จรรยาบรรณและศีลธรรมของตัวแทนประกันชีวิต นำย ก เป็ นตัวแทนประกันชีวิตของบริษัทแห่งหนึ่ง ได้ทรำบว่ำบริษัทประกันชีวิต ที่ตนเป็ นตัวแทนมีปัญหำขำดสภำพคล่องเป็ นกำรชั่ วครำวและส ำนักงำน คณะกรรมกำรก ำกับและส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจประกันภัยก ำลัง เร่งรัดให้ ปรับปรุงแก้ไขในฐำนะกำรเงิน นำย ก ทรำบว่ำ นำย ข เพื่อนของตนก ำลังจะท ำ ประกันชีวิตกับบริษัทนี้จึงรีบแจ้งให้ทรำบ กำรกระท ำของนำย ก ผิดจรรยำบรรณ ของตัวแทนประกันชีวิตหรือไม่ ก. ไม่ผิด เพรำะเป็ นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ข. ไม่ผ ิ ด เพรำะต ั วแทนต ้ องม ี ควำมซ่ื อส ั ตย ์ ส ุ จร ิ ตต่อผ ้ ู เอำประก ันชีวิต ค. ผิด เพรำะ นำย ก ไม่ซื่อสัตย์สุจริตกับบริษัทประกันชีวิตที่ตนเองสังกัด ง. ผ ิ ด เพรำะข ้ อม ู ลด ั งกล่ำวถอ ื เป็ นควำมล ั บอ ั นไม่ควรเปิ ดเผยของบร ิษัท
ก. ไม่ผิด เพราะนาย ก. ไม่ได้เป็ นผู้เอาประกันภัย ข. ไม่ผิด เพราะเป็นความจรงิหากเฝ้าดูอาการอยา่งใกลช้ดิ ก็รู้ ว่าเป็ นโรคร้ายแรง ค. ผิด เพราะท าให้นาย ก. เป็นทรี่งัเกยีจตอ่ผูใ้กลช้ดิ ง. ผิด เพราะเปิดเผยความลับของผู้เอาประกันภัย นาย ก. ไดข้อท าประกนัชวีติผา่นนาย ข. ตวัแทนประกนัชวีติแตบ่รษิทั ประกัน ชวีติ ปฎิเสธการรับประกันเนื่องจากนาย ก ป่ วยเป็ นโรคร้ายแรง ต่อมานาย ข. ไดบ้อกเรอื่งนตี้อ่ภรรยาของนาย ก ท่านว่านาย ข. ท าผิดหลักจรรยาบรรณ หรือไม่
ตัวอย่างข ้อสอบ 3.1 การกระท าขอ้ ใดตอ่ ไปนถ ี้อ ื วา่ต ั วแทนประก ั นชว ี ติร ั กษาความลับ อันไม่ควร เปิดเผยของผู้เอาประกันภัย ก. (…..) ปกปิดเรื่องของผู้เอาประกันภัยเป็นโรคมะเร็ง เพื่อให ้บริษัท พจิารณารับท าประกนั ชวีติ ใหก้บัผเู้อาประกนัภัย ข. (.....) ปกปิดอายุที่แท ้จริงของผู้เอาประกันภัย เพื่อให ้จ่ายเบี้ยประกัน ชวีตินอ้ยลง ค. (…..) ปกปิดเรื่องมารดาของผู้เอาประกันภัยเป็นโรคติดต่อไม่ให ้เพื่อน ๆ ของผู้เอาประกันภัยรู้ ง. (…..) ปกปิดผรู้ับประโยชนเ์รอื่งผเู้อาประกนัภัยไดท้ าประกนั ชวีติ ไว ้ 25 7
4. เปิ ดเผยข้อความจริง ของผูเ้อาประกนั ในสว่นทเี่ป็นสาระส าคญั เพื่อ การพิจารณารับประกัน หรือเพื่อความสมบูรณ์แห่งกรมธรรม์ • ขอ ้ มลูในสว ่ นทเ ี่ ป็นสาระสา คญ ั คอ ื คา ถามทกุขอ ้ ในใบคา ขอ • ต้องแนะน าให้ผู้เอาประกัน กรอกใบค าขอตามความเป็ นจริง และไม่ปกปิดข้อเท็จจริง • ไม่ชว ่ ยเหลอ ื เพอ ื่ ปกปิดความจริง
นางก. ป่วยเป็นโรคมะเร็งในขนั้เรมิ่ตน้จงึบอกใหลู้กชายชอื่นาย ข. ซงึ่เป็นตวัแทนของบริษัท ประกนัชวีติแหง่หนงึ่ใหม้าท าประกนั ชวีติเพอื่ทเี่มอื่ตนตายไป นาย ข. และน้อง ๆจะได้เงินก้อน หนึ่งไปท าการค้า นาย ข.จงึไดท้ าประกนัชวีติ ให้นาง ก. โดยกรอกข้อความในใบค าขอว่าไม่ได้ เจ็บป่ วย หลังจากนั้น อีก 4 ปี นาง ก.ถึงแก่ความตาย บริษัทได้จ่ายจ านวนเงินเอาประกันภัยให้แก่ นาย ข. และน้องๆ การกระท าของนาย ข. ผดิจรรยาบรรณและศลีธรรมตวัแทนประกนั ชวีติ หรือไม่ ก. ผดิเพราะไมเ่ ปิดเผยขอ้ความจรงิของผเู้อาประกนัภยัในสว่นทเี่ป็นสาระส าคญัเพอื่การ พจิารณารบัประกนัหรอืเพอื่ความสมบรูณ์ของสญัญา ข.ไมผ่ดิเพราะลกูกตญัญตูอ้งเชอื่ฟงัพอ่แม่และท าตามค าขอรอ้งของแมป่ระกอบกนั ในกรณีนไี้มว่า่จะเจ็บป่วย หรอืไมบ่รษิทัก็ตอ้งจา่ยเงนิเอาประกนัภยัอยดู่เีพราะเกิน 2 ปี บรษิทั ไมม่ สีทิธบิอกลา้งสญัญา ค. ไมผ่ดิเพราะท าใหค้ าขอรอ้งของแมเ่ ป็นจรงิและชว่ยใหน้อ้ง ๆมเีงนิทนุในการท าการค้า ง. ผดิเพราะไมม่คีวามซอื่สตัยต์อ่บรษิทั ประกนัชวีติ
ตัวอย่างข ้อสอบ 4.2 การพจิารณาวา่ขอ้มลูใดของผเู้อาประกนัภัยมสีาระส าคญัที่หากตวัแทนฯ ได ้ ทราบแลว้จะตอ้งแจง้ใหบ้รษิ ัททราบ มหีลกัเกณฑท์ สี่า คญั ในการพจิารณา อย่างไร ก. (…..) เป็ นข้อเท็จจริงที่หากบริษัทได้ทราบ จะต้องเรียกเก็บเบยี้ ประกนัภยัในอตัราทสี่งูขนึ้ ข. (.....) เป็ นข้อเท็จจริงที่หากบริษัทได้ทราบ อาจบอกปัดไม่รับ ประกันภัย ค. (…..) เป็ นข้อเท็จจริงเฉพาะที่ได้ระบุไว้ในใบค าขอเอาประกันภัย เท่านั้น ง. (…..) ถูกทุกข้อ 26 0
5. ไม่เสนอแนะผู้ขอเอาประกัน ท าประกันเกินความสามารถ ในการช าระ เบยี้ ประกนัหรอืเสนอขายนอกเหนอืเงอื่นไขแห่งกรมธรรม์ • ผู้เอาประกัน ควรท าประกันในแบบที่ต้องการ และตาม จ านวนเบย ี้ ประกน ั ทสี่ ามารถช าระไดจ ้ นครบสญ ั ญา • ไมแ ่ นะน าหรอ ื ชก ั จูงใหผ ู้เ ้ อาประกน ั ช าระเบย ี้ ประกนเกิน ั ความสามารถทั้งในปัจจุบันและในอนาคต • ไม่เสนอขายนอกเหนือเงื่อนไขในกรมธรรม์
จรรยาบรรณต ั วแทนประกน ั ชว ี ต ิ ขอ ้ 5 เชน่ : ไม่แนะน าให้ผู้เอาประกันภัยท าประกันหรือท าเรื่องขอประกันให้ โดยจา่ยเบยี้ ประกนัชวีติ สงูกวา่รายไดห้รอืตามความสามารถ เชน่ : ไม่เสนอขายนอกเหนือเงื่อนไขแห่งกรมธรรม์ว่าเมื่อเจ็บป่ วย จะสามาถเบิกค่ารักษาพยาบาลทั้งจากบริษัทและหน่วยงานของรัฐ นบัตงั้แตว่นัทสี่ญัญาเพมิ่เตมิเรมิ่มผีลบงัคบั 26 2
ก. ผิด เพราะ นาย ก.จา ่ ยเบย ี้ ประกน ั ภย ั ใหน ้ างสาว ข. ท า ประกันภัย ข. ผิด เพราะนาย ก. ขายประกน ั ทเ ี่ บย ี้ ประกน ั ชว ี ติ สูงกว่า รายได้ของนางสาว ข. ค. ไม่ผิด เพราะ นาย ก. และ นางสาว ข. รักใคร่ชอบพอกัน ง. ผิด เพราะ นาย ก. และ นางสาว ข. ยังไม่ได้จดทะเบียน สมรส นาย ก. เป็นตว ั แทนบรษิท ั ประกน ั ชว ี ติแห ่ งหนง ึ ่ รก ั ใครช่ อบพอ กับ นางสาว ข. แนะน าให้นางสาว ข.ท าประกน ัชว ี ติ โดยจา ่ ยเบย ี้ ประกันภัยสูงกว่า รายได้ ของนางสาว ข. และเสนอจะจ ่ ายเบย ี้ ประกันภัยให้ครึ่งหนึ่ง นาย ก. ผิดจรรยาบรรณหรือไม่
ตัวอย่างข ้อสอบ 5.2 ในการเสนอขายประกนั ชวีติของนาย ก. ซงึ่เป็ นตวัแทนประกนั ชวีตินาย ก. จะ สอบถามถงึอาชพีรายไดป้ระจ า ประวตัแิละสขุภาพ ของผขู้อท าประกนัภัย ก่อนที่จะเสนอขายประกันภัยให ้ผู้ขอท าประกันภัยพิจารณาในบางครั้งมีผู้สนใจ จะท าประกันภัย แต่ภายหลังจากการสอบถามปรากฎว่ารายได ้ของผู้นั้นมีจ านวน สูงกว่ารายจ่ายไม่มากนัก นาย ก. จงึแนะน าใหท้ าประกนั ชวีติ ในแบบทเบี้ย ี่ ประกนั ชวีติมจี านวนไมม่ากนัก เชน่แบบชวั่ระยะเวลา ทา่นคดิวา่การกระท าของ นาย ก. เป็นอย่างไร ก. (…..) ถกูตอ้ง สมควรไดร้บัค าชมเชยวา่เป็นตวัแทนประกนัชวีตที่ดี ิ ข. (.....) ถกูตอ้ง เพราะชว่ยรกัษาผลประโยชนใ์หแ้กบ่รษิทั ค. (…..) ถูกต้อง เพราะเป็ นผู้มีคุณธรรม ง. (…..) ถกูตอ้ง เพราะชว่ยรกัษาผลประโยชนใ์หแ้ก่ ผู้เอาประกันภัย 26 4
6. ไม่ลด หรือเสนอที่จะลดค่าบ าเหน็จเพื่อเป็ นการจูงใจให้เอา ประกันภัย การกระท าตอ่ ไปนี้ถอืวา่ ผิดจรรยาบรรณ - การให้สร้อยทองค าแก่ผู้เอาประกัน - จา่ยเบยี้ ประกนัปีแรกแทนลูกคา้ การกระท าตอ่ ไปนไี้มถ่อืวา่เป็นการลดคา่บ าเหน็จ - ซอื้ดอกไมห้รอืของขวญั ปีใหมใ่หผู้เ้อาประกนั - เลยี้งอาหารกลางวนัแกผู่เ้อาประกนั - ใหผู้เ้อาประกนักเู้งนิแตไ่มค่ดิดอกเบยี้ - สามี / ภรรยา สามารถช าระเบยี้ ประกนัใหแ้กก่นั ได้ - การน าเอาเงินค่าบ าเหน็จไปเล่นการพนันฟุตบอล
ก. ถูกต้อง เพราะตัวแทนต้องพยายามจูงใจให้ประชาชนมีการท าประกัน ชวีติมากทสี่ดุ ข. ไม่ถูกตอ้ง เพราะเป็นการผดิจรรยาบรรณ และเป็นการท าลายอาชพี ของเพอื่นรว่มอาชพีคนอนื่ๆ ค. ไม่ถูกต้อง เพราะรายได้ที่ควรจะได้จากค่าบ าเหน็จ ตัวแทนควรจะ เก็บ ไวเ้ป็นคา่ ใชจ้า่ยทจี่ะเกดิขนึ้ตอ่ๆ ไป ในการคอยตดิตามใหบ้รการแก่ผู้ ิ เอาประกันภัยจะเหมาะสมกว่า ง. ถูกทั้ง ข้อ ข. และ ข้อ ค. นาย ก. เป็นตวัแทนประกนั ชวีติ ไดช้กัชวน นาย ข. ท าประกนั ชวีติ โดยได้ เสนอที่จะให้ทองค า 1 เสน้ กับนาย ข. เพื่อจูงใจให้นาย ข. ท าประกนั ชวิต ี ท่านเห็นว่าการกระท าของนาย ก. เหมาะสมถูกต้องหรือไม่
ตัวอย่างข ้อสอบ 6.1 นาย ช.ชา้ง เป็ นตวัแทนประกนั ชวีติ ไดช้กัชวน นาย ฉ.ฉงิ่ท าประกนั ชวีติและเพื่อ เป็นการจูงใจให ้นาย ฉ. ฉงิ่ท าประกนั ชวีติรวมทงั้ใหช้ว่ยชกัชวนเพอื่นๆ ให ้ท า ประกนั ชวีติกบัตนดว้ย นาย ช.ชา้ง จงึไดเ้สนอทจี่ะใหส้รอ้ยคอทองค ามลูค่าสอง สลึง แก่นาย ฉ.ฉิ่ง เป็นประเดิม และจะให ้ทองแก่นาย ฉ.ฉิ่ง เป็นของก านัลอีก หากนาย ฉ.ฉงิ่สามารถชกัชวนใหเ้พอื่นๆ มาท าประกนั ชวีติผ่านตน โดยทองทจะี่ ไดร้ับจะมมีลูคา่ขนึ้อยกู่ ับจ านวนเงนิเอาประกนั ชวีติจากการกระท าดงกล่าวของ ั นาย ช.ชา้ง ในฐานะทที่า่นเป็ นตวัแทนทา่นคดิวา่ขอ้ ใดเป็ นค าตอบทถีู่กต ้อง ก. (…..) นาย ช.ชา้ง ไมผ่ดิจรรยาบรรณ เพราะเป็ นกลยทุธท์าง การตลาดเพอื่จงูใจใหม้กีารท าประกนั ชวีติกบัตนมากขนึ้ ข. (.....) นาย ช. ชา้ง ไมผ่ดิจรรยาบรรณ เพราะไมไ่ดเ้สนอลดเบยี้ ประกันภัย ค. (…..) นาย ช. ชา้ง ผดิจรรยาบรรณ เพราะการเสนอใหท้องค าเพอื่ เป็ นการจงูใจใหท้ าประกนั ชวีติถอืเป็ นรูปแบบหนงึ่ของการ ลดคา่บ าเหน ็ จ ฯ เพอื่จงูใจใหท้ าประกนั ชวีติ ง. (…..) ทั้งนาย ช.ชา้ง และนาย ฉ.ฉิ่ง ผิดจรรยาบรรณตัวแทน ประกนั ชวีติ 26 7
ตัวอย่างข ้อสอบ 6.2 นาย ก. เป็ นตวัแทนประกนั ชวีติ ไดช้กัชวนนาย ข. ท าประกนั ชวีติ โดยไดเ้สนอที่ จะลดค่าบ าเหน็จให ้นาย ข. เพื่อจูงใจให ้นาย ข. ท าประกนั ชวีติทา่นเห ็ นว่าการ กระท าของนาย ก. เหมาะสม ถูกต ้องหรือไม่ ก. (…..) ถูกต้อง เพราะตัวแทนต้องพยายามจูงใจให้ประชาชนมีการ ท าประกนัชวีติมากทสี่ดุ ข. (.....) ไม่ถูกต้อง เพราะเป็ นการผิดจรรยาบรรณและเป็ นการ กระท าทเี่ป็นการท าลายอาชพีของเพอื่นรว่มอาชพีคนอน ๆื่ ค. (…..) ไม่ถูกต้อง เพราะตัวแทนไม่ควรลดค่าบ าเหน็จให้ผู้เอา ประกันภัยเพื่อท าประกันภัย ง. (…..) ถูกทั้ง ข้อ ข. และ ข้อ ค. 26 8
7. ไม่แนะน า ให้ผู้เอาประกัน สละกรมธรรม์เดิม เพอื่ท าสญัญาใหมห่ ากท า ใหผู้เ้อาประกนัเสยีประโยชน์ • ถ ้าตัวแทนขอย้ายบริษัท : หา้มท าการชกัจงูใหผ้เู้อาประกนัยกเลกิกรมธรรม์เดิม • ตัวแทนที่ดี ต ้องแนะน า ข ้อดี – ขอ้เสยี ในการยกเลกิกรมธรรมใ์หช้ดัเจน เพราะ ท าให้ผเู้อาประกนัเสยีประโยชน์ • ขายประกันเพิ่มเติมโดยไม่ยกเลิกกรมธรรม์เดิมไม่ถือว่าผิดจรรยาบรรณ • การเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงแบบในกรมธรรม์ฉบับเดิมเพื่อให ้มีผลประโยชน์ที่ดีขึ้น ไม่ถือว่าผิดจรรยาบรรณ • กรณีกรมธรรม์เดิมยังไม่อนุมัติแล ้วเสนอให ้เปลี่ยนแบบประกันใหม่ถือว่าไม่ผิด จรรยาบรรณ
ก. ไม่ผิด เพราะนาย ค. ซงึ่เป็นเพอื่นสนทิจะใหบ้รกิารทดี่ ี ข. ไม่ผดิเพราะการขายประกนั ชวีติก็ตอ้งมกีารแข่งขนักนัหากตวัแทน ประกนัชวีติท าใหผ้ทู้ ไี่ดท้ าประกนัชวีติกบับรษิทัหนงึ่ยกเลกกรมธรรม์เดิม ิ ของตน แล้วมาท าใหม่กับบริษัทของตนก็นับว่ามีความสามารถมาก ค. ผิด เพราะนาย ค.อาจให้บริการแย่กว่านาย ข.ก็เป็ นได้ ง. ผดิเพราะแนะน าใหผู้เ้อาประกนัภยัสละกรมธรรมเ์ดมิเพอื่ท าสญัญาใหม่ ซงึ่ท าใหผ้เู้อาประกนัภยัเสยีผลประโยชน์ นาย ก. ไดท้ าประกนัชวีติผา่นนาย ข.ตวัแทนประกนัชวีติแหง่หนงึ่ตอ่มานาย ก. มารู้จักและสนิทกันนาย ค. ซงึ่เป็นตวัแทนประกนัชวีติของบรษิทัอกีแหงหนึ่งและ ่ ได้ปรึกษาว่า นาย ข.ไม่สนใจการให้บริการใด ๆ เลย นาย ค.จึงแนะน านาย ก.ให้ เลกิกรมธรรมเ์ดมิแลว้มาท าประกนั ชวีติกบับรษิทัของตน ท่านคดิว่านาย ค. ท า ผิดจรรยาบรรณหรือไม่
ตัวอย่างข ้อสอบ 7.1 บรษิ ัทแหง่หนงึ่อยใู่นชว่งการแขง่ขนัผลงาน นาย ก. ซงึ่เป็ นตวัแทนประกนั ชวีติจงึ พยายามเสนอขายกรมธรรม์ใหม่ให ้แก่ลูกค่าเก่าที่ท ามา 2-3 ปี โดยนาย ก. ได ้ บอกแก่นาย ข. ลูกค ้าเก่าว่ากรมธรรม์ฯ เดิมล ้าสมัย กรมธรรม์ฯ แบบใหม่ให ้ ผลประโยชน์มากกว่า แต่นาย ข. บอกว่าขณะนี้เขายังไม่มีเงิน จะมีเงินก็อีก 2 เดอืนขา้งหนา้ ซงึ่จะหมดระยะเวลาการแขง่ขนัแลว้นาย ก. จึงแนะน านาย ข. ให ้ ยกเลกิกรมธรรมฯ์เดมิเพอื่น าเงนิมาชา ระเบยี้ประกนัภัยสา หรับกรมธรรมฯ ใหม่ ์ การกระท าของนาย ก. ผิดจรรยาบรรณเพราะอะไร ก. (…..) เพราะนาย ก.เห็นแกป่ระโยชนส์ว่นตวั ข. (.....) เพราะนาย ก. แนะน าใหผู้เ้อาประกนัชวีติเลกิกรมธรรมฯ์เดิม เพอื่ซอื้กรมธรรมฯ์ ใหม่ ค. (…..) เพราะท าใหผู้เ้อาประกนัชวีติเสยีผลประโยชน์ ง. (…..) ข้อ ข. และ ค. ถูก 27 1
ตัวอย่างข ้อสอบ 7.4 นาย ก. เป็ นตวัแทนประกนั ชวีติมักจะไดย้นินาย ข. ซงึ่เป็ นเพอื่นบน่เสมอว่าตัว แทนที่ นาย ข. ไดท้ าประกนั ชวีติดว้ยใหบ้รกิารไมด่ ี ไมส่นใจทจี่ะตดิ ตามเก็บเบี้ย ประกนัภัย และไมส่ามารถทจี่ะปรกึษาหรอืขอทราบขอ้สงสยัอะไรเกยี่วกับการ ประกนั ชวีติ ได้นาย ก. จึงเสนอให ้ นาย ข. เลิกกรมธรรม์เดิมและมาท าประกัน ชวีติ ใหมก่บัตน ทา่นเห ็ นวา่นาย ก. กระท าถูกต ้องเหมาะสมหรือไม่ ก. (…..) ถกูตอ้ง เพราะการประกนัชวีติเป็นการบรกิาร เมอื่ตวัแทนฯ บริการไม่ดีก็ควรจะเลิก ข. (.....) ไม่ถูกต้อง เพราะการเลิกกรมธรรม์เดิม และท าประกันภัย ใหม่ท าใหผู้เ้อาประกนัภยัเสยีประโยชนเ์พราะอาจตอ้งเสยี เบยี้ ประกนัภยัมากขนึ้จากการทอี่ายมุากขนึ้ ค. (…..) ไม่ถูกต้อง เพราะนาย ก. อาจเสนอขายกรมธรรม์ฯ อื่นๆ ให้ นาย ข. อีกก็ได้ โดยไม่จ าเป็ นต้องเลิกกรมธรรม์ฯ เดิม ง. (…..) ข้อ ข. และข้อ ค. ถูกต้อง 27 2
8. ต้องไม่ กล่าวร้ายทับถม ตัวแทน หรือบริษัทอื่น • ไม่พ ู ดจำตำ หน ิ ต ิ เต ี ยน และเล่ำพฤต ิ กรรมท่ีไม่ด ี ของต ั วแทนให ้ ลก ู ค ้ ำ หร ื อ คนอื่นๆ ฟัง • ไม่พ ู ดโอ ้ อวด ยกย่องแบบประก ั น หร ื อจ ุ ดเด่นของบร ิ ษ ั ทเก ิ นจร ิ ง • ต ั วแทนท่ี ม ีประสบกำรณ ์ จำกบร ิ ษ ั ทอ่ื น ต ้ องไม่น ำข ้ อม ู ลของบริษัทเดิม ไปเล่ำให ้ ล ู กค ้ ำ หร ื อบ ุ คคลใดฟั ง • ไม่พ ู ดถง ึ ต ั วแทนหร ื อบร ิ ษ ั ทอ่ื นในทำงท่เ ี ส่อ ื มเสย ี • กำรน ำเอำข ้ อม ู ลทำง Internet ของบริษัทมำเปรียบเทียบเพื่อชี้ให้เห็นจุด ด้อยของบริษัทอื่น ๆ
นาย ก เป็นตวัแทนประกนั ชวีติบรษิทัหนงึ่จ ากดัตอ่มาไดย้า้ยมาเป็นตวัแทนประกัน ชวีติของบรษิทั สอง จา กดัเนอื่งจากอยู่ใกล้บา้นและไดเ้สนอขายการประกนั ชีวติ ใหแ้ก่นาย ข ซงึ่เป็นบคุคลเดยีวกบัคนที่นาย ค ตวัแทนประกนัชวีติบรษิทั สอง จ ากัด เสนอขายการประกนัวติอยเู่ ชน่กนัเมอื่นาย ค ทราบเชน่นนั้จงึบอกแกน่าย ข วาการที่ ่ นาย ก ย้ายบริษัทบ่อยๆเป็ นการแสดงออกถึงพฤติกรรมที่ไม่ดี การกล่าวของ นาย ค ผดิจรรยาบรรณและศลีธรรมของตวัแทนประกนัชวีติ หรือไม่ ก. ผิดจรรยาบรรณ เพราะเป็ นการกล่าวให้ร้ายทับถม นาย ก ข. ผิดจรรยาบรรณ เพราะเปิดเผยความลับ อันไม่ควรเปิดเผยของตัวแทนประกัน ชวีติดว้ยกนั ค. ไม่ผิดจรรยาบรรณ เพราะเป็ นการแสดงความคิดเห็นของ นาย ค เท่านั้น ง. ไมผ่ดิจรรยาบรรณ เพราะการตดัสนิ ใจท าประกนัชวีติขนึ้อยกู่บัการตดัสนใจ ิ ของ นาย ข ผู้เดียว
9. ต้องหมั่น ศก ึ ษาหาความร ู ้ในวชิาชพ ี เพมิ่ เตมิอยู่เสมอ • รอบรู้ในตัวงาน, วิชาการ, หลักวิธีการขาย และให้บริการที่ ดีควบคู่กันไปเสมอ • ถอ ื เป็นความพรอ ้ มในการประกอบอาชพ ี • เข้ารับการฝึกอบรม, สม ั มนา, แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ เพอ ื่ นรว ่ มงาน หรอ ืศก ึ ษาเพมิ่ เตมิจากตา ราตา ่ งๆ ความรใ ู ้ นวชิ าชพ ี หมายถง ึ - ความรเ ู ้ กย ี่ วกบ ั งานประกน ัชว ี ต ิ - การฝึกพูดในที่ชุมชน - การดูงานที่ต่างประเทศ
ก. ถูก เพราะนาย ก. เป็ นผู้มีความรู้ความสามารถจนไม่จ าเป็ นต้อง ศกึษาเพมิ่เตมิ ข. ถูก เพราะอย่างไรก็ตามไม่มีใครเก่งกว่านาย ก. อีกแล้ว ค. ไม่ถูก เพราะความรูท้มี่อีาจลมืเลอืนหรอืมเีพมิ่ขนึ้ ใหม่จ าเป็ นต้อง ศกึษาอยเู่ สมอ ง. ไมถ่กูเพราะผดิจรรยาบรรณและศลีธรรมตวัแทน นาย ก. เป็นตวัแทนประกนัชวีติ ซงึ่ถอืวา่ตนเองมคีวามรูค้วามสามารถกว่า คนอื่น เพราะตนจบการศึกษาด้านธุรกจิ ประกนัภยัจากต่างประเทศ โดยเฉพาะ ดังนั้น นาย ก. จงึไม่สนใจศกึษาหาความรูใ้นวชิาชพี ประกนั ชวีติเพมิ่เตมิดงันี้ทา่นคดิวา่นาย ก. ท าถูกหรือไม่
ตัวอย่างข ้อสอบ 9.1 นาย ก. เป็ นตวัแทนประกนั ชวีติของบรษิ ัทแหง่หนงึ่นาย ก. เป็นคนขยัน สามารถ ชกัชวนคนใหม้าท าประกนั ชวีติดว้ยไดเ้ป็ นจ านวนมาก นอกจากนแี้ลว้ก ็ ยังขยันหา ความรูเ้กยี่วกบัการประกนั ชวีติอยเู่ สมอ เมอื่มกีารอบรมเกยี่วกบัการประกนั ชวีติที่ นาย ก. เห็นว่าเกี่ยวข ้องและมีประโยชน์กับตนเองก็จะเข ้าร่วมอบรมด ้วย และก็น า ความรู้ที่ได ้มานี้มาบอกเล่าให ้ผู้เอาประกันภัยและบุคคลอื่นทราบด ้วย ท่านคิดว่า การกระท าของนาย ก. เป็ นตวัแทนประกนั ชวีติทดี่หีรอื ไม? ่ ก. (…..) นาย ก. เป็นตวัแทนประกนัชวีติทไี่มด่ ีควรใชเ้วลาในการ บริการผู้เอาประกันภัยจะดีกว่า ข. (.....) นาย ก. เป็นตวัแทนประกนัชวีติทดี่ ีสมควรทจี่ะยดึถอืเป็ น แบบอย่างและกระท าตาม ค. (…..) นาย ก. เป็นตวัแทนประกนัชวีติทดี่รีูจ้กัหาความรูเ้พมเติม ิ่ ให้แก่ตนเอง ง. (…..) ข้อ ข. และ ข้อ ค. ถูก 27 7
10. ประพฤติตนอยู่ใน ศล ี ธรรมประเพณ ี อน ั ดง ี าม ทงั้ธ ารงไวซ้งึ่เกียรติ ศกัดศิ์รีและคณุธรรม แหง่อาชวีปฏญาณิ • ถอืศลี 5 : ไมฆ่า่ สตัว,์ไม่ลักทรัพย์, ไม่ประพฤติผิดในกาม, ไม่พูดโกหก หลอกลวง, ไม่ดื่มสุรา เสพสารเสพติด • การด ารงไวซ้งึ่เกยีรติศกัดศิ์รีเชน่แตง่กายสภุาพ, พูดจาสุภาพ, ซอื่สตัย, ์ จริงใจ • ชว่ยเหลอืผูเ้อาประกนัดว้ยความสจุรติ ใจ ค าว่า อาชีวปฏิญาณ หมายถ ึ ง การท ี่ผ ้ ู ประกอบว ิ ชาช ี พต ั วแทนประก ั นช ีวิตจะต้อง ปฏิญาณต่อวิชาชีพ กล่าวคือ ตัวแทนประกันชีวิตจะต้องละเว้นไม่ปฏิบัติสิ่งใด ๆ อัน อาจท าให้เสื่อมเสียชื่อเสียงของสถาบันประกันชีวิตและบริษัทประกันชีวิต
ก. ผิด เพราะไมไ่ ดป้ ระพฤตตินอยใู่ นศล ี ธรรมประเพณ ี อน ั ดง ี าม ข. ไม่ผิด เพราะนาย ก. ยังให้บริการที่ดีแก่ลูกค้าอย่างสม ่าเสมอ ค. ไมผ ่ ดิเพราะเรอ ื่งงานและเรอ ื่งสว ่ นตว ั ตอ ้ งแยกออกจากกน ั ง. ผิด เพราะเมอ ื่มพ ี ฤตกิรรมเชน ่ น ี้ ก็จะมค ี า ่ ใชจ ้ า ่ ยมาก อาจเป็ น ผลก่อให้เกิดการทุจริตในเรื่องเงินได้ นาย ก. เป็นตว ั แทนประกน ั ชว ี ติ ซง ึ่บรกิารลูกคา ้ ของตนเองดม ี าก แต่นาย ก. มักจะพาลูกน้องไปดื่มสุราเพื่อเป็ นการพักผ่อนอยู่เสมอ พฤติกรรมของนาย ก. น ี้ ผดิจรรยาบรรณและศล ี ธรรมของตว ั แทน ประกน ัชว ี ติหรอ ื ไม ่
ตัวอย่างข ้อสอบ 10.1 ข ้อความต่อไปนี้ ข ้อใดที่เป็น “อาชวีปฏญิาณ” ซงึ่ผปู้ระกอบอาชพีตวแทนั ประกนั ชวีติจะตอ้งปฏญิาณตอ่วชิาชพี ก. (…..) ขา้พเจา้จะละเวน้ ไมป่ฏบิตัสิงิ่ใดๆ อนัอาจจะท าใหเ้สอื่มเสยี ชอื่เสยีงของสถาบนัประกนัชวีติและบรษิทั ประกนัชวีติ ที่ ข้าพเจ้าท างาน ข. (.....) ข้าพเจ้าจะถือว่าสวัสดิการและผลประโยชน์ของลูกค้า เหนอืกวา่ ประโยชนส์ว่นตวัของขา้พเจา้ ค. (…..) ขา้พเจา้ขอสญัญาวา่จะใหค้วามพยายามทุกวถิทีางทจี่ะ ให้บริการหรือแนะน าใดๆ แก่บุคคลใดๆ ตามความเป็ นจริง ดว้ยความส านกึทขี่า้พเจา้รู้และควรรู้และจะใหแ้กบ่ คคลอื่นุ เสมือนให้แก่ตัวข้าพเจ้าเอง ง. (…..) ถูกทั้งข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค. 28 0
1. ท าความเขา ้ใจจรรยาบรรณแตล ่ ะเรอ ื่ งใหช้ ด ั เจน เทคนค ิ การพชิ ต ิ ขอ ้สอบจรรยาบรรณฯ 2. อ่านและวิเคราะห์โจทย์ให้ละเอียด เพื่อให้ทราบว่าโจทย์ ต้องการที่จะพูดถึงจรรยาบรรณเรื่องอะไร 4. หา ้ มใชค ้ วามรสู้ ก ึ ในการตอบ ใหย ้ ด ึ จรรยาบรรณ เรื่องนั้นๆ เป็ นหลัก 3. เมื่อทราบว่าเป็ นจรรยาบรรณเรื่องอะไรแล้ว ให้เลือกค าตอบ ที่ตรงกับจรรยาบรรณเรื่องนั้นที่สุด 28 2
7. ถ้าก าลังท าข้อสอบจรรยาบรรณในเรื่องใดอยู่ เรื่องนั้น สา คญ ั ทสี่ ดุ 6. การกระท าของตัวแทน ไม่ว่าจะถูกหรือผิด จะดีหรือไม่ดี ถ้าขัดต่อจรรยาบรรณก็ถือว่าผิด 5. คา ตอบทถ ี่ กูตอ ้ งสว ่ นมาก จะมจ ี รรยาบรรณเรอ ื่ งนน ั ้ ๆ เป็ น เหตุผลพ่วงอยู่ด้วย เทคนค ิ การพชิ ต ิ ขอ ้สอบจรรยาบรรณฯ 28 3
1. จบ ั คตู่ อ ่ ไปน ี้ ข ้อที่ 1 จรรยาบรรณข ้อที่ 1 = ซอื่สตัย์ ข ้อที่ 2 จรรยาบรรณข ้อที่ 2 = บริการ / ชแี้จง ข ้อที่ 3 จรรยาบรรณข ้อที่ 3 = ความลับอันมิควรเปิดเผยฯ ข ้อที่ 4 จรรยาบรรณข ้อที่ 4 = เปิดเผยข ้อความจริง / สาระสา คญั ข ้อที่ 5 จรรยาบรรณข ้อที่ 5 = ความสามารถในการชา ระเบยี้ฯ ข ้อที่ 6 จรรยาบรรณข ้อที่ 6 = ลดค่าบ าเหน็จ ข ้อที่ 7 จรรยาบรรณข ้อที่ 7 = สละกรมธรรม์เดิม ข ้อที่ 8 จรรยาบรรณข ้อที่ 8 = กล่าวร้ายทับถม ข ้อที่ 9 จรรยาบรรณข ้อที่ 9 = ความรูใ้นวชิาชพี ข ้อที่ 10 จรรยาบรรณข ้อที่ 10 = ศลีธรรม เกยีรติศกัดศิ์รี
2. อ่านโจทย์จับประเด็น 1. อา ่ นโจทยใ์ หล ้ ะเอย ี ด จบ ัประเด็นทสี่ า คญ ั 2. ใครคือตัวแทน ตัวแทนมีกี่คน 3. ตว ั แทนท าอะไร มผ ี ลเสย ี หายตอ ่ บคุคลทจรรยาบรรณข้ ี่ อ นั้นๆพูดถึงหรือไม่ 4. เลือก ค าตอบ ก. ข. ค. ง. ที่ตรงกับจรรยาบรรณ 5. ข้อที่ถูกที่สุด มักจะมีข้อจรรยาบรรณ พ่วงท้ายเสมอ
ตัวแทนคือ ใคร ตัวแทนท าอะไร ? เกิดความเสียหายหรือไม่ บริษัท ผ ู้เอาประกนั เพื่อนร่วมอาชีพ ผิดจรรยาบรรณ ผิด เพราะอะไร ? แน่ ๆ เลย
อย่าคิดลึก อย่าคิดมาก
288