทสี่ ามารถสร้างการรับรทู้ แี่ ตกต่างกนั
(Media, Information ◊ ใชห้ ลกั การความนา่ จะเปน็ เพอ่ื หาวธิ กี ารออกแบบรหสั
and Digital Literacy: ความลบั ส�ำ หรบั เขา้ ไปในโลกดจิ ทิ ลั เพอื่ รกั ษาขอ้ มลู
MIDL) สว่ นตวั

๙) สมรรถนะหลัก ◊ ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั แบบรวมพลงั เพอ่ื เรยี นรแู้ ละพฒั นา
ดา้ นการทำ�งาน ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ และน�ำ กระบวนการ
แบบรวมพลงั เปน็ ทมี ทางคณติ ศาสตรไ์ ปใชใ้ นการทำ�งานรว่ มกนั
และมภี าวะผนู้ ำ�
(Collaboration,
Teamwork and
Leadership)

๑๐) สมรรถนะหลัก ◊ เรียนรู้ภาษาสัญลักษณ์และรูปแบบคณิตศาสตร์
ดา้ นการเป็น ไดแ้ ก่ กราฟแผนผงั เพอ่ื เปน็ ฐานขอ้ มลู และใชใ้ นการ
พลเมอื งทเ่ี ขม้ เเขง็ /ตน่ื รู้ ส่ือสารความคิดรณรงค์หรอื สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ
ที่มีสำ�นกึ สากล เกย่ี วกบั การเมอื งการปกครอง รฐั ศาสตร์ เเละกฎหมาย
(Active Citizen with
Global Mindedness)

58 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รียนระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๑) สมรรถนะหลัก ◊ ฟัง พดู อ่าน และเขยี นคำ�ศพั ท์ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั ความรู้
ด้านภาษาไทย มโนทัศน์ แนวคิด หลักการ และกระบวนการทาง
เพ่ือการส่อื สาร วทิ ยาศาสตร์
(Thai Language ◊ ใช้ภาษาสัญลักษณ์เพ่ือนำ�เสนอและแลกเปลี่ยน
for Communication) แบ่งปันความคิดที่เก่ียวกับความรู้ แนวคิด หลัก
การ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการพัฒนา
กระบวนการประดษิ ฐ์คิดค้น
◊ ใช้แบบจำ�ลอง เช่น ประโยค ภาพ สัญลักษณ์
เพอ่ื การอธบิ ายความรู้แนวคดิ หลกั การและกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ใหเ้ หน็ เป็นรูปธรรม

๒) สมรรถนะหลกั ◊ สร้างกฎเกณฑ์ทางคณติ ศาสตร์ วเิ คราะหต์ รวจสอบ
ด้านคณิตศาสตร์ กระบวนการคณติ ศาสตร์ วธิ แี กป้ ญั หา และการไดม้ า
ในชีวติ ประจำ�วัน ของกฎเกณฑน์ ้ันโดยใช้วิธกี ารใหเ้ หตผุ ลเชงิ อุปนยั
(Mathematics in
Everyday Life) ◊ ให้เหตุผลเชิงนิรนัยหรือตรรกศาสตร์เพื่อตรวจสอบ
ขอ้ โต้แยง้ ในวชิ าวทิ ยาศาสตร์

◊ สืบค้นผลกระทบของสมมติฐานในกระบวนการ
คณิตศาสตร์ วธิ ีแกป้ ญั หา หรอื การสรุป

◊ อธิบาย เปรียบเทียบ แปลความหมายของแผนภูมิ
รปู ภาพจากสอ่ื ตา่ ง ๆ เพอื่ ตอบปญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วนั
ของตน ออกแบบแผนภูมริ ปู ภาพ หรือตารางโดยใช้
เทคโนโลยี

๓) สมรรถนะหลกั ◊ ต้ังคำ�ถามสำ�คัญเก่ียวกับเรื่องที่จะศึกษา วางแผน
ด้านการสืบสอบ การส�ำ รวจตรวจสอบตามความคดิ ของตวั เองและของกลมุ่
ทางวิทยาศาสตร์ เลอื กและใชว้ สั ดอุ ปุ กรณห์ รอื เครอื่ งมอื ในการส�ำ รวจ
และจิตวิทยาศาสตร์ ตรวจสอบ เปรยี บเทยี บขอ้ มลู น�ำ เสนอผลการจดั กระท�ำ
(Scientific Inquiry ขอ้ มูล อธบิ ายผลการสำ�รวจตรวจสอบดว้ ยหลกั ฐาน
and Scientific Mind) เชงิ ประจกั ษแ์ ละสรปุ ค�ำ อธบิ ายดว้ ยแผนภาพประกอบ
ข้อความ
◊ เรียนรู้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิศวกรรม เรอื่ งราวในธรรมชาติ

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 59

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
๔) สมรรถนะหลัก เรอื่ งราวทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลงจากการกระท�ำ ของมนษุ ย์
ดา้ นภาษาอังกฤษ
เพอ่ื การสอื่ สาร รวมทงั้ เทคโนโลยี ในสถานการณท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ตนเอง
(English for ครอบครวั ชมุ ชนโดยมหี ลกั ฐานสนบั สนนุ ไดอ้ ยา่ งสมเหตุ
Communication) สมผล
◊ ออกแบบและสรา้ งแบบจ�ำ ลองอยา่ งงา่ ยดว้ ยความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และใช้แบบจำ�ลอง
เพอ่ื อธิบายเรื่องราวในธรรมชาติ
◊ แสดงความคิดเห็นสนับสนุนหรือคัดค้านด้วยหลัก
ฐานเชงิ ประจักษ์อย่างมีเหตุผล ตรวจสอบหลักฐาน
ตา่ ง ๆ จากแหลง่ ท่มี าให้เป็นทีเ่ ชื่อถือ
◊ ระบุปญั หาและบริบทของปญั หา ออกแบบตน้ แบบ
สง่ิ ประดษิ ฐ์ ดว้ ยการวาดภาพ และสรา้ งตน้ แบบของ
วธิ กี ารแกป้ ญั หาทเี่ ลอื กไว้ ระบวุ สั ดอุ ปุ กรณท์ เี่ หมาะสม
ทจ่ี ะน�ำ มาสรา้ งตน้ แบบ และด�ำ เนนิ การทดสอบตน้ แบบ
ปรับปรุง ออกแบบซํ้าเพื่อให้ต้นแบบที่เหมาะสม
ทีส่ ดุ พร้อมท้ังบันทึกผลการทดสอบ และอธบิ ายผล
อยา่ งใชเ้ หตุผล

◊ ใชภ้ าษาองั กฤษเกย่ี วกบั ความรู้มโนทศั น์ แนวคดิ หลกั การ
และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

◊ ใช้ภาษาอังกฤษเก่ียวกับข้ันตอน หรือกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์

◊ ใชภ้ าษาองั กฤษทเ่ี ปน็ เนอื้ หาเกยี่ วกบั ความรู้ มโนทศั น์
แนวคดิ หลกั การ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เปน็ ข้อความหรอื บทอา่ นสน้ั ๆ

◊ สืบค้นข้อมูลจากตำ�ราหรืออินเทอร์เน็ตที่เป็นภาษา
อังกฤษเพ่ือการศึกษาความรู้ มโนทัศน์ แนวคิด
หลกั การ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

◊ ใช้สมรรถนะภาษาอังกฤษด้านการฟัง หรอื การอา่ น
และจดบนั ทกึ ยอ่ ๆ เกย่ี วกบั ความรู้ มโนทศั น์ แนวคดิ
หลักการ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

60 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๕) สมรรถนะหลัก ◊ พฒั นาทกั ษะชวี ติ การสรา้ งความสมดลุ ของชวี ติ และ
ด้านทกั ษะชีวิตและ สรา้ งสขุ ภาวะโดยใชอ้ งคค์ วามรู้ และกระบวนการทาง
ความเจริญแหง่ ตน วิทยาศาสตร์
(Life Skills and
Personal Growth) ◊ เรียนรู้การแก้ปัญหา การจัดการและดำ�เนินชีวิต
ใหพ้ อดี มคี วามสมดุลดว้ ยหลักเหตผุ ลกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๖) สมรรถนะหลกั ◊ พัฒนาทักษะทำ�งาน การประกอบอาชีพ และการ
ดา้ นทกั ษะอาชพี และ ประกอบการโดยใช้องค์ความรู้ กระบวนการทาง
การเปน็ ผปู้ ระกอบการ วิทยาศาสตร์ และหลักเหตผุ ล
(Career Skills and ◊ สร้างนวัตกรรมและกระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์
Entrepreneurship) เชงิ สรา้ งสรรคใ์ นการประกอบการโดยใชก้ ระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ และกระบวนการใช้เทคโนโลยี

๗) สมรรถนะหลัก ◊ วิเคราะห์วิพากษ์ประเมินข้อมูลและเหตุผลด้วยการ
ดา้ นทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู สืบเสาะหาความรทู้ ี่หลากหลาย
และนวัตกรรม ◊ ตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ บนฐานข้อมูลเหตุผลหลักฐาน
(Higher-Order อยา่ งรอบดา้ น และเหมาะสมกบั บรบิ ทผา่ นการสบื สอบ
Thinking Skills and หาความรทู้ ห่ี ลากหลายผา่ นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
Innovation : HOTS ◊ ระบปุ ญั หา วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หาอยา่ งเปน็ เหตุ
Critical Thinking, เปน็ ผลผา่ นการสบื สอบความรทู้ ห่ี ลากหลาย เพอ่ื น�ำ
Problem Solving, ไปสู่การหาวิธีการแก้ปัญหาผ่านกระบวนการทาง
Creative Thinking) วิทยาศาสตร์และเลือกวิธีการแก้ปัญหาท่ีมีความ
เหมาะสมทส่ี ดุ
◊ ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ
แก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเองอย่างเป็นข้ันตอนและ
เป็นระบบ
◊ มคี วามยืดหยุ่นทางความคดิ /มอง และใหค้ วามเห็น
ในการแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ทห่ี ลากหลายแงม่ มุ ผา่ นการ
สบื สอบหาความรทู้ ห่ี ลากหลายและผา่ นการใชค้ วามรู้
และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
◊ คดิ รเิ รมิ่ สง่ิ ใหม่ ๆ ทแี่ ตกตา่ งจากเดมิ ดว้ ยการใชค้ วามรู้
และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยอธบิ ายความคดิ
ที่เป็นส่ิงใหม่และขยายผลต่อยอดความคิดนั้นให้
เป็นรปู ธรรม

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 61

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๘) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้เครอื่ งมอื โปรแกรมหรือแอบพลเิ คชันช่วยในการ
ดา้ นการรูเ้ ทา่ ทัน พฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สื่อ สารสนเทศ และ และการสรา้ งนวัตกรรม
ดิจทิ ัล (Media,
InformationandDigital
Literacy : MIDL)

๙) สมรรถนะหลกั ◊ ปฏิบัติงานร่วมกันแบบรวมพลังเพื่อเรียนรู้ และ
ดา้ นการทำ�งาน พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
แบบรวมพลัง เป็นทมี นำ�หลักเหตุผลมาใช้
และมภี าวะผนู้ �ำ ◊ ปฏิบัติงานร่วมกัน ส่งเสริม และแลกเปล่ียนเรียนรู้
(Collaboration, ระหวา่ งกนั โดยใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งรเู้ ทา่ ทนั
Teamwork and
Leadership)

๑๐) สมรรถนะหลัก ◊ ใชก้ ระบวนการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการสรา้ ง
ดา้ นการเปน็ การมีสว่ นรว่ มหรือสร้างการเปลยี่ นแปลง
พลเมอื งทเ่ี ขม้ เเขง็ /ตน่ื รู้ ◊ ใชค้ วามรเู้ กย่ี วกบั สง่ิ แวดลอ้ มปรากฏการณท์ างธรรมชาติ
ที่มสี ำ�นกึ สากล เพ่ือเสนอแนวทางการใช้ส่ิงแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า
(Active Citizen with และรักษาใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื
Global Mindedness)

62 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๑) สมรรถนะหลกั ◊ ฟัง พูด อ่าน และเขียนคำ�ศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับ
ดา้ นภาษาไทย ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ พลเมืองและการเป็น
เพื่อการสื่อสาร พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ศาสนาและวฒั นธรรม
(Thai Language ◊ ใช้ภาษาไทยถ่ายทอดความคิดหรือสนับสนุนจุดยืน
for Communication) ทางความคดิ ของตนในประเดน็ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง กบั สงั คม
ศาสนา และวัฒนธรรมดว้ ยท่าทที เี่ หมาะสม
◊ ใชภ้ าษาไทยในการสนทนาโตแ้ ยง้ น�ำ เสนอความคดิ ที่
สรา้ งสรรคแ์ ลกเปลยี่ นแบง่ ปนั ความคดิ มมุ มองในหวั ขอ้ /
หวั เรอ่ื งประเดน็ ตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั สงั คม ทอ้ งถน่ิ ศาสนา
และวฒั นธรรมหรอื ระเบยี บแบบแผนตา่ ง ๆ โดยค�ำ นงึ
ถงึ ความเหมาะสมกับมมุ มองทศั นคตขิ องกล่มุ ผูช้ ม/
ผ้ฟู ังและบริบท
◊ ใชภ้ าษาไทยในการเรยี นรเู้ รอ่ื งราว เรอื่ งเลา่ รายละเอยี ด
รายงาน รายการ คำ�อธิบาย โต้แย้ง ภาพประกอบ
ตารางแผนท่ี แผนภูมิ ตาราง รูปถ่าย รวมทั้งภาพ
จากระยะไกลภาพจากดาวเทยี มและภาพเสมอื นจรงิ

๒) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้แนวคิด และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์
ดา้ นคณติ ศาสตร์ ในการอธบิ าย แนวโนม้ แบบรปู และแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ
ในชีวติ ประจ�ำ วนั ขนึ้ จรงิ ในสังคม ชุมชน ทอ้ งถิ่น
(Mathematics in
Everyday Life) ◊ ใช้แนวคิด และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์
ในการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา หรอื การเปลยี่ นแปลงในชมุ ชน

◊ เรียนรู้แนวคิดทางคณิตศาสตร์และสร้างความคิด
รวบยอด ผ่านเนื้อหา สาระเกี่ยวกับสังคมศึกษา
ศาสนา วฒั นธรรมและบริบท

๓) สมรรถนะหลกั ◊ สืบสอบความรู้ มโนทัศน์ด้านสังคม ศาสนา และ
ด้านการสบื สอบ วฒั นธรรม จากเรอื่ งราว บรบิ ทรอบตวั แหลง่ สอ่ื ตา่ ง ๆ
ทางวทิ ยาศาสตร์ และดิจิทัล หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
และจติ วิทยาศาสตร์
(Scientific Inquiry
and Scientific Mind)

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รียนระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 63

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
๔) สมรรถนะหลัก ◊ ใชภ้ าษาองั กฤษทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ประวตั ศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์
ดา้ นภาษาอังกฤษ
เพื่อการส่อื สาร พลเมืองและการเป็นพลเมอื ง เศรษฐศาสตร์ ศาสนา
(English for และวฒั นธรรม
Communication) ◊ ใช้ภาษาอังกฤษเก่ียวกับลำ�ดับช่วงเวลา/ข้ันตอนที่
เก่ียวข้องกบั ประวัติศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ พลเมืองและ
การเปน็ พลเมอื ง เศรษฐศาสตร์ ศาสนาและวฒั นธรรม
◊ ใชภ้ าษาองั กฤษทเ่ี ปน็ เนอื้ หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ประวตั ศิ าสตร์
ภมู ศิ าสตร์ พลเมอื งและการเปน็ พลเมอื ง เศรษฐศาสตร์
ศาสนาและวฒั นธรรมเปน็ ขอ้ ความหรอื บทอา่ นสนั้ ๆ
◊ สืบค้นข้อมูลจากตำ�ราหรืออินเทอร์เน็ตที่เป็นภาษา
องั กฤษเพอื่ การศกึ ษาความรทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั ประวตั ศิ าสตร์
ภมู ศิ าสตร์ พลเมอื งและการเปน็ พลเมอื ง เศรษฐศาสตร์
ศาสนาและวฒั นธรรม
◊ ใชส้ มรรถนะภาษาองั กฤษดา้ นการฟงั หรอื อา่ น และ
จดบนั ทกึ ยอ่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ประวตั ศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์
พลเมอื งและการเปน็ พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ศาสนา
และวฒั นธรรม

๕) สมรรถนะหลกั ◊ แกป้ ญั หาในชวี ติ ปรบั ตวั ตอ่ สภาพความเปลยี่ นแปลง
ด้านทกั ษะชวี ิตและ และดำ�เนินชีวิตให้พอดี มีความสมดุลทุกด้าน
ความเจรญิ แห่งตน โดยการนอ้ มนำ�หลกั ศาสนาทย่ี ดึ ถือมาใช้
(Life Skills and
Personal Growth) ◊ ปฏิบัติตนเป็นส่วนหนึ่งของสังคม วางตนได้เหมาะ
สมกับบทบาทและหน้าท่ีของตนที่มีต่อครอบครัว
และสงั คม

◊ ชื่นชมความงามของและศลิ ปวฒั นธรรม มีสว่ นรว่ ม
ในกจิ กรรม และร่วมสบื ทอด สง่ ตอ่ ทะนบุ �ำ รงุ รักษา
ใหด้ ำ�รงสบื ไป

64 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รยี นระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๖) สมรรถนะหลัก ◊ เรยี นรกู้ ารเปน็ ผปู้ ระกอบการทมี่ คี ณุ ธรรม รบั ผดิ ชอบ
ด้านทักษะอาชีพและ ตอ่ สังคมพร้อมเกื้อกูลสงั คม และมจี รรยาบรรณ
การเปน็ ผปู้ ระกอบการ ◊ พัฒนาอาชีพ และการประกอบการแบบใหม่
(Career Skills and โดยใช้บรบิ ททางสงั คม และทุนทางวัฒนธรรม
Entrepreneurship)

๗) สมรรถนะหลกั ◊ วิเคราะห์ วิพากษ์ ประเมินข้อมูลและเหตุผล สรุป
ดา้ นทกั ษะการคิด และใหค้ วามเหน็ ทน่ี �ำ ไปสกู่ ารอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไทย
ขนั้ สงู และนวัตกรรม และสังคมโลกอย่างสันติสุข
(Higher-Order ◊ ฝึกฝนตัดสินใจเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันในสังคมไทย
Thinking Skills and และสงั คมโลกอยา่ งสนั ตสิ ขุ บนฐานขอ้ มลู เหตผุ ล และ
Innovation: HOTS หลักฐานอย่างหลากหลายเหมาะสมกับบริบททาง
Critical Thinking, วฒั นธรรม
Problem Solving, ◊ ระบปุ ญั หาทางสงั คมหรอื สงิ่ แวดลอ้ ม วเิ คราะหส์ าเหตุ
Creative Thinking) ของปัญหา หาวิธีการแก้ปัญหา และเลือกวิธีการ
แก้ปัญหาท่ีเหมาะสมที่สุด โดยที่ไม่ส่งผลใด ๆ
ต่อความสนั ติสขุ ในสงั คมไทยและสังคมโลก
◊ ลงมอื แกป้ ญั หาทางสงั คมหรอื สงิ่ แวดลอ้ มดว้ ยตนเอง
อย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบด้วยสำ�นึกของ
การเป็นพลเมืองดี
◊ มีความยืดหยุ่นทางความคิด/มองและให้ความเห็น
ในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ ประเดน็ ทางสงั คมวฒั นธรรมและ
ส่ิงแวดลอ้ ม เปดิ ใจยอมรับความแตกตา่ งทางสังคม
วัฒนธรรมท่มี แี ง่มมุ ทีห่ ลากหลาย
◊ คิดริเริ่มส่ิงใหม่ ๆ แบบแผนการดำ�รงชีวิตในสังคม
รูปแบบใหม่ ๆ ที่แตกต่างจากเดิมและเหมาะสม
กับบริบททางสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป โดยอธิบาย
ความคดิ หรอื แบบแผนการด�ำ รงชีวิตรปู แบบใหม่

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 65

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๘) สมรรถนะหลกั ◊ เรียนรู้และเข้าใจแนวคิดของสิทธิเสรีภาพในการ
ดา้ นการรู้เทา่ ทนั น�ำ เสนอข่าวสารในโลกออนไลน์
สื่อ สารสนเทศ และ ◊ ศึกษาและเรียนรู้กลไกของการละเมิดสิทธิในโลก
ดจิ ิทลั (Media, ไซเบอร์ (Cyber Bullying) และแสวงหาวิธีป้องกัน
InformationandDigital แกไ้ ข
Literacy: MIDL)

๙) สมรรถนะหลกั ◊ อยู่ร่วมกันและมีส่วนร่วมทำ�งานแบบรวมพลัง
ดา้ นการทำ�งาน ตามบทบาทเพื่อบรรลุเป้าหมายท่กี ำ�หนดร่วมกัน
แบบรวมพลงั เปน็ ทีม ◊ สร้างความเป็นผู้นำ�ที่สามารถแก้ปัญหาและ
และมภี าวะผู้น�ำ ใชม้ นษุ ยสมั พนั ธท์ ดี่ เี พอื่ ชแี้ นะแนวทางใหไ้ ปสเู่ ปา้ หมาย
(Collaboration, สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อ่ืนได้พัฒนาตนเองและนำ�
Teamwork and จุดเด่นของแต่ละคนเพ่ือให้บรรลุผลสำ�เร็จร่วมกัน
Leadership) ทง้ั การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม
และการพัฒนาชุมชน สังคม ทอ้ งถ่ิน
◊ ปฏิบัติตนในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม/ชุมชน
ไว้วางใจเปิดใจ รับฟังความคิดเห็น มุมมอง และ
เคารพความคิดเหน็ ที่แตกตา่ งอยา่ งเต็มใจ
◊ สนบั สนนุ แบง่ ปนั แลกเปลยี่ นความรู้ และความคดิ ใสใ่ จ
ในการประสานความคดิ ประนปี ระนอม เสนอทางเลอื ก
และแนวปฏบิ ตั ิที่ทกุ ฝ่ายยอมรับ
◊ สร้างและรักษาความสัมพันธ์ทางบวกกับสมาชิก
ในสงั คม
◊ นอ้ มน�ำ หลกั ธรรมทนี่ บั ถอื มาใชเ้ พอื่ ใหอ้ ยรู่ ว่ มกนั ดว้ ย
ความสนั ติสขุ
◊ เคารพความคดิ ความเชอื่ และการปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรม
ของศาสนาทนี่ ับถือ

๑๐) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้ประเด็นทางสังคม (Controversial issue)
ดา้ นการเปน็ พลเมอื ง ในการอภปิ รายสานเสวนา(Dialogue)การแลกเปลย่ี น
ท่เี ข้มเเขง็ /ตื่นรู้ ◊ ความคดิ เหน็ อยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล
ศกึ ษาเรยี นรเู้ กย่ี วกบั นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
ทีม่ สี �ำ นึกสากล เพอื่ น�ำ เสนอทางเลอื กใหม่ หรอื สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารบงั คบั ใช้
(Active Citizen with ให้เกิดการเปล่ียนแปลงที่นำ�ไปสู่สังคมท่ีเท่าเทียม
Global Mindedness) และเปน็ ธรรม

66 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๑) สมรรถนะหลกั ◊ ฟงั พดู อา่ น และเขยี นค�ำ ศพั ทท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสรา้ ง
ดา้ นภาษาไทย สขุ ภาวะและสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ทงั้ ทางอารมณส์ ตปิ ญั ญา
เพือ่ การสอ่ื สาร รา่ งกายสงั คมและจติ วญิ ญาณ
(Thai Language for ◊ แลกเปล่ียนความคิดเพ่ือหาแนวทางในการสร้าง
Communication) สขุ ภาวะและส่งเสริมสุขภาพ
◊ ใช้ภาษาไทยทั้งที่เป็นคำ�พูด และภาษาท่าทาง
ในการสอื่ สาร สรา้ งความสมั พนั ธ์ การเลน่ การปฏบิ ตั ิ
การสรา้ งสุขภาพ
◊ ใช้ภาษาไทยถ่ายทอดความคิด ความต้องการ
ความรสู้ กึ อารมณแ์ ละความคดิ ของตน

๒) สมรรถนะหลกั ◊ ใช้แนวคิด และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์
ด้านคณติ ศาสตร์ ในการก�ำ หนดเปา้ หมาย การสรา้ งสขุ ภาวะและสง่ เสรมิ
ในชีวิตประจ�ำ วัน
(Mathematics in สขุ ภาพ ทงั้ ทางอารมณ์ สตปิ ญั ญา รา่ งกาย สงั คม และ
Everyday Life) จติ วิญญาณ

๓) สมรรถนะหลกั ◊ สืบสอบความรู้ด้วยหลักฐานสนับสนุนเชิงประจักษ์
ด้านการสบื สอบ เรื่องราวเก่ียวกับสุขภาวะ ทั้งด้านสุขภาพกายและ
ทางวิทยาศาสตร์และ สขุ ภาพจติ
จติ วิทยาศาสตร์ ◊ สร้างผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะด้วย
(Scientific Inquiry and องค์ความร้แู ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
Scientific Mind)

๔) สมรรถนะหลกั ◊ ใชภ้ าษาองั กฤษเกยี่ วกบั ค�ำ ส�ำ คญั หรอื นยิ ามค�ำ ส�ำ คญั
ดา้ นภาษาอังกฤษ เกยี่ วกับสขุ ภาพพลานามยั
เพ่ือการส่อื สาร
(English for ◊ ใช้ภาษาอังกฤษเกย่ี วกบั ข้นั ตอน หรอื การด�ำ เนินการ
Communication) เกีย่ วกบั สุขภาพพลานามัย

◊ ใชภ้ าษาองั กฤษทเี่ ปน็ เนอ้ื หาเกย่ี วกบั สขุ ภาพพลานามยั
เป็นขอ้ ความหรอื บทอ่านสน้ั ๆ

◊ สืบค้นข้อมูลจากตำ�ราหรืออินเทอร์เน็ตที่เป็นภาษา
องั กฤษเพอ่ื การศกึ ษาความรเู้ กย่ี วกบั สขุ ภาพพลานามยั

◊ ใช้สมรรถนะภาษาอังกฤษดา้ นการฟัง หรอื อ่าน และ
จดบันทกึ ย่อ ๆ เกยี่ วกบั สขุ ภาพพลานามยั

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 67

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
๕) สมรรถนะหลกั ◊ เรยี นรู้ พฒั นาทกั ษะ และเจตคตใิ นการสรา้ งสขุ ภาวะ
ดา้ นทักษะชีวิตและ
ความเจรญิ แหง่ ตน และสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ทง้ั ทางอารมณส์ ตปิ ญั ญารา่ งกาย
(Life Skills and สังคมและจิตวญิ ญาณของตนเองและผู้อ่นื
Personal Growth) ◊ เรียนรู้ พัฒนาทักษะ และเจตคติในการป้องกันภัย
โรคตา่ ง ๆ และการปฏบิ ตั ติ นให้มสี ขุ ภาวะ

๖) สมรรถนะหลัก ◊ เรียนรู้เกี่ยวกับโรคภัยที่เกิดจากการทำ�งาน
ด้านทกั ษะอาชพี การประกอบอาชพี และการประกอบการ
และการเป็น
ผู้ประกอบการ ◊ วางแผน ปฏิบัติการป้องกันภัย โรคต่าง ๆ และ
(Career Skills and การปฏบิ ตั ติ นใหม้ สี ขุ ภาวะในการท�ำ งาน การประกอบ
Entrepreneurship) อาชพี และการประกอบการ

◊ วางแผน ปฏบิ ตั กิ ารฝกึ ฝนสรา้ งอาชพี และการประกอบ
การทเี่ กยี่ วกบั การสรา้ งสขุ ภาวะและสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
ทง้ั ทางอารมณส์ ตปิ ญั ญารา่ งกายสงั คมและจติ วญิ ญาณ

๗) สมรรถนะหลัก ◊ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ ประเมนิ ขอ้ มลู และเหตผุ ล สรปุ และ
ด้านทักษะการคิด ใหค้ วามเหน็ ในเรอื่ งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สขุ ภาพพลานามยั
ขน้ั สงู และนวัตกรรม ของตนเองและบุคคลรอบตวั
(Higher-Order ◊ ตัดสินใจเรื่องตา่ ง ๆ เกยี่ วกับสุขภาพพลานามยั
Thinking Skills and ของตนเองและบุคคลรอบตัวบนฐานข้อมูลเหตุผล
Innovation : HOTS และหลกั ฐานทส่ี บื คน้ ดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งรอบ
Critical Thinking, ด้านและเหมาะสมกบั บริบททางสงั คมไทย
Problem Solving, ◊ ระบุปัญหาที่เกิดขึ้นเก่ียวกับสุขภาพพลานามัยของ
Creative Thinking) ตนเองและบคุ คลรอบตวั วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หา
หาวธิ กี ารแกป้ ญั หาและเลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หาทเี่ หมาะสม
ทีส่ ดุ
◊ ลงมอื วางแผนในการป้องกนั หรอื แกป้ ญั หาที่เกิดข้นึ
เกย่ี วกบั สขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและบคุ คลรอบ
ตวั ด้วยตนเองอย่างเปน็ ขัน้ ตอนและเปน็ ระบบ

68 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

◊ มคี วามยดื หยนุ่ ทางความคดิ /มองและใหค้ วามเหน็ เกยี่ ว
กบั การปอ้ งกนั และการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพพลานามยั
ของตนเองและบคุ คลรอบตวั ดว้ ยแงม่ มุ ทห่ี ลากหลาย

◊ คดิ รเิ รมิ่ สง่ิ ใหม่ ๆ เกยี่ วกบั การปอ้ งกนั การดแู ลรกั ษาและ
สง่ เสรมิ สขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและบคุ คลรอบตวั
ที่แตกต่างจากเดมิ

๘) สมรรถนะหลัก ◊ จดั การเวลาในการใชส้ อ่ื เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพ
ดา้ นการรู้เท่าทันสื่อ และการพักผอ่ น
สารสนเทศ และ ◊ ศกึ ษาและวิเคราะหผ์ ลิตภณั ฑด์ า้ นสุขภาพ โฆษณา
ดจิ ทิ ลั (Media, และสอ่ื ออนไลน์ท่สี ่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ
InformationandDigital
Literacy: MIDL)

๙) สมรรถนะหลัก ◊ ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ในการปอ้ งกนั ภยั โรคตา่ ง ๆ ของตน
ด้านการท�ำ งาน และผู้อ่นื
แบบรวมพลัง เปน็ ทมี ◊ เป็นผู้นำ� และ/หรือร่วมกันสร้างสภาพปลอดโรค
และมภี าวะผู้นำ� ปลอดภยั และสรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี ง่ เสรมิ สขุ ภาวะของคน
(Collaboration, ในชมุ ชน
Teamwork and
Leadership)

๑๐) สมรรถนะหลกั ◊ ใช้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย เพื่อนำ�เสนอไปสู่
ดา้ นการเปน็ พลเมอื ง การปฏิบัติและยกระดับไปสู่การเปลี่ยนแปลง
ทเ่ี ข้มเเขง็ /ตื่นรู้ทีม่ ี ในครอบครัว ชุมชน และสังคม
ส�ำ นกึ สากล ◊ นำ�ระบบประกันสุขภาพไปใช้ในฐานะที่เป็นกลไก
(Active Citizen with พฒั นาคุณภาพทางกายและจติ ใจของประชาชน
Global Mindedness)

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 69

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๑) สมรรถนะหลกั ◊ เรียนรู้คำ�ศัพท์เฉพาะในวิชาศิลปะ และใช้คำ�ศัพท์
ด้านภาษาไทย นำ�เสนอความคิดและจินตนาการผลงานศิลปะ
เพอื่ การสื่อสาร ประเภทต่าง ๆ
(Thai Language ◊ แลกเปล่ียนแบ่งปันความคิดและจินตนาการผ่าน
for Communication) ดนตรกี ารเตน้ รำ�และระบ�ำ การละครหรือทัศนศลิ ป์
◊ ใช้ภาษาไทยในการสร้างสรรค์ ตีความผลงาน
(Representations) ทางศิลปะเพื่อการเข้าใจหรือ
การถ่ายทอด/แสดงออกถงึ ความคดิ และจนิ ตนาการ

๒) สมรรถนะหลกั ◊ ใช้แนวคิด และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์
ด้านคณติ ศาสตร์ สัญลักษณ์ หลักคณิตศาสตร์ รูปทรงเรขาคณิต
ในชวี ติ ประจ�ำ วัน ในการออกแบบงานศลิ ปะต่าง ๆ
(Mathematics in
Everyday Life)

๓) สมรรถนะหลัก ◊ สืบสอบความรู้และมโนทัศน์เกี่ยวกับทัศนศิลป์
ดา้ นการสืบสอบ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ ด้วยหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ทางวทิ ยาศาสตร์ ◊ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ วิธกี ารใหมใ่ นทศั นศิลป์ ดนตรี
และจติ วทิ ยาศาสตร์ และนาฏศลิ ปด์ ว้ ยกระบวนการสรา้ งงานเชงิ นวตั กรรม
(Scientific Inquiry และสามารถแสดงเหตผุ ลและวธิ กี ารในการปรบั ปรงุ
and Scientific Mind งานของตนเอง
◊ ให้เหตุผลเพ่ือสนับสนุนหรือถกเถียงในคุณค่าของ
ความงามสู่การตดั สินในการประเมนิ

๔) สมรรถนะหลกั ◊ ใช้ภาษาองั กฤษเก่ยี วกบั คำ�ศพั ทเ์ ฉพาะในวชิ าศลิ ปะ
ด้านภาษาอังกฤษ และใช้คำ�ศัพท์นำ�เสนอความคิดและจินตนาการผล
เพ่ือการสอ่ื สาร งานศลิ ปะประเภทต่าง ๆ
(English for
Communication) ◊ ใช้ภาษาองั กฤษเกี่ยวกับขัน้ ตอน หรือการด�ำ เนินการ
เกย่ี วกบั การสร้างงานศิลปะประเภทตา่ ง ๆ

◊ ใช้ภาษาอังกฤษที่เป็นเน้ือหาในวิชาศิลปะ และ
การนำ�เสนอความคิดและจินตนาการผลงานศิลปะ
ประเภทต่าง ๆ เป็นขอ้ ความหรอื บทอ่านสน้ั ๆ

70 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

◊ สืบค้นข้อมูลจากตำ�ราหรืออินเทอร์เน็ตที่เป็นภาษา
อังกฤษเพ่ือการศึกษาความรู้เก่ียวกับคำ�ศัพท์เฉพาะ
ในวิชาศิลปะ และใช้คำ�ศัพท์นำ�เสนอความคิดและ
จนิ ตนาการผลงานศลิ ปะประเภทต่าง ๆ

◊ ใชส้ มรรถนะภาษาอังกฤษด้านการฟัง หรอื อา่ น และ
จดบันทกึ ยอ่ ๆ เกีย่ วกับคำ�ศัพท์เฉพาะในวิชาศิลปะ
และใช้คำ�ศัพท์นำ�เสนอความคิดและจินตนาการ
ผลงานศิลปะประเภทตา่ ง ๆ

๕) สมรรถนะหลัก ◊ รบั รู้ และช่นื ชมความงามของศิลปวฒั นธรรม
ด้านทกั ษะชวี ิตและ ◊ พัฒนาสุนทรียภาพของตนและผู้อื่น ผ่านการสร้าง
ความเจรญิ แหง่ ตน
(Life Skills and งานศลิ ปะ
Personal Growth)

๖) สมรรถนะหลัก ◊ ส่งเสริมการทำ�งาน การประกอบอาชีพ และการ
ดา้ นทักษะอาชีพและ ประกอบการโดยใช้หลักการทางศิลปะ สุนทรียะ
การเปน็ ผปู้ ระกอบการ ความงดงามของธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรมมา
(Career Skills เพม่ิ มูลคา่ ในผลิตภณั ฑ์
and Entrepreneurship)

๗) สมรรถนะหลกั ◊ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ ประเมนิ ขอ้ มลู และเหตผุ ล สรปุ และ
ดา้ นทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู ใหค้ วามเหน็ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั งานศลิ ปะและสนุ ทรยี ภาพ
และนวตั กรรม ◊ ฝึกฝนตัดสินใจเก่ียวกับศิลปะและสุนทรียภาพ
(Higher-OrderThinking บนฐานข้อมลู เหตุผล และหลักฐานที่สืบคน้ ดว้ ยการ
Skills and Innovation : ใช้เทคโนโลยีอย่างรอบด้านและเหมาะสมกับบริบท
HOTS Critical ทางสงั คมไทย
Thinking, Problem ◊ ระบปุ ระเดน็ ปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั งานศลิ ปะ
Solving, Creative และสนุ ทรยี ภาพ วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หา หาวธิ กี าร
Thinking) แกป้ ญั หา และเลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หาทเี่ หมาะสมทส่ี ดุ
◊ ลงมอื วางแผนในการแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั
งานศลิ ปะและสนุ ทรยี ภาพดว้ ยตนเองอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน
และเปน็ ระบบ

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 71

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
◊ มีความยืดหยุ่นทางความคิด/มองและให้ความเห็น

ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั งานศลิ ปะและสุนทรยี ภาพด้วยแงม่ มุ
ท่ีหลากหลาย
◊ คิดริเริ่มส่ิงใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปะและ
สนุ ทรยี ภาพท่แี ตกตา่ งจากเดมิ

๘) สมรรถนะหลกั ◊ ศึกษาองค์ประกอบทางศิลปะท่ีใช้ในสื่อท่ีมีผลต่อ
ด้านการรู้เท่าทันส่ือ อารมณ์และความรสู้ ึกของผูร้ บั สาร
สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั ◊ ใชค้ วามร้เู กี่ยวกบั การประกอบสร้าง (Construct)
(Media, Information ของส่ือ มาน�ำ เสนอด้วยรปู แบบของศลิ ปะตา่ ง ๆ
and Digital Literacy : เพอ่ื สอ่ื สารความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื
MIDL)

๙) สมรรถนะหลัก ◊ ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกนั ในการสรา้ งสรรคง์ านศิลปะ
ด้านการทำ�งาน ◊ ใชง้ านศลิ ปะในการเรยี นรแู้ นวคดิ การอยรู่ วมกนั แบบ
แบบรวมพลัง เป็นทมี รวมพลงั และการสรา้ งความสมั พันธ์ทด่ี ี
และมภี าวะผ้นู ำ�
(Collaboration,
Teamwork and
Leadership)

๑๐) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้รูปแบบทางศิลปะ ดนตรี การแสดง ละคร
ดา้ นการเปน็ พลเมอื ง เป็นเครื่องมือในการส่ือสารความคิดความเข้าใจ
ที่เข้มเเข็ง/ตื่นรู้ที่มี เชิงการเมอื ง
ส�ำ นกึ สากล ◊ เช่ือมโยงสัมพันธ์งานศิลปะของศิลปิน/บุคคล
(Active Citizen ในระดบั ชาติ อาเซยี น และโลก ในฐานะทเ่ี ปน็ อารยธรรม
with Global รว่ มกันของมนษุ ยชาติ
Mindedness)

72 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

กล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๑) สมรรถนะหลัก ◊ ฟงั พดู อา่ น และเขยี นค�ำ ศพั ทท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั กระบวนการ
ดา้ นภาษาไทย ทำ�งาน การประกอบอาชพี การประดิษฐค์ ดิ คน้ และ
เพือ่ การส่ือสาร การสร้างสรรคผ์ ลงาน
(Thai Language ◊ ใช้ภาษาไทยในการแลกเปลี่ยนแบ่งปันความคิด
for Communication) และขอ้ มลู เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจกระบวนการท�ำ งาน
การประกอบอาชีพ การประดิษฐ์คิดค้น และ
การสรา้ งสรรคผ์ ลงานอนั น�ำ ไปสกู่ ารคน้ พบความถนดั
ทจี่ ะไปสกู่ ารประกอบอาชพี ในอนาคต โดยแสดงถงึ
การเคารพในสทิ ธแิ ละผลงานของผอู้ ืน่

๒) สมรรถนะหลกั ◊ ใช้แนวคิด และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์
ดา้ นคณิตศาสตร์ ในการสรา้ งพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพต่าง ๆ
ในชวี ติ ประจำ�วนั
(Mathematics in ◊ นำ�คณิตศาสตร์ไปใช้ในการเป็นผู้ประกอบการ
Everyday Life) ทง้ั การบรหิ ารคน การบรหิ ารทนุ การบรหิ ารทรพั ยากร
บริหารเวลา และการตลาดอย่างมีจรรยาบรรณ และ
รับผิดชอบตอ่ สงั คม

◊ ใช้ความรู้เกี่ยวกับปริมาณ ความถี่ การจัดพ้ืนท่ี
การวัด และสถิติ เพื่อสร้างทางเลือกในการทำ�งาน
และการสร้างอาชีพ

๓) สมรรถนะหลัก ◊ ใชว้ ธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื สบื สอบความรเู้ กยี่ วกบั
ด้านการสบื สอบ ส่ิงของและเครื่องใช้ในชีวิตประจำ�วัน รวมท้ัง
ทางวิทยาศาสตร์ บ่มเพาะทักษะการทำ�งาน ทักษะการสร้างงาน
และจติ วิทยาศาสตร์ การมีลักษณะนิสัยทำ�งานอย่างกระตือรือร้น
(Scientific Inquiry ตรงต่อเวลา ประหยัด ปลอดภัย สะอาด รอบคอบ
and Scientific Mind และจติ ส�ำ นึกในการอนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อม

๔) สมรรถนะหลัก ◊ ใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับคำ�สำ�คัญ หรือนิยาม
ด้านภาษาองั กฤษ ค�ำ ส�ำ คญั เกย่ี วกบั กระบวนการท�ำ งานการประกอบอาชพี
เพอื่ การสือ่ สาร การประดิษฐ์คิดค้น และการสร้างสรรคผ์ ลงาน
(English for
Communication)

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 73

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
๕) สมรรถนะหลกั
ดา้ นทักษะชวี ิตและ ◊ ใช้ภาษาอังกฤษเก่ียวกับกระบวนการทำ�งาน การ
ความเจริญแห่งตน ประกอบอาชพี การประดษิ ฐค์ ดิ คน้ และการสรา้ งสรรค์
(Life Skills and ผลงาน
Personal Growth)
◊ ใช้ภาษาอังกฤษที่เป็นเน้ือหาเกี่ยวกับกระบวนการ
ทำ�งาน การประกอบอาชพี การประดิษฐ์คิดค้น และ
การสร้างสรรค์ผลงานเปน็ ขอ้ ความหรอื บทอ่านสัน้ ๆ

◊ สืบค้นข้อมูลจากตำ�ราหรืออินเทอร์เน็ตท่ีเป็นภาษา
อังกฤษเพื่อการศึกษาความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ
ท�ำ งาน การประกอบอาชีพ การประดษิ ฐ์คดิ ค้น และ
การสรา้ งสรรค์ผลงาน

◊ ใชส้ มรรถนะภาษาองั กฤษดา้ นการฟงั หรอื อา่ น และจด
บนั ทกึ ยอ่ ๆ เกย่ี วกบั กระบวนการท�ำ งาน การประกอบ
อาชพี การประดษิ ฐค์ ดิ คน้ และการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน

◊ บรหิ ารจดั การชวี ติ ในดา้ นการท�ำ งานการประกอบอาชพี
ทเี่ หมาะสม และสมดลุ มคี วามพอดโี ดยนอ้ มน�ำ หลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้

๖) สมรรถนะหลกั ◊ นำ�ข้อมูลเกี่ยวกับความสนใจ ความถนัดของตนเอง
ดา้ นทักษะอาชพี มาใช้ในการเลือกอาชพี ท่เี หมาะสม
และการเปน็
ผปู้ ระกอบการ ◊ พัฒนาทักษะในการทำ�งานด้วยตนเอง โดยยึดหลัก
(Career Skills and ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติงาน การ
Entrepreneurship) บรหิ ารจดั การ และการจัดการดา้ นการเงนิ

๗) สมรรถนะหลกั ◊ วิเคราะห์ วิพากษ์ ประเมินข้อมูลและเหตุผล สรุป
ด้านทักษะการคดิ และให้ความเห็นเกี่ยวกับการทำ�งานการประกอบ
ขน้ั สูงและนวตั กรรม อาชพี และการดำ�รงชีวติ
(Higher-OrderThinking ◊ ฝึกฝนการตัดสินใจเกี่ยวกับการทำ�งานการประกอบ
Skills and Innovation : อาชีพและการดำ�รงชีวิต โดยใช้ข้อมูลเหตุผลและ
HOTS Critical หลกั ฐานทส่ี บื คน้ ดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งรอบดา้ น
Thinking, Problem และเหมาะสมกบั บริบททางสังคมไทย
Solving, Creative
Thinking)

74 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
◊ ระบปุ ญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ ในการท�ำ งานการประกอบอาชพี

หรอื การด�ำ รงชวี ติ วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หาหาวธิ กี าร
แกป้ ญั หาและเลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หาทเ่ี หมาะสมทสี่ ดุ
◊ ลงมือแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในการทำ�งานการประกอบ
อาชพี หรอื การด�ำ รงชวี ติ ดว้ ยตนเองอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน
และเป็นระบบ
◊ มีความยืดหยุ่นทางความคิด/มองและให้ความเห็น
ในการทำ�งานการประกอบอาชีพหรือการดำ�รงชีวิต
ด้วยแง่มุมที่หลากหลายคิดริเร่ิมส่ิงใหม่ ๆ ในการ
ทำ�งานการประกอบอาชพี

๘) สมรรถนะหลกั ◊ เรยี นรแู้ นวทางคา้ ขายและท�ำ ธรุ กรรมในโลกออนไลน์
ด้านการร้เู ท่าทนั สือ่
สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั
(Media, Information
and Digital Literacy :
MIDL)

๙) สมรรถนะหลกั ◊ กำ�หนดเป้าหมาย และปฏิบัติงานร่วมกันแบบรวม
ดา้ นการทำ�งาน พลังในการท�ำ งาน การประกอบอาชีพ การประดิษฐ์
แบบรวมพลงั เป็นทมี คดิ คน้ และการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน จนบรรลเุ ปา้ หมาย
และมภี าวะผูน้ ำ� ◊ ใช้ภาวะผู้นำ�ในการสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อื่น
(Collaboration, ให้ความร่วมมือในการทำ�งาน การประกอบอาชีพ
Teamwork and การประดิษฐ์คิดค้น และการสร้างสรรค์ผลงาน
Leadership) จนบรรลเุ ป้าหมาย
◊ ใชส้ นั ตวิ ธิ ใี นการจดั การปญั หาความขดั แยง้ ความคดิ เหน็
ทแ่ี ตกต่าง เก่ยี วกับการทำ�งาน การประกอบอาชพี

๑๐) สมรรถนะหลัก ◊ วิเคราะห์งานอาชีพที่ไม่เป็นธรรม แรงงานเด็กและ
ดา้ นการเปน็ พลเมอื ง ผหู้ ญงิ และเสนอแนวทางการแก้ปญั หา
ทเี่ ขม้ เเขง็ /ตน่ื รู้ ◊ เรียนรู้กลไกทางวิชาชีพและสหภาพแรงงาน
ท่ีมีสำ�นกึ สากล ในการพฒั นาวชิ าชพี และดแู ลสวสั ดกิ ารของคนท�ำ งาน
(Active Citizen with
Global Mindedness)

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 75

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๑) สมรรถนะหลัก ◊ ใชภ้ าษาไทยในการฟงั พดู อา่ นเขียน ค�ำ ศพั ท์ และ
ดา้ นภาษาไทย สาระในบทอา่ นต่าง ๆ
เพอื่ การสอ่ื สาร ◊ ใช้ภาษาไทยในการแลกเปลีย่ นเรยี นรูเ้ รอื่ งราวตา่ ง ๆ
(Thai Language
for Communication)

๒) สมรรถนะหลกั ◊ เรียนรู้คำ�ศัพท์ และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
ด้านคณิตศาสตร์ ผ่านภาษาต่างประเทศ
ในชวี ิตประจ�ำ วัน
(Mathematics in ◊ สนทนาเกย่ี วกบั แนวคดิ ทางคณติ ศาสตรโ์ ดยใชภ้ าษา
Everyday Life) ตา่ งประเทศ

◊ ใช้ภาษาสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร
สื่อความหมาย สรปุ ผลและน�ำ เสนอที่ถูกตอ้ งโดยใช้
ภาษาต่างประเทศ

๓) สมรรถนะหลกั ◊ สืบสอบความรู้และมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์
ดา้ นการสบื สอบ โดยใช้ภาษาต่างประเทศ
ทางวทิ ยาศาสตร์ ◊ เรียนรู้แบบจำ�ลอง เช่น ประโยค ภาพ สัญลักษณ์
และจิตวทิ ยาศาสตร์ ที่ช่วยอธิบายจากความคิดให้เห็นเป็นรูปธรรม
(Scientific Inquiry โดยใช้ภาษาตา่ งประเทศ
and Scientific Mind) ◊ สร้างผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ และส่ือสาร
ความคดิ โดยใช้ภาษาต่างประเทศ

๔) สมรรถนะหลัก ◊ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการฟงั พดู อา่ นเขยี น ค�ำ ศพั ท์
ด้านภาษาองั กฤษ และสาระในบทอ่านตา่ ง ๆ
เพอื่ การสอื่ สาร
(English for ◊ ใช้ภาษาต่างประเทศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Communication) เร่อื งราวต่าง ๆ

๕) สมรรถนะหลกั ◊ เรียนรู้การจัดการชีวิต การพึ่งพาและพัฒนาตนเอง
ดา้ นทักษะชีวิตและ จากการแสวงหา/สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลด้วย
ความเจรญิ แห่งตน ภาษาต่างประเทศ
(Life Skills and
Personal Growth)

76 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น

๖) สมรรถนะหลกั ◊ เรียนรู้การทำ�งาน อาชีพ และการประกอบการ
ด้านทักษะอาชีพและ จากการแสวงหา/สบื คน้ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ภาษาตา่ งประเทศ
การเปน็ ผปู้ ระกอบการ
(Career Skills and
Entrepreneurship)

๗) สมรรถนะหลกั ◊ วิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินเน้ือหาท่ีเป็นภาษา
ด้านทักษะการคิด ต่างประเทศ สรุปเน้ือหา และเสนอความเห็นของ
ข้นั สูงและนวัตกรรม ตนเองเป็นภาษาต่างประเทศ
(Higher-OrderThinking ◊ ตดั สนิ ใจในเรอื่ งตา่ ง ๆ บนฐานของขอ้ มลู เหตผุ ลและ
Skills and Innovation : หลักฐานอย่างรอบด้านและเหมาะสมตามบริบท
HOTS Critical เชิงวฒั นธรรมผ่านการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ
Thinking, Problem ◊ ระบปุ ญั หา วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หา หาวิธกี ารแก้
Solving, Creative ปัญหา และเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมท่ีสุด
Thinking) ส่อื สารโดยใช้ภาษาตา่ งประเทศ
◊ อธบิ ายกระบวนการแกป้ ญั หาทตี่ นเองไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ
อย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบโดยใช้ภาษาต่าง
ประเทศ
◊ ปรบั ความคดิ ของตนเองใหม้ คี วามยดื หยนุ่ หลากหลาย
แงม่ มุ และสอ่ื สารด้วยการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ
◊ คิดริเร่ิมส่ิงใหม่ ๆ ด้วยการใช้ภาษาต่างประเทศ
ในรปู แบบแตกตา่ งจากเดมิ

๘) สมรรถนะหลกั ◊ ศึกษาเรียนรู้ภาษาและลักษณะท่ีมาของการส่ือสาร
ด้านการรู้เท่าทันส่ือ ผา่ นสอ่ื และเทคโนโลยีดจิ ิทลั
สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั
(Media, Information
and Digital Literacy :
MIDL)

๙) สมรรถนะหลกั ◊ ปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อเรียนรู้คำ�ศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
ดา้ นการท�ำ งาน การสร้างความสัมพันธ์อันดี การทำ�งานร่วมกัน
แบบรวมพลัง เป็นทีม การมีภาวะผู้นำ� และการปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะ
และมภี าวะผู้นำ� สมาชิกกลุ่ม
(Collaboration,
Teamwork and
Leadership)

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน 77

สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
◊ ปฏิบัติงานร่วมกันเพ่ือเรียนรู้และพัฒนาทักษะ

การฟงั พดู อา่ น เขยี น และสอื่ สารดว้ ยภาษาตา่ งประเทศ
ผา่ นเรอื่ งราวทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดี
การทำ�งานร่วมกนั การใชภ้ าวะผนู้ ำ� และการปฏิบัติ
หนา้ ที่ในฐานะสมาชิกกลมุ่

๑๐) สมรรถนะหลัก ◊ เรยี นรคู้ �ำ ศพั ทเ์ กยี่ วกบั การเมอื งการปกครอง กฎหมาย
ดา้ นการเปน็ พลเมอื ง ส่ิงแวดลอ้ มแรงงาน สนธิสญั ญา

ท่ีเขม้ เเขง็ /ตน่ื รู้ ◊ เรียนรู้งานเขียนและวรรณกรรมคลาสสิกเกี่ยวกับ
ท่ีมีส�ำ นึกสากล การเปล่ยี นแปลงทางสังคมในระดบั ชาติและสากล
(Active Citizen with
GlobalMindedness)

๓.๒ แนวทางการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั สู่การพฒั นาผู้เรียน
การนำ�กรอบสมรรถนะหลักมาสู่การพัฒนาผู้เรียนในช้ันเรียนและ
ในโรงเรยี นท�ำ ไดห้ ลายทาง ในทน่ี ขี้ อเสนอแนะ ๖ แนวทาง ซง่ึ ครสู ามารถเลอื กใชต้ าม
ความพรอ้ มและบรบิ ทโรงเรียนและความถนดั ของตนดังน้ี
แนวทางที่ ๑ ใช้งานเดมิ เสริมสมรรถนะ
เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดแทรกสมรรถนะ ซ่ึงครูเห็นว่าสอดคล้องกับ
บทเรียนนั้นเข้าไป และคิดกิจกรรมเสริม เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะน้ัน
เพ่ิมข้ึน เป็นการช่วยเพิ่มการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เข้มข้น มีความหมาย และ
เกดิ สมรรถนะทตี่ อ้ งการ
แนวทางที่ ๒ ใชง้ านเดิม ตอ่ เติมสมรรถนะ
เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ต่อยอด เพ่ิมเติมจากงานเดิม ให้ต่อเนื่องไปถึง
ข้ันการฝึกฝนการนำ�ความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ได้เรียนรู้แล้วไปประยุกต์ใช้
ในสถานการณท์ หี่ ลากหลาย เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะในเรอื่ งทเ่ี รยี นรนู้ นั้
แนวทางท่ี ๓ ใช้รูปแบบการเรียนรู้ สู่การพัฒนาสมรรถนะ
เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มีการนำ�รูปแบบการเรียนรู้ต่าง ๆ มาวิเคราะห์
เชอ่ื มโยงกบั สมรรถนะทส่ี อดคลอ้ งกนั และเพม่ิ เตมิ กจิ กรรมทส่ี ามารถชว่ ยพฒั นา

78 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

สมรรถนะนน้ั ใหเ้ พมิ่ ขนึ้ อยา่ งชดั เจน อนั จะสง่ ผลใหก้ ารเรยี นการสอนตามรปู แบบ
การเรยี นรู้ท่ีใช้มีประสทิ ธิภาพเพิ่มข้นึ ดว้ ย
แนวทางที่ ๔ สมรรถนะเปน็ ฐาน ผสานตวั ช้ี
เป็นการจัดการเรียนรู้โดยนำ�สมรรถนะท่ีต้องการพัฒนาเป็นตัวตั้งและ
นำ�ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกันมาออกแบบการสอนร่วมกัน เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
ทั้งเนื้อหาสาระและทักษะตามท่ีตัวชี้วัดกำ�หนดไปพร้อม ๆ กันกับการพัฒนา
สมรรถนะหลกั ทตี่ ้องการ
แนวทางท่ี ๕ บรู ณาการ ผสานหลายสมรรถนะ
เป็นการจัดการเรียนรู้ โดยนำ�สมรรถนะหลักหลายสมรรถนะเป็นตัวตั้ง
และวิเคราะห์ตัวช้ีวัดที่เกี่ยวข้อง แล้วออกแบบการสอนท่ีมีลักษณะเป็น
หนว่ ยบรู ณาการทช่ี ว่ ยใหผ้ เู้ รยี น ไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งเปน็ องคร์ วมโดยเหน็ ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งวชิ า/กลุม่ สาระการเรยี นรู้ต่าง ๆ
แนวทางท่ี ๖ สมรรถนะชวี ติ ในกจิ วัตรประจำ�วนั
เป็นการสอดแทรกสมรรถนะท่ีส่งเสริมการทำ�กิจวัตรประจำ�วันต่าง ๆ
ของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพมากข้ึน เป็นการใช้กิจกรรมในชีวิต
ประจำ�วันที่ทำ�อยู่แล้ว เป็นสถานการณ์ในการฝึกฝนสมรรถนะ ซึ่งนอกจาก
จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะทต่ี อ้ งการแลว้ ยงั ชว่ ยท�ำ ใหก้ ารท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั
ของผเู้ รยี นมคี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพมากข้ึนดว้ ย
แต่ละแนวทางมคี วามเชื่อมโยงกนั ดงั แผนภาพ

เเนวทางการจัดการเรยี นการสอน
ฐานสมรรถนะ ๖ เเนวทาง
ในกิจวัตรประจำ�วัน
แนวทางที่ ๖ : สมรรถนะชีวิต แนวทางท่ี ๔ : แนวทางท่ี ๕ : บูรณาการ ผสานหลายสมรรถนะ
สมรรถนะเปน็ ฐาน ผสานตัวชีว้ ดั

แนวทางที่ ๓ : ใชร้ ปู แบบการเรยี นรู้ สู่การพฒั นาสมรรถนะ
แนวทางท ่ี ๒ : ใช้งานเดมิ ต่อเตมิ สมรรถนะ
แนวทางที่ ๑ : ใชง้ านเดมิ เสรมิ สมรรถนะ

รายละเอยี ดแตล่ ะแนวทางมดี ังน้ี

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 79

แนวทางที่ ๑ : ใช้งานเดมิ เสรมิ สมรรถนะ
สอดแทรกสมรรถนะทีส่ อดคล้องกบั บทเรยี น คิดกิจกรรมเสริม

เพิม่ การเรียนรูใ้ หเ้ ข้มข้น มีความหมาย และเกิดสมรรถนะทตี่ ้องการ
ลักษณะ
การสอนแนวทางท่ี ๑ น้ีเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดแทรกสมรรถนะ
ซึง่ ครเู ห็นวา่ สอดคลอ้ งกับบทเรยี นน้ันเขา้ ไป และคดิ กิจกรรมเสรมิ เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียน
ได้พัฒนาสมรรถนะน้ันเพิ่มข้ึน เป็นการช่วยเพ่ิมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เข้มข้น
มคี วามหมาย และเกิดสมรรถนะทต่ี อ้ งการ
การสอนระดบั น้ี เหมาะสมส�ำ หรบั ครทู ปี่ กตไิ ดส้ ง่ เสรมิ นกั เรยี นใหม้ คี ณุ สมบตั ิ
ต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสอนเนื้อหาสาระ โดยระบุเป็นวัตถุประสงค์การเรียนรู้
และกิจกรรมการเรียนการสอน ในแผนการจัดการเรียนการสอนของตนอยู่แล้ว
เช่น ฝึกกระบวนการกลุ่ม ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะและวิธกี าร
ทางประวตั ศิ าสตร์ เปน็ ตน้ ครไู มไ่ ดเ้ ปลย่ี นแปลงแผนการจดั การเรยี นการสอนและ
กิจกรรมการสอนของตนเองเลย เพียงแต่พิจารณาว่ามีสมรรถนะตัวใดท่ีเข้ากัน
กับการสอนของตน เช่น สมรรถนะหลักด้านทักษะการคิดข้ันสูงและนวัตกรรม
สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร เป็นตน้ แล้วน�ำ สมรรถนะด้านน้ัน
มาบรรจไุ วใ้ นแผนการจดั การเรยี นการสอนของตน การท�ำ เชน่ นจ้ี ะชว่ ยกระตนุ้ ให้
ครูตระหนักในสมรรถนะนน้ั และกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นเกดิ สมรรถนะนน้ั ในระหว่าง
เรยี นไปพร้อมกบั การเรียนเนอื้ หา ทักษะ ตามปกตขิ องตนมากยงิ่ ข้ึน
ขนั้ ตอนด�ำ เนนิ งาน
๑) ทบทวนสมรรถนะ ทง้ั ๑๐ ดา้ นใหเ้ ขา้ ใจและพรอ้ มใชใ้ นการออกแบบ
กิจกรรม (สำ�หรับครูท่ีเร่ิมทำ�อาจทำ�เป็นตารางวิเคราะห์และวิเคราะห์ทีละ
กจิ กรรม เพราะจะชว่ ยใหว้ เิ คราะหไ์ ดง้ า่ ยขน้ึ เมอื่ คลอ่ งขน้ึ กอ็ าจเพยี งแคว่ เิ คราะห์
ในใจ หรอื เขยี นโนต้ สน้ั ๆ ก�ำ กบั ไว้ โดยไมต่ อ้ งระบอุ ยา่ งเปน็ ทางการในแผนการจดั
การเรียนการสอนก็ได้)

80 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

๒) น�ำ มาเทยี บกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ของตน
๓) เลือกและระบุสมรรถนะท่สี อดคลอ้ งกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรแู้ ละ
กจิ กรรมการเรยี นการสอนของตน มาระบไุ วใ้ นตอนตน้ ของแผนการจดั การเรยี น
การสอนของตน
๔) คดิ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ เ่ี สรมิ สรา้ งสมรรถนะนน้ั โดยบรู ณาการเขา้ ไป
ในกิจกรรมเดิมอยา่ งกลมกลืน
๕) ปรับจุดประสงคก์ ารเรียนร้ใู ห้ครอบคลุมสมรรถนะทเ่ี พิ่มเตมิ
๖) ระบุวิธีการวัดและประเมินสมรรถนะทเี่ พม่ิ เติม
ตัวอย่าง แผนการจัดการเรียนการสอนแนวทางที่ ๑ : ใช้งานเดิม
เสรมิ สมรรถนะ
สำ�หรับตัวอย่างของแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีจะเสนอน้ี นำ�ผลงาน
ของครูผู้สอนท่านหนึ่งที่ทำ�ข้ึนเพ่ือใช้ในการสอนนักเรียน ซ่ึงยังไม่สมบูรณ์
ในหลายสว่ น และเมอ่ื ไดม้ กี ารเพม่ิ เตมิ / เสรมิ กจิ กรรมบางสว่ น กท็ �ำ ใหน้ กั เรยี น
พัฒนามากขึ้น รายละเอียดของแผนการจัดการเรยี นรู้เดมิ มีดังนี้

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
หนว่ ยการเรียนร ู้ ของเลน่ ของใช้ หนว่ ยย่อย วัสดุหรรษา
สาระการเรยี นรู้
๑. ความรู้ (K : Knowledge)
- ลกั ษณะของเล่นของใช้
- ชนดิ ของวัสดุทีใ่ ช้ท�ำ ของเล่นของใช้
- คุณค่าของของเลน่ และของใช้
๒. ทกั ษะ / กระบวนการ / กระบวนการคิด (P : Practice)

- ทกั ษะสังเกต ส�ำ รวจ และบนั ทึกข้อมูล
- กระบวนการท�ำ งานกล่มุ
- ใช้ภาษา ฟงั พูด อ่าน เขียน

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 81

๓. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A : Attitude)
- รับผดิ ชอบ
- ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื

จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนมีความรู้เก่ียวกับของเล่นของใช้ และสามารถระบุชนิดของ

วัสดทุ ีใ่ ช้ในของเลน่ ของใชร้ อบตัว (K)
๒. นักเรยี นเกดิ ความตระหนักในคณุ ค่าของของเลน่ ของใชร้ อบตัว (A)
๓. นักเรยี นมีทกั ษะในการสงั เกต สำ�รวจ และบนั ทึกขอ้ มูลเกี่ยวกับวสั ดุที่

ใชใ้ นของเล่นของใชร้ อบตัว (P)
๔. นักเรยี นใชก้ ระบวนการท�ำ งานกลุ่มในการส�ำ รวจและสรปุ ผลเกี่ยวกับ

วสั ดทุ ่ีใชใ้ นของเลน่ ของใช้ และคุณค่าของของเลน่ และของใช้ (P)
๕. นักเรยี นใช้ความสามารถในการใช้ภาษา ฟงั พดู อา่ น เขยี น ในการ

ส�ำ รวจ น�ำ เสนอ และอภปิ รายรว่ มกัน (P)
๖. นกั เรียนมคี วามรับผิดชอบ และยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ (A)

กจิ กรรมการเรยี นการสอน
๑. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นกลมุ่ ละ ๓-๔ คน โดยใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ มนี กั เรยี นเกง่

ปานกลาง และออ่ นอยใู่ นกลมุ่ เดยี วกนั แบง่ หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ และรว่ มกนั วางแผน
ในการสงั เกตรวบรวม บนั ทึก และสรุปผล

๒. ครูนำ�นักเรียนออกไปสำ�รวจรอบโรงเรียน เป็นเวลา ๑๕–๒๐ นาที
เพ่ือสังเกตและรวบรวมสิ่งของต่าง ๆ ท้ังท่ีเป็นของเล่นและของใช้ให้ได้
อย่างน้อย ๕ อย่าง และร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของวัสดุ
ที่ใช้ทำ�ของเล่นและของใช้ และคุณค่าของของเล่นและของใช้แต่ละอย่าง
บนั ทึกขอ้ มลู ลงในแบบฝกึ
ข้อเสนอแนะ

จากกิจกรรมขา้ งต้นสามารถเพิม่ กจิ กรรมเพ่ือการพฒั นาสมรรถนะตา่ ง ๆ
ได้ดังนี้

82 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

๑. เสรมิ กิจกรรมในชว่ งตน้ ซ่ึงชว่ ยพัฒนาสมรรถนะดงั นี้
๑) ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร : พูดสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ

ในชวี ติ ประจ�ำ วนั บอกความรสู้ กึ นกึ คดิ ของตน เลา่ เรอ่ื งและเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ หรอื
บอกผ่านการเล่นบทบาทสมมตุ ิ
๒) ทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู และนวตั กรรม : ชแ้ี จงเหตผุ ลของการตดั สนิ ใจ
ในเร่ืองต่าง ๆ ในชีวิตประจำ�วันของตน และบอกได้ว่าการตัดสินใจของตนมี
ความเหมาะสมอยา่ งไร
กิจกรรมท่เี สริมมีดงั นี้
ตงั้ ค�ำ ถามใหน้ กั เรยี นการสงั เกต เกย่ี วกบั ของเลน่ ของใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั
และวสั ดทุ ใ่ี ชท้ �ำ ของเลน่ ของใช้ โดยครนู �ำ เสนอของเลน่ และของใชท้ เี่ ตรยี มมาให้
นกั เรียนสงั เกตและพจิ ารณา แลว้ ถามว่าสิ่งใดเปน็ ของเลน่ และสิ่งใดเปน็ ของใช้
หลังจากตอบคำ�ถามแล้ว ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย ดังน้ี “เพราะเหตุใด
นักเรียนจงึ คิดว่าสิง่ ทน่ี ักเรยี นตอบเป็นของเลน่ หรอื ของใช”้

๒. เสริมกิจกรรมในชว่ งทา้ ยซงึ่ ชว่ ยพัฒนาสมรรถนะดังนี้
ภาษาไทยเพือ่ การสอื่ สาร : พดู สื่อสารในสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ
ประจำ�วัน บอกความรสู้ กึ นึกคิดของตน เลา่ เร่อื งและเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ หรือบอก
ผา่ นการเลน่ บทบาทดว้ ยสันตวิ ธิ ี

กิจกรรมท่เี สริมมีดังน้ี
๑) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำ�เสนอผลการสำ�รวจของกลุ่ม
หนา้ ช้ันเรยี น
๒) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหาข้อสรุป เก่ียวกับลักษณะ
ความแตกตา่ งของของเล่นของใช้ วสั ดุทใี่ ช้ และคุณคา่ ของของเลน่ ของใช้
กิจกรรมเสนอแนะดังกล่าวทำ�ให้ผู้เรียนเรียนรู้เพิ่มขึ้น โดยครูอาจจะ
ปรับจุดประสงค์ใหเ้ ปน็ จดุ ประสงคเ์ ชงิ สมรรถนะและจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดงั น้ี
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการสำ�รวจ ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล
ภาษาไทยในการส่ือสารและกระบวนการกลุ่มในการสำ�รวจ นำ�เสนอ และ
อภปิ รายรว่ มกนั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรแู้ ละความตระหนกั ในคณุ คา่ ของของเลน่ ของใช้
รอบตัว (C)

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 83

๑. นกั เรียนมคี วามรเู้ ก่ยี วกับของเลน่ ของใช้ และสามารถระบชุ นิด
ของวัสดุที่ใช้ในของเล่นของใชร้ อบตัว (K)

๒. นกั เรยี นเกดิ ความตระหนกั ในคณุ คา่ ของของเลน่ ของใชร้ อบตวั (A)
๓. นักเรียนมีทักษะการสังเกต สำ�รวจ และบันทึกข้อมูลเก่ียวกับ
วสั ดทุ ่ใี ช้ในของเลน่ ของใชร้ อบตัว (P)
๔. นักเรียนมีทักษะการชี้แจงเหตุผลในการตัดสินใจว่าสิ่งใดเป็น
ของเลน่ ส่ิงใดเป็นของใช้ (P)
๕. นักเรียนใช้กระบวนการทำ�งานกลุ่มในการสำ�รวจและสรุปผล
เกยี่ วกบั ลกั ษณะความแตกตา่ งของของเล่นของใช้ วสั ดทุ ใ่ี ช้ และคณุ ค่าของของ
เลน่ ของใช้ (P)
๖. นักเรียนใช้ความสามารถในการใช้ภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน
ในการสำ�รวจ นำ�เสนอ และอภปิ รายร่วมกัน (P)
๗. นกั เรยี นมที กั ษะการคดิ แปลความ สงั เคราะห์ สรปุ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั
ลักษณะความแตกต่างของของเล่นของใช้ วัสดุท่ีใช้ และคุณค่าของของเล่น
ของใช้ (P)
๘. นกั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบ และยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื (A)

แนวทางท่ี ๒ : ใช้งานเดมิ ตอ่ เติมสมรรถนะ

การพฒั นาการสอนเดมิ ของครผู า่ นการสอน โดยเนน้ สมรรถนะใหม้ ากขน้ึ
ดว้ ยการขยายตอ่ ยอดงานเดมิ เพิม่ สถานการณแ์ ละประสบการณ์
ใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกใช้ความรู้ ทักษะ และเจตคตใิ ห้มากข้ึน

เปน็ การสอนตามปกตทิ ม่ี กี ารเพม่ิ สถานการณใ์ หผ้ เู้ รยี นไดฝ้ กึ ใชค้ วามรู้
และทักษะต่าง ๆ ทไ่ี ดเ้ รียนรูแ้ ล้วในสถานการณต์ า่ ง ๆ ท่ีหลากหลาย ซง่ึ จะชว่ ย
ใ ห้ผ้เู รยี นเกดิ สมรรถนะท่ตี อ้ งการ

84 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

ขัน้ ตอนการดำ�เนนิ การ
๑) พจิ ารณากิจกรรมท่กี �ำ หนดไว้เดมิ แลว้ วเิ คราะห์วา่ ผเู้ รยี นสามารถ
ใช้ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติทไี่ ดเ้ รยี นร้แู ลว้ ให้เปน็ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไร
๒) เลือกสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนได้ใช้ ความรู้ ทักษะ
และเจตคตทิ ่ีไดเ้ รียนรู้แลว้
๓) ออกแบบกจิ กรรมทจ่ี ะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นไดฝ้ กึ ใหผ้ เู้ รยี นใชค้ วามรู้ ทกั ษะ
และเจตคติในสถานการณท์ ีก่ ำ�หนด
๔) ปรบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรูใ้ ห้ครอบคลมุ สมรรถนะทไี่ ดฝ้ กึ เพ่มิ ข้นึ
๕) เพิม่ วิธกี ารวัดประเมนิ ผลสถานะทีไ่ ด้ฝกึ เพิ่มเตมิ

ตัวอย่าง แผนการจัดการเรียนการสอนแนวทางที่ ๒ : ใช้งานเดิม
ต่อเติมสมรรถนะ
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนร้ใู นแนวทางท่ี ๒ น้ี มีลักษณะเดียวกับ
แนวทางท่ี ๑ คือ นำ�ผลงานของครูผู้สอนท่านหน่ึงท่ีทำ�ขึ้นเพ่ือใช้ในการสอน
นักเรียน ซ่ึงยังไม่สมบูรณ์ในหลายส่วน เม่ือได้มีการเพ่ิมเติมกิจกรรมที่
ผู้เรียนสามารถนำ�ความรู้ท่ีเรียนไปใช้ก็จะทำ�ให้ผู้เรียนมีสมรรถนะเพิ่มขึ้น
รายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรูเ้ ดมิ มีดงั นี้
กลุม่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
ระดับ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓
หนว่ ยการเรยี นรู้ เทคนคิ การสร้างสรรคง์ านศลิ ปะ :
ประตมิ ากรรมนูนตํ่า
สาระการเรียนรู้
๑. ความรู้ (K)
- ลักษณะ วสั ดุ อปุ กรณ์ และวธิ ีการสรา้ งประตมิ ากรรมนนู ต่าํ
- การละเลน่ ไทย
๒. ทักษะ / กระบวนการ / กระบวนการคดิ (P)
- ทกั ษะการอภปิ รายเกยี่ วกบั ลกั ษณะ วสั ดุ อปุ กรณ์ และวธิ กี ารสรา้ ง
ประติมากรรมนนู ตา่ํ

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รียนระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน 85

- ทกั ษะในการคิด และบอกเหตผุ ลในการเลอื ก สร้างประตมิ ากรรม
นนู ตา่ํ เก่ยี วกบั การละเลน่ ของไทย

- ทักษะจากการปัน้ ดินน้ํามนั ในการสรา้ งสรรคป์ ระติมากรรมนูนตํา่
- ทักษะพ้นื ฐานในการใช้วสั ดุ อปุ กรณส์ ร้างงานทัศนศลิ ป์
๓. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)

- มีความสุขและสนกุ สนานเพลดิ เพลินในการสร้างสรรคผ์ ลงาน
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

๑. นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ลกั ษณะ วสั ดุ อปุ กรณ์ และวธิ กี าร
สรา้ งประตมิ ากรรมนนู ตํา่ และการละเลน่ ไทย (K)

๒. นักเรียนนำ�ทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์มาใช้สร้างงาน
ประตมิ ากรรมนูนต่าํ เกย่ี วกับการละเล่นไทยได้ (P)

๓. นกั เรียนมีความสขุ และสนกุ ในการสรา้ งผลงาน (A)
กิจกรรมการเรยี นการสอน

๑. นำ�ผลงานตัวอย่างงานประติมากรรมนนู ต่ําให้นักเรยี นดู
๒. ตั้งคำ�ถามว่า ส่ิงท่ีนักเรียนเห็นคืออะไร ทำ�จากอะไร มีวิธีการทำ�
อยา่ งไรบ้าง
๓. ครูอธิบายงานประติมากรรมในรูปแบบต่าง ๆ พร้อมให้นักศึกษา
ยกตวั อย่างงานประติมากรรมนนู ตา่ํ

๔. ครู และนักเรียนร่วมอภิปรายพดู คุยเก่ยี วกบั การละเล่นของไทย
๕. ครใู หน้ กั เรยี นเลอื กการละเลน่ ไทย คนละ ๑ อยา่ ง ในการสรา้ งสรรค์
งานประติมากรรมนูนตํ่า ร่างภาพการละเล่นไทยที่เลือก พร้อมเขียนบรรยาย
เหตุผลในการเลือกการละเลน่ ไทย
๖. นักเรียนนำ�เสนอเหตุผลในการเลือกการละเล่นไทยของตนเอง
ใหเ้ พอ่ื นฟงั หนา้ ชนั้ เรียน
๗. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายถงึ การสรา้ งสรรคง์ านประตมิ ากรรม
นูนตา่ํ

86 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

ข้อเสนอแนะ
จากกิจกรรมข้างต้น ขอเสนอแนะการเพิ่มกิจกรรมในคาบเรียนท่ี ๒

ท่ีเน้นให้นักเรียนได้มีโอกาสได้ใช้ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ีได้เรียนรู้
ขา้ งตน้ ดงั นี้
๑. ครูชวนคุยถึงปัญหา และแนวทางแก้ไข ท่ีพบจากการปฏิบัติงาน
ครั้งท่ีแลว้
๒. นำ�ภาพที่เลือกมาลงมือสร้างสรรค์งานประติมากรรมนูนต่ํา
จากดินนา้ํ มนั และนำ�เสนอผลงาน กระบวนการท�ำ งาน ความรสู้ ึก และสิง่ ท่ไี ด้
เรียนรู้ และพัฒนาขน้ึ
๓. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายถงึ วธิ กี ารสรา้ งสรรคง์ านประตมิ ากรรม
นนู ตํา่ และสรุปกระบวนการสร้างผลงานการป้ันดนิ น้าํ มัน
กิจกรรมเสนอแนะดังกล่าวทำ�ให้ผู้เรียนเรียนรู้เพิ่มข้ึน โดยครูอาจจะ
ปรับจุดประสงค์ให้เป็นจุดประสงค์เชิงสมรรถนะ และจุดประสงค์การเรียนรู้
ดงั น้ี
นักเรียนสามารถใช้จินตนาการและทักษะการป้ันดินนํ้ามัน
ในการสร้างประติมากรรมนูนตํ่าเก่ียวกับการละเล่นไทยด้วยดินนํ้ามัน
อย่างมคี วามสขุ (C)
๑. นักเรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับลกั ษณะ วสั ดุ อุปกรณ์ และ
วิธกี ารสร้างประติมากรรมนนู ตา่ํ และการละเลน่ ไทย (K)
๒. นักเรียนมีทักษะพ้ืนฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงาน
ทศั นศลิ ป์ (P)
๓. นักเรียนมีทกั ษะการป้ันดนิ นา้ํ มนั ในการสรา้ งผลงานประติมากรรม
นูนตํ่าเกีย่ วกบั การละเลน่ ไทย (P)
๔. นกั เรยี นมจี นิ ตนาการในการสรา้ งผลงานประตมิ ากรรมนนู ตา่ํ เกยี่ วกบั
การละเลน่ ไทย (P)
๕. นักเรียนมีความสุขในการสร้างผลงานประติมากรรมนูนต่ํา
เก่ยี วกับการละเล่นไทย (A)

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 87

แนวทางที่ ๓ : ใช้รูปแบบการเรยี นรู้ ส่กู ารพฒั นาสมรรถนะ
การออกแบบการสอนทใ่ี ชร้ ปู แบบการเรยี นรู้ สกู่ ารพฒั นาสมรรถนะน้ี
ชว่ ยใหผ้ สู้ อนเกดิ ความมน่ั ใจวา่ ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์
ของรปู แบบการเรยี นรแู้ ละท�ำ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะทต่ี อ้ งการ

เปน็ การสอนตามปกตทิ ม่ี กี ารน�ำ รปู แบบการเรยี นรทู้ ใ่ี ชเ้ ดมิ มาวเิ คราะห์
เชอ่ื มโยงกบั สมรรถนะทสี่ อดคลอ้ งกบั รปู แบบการเรยี นรู้ ซงึ่ ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การ
เรยี นรตู้ ามจุดประสงคข์ องรูปแบบการเรียนรู้ และเกดิ สมรรถนะที่มุ่งพัฒนา
ลักษณะ
การสอนตามแนวทางท่ี ๓ นี้ เปน็ การสอนทมี่ กี ระบวนการตามรปู แบบ
ทีค่ รคู ัดสรรว่าสามารถพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นได้ โดยพจิ ารณาความสอดคลอ้ ง
ระหว่างจุดหมายของรูปแบบ แนวคิดทฤษฎีพ้ืนฐานและขั้นตอนการสอนของ
รปู แบบกบั สมรรถนะท่มี ุ่งพัฒนา พจิ ารณาวา่ สามารถปรับหรอื เพิม่ ขัน้ ตอนย่อย
เพ่ือเพิม่ หรือเน้นทกั ษะส�ำ คญั ๆ ของสมรรถนะไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
รูปแบบต่าง ๆ มีจุดหมายหลักต่างกัน การจะบรรลุจุดหมายต้องใช้
แนวคิดทฤษฎีต่างกัน ขั้นตอนการสอนต้องเหมาะสมสอดคล้องกับแนวคิด
ทฤษฎีและทำ�ให้เกิดผลที่ผู้เรียนได้ตามจุดหมาย อาทิ รูปแบบซิปปา (CIPPA)
ใชท้ ฤษฎี Constructivism เป็นพ้ืนฐาน สามารถเชอ่ื มโยงไปสูก่ ารพฒั นาทักษะ
การคิดข้นั สงู และนวตั กรรมได้ รูปแบบสะเตม็ ศึกษามแี นวคิดพ้ืนฐานให้ผูเ้ รียน
เช่ือมโยงความรู้หลายวิชา ทักษะหลายด้านในการเรียนท่ีเน้นประสบการณ์
มีผลผลิตจากการเรียน สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันหรือในการทำ�งานได้
จงึ สามารถใชร้ ปู แบบนพี้ ฒั นาทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตน พฒั นาสมรรถนะ
การรเู้ ท่าทนั สอื่ สารสนเทศ และดิจิทัล ทักษะอาชพี และการเปน็ ผู้ประกอบการ
และทักษะการคิดข้นั สงู และการสร้างนวตั กรรมได้

88 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

ขนั้ ตอนการด�ำ เนินการ
๑) เลือกรูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสม สอดคล้องกับจุดประสงค์
การเรยี นรู้
๒) ศกึ ษารปู แบบการเรยี นรทู้ ไ่ี ดเ้ ลอื กไว้ ใหเ้ ขา้ ใจถงึ หลกั การ กระบวนการ
วิธกี าร จดุ อ่อน และจดุ แขง็ ของรปู แบบการเรยี นรู้
๓) กำ�หนดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการ/ขั้นตอนของรูปแบบ
การเรียนรู้
๔) ศึกษาสมรรถนะต่าง ๆ และพจิ ารณาว่าในกระบวนการ/กจิ กรรมที่
ก�ำ หนด มีสมรรถนะใดท่ีสามารถนำ�มาบูรณาการได้
๕) คดิ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่สี ามารถพัฒนาสมรรถนะท่ีบรู ณาการ
๖) ปรบั จุดประสงค์การเรียนรใู้ ห้ครอบคลมุ สมรรถนะท่ีเพ่ิมเติม
๗) เพมิ่ เตมิ วธิ กี ารวัด และประเมนิ สมรรถนะทีบ่ รู ณาการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ระดับ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕
หนว่ ยการเรยี นรู้ ปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ปญั หารอบตวั
สาระการเรยี นรู้
๑. ความรู้ (K)
- ปรากฏการณ์ในชีวติ ประจำ�วนั
๒. ทักษะ / กระบวนการ / กระบวนการคดิ (P)
- การคิดเชงิ เหตุผล
- การคิดหลากหลาย
- ทกั ษะการก�ำ หนดปญั หา วางแผน สบื คน้ ขอ้ มลู ปฏบิ ตั กิ าร วเิ คราะห์
สรปุ นำ�เสนอข้อมูล (P)
๓. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
- ความมุ่งมั่น
- ความรบั ผิดชอบในการทำ�งาน และการร่วมแก้ปัญหาทีเ่ กิดขึ้น
- การยอมรบั ความคดิ เห็นของผูอ้ ื่น

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 89


Click to View FlipBook Version