The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2021-11-15 03:15:17

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

แนวทางการนำกรอบสมรรถนะไปใช้

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรเู้ ดมิ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ทป่ี รับเพื่อพฒั นาสมรรถนะ

ที่นำ�มาบรู ณาการ

เปกรี่๒๑ะยจ..ว ำ�นนกวักักับันเเรรป(ียียKรนน)ามมกีคีทฏวักากษมาะรรกู้คณาวรา์ใกมนำ�เขชห้าีนวใิตดจ รใปนับรกะผนจาิดกั ร�ำ เชทรวอยีันำ�บนโไคดใสนรส้างกม�ำ งเาาารรรนจ็ ถทเใ(กำ�Cชี่ยงค้ าว)วนกาแับมลประู้รทาแกักกษฏ้ปะกัญาคหรวณาามร์ใ่วมนมงุ่ชมกีวันนั่ิต
ปญั หา วางแผน สบื คน้ ขอ้ มลู ปฏบิ ตั ิ ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
กรับาร๔๓ผวิด.. เินนชคอักักรบาเเรระใียียหนนนส์กยรมาอปุ รีคมทนวร�ำ�ำ าับงเมสาคนมนวอุ่งาขม(มAอ้ ั่นค)มิดลูแเห(ลP็นะ) คปำ�ราต๓๒กอ.. ฏบนนกไกัักดาเรเร้ ร(ยีณPียน)ใ์ มนนที ใชกั ชีวษิต้เะหปกตราะุผรจกลำ��ำ วใหันนนกด(Kปาญั)รคหาาดวาคงะแผเนน
ทขอเ่ี กงิดผขู้อนึ้ ่ืนแ(Aล)ะการร่วมแก้ปัญหา ขใสน้อบื กม๔คาลู้น.ร นขท(อ้ักPำ�มเง)ราลู ียนนป(ฏมAบิีค)ัตวกิาามรมวุ่งเิมคั่นราะแหลส์ ะรรุปับผนิดำ�เชสอนบอ

๕. นักเรียนยอมรบั ความคิดเหน็ ของผู้อื่นและ
การรว่ มแกป้ ญั หาท่เี กิดข้นึ (A)

กระบวนการของรปู แบบ สมรรถนะ/ทกั ษะยอ่ ย กจิ กรรม
การเรยี นการสอน ทบ่ี รู ณาการเพม่ิ เตมิ เสรมิ สมรรถนะ

โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ทบ่ี รู ณาการ

๑. ขั้นกำ�หนดโจทย์/ปัญหา กแปาลร-รา ะสกจตบื ฏติ ั้สงกวอคทิาบำ�รยทณถาาาศงต์ วมาา่ ทิ สงเยกตๆาี่ยรศ์ทวาพี่สกตบับร์ แใสหงลส้นะยัปักเรกเารยี่ กียวฏนกกบัตาสั้งรถคณาำ�นร์ ถอกาบามรตณทวั ี่์
ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร จำ � เ ป็ น
ใ นก- าครทรูเำ�สโคนรองสงาถนานการณ์
ทน่ี ่าสนใจ/นา่ สงสยั /ทา้ ทาย ในชีวิตประจ�ำ วนั
ทเแก นสี่ ยี่ นว-วทใ ขนจาอ้ กัใงงนเใรแนกยี ลกานะรารทกะรดค��ำำ หมโ้นคคนหรวดางาปขงมา้อรคนะมดิเูลดหทน็าี่
กข๒า้อ. รม-ขท ูลั้น�ำนเโวักพคาเริ่มรงงียแเงตนาผิมนรน่วโเมวดตากยรงนักียแาวมผราสกนงแบืากรผคานน้ ร แแลล-ะ ะผสเลาหมขตาอุกรงถปาเรรชาอื่ณกม์ฏตโยก่างางเรหณตๆ์ุ คขเห้อรตูมกุกูลราะปรตรณาุ้นก์ตใฏ่าหกง้พาิๆจรณาทร์แี่เณกลิดาะ
ปฏบิ ัตแิ ละร่วมกนั เตรยี มการ ที่เกดิ ขึ้นในชีวิตประจ�ำ วัน ขนึ้ ในชีวิตประจ�ำ วัน คาด
ทหงั้นดา้ า้ ทนี่ อแปุลกะรอณนื่ ์ สๆถานท่ี บทบาท -- คคาดิ ดหคละาเกนหหลาาคย�ำ ตอบ สคะมเผนลค�ำแตลอะบหอลยาา่กงหสลมาเหยตุ

90 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

กระบวนการของรปู แบบ สมรรถนะ/ทกั ษะยอ่ ย กจิ กรรม
การเรยี นการสอน ทบ่ี รู ณาการเพม่ิ เตมิ เสรมิ สมรรถนะ

โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ทบ่ี รู ณาการ

๓ . นขน้ัักทเรำ�ียโคนรปงฏงาิบนัติการทำ� - สามารถเขยี นแผนภาพ ครูให้นักเรียนนำ�ข้อสรุป
รแโคว หรบ-ลง รง่งสวาเบืมนรคีขยในอ้น้นลม/รสกัู้จูล�ำษาเรพณกว่ือจผะห/ู้ตเศชาา่ กึ ่ียคงษว�ำๆาตชจออาาาญบทกิ คแคอววยผาา่านมมงคภรงดิู้คู่มาขวยิอแางเมบตพเนบื่อข้าจอใำธ�จิบลแาอลยะง เทหสร่ีไนอืดอแ้จเบปากน็บกแจผา�ำ รนลทอภำ�งาอโพคยแรา่ผงงนงงภาา่ นมูยิ
ผหในเู้ร รสือ-ยีถ วนาทิธนสดีกปมั ารลผะรสัอกอของืน่ อบ้ใมกนๆาลู หรทเอ้ใอเี่นงนงปสน้ทถฏกาดบิ นาลตัทรเิจอ่ีใอรหงงงิ ้
๔น�ำ. เขนสกัั้นนเทอรยีเ�ำ เนโลควะารจงงดั เงเกผาานนรเนต�ำรยีเสมนกอาร กหทลราา้ืองพควดู ัดิทใคหยค้้าาวนศาเมากคส่ียดิ ตวสกรนับ์ทบั เี่เสรปน่ือ็นนุง ใเสพหนอื่น้ บั นกั สนเรน�ำยี นุเนสหนนร�ำออืเโสคดนดยั อใคคชา้ วเ้ นหามตสคผุงิ่ ทดลิ ี่

ปปชแ้ีญัระจหกงเาอหถบตกผุ เถลยีโดงยกมนั หีสลากัมฐาารนถ และหลักฐานประกอบ

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 91

แนวทางท่ี ๔ สมรรถนะเป็นฐาน ผสานตัวบ่งช้ี

การออกแบบการสอนท่ีใช้สมรรถนะเปน็ ตวั ต้งั ชว่ ยใหผ้ เู้ รียน
ได้พฒั นาคณุ สมบตั ิทจ่ี �ำ เป็นต่อการใช้ชีวิตในอนาคตของตน
ควบค่ไู ปกบั การมคี วามรู้ ทักษะส�ำ คญั ทก่ี ำ�หนดไว้ในหลักสูตร

...ให้ได้ท้ังปลา วธิ กี ารและเคร่ืองมอื จบั ปลา...
ลักษณะ
การสอนแนวทางท่ี ๔ นี้ เป็นการสอนโดยนำ�สมรรถนะและตัวชี้วัด
ทสี่ อดคลอ้ งกนั มาออกแบบการสอนรว่ มกนั เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรทู้ งั้ เนอื้ หาสาระ
และทักษะตามที่ตัวชี้วัดกำ�หนดไปพร้อมกับการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำ�เป็น
ตอ่ ชวี ติ การสอนแนวทางท่ี ๔ น้ี เหมาะส�ำ หรบั ครทู ไี่ ดท้ ดลองน�ำ สมรรถนะเขา้ มา
บรู ณาการในการเรยี นการสอนปกตขิ องตนตามแนวทางท่ี ๑ และ ๒ มาระยะหนง่ึ
จนมีความมั่นใจมากขึ้น และพร้อมที่จะก้าวออกจากการสอนแบบเดิม ๆ
ไปสู่การสอนท่ีเน้นสมรรถนะอย่างเต็มตัว หรือครูที่เห็นประโยชน์ของสมรรถนะ
และต้องการจะออกแบบแผนการสอนของตน โดยให้สมรรถนะเป็นตัวนำ�
แต่ขณะเดียวกันก็ครอบคลุมตวั ชวี้ ัดของหลกั สูตรอยา่ งครบถ้วน
ลกั ษณะของแผนการจดั การเรยี นการสอนแบบน้ี เปน็ การบรู ณาการสมรรถนะ
สำ�คัญ ๆ ที่เก่ียวข้องกับสิ่งท่ีครูต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ให้มีการจัด
การเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดฝ้ กึ การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ฝกึ ทกั ษะ และ
พัฒนาเจตคติ และคุณสมบัติต่าง ๆ ผ่านการปฏิบัติจริงในสถานการณ์ต่าง ๆ
อยา่ งกว้างขวาง
ขนั้ ตอน

๑. กำ�หนดสมรรถนะท่ตี ้องการพฒั นาผูเ้ รียน
๒. พจิ ารณาเนอ้ื หาสาระการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รในแตล่ ะวิชา / กลุม่

สาระ และตวั ช้ีวัดทสี่ อนในหลกั สูตรท่ีสอดคล้องกบั สมรรถนะที่เลือก
๓. กำ�หนดหัวข้อ / หัวเร่ือง ความรู้ ทักษะ และเจตคติสำ�คัญ และ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรทู้ ่ตี อ้ งการใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรู้

92 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

๔. ก�ำ หนดจุดประสงค์การเรยี นรู้ให้ครอบคลุมสมรรถนะที่กำ�หนด
๕. ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรทู้ เี่ ออ้ื ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ กดิ สมรรถนะทตี่ อ้ งการ
พฒั นา เนน้ การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ จดั ประสบการณท์ มี่ คี วามหมาย และสง่ เสรมิ
ใหผ้ เู้ รยี นใชค้ วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะทไี่ ดเ้ รยี นรแู้ ลว้ ในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ในชวี ติ จรงิ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดพ้ ฒั นาสมรรถนะและเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์
ท่ีวางไว้
๖. วางแผนการประเมนิ ผล โดยเนน้ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic
Assessment) ให้สอดคล้องและตอบรบั วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงสมรรถนะทีก่ ำ�หนดไว้
ต้ังแต่ต้น

ตัวอย่าง แผนการจัดการเรียนการสอนแนวทางที่ ๔ สมรรถนะเป็นฐาน
ผสานตัวบ่งชี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓
หน่วยการเรียนรู้ มาตราตวั สะกดทไ่ี มต่ รงตามมาตรา
เวลา ๓ ชั่วโมง
สมรรถนะหลัก
ภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร
๑. ฟงั ดู หรอื อา่ นบทอา่ น ขอ้ ความรู้ หรอื เรอ่ื งสนั้ ๆ ทใี่ ชภ้ าษางา่ ย ๆ
เกย่ี วกบั เมอื งไทยและวฒั นธรรมทด่ี งี ามของไทย มคี วามภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย
สามารถพดู หรือเขียนข้อความ เรอ่ื งสั้น ๆ ซ่งึ ใช้ประโยชนจ์ ากความรู้ หรอื สรา้ ง
ผลงานง่าย ๆ เช่น ภาพวาด แบบจ�ำ ลอง หรือสงิ่ ประดษิ ฐ์ท่ีใชค้ วามรูด้ ังกล่าว
๒. พดู สอ่ื สารในสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั บอกความรสู้ กึ
นึกคิดของตนเล่าเร่ืองและเหตุการณ์ต่าง ๆ หรือบอกผ่านการเเสดงบทบาท
สมมุติง่าย ๆ ได้ ตั้งคำ�ถามและตอบคำ�ถามให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างส้ัน ๆ
มีมารยาทในการพูด โดยคำ�นงึ ถงึ ความเหมาะสมกับกาลเทศะและผรู้ บั ฟงั
๓. เขยี นขอ้ ความ เรอ่ื งสน้ั ๆ เพอ่ื บอกความคดิ ความรสู้ กึ หรอื แตง่ เรอ่ื ง
ตามจนิ ตนาการ โดยมคี วามสามารถในการเขยี นระดบั A1 ตามทส่ี ถาบนั ภาษาไทย

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 93

สริ นิ ธรก�ำ หนด* สามารถเขยี นใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษาไทย และค�ำ นงึ
ถึงผ้อู า่ นและผู้ที่ตนเขยี นถึง

๔. ฟงั พดู อา่ น เขยี น อยา่ งมคี วามสขุ สนกุ กบั การเรยี นรู้ และทดลอง
ใช้หรอื เลือกใช้ภาษาไทยเพอ่ื วตั ถปุ ระสงคต์ า่ ง ๆ

การรู้เท่าทนั สือ่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ัล
๑. เลอื กสรรขอ้ มลู และสรา้ งสอื่ สารสนเทศในแบบตา่ ง ๆ แลว้ สอ่ื สาร
โดยคำ�นึงถึงผลทีเ่ กิดข้นึ ตอ่ ตนเองและผ้อู นื่
การท�ำ งานแบบรวมพลัง เป็นทมี และมีภาวะผู้น�ำ
๑. รับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่ืน สนบั สนนุ หรอื โต้แย้งความคิดเหน็
ของผู้อ่ืนอยา่ งมีเหตุผล
๒. ร่วมทำ�งานกลุ่มกับเพื่อน ให้ความร่วมมือในการทำ�งาน รับผิด
ชอบตอ่ บทบาทและหนา้ ทที่ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย ใสใ่ จในการท�ำ งาน พยายามท�ำ งาน
ให้ดีทสี่ ดุ และช่วยเหลือเพอื่ น เพื่อให้เกดิ ความส�ำ เร็จในการทำ�งานร่วมกนั
ทกั ษะชวี ิตและความเจริญแห่งตน
๑. มีวินัยในการปฏบิ ัตติ ามสุขบัญญตั ิ ท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วัน กนิ เล่น
เรียน ช่วยทำ�งาน พกั ผอ่ น นอนหลับอย่างพอดี พอเหมาะกับวยั
๒. ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบและข้อตกลงของครอบครวั และโรงเรยี น
รวมทงั้ มีสัมมาคารวะตอ่ ผูใ้ หญ่และปฏบิ ัติตนต่อผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ทักษะการคดิ ขั้นสงู และนวตั กรรม
๑. ฟัง/อ่านข้อมูลเรื่องราวส้ัน ๆ ท่ีง่าย ๆ ไม่มีความสลับซับซ้อน
มาก แลว้ สามารถสรปุ ความเข้าใจของตนและแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตผุ ล
เกย่ี วกบั เร่ืองนั้นได้
๒. ชแ้ี จงเหตผุ ลของการตดั สนิ ใจในเรอื่ งตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของตน
และบอกได้วา่ การตัดสินใจของตนมีความเหมาะสมอยา่ งไร
๓. ลงมอื แกป้ ญั หาดว้ ยตนเอง และรว่ มมอื กบั เพอ่ื นในการแกป้ ญั หา
โดยใช้วธิ ีการทเ่ี ลอื กไว้ แลว้ ตดิ ตามผลและประเมินผลการแก้ปัญหา
๔. สามารถคดิ คลอ่ ง คดิ หลากหลาย คดิ ยดื หยนุ่ คดิ จนิ ตนาการ และ
คิดรเิ รม่ิ เกยี่ วกบั ส่ิงต่าง ๆ ท่อี ย่รู อบตัว

94 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รียนระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

๕. จนิ ตนาการเรอื่ งราว ความคดิ แปลกใหมจ่ ากสงิ่ รอบตวั และแสดงออก
ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การเล่น การวาดภาพ การเล่านิทาน การพูดอธิบาย
การประดิษฐ์ การสร้าง การทำ�ของเล่น ของใช้ และการแสดงออกทางศิลปะ
ดนตรี นาฏศิลป์ และกีฬา
สาระการเรียนรู้ และตวั ชวี้ ัด
สาระท่ี ๑ การอา่ น
ท ๑.๑ ตวั ชีว้ ดั ชน้ั ปี ป.๓/๑ อ่านออกเสียงค�ำ ขอ้ ความเรื่องส้นั ๆ และ
บทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกตอ้ ง คล่องแคลว่
สาระท่ี ๒ การเขยี น
ท ๒.๑ ตัวชีว้ ดั ชน้ั ปี ป.๓/๒ เขยี นบรรยายเกยี่ วกับส่งิ ใดสิ่งหนึ่งไดอ้ ยา่ ง
ชัดเจน
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด
ท ๓.๑ ตวั ช้วี ัดชั้นปี ป. ๓/๑ เลา่ รายละเอียดเกี่ยวกบั เรื่องที่ฟงั และดู
ทง้ั ท่ีใหค้ วามรแู้ ละความบันเทิง
สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย
ท ๔.๑ ตัวชวี้ ัดช้ันปี ป. ๓/๑ เขยี นสะกดคำ�และบอกความหมายของค�ำ
จุดประสงค์เชงิ สมรรถนะ
ฟัง-พูด อ่าน-เขียนคำ� มาตราตัวสะกด แม่กด ตรงตามมาตรา
ทเ่ี ป็นคำ�โดด ๆ ในประโยค ข้อความ เรอ่ื งราวทปี่ รากฏในสอื่ ตา่ ง ๆ ทงั้ ในและ
นอกชนั้ เรยี นไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ ตามหลกั ภาษา มุง่ มั่นในการใช้ภาษา
เพอื่ น�ำ ความรเู้ รอื่ งมาตราตวั สะกด แมก่ ด ไปใชใ้ นการเขยี นเรอื่ งสนั้ และการแสดง
บทบาทสมมตจิ นสำ�เร็จ (C)
๑. นกั เรยี นสามารถอ่าน เขียนค�ำ มาตราตวั สะกด แม่กด ได้ (P)
๒. นักเรียนสามารถเขียนเร่ืองส้ันโดยใช้คำ�ที่อยู่ในมาตราตัวสะกด
แมก่ ด ได้ (P)
๓. นักเรยี นเลา่ เรอื่ งสั้นและแสดงบทบาทสมมุติจากเรอื่ งทแ่ี ต่งได้ (P)
๔. นักเรียนมีวนิ ัย และมุง่ มัน่ ในการท�ำ งานจนสำ�เรจ็ (A)

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 95

กจิ กรรมการเรียนรู้
ชว่ั โมงท่ี ๑
๑. ครูเปิดนิทานจากยูทูบ เร่ือง นิทานมาตราตัวสะกด ตอน เพื่อนรัก
ในฝนั ใหน้ ักเรยี นชม โดยนิทานมเี น้อื เรื่องที่มีคำ�ที่ตวั สะกดตามมาตรา “แมก่ ด”
๒. ครูต้ังคำ�ถามว่ามีคำ�ที่มีมาตราตัวสะกด “แม่กด” อะไรบ้าง โดยให้
นกั เรียนจบั คู่ และบอกค�ำ ตอบเป็นคู่
๓. ครนู �ำ ค�ำ มาเขยี นบนกระดานโดยครจู ดั หมวดหมขู่ องค�ำ ทไ่ี ดจ้ ากนกั เรยี น
ตามชนดิ ของคำ� เชน่ คำ�นาม ค�ำ กรยิ า ค�ำ วิเศษณ์ จากน้นั อ่านคำ�พร้อมกัน
๔. ครูให้นักเรียนนำ�คำ�จากที่ครูจัดหมวดหมู่ มาแต่งเร่ืองส้ัน โดยยก
ตัวอยา่ งประโยค ๒ ประโยคแล้วเชื่อมโยงให้เปน็ เนือ้ เรื่องสนั้ ๆ พร้อมใชค้ ำ�ถาม
ใคร ท�ำ อะไร ทไี่ หน อยา่ งไร เพ่อื ใหน้ ักเรยี นเกดิ ความเขา้ ใจในการแตง่ เร่อื งส้ัน
มากขึน้ จากนนั้ ครูใหน้ กั เรยี นแตง่ เรอ่ื งสน้ั คลู่ ะ ๑ เรื่อง (๕ นาท)ี เเลว้ ให้แตล่ ะคู่
น�ำ เสนอเร่ืองสัน้ ให้เพื่อนฟงั หน้าช้นั เรยี น
๕. เมื่อแต่ละคู่เล่าจบ นักเรียนและครูที่เหลือจะร่วมกันสรุปเรื่อง
ตง้ั คำ�ถาม และแสดงความคดิ เหน็ ดงั น้ี ตัวละครมใี ครบา้ ง คำ�ใดบา้ งมตี วั สะกด
อยใู่ นมาตรา แม่กด ขอ้ คดิ ทีไ่ ดจ้ ากเรอ่ื ง
ชั่วโมงที่ ๒-๓
๖. ครูนำ�นิทานของนักเรียนทุกคู่ ให้นักเรียนทุกคนช่วยกันคัดเลือก
เรื่องส้ันท่ีดี จำ�นวน ๕ เร่ือง จากนั้นครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน
เพ่ือจับสลากเร่ืองส้นั แลว้ นำ�มาแสดงบทบาทสมมตุ ิ
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด วางแผนการแสดงบทบาทสมมุติ
โดยครูคอยให้คำ�ปรึกษาและแนะนำ� ในเร่ืองการแสดง การเตรียมอุปกรณ์
การแสดง การแต่งกายในการแสดง (๒๐ นาท)ี
๘. นักเรียนแต่ละกล่มุ ฝึกซอ้ มการแสดงบทบาทสมมุติ (๒๐ นาที)
๙. ครจู บั สลากเพอื่ เลอื กนกั เรยี นแสดงบทบาทสมมตุ หิ นา้ ชนั้ ทลี ะ ๑ กลมุ่
(กลมุ่ ละ ๑๐ นาท)ี จากนนั้ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ จากเรอื่ งสนั้
ทน่ี กั เรยี นแสดง พรอ้ มให้ข้อเสนอแนะ
๑๐. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปพร้อมให้ข้อเสนอแนะโดยภาพรวม
ทุกกลุ่ม

96 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

แนวทางที่ ๕ : บูรณาการ ผสานหลายสมรรถนะ
การสอนสมรรถนะแบบบูรณาการชว่ ยใหผ้ ้เู รียนได้พฒั นา
สมรรถนะหลกั ครบถว้ น ไดเ้ รียนสาระการเรียนรกู้ ลุ่มต่างๆ

อยา่ งมีความหมาย อกี ทงั้ ช่วยให้ผูเ้ รียนสามารถน�ำ สง่ิ ท่เี รยี นรู้
ไปใช้ในชวี ิตประจ�ำ วนั ได้อย่างแทจ้ ริง
...รูจ้ รงิ เขา้ ใจชัด และใช้เปน็ ...


ลกั ษณะ
แนวทางที่ ๕ “บูรณาการ ผสานหลายสมรรถนะ” เป็นการสอน
โดยนำ�สมรรถนะหลักท้ัง ๑๐ ด้านเป็นตัวต้ัง และวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่เก่ียวข้อง
แล้วออกแบบการสอนท่ีมีลักษณะเป็นหน่วยบูรณาการที่ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้
อยา่ งเปน็ ธรรมชาตแิ ละเหน็ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวชิ า/กลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ
การบูรณาการ เป็นการจัดการเรียนรแู้ บบองค์รวมที่นำ�ส่ิงทเ่ี กิดขน้ึ จรงิ
ในชีวิต สังคม และโลก เชน่ สถานการณ์ ประเด็นสำ�คญั ในสงั คม ปรากฏการณ์
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ บั ผเู้ รยี นมาเชอ่ื มโยงกบั เนอ้ื หา ทกั ษะ และเจตคตใิ นทกุ กลมุ่
สาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับช่วงวัยของผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถเช่ือมโยง
การเรยี นกบั ประสบการณใ์ นชวี ิต สร้างประสบการณ์ ความรแู้ ละความสามารถ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ สรรถนะหลกั ทง้ั สบิ ดา้ นและน�ำ ไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ อยา่ ง
มีความสุขและเป็นพลเมืองไทยผู้ใส่ใจสังคม การสอนแบบบูรณาการจึงเป็น
แนวทางการสอน ทส่ี อดคลอ้ งกบั ปรชั ญาการสอนแบบสมรรถนะเปน็ ฐานมากทส่ี ดุ
ขั้นตอน
๑. ทบทวนสมรรถนะท้ัง ๑๐ ด้าน และวิเคราะหเ์ นื้อหาสาระ ความรู้
ทกั ษะทก่ี �ำ หนดเป็นตวั ชีว้ ัดของกลุ่มสาระต่าง ๆ
๒. กำ�หนดหนว่ ยการเรียนรู้ ท่ีสามารถสร้างความเชอื่ มโยงกบั เนือ้ หา
การเรียนรู้ท่ีสัมพันธ์และน่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน หรือเป็นหน่วย
การเรยี นรทู้ เ่ี ปน็ ภมู ปิ ญั ญา วธิ กี ารคดั เลอื กหนว่ ยการเรยี นรู้ สามารถท�ำ ไดห้ ลายวธิ ี เชน่

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 97

๒.๑ เร่ิมจากสิ่งที่ผู้เรียนสนใจหรือส่ิงที่สามารถกระตุ้นให้สนใจ
ไดง้ ่าย
๒.๒ เร่ิมจากปัญหาที่พบในผู้เรียน ในโรงเรียน ในสังคม และ
ออกแบบหน่วย ที่เอื้อให้ผู้เรียนได้เกิดประสบการณ์จากกิจกรรมท่ีจัด และ
เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ว่ี างไว้
๒.๓ เริ่มจากปัญหาสงั คม ประเดน็ ทางสังคม เหตกุ ารณท์ ่เี กดิ ข้ึน
ในระดับโรงเรียน ระดับชุมชน ระดับชาติ หรือระดบั โลก
๒.๔ เริ่มจากแนวคิด (Concept) สำ�คัญท่ีต้องการให้นักเรียน
ได้เรียนรู้ สรา้ งองคค์ วามรู้ และน�ำ แนวคิดน้ันไปใชใ้ นการด�ำ เนินชีวติ ประจำ�วัน
๓. ก�ำ หนดแนวคดิ และคดิ ค�ำ ถามใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวคดิ เนอ้ื หา และ
ต้งั ค�ำ ถามทโ่ี ต้แยง้ ได้เพ่อื ใหน้ ักเรียนไดฝ้ กึ คิด
๔. กำ�หนดขอบเขตเน้ือหาสาระการเรียนรู้ ทักษะ เจตคติ ท่ีกำ�หนด
เป็นตัวบง่ ชใี้ นแตล่ ะกลมุ่ สาระท่สี ัมพันธ์กบั หนว่ ยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ และ
การประเมนิ ผล
๕. กำ�หนดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยนำ�สมรรถนะมาเช่ือมโยงกับ
กจิ กรรมทีจ่ ดั ให้นกั เรียน เพอ่ื ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์
ในการวางแผนนน้ั เนื่องจากครมู ักคิดถงึ องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของ
การจดั การเรียนการสอนไปพร้อม ๆ กนั โดยคำ�นึงถึง นกั เรยี น สอ่ื ทรพั ยากรท่มี ี
ในบรบิ ทของตน การเรยี งล�ำ ดบั การเขยี นแผนการจดั การเรยี นการสอน จงึ อาจ
สลับ ยืดหยุน่ ได้ตามความถนัดของครู ส่ือทมี่ ี และบริบทของโรงเรียน
๖. ดำ�เนินการสอน นำ�ข้อมูล ข้อสังเกตจากการสอนมาประเมิน
ปรับแผนระหว่างสอน และปรับปรุงหลังสอนเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
หรอื พฒั นาสมรรถนะได้มากข้ึน
การสอนแบบบูรณาการน้ี เป็นแนวทางการสอนท่ีให้ความสำ�คัญกับ
ความสนใจ และความตอ้ งการจำ�เป็นของผเู้ รยี น จึงอาจมกี ารปรบั เพ่มิ หรือลด
เน้ือหาสาระ กิจกรรม ส่ือ และวิธีประเมินผล หลังจากสอนไปสักระยะ
ซ่งึ ครสู ามารถยดื หยนุ่ ไดต้ ามความเหมาะสม

98 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

ตวั อยา่ ง หนว่ ยการจดั การเรยี นรแู้ นวทางท่ี ๕ : บรู ณาการ ผสานหลายสมรรถนะ

ประเดน็ สำ�คญั ค�ำ ถามส�ำ คญั สาระความรู้
ปจั จุบัน สมรรถนะหลกั Key ในศาสตรส์ าขาต่างๆ

Current Local/ Core Questions Subject/
National & global Competencies Discipline Area

Issues

ผกั ปนเปอื้ นสารพษิ ๑๐สมรรถนะหลกั กอ่ นทจ่ี ะท�ำ กจิ กรรมน้ี นกั เรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
มีผลตอ่ สขุ ภาพ มีความร้สู ึกกับผักอย่างไรและ
ค ว-า มผรักสู้ แกึ หลละงัผเลรยีไมน้ทอ่ียกา่ินงทไรุกวัน
ม า-จ าผกักทแ่ไี หละนผลไมท้ ี่กินปลอดภยั
หรอื- ไมถา้่ อยากไดผ้ กั ทปี่ ลอดภยั จะ
ตอ้ --ง ทมผำ�ักีวออิธยนิีกา่ งทาไรรรียใด์ คบอื ้าองะใไนร?การหา
ความรู้เร่ืองผักอินทรีย์และ
การ- ปเลรากู เผชกัอื่ ขอ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ นต็
ไดท้- ้งั มหขีมน้ั ดตหอรนือวไธิมกี่ เาพรรปาละกู เหผกตั แใุ ดบบ
อนิ ---ท รถผผยี กกัั้าด์ ทมเแู รำ�ีปลาอรแะไะลมไโะยร่กเไชกดินนบ็ บ้ อ์ผเา้กยักงย่ี่าจวงอไะรยมา่ ีผงไลร
อย-า่ งหไรากจะเปิดร้านขายผักให้
ประสบความส�ำ เรจ็ และรบั ผดิ ชอบ
ต่อ-ส งั จคะมมจีวะิธตีก้อางรทใ�ำ ดอทะำ�ไรอบย้า่างงไรท่ี
จะชกั จูงให้เดก็ บรโิ ภคผกั มากข้ึน

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 99

ผลการเรียนรู้ ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ สนอแนะ เนอ้ื หาสาระ
LEARNING OUTCOME / SUGGESTED CONTENT
SPECIFIC COMPETENCIES LEARNING EXPERIENCE โยงกลับไปท่ตี วั ชวี้ ดั

ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร ตอนท่ี ๑ มหศั จรรยน์ า้ํ ผกั ปนั่ และ ความรู้ (Knowledge)
๑) รบั ฟงั การสนทนา ขอ้ ความสนั้ ๆ ตามรอยเส้นทางผกั
เรอื่ งราวงา่ ย ๆ ทนี่ �ำ เสนอในรปู แบบ ระยะเวลา ๒ สปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ต่าง ๆ อย่างตงั้ ใจ มมี ารยาท เขา้ ใจ มหศั จรรยน์ าํ้ ผักปัน วิทยาศาสตร์
และเพลดิ เพลินกบั สิง่ ที่ฟงั สามารถ คำ�ถามสำ�คัญ: (ว ๑.๒ ป.๓/๑
ต้ังค�ำ ถาม ตอบคำ�ถาม แสดงความ - กอ่ นท่ีจะท�ำ กิจกรรมนีน้ กั เรียน ว ๒.๑ ป.๓/๑ ว ๒.๒
รู้สึกและความคิดเห็นของตนท่ีมี มีความรู้สึกกับผักอย่างไร และ ป.๓/๑/๒/๓)
ตอ่ เรอื่ งทฟี่ ัง ยอมรับความคิดเหน็ ที่ ความร้สู กึ หลังเรียนอย่างไร
แตกตา่ งจากตน และน�ำ ความรทู้ ไี่ ด้ - ผกั ท�ำ อะไรได้บา้ ง กลุ่มสาระการเรียนรู้
จากการฟงั ไปใช้ในชวี ติ - ผกั มปี ระโยชนอ์ ย่างไร สังคมศึกษา ศาสนา
๒) พดู สอ่ื สารในสถานการณต์ า่ ง ๆ - ถา้ เราไม่กินผกั จะมีผลอยา่ งไร และวัฒนธรรม
ในชวี ติ ประจ�ำ วนั บอกความรสู้ กึ นกึ คดิ กิจกรรม/ประสบการณ์ (ส ๓.๑ ป.๓/๑/๒/๓
ของตนเลา่ เรอ่ื งและเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ - จุดประกายให้นักเรียนสนใจ ส ๕.๑ ป.๓/๑/๒/๓
หรอื บอกผา่ นการเลน่ บทบาทสมมตุ ิ การปลกู ผกั ด้วยกจิ กรรม ทำ�น้ําป่ัน ส ๕.๒ ป.๓/๑/๒/๔)
การแสดงง่าย ๆ ได้ ตัง้ ค�ำ ถามและ ผกั ผลไม้ ท�ำ อาหารจากผกั งานศลิ ปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ตอบค�ำ ถามใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งสน้ั ๆ จากส่วนตา่ ง ๆ ของผกั สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
มมี ารยาทในการพดู โดยค�ำ นงึ ถงึ ความ - ครูบอกสูตรน้ําป่ันผักของตน (พ ๑.๑ ป.๓/๑/๒/๓)
เหมาะสมกับกาลเทศะและผรู้ ับฟัง เรียนรคู้ �ำ ว่า ถ้วยตวง หน่วยวัด
๓) อ่านบทอ่าน ข้อความง่าย ๆ - ครูให้โจทย์คิดสูตรนํ้าป่ันของ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ าร
ทปี่ รากฏในสอื่ สงิ่ พมิ พ์และสง่ิ แวดลอ้ ม กลมุ่ ตัวเอง งานอาชพี และเทคโนโลยี
รอบตวั โดยมคี วามสามารถในการอา่ น - ทำ�งานกลุ่มคิดสูตรนํ้าปั่นผัก (ง ๑.๑ ป.๓/๑/๒/๓
ในระดบั A1 ตามทสี่ ถาบนั ภาษาไทย ร่วมกัน คุยกับพ่อแม่ คุยกับเพ่ือน ง ๓.๑ ป.๓/๑)
สิรนิ ธรกำ�หนด* สามารถตั้งคำ�ถาม และเลอื กสูตรนา้ํ ปัน่ ผัก
และหาขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการคดิ กอ่ นตดั สนิ ใจ - ใหค้ รูและเพอ่ื นชมิ และสมั ภาษณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
เชื่อ และนำ�ความรู้ ข้อคิดจากส่ิงท่ี ว่าชอบหรือไม่ชอบ เก็บข้อมูลทาง ภาษาไทย
อ่านไปใช้ประโยชน์ในชีวติ สถิติ ทำ�แผนภมู ริ ูปภาพ (ท๑.๑ป๓/๑/๒/๓/๕/๗/๘
๔) เขยี นขอ้ ความเรอ่ื งสนั้ ๆเพอื่ บอก - เขยี นสะทอ้ นการเรยี นรู้ เกย่ี วกบั ท ๒.๑ ป.๓/๒
ความคิด ความรู้สึก หรือแต่งเร่ือง ความรู้สึกของเขาท่ีมีต่อผักว่า ท ๓.๑ ป.๓/๑/๒/๓/๔/๕
ตามจนิ ตนาการ โดยมคี วามสามารถ เคยคิดวา่ ….ตอนนคี้ ดิ วา่ ….. ท ๔.๑ ป.๓/๑/๒/๔)
ในการเขียนในระดับ A1 ตามท่ี
สถาบันภาษาไทยสิรินธรกำ�หนด*
สามารถเขียนให้เข้าใจง่าย ถูกต้อง
ตามหลักภาษาไทย และคำ�นึงถึง
ผู้อ่านและผ้ทู ่ีตนเขียนถงึ

100 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

ผลการเรียนรู้ ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ สนอแนะ เน้อื หาสาระ
LEARNING OUTCOME / SUGGESTED CONTENT
SPECIFIC COMPETENCIES LEARNING EXPERIENCE โยงกลับไปท่ีตัวชี้วัด

๕) ฟงั พดู อา่ นเขยี นอยา่ งมคี วามสขุ ตามรอยเสน้ ทาง “กวา่ จะมาเปน็ ผกั ” กลุ่มสาระการเรียนรู้
สนกุ กบั การเรยี นรแู้ ละทดลองใชห้ รอื คำ�ถามส�ำ คัญ: ภาษาต่างประเทศ
เลือกใช้ภาษาไทยเพือ่ วตั ถปุ ระสงค์ - ผกั และผลไมท้ กี่ นิ ทกุ วนั มาจาก (ต ๑.๒ ป.๓/ ๑ /๓ /๔ /๕
ตา่ ง ๆ ทีไ่ หน ต ๒.๒ ป.๓/ ๑ ต.๓.๑
- ผกั และผลไมท้ ก่ี นิ ปลอดภยั หรอื ไม่ ป.๓/ ๑ ต ๔.๑ ป.๓/ ๑
คณิตศาสตรใ์ นชีวิตประจ�ำ วัน - ถา้ อยากไดผ้ กั ทป่ี ลอดภยั จะตอ้ ง ต ๔.๒ ป.๓/ ๑)
ใช้ศัพท์ สัญลักษณ์ แผนภูมิ ท�ำ อยา่ งไร
แผนภาพ อย่างง่าย ๆ เพื่อส่ือสาร - ผกั อินทรียค์ อื อะไร กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจในความคดิ ของตนเอง - มวี ธิ กี ารใดบา้ งในการหาความรู้ คณิตศาสตร์ (ค ๑.๑
ได้อย่างหลากหลายและเหมาะสม เรือ่ งผกั อนิ ทรีย์และการปลูกผกั ป.๓/๑/๒ค๑.๒ป.๓/๑/๒
กับวัย เนือ้ หา และสถานการณ์ - เราเช่ือข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ค ๒.๑ ป.๓/๑/๒/๕/๖
ไดท้ ั้งหมดหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ค ๕.๑ ป.๓/๑/๒)
การสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ - มีขั้นตอน วิธีการปลูกผักแบบ
จติ วิทยาศาสตร์ อินทรีย์ ดแู ล และเก็บเก่ียว อยา่ งไร กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
๑) สามารถเช่ือมโยงเหตุและ - ครูพานักเรียนไปสำ�รวจที่มา (ศ ๑.๑ ป. ๓/๑/๓/๔/
ผลของปรากฏการณ์ และเหตกุ ารณ์ ของผกั ไปตลาด และมแี บบสอบถาม ๕/๗/๘
ต่าง ๆ ที่เกดิ ขึ้นในชวี ิตประจ�ำ วัน ง่าย ๆ ให้นักเรียนถามแม่ค้า ศ ๑.๒ ป.๓/๒)
๒) ตงั้ ค�ำ ถามเกยี่ วกบั ปรากฏการณ์ โดยนักเรียนและครูร่วมกันเขียน
ตา่ ง ๆ ทพ่ี บในชวี ติ ประจ�ำ วนั คาดคะเน ค�ำ ถามทอี่ ยากรู้ - ประโยชน์ของผัก
หาค�ำ ตอบและคดิ วธิ กี ารหาค�ำ ตอบ - ผปู้ กครอง พาไปซปุ เปอรม์ าเกต็ ชนิดต่าง ๆ
โดยอาจใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ เครอื่ งมอื ชว่ ย บางคนปลกู ผักเอง - การปลกู ดแู ล รกั ษา
ในการสำ�รวจตรวจสอบ เก็บข้อมูล - น�ำ ขา่ วชาวสวน ผบู้ รโิ ภคทไ่ี ดร้ บั การปรบั ปรงุ ดนิ เกบ็ เกยี่ ว
และสรุปค�ำ ตอบ ผลกระทบดา้ นสขุ ภาพทมี่ สี าเหตจุ าก - ความหมายของผกั
๓) สามารถเขยี นแผนภาพ แผนภมู ิ การปลกู และบริโภคผกั ท่มี สี ารพิษ อินทรยี ์
แบบจำ�ลองอย่างง่าย เพื่ออธิบาย มาให้นักเรียนอ่านและให้นักเรียน - แมลงทเ่ี ปน็ ประโยชน์
ความรู้ ความเข้าใจ และความคิด ตั้งคำ�ถามและหาข้อมูลที่เก่ียวกับ เเละเป็นโทษกับพืช
ของตน ปัญหาด้านสุขภาพท่ีเกิดจากการ - ห่วงโซ่และสายใย
บริโภคผักทมี่ สี ารพิษ อาหาร
- ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ลงขอ้ สรปุ - ฤดูกาลและสภาพ
วา่ ปลกู ผกั เองดีกว่า อากาศที่เหมาะกับ
- สำ�รวจชนิดผักที่เพื่อน ๆ ชอบ การปลูกผกั ชนิดตา่ งๆ
และน�ำ ขอ้ มูลมารวบรวม จดั แสดง - การเก็บรวบรวม
เปน็ แผนภมู ริ ปู ภาพ เพอ่ื ชว่ ยในการ แปลผลขอ้ มูล
ตัดสินใจเลือกชนดิ ผกั ท่จี ะปลกู

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รยี นระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน 101

ผลการเรยี นรู้ ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ สนอแนะ เนื้อหาสาระ
LEARNING OUTCOME / SUGGESTED CONTENT
SPECIFIC COMPETENCIES LEARNING EXPERIENCE โยงกลับไปทีต่ วั ชวี้ ดั

ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร - ฝึกฝนทักษะการสืบค้นข้อมูล - การทำ�อาหารและ
๑) ฟงั หรอื อา่ นเขา้ ใจค�ำ ศพั ทท์ พี่ บ เชน่ การตัง้ ค�ำ ถาม การสัมภาษณ์ เคร่ืองดืม่ จากผัก
บอ่ ย ๆ และสำ�นวนพนื้ ฐานเก่ียวกับ การจดบนั ทกึ และน�ำ ขอ้ มลู มาศกึ ษา - องคป์ ระกอบของการ
ตนเองครอบครวั และสง่ิ ตา่ งๆรอบตวั เพอื่ ดคู วามเหมาะสมในการปลกู ผกั เปน็ ผู้ประกอบการ
๒) ฟงั เขา้ ใจและสามารถโต้ตอบ แตล่ ะฤดกู าล รวมถงึ ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ - ก า ร ส่ื อ ส า ร ที่ มี
กับผู้พูด/คู่สนทนาได้เมื่อคู่สนทนา จากผูเ้ ชีย่ วชาญ ประสทิ ธิภาพ
ใชส้ �ำ นวนงา่ ย ๆ พดู ชดั เจนและชา้ ๆ - ต้ังคำ�ถามเพื่อไปสัมภาษณ์ - ค�ำ โครงสรา้ งประโยค
และคู่สนทนาอาจพูดสำ�นวนนั้น ๆ เกษตรกร - ความเหมือนต่าง
ซั้า (Repetition) และพูดซ้ัาโดยใช้ - สัมภาษณ์เกษตรกรผู้ปลูกผัก ของเสียง คำ� ประโยค
ถ้อยค�ำ ใหม่ (Rephrasing) เมือ่ พูด อนิ ทรยี ์ สอนการเตรยี มดนิ การปลกู ระหว่างภาษาไทยและ
เก่ยี วกับหวั ข้อทคี่ าดเดาได้ การดูแล การป้องกันศัตรูพืช ภาษาองั กฤษ
๓) สามารถพดู หรอื เขยี นใหข้ อ้ มลู การเก็บเกี่ยว
ส่วนตัวเบื้องต้นเก่ียวกับตนเองโดย - หาความรู้เพ่ิมเติมจากส่ือสาร
ใช้คำ�และวลีท่ีส้ันและง่ายหรือใช้ สนเทศร่วมกบั ครู ผ้ปู กครอง ทกั ษะ (Skills) โยงกลบั
ประโยคพืน้ ฐานได้ ไปที่ตวั ชว้ี ดั
๔) สามารถจดจำ�และใช้คำ�ศพั ท์ - รอ้ งเพลงภาษาองั กฤษเกย่ี วกบั
ไดต้ ามระดับที่กำ�หนด ซ่ึงสว่ นใหญ่ ผกั ชือ่ ผัก ชอ่ื อาหาร
เป็นคำ�เด่ียว ๆ ระดับพ้ืนฐานและ - พูดและเขียนประโยคสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใช้วลีส้ัน ๆ เก่ียวกับสถานการณ์ วทิ ยาศาสตร์
ในชีวิตประจ�ำ วันท่ีพบได้ทว่ั ไป ภาษาองั กฤษง่าย ๆ (ว ๘.๑ ป.๓/๑/๒/๓/๔/
- บอกความรู้สึกของตนเองต่อ ๕/๖/๗/๘ ว ๒.๒ ป.๓ /๑/
๒/๓)
การกินผักเป็นภาษาองั กฤษ
ทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตน - เขยี นสะทอ้ นการเรียนรู้
๑) รจู้ ักตนเอง บอกส่งิ ท่ีสามารถ
ตอนท่ี ๒ ปลูกผัก รักษ์โลก กลุ่มสาระการเรียนรู้
ทำ�ได้ และสิ่งท่ีทำ�ไม่ได้ บอกได้ว่า ระยะเวลา ๔ สปั ดาห์ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ
ตนชอบ ไม่ชอบอะไร บอกความคดิ วฒั นธรรม
ความรสู้ กึ ความตอ้ งการ และปญั หา - วางแผนปลกู ผัก โดยวัดแปลง (ส ๒.๑ ป.๓/๓/๔/๓
ของตนได้ เพือ่ วางผังพ้นื ทใ่ี นการปลกู ส ๓.๑ ป.๓/๒
ส ๕.๑ ป.๓/๑/๒/๓
๒) มีวินัยในการปฏิบัติตามสุข - นำ�ความรู้จากเกษตรกรมาใช้ ส ๕.๒ ป.๓/๒/๔)
บญั ญตั ิ ท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั กนิ เลน่ เตรยี มดิน ปลูก ดแู ล
เรยี น ชว่ ยท�ำ งาน พกั ผอ่ น นอนหลบั
อยา่ งพอดี พอเหมาะกบั วยั - สังเกตเมล็ดพนั ธ์ และคาดเดา
ว่า เปน็ เมลด็ พันธ์ุของผักชนดิ อะไร
๓) ควบคมุ อารมณ์ ปรบั ตวั รว่ มเลน่ และทำ�งานศลิ ปะจากเมล็ดพันธุ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
และเรียนกับเพ่ือน ๆ ได้ รู้จักแบ่ง สุขศึกษาและพลศึกษา
ปัน สามารถแกป้ ัญหาดว้ ยสนั ตวิ ิธี - ลงมือปลูกผัก ดูแล แบ่งกลุ่ม (พ ๑.๑ ป.๓/๑/๒/๓
กันดูแล ออกแบบข้อตกลงและ พ ๒.๑ ป.๓/๒)
ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการดแู ลผกั ของกลมุ่ ตนเอง

102 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รยี นระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

ผลการเรยี นรู้ ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ สนอแนะ เนื้อหาสาระ
LEARNING OUTCOME / SUGGESTED CONTENT
SPECIFIC COMPETENCIES LEARNING EXPERIENCE โยงกลับไปท่ตี วั ชีว้ ัด

๔) ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและ - สงั เกตลกั ษณะของตน้ ผกั และ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ าร
ขอ้ ตกลงของครอบครวั และโรงเรยี น บนั ทกึ การเจรญิ เตบิ โตโดยการระบุ งานอาชพี และเทคโนโลยี
รวมทง้ั มสี มั มาคารวะตอ่ ผใู้ หญแ่ ละ ลักษณะของลำ�ต้น ใบ ความสูง (ง ๑.๑ ป.๓/๓)
ปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ความผิดปกตทิ ่ีพบ
- ศกึ ษาปัจจยั การเจริญเตบิ โต กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ทักษะอาชีพและการเป็น - เขียน วาด วิธีการปลูกผัก ภาษาไทย
ผูป้ ระกอบการ ปจั จยั การเจรญิ เตบิ โต และขนั้ ตอน (ท๑.๑ป.๓/๑/๒/๓/๕/๗/๘
๑) สามารถตั้งเป้าหมายในการ ของการปลูกผกั ท ๒.๑ ป.๓/๒
ทำ�งาน และต้ังใจทำ�งานให้สำ�เร็จ - ฝึกฝนการทำ�อาหารจากผัก ท ๓.๑ ป.๓/๑/๒/๓/๔/๕)
ตามเปา้ หมายทค่ี ดิ ไว้ ตอ่ เนอื่ งทุกสปั ดาห์
๒) ทำ�งานด้วยความเอาใจใส่ - เขียนสะท้อนการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษา
มคี วามเพียรอดทนพยายามท�ำ งาน การเจรญิ เตบิ โตของพืช ต่างประเทศ
ให้ดที ีส่ ดุ ตามความสามารถ (ต ๑.๒ ป.๓/ ๑ /๓ /๔ /๕
๓) มีทักษะพ้ืนฐานด้านการเงิน ตอนท่ี ๓ เถา้ แก่นอ้ ยใส่ใจโลก ต ๒.๒ ป.๓/ ๑
รจู้ กั ความหมายและคา่ ของเงนิ การ ระยะเวลา ๒ สัปดาห์ ต ๓.๑ ป.๓/ ๑ ต ๔.๑
ใชจ้ า่ ยเงนิ การออม รวู้ า่ เงนิ มาจาก คำ�ถามส�ำ คัญ: ป.๓/ ๑ ต ๔.๒ ป.๓/ ๑)
การท�ำ งานและมจี ำ�กัด สามารถให้ - หากจะเปดิ รา้ นขายผกั ใหป้ ระสบ
ความเหน็ ในการหาเงนิ ไดอ้ ยา่ งงา่ ย ๆ ความส�ำ เรจ็ และรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม กลุ่มสาระการเรียนรู้
๔) แสดงความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ตอ้ งทำ�อะไรบา้ ง คณิตศาสตร์ (ค ๒.๒
ผ่านการแสดงออกทางกิจกรรม - มีวิธีการใด ทำ�อย่างไรท่ีจะ ป.๓/๑/๒/๓ ค ๓.๑
ต่าง ๆ ท้ังกิจกรรมศิลปะ ดนตรี ชักจูงให้เด็กบริโภคผักมากข้ึน ป.๓/๑/๓ ค ๓.๒ ป.๓/๑/๒
นาฏศลิ ป์ การประดษิ ฐ์ หตั ถกรรม เพอื่ ชว่ ยในการตดั สนิ ใจเลอื กชนดิ ผกั ค ๔.๑ ป.๓/๑/๒
การเลน่ และการผลติ ชน้ิ งาน โดยใช้ ทจ่ี ะปลกู โดยท�ำ เปน็ แผนภมู ริ ปู ภาพ ค ๕.๑ ป.๓/๑/๒ ค ๖.๑
สอื่ และเทคโนโลยี กจิ กรรม/ประสบการณ์ ป.๓/๑/๒/๓/๔/๕/๖)
๑. ท�ำ งานกลมุ่ วางแผนและออกแบบ การบนั ทึก
ทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู และนวตั กรรม เพื่อเปิดร้านขายผลิตภัณฑ์อาหาร การตัง้ คำ�ถามและตอบ
๑) ช้ีแจงเหตผุ ลของการตัดสินใจ และเครอื่ งดมื่ ดว้ ยการตงั้ เปา้ หมาย คำ�ถามเชิงเหตผุ ล
ในเรื่องตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจ�ำ วันของ ร่วมกัน ว่าจะเป็นร้านประเภทใด การเกบ็ และน�ำ ขอ้ มลู ไปใช้
ตน และบอกได้วา่ การตัดสินใจของ ขายผลติ ภณั ฑใ์ ด และจะน�ำ เงนิ ทไ่ี ด้ การท�ำ งานร่วมกับผอู้ ่ืน
ตนมีความเหมาะสมอย่างไร ไปมอบให้กับองค์กรการกุศลใด การคิด ออกแบบ และ
๒) ลงมือแก้ปัญหาด้วยตนเอง พร้อมให้เหตุผล รวมท้ังออกแบบ วางแผน การคดิ วเิ คราะห์
และรว่ มมอื กบั เพอ่ื นในการแกป้ ญั หา บรรจุภัณฑ์ ชื่อสินค้า ชื่อร้าน เช่ือมโยงข้อมูล
โดยใช้วิธีการท่ีเลือกไว้แล้วติดตาม การตั้งราคาขาย และภาชนะที่
ผลและประเมินผลการแก้ปญั หา นำ�มาใช้ตอ้ งไม่เป็นการสร้างขยะ

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 103

ผลการเรยี นรู้ ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ สนอแนะ เนื้อหาสาระ
LEARNING OUTCOME / SUGGESTED CONTENT
SPECIFIC COMPETENCIES LEARNING EXPERIENCE โยงกลับไปทตี่ ัวชีว้ ดั

๓) สามารถคดิ คลอ่ งคดิ หลากหลาย ๒) ด�ำ เนนิ การตามแผนทไี่ ดว้ างไว้ การแก้ปญั หา
คดิ ยืดหยุ่น คดิ จินตนาการ และคิด ด้วยการแบ่งหน้าท่ีของสมาชิก การสืบค้นขอ้ มูล
รเิ ร่มิ เกยี่ วกบั สิ่งตา่ ง ๆ ทีอ่ ยรู่ อบตัว ในกลมุ่ ตามความสนใจและความถนดั การสมั ภาษณ์
๔) จนิ ตนาการเร่ืองราว ความคดิ ๓) สะท้อนคิดและสะท้อนผล การสอ่ื สาร
แปลกใหมจ่ ากสงิ่ รอบตวั และแสดงออก เพอ่ื ประเมนิ การท�ำ งาน และผลงาน
ผา่ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ เชน่ การเลน่ การ โดยระบสุ ง่ิ ท�ำ ไดด้ ีและสง่ิ ทคี่ วรพฒั นา เจตคติ/คุณลักษณะ
วาดภาพ การเลา่ นทิ าน การพดู อธบิ าย พรอ้ มอา้ งองิ หลกั ฐาน หรอื เหตกุ ารณ์ (Attribute/Attitude)
การประดษิ ฐก์ ารสรา้ งการท�ำ ของเลน่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ จากกระบวนการท�ำ งาน โยงกลับไปทีต่ ัวชี้วัด
ของใชแ้ ละการแสดงออกทางศลิ ปะ ของตนและกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้
ดนตรี นาฏศลิ ป์ และกีฬา วทิ ยาศาสตร์
การร้เู ท่าทันสือ่ สารสนเทศ และ ๔) เขียนเชิญชวนให้เด็กประถม (ว ๒.๒ ป.๓ /๓ ว ๘.๑
มาปลกู ผกั กนิ เอง โดยใชป้ ระสบการณ์ ป.๓/๖/๗/๘)
และความรู้ท่ีได้รับจากการเรียน
ดิจทิ ลั หนว่ ยการเรยี นนข้ี องตนมาประกอบ
๑) รจู้ กั และเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื และ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ
แหล่งสื่อสารสนเทศเพ่ือการสืบค้น วฒั นธรรม
และเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการอย่าง (ส ๓.๑ ป.๓/๓ ส ๕.๒
เหมาะสมกบั วยั ป.๓/๕)

๒) เลอื กสาระทมี่ ปี ระโยชนท์ ไ่ี ดจ้ าก
สอื่ สารสนเทศไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั
ให้เกิดประโยชน์กับตนเอง และ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ครอบครัว สุขศึกษาและพลศึกษา
(พ ๔.๑ ป.๓/๒/๓)

การท�ำ งานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี กล่มุ สาระการเรียนรู้
และมภี าวะผนู้ �ำ การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี (ง ๑.๑ ป.๓/๓)
๑) ทำ�หน้าที่เป็นผู้นำ�กลุ่มและ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
สมาชิกกลุ่มที่ดีโดยมีกระบวนการ ภาษาไทย
ท�ำ งานหรอื วธิ กี ารท�ำ งานทด่ี เี หมาะสม (ท ๑.๑ ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๖
๒) รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ท ๓.๑ ป.๓/๖)
สนับสนุนหรือโต้แย้งความคิดเห็น
ของผู้อนื่ อย่างมีเหตผุ ล

104 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ผลการเรยี นรู้ ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ สนอแนะ เนือ้ หาสาระ
LEARNING OUTCOME / SUGGESTED CONTENT
SPECIFIC COMPETENCIES LEARNING EXPERIENCE โยงกลบั ไปทต่ี ัวช้วี ดั

๓) ร่วมทำ�งานกลุ่มกับเพื่อน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ให้ความร่วมมือในการทำ�งาน คณติ ศาสตร์
รับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ (ค ๖.๑ ป.๓/๕/๖)
ที่ได้รับมอบหมาย ใส่ใจในการ
ทำ�งาน พยายามทำ�งานให้ดีที่สุด - แบบอย่างและ
และชว่ ยเหลอื เพอ่ื น เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความ คุณลักษณะของการ
ส�ำ เร็จในการทำ�งานร่วมกนั ประกอบอาชพี เกษตรกร
และน�ำ คณุ ลกั ษณะมาใช้
๔) เมอ่ื การท�ำ งานกลมุ่ เกดิ มปี ญั หา กับตน
ช่วยคิดหาวิธีการแก้ไขปัญหา และ
ช่วยกลมุ่ แกป้ ัญหา โดยสันติวธิ ี - ความรับผิดชอบ
ในการทำ�งานจนส�ำ เรจ็
๕) ช่วยสร้างและรักษาความ
สัมพันธอ์ ันดีของเพื่อนในกลุ่ม - ความอดทนและ
การเป็นพลเมืองท่ีเข้มเเข็ง/ต่ืนรู้ ไมย่ ่อท้อตอ่ การท�ำ งาน
ทมี่ สี �ำ นึกสากล
- มารยาทในการ
๑) ปฏบิ ตั ติ ามบทบาทและหนา้ ที่ ปฏบิ ัติตนตอ่ ผู้อนื่
ท่ีรับผิดชอบต่อครอบครัว ชั้นเรียน
โรงเรียน และชุมชนอยา่ งเหมาะสม - เคารพและใหค้ วาม
สำ�คัญกับคนอื่น เช่น
๒) รว่ มกบั ผอู้ นื่ แสวงหาทางออก เพอื่ น ครู ชาวสวน และ
อย่างเป็นเหตุเป็นผล เมื่อเผชิญกับ ผูซ้ ้อื
ปัญหา ความขัดแย้ง หรือมีความ
คดิ เหน็ ไมต่ รงกัน - เห็นความสัมพันธ์
ของการอยู่ร่วมกันของ
๓) มสี ว่ นรว่ มในการก�ำ หนดกตกิ า คน พืช สตั ว์
ปฏิบัติตามกติกาในห้องเรียน และ
โรงเรียน ติดตาม ตรวจสอบ และ
ปรับเปลย่ี นใหเ้ หมาะสมเพือ่ การอยู่
ร่วมกันอยา่ งสงบสขุ

๔) มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมจติ อาสา
หรอื แกไ้ ขปญั หาสว่ นรวมทเ่ี หมาะสม
ตามวยั

การวดั และประเมินผลเสนอแนะ (Suggested Assessment) เนอ้ื หาสาระเสนอแนะ
Formative: สังเกต สัมภาษณ์ ต้งั ค�ำ ถามเพือ่ ทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจ (Suggested Content)
ระหวา่ งการท�ำ งานในแตล่ ะขน้ั ตอน เพอ่ื แกไ้ ข กระตนุ้ และตอ่ ยอดความรู้
ความเขา้ ใจของนักเรยี น

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 105

ผลการเรยี นรู้ ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ สนอแนะ เนอื้ หาสาระ
LEARNING OUTCOME / SUGGESTED CONTENT
SPECIFIC COMPETENCIES LEARNING EXPERIENCE โยงกลบั ไปท่ีตวั ช้วี ัด

ทักษะการคดิ ข้นั สงู และนวัตกรรม
ทักษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตน
การท�ำ งานแบบรวมพลงั เป็นทีม และมีภาวะผ้นู �ำ
การเปน็ พลเมอื งท่เี ขม้ เเข็ง/ตน่ื รู้ ท่ีมีสำ�นึกสากล
Summative:

๑) สะท้อนคิดและสะท้อนผลเพ่ือประเมินการทำ�งาน และผลงาน
โดยระบุส่ิงที่ทำ�ได้ดี และส่ิงที่ควรพัฒนา พร้อมอ้างอิงหลักฐาน หรือ
เหตุการณท์ ่เี กิดข้นึ จริงจากกระบวนการทำ�งานของตนและกล่มุ

๒) เขียนเชิญชวนให้เด็กประถมมาปลูกผกั กินเอง โดยใช้ประสบการณ์
และความรู้ทไี่ ดร้ บั จากการเรยี นหน่วยการเรยี นน้ขี องตนมาประกอบ
แหลง่ เรียนรูเ้ สนอแนะ Suggested Resource
เกษตรกรท่ปี ลูกผกั อนิ ทรยี ใ์ นชุมชนตลาดในชุมชนบุคลากรในโรงเรยี น
ห้องสมดุ ผู้ปกครอง

หมายเหตุ
ในหน่ึงหน่วยการเรียนรู้อาจไม่จำ�เป็นต้องบูรณาการท้ัง ๑๐ สมรรถนะ เนื่องจากสมรรถนะ
จะเกดิ ได้จริงในเด็กบางคนอาจใช้เวลานานเกินกวา่ เวลาทก่ี ำ�หนดไวใ้ นหน่วยบรู ณาการ
ครูอาจรีบร้อนที่จะวัดผลจึงไม่ได้จัดกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาสมรรถนะอย่างแท้จริง ครูควรวัดผล
สมรรถนะได้จรงิ โดยมีข้อมูลเชงิ ประจักษ์

106 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

แนวทางที่ ๖ : สมรรถนะชวี ิต ในกิจวัตรประจำ�วัน

การสง่ เสริมสมรรถนะหลกั ขณะผูเ้ รยี นปฏบิ ตั กิ ิจวตั รประจ�ำ วนั
เป็นวธิ กี ารส่งเสรมิ สมรรถนะอยา่ งเป็นธรรมชาตแิ ละ
ช่วยปลกู ฝังใหส้ มรรถนะดังกลา่ วมคี วามมน่ั คงถาวร
จากการปฏบิ ัติเปน็ ประจ�ำ ทกุ วนั อกี ดว้ ย


ลกั ษณะ
สมรรถนะชีวิต ในกิจวัตรประจำ�วัน เป็นการสร้างสรรค์การเรียนรู้
อยา่ งสอดคลอ้ งสมั พนั ธก์ บั การด�ำ เนนิ ชวี ติ ประจ�ำ วนั ปกตขิ องนกั เรยี น สอดคลอ้ ง
กับกิจกรรมต่าง ๆ ที่มักเกิดในโรงเรียน นับเป็นการฝึกพัฒนาสมรรถนะนั้น ๆ
ไดอ้ ยา่ งซา้ํ ๆ อกี ทง้ั เปน็ ไปตามธรรมชาตปิ กตขิ องชวี ติ นกั เรยี น ทจ่ี ะมคี วามยดื หยนุ่
และท้าทายในการเผชญิ สถานการณต์ ามธรรมชาตขิ องชีวิต และเม่อื ฝกึ พฒั นา
สมรรถนะนน้ั ๆ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และผา่ นสถานการณต์ า่ ง ๆ ผเู้ รยี นจะคอ่ ย ๆ
มีสมรรถนะน้ัน ๆ อย่างแท้จริง สามารถนำ�ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
ไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ ในการดำ�เนนิ ชวี ิตจรงิ

ข้นั ตอนการดำ�เนนิ การ
๑. ขน้ั เตรยี มการ
๑.๑ สำ�รวจกิจวัตรประจำ�วันของผู้เรียนซึ่งมีท้ังกิจวัตรท่ีเป็นรายวัน
รายสปั ดาห์ รายเดือน รายภาค และรายปี จดั ทำ�เปน็ รายการไว้
๑.๒ จดั ทำ�รายละเอียดของกิจกรรมท่ที �ำ ในกิจวตั รตา่ ง ๆ โดยเรม่ิ ตน้
ทำ�ไปทีละกจิ วัตรดงั นี้
๑) ระบจุ ุดประสงคห์ ลกั ของกิจวัตรนนั้
๒) พจิ ารณาว่าสมรรถนะอะไรทส่ี ามารถนำ�มาเพิ่มเติม เพ่อื ชว่ ย
ให้ท�ำ กจิ วตั รน้ันไดด้ ีข้นึ (สามารถใชร้ ายการ ๑๐ สมรรถนะชว่ ยในการวเิ คราะห์
ตรวจสอบ)

๓) นำ�สมรรถนะที่เพิม่ ไปเตมิ ในจุดประสงคข์ ้อ ๑

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รยี นระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 107

๑.๓ กำ�หนดสาระ (K) ทักษะ (P) และคุณลักษณะ (A) รวมทั้ง
ตัวช้ีวัดของ KPA ที่จำ�เป็นต่อการเสริมสร้างสมรรถนะท่ีต้องการ เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการจดั การเรียนรู้

๑.๔ จัดทำ�รูบริกส์การวัดและประเมินสมรรถนะ เพ่ือใช้ในการกำ�กับ
ตดิ ตามพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ขิ องผ้เู รียน และการวัดประเมินผล

๑.๕ จัดทำ�เอกสารความรู้เสริมส�ำ หรับครูเน่ืองจากการดูแล ติดตาม
กำ�กับพฤติกรรมของผู้เรียนน้ัน ไม่ได้เป็นหน้าที่ของครูประจำ�ช้ันเพียงผู้เดียว
แตเ่ ปน็ หนา้ ทข่ี องครทู กุ คนทจ่ี ะตอ้ งเอาใจใสด่ แู ล สมรรถนะหลายสมรรถนะอาจ
ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นความช�ำ นาญของครทู กุ คน ดงั นน้ั ครทู มี่ คี วามรู้ ความเขา้ ใจทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
กับสมรรถนะนั้น ๆ จึงควรจัดทำ�เอกสารให้ความรู้เสริมแก่ครูคนอื่น เพื่อให้มี
ความเข้าใจตรงกันในประเด็นที่ต้องการเสริมให้แก่ผู้เรียน ดังน้ันครูทุกคนจึงมี
ตัวช่วยในการรว่ มกันพัฒนาผเู้ รียนใหไ้ ปในทศิ ทางเดยี วกัน

กิจกรรมประจำ�วันท่ีนักเรียนทำ�เป็นประจำ� มักเป็นการกระทำ�ท่ีทำ�
เหมือน ๆ กัน และซํ้า ๆ กัน ไม่ว่าจะเรียนในระดับใด ทำ�ให้นักเรียนไม่ได้มี
การเรียนรู้เพ่ิมข้ึน ดังน้ัน ครูจึงควรจะต้องร่วมกันคิดว่า ในแต่ละระดับชั้นหรือ
ชว่ งชน้ั นักเรยี นระดับชัน้ ป.๑ – ป.๓ จะตอ้ งมวี ินัยในกจิ วตั รการเคารพธงชาติ
แต่นักเรยี นในระดบั ป.๔ - ป.๖ ควรจะต้องมสี มรรถนะเพิม่ ขึ้นคือ สามารถดแู ล
รกั ษาวนิ ยั ของหมคู่ ณะได้ ซงึ่ หมายถงึ การทนี่ กั เรยี นจะตอ้ งมสี มรรถนะอนื่ ๆ เพม่ิ ขน้ึ
เชน่ การสงั เกต การปฏสิ มั พนั ธก์ บั บคุ คลและหมคู่ ณะ การสอ่ื สารอยา่ งเหมาะสม
และการแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ประจ�ำ วนั
๒. ขนั้ ปฏบิ ัตกิ ารซ่อมเสริมสมรรถนะ
๒.๑ เรม่ิ ตน้ จากการส�ำ รวจพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รของผเู้ รยี นเปน็
รายบุคคลโดยใช้รูบรกิ ส์เปน็ เคร่ืองมอื
๒.๒ วิเคราะห์ข้อมูลจากผลการสำ�รวจ พฤติกรรมใดท่ีผู้เรียนยัง
ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิ หรอื ปฏบิ ตั แิ ตไ่ มม่ คี ณุ ภาพ หรอื ปฏบิ ตั แิ ตไ่ มส่ มา่ํ เสมอ ตวั อยา่ งเชน่
กิจวัตรการเคารพธงชาติในตอนเช้าของทุกวัน อาจพบว่านักเรียนจำ�นวน
ไม่น้อยยังจำ�เนื้อเพลง และรอ้ งเพลงชาติไม่ได้

108 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียนระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

๒.๓ นำ�ผลการวิเคราะห์ข้อมูล มาออกแบบการจัดกิจกรรม
เพ่อื ซ่อมหรอื เสรมิ สมรรถนะ เช่น
๑) กรณีท่ีมีพฤติกรรมเป็นปัญหาร่วมของผู้เรียนซ่ึงอาจจะเป็น
พฤติกรรมที่ต้องซ่อมหรือเสริมเพิ่มเติมแล้วแต่กรณี ให้ครูออกแบบกิจกรรม
ซอ่ มหรอื เสรมิ การเรยี นรเู้ รอ่ื งนนั้ โดยอาจสอนในชนั้ เรยี นในกลมุ่ สาระทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
หรอื จดั ในเวลาของกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นหรอื อาจจะนดั หมายเรยี นนอกเวลา หรอื
อาจจะใชก้ ลยทุ ธ์ให้เพ่อื นสอนเพือ่ น ซ่งึ การด�ำ เนนิ การนค้ี รูสามารถใช้ประโยชน์
จากเอกสาร สาระ ทักษะ และคุณลักษณะท่ีจำ�เป็นต่อการพัฒนาสมรรถนะ
ซึ่งได้จัดท�ำ ไวต้ ามที่ระบุไว้ใน ขอ้ ๑.๓) ของขัน้ ดำ�เนินการ
๒) กรณีท่ีเป็นปัญหารายบุคคล ครูอาจใช้การแนะน�ำ หรือสอน
เปน็ รายบคุ คล หรอื ใหเ้ พอ่ื นชว่ ยเพอื่ น หรอื ใหผ้ เู้ รยี นด�ำ เนนิ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
โดยครเู ปน็ ทปี่ รึกษา
ทงั้ นีค้ รคู วรเกบ็ ขอ้ มูลของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล เพอ่ื ชว่ ยให้
เห็นภาพรวมของนกั เรยี นแตล่ ะคน ซงึ่ สะท้อนจดุ อ่อน จดุ แข็งของนกั เรียน และ
ชว่ ยใหร้ ้วู ่าควรใหก้ ารดูแลตดิ ตามและกำ�กับนักเรียนคนใดในเรอ่ื งใด
เพ่ือช่วยให้ไม่เป็นภาระมากสำ�หรับครู ครูสามารถจัดระบบ
ใหน้ กั เรียนเป็นผ้เู ก็บขอ้ มลู และตดิ ตาม กำ�กบั พฤติกรรมของกนั และกนั ครูควร
มกี ารติดตามผลเปน็ ระยะ ๆ และมกี ารส่มุ ตรวจสอบตามความเหมาะสม
สมรรถนะชีวิต ในกิจวัตรประจำ�วันนั้นมีมากมาย ในที่น้ีได้
เลอื กมาเปน็ ตวั อยา่ ง ๒ สมรรถนะ คอื การเคารพ กราบ ไหว้ เเละการรบั ประทาน
อาหาร

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 109

ตัวอยา่ งการพฒั นาสมรรถนะชวี ติ ในกจิ วัตรประจ�ำ วัน
สมรรถนะการเคารพ กราบ ไหว้

ค�ำ อธบิ ายสมรรถนะ
การเคารพ กราบ ไหว้ เปน็ การเรยี นรทู้ จ่ี ะออ่ นนอ้ ม ถอ่ มตน เรยี นรมู้ ารยาท
ทง่ี ดงามของวฒั นธรรมไทย การเคารพ กราบ ไหว้ แสดงออกกบั บคุ คลตามล�ำ ดบั
อาวโุ ส การเคารพ กราบ ไหว้ เปน็ พฤตกิ รรมทค่ี วรท�ำ อยา่ งสมา่ํ เสมอ อยา่ งถกู วธิ ี
นอกจากจะเปน็ การสบื ทอดวฒั นธรรมไทยทด่ี งี ามแลว้ ยงั มสี ว่ นส�ำ คญั จะโนม้ นา้ ว
ใหต้ นมอี ปุ นสิ ยั ทอ่ี อ่ นนอ้ ม มสี มั มาคารวะ ยอมรบั ฟงั บคุ คลอน่ื ไดง้ า่ ย ทง้ั การพดู
การกระท�ำ การใหค้ วามรว่ มมอื ในการด�ำ เนนิ งานใด ๆ
การเคารพ กราบ ไหว้ เปน็ พฤตกิ รรมท่เี กิดขน้ึ ในโรงเรยี นได้ตลอดเวลา
ตง้ั แตเ่ ดนิ เขา้ โรงเรยี น จนกระทง่ั กลบั ออกจากโรงเรยี น ไดแ้ ก่ การกราบ หรอื ไหว้
พระพทุ ธรปู หรอื รปู เคารพอน่ื ๆ บรเิ วณหนา้ โรงเรยี น การไหวร้ ะหวา่ งนกั เรยี นกบั
ผปู้ กครอง นกั เรยี นกบั นกั เรยี น นกั เรยี นกบั ครู ครกู บั ครู ครกู บั เจา้ หนา้ ทต่ี า่ ง ๆ
ในโรงเรยี น ครกู บั ผบู้ รหิ าร ครกู บั ผปู้ กครอง เปน็ ตน้
ตารางเเสดงสมรรถนะยอ่ ยเเละสาระส�ำ คญั ของสมรรถนะการเคารพ กราบ ไหว้

สมรรถนะ สมรรถนะยอ่ ย K,P,A ทส่ี �ำ คญั

๑. การ ๑.๑กราบไหวไ้ ดอ้ ยา่ ง ๑. การกราบไหว้เป็นการแสดงความเคารพ
เคารพ ถูกวิธีมีความนุ่มนวล เราควรฝกึ การกราบไหวใ้ หถ้ กู ตอ้ งตามวธิ แี ละ
กราบ และช่ืนชมยินดีท่ีได้ ขน้ั ตอนตา่ ง ๆ รวมทง้ั ใหเ้ หมาะสมกบั บคุ คล
ไหว้ กราบไหว้ สถานทแ่ี ละสถานการณ์
๑.๒กราบไหวไ้ ดอ้ ยา่ ง ๒. ลกั ษณะของการกราบไหว้
ถูกต้องกับสถานะของ ๒.๑ กราบไหวไ้ ดถ้ กู วธิ เี หมาะสมกบั บคุ คล
บคุ คล สถานทแ่ี ละสถานการณ์
๑.๓กราบไหวไ้ ดอ้ ยา่ ง ๒.๒ กราบไหวไ้ ดอ้ ยา่ งนมุ่ นวลสวยงามตาม
ถูกต้องกับสถานะของ มารยาทไทย
บคุ คลและสถานการณ์ ๒.๓ กราบไหวด้ ว้ ยความชน่ื ชมยนิ ดี
๓. การเหน็ คณุ คา่ ของการแสดงความเคารพ
กราบไหว้ และภาคภมู ใิ จทไ่ี ดก้ ราบไหวบ้ คุ คล
ตา่ ง ๆ เพอ่ื แสดงความเคารพและเปน็ การรว่ ม
รกั ษาวฒั นธรรมไทย

110 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตารางแสดงรบู รกิ ส์ การวดั เเละประเมนิ สมรรถนะการเคารพ กราบ ไหว้

สมรรถนะ สมรรถนะยอ่ ย ๑ ระดบั คณุ ภาพ
๒ ๓ ๔ หมายเหตุ

๑. การ ๑.๑ กราบไหว้ กราบหรอื ไหว้ กราบไหว้ กราบไหว้ท้งั กราบไหวท้ ง้ั
เคารพ ได้อย่างถูกวิธี บคุ คลและ ทง้ั บคุ คล บุคคลและ บคุ คลและ
กราบ ไหว้ มีความนุ่มนวล สถานทไ่ี ด้ และสถาน สถานท่ีได้ สถานทไ่ี ดอ้ ยา่ ง
และช่ืนชมยินดี อยา่ งถกู ตอ้ ง ทไ่ี ดอ้ ยา่ ง อยา่ งถกู ตอ้ ง ถกู ตอ้ งนมุ่ นวล
ทไ่ี ดก้ ราบไหว้ ถกู ตอ้ งตาม นุ่มนวลตาม ตามสถานการณ์
๑.๒ กราบไหว้ สถานการณ์ สถานการณ์ ดว้ ยความ
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งกบั
สถานะของบคุ คล ชน่ื ชมยนิ ดี

๑.๓ กราบไหว้
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งกบั
สถานะของบคุ คล
และสถานการณ์

ตวั อยา่ งการสอน
๑) ครจู ดั บรรยากาศสถานทแ่ี ละนกั เรยี นใหส้ งบเงยี บพอสมควร
๒) ครใู หน้ กั เรยี นหนง่ึ คมู่ าแสดงการกราบทน่ี กั เรยี นเคยปฏบิ ตั โิ ดยนกั เรยี น
คนอน่ื ๆ คอยสงั เกต
๓) ครเู ขยี นกระดานแบง่ เปน็ ๒ ขา้ งใหน้ กั เรยี นบอกวา่ สง่ิ ทน่ี กั เรยี นตวั อยา่ ง
ทำ�ได้ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุง คืออะไร ครูเขียนคำ�ตอบนักเรียน
บ นกระดานพรอ้ มอธบิ าย เชน่

ท�ำ ถกู ตอ้ ง สวยงาม นมุ่ นวล ควรปรบั ปรงุ
๑. ทา่ นง่ั เตรยี ม
๒. การประนมมอื
๓. การกราบลง
๔. ต�ำ แหนง่ ของนว้ิ มอื
๕. ต�ำ แหนง่ ขอ้ ศอก
๖. ...............................

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 111

๔) ครแู สดงการกราบ / การไหวท้ ถ่ี กู ตอ้ ง พรอ้ มอธบิ ายใหน้ กั เรยี นตง้ั ใจ
สงั เกต อาจใชส้ อ่ื วดี โิ อประกอบและใหน้ กั เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั ิ
๕) ครูพานักเรียนไปวัดเพ่ือฟังเทศน์หรือนิทานชาดกในวันธรรมสวนะ
(หรอื นมิ นตพ์ ระมาท่โี รงเรยี น) โดยก่อนการฟังให้นักเรยี นได้แสดงความเคารพ
พระภกิ ษหุ รอื ผใู้ หญท่ พ่ี บในวดั
ความรเู้ สรมิ
การกราบบคุ คลมี ๒ สถานะทเ่ี ปน็ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ การกราบพระ
และการกราบผู้ใหญ่ การกราบพระเป็นการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
มหี ลกั ปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
ทา่ เตรยี ม ชาย นง่ั คกุ เขา่ ตวั ตรงปลายเทา้ ตง้ั ปลายเทา้ และสน้ เทา้ ชดิ
กนั นง่ั บนสน้ เทา้ เขา่ ทง้ั สองหา่ งกนั พอประมาณ มอื ทง้ั สองวางควา่ํ บนหนา้ ขา
ทง้ั สองขา้ ง นว้ิ ชดิ กนั (ทา่ เทพบตุ ร)

หญงิ นง่ั คกุ เขา่ ตวั ตรง ปลายเทา้ ราบ เขา่ ถงึ ปลายเทา้ ชดิ กนั
นง่ั บนสน้ เทา้ มอื ทง้ั สองวางควา่ํ บนหนา้ ขาทง้ั สองขา้ ง นว้ิ ชดิ กนั (ทา่ เทพธดิ า)
ทา่ กราบ
จงั หวะท่ี ๑ (อญั ชล)ี ยกมอื ขน้ึ ในทา่ ประนมมอื
จงั หวะท่ี ๒ (วนั ทนาหรอื วนั ทา) ยกมอื ขน้ึ ไหวต้ ามระดบั ท่ี ๑ การไหวพ้ ระ
จงั หวะท่ี ๓ (อภวิ าท) ทอดมอื ทง้ั สองลงพรอ้ ม ๆ กนั ใหม้ อื และแขนทง้ั สอง
ขา้ งราบกบั พน้ื ควา่ํ มอื หา่ งกนั เลก็ นอ้ ยพอใหห้ นา้ ผากจรดพน้ื ระหวา่ งมอื ได้

ชาย ศอกท้ังสองข้างต่อจากเข่าราบไปกับพ้ืน หลังไม่โก่ง
หญงิ ศอกทง้ั สองขา้ ง จรดพน้ื ระหวา่ งมอื ทง้ั สอง
ท�ำ สามจงั หวะใหค้ รบ ๓ ครง้ั แลว้ ยกมอื ขน้ึ ไหวใ้ นทา่ ไหวพ้ ระ แลว้ วางมอื
ควา่ํ ลงบนหนา้ ขาในทา่ เตรยี มกราบ จากนน้ั ใหเ้ ปลย่ี นอริ ยิ าบถตามความเหมาะสม
การกราบผใู้ หญ่
การกราบผใู้ หญท่ อ่ี าวโุ สรวมทง้ั ผมู้ พี ระคณุ ไดแ้ ก่ ปู่ ยา่ ตา ยาย พอ่ แม่
ครู อาจารย์ และผทู้ เ่ี ราเคารพ ผกู้ ราบทง้ั ชายและหญงิ นง่ั พบั เพยี บทอดมอื ทง้ั สอง
ขา้ งลงพรอ้ มกนั ใหแ้ ขนทง้ั สองครอ่ มเขา่ ทอ่ี ยดู่ า้ นลา่ งเพยี งเขา่ เดยี ว มอื ประนม

112 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ตง้ั กบั พน้ื ไมแ่ บมอื คอ้ มตวั ลงใหห้ นา้ ผากแตะสว่ นบนของมอื ทป่ี ระนม ในขณะ
กราบไมก่ ระดกนว้ิ มอื ขน้ึ รบั หนา้ ผาก กราบเพยี งครง้ั เดยี ว จากนน้ั ใหเ้ ปลย่ี นอริ ยิ าบถ
โดยการน่งั สำ�รวมประสานมอื เดินเข่าถอยหลงั พอประมาณ แลว้ ลุกขน้ึ จากไป
กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม ไดก้ �ำ หนดระดบั ของการไหวไ้ ว้ ๓ ระดบั
โดยใชน้ ว้ิ หวั แมม่ อื และใบหนา้ เปน็ ตวั ก�ำ หนดต�ำ แหนง่ ดงั น้ี

การไหวร้ ะดบั ท่ี ๑ ใชส้ �ำ หรบั ไหวพ้ ระรตั นตรยั ไดแ้ ก่ พระพทุ ธ
พระธรรม พระสงฆ์ รวมถงึ โบราณสถาน โบราณวตั ถทุ างพทุ ธศาสนา ในกรณี
ทเ่ี ราไมส่ ามารถกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐไ์ ด้ โดยใหน้ ว้ิ หวั แมม่ อื จรดระหวา่ งคว้ิ
น้วิ ช้สี ัมผัสส่วนบนของหน้าผาก นัยว่า พระรัตนตรัยเป็นส่งิ ท่คี วรเคารพอย่าง
สงู สดุ จงึ ยกมอื ทป่ี ระนมขน้ึ ใหส้ มั ผสั สว่ นทส่ี งู สดุ ของรา่ งกาย หรอื อกี นยั หนง่ึ วา่
พระรตั นตรยั นน้ั เปน็ ดวงแกว้ มณที ป่ี ระเสรฐิ มคี า่ สงู คอยก�ำ กบั และสอนใหเ้ รามสี ติ
มปี ญั ญาอยตู่ ลอดเวลา จงึ สมควรแกก่ ารเคารพกราบไหว้ การไหวใ้ นระดบั ท่ี ๑ น้ี
จงึ ใหย้ กมอื ทป่ี ระนมขน้ึ ใหน้ ว้ิ หวั แมม่ อื อยรู่ ะหวา่ งคว้ิ ทง้ั สองขา้ งนน่ั เอง

การไหวร้ ะดบั ท่ี ๒ ใชส้ �ำ หรบั ไหว้ บดิ า มารดา ปู่ ยา่ ตา ยาย ครู
อาจารยแ์ ละผทู้ ม่ี เี ราเคารพนบั ถอื อยา่ งสงู โดยใหน้ ว้ิ หวั แมม่ อื จรดปลายจมกู
นว้ิ ชส้ี มั ผสั ระหวา่ งคว้ิ นยั วา่ บคุ คลกลมุ่ นเ้ี ปน็ กลมุ่ ทค่ี วรแสดงความเคารพอยา่ งสงู
รองลงมาจากพระรตั นตรยั มอื ทส่ี มั ผสั สว่ นของใบหนา้ จงึ ลดตา่ํ ลงมาหรอื อกี นยั หนง่ึ วา่
บุคคลกล่มุ น้ที ำ�ให้เรามีลมหายใจเกิดข้นึ มาได้ และเป็นผ้มู ีพระคุณท่ที ำ�ให้เรา
ดำ�เนินชีวิตอย่ไู ด้ในสังคม ควรแก่การแสดงความเคารพ การไหว้ในระดับท่ี ๒
จงึ ใหย้ กมอื ทป่ี ระนมขน้ึ ใหน้ ว้ิ หวั แมม่ อื อยบู่ รเิ วณปลายจมกู

การไหวร้ ะดบั ท่ี ๓ ใชส้ �ำ หรบั ไหวบ้ คุ คลทว่ั ๆ ไป ทม่ี วี ยั วฒุ สิ งู กวา่
เราไม่มากนัก รวมถึงใช้แสดงความเคารพผ้ทู ่เี สมอกันหรือเป็นเพ่อื นกัน
ไดด้ ว้ ย โดยใหน้ ว้ิ หวั แมม่ อื จรดปลายคาง นว้ิ ชส้ี มั ผสั บรเิ วณปลายจมกู นยั วา่ บคุ คล
กลมุ่ นค้ี วรแกก่ ารเคารพรองลงมาจากบดิ ามารดามอื ทส่ี มั ผสั สว่ นของใบหนา้ จงึ ลดตา่ํ
ลงมาตามล�ำ ดบั หรอื อกี นยั หนง่ึ วา่ บคุ คลกลมุ่ น้ี เปน็ ผทู้ เ่ี ราจะตอ้ งพบปะพดู คยุ อยู่
ดว้ ยเปน็ ประจ�ำ การใชว้ าจาจงึ เปน็ สง่ิ ทค่ี วรระมดั ระวงั เปน็ พเิ ศษ การไหวร้ ะดบั ท่ี ๓
จงึ ใหย้ กมอื ทป่ี ระนมขน้ึ ใหน้ ว้ิ หวั แมม่ อื อยบู่ รเิ วณปลายคาง

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รยี นระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 113

ในการยนื ไหวน้ น้ั ชายใหย้ นื ตวั ตรง คอ้ มตวั ลงพรอ้ มกบั ยกมอื ขน้ึ ไหว้
ต�ำ แหนง่ ของนว้ิ หวั แมม่ อื ใหถ้ กู ตอ้ งตามระดบั ของบคุ คลทเ่ี ราแสดงความเคารพ
จากนน้ั ลดมอื ลงพรอ้ มกบั ยดื ตวั ขน้ึ กลบั มาในทา่ ยนื ตรงตามเดมิ
ส�ำ หรบั หญิงน้นั เม่อื ยนื ไหว้ ใหถ้ อยเทา้ ใดเทา้ หน่งึ ทถ่ี นัดไปขา้ งหลัง
เล็กน้อย พร้อมกับย่อตัวยกมือข้ึนไหว้ ตำ�แหน่งของน้ิวหัวแม่มือให้ถูกต้อง
ตามระดบั ของบคุ คลทเ่ี ราแสดงความเคารพ จากนน้ั จงึ ลดมอื ลงพรอ้ มกบั ชกั เทา้
ทถ่ี อยไปกลบั มาอยใู่ นทา่ ยนื ตรงตามเดมิ หรอื จะใชก้ ารยนื ตรงไหวแ้ บบชายกไ็ ด้
ส่วนการประนมมือไว้ทร่ี ะดับอกนน้ั เป็นการแสดงอาการรับไหว้ คือ
เมอ่ื มผี นู้ อ้ ยมาแสดงความเคารพเราดว้ ยการกราบหรอื ไหว้ เราตอ้ งแสดงอาการ
รบั ไหวต้ อบเปน็ การแสดงใหร้ วู้ า่ เราใหค้ วามสนใจกบั ผทู้ เ่ี ขา้ มาแสดงความเคารพและ
ท�ำ ใหเ้ ขาไมเ่ กดิ อาการเคอะเขนิ ดว้ ย การไหวแ้ ละการรบั ไหวจ้ ะดนู มุ่ นวลและสวยงาม
หากทำ�ไปพร้อม ๆ กัน การรับไหว้ท่ใี ห้ประนมมือข้นึ อย่รู ะหว่างอกน้นั นัยว่า
เปน็ การแสดงออกทม่ี าจากใจ นน่ั เอง

เม่ือเรารู้ถึงตำ�แหน่งของการไหว้แล้ว การนำ�ไปปฏิบัติก็ไม่ยุ่งยาก
แต่อย่างใด ไม่ว่าเราจะยืนอยู่ น่ังเก้าอ้ี หรือน่ังกับพ้ืน เราก็สามารถแสดง
ความเคารพดว้ ยการไหวไ้ ดท้ ง้ั สน้ิ

114 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

ตวั อยา่ งการพฒั นาสมรรถนะชวี ติ ในกจิ วตั รประจ�ำ วนั
สมรรถนะการรบั ประทานอาหาร

ค�ำ อธบิ ายสมรรถนะ
วถิ ปี กตใิ นวนั ทม่ี าโรงเรยี น นกั เรยี นมกั จะรบั ประทานอาหารเชา้ จากบา้ น
และมารบั ประทานขนม ดม่ื นม นา้ํ รบั ประทานอาหารกลางวนั ทโ่ี รงเรยี น และ
หาซอ้ื ขนม นา้ํ หลงั เลกิ เรยี นทร่ี า้ นคา้ นอกโรงเรยี น ดงั นน้ั การรบั ประทานอาหาร
ขนม และนา้ํ จงึ เปน็ กจิ วตั รทเ่ี กดิ ขน้ึ หลายครง้ั ในแตล่ ะวนั เปน็ โอกาสการเรยี นรู้
ไดอ้ ยา่ งดี นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรู้ และตอ่ รองกบั ตนเอง ระหวา่ งความอยาก ความชอบ
ความรู้ ประโยชน์ และความจ�ำ เปน็ ตอ่ รา่ งกาย

ตารางแสดงสมรรถนะยอ่ ยและสาระส�ำ คญั ของสมรรถนะการรบั ประทานอาหาร

สมรรถนะ สมรรถนะยอ่ ย K,P,A ทส่ี �ำ คญั

๒. การ ๒.๑ รบั ประทานอาหาร ๑.การรับประทานอาหารให้ถูกสุขลักษณะ
รบั ประทาน ได้ครบ ๕ หมู่และ เปน็ เรอ่ื งจ�ำ เปน็ ทต่ี อ้ งฝกึ ตง้ั แตเ่ ดก็ เพอ่ื ใหเ้ ปน็
อาหาร พงึ พอใจ ผมู้ อี ปุ นสิ ยั ทด่ี ี โดยควรรเู้ กย่ี วกบั
๒.๒ ลดการรบั ประทาน ๑.๑ อาหารหลกั มี ๕ หมู่
หรอื เตมิ เครอ่ื งปรงุ หวาน ๑.๒ ปริมาณอาหารท่ีนักเรียนควรกิน
มนั เคม็ ในแต่ละวันมีสัดส่วนข้าวแป้ง เน้ือสัตว์ถ่ัว
๒.๓ รบั ประทานอาหาร ผกั ผลไมเ้ ปน็ ๑:๑:๒
ได้สัดส่วนพอดีกับ ๑.๓ อาหารที่ควรลด คืออาหารท่ีมีรส
ปริมาณความตอ้ งการ หวานจดั มนั จดั เคม็ จดั
ของรา่ งกาย ๒. ลักษณะของการรับประทานอาหาร
ทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะ
๒.๑ รบั ประทานอาหารใหค้ รบ ๕ หมู่
๒.๒ ลดการรบั ประทานหรอื เตมิ เครอ่ื งปรงุ
หวาน มนั เคม็
๒.๓ รบั ประทานอาหารใหไ้ ดส้ ดั สว่ นพอดี
กบั ปรมิ าณความตอ้ งการของรา่ งกาย
๓.การเหน็ คณุ คา่ และพงึ พอใจในการรบั ประทาน
อาหารทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะ

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 115

ตารางแสดงรบู รกิ สก์ ารวดั เเละประเมนิ สมรรถนะการรบั ประทานอาหาร

สมรรถนะ สมรรถนะยอ่ ย ๑ ระดบั คณุ ภาพ ๔ หมายเหตุ
๒๓

๒. การ ๒.๑ รบั ประทาน รับประทาน รับประทาน รับประทาน รับประทาน
รบั ประทาน อาหารไดค้ รบ๕หมู่ อาหาร อาหาร ขนม อาหาร ขนม อาหารขนม
อาหาร และพงึ พอใจ ขนม นํา้ ท่ีมี น้าํ ไดค้ รบ น้ํา ได้ครบ น้ําไดค้ รบ
๒.๒ ลดการรบั ประโยชน์ ๕ หมู่ ๕หมใู่ นแตล่ ะ ๕ หมใู่ น
ประทานหรือเติม ในแต่ละวัน วนั เปน็ อาหาร แตล่ ะวัน
เคร่ืองปรุงหวาน และเป็น มีประโยชน์ เป็นอาหารมี
มนั เคม็ อาหารมี และลดหวาน ประโยชนแ์ ละ
๒.๓ รบั ประทาน ประโยชน์ มัน เคม็ ลด หวานมนั
อาหารได้สัดส่วน เค็มไดอ้ าหาร
พอดีกับปริมาณ ในปริมาณ
ความตอ้ งการของ พอดกี ับความ
รา่ งกาย ตอ้ งการของ
รา่ งกาย

ตวั อยา่ งการสอน
๑) ครูนำ�อาหารกลางวันในวันน้จี ากโรงอาหาร ขนม น้าํ ด่มื หลากหลาย
นมเทา่ ปรมิ าณทน่ี กั เรยี นจะรบั ประทานในหนง่ึ วนั มาเปน็ สอ่ื การสอน
๒) ครเู ขยี นกระดานตาม “สว่ นประกอบของอาหาร” เทา่ ทน่ี กั เรยี นบอกได้
และกะประมาณสดั สว่ นแบง่ เปน็ สามประเภท ประเภทแปง้ เนอ้ื สตั ว์ ผกั ผลไม้
ใหน้ กั เรยี นกะประมาณวา่ เปน็ สดั สว่ นเทา่ ใด
๓) ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ รา่ งกายของนกั เรยี นตอ้ งการอาหาร ขนม นา้ํ
ในแตล่ ะวนั ครบ ๕ หมแู่ ละเปน็ อาหารมปี ระโยชนไ์ มห่ วานจดั ไมม่ นั ไมเ่ คม็ จดั
ไมใ่ สส่ ี ไมส่ กปรกโดยปรงุ ดว้ ยการตม้ นง่ึ มากกวา่ การทอด ปง้ิ หรอื ยา่ ง ซง่ึ ปรมิ าณ
ท่พี อเหมาะความต้องการของรา่ งกายนักเรยี นคือ แปง้ เน้อื สตั ว์ ผักและผลไม้
เปน็ สดั สว่ น ๑ : ๑ : ๒
๔) นกั เรยี นพดู คยุ แลกเปลย่ี นถงึ อาหารวา่ งนา้ํ หวาน ทช่ี อบวา่ ควรรบั ประทาน
หรือไม่ รับประทานบ่อย ๆ ดีหรือไม่ ฝึกอ่านข้อมูลท่ซี องขนม ควรเปล่ยี นเป็น
อาหารวา่ งจากนา้ํ หวานอะไรทช่ี อบและไดป้ ระโยชนค์ ลา้ ยกนั
๕) นกั เรยี นจดั บอรด์ นทิ รรศการดว้ ยรปู ภาพและซองขนมทช่ี อบ ใหค้ วามรู้
ปรมิ าณทจ่ี ะกนิ ไดใ้ นแตล่ ะวนั

116 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

๖) นกั เรยี นออกแบบเมนอู าหารเยน็ ทน่ี กั เรยี นชอบไดส้ ารอาหารครบ ๕ หมู่
ไมห่ วาน ไมม่ นั ไมเ่ คม็ น�ำ ไปฝากผปู้ กครอง
ความรเู้ สรมิ
การเลอื กรบั ประทานอาหาร
เดก็ ไทยสว่ นใหญย่ งั คงมพี ฤตกิ รรมการกนิ อาหารทไ่ี มถ่ กู หลกั โภชนาการ
ไม่ว่าจะเป็นการเลือกกินตามใจชอบ การไม่กินผัก การรับประทานอาหารท่ี
ไมม่ ปี ระโยชนซ์ า้ํ ๆ เปน็ เวลานาน ผลทต่ี ามมาคอื ภาวะ ‘ผอม’ ในเดก็ ทไ่ี ดร้ บั
สารอาหารไมค่ รบ ๕ หมู่ ภาวะ ‘เตย้ี ’ ในเดก็ ทข่ี าดสารอาหารเรอ้ื รงั และภาวะ
‘อว้ น’ ในเดก็ ทไ่ี ดร้ บั สารอาหารเกนิ ความตอ้ งการของรา่ งกาย จากรายงานประจ�ำ ปี
พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พบวา่ เดก็ ไทยมภี าวะเตย้ี
รอ้ ยละ ๗.๕ ภาวะผอม รอ้ ยละ ๕.๒ และภาวะเรม่ิ อว้ นและอว้ น รอ้ ยละ ๑๒.๕
ขณะทเ่ี กณฑข์ ององคก์ ารอนามยั โลกก�ำ หนดวา่ ตอ้ งมภี าวะเตย้ี ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ ๑๐
ผอมไม่เกินร้อยละ ๕ และอ้วนไม่เกินร้อยละ ๑๐ การปรับนิสัยการกินของ
ตนเอง ไม่กินของหวานจัด มันจัด เค็มจัด เพ่มิ การกินผักและผลไม้ให้มากข้นึ
เปน็ การเรม่ิ ตน้ ทด่ี ี สว่ นระดบั พลงั งาน จะแตกตา่ งกนั ตามเพศ วยั และกจิ กรรม
ส�ำ หรบั เดก็ ควรไดร้ บั พลงั งาน ๑,๖๐๐ กโิ ลแคลอรี ตอ่ วนั
กลมุ่ ขา้ ว – แปง้
ควรไดร้ บั วนั ละ ๘-๑๒ ทพั พี อาหารกลมุ่ นร้ี วมถงึ ขา้ ว กว๋ ยเตย๋ี ว บะหม่ี
ขนมจนี ขนมปงั และขนมทง้ั หลายทม่ี แี ปง้ เปน็ สว่ นประกอบ เชน่ ขนมเคก้ ซาลาเปา
บวั ลอย ซา่ หรม่ิ เปน็ ตน้
กลมุ่ ผกั
แหลง่ ของใยอาหาร เดก็ ๆ ควรกนิ วนั ละ ๔ ทพั พี (๑ ทพั พปี ระมาณ
๓-๔ ชอ้ นกนิ ขา้ ว) เมนอู าหารจานผกั หาทานไดง้ า่ ย เชน่ แกงสม้ แกงเลยี ง แกงปา่
อาหารจานเดยี ว เชน่ ขนมจนี นา้ํ พรกิ นา้ํ ยา หรอื ขา้ วย�ำ ใน ๑ มอ้ื ไดผ้ กั ๒ ทพั พี
ไมย่ ากนกั ควรหมนุ เวยี นชนดิ ของผกั จะไดร้ บั สารอาหารตามทต่ี อ้ งการ

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 117

กลมุ่ ผลไม้
ขอให้ยึดหลักว่า ควรทานผลไม้หลังอาหารทุกม้ือและระหว่างม้ือ
เม่ือหิว รวม ๆ แล้วควรได้ผลไม้วันละ ๓-๕ ส่วน แต่ละ ๑ ส่วน ของผลไม้
เลอื กอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ดงั ตอ่ ไปน้ี เชน่ กลว้ ยนา้ํ วา้ ๑ ผล สม้ เขยี วหวาน ๑ ผลใหญ่
ฝรง่ั ๑/๒ ผล เงาะ ๔ ผล ถา้ เปน็ ผลไมผ้ ลใหญ่ เชน่ มะละกอ สบั ปะรด แตงโม
ประมาณ ๖-๘ ค�ำ เทา่ กบั ๑ สว่ น ปรมิ าณผลไมม้ ากนอ้ ยขน้ึ อยกู่ บั ความตอ้ งการ
พลงั งาน อาหารกลมุ่ ผกั และผลไมอ้ าจทดแทนกนั ไดบ้ า้ ง วนั ไหนกบั ขา้ วไมค่ อ่ ย
มผี กั กเ็ พม่ิ ผลไม้ รวม ๆ แลว้ ทง้ั วนั ควรได้ ผกั – ผลไม้ รวมกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑/๒
กโิ ลกรมั จงึ จะไดใ้ ยอาหารเพยี งพอ
กลมุ่ เนอ้ื สตั ว์ ไข่ ถว่ั เมลด็ แหง้
เลอื กทานเนอ้ื สตั วเ์ ลก็ เชน่ ปลา ไก่ เพราะไขมนั ตา่ํ ผลติ ภณั ฑถ์ ว่ั เหลอื ง
เชน่ เตา้ หชู้ นดิ ตา่ ง ๆ เปน็ ทางเลอื กของผรู้ กั สขุ ภาพ ปรมิ าณอาหารในกลมุ่ นค้ี อื
๖-๑๒ ชอ้ นกนิ ขา้ ว ปรมิ าณอาหารทเ่ี ทยี บเทา่ กบั เนอ้ื สตั ว์ ๑ ชอ้ นกนิ ขา้ ว คอื เตา้ หขู้ าว
แขง็ ๑/๔ กอ้ น เตา้ หขู้ าวหลอด ๑/๒ หลอด ไข่ ๑/๒ ฟอง ปลาทู ๑/๒ ตวั เปน็ ตน้
กลมุ่ นม
เดก็ ๆ ควรดม่ื นมจดื วนั ละ ๒-๓ แกว้
นอกจากตวั อาหารหลกั แลว้ เครอ่ื งปรงุ อยา่ ง นา้ํ ตาล เกลอื และนา้ํ มนั
ก็ควรท่จี ะควบคุมไม่เกินตามปริมาณท่เี หมาะสม ดังน้ี ปริมาณน้าํ ตาลต่อวัน
ส�ำ หรบั เดก็ ไมเ่ กนิ ๔ ชอ้ นชา นา้ํ มนั ไมเ่ กนิ ๖๕ กรมั หรอื ไมเ่ กนิ ๑๖ ชอ้ นชาโซเดยี ม
(ของใหร้ สเคม็ ) ๒,๓๐๐ มลิ ลกิ รมั (ประมาณ ๑ ชอ้ นชา)
การปรับนิสัยการกินของตนเอง ไม่กินของหวานจัด มันจัด เค็มจัด
เพม่ิ การกนิ ผกั และผลไมใ้ หม้ ากขน้ึ เปน็ การเรม่ิ ตน้ ทด่ี ี

118 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

เอกสารอ้างอิง
โกวิท ประวาลพฤกษ์ (๒๕๓๒). รูปแบบการสอนความคิด ค่านิยม
จรยิ ธรรม และทกั ษะ. (อดั ส�ำ เนา).
ทศิ นา แขมมณ.ี (๒๕๔๕). ศาสตรก์ ารสอน: องคค์ วามรเู้ พอ่ื การจดั กระบวนการ

เรยี นรทู้ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ดา่ นสทุ ธาการพมิ พ.์
________ . (๒๕๖๑). สมั มนาอารมณ์ : เวทแี หง่ เรอ่ื งราวของการแกป้ ญั หาและ

การพฒั นาตนเอง. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
สมุ น อมรววิ ฒั น์.(๒๕๓๓). สมบตั ทิ พิ ยข์ องการศกึ ษาไทย. กรงุ เทพฯ:โรงพมิ พแ์ หง่

จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
Johnson, D.W. Johnson, R.T.& Holubec , E.J. ( 1994). The nuts and bolts

of cooperative learning. Edina, Minnesona : Interaction Book
Company.
Jones, B.F. Pierce, J.& Hunter, B. (1989). Teaching students to
construct graphic organizer. Educational Leadership. 46 (4) ,
20-25.
Joyce, B. & Weil, M. (1996). Model of teaching. (5 th ed.). London :
Allyn and Bacon.
Joyce, B. , Weil , M. & Showers , B. (1992). Model of teaching. (5 th ed.).
London : Allyn and Bacon.
Krathwohl, D.R., Bloom, B.S. & Masia, B. (1956). Taxonomy of
educational objectives, Book 2. Affective Domain. Newyork : Mckay.
Michaelsen , L.K. , Arletta, B.K. & Dee , F. (2003). Team – based learning :
A transformative use of small group in collage teaching.
Stering, VA. : Stylus Publishing.

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 119

Michaelsen , S. & Michaelsen , L.K. (2012). Team – based learning in the
social science and humanities : group work that works to
generate critical thinking and engagement. Stering, VA. :
Stylus Publishing.
Raths , L.E., Hamin, M. & Simon, S.B. (1966). Value and Teaching.

Columbus Ohio : Charles E. Merile Publishing.
Torrance , E.P. (1962). Guiding creative talent. Englewood Cliffs, N.J. :

Prentice- Hall.

120 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

รา่ ง ระดบั ความสามารถในการอา่ นและการเขยี น
ระดบั A1 ของสถาบนั ภาษาไทยสริ นิ ธร
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
และ
ระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษ
ตามกรอบ CEFR และ FRELE - TH

122 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

รา่ ง ระดบั ความสามารถในการอา่ น
และการเขยี นระดบั A1

ของสถาบนั ภาษาไทยสริ นิ ธร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

๑. ภาพรวมระดบั ความสามารถในการอา่ น A1 อา่ นออก อา่ นเขา้ ใจ
ทำ�ได้
สามารถอ่านบทอ่านขนาดสั้นที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วันได้
หากเขยี นดว้ ยภาษาทง่ี า่ ย ชดั เจน และเปน็ ค�ำ ทคี่ นุ้ เคย (ค�ำ คนุ้ ตา) โดยเฉพาะเมอ่ื มี
รปู ภาพหรอื สญั ลกั ษณป์ ระกอบ เชน่ ประกาศ ค�ำ สงั่ โปสเตอร์ โฆษณาแบบฟอรม์
ตาราง แผนท่ี บัตรอวยพร อีเมล จดหมายขนาดสั้น นิทาน การ์ตูน หรือเรื่อง
สำ�หรับเยาวชน
สามารถเข้าใจเน้ือหาในบทอ่านขนาดส้ันซึ่งเขียนด้วยภาษาท่ีง่าย
หากเปน็ เรอ่ื งทเ่ี ก่ยี วกับตนเอง เชน่ ครอบครวั โรงเรยี น หรอื เป็นเร่อื งทส่ี นใจ เชน่
กีฬา ดนตรี ทอ่ งเทย่ี วผจญภัย การ์ตนู สัตวแ์ ละพชื บางชนิด เทคโนโลยีหรือเป็น
เร่ืองที่พบบอ่ ยในชวี ิตประจำ�วัน เช่น ฤดกู าล อากาศ อุณหภูมิ วนั เวลา สถานที่
ทิศทางโดยเฉพาะเมื่อมีภาพประกอบ
สามารถท�ำ ตามขนั้ ตอนของสง่ิ ทอี่ า่ นได้ หากเปน็ การเขยี นทสี่ น้ั ชัดเจน
ใช้คำ�งา่ ย โดยเฉพาะเมือ่ มีรปู ภาพหรอื สญั ลกั ษณป์ ระกอบ เชน่ การบอกทศิ ทาง
เครือ่ งหมายจราจร หรอื ไม่มีรปู ภาพประกอบ เชน่ โจทยข์ อ้ สอบ
A 1.1 รจู้ ักและจดจ�ำ พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ เลขไทย และอารบกิ
ท้งั หมดได้
อ่านคำ�พ้นื ฐานงา่ ย ๆ ท่พี บบ่อยได้
อ่านข้อความสัน้ ๆ ทีใ่ ช้ภาษางา่ ย ๆ ได้
อา่ นค�ำ สั่งส้นั ๆ ท่ีมีสญั ลักษณ์หรือรปู ภาพกำ�กบั ได้

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รียนระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 123

A 1.2 อา่ นคำ�ทป่ี ระสมตรงรูปและไม่ตรงรปู แต่พบบ่อยได้
รแู้ ละเขา้ ใจค�ำ คนุ้ ตาและขอ้ ความขนาดสน้ั ทต่ี อ้ งใชบ้ อ่ ย เชน่
ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครวั สง่ิ รอบตวั และสง่ิ ทต่ี นสนใจได้
อา่ นและเข้าใจค�ำ ท่ใี ช้ในชีวติ ประจำ�วนั หรอื ท่ีตนสนใจได้
ทำ�ตามค�ำ สง่ั ทอี่ ่านได้
A 1.3 อา่ นและเขา้ ใจคำ�ทร่ี ูจ้ กั และไม่รูจ้ กั
อ่านแล้วเข้าใจข้อความสั้น ๆ ที่พบในชีวิตประจำ�วัน หรือ
เหตกุ ารณ์ทีเ่ กิดข้ึนเปน็ ประจ�ำ ทำ�ตามคำ�สง่ั ท่อี ่านได้
อ่านและเข้าใจเร่ืองที่ไม่ซับซ้อนโดยใช้ภาษาท่ีง่ายซ่ึงอาจมี
หรือไมม่ ีภาพประกอบได้
๒. ภาพรวมระดับความสามารถในการเขียน A1
สามารถเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ถูกต้องตามมาตรฐาน
เขยี นคำ�/ขอ้ ความ/ประโยคที่เปน็ ข้อมูลเกยี่ วกับตนเอง ครอบครวั และโรงเรียนได้
เขยี นค�ำ ทเี่ กย่ี วขอ้ งหรอื พบในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ สี อาหาร เครอื่ งดม่ื กจิ กรรมได้
เขยี นประโยค/ขอ้ ความขนาดสนั้ อธบิ ายภาพงา่ ย ๆ หากมคี �ำ มาใหไ้ ด้ กรอกขอ้ มลู
ทงั้ ของตนเองและครอบครัวในแบบฟอรม์ ได้ เขียนประโยคเดยี่ ว เรียงตอ่ กนั ไป
เพือ่ บอกสิง่ ที่ชอบ/ไม่ชอบ สงิ่ ใกลต้ วั ได้ เขยี นเพ่ือให้ขอ้ มูลส้ัน ๆ เช่น วัน เวลา
สถานทน่ี ดั พบได้ เขยี นขอ้ ความสน้ั ๆ เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู อธบิ ายหรอื แสดงความยนิ ดไี ด้
เขียนอธิบายลักษณะของบุคคล สถานท่ี หรือสิ่งของรอบตัวอย่างส้ัน ๆ และ
ใช้ค�ำ ง่าย ๆ ได้ เขยี น เลา่ สิ่งท่เี กดิ ข้ึนตามลำ�ดบั ของเหตกุ ารณไ์ ด้
A1.1 เขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ เลขไทยและอารบกิ ไดท้ ง้ั หมด
สามารถคัดลอกคำ�ง่าย ๆ และบทขนาดสั้นด้วยตัวหนังสือ
มาตรฐานได้
เขียนคำ� ข้อความ หรือประโยคส้ัน ๆ ท่ีใช้ในชีวิตประจำ�วัน
เช่น เขยี นชอื่ นามสกลุ ได้ เขียนค�ำ เพ่ืออธบิ ายภาพได้
A 1.2 เขียนคำ� ข้อความ หรือประโยคสั้น ๆ เพ่ือสื่อสารตามความ
ต้องการของตนได้

124 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

เขียนประโยคขนาดสนั้ เพอื่ บอกข้อมลู อธบิ ายลักษณะของ
บคุ คลหรอื สงิ่ ของ หรอื เขียนแสดงความยนิ ดไี ด้
เขียนประโยคหรือข้อความขนาดส้ันแสดงความชอบหรือ
ไมช่ อบได้
เขียนประโยคเรยี งตอ่ กนั เพือ่ เปน็ เร่ืองประกอบภาพได้
A 1.3 สามารถเขยี นโดยเลอื กใชค้ �ำ จากคลงั ค�ำ ศพั ท์ของตนเองได้
เขียนบรรยายบุคคล สง่ิ ของ รปู หรือกจิ กรรมได้
เขียนตามวัตถปุ ระสงค์ เช่น บันทกึ ประจ�ำ วัน บัตรเชิญได้
สามารถเขียนบรรยายสถานการณ์ที่เกดิ ขึ้นเปน็ ประจ�ำ ทกุ วนั
จนคุ้นเคยหรอื เล่าประสบการณข์ องตนเองได้
เขียนเร่ืองที่ซับซ้อนโดยใช้ภาษาท่ีง่ายซ่ึงอาจมีหรือไม่มีภาพ
ประกอบได้

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียนระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน 125

ระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษตามกรอบ CEFR และ FRELE - TH

ระดบั ระดบั ความสามารถตาม ระดบั ระดบั ความสามารถ
กรอบ CEFR * ตามกรอบ FRELE - TH **

A1 ผูเรียนสามารถใชและ A1 ผเู้ รียน / ผใู้ ชภ้ าษา
เขาใจประโยคงาย ๆ ใน - รูค้ ำ�ศัพท์ท่พี บบอ่ ย ๆ และสำ�นวน
ชีวิตประจำ�วัน สามารถ พนื้ ฐานเกยี่ วกบั ตนเอง ครอบครวั และ
แนะนำ�ตัวเองและผูอ่ืน สง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั
ท้ังยังสามารถต้ังคำ�ถาม - เขา้ ใจและสามารถโตต้ อบกบั ผพู้ ดู /
เกี่ยวกับบุคคลอ่ืนได เชน คสู่ นทนาได้เมอ่ื คสู่ นทนาใชส้ �ำ นวนงา่ ยๆ
เขาอยูท่ีไหน รูจักใครบาง พดู ชดั เจน และชา้ ๆ และคสู่ นทนาอาจ
มอี ะไรบา ง และตอบค�ำ ถาม พดู สำ�นวนนั้น ๆ ซา้ํ (Repetition) และ
เหลาน้ีได ทั้งยังสามารถ พดู ซาํ้ โดยใชถ้ อ้ ยค�ำ ใหม่ (Rephrasing)
เขาใจบทสนทนาเมื่อคู เมื่อพดู เก่ยี วกับหวั ขอ้ ท่ีคาดเดาได้
สนทนาพดู ชาและชัดเจน - สามารถใหข้ อ้ มลู สว่ นตวั เบ้อื งต้น
เกย่ี วกับตนเอง โดยใชค้ �ำ และวลที ีส่ ้ัน
และง่าย หรือใช้ประโยคพื้นฐานได้
- เข้าใจคำ�ศัพท์ วลี ประโยคสั้น ๆ
รวมไปถงึ ค�ำ สงั่ ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในสถานการณ์
ทคี่ นุ้ เคย ไมว่ า่ จะเปน็ ทงั้ ในการพดู และ
การเขียน
- สามารถใช้คำ�ศัพท์ วลีสน้ั ๆ และ
สำ�นวนที่ใช้ในการส่ือสารเรื่องราว
ในชวี ติ ประจ�ำ วนั เพอื่ สอื่ สารและบรรยาย
ข้อมูลส่วนบุคคล สี ตัวเลขพื้นฐาน
ส่ิงของพนื้ ฐาน กจิ วัตรประจ�ำ วัน ฯลฯ
- มีคำ�ศัพท์จำ�กัดซึ่งส่วนใหญ่
เป็นค�ำ โดดระดบั พน้ื ฐานและใชว้ ลสี น้ั ๆ
เกยี่ วกบั สถานการณใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั
ทพ่ี บได้ทว่ั ไป

126 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ระดบั ระดบั ความสามารถตาม ระดบั ระดบั ความสามารถ
กรอบ CEFR * ตามกรอบ FRELE - TH **

A1+ ผ้เู รียน/ ผ้ใู ช้ภาษา
- เข้าใจภาษาอังกฤษไดง้ ่ายทเ่ี ปน็

ภาษาพูด เมือ่ คู่สนทนาออกเสยี งชา้ ๆ
ระมดั ระวงั และหยดุ ชวั่ ขณะ (Pauses)
บ่อยครงั้ และเป็นเวลานาน

- เขา้ ใจวลหี รอื ประโยคภาษาองั กฤษ
ทส่ี ้ัน ๆ งา่ ย ๆ ทเ่ี ปน็ ภาษาเขยี น

- รคู้ �ำ หรอื วลงี า่ ย ๆ หรอื พบบอ่ ยใน
งานเขยี นได้

- เข้าใจและสามารถโต้ตอบกับ
ผพู้ ดู / คสู่ นทนา โดยใชส้ �ำ นวนทพี่ บซา้ํ ๆ
ในชีวิตประจำ�วัน หากผู้พูดออกเสียง
ส�ำ นวนดังกล่าวช้า ๆ และระมัดระวงั
และพูดซํ้า

- สามารถบรรยายเบอื้ งตน้ เกย่ี วกบั
บุคคล ส่ิงของท่ีพบบ่อย และสถานท่ี
ตา่ ง ๆ โดยใช้คำ�กริยาพ้ืนฐานและค�ำ
คณุ ศัพทท์ ่พี บท่ัวไปได้

- สามารถเขยี นค�ำ และวลซี งึ่ สว่ นใหญ่
เป็นคำ�และวลีโดด ๆ (Isolated
Words and Phrases) หรือบางครั้ง
เขียนเป็นประโยคง่าย ๆ ท่ีไม่ได้
เชื่อมโยงความคิด โดยใช้คำ�ศัพท์
ทีม่ อี ยจู่ ำ�กัดอยา่ งมาก

- สามารถเดาใจความส�ำ คญั ของวลี
หรอื ประโยคทใ่ี ชใ้ นการพดู และการเขยี น
ซึ่งมีหัวข้อเกี่ยวข้องกับเรื่องประจำ�วัน
ทค่ี ุ้นเคย

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 127

ระดบั ระดบั ความสามารถตาม ระดบั ระดบั ความสามารถ
กรอบ CEFR * ตามกรอบ FRELE - TH **

- สามารถใชว้ ลพี น้ื ฐาน และกลมุ่ ค�ำ
สำ�นวนท่ีตายตัวเพ่ือใช้ในการสื่อสาร
และบรรยายขอ้ มูลส่วนบุคคล กิจวตั ร
ประจำ�วนั การขอรอ้ ง ฯลฯ

- มีคำ�ศัพท์จำ�กัดในการส่ือสาร
ในสถานการณท์ ที่ �ำ เป็นกิจวัตร

A2 ผเู รยี นสามารถใชแ ละเขา ใจ A2 ผเู้ รยี น / ผู้ใชภ้ าษา
ประโยคในชีวิตประจำ�วัน - เข้าใจภาษาอังกฤษงา่ ย ๆ ทเ่ี ป็น
ในระดบั กลาง เชน ขอ มลู ภาษาพดู โดยผพู้ ดู / คสู่ นทนาพดู ชา้ ๆ
เกยี่ วกบั ครอบครวั การจบั จา ย ชดั เจน และมกี ารหยดุ ชว่ั ขณะ (Pauses)
ใชส อย สถานท่ี ภมู ศิ าสตร  บอ่ ยคร้ัง
การทำ�งาน และสามารถ - เข้าใจภาษาอังกฤษท่ีเป็นภาษา
ส่ือสารในประโยคในการ เขยี นทีส่ นั้ ๆ ง่าย ๆ
แลกเปล่ียนขอมูลท่ัวไป - สามารถอา่ นและเขา้ ใจความหมาย
และการใชชีวิตประจำ�วัน ของบทอ่านท่ีคุ้นเคยได้
สามารถบรรยายความฝน - สามารถถามและตอบค�ำ ถามงา่ ยๆ
ความคาดหวัง ประวัติ และโต้ตอบในหวั ขอ้ ท่คี ุน้ เคย
ส่ิงแวดลอม และส่ิงอื่น ๆ - สามารถบรรยายเก่ียวกับบุคคล
ทจี่ ำ�เปน ตอ งใช สถานท่ี และส่ิงของ โดยใช้คำ�และ
โครงสร้างไวยากรณ์ง่าย ๆ
- สามารถเขียนประโยคท่ีง่ายเป็น
ส่วนใหญ่ โดยไมไ่ ดเ้ ชือ่ มโยงความคิด
และใชค้ ำ�ศพั ทท์ ่ีมีอยจู่ �ำ กัดอยา่ งมาก
- สามารถหาใจความส�ำ คญั ของวลี
หรอื ประโยคทใี่ ชใ้ นการพดู และการเขยี น
ซง่ึ มหี ัวขอ้ เกี่ยวขอ้ งกบั เรอ่ื งประจ�ำ วัน

128 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผ้เู รียนระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ระดบั ระดบั ความสามารถตาม ระดบั ระดบั ความสามารถ
กรอบ CEFR * ตามกรอบ FRELE - TH **

A2 - สามารถเดาความหมายของคำ�
ท่ีไม่คุ้นเคย โดยใช้ตัวบอกนัย เช่น
ต่อท้ายและรากศัพท์ใจความสำ�คัญ
ของวลหี รอื ประโยคทใ่ี ชใ้ นการพดู และ
การเขียน ซ่ึงมีหัวข้อคำ�เก่ียวข้องกับ
เร่ืองประจำ�วันทค่ี นุ้ เคย
- สามารถจัดการกับสถานการณ์
เพ่ือเอาตัวรอดได้ โดยใช้คลังภาษา
ขั้นพื้นฐานเพื่อใช้ในสถานการณ์
ทส่ี ามารถคาดการณ์ได้
- สามารถใชร้ ปู ประโยคขนั้ พน้ื ฐาน
และกลุ่มคำ�สำ�นวนที่ตายตัวเพื่อใช้
ในการส่ือสารและบรรยายข้อมูลส่วน
บคุ คล กจิ วตั รประจ�ำ วนั การขอรอ้ ง ฯลฯ
- มีคำ�ศัพท์เพียงพอในการส่ือสาร
เกย่ี วกบั หวั ขอ้ ทคี่ นุ้ เคยในสถานการณ์
เพอื่ เอาตวั รอด

A2+ ผู้เรยี น / ผู้ใช้ภาษา
- เข้าใจภาษาอังกฤษท่ีเป็นภาษา

พูดงา่ ย ๆ เมอ่ื ผ้พู ดู / คสู่ นทนาพดู ช้า
และชดั เจน

- เข้าใจเม่ือฟังเรื่องราวท่ีเกี่ยวกับ
ชวี ติ ประจ�ำ วนั ซง่ึ ประกอบดว้ ยค�ำ ศพั ท์
และส�ำ นวนตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั

- เข้าใจภาษาอังกฤษที่เป็นภาษา
เขียนที่สั้นและง่ายในหัวข้อเก่ียวกับ
ชวี ิตประจ�ำ วัน

- สามารถมสี ว่ นรว่ มในการสนทนา
แบบมโี ครงสรา้ ง ซง่ึ เปน็ การสนทนาสน้ั ๆ
และงา่ ย โดยอาศยั คสู่ นทนาใหช้ ว่ ยเหลอื
อย่บู า้ ง

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 129

ระดบั ระดบั ความสามารถตาม ระดบั ระดบั ความสามารถ
กรอบ CEFR * ตามกรอบ FRELE - TH **

- สามารถเขียนงานโดยใชป้ ระโยค
และค�ำ สนั ธานงา่ ย ๆ และใชค้ �ำ ศพั ทท์ ี่
มอี ยอู่ ยา่ งจำ�กัด

- สามารถหาใจความสำ�คัญของ
ข้อความที่ใช้ในการพูดและการเขียน
ซงึ่ มีหัวขอ้ เกี่ยวขอ้ งกบั เรอ่ื งประจำ�วนั

- สามารถเดาความหมายของคำ�
ทไี่ มค่ นุ้ เคย โดยใชต้ วั บอกนยั จากบรบิ ท

- สามารถใชส้ �ำ นวนในชวี ติ ประจ�ำ วนั
ส้ัน ๆ เพื่อใช้ในสามารถจัดการกับ
สถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันได้
โดยใช้คลังภาษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อใช้
ในสถานการณท์ สี่ ามารถคาดการณไ์ ด้

- การสอื่ สารและบรรยายขอ้ มลู สว่ น
บุคคล กิจวัตรประจำ�วัน การขอร้อง
ฯลฯ

- มีคำ�ศัพท์เพียงพอในการส่ือสาร
เกย่ี วกบั หวั ขอ้ ทค่ี นุ้ เคย ในสถานการณ์
กจิ วัตรประจำ�วนั

B1 ผูเรียนสามารถพูด เขียน B1 ผเู้ รยี น / ผใู้ ช้ภาษา
และจบั ใจความส�ำ คญั ของ - เขา้ ใจประเดน็ ส�ำ คญั ของเรอื่ งทฟี่ งั
ขอความทั่ว ๆ ไปได เม่ือผู้พูด / คู่สนทนาพูดอย่างชัดเจน
เมื่อเปนหัวขอที่คุนเคย ในหวั ขอ้ ทค่ี นุ้ เคยและพบบอ่ ยเกยี่ วกบั
หรือสนใจ เชน การทำ�งาน การทำ�งาน การไปโรงเรียน กิจกรรม
โรงเรยี นเวลาวา งฯลฯสามารถ ยามว่าง เปน็ ตน้ ตวั อยา่ งของการพดู
จดั การกบั สถานการณต า ง ๆ ในลักษณะดังกล่าวได้แก่ การเล่า
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ระหวา งการเดนิ ทาง เรอ่ื งสน้ั ๆ
ในประเทศท่ใี ชภาษาได - สามารถอ่านงานเขียนที่เป็น
สามารถบรรยายประสบการณ ขอ้ เทจ็ จรงิ และตรงไปตรงมาในประเดน็
เหตกุ ารณความฝน ความหวงั ที่เก่ียวข้องกับสาขาและความสนใจ
พรอ มใหเ หตผุ ลส้นั ๆ ได ของตนเอง และเข้าใจในระดับที่
น่าพอใจ

130 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

ระดบั ระดบั ความสามารถตาม ระดบั ระดบั ความสามารถ
กรอบ CEFR * ตามกรอบ FRELE - TH **

- สามารถใช้ภาษาท่ีง่ายและ
หลากหลายเพื่อสนทนาในหัวข้อ
ทคี่ นุ้ เคยแสดงความคดิ เหน็ ของตนเอง
และแลกเปล่ียนข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อ
ท่ีตนเองคุ้นเคย สนใจ หรือหัวข้อ
เก่ยี วกบั ชวี ติ ประจ�ำ วัน
- สามารถสร้างงานเขยี นงา่ ย ๆ ทมี่ ี
ความคดิ เชอ่ื มโยงกนั ในประเดน็ ตา่ ง ๆ
ที่คุ้นเคยในสาขาท่ีตนเองสนใจ
โดยเชอ่ื มโยงส่วนต่าง ๆ ในงานเขยี น
ใหเ้ ปน็ ล�ำ ดบั ตอ่ เน่ืองกนั ได้
- เขา้ ใจค�ำ และวลสี �ำ คญั ในบทสนทนา
และตดิ ตามหวั ข้อในการสนทนาได้
- สามารถคาดเดาความหมาย
ของคำ�ที่ไม่รู้ความหมายจากบริบท
และสรุปความหมายของประโยคได้
หากเกี่ยวขอ้ งกบั หวั ข้อที่ค้นุ เคย
- สามารถหาวิธีถ่ายทอดประเด็น
ส�ำ คญั ทตี่ นเองตอ้ งการสอื่ สารในบรบิ ท
ท่ีหลากหลาย โดยต้องเป็นเร่ืองราวที่
ตนเองจำ�ได้หรือหาวิธีที่จะถ่ายทอด
เร่ืองราวดังกล่าวได้เท่านั้น แม้ว่าจะ
มีความลังเลและพูดอ้อมในหัวข้อที่
คุ้นเคยบ้าง

B1+ ผเู้ รียน / ผใู้ ชภ้ าษา
- สามารถเขา้ ใจเมอ่ื ฟงั เรอ่ื งทมี่ เี นอ้ื หา
ไมซ่ บั ซอ้ นในหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วกบั สาขา
และความสนใจของตนเอง หากผูพ้ ดู /
คู่สนทนาพดู อย่างชดั เจนดว้ ยส�ำ เนียง
ทคี่ นุ้ เคย และพดู ในระดบั ทชี่ า้ กวา่ การ
พูดปกติ

เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 131

ระดบั ระดบั ความสามารถตาม ระดบั ระดบั ความสามารถ
กรอบ CEFR * ตามกรอบ FRELE - TH **

- สามารถอ่านงานเขียนท่ีเป็น
ข้อเท็จจริงในหัวข้อท่ีเกี่ยวกับสาขา
และความสนใจของตนเอง หากผเู้ ขยี น
ให้ข้อมูลท้ังหมดหรือข้อมูลส่วนใหญ่
อย่างชดั แจ้ง

- สามารถสอื่ สารอยา่ งมน่ั ใจในระดบั
หนึ่งเก่ียวกับเรื่องที่คุ้นเคย ท้ังเรื่องที่
ท�ำ เปน็ ประจ�ำ หรอื ไมไ่ ดท้ �ำ เปน็ ประจ�ำ
ซง่ึ เรอ่ื งดงั กลา่ วเกยี่ วขอ้ งกบั ความสนใจ
และสาขาอาชีพของตนเอง แต่อาจ
ประสบปัญหาอยู่บ้างในการสื่อสาร
ในสงิ่ ทตี่ นเองตอ้ งการสอื่ สารอยา่ งแนช่ ดั

- สามารถพดู บรรยายไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
และคลอ่ งแคลว่ ในระดบั หนงึ่ โดยเปน็ การ
บรรยายที่ไม่ซับซ้อนในหัวข้อต่าง ๆ
ที่คุ้นเคย ในสาขาที่ตนเองสนใจ โดย
น�ำ เสนอประเด็นต่าง ๆ เปน็ ล�ำ ดบั

- สามารถสรา้ งงานเขยี นทไ่ี มซ่ บั ซอ้ น
และมีความคดิ เช่อื มโยงกนั โดยเขียน
เกย่ี วกบั หวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ทคี่ นุ้ เคยในสาขา
ทตี่ นเองสนใจและใชร้ ปู แบบโครงสรา้ ง
ของงานเขยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

- สามารถใชต้ วั ชแี้ นะ (Clues) ตา่ ง ๆ
เช่น คำ�สำ�คัญ ชือ่ เร่อื ง ภาพประกอบ
รปู แบบการจดั วางตวั อกั ษรในการพมิ พ์
(เช่น การทำ�ตัวหนา ตัวเอียง
การย่อหน้า) การหยุดพักช่ัวขณะ
(Pauses) นาํ้ เสยี ง ค�ำ เชอื่ มความ และ
รูปแบบของโครงสร้างของงานเขียน
เพอ่ื หาความหมายของคำ�ที่ไมค่ ุ้นเคย
หาใจความสำ�คัญและรายละเอียด
เพิม่ เตมิ ของงานเขยี นหรือเรอื่ งทฟ่ี งั

132 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ระดบั ระดบั ความสามารถตาม ระดบั ระดบั ความสามารถ
กรอบ CEFR * ตามกรอบ FRELE - TH **

รวมทง้ั แยกความแตกตา่ งของขอ้ เทจ็ จรงิ
และขอ้ คดิ เหน็ ได้
- มีความรู้ด้านภาษาเพียงพอท่ีจะ
บรรยายเหตุการณ์ที่ไม่ได้คาดคิดไว้
อธิบายประเด็นต่าง ๆ ของความคิด
หรือปัญหาด้วยความถูกต้องแม่นยำ�
และแสดงความคิดเกี่ยวกับหัวข้อท่ี
เปน็ นามธรรม หรอื เกยี่ วกบั วฒั นธรรม
ตวั อย่างเช่น ดนตรแี ละภาพยนตร์

* ระดับความสามารถในการใช้ภาษา CEFR น�ำ มาจาก แนวปฏบิ ตั ติ าม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษา
องั กฤษ
** Framework of Reference for English Language Education
In Thailand กรอบความสามารถทางภาษาอังกฤษของประเทศไทยพัฒนา
จากกรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาของสภายุโรป (Common European
Framework of Reference for Languages - CEFR)

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รียนระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 133

ภาคผนวก ข

รายชอ่ื คณะท�ำ งานและคณะผวู้ จิ ยั
โครงการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเัู รยี น

ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้
ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

134 เเนวทางการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

รายชอ่ื คณะท�ำ งานและคณะผวู้ จิ ยั
โครงการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น
ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

คณะทป่ี รกึ ษา
๑. ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ จรสั สวุ รรณเวลา
๒. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยย์ วุ ดี นาคะผดงุ รตั น์
๓. ดร.ชยั พฤกษ ์ เสรรี กั ษ์
๔. ดร.ชยั ยศ อม่ิ สวุ รรณ์
๕. นายเฉลมิ ชนม ์ เเนน่ หนา
๖. ดร.เบญจลกั ษณ ์ นา้ํ ฟา้
๗. นางเกอ้ื กลู ชง่ั ใจ

คณะท�ำ งานวางแผนจดั ท�ำ กรอบสมรรถนะหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ในคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษา
๘. รองศาสตราจารย์ ดร.ทศิ นา แขมมณ ี ประธาน
๙. รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต ์ รองประธาน
๑๐. รองศาสตราจารย์ ดร.บงั อร เสรรี ตั น ์ รองประธาน
๑๑. นางกอบกลุ อาภากร ณ อยธุ ยา กรรมการ
๑๒. นางเรยี ม สงิ หท์ ร กรรมการ
๑๓. ดร.ศรนิ ธร วทิ ยะสริ นิ นั ท ์ กรรมการ
๑๔. ดร.พทิ กั ษ์ นลิ นพคณุ กรรมการ
๑๕. นางสาวสชุ รี า มธั ยมจนั ทร ์ กรรมการ
๑๖. ดร.เฉลมิ ชยั พนั ธเ์ ลศิ กรรมการ
๑๗. ดร.บรรเจอดพร สแู่ สนสขุ กรรมการ
๑๘. นางสทุ ธดิ า ธาดานติ ิ กรรมการ
๑๙. นางมนศิ รา ศภุ กจิ โคลเยส กรรมการ
๒๐. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชารณิ ี ตรวี รญั ญ ู กรรมการ
๒๑. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ยศวรี ์ สายฟา้ กรรมการ

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รียนระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 135

๒๒. รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ วรรณ เลก็ วไิ ล กรรมการ
๒๓. อาจารย์ ดร.พรเทพ จนั ทราอกุ ฤษฎ ์ กรรมการ
๒๔. อาจารย์ ดร.นติ กิ ร ออ่ นโยน กรรมการ
๒๕. นางสาวพธิ ลุ าวณั ย ์ ศภุ อทุ มุ พร กรรมการ
๒๖. นางสาวกรกนก เลศิ เดชาภทั ร กรรมการ
๒๗. นางสาวภสั ร�ำ ไพ จอ้ ยเจรญิ กรรมการ
๒๘. นางสาววรนนั ขนุ ศร ี กรรมการ
๒๙. นายวรญั ชติ สขุ ตาม กรรมการ
๓๐. รองศาสตราจารย์ พชั รี วรจรสั รงั ส ี กรรมการ
๓๑. นางนพมาศ วง่ิ วทิ ยาสกลุ กรรมการ
๓๒. ดร.ชนาธปิ ทยุ้ เเป กรรมการ
๓๓. นางอ�ำ ภา พรหมวาทย ์ เลขานกุ าร
๓๔. ดร.ประวณี า อสั โย ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๓๕. ดร.วรรษมน จนั ทรโ์ อกลุ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๓๖. นางสาวอบุ ล ตรรี ตั นว์ ชิ ชา ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๓๗. นางสาวพมิ ลภรณ์ ปราบพนิ าศ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

คณะผู้วิจัยในความร่วมมือของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
๓๘. รองศาสตราจารย์ ดร.สมบตั ิ คชสทิ ธ ์ิ หวั หนา้ คณะวจิ ยั
๓๙. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฐติ พิ ร พชิ ญกลุ คณะท�ำ งาน
๔๐. นายบญุ เลศิ คอ่ นสอาด คณะท�ำ งาน
๔๑. ดร.ทรงพร พนมวนั ณ อยธุ ยา คณะท�ำ งาน
๔๒. ดร.กณุ ฑลี บรริ กั ษส์ นั ตกิ ลุ คณะท�ำ งาน
๔๓. ดร.วรี ะชาติ ภาษชี า คณะท�ำ งาน
๔๔. ดร.ปฏมิ าภรณ์ ธรรมเดชะ คณะท�ำ งาน
๔๕. ดร.สมุ าลี เชอ้ื ชยั คณะท�ำ งาน
๔๖. ดร.นาฎฤดี จติ รรงั สรรค ์ คณะท�ำ งานและ
เลขานกุ าร

136 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รยี นระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

คณะผจู้ ดั ท�ำ เอกสาร

ทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
ดร.สภุ ทั ร จ�ำ ปาทอง รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
ดร.วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
ดร.สมศกั ด์ิ ดลประสทิ ธ ์ิ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั มาตรฐาน
นายส�ำ เนา เนอ้ื ทอง การศกึ ษาและพฒั นาการเรยี นรู้


บรรณาธกิ ารและเรยี บเรยี งเอกสาร
ดร.ประวณี า อสั โย ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ มาตรฐานการศกึ ษา
นางสาวกรกมล จงึ ส�ำ ราญ นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำ นาญการพเิ ศษ

ผปู้ ระสานการจดั จา้ งทป่ี รกึ ษาและการจดั พมิ พเ์ อกสาร
นางสาวกรกมล จงึ ส�ำ ราญ นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำ นาญการพเิ ศษ

พสิ จู นอ์ กั ษร นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร
นางสาวนรู ยี า วาจ ิ

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ มาตรฐานการศกึ ษา
ดร.ประวณี า อสั โย นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำ นาญการพเิ ศษ
นางสาวกรกมล จงึ ส�ำ ราญ นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำ นาญการพเิ ศษ
นางสวุ รรณา สวุ รรณประภาพร นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำ นาญการ
ดร.วภิ าดา วานชิ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร
นางสาวอบุ ล ตรรี ตั นว์ ชิ ชา นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร
นายพรพรหม เทพเรอื งชยั นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร
นางสาวนรู ยี า วาจ ิ

เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 137

หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ
กลมุ่ มาตรฐานการศกึ ษา
ส�ำ นกั มาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรยี นรู้
ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
โทรศพั ท์ ๐ ๒๖๖๘ ๗๑๒๓ ตอ่ ๒๕๒๘, ๒๕๒๙
โทรสาร ๐ ๒๒๔๓ ๑๑๒๙
Website : www.onec.go.th

138 เเนวทางการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน


Click to View FlipBook Version