The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by niran.moo, 2022-05-25 00:22:18

วิชาสังคม สค11001

2013-12-18_22-25-13_0.096375

หนงั สอื เรยี น สาระการพัฒนาสังคม

รายวิชาสงั คมศึกษา
(สค11001)

ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

หามจําหนา ย

หนังสอื เรียนเลม น้ี จดั พิมพด ว ยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพือ่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสําหรบั ประชาชน
ลขิ สทิ ธ์ิเปนของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม

รายวชิ า สังคมศกึ ษา (สค11001)

ระดบั ประถมศกึ ษา

เอกสารทางวิชาการหมายเลข 31/2554

คํานาํ

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการ
จัดทําหนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้น เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนา
ผเู รยี นใหม คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มสี ตปิ ญ ญาและศกั ยภาพในการประกอบอาชพี การศกึ ษาตอ
และสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุขโดยผูเรียนสามารถ
นาํ หนงั สอื เรยี นไปใชด ว ยวธิ กี ารศกึ ษาคน ควา ดว ยตนเอง ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม รวมทงั้ แบบฝก หดั
เพอ่ื ทดสอบความรคู วามเขา ใจในสาระเนอื้ หา โดยเมอ่ื ศกึ ษาแลว ยงั ไมเ ขา ใจ สามารถกลบั ไป
ศกึ ษาใหมไ ด ผเู รยี นอาจจะสามารถเพม่ิ พนู ความรหู ลงั จากศกึ ษาหนงั สอื เรยี นน้ี โดยนาํ ความรู
ไปแลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นในชนั้ เรยี น ศกึ ษาจากภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ จากแหลง เรยี นรแู ละจากสอื่
อนื่ ๆ

ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการ
ศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดร บั ความรว มมอื ทด่ี จี ากผทู รงคณุ วฒุ แิ ละผเู กย่ี วขอ ง
หลายทานท่ีคนควาและเรียบเรียงเน้ือหาสาระจากส่ือตางๆ เพ่ือใหไดสื่อท่ีสอดคลองกับ
หลกั สตู รและเปน ประโยชนต อ ผเู รยี นทอ่ี ยนู อกระบบอยา งแทจ รงิ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ขอขอบคณุ คณะทปี่ รึกษาคณะผูเ รยี บเรียง ตลอดจน
คณะผูจดั ทําทุกทา นทีไ่ ดใหความรวมมอื ดวยดี ไว ณ โอกาสน้ี

สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั หวงั วา หนงั สอื เรยี น
ชุดนี้จะเปน ประโยชนในการจดั การเรยี นการสอนตามสมควร หากมีขอ เสนอแนะประการใด
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ
ขอบคณุ ยิง่

สํานกั งาน กศน.

สารบญั

คํานํา
คําแนะนําการใชห นงั สือเรยี น
โครงสรางรายวิชาสงั คมศึกษา (สค 11001)
บทที่ 1 ภมู ิศาสตรก ายภาพประเทศไทย ......................................................1
เรื่องที่ 1 ลกั ษณะภูมิศาสตรกายภาพของชุมชนทองถ่ิน........................... 2
เร่อื งที่ 2 ลักษณะภมู ิศาสตรกายภาพของประเทศไทย ............................. 6
เรื่องท่ี 3 การใชขอ มลู ภูมิศาสตรกายภาพชุมชนทอ งถน่ิ
ในการดาํ รงชวี ติ ...................................................................... 9
เรอื่ งที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติ และวธิ กี ารอนรุ ักษ
ทรัพยากรธรรมชาติ .............................................................. 15
บทที่ 2 ประวตั ศิ าสตรช าตไิ ทย.................................................................21
เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของประวัตศิ าสตร............................ 22
เรือ่ งที่ 2 ประวัติความเปนมาของชนชาติไทย....................................... 24
บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร..............................................................................48
เรือ่ งที่ 1 เศรษฐศาสตรในครอบครวั และชมุ ชน ..................................... 49
เรื่องท่ี 2 กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ........................................................... 50
เรอ่ื งท่ี 3 คณุ ธรรมของผผู ลติ และผบู ริโภค ........................................... 54
เร่อื งที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ มในทองถน่ิ
และชุมชน............................................................................ 56
บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง ..................................................................65
เรื่องที่ 1 ความหมายและความสําคญั ของการเมือง
และการปกครอง................................................................... 66
เรอื่ งที่ 2 โครงสรา งการบรหิ ารราชการแผน ดนิ ...................................... 69
เรือ่ งที่ 3 ความสัมพันธร ะหวา งอาํ นาจนติ ิบัญญตั ิ
อํานาจบรหิ าร อาํ นาจตุลาการ................................................ 73
เรอื่ งที่ 4 การมีสว นรวมทางการเมอื งการปกครองในระดบั ทอ งถิน่
และระดบั ประเทศ................................................................. 75
แนวเฉลยกิจกรรม ........................................................................................... 78
บรรณานกุ รม ........................................................................................... 82
ภาคผนวก ........................................................................................... 83
คณะผจู ัดทํา ........................................................................................... 91

คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สือเรียน

หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค11001) ระดบั ประถม
ศึกษา เปน หนังสอื ทจี่ ัดทาํ ขึ้นสําหรับผูเรียนทเ่ี ปน นักศึกษานอกระบบ

ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค11001)
ผูเรียนควรปฏิบตั ิดงั นี้

1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเ ขา ในในหวั ขอ และสาระสาํ คญั ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั
และขอบขา ยเนื้อหาของรายวิชานน้ั ๆ โดยละเอยี ด

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ี
กําหนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมตามท่ีกําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไป
ศกึ ษาและทําความเขาใจในเนอื้ หาน้ันใหมใหเ ขาใจ กอ นทีจ่ ะศึกษาเร่อื งตอ ๆ ไป

3. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทา ยเรอื่ งของแตล ะเรอื่ ง เพอื่ เปน การสรปุ ความรู ความเขา ใจของ
เน้ือหาในเรื่องนั้นๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหา แตละเรื่อง ผูเรียน
สามารถนําไปตรวจสอบกบั ครูและเพอื่ น ๆ ที่รวมเรยี นในรายวชิ าและระดับเดยี วกนั ได

4. หนงั สอื เรียนเลมนมี้ ี 4 บท คือ
บทท่ี 1 เรื่อง ภมู ศิ าสตรกายภาพประเทศไทย
บทที่ 2 เร่ือง ประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทย
บทท่ี 3 เรอ่ื ง เศรษฐศาสตร
บทที่ 4 เรื่อง การเมอื งการปกครอง

โครงสรา งรายวิชาสังคมศกึ ษา (สค11001)

สาระสาํ คัญ

การไดเรียนรูเกี่ยวกับตนเอง สภาพแวดลอมทองถิ่น จังหวัด ภาคและประเทศ
ของตนท้ังดานประวัติศาสตร ลักษณะทางภูมิศาสตร กายภาพ เศรษฐกิจ การเมือง
การปกครอง ตลอดจนการไดร ับการพฒั นาความรู ความเขา ใจในศาสนา มีจติ สาํ นกึ และมี
สว นรว มในการอนรุ กั ษว ฒั นธรรม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มเพอื่ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง

1. อธิบายขอมูลเก่ียวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง
การปกครองท่ีเกย่ี วขอ งกับตนเอง ชุมชน ทอ งถน่ิ และประเทศไทย

2. ระบุสภาพความเปล่ียนแปลงดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร
การเมอื งการปกครอง และกฎหมายทมี่ ผี ลกระทบตอวถิ ีชมุ ชนทองถิ่น ชวี ติ คน สงั คมและ
ประเทศไทย

3. เกิดความตระหนักและสามารถนําความรูทางดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร
เศรษฐศาสตร การเมอื ง การปกครองไปประยกุ ตใ ชใ หท นั ตอ การเปลยี่ นแปลงกบั สภาพชมุ ชน
สังคม เพอื่ ความม่นั คงของชาติ

ขอบขายเนอ้ื หา

บทที่ 1 ภูมศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย
บทท่ี 2 ประวตั ศิ าสตรช าติไทย
บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร
บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง

สอ่ื ประกอบการเรียนรู

เอกสารแบบเรยี น
เอกสารเสรมิ



รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 1

1บทที่ ภมู ศิ าสตรทางกายภาพประเทศไทย

สาระสาํ คัญ

ลักษณะทางกายภาพและสรรพส่ิงในโลก มีความสัมพันธซ่ึงกันและกัน และมี
ผลกระทบตอ ระบบนเิ วศธรรมชาติ การนาํ แผนทแี่ ละเครอ่ื งมอื ภมู ศิ าสตรม าใชใ นการคน หา
ขอมูล จะชวยใหไดรับขอมูลท่ีชัดเจนและนําไปสูการใชการจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ
การปฏสิ มั พนั ธร ะหวา งมนษุ ยก บั สภาพแวดลอ มทางกายภาพ ทาํ ใหเ กดิ สรา งสรรคว ฒั นธรรม
และจติ สาํ นกึ รว มกนั ในการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มเพอื่ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื

ผลการเรียนรทู คี่ าดหวัง

1. อธิบายลักษณะภมู ิศาสตรท างกายภาพของประเทศไทยได
2. บอกความสมั พนั ธระหวางปรากฏการณทางธรรมชาตกิ ับการดําเนนิ ชีวติ ได
3. ใชแ ผนทแ่ี ละเครอื่ งมอื ภูมิศาสตรไ ดอยางเหมาะสม
4. วิเคราะหสภาพแวดลอมทางกายภาพ วัฒนธรรมและกระบวนการเปลี่ยนแปลง

ทางลักษณะกายภาพและลกั ษณะวฒั นธรรมทอ งถน่ิ ได

ขอบขายเนือ้ หา

เร่อื งที่ 1 ลกั ษณะทางภมู ิศาสตรกายภาพของชุมชน
เรอื่ งท่ี 2 ลกั ษณะทางภมู ิศาสตรก ายภาพของประเทศไทย
เรื่องท่ี 3 การใชขอมลู ภูมิศาสตรก ายภาพชมุ ชน ทองถ่นิ เพื่อใชในการดํารงชวี ติ
เรื่องที่ 4 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติ

ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย2 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม

เรอ่ื งที่ 1 ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรก ายภาพของชุมชน ทองถน่ิ

ภมู ศิ าสตร หมายถงึ วชิ าทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั พนื้ ผวิ โลกทเี่ กยี่ วกบั ภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ
ทรพั ยากรธรรมชาติ ผลติ ผลและคน รวมทง้ั การกระจายของสงิ่ ตางๆ เหลา นี้ คอื 6 วชิ าท่ี
ศกึ ษาถึงความสมั พนั ธระหวาง โลกกบั มนุษย สงิ่ แวดลอ มกับมนุษย

ภมู อิ ากาศ หมายถงึ การปฏสิ มั พนั ธเ กย่ี วกบั องคป ระกอบของอตุ นุ ยิ มวทิ ยา รกั ษา
รปู แบบตา งๆ เชน ภมู อิ ากาศแบบรอ นชน้ื ภมู อิ ากาศแบบอบอนุ ชน้ื ภมู อิ ากาศแบบรอ นแหง
แลง เปนตน

ภูมิประเทศ หมายถึง การปฏิสัมพันธเก่ียวกับองคประกอบของแผนดิน จําพวก
หิน ดนิ ความตา งระดบั ทําใหเ กดิ ภาพลักษณร ปู แบบตา งๆ เชน พืน้ ทแ่ี บบภเู ขา พน้ื ท่แี บบ

1บทที่ ลาดเชิงเขา พ้นื ที่ราบ พื้นทล่ี มุ เปน ตน
ภูมภิ าค หมายถึง บรเิ วณทแี่ หงใดแหง หน่งึ บนพน้ื ผิวโลกท่ีกาํ หนดทม่ี ลี ักษณะทาง
ใดทางหนง่ึ หรอื หลายๆ อยา ง ทคี่ ลา ยคลงึ กนั ในขณะเดยี วกนั กแ็ ตกตา งไปจากสว นอนื่ ๆ ท่ี
อยูใกลเคียงโดยรอบ การแบงภูมิภาคกระทําไดหลายวิธี แลวแตความประสงคในการนําไป
ใชประโยชน
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศไทย
ประเทศไทยมีพืน้ ท่ปี ระมาณ 513,115 ตารางกโิ ลเมตร มพี ื้นทีใ่ หญเปน อันดับท่ี 3
ของเอเชียตะวันออกเฉยี งใต ประเทศไทยตง้ั อยใู นคาบสมุทรอนิ โดจีน ซ่ึงเปนสวนหนง่ึ ของ
ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต
ทศิ เหนอื ทต่ี ง้ั ของประเทศไทยจดประเทศสหภาพเมยี นมาร (พมา ) และสาธารณรฐั
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว จดุ เหนือสดุ ของประเทศอยทู อ่ี าํ เภอแมสาย จงั หวดั เชียงราย
ทิศตะวันออก จดประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ กัมพูชา
จุดตะวันออกสดุ อยูที่ อาํ เภอพิบลู มังสาหาร จงั หวัดอบุ ลราชธานี
ทิศตะวันตก จดประเทศสหภาพเมียนมาร (พมา) จุดตะวันตกสุดอยูท่ีอําเภอ
แมส ะเรยี ง จงั หวดั แมฮ อ งสอน
ทศิ ใต จดประเทศมาเลเชีย จุดใตส ดุ อยูทีอ่ ําเภอเบตง จงั หวัดยะลา
การแบง ภาคภูมศิ าสตรข องประเทศไทย
ประเทศไทยแบงตามลักษณะภมู ศิ าสตรได 6 ภาค ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออก
เฉยี งเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ตกและภาคใต
ภาคเหนอื
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของภาคเหนอื ประกอบดว ยจงั หวดั ตา งๆ 9 จงั หวดั คอื จงั หวดั
เชยี งใหม เชยี งราย แมฮ อ งสอน ลาํ พนู ลาํ ปาง แพร นา น อตุ รดติ ถ และพะเยา มพี น้ื ที่ 93,690

รายวิชาสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 3

ตารางกโิ ลเมตร ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน เทอื กเขาสงู และทรี่ าบหบุ เขา เทอื กเขาทส่ี าํ คญั ไดแ ก 1บทที่
เทือกเขาแดนลาว ถนนธงชัย ผปี นนํา้ และหลวงพระบาง ยอดเขาท่ีสงู ท่สี ุดในประเทศไทย
คอื ดอยอินทนนท มคี วามสงู 2,595 เมตร และเปนสวนหนง่ึ ของเทือกเขาถนนธงชยั ใน ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย
พ้นื ท่ีจังหวดั เชยี งใหม

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มพี ืน้ ท่ี 170,000 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยจงั หวดั
ตางๆ 19 จังหวัด คือ จังหวัดหนองคาย เลย อุดรธานี นครพนม สกลนคร กาฬสินธุ
ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอด็ ชัยภมู ิ ยโสธร อบุ ลราชธานี ศรีสะเกษ บรุ รี ัมย นครราชสีมา
สุรินทร มุกดาหาร อํานาจเจริญ และหนองบัวลําภู ภูมิประเทศท่ัวไปเปนแองคลายจาน
ลาดเอยี ง ไปทางตะวนั ออกเฉยี งใตม ขี อบเปน ภเู ขาสงู ทางตะวนั ตกและทางใตข อบทางตะวนั ตก
ไดแ ก เทือกเขาเพชรบูรณ และเทอื กเขาดงพญาเย็น สวนทางใตไ ดแ ก เทือกเขาสนั กาํ แพง
และเทอื กเขาพนมดงรัก พนื้ ท่ีตะวันตกเปนที่ราบสูง เรียกวา ที่ราบสงู โคราช ภเู ขาบริเวณนี้
เปนภเู ขาหนิ ทราย ท่ีรูจักกันดีเพราะเปน แหลง ทอ งเทีย่ ว คอื ภูกระดงึ ภูหลวง ในจังหวดั เลย
แมน้าํ ท่สี ําคญั ของภาคนีไ้ ดแ ก แมนาํ้ ชี และแมน ํ้ามลู ซง่ึ มีแหลง กําเนิดจากเทอื กเขาทางทิศ
ตะวนั ตก และทางใตแลว ไหลลงสูแมน้ําโขง ทําใหส องฝง แมนาํ้ เกิดเปน ทร่ี าบนา้ํ ทวมถึงเปน
ตอนๆ พ้ืนท่ีราบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักมีทะเลสาบรูปแอก เปนจํานวนมากแต
ทะเลสาบเหลานีจ้ ะมีน้ําเฉพาะฤดูฝนเทา นั้นเมอ่ื ถงึ ฤดรู อน น้ําก็จะเหือดแหง ไปหมด เพราะ
ดนิ สว นใหญเ ปน ดนิ ทรายไมอ มุ นาํ้ นา้ํ จงึ ซมึ ผา นไดเ รว็ ภาคนจ้ี งึ มปี ญ หาเรอ่ื งการขาดแคลน
นํ้าและดินขาดความอุดมสมบูรณ ทําใหพื้นท่ีบางแหงไมสามารถใชประโยชนในการเกษตร
ไดอ ยางเตม็ ที่ ปจจบุ นั รัฐบาลไดพ ยายามปรับปรงุ พ้ืนท่ใี หดขี นึ้ โดยใชระบบชลประทานสมัย
ใหม ทําใหสามารถเพาะไดจนกลายเปนแหลงเพาะปลูกขาวหอมมะลิที่ดีที่สุดแหงหนึ่งของ
ประเทศไทย

ภาคกลาง
ลกั ษณะภูมิประเทศของภาคกลาง

ภาคกลางมีพ้ืนที่ 91,795 ตารางกโิ ลเมตรประกอบดวยจังหวดั ตา งๆ 22 จงั หวัด
คือ จงั หวดั สุโขทยั พจิ ติ ร พิษณโุ ลก กาํ แพงเพชร เพชรบรู ณ นครสวรรค อุทัยธานี ชยั นาท
สงิ หบุรี ลพบุรี อา งทอง สระบรุ ี สุพรรณบุรี พระนครศรอี ยธุ ยา ปทุมธานี นนทบุรี นครปฐม
กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และนครนายก ลักษณะ
ภมู ปิ ระเทศเปน ทร่ี าบลมุ แมน า้ํ อนั กวา งใหญไ ดแ ก ทร่ี าบลมุ แมน า้ํ เจา พระยาและทา จนี มเี ทอื ก
เขาเปน ขอบเขตของภาคทง้ั ดา นตะวนั ตกและตะวนั ออก แบง เขตภมู ปิ ระเทศอกเปน 2 สว น
ไดแ กเขตทรี่ าบภาคกลางตอนบนและเขตท่ีราบภาคกลางตอนลาง

เขตทร่ี าบภาคกลางตอนบน ตงั้ แตพ นื้ ทจ่ี งั หวดั นครสวรรค ขน้ึ ไปจนจรดตอนเหนอื
ของภาคมลี กั ษณะเปน พ้ืนทร่ี าบลุม แมนํ้าสลบั กบั ภเู ขา

เขตท่ีราบภาคกลางตอนลาง ตั้งแตพ้ืนที่จังหวัดนครสวรรคลงมาจนจรดปากอาว
ไทยเขตพ้นื ท่ีราบลุมแมน้ําอันกวา งใหญ

4 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม

ภาคตะวนั ออก
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศภาคตะวันออก
ภาคตะวนั ออกมี พน้ื ท่ี 34,380 ตารางกโิ ลเมตรเปน ภาคทมี่ พี น้ื ทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ในบรรดา
ภาคทั้ง 5 ของประเทศไทย ประกอบดว ย 7 จงั หวดั คอื จังหวัดปราจีนบุรี ชลบรุ ี ฉะเชิงเทรา
ระยอง จันทบุรี ตราด และสระแกว ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก แบงเปน 4
ลกั ษณะ ดงั น้ี
เขตเทือกเขา ไดแก เทือกเขาสันกําแพงและเทือกเขาบรรทัด สวนใหญเปนภูเขา
หนิ ทรายและเทอื กเขาจนั ทบรุ ี สว นใหญเ ปน ภเู ขาหนิ อคั นหี รอื หนิ แกรนติ เขตทร่ี าบลมุ แมน าํ้
ไดแ ก ทร่ี าบลมุ แมน าํ้ บางปะกง ในพนื้ ทฉี่ ะเชงิ เทราและปราจนี บรุ ี บรเิ วณปากแมน า้ํ ทไี่ หลลง
สูอาว ไทยที่อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราจะมีลักษณะเปนหาดโคลนเลน เขตท่ีราบ
ชายฝงทะเล นับต้ังแตปากนํ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ลงมาจนถึงอําเภอคลองใหญ
1บทที่ จังหวัดตราด มีหาดทรายสวยงามและเปนแหลงทองเที่ยวท่ีสําคัญ มีประชากรตั้งถ่ินฐาน
หนาแนน มากกวา เขตอน่ื ๆ มแี มน าํ้ สายสนั้ ๆ หลายสาย เชน แมน าํ้ ระยอง แมน าํ้ จนั ทบรุ ี และ
ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย แมน า้ํ ตราด เฉพาะบรเิ วณปากนาํ้ จะเปน หาดโคลนเลน และ เกาะ เปน แหลง ทอ งเทยี่ วทสี่ าํ คญั
ไดแก เกาะลา น เกาะสชี งั (จังหวัดชลบุรี) เกาะชาง (จังหวัดตราด) และเกาะเสม็ด (จงั หวัด
ระยอง)เปน ตน
ภาคตะวันตก
ลักษณะภมู ิประเทศภาคตะวันตก
ภาคตะวนั ตกมีพน้ื ท่ีประมาณ 53,679 ตารางกโิ ลเมตร ประกอบดวย 5 จังหวัด
คือ ตาก กาญจนบรุ ี ราชบรุ ี เพชรบรุ ี และประจวบครี ีขนั ธ ลักษณะภูมิประเทศของภาค
ตะวนั ตกสว นใหญเ ปน ภเู ขา สลบั กบั หบุ เขาทค่ี อ นขา งชนื้ และแคบกวา หบุ เขาของภาคเหนอื
เนือ่ งจากการกัดเซาะของแมน ํ้าลาํ ธาร มภี ูมิประเทศคลา ยภาคเหนือ แบง ไดดงั นี้
เขตเทอื กเขา ไดแก เทอื กเขาถนนธงชัย เปนแนวแบง เขตระหวา งประเทศไทย
กับประเทศสหภาพเมียนมาร จากจังหวัดแมฮองสอนถึงจังหวัดตาก, เทือกเขาตะนาวศรี
เปน แนวแบง เขตไทยกบั พมา มชี อ งทางตดิ ตอ ทด่ี า นสงิ ขร จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ และดา น
บดั ตี้ จงั หวัดกาญจนบุรี, เทือกเขาหนิ ปูน
อยูระหวางแมนํ้าแควใหญและ แมน้ําแคว
นอ ย สว นใหญเ ปน ภเู ขาหนิ ปนู มถี าํ้ หนิ งอก
หนิ ยอ ย
เขตที่ราบ อยูร ะหวา งเขตเทือก
เขากับที่ราบต่ําภาคกลางจนถึงอาวไทย
เปนที่ราบลุมแมนํ้าปง แมน้ําแมกลอง
ทร่ี าบแมน า้ํ เพชรบรุ ี และทรี่ าบชายฝง ทะเล
ทีเ่ ปนหาดทรายสวยงาม เชน หาดชะอาํ
หาดวังหนิ และอา วมะนาว

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 5

ภาคใต 1บทที่
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศภาคใต
ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย
ภาคใตมีพื้นท่ี 70,715 ตารางกโิ ลเมตร ประกอบดว ยจังหวัดตา งๆ 14 จังหวดั คอื
จงั หวัดชุมพร พัทลงุ สุราษฎรธ านี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี ยะลา นราธวิ าส
ระนอง พังงา กระบี่ ภเู ก็ต ตรงั และสตูล เปนดนิ แดนสว นหนงึ่ ของคาบสมทุ รมลายู จึง
ขนาบดว ยทะเลทง้ั สองดา น ไดแ ก อา วไทย มหาสมทุ รแปซฟิ ก และทะเลอนั ดามนั มหาสมทุ ร
อนิ เดยี ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน เขตเทอื กเขา ประกอบดว ยแนวเทอื กเขา 3 แนว ไดแ กเ ทอื ก
เขาภูเก็ต เทือกเขานครศรีธรรมราช และเทือกเขาสันกาลาคีรี สวนใหญจะวางตัวในแนว
เหนอื -ใต มคี วามอุดมสมบูรณของปาไมและแรธาตุ เขตที่ราบชายฝงอาวไทย ไดแ ก ทีร่ าบ
ลมุ แมน า้ํ ตาป ทรี่ าบลมุ แมน าํ้ ปากพนงั ทรี่ าบลมุ แมน าํ้ ปต ตานี และทรี่ าบรอบทะเลสาบสงขลา
เกิดจากการทับถมของตะกอนดินโคลน และทรายท่ีน้ําจากแมน้ําและกระแสคล่ืนพัดพามา
ทบั ถม จนกลายเปน ทรี่ าบอนั กวา งใหญ และมปี ระชากรตง้ั ถนิ่ ฐานหนาแนน มากกวา เขตพน้ื
ทอ่ี ืน่ ๆ ชานฝง ดานอาวไทยเร่มิ ตง้ั แตช ายฝงจังหวัดชุมพรลงไปจนถงึ จงั หวดั นราธิวาส เปน
ชายฝง แบบเปลอื กโลกยกตวั ขนึ้ สงู นา้ํ ทะเลจงึ ตน้ื มหี าดทรายสวยงาม และมอี า วขนาดใหญ
เชน อา วบา นดอน อา วสวี ฯลฯ บรเิ วณปากแมน าํ้ จะเปน หาดโคลนและมปี า ชายเลน ลกั ษณะ
ภูมิประเทศท่ีเดนของชายฝงดานอาวไทย คือทะเลสาบสงขลา เปนทะเลสาบเปดหรือ
ทะเลสาบนาํ้ เคม็ (Lagoon) ในอดีตกาลมกี ระแสลมและคลืน่ พดั พาตะกอนทรายมาทบั ถม
จนเปนแนวสันทราย หรือแหลม ปดปากอาวจนกลายเปนทะเลสาบสงขลาในปจจุบัน และ
ที่ราบชายฝงทะเลอันดามัน
เปนที่ราบแคบๆ เน่ืองจากมี
ภูเขาต้ังชิดตระหงาน ติดกับ
ชายฝงทะเล ชายฝงดาน
อันดามนั จะเรมิ่ ตง้ั แตชายฝง
จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง จ น ไ ป ถึ ง
จังหวัดสตูล มีลักษณะเปน
ชายฝงแบบเปลือกโลกยุบตัว
หรอื จมตวั ทาํ ใหม นี า้ํ ทะเลลกึ
และมชี ายฝง ทเี่ วา แหวงมาก

ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย6 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม

กิจกรรม

กจิ กรรมท่ี 1
ลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทยมีอิทธิพลตอความเปนอยูของคนไทย

อยางไรบา ง อธบิ ายและยกตวั อยางมาใหเขา ใจ
กจิ กรรมท่ี 2

ใหผ เู รยี นบอกถงึ ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรก ายภาพของจงั หวดั ของตนวา มลี กั ษณะ
อยา งไรและสง ผลตอ การประกอบอาชพี ของคนในชมุ ชนอยา งไรบา งพรอ มยกตัวอยาง

1บทที่ เรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะทางภูมิศาสตรของประเทศไทย

ลกั ษณะ ทาํ เล ทีต่ ั้งของประเทศไทย

ประเทศไทยตง้ั อยใู นคาบสมทุ รอนิ โดจนี และอยทู างทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตข องทวปี
เอเชีย ที่ต้ังของประเทศไทยอยูแถบศูนยสูตร จึงเปนบริเวณท่ีไดรับพลังงานความรอนจาก
ดวงอาทติ ยมาก เปน ประเทศทอี่ ยูในเขตรอน และมีอณุ หภมู ิของอากาศเฉลี่ยสูงตลอดทั้งป

ลักษณะภมู ิอากาศ ประเทศไทย

ประเทศไทยตั้งอยูใกลเสนศูนยสูตร ในซีกโลกตอนเหนือ ประเทศไทยจึงมีภูมิ
อากาศแบบทุงหญา สะวันนา เปนสว นใหญ ภูมิอากาศของประเทศไทย ไดรบั อิทธิพลจาก
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และลมมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ดงั นี้

ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ประเทศไทยในฤดูฝนเร่ิมระหวางเดือนพฤษภาคมถึง
กลางเดอื นตลุ าคม โดยลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตจ ะพดั จากมหาสมทุ รอนิ เดยี มายงั ทวปี เอเชยี
ทําใหเกิดฝนตกชุกท่วั ประเทศไทย ดังนั้นชายฝงดา นตะวนั ตกในภาคใต จะไดร บั ปริมาณ
ฝนมากกวาชายฝงตะวันออก เชน จงั หวัดระนอง ภูเกต็ จะไดร ับปริมาณนํา้ ฝนมากกวา
ทุกจังหวัด สวนจังหวัดที่มีปริมาณฝนตกมากที่สุดในประเทศไทยคือ อําเภอคลองใหญ
จงั หวัดตราด ซ่ึงอยทู างภาคตะวนั ออก เพราะเปนจังหวัดท่ีรับลมมรสุมตะวันตกเฉยี งใตได
อยางเตม็ ที่

ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทยในฤดูหนาวเร่ิมระหวางกลางเดือน
ตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ โดยลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะพัดจากตอนเหนือ
ของจนี มายงั ตอนลา งของทวปี เอเชยี จงึ ทาํ ใหอ ากาศหนาวเยน็ แตไ มม ฝี นตก สว นภาคใตก อ
ใหเ กดิ ฝนตกได เพราะลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือจะพัดผานอา วไทยกอ น จึงหอบไอ
น้ํามาจากอา วไทย ทาํ ใหฤ ดหู นาวของภาคใตม ฝี นตกและอากาศไมหนาวจัด

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 7

1บทท่ี

ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย

8 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม

ส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติมีอทิ ธพิ ลตอ การดําเนนิ ชวี ติ ของทองถนิ่
ลกั ษณะทางธรรมชาตขิ องทอ งถนิ่ ตา งๆ จะมอี งคป ระกอบทีส่ ําคญั ทไ่ี มเ หมอื นกนั
ซ่ึงผูเรียนควรจะไดเรียนรูถึงลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ
องคป ระกอบแตล ะชนดิ จะมหี นา ทเ่ี ฉพาะและมคี วามสมั พนั ธซ ง่ึ กนั และกนั เนอื่ งจากลกั ษณะ
ภูมปิ ระเทศและภมู อิ ากาศของแตละภาคในประเทศไทยมคี วามแตกตางกัน ดังน้นั จงึ ทาํ ให
การดาํ เนินชีวติ ของประชากรในทองถ่นิ จงึ แตกตางกันพอสรุปไดดังน้ี

ภาค ลกั ษณะภมู ิประเทศ การประกอบอาชีพ ประเพณแี ละการ
และภูมิอากาศ และความเปน อยู นบั ถือศาสนา

1บทที่ เหนอื เปน ทีร่ าบหบุ เขา ดนิ มี เพาะปลูกพชื ผกั สงกรานต
ความอุดมสมบูรณ เมืองหนาว และอาชีพ การแห ครัวทาน
อากาศหนาวเยน็ เปน การทองเที่ยว ปอยสางลอง นับถอื
ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย เวลานาน ศาสนาพทุ ธ

กลาง เปน ทรี่ าบลุมและมคี วาม ทาํ นา ทาํ สวนผลไม แขงเรือ พชื มงคล
อดุ มสนบูรณ ตอนบน เลี้ยงสัตว ทําประมงนาํ้ วิง่ ควาย การลงแขก
ของภาคในฤดหู นาว เคม็ และน้ําจืดรับจา ง เกี่ยวขาว นับถือ
อากาศหนาวและรอ นใน ในโรงงานอุตสาหกรรม ศาสนาพุทธ
ฤดรู อน ตอนลางของ การทอ งเทยี่ วและมี
ภาคฤดรู อนและฤดู ประชากรหนาแนน กวา
หนาวไมแ ตกตางกนั ภาคอื่นๆ
มากนักมีฝนตกชุกกวา
ตอนบน

ตะวันออก เปนที่ราบสูง พ้ืนดนิ ทาํ ไร เล้ยี งสตั ว แหเทยี นพรรษา
เฉียงเหนือ เปนดินปนทรายอากาศ ประชากรคอ นขาง บญุ บั้งไฟ คลองชาง
แหง แลง ยากจนและโยกยายไป นับถือศาสนาพุทธ
อยทู ่ีอื่นมาก

ตะวนั ออก คลายภาคกลาง ทําสวนยางพารา บญุ เดอื นสิบ
ตะวนั ตก คลา ยภาคกลาง ปาลม นํา้ มัน เหมอื งแร ชงิ เปรต วิง่ ควาย
ใต เปนที่ราบฝง ทะเล ประมงนํา้ เค็มและ นบั ถือศาสนาพทุ ธ
อากาศรอนชน้ื ฝนตก อาชพี การทองเทย่ี ว และศาสนาอิสลาม
ตลอดทงั้ ป

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 9

กิจกรรม 1บทที่

กิจกรรมที่ 1 ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย
ใหผ เู รยี นแบง กลมุ ศกึ ษาคน ควา ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศภมู อิ ากาศและอาชพี ของ

ประชากรในแตล ะภาคแลว นาํ มาอภปิ ราย
กิจกรรมที่ 2

ใหผูเรียนบอกชื่อจังหวัดในภาคเหนือ ภาคใต และภาคกลางมาภาคละ
5 จงั หวัด

เร่อื งที่ 3 การใชขอมลู ภมู ศิ าสตร กายภาพชมุ ชน ทองถิน่
ในการดํารงชวี ิต

การใชแผนทแี่ ละเคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร

การเรยี นรคู วามหมาย องคป ระกอบและชนดิ ของแผนทที่ าํ ใหส ามารถใชแ ผนทช่ี นดิ
ตา งๆ ไดอ ยา งเหมาะสม เปน เครอ่ื งมอื สาํ คญั ในการจดั ทาํ แผนทใ่ี นการสาํ รวจขอ มลู ทอ งถน่ิ ได

แผนที่ คือ สง่ิ ทแี่ สดงลกั ษณะของพ้ืนท่ีบนผวิ โลก ทงั้ ทีเ่ ปนอยตู ามธรรมชาติและ
สง่ิ ทม่ี นุษยสรางข้นึ โดยแสดงลงบนแผน แบบราบ มกี ารยอสวนใหเ ล็กลงตามตองการ อาศัย
สญั ลักษณและเคร่ืองหมายที่กาํ หนดขน้ึ แสดงลักษณะของส่งิ ตางๆ บนโลก

แผนท่ีเปน เครื่องมอื ทีส่ ําคญั ที่ทาํ ใหเรารวู า ทะเล มหาสมุทร ทวปี และประเทศ
ตางๆ ต้งั อยูบริเวณใดบนพ้ืนโลก แตก ารที่เราตอ งการจะไดป ระโยชนอ ยางแทจรงิ จากการ
ใชแผนทีเ่ ทา นน้ั เราจาํ เปนจะตองมคี วามรคู วามเขา ใจเกีย่ วกับแผนท่ีเสยี กอน เชน ตองอา น
แผนทเี่ ปน และรจู กั เลอื กชนดิ ของแผนทต่ี ามโอกาสทจี่ ะใชจ งึ จะสามารถใชแ ผนทไี่ ดอ ยา งถกู
ตอ ง แผนท่ีความสําคญั และมีอยูหลายชนดิ

ความสาํ คญั ของแผนท่ี

แผนท่ีเปนเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรอยางหน่ึงของมนุษยสรางขึ้นเพื่อนําไปใช
ประโยชนใ นกจิ กรรมตา งๆ เชน ใชค น หาสถานที่ เสน ทางคมนาคมขนสง การทอ งเทยี่ ว แหลง
เกษตรกรรม และกิจการทหารเปนตน ผูใชแผนท่ีจะทราบขอมูลบนพ้ืนที่จริงอยางถูกตอง
ชัดเจนและประหยดั เวลา
ชนิดของแผนที่

1. แผนทท่ี างกายภาพ คือ แผนที่แสดงถงึ ลกั ษณะท่วั ไป ไดแก
แผนที่ภูมิประเทศ แผนท่ีภูมิอากาศ แผนท่ีรัฐกิจ แผนที่เศรษฐกิจ
แผนท่ปี ระวัตศิ าสตร

ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย10 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม
1.1 แผนท่ีภูมปิ ระเทศ แสดงลกั ษณะสูงต่ําของพน้ื ที่ คือ ภเู ขา ท่ีราบ แมนํา้

ทะเล มหาสมุทร ทะเลสาป สภาพปาไม ทงุ หญา ทะเลทราย

1บทท่ี

1.2 แผนที่ภูมิอากาศ แสดงปริมาณน้ําฝน ความกดอากาศทิศทางของลม
ประจําป ลมประจาํ ถ่ิน

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 11 ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย
1.3 แผนทร่ี ฐั กจิ แสดงอาณาเขตชายแดนระหวา งประเทศเนอ้ื ทจี่ งั หวดั อาํ เภอ
ตาํ บล

1บทท่ี

1.4 แผนท่เี ศรษฐกิจ แสดงปริมาณผลผลติ เนือ้ ที่ทใ่ี ชในการเกษตร เชน การ
ปลูกขาว ยางพารา ผลิตอาหารทะเล

ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย12 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม
1.5 แผนทป่ี ระวตั ศิ าสตร แสดงอาณาเขตของอาณาจกั รในประวตั ศิ าสตรร วม

ท้งั แสดงเรื่องราวในอดตี

1บทท่ี

2. แผนทีเ่ ฉพาะเรือ่ ง เปน แผนทที่ แี่ สดงขอมูลตามความตองการของผูศ ึกษา เชน
แผนท่ีสรางทางรถยนต รถไฟ เครอ่ื งบนิ แผนทท่ี างหลวง แผนทีท่ หาร แผนทีก่ ารเดินเรอื
แผนท่ปี า ไม แผนที่ทดี่ ิน เปน ตน

องคป ระกอบของแผนท่ี คอื สว นตางๆ ในแผนทีท่ ี่ทาํ ใหเขาใจในการอานแผนท่ไี ด
ถูกตองมากขนึ้ ซึง่ มีองคประกอบท่สี าํ คญั ดงั นี้

1. เสน รงุ -เสน แวง เสน ทผ่ี า นขวั้ โลกเหนอื ไปยงั ขวั้ โลกใตเ รยี กวา เสน แวง และเสน
ท่ผี า นแนวตะวนั ตกไปยงั ตะวนั ออก เรียกวาเสนรงุ เสนรุงท่ยี าวท่ีสุดเรยี กวา เสนศูนยส ตู ร
ท้งั เสนรงุ และเสน แวงเปนเสนสมมติ

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 13

2. มาตราสวนคําพดู ใชประมาณการวัดในสมยั โบราณ เชน เดนิ ไปชวั่ หมอขา ว 1บทท่ี
เดือด เจดยี สงู เทา นกเขาเหนิ
ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย
3. มาตราสว นบรรทดั มเี คร่อื งมอื วัดเปนมาตรฐาน เชน กโิ ลเมตร และนาํ มายอ
เขยี นในแผนท่ี

ตัวยา ง แผนทป่ี ระวตั ศิ าสตรไ ทย
เขตพรมแดนแหง อาณาจักรใหม
0 100 200 300 กิโลเมตร

กจิ กรรม

กิจกรรมที่ 5
ใหกลุมนักเรียนชวยกันคิดหาคําตอบของคําถามท่ีวา “การหาทิศทางใน

แผนที่ เราจะทราบไดอ ยา งไรวา สว นใดคอื ทศิ เหนอื ในกรณที ไี่ มไ ดร ะบทุ ศิ ไวใ นแผนท”่ี

สญั ลักษณตา งๆ ท่ใี ชใ นแผนที่

เคร่ืองหมายที่ใชแทนสิ่งตางๆบนผิวโลกซ่ึงมีรูปรางคลายของจริงและนิยมใช
สัญลักษณท ่ีเปน สากลดังนี้

เคร่อื งมือวัดระยะในการทาํ แผนผังและพ้ืนท่ีอยางงายๆ
การสรา งแผนผงั แผนที่ จะตอ งยอ สว นจากพน้ื ทจี่ รงิ ลงแผน แบนราบ เครอ่ื งวดั ระยะ
จึงมคี วามจําเปน อยางย่ิง เครือ่ งวดั ท่นี ยิ มนาํ มาใช ไดแก
1. การนบั กา ว เนน การวัดระยะท่ีใชเคร่ืองมอื งา ยๆ ทที่ ุกคนมีอยู กอนการเดนิ ตอ ง
ทําระยะใหผูวัดหาคาความยาวมาตรฐานของระยะ 1 กา ว ของตนเองกอน ถา ตองการวดั
ระยะ ใหเ ดินนบั กา ว ไดจ าํ นวนกาวแลวนาํ มาคูณกับกา วมาตรฐานของตน กจ็ ะไดร ะยะจริง
โดยประมาณ
2. โซ เปนเครื่องมือที่เปนโลหะเปนขอๆ มีหลายชนิด แตละชนิดมีความยาวขอ
แตกตางกันมที ง้ั ระบบองั กฤษและระบบเมตรกิ
3. เทป เปน เครอื่ งมอื วัดทนี่ ยิ มใชก ันมากทีส่ ุดในปจ จุบัน เพราะใชง าย สะดวก นํา้
หนักเบา กะทดั รัด พกพาไดส ะดวก มีหลายขนาด

กจิ กรรม

กจิ กรรมที่ 6
ใหนักเรียนเขียนแผนผังจังหวัดท่ีผูเรียนอาศัยอยู โดยใชเครื่องมือทาง

ภมู ศิ าสตรอ ยางงา ยแลวนาํ เสนอในกลมุ

14 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม

เคร่ืองมือทีใ่ ชใ นการสํารวจทอ งถ่นิ เชิงภูมศิ าสตรภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย

การศึกษาเรื่องใดๆก็ตาม ผูเรียนจะตองมีเครื่องมือในการศึกษา ซ่ึงอาจมีอยูแลว
หรือผูเรียนอาจตองสรางข้ึนเองแลวแตกรณี และตองเหมาะสมกับเรื่องท่ีจะศึกษา สําหรับ
เครือ่ งมอื ในการศกึ ษาจาํ แนกได 2 ชนดิ คือ

1. เคร่ืองมือสํารวจขอมูลทองถิ่นเชิงภูมิศาสตรเศรษฐกิจและสังคม ไดแก แบบ
สังเกตการณ แบบสมั ภาษณ แบบสอบถาม แผนท่ี ภาพถา ยทางดาวเทยี ม เปน ตน

2. เคร่ืองมอื สาํ รวจทอ งถิน่ เชงิ ภูมศิ าสตรก ายภาพ แบงไดด งั นี้
2.1 เคร่ืองมอื ศึกษาลักษณะภมู ปิ ระเทศ เชน เข็มทิศ เทปวดั ระยะแผนที่ และ

ภาพถายทางอากาศเปน ตน
2.2 เครอ่ื งมอื ศกึ ษารว มกบั แผนทแี่ ละภาพถา ยทางอากาศ เชน เครอ่ื งมอื วดั พน้ื ที่

1บทที่ เครือ่ งมือวดั ระยะ เครอ่ื งมือวดั มมุ กลองสามมิติ เปน ตน
2.3 เคร่อื งมือสําหรับแผนท่ีและแผนผงั ไดแก เขม็ ทศิ โซ เทป การบันทกึ
2.4 เครอ่ื งมือสําหรบั ศึกษาภูมศิ าสตร ไดแ ก เทอรโมมิเตอรช นดิ ตา งๆ เครือ่ ง
มือวดั ลม เครื่องมือวัดปริมาณนํ้าฝน เคร่อื งมือวดั ความชนื้ เคร่อื งมอื วดั ความดันอากาศ

กิจกรรม

กจิ กรรมท่ี 7 ใหผ เู รียนเลอื กคําตอบท่ถี กู ตอ งท่สี ุดเพยี งคําตอบเดียว
1. สิง่ ใดทแ่ี สดงลักษณะของผิวโลกโดยแสดงบนพน้ื ราบและใชเ คร่อื งหมาย
แทนส่งิ ท่ีปรากฏบนพื้นโลก คืออะไร
ก. แผนที่ ข. ลกู โลก
ค. แผนผงั ง. ภาพถา ยอากาศ
2. ขอ ใดเปนแผนที่แสดงปรมิ าณ
ก. แผนทแ่ี สดงฤดกู าล ข. แผนทแ่ี สดงชนิดของปา ไม
ค. แผนท่ีแสดงจาํ นวนประชากร ง. แผนท่แี สดงลักษณะทางธรณี
3. เมอ่ื ยนื หนั หนา ไปทางทศิ ตะวนั ตก ทิศใต จะอยทู างดา นใด
ก. ดานหนา ข. ดา นซา ย
ค. ดานขวา ง. ดานหลงั
4. สัญลกั ษณทใ่ี ชแ ทนทตี่ ั้งเมืองในแผนท่ี จัดเปนสญั ลกั ษณประเภทอะไร
ก. สัญลักษณท่เี ปนสี ข. สญั ลกั ษณท ี่เปนจุด
ค. สัญลกั ษณท ีเ่ ปนเสน ง. สัญลักษณท ่ีเปนพ้นื ท่ี
5. สเี หลืองเปน สัญลักษณแทนสิ่งใดในแผนที่
ก. ปาไม ข. ทงุ หญา
ค. เนินเขา ง. ไหลท วีป
ใหผูเรยี นศึกษาคน ควา หาขอ มูลเกย่ี วกับหนว ยงาน หรือ องคก รตางๆ วา มี
การนําแผนท่มี าใชประโยชนอยางไรบา ง (บอกมา 3 หนว ยงาน)

รายวิชาสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 15

เรอื่ งท่ี 4 ทรพั ยากรธรรมชาติ และวิธกี ารอนรุ กั ษ 1บทที่
ทรพั ยากรธรรมชาติ
ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม เปน สง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตทิ อี่ ยรู อบตวั
เรามีท้ังสิ่งมีชวี ิต เชน คน สัตว พืช และสิง่ ไมมชี วี ิต เชน นาํ้ อากาศ หนิ ดนิ และสิง่ ทเ่ี กิด
ขึน้ เองตามธรรมชาติเหลา น้มี ีอทิ ธพิ ลซ่ึงกันและกนั

ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึงส่ิงตางๆ ที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย
สามารถนาํ มาใชใ หเ กดิ ประโยชนต อ การดาํ รงชวี ติ เราสามารถแบง ทรพั ยากรออกเปน 3 ประเภท
คอื

1. ประเภททใ่ี ชแ ลวหมดไป ไดแก แรธาตุ นาํ้ มัน กาช
2. ประเภททีใ่ ชไ มห มดแตเ สอื่ มคุณภาพไดแ ก ดิน นํา้ อากาศ
3. ประเภทท่ใี ชแ ลวหมดไปแตสามารถหาทดแทนขนึ้ มาได ไดแ ก ปา ไม สัตวปา
ทรัพยากรธรรมชาติมีความสําคัญตอความเปนอยูของมนุษยมาก ประเทศไทย
อดุ มสมบรู ณ ดว ยทรพั ยากรธรรมชาตหิ ลายชนดิ มปี รมิ าณมากนอ ยขน้ึ อยกู บั ความแตกตา ง
ของสภาพภูมิศาสตรแตละภาค มนุษยใชทรัพยากรบางอยางเพ่ือความอยูรอดของชีวิต
เชน น้าํ อากาศ และทรัพยากรบางชนิดนํามาใชอุปโภคหรอื บรโิ ภค เชน พืชผกั แรธาตุ
ปา ไม เปน ตน
ประเทศไทยอดุ มไปดว ยทรพั ยากรธรรมชาตหิ ลายชนดิ ปรมิ าณ และแหลง ทป่ี ราก
ฎอาจจะแตกตางกันทั้งน้ีข้ึนอยูกับสภาพภูมิศาสตรท่ีแตกตางกัน ทรัพยากรธรรมชาติมี
ความสําคญั ตอชีวติ ความเปน อยูของมนษุ ยม าก มนษุ ยตองใชทรัพยากรบางอยาง เพอ่ื
ความอยูรอดของชวี ติ เชน น้ํา อากาศ ทรัพยากรบางอยางนํามาใชอ ปุ โภค หรือ บริโภค
เชน พชื ผัก แรธาตุ ปาไม เปน ตน
ทรพั ยากรธรรมชาตสิ าํ คญั ในประเทศไทยทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ การดาํ รงชวี ติ ของประชากร
ไดแก ทรัพยากรดิน ทรัพยากรนํ้า ทรพั ยากรปา ไม ทรัพยากรแรธาตุ ทรัพยากรสัตวปา
โดยมีรายละเอียดดงั ตอ ไปน้ี

1. ทรพั ยากรดนิ

ประเทศไทยไดชื่อวาเปน เมอื งเกษตรกรรม เปน แหลงอขู า ว อูน าํ้ ที่สําคัญของ
โลกทรัพยากรดนิ จงึ มคี วามสาํ คญั ตอ ประเทศเปนอยา งย่ิงลกั ษณะของ ดนิ ในประเทศไทย
สรุปไดดงั น้ี

1.1 ดินเหนียว พบท่ัวไปในบริเวณราบลุมแมน้ําสายตางๆ ซ่ึงมีนํ้าทวมถึง
ทกุ ภูมภิ าค เนื้อดินละเอยี ด เหมาะจะทํานาขาว และทาํ ไรป อกระเจา

1.2 ดนิ รว น พบทวั่ ไปในพนื้ ทล่ี านตะพกั ลาํ นา้ํ ของแมน าํ้ สายตา งๆ ซงึ่ เปน พน้ื ท่ี
ทอี่ ยหู า งจากสองฝง แมน า้ํ ออกไป เปน ลกั ษณะทร่ี าบขนั้ บนั ได และนา้ํ ทว มไมถ งึ เนอื้ ดนิ เปน
สวนประกอบของดนิ เหนียวและดินทราย ใชปลกู พืชไร ออ ย ขาวโพด มนั สาํ ปะหลัง ฯลฯ

ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย16 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม
1.3 ดินอินทรียวัตถุ เปนดินท่ีเกิดจากการยอยสลายของพืชและซากสัตวท่ี

เนาเปอ ยทับถมเปนชน้ั ๆ พบทีท่ เ่ี คยเปน ปาชายเลนมากอน (ในปจจบุ นั คือปาพรุ) แตมกั
จะมีธาตกุ ํามะถนั ปนอยมู าก

1.4 ดนิ ทราย เปน ดนิ ทม่ี อี งคป ระกอบของเนอ้ื ทรายมากทส่ี ดุ มคี วามอดุ มสมบรู ณ
คอนขางต่ํา พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในบริเวณชายฝงแมนํ้า และเชิงเขา
ในภาคอ่ืนๆ จะพบในพน้ื ทช่ี ายฝงทะเล ใชท ําสวนมะพรา ว และปลูกปาเพอื่ พัฒนาคุณภาพ
ของดิน

2. ทรพั ยากรนํา้

ประเทศไทยมีปริมาณฝนอยูในเกณฑปานกลาง เฉลี่ยประมาณปละ 1,675
มิลลิเมตร จัดไดวาเปนประเทศท่ีมีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรน้ํามากพอสมควร

1บทท่ี ทัง้ แหลง นา้ํ บนพ้นื ผวิ ดิน (แมน าํ้ ลําคลอง) และแหลง น้าํ ใตดนิ (น้ําบาดาล)
แตเนื่องจากพ้ืนท่ีสวนใหญของประเทศมีฝนตกไมสมํ่าเสมอตลอดป จึงมัก
ประสบปญหาขาดแคลนนํ้าในชวงฤดูแลง โดยเฉพาะนํ้าใชในการเกษตร ซึ่งประสบปญหา
เกือบทุกพนื้ ที่ของประเทศ
ภาคทมี่ คี วามอดุ มสมบรู ณข องทรพั ยากรนาํ้ มากทส่ี ดุ คอื ภาคกลางเพราะมแี มน าํ้
สายใหญ มคี วามยาว และใหน าํ้ ตลอดปห ลายสาย ไดแ ก แมน าํ้ เจา พระยา ทา จนี และแมก ลอง
ตลอดจนแหลง น้าํ ใตด ินกน็ บั วา มคี วามอุดมสมบูรณมากวา ภาคอื่นๆ เชนกนั
สว นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประสบปญ หาความไมอ ดุ มสมบรู ณข องแหลง นา้ํ
ตามธรรมชาติมากท่ีสุด ในฤดูแลงจะขาดแคลนน้ําใชในการอุปโภค บริโภค และการเพาะ
ปลูก บางพ้นื ทไี่ ดชอื่ วาประสบปญ หาภยั แลง ซ้ําซาก
แมจะมีแมนํ้าชี และ
มูล ซ่ึงเปนแมน้ําสายใหญและมี
ความยาวมากของภาค แต
ปริมาณน้ําในฤดูแลงกลับมีนอย
ไมส ามารถใชป ระโยชนไ ดม ากนกั
ย่ิงแหลงนํ้าใตดินมีปญหาดาน
คุณภาพ เน่ืองจากมีแรหินเกลือ
(เกลอื สนิ เธาว) แทรกอยใู นชนั้ หนิ
ทั่วไป จึงทําใหแหลงนํ้าบาดาล
ส ว น ใ ห ญ มี ร ส ก ร อ ย เ ค็ ม ใช
ประโยชนไ ดนอ ย
ในปจ จุบัน มกี ารนาํ นา้ํ มาใชกนั มากโดยเฉพาะภาคกลาง กรงุ เทพฯ และปริมณฑล
เพราะมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางกวางขวาง เชน บานจัดสรร โรงงานอุตสาหกรรม
ฯลฯ ในขณะทกี่ ารผลิตนํา้ ประปาของรัฐยังกระจายไมท ั่วถงึ ดีพอ

รายวิชาสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 17

ดงั นน้ั เมอ่ื มกี ารขดุ เจาะนาํ นาํ้ บาดาลมาใชก นั เพม่ิ มากขน้ึ ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาแผน ดนิ ทรดุ 1บทที่
เนือ่ งจากแหลง นํ้าใตด นิ มักอยใู นชอ งวางหรอื รอยแตกของชัน้ หินใตดนิ ท้งั สน้ิ เมอ่ื นํานํา้ มา
ใชกันมากๆ จึงเกิดเปน โพรงใตด ินและเกดิ การทรดุ ตัวลงในท่ีสดุ ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย

3. ทรพั ยากรปาไม

ในปจ จบุ นั ประเทศไทยมพี นื้ ทป่ี า ไมเ หลอื อยเู พยี งรอ ยละ 25 ของพนื้ ทป่ี ระเทศ หรอื
ประมาณ 131,485 ตารางกโิ ลเมตร (พ.ศ. 2547)

ลกั ษณะของปา ไมในประเทศไทย แบง เปน 2 ประเภทใหญๆ ตามสภาพภูมิประเทศ
ดงั น้ี

1. ปา ไมไมผลัดใบ เปนปา ไมท ่ีขน้ึ ในเขตอากาศรอ นชื้น แบบมรสุมเขตรอ น มี
ฝนตกชกุ เกอื บตลอดป มคี วามชื้นสูง ทาํ ใหมีใบเขยี วชอมุ ตลอดปเหมือนไมผ ลัดเปลย่ี นใบ
โดยมากจะพบในพนื้ ทภ่ี าคใตแ ละภาคตะวนั ออก

ปา ไมไ มผ ลดั ใบ แบง ออกเปน 5 ชนดิ ยอ ยๆ ดงั น้ี
1.1 ปาดงดิบ มตี นไมข นึ้ หนาทึบทงั้ ไมยืนตนใหญแ ละไมย ืนตน เล็ก
1.2 ปาดิบเขา พบในพื้นท่สี ูงตัง้ แต 1,000 เมตรขนึ้ ไปเกือบทกุ ภาค เปน ปาท่ี

ใหกําเนดิ ตนนา้ํ ลาํ ธาร
1.3 ปาสนเขา พบในพ้นื ทส่ี งู ตั้งแต 700 เมตรขน้ึ ไปเกอื บทุกภาคเชนกัน มีไม

สนนานาชนิด
1.4 ปา พรุ เปนปาท่พี บบริเวณชายฝงทะเลของภาคใต มที ้ัง ไมย ืนตน ไมพมุ

ไมเ ล้ือย และพืชลมลกุ
1.5 ปา ชายเลน เปนปา ที่ข้ึนบริเวณชายทะเลทีเ่ ปน โคลนเลนโดยเฉพาะบริเวณ

ปากแมน้าํ มีความสําคญั ตอ ระบบ
นิเวศวิทยา หรือแหลงท่ีอยูอาศัย
และแหลง เพาะพนั ธขุ องสตั วน าํ้ ไม
ที่สําคัญคือไมโกงกาง ลําพู จาก
เปนตน

2. ปาไมผลัดใบ พบใน
เขตภูมิอากาศแบบทุงหญาเมือง
รอนท่ีมีฝนตกปละ 4 เดือน
ในฤดูแลงไมประเภทน้ีจะผลัดใบ
พรอมกันเกือบหมดท้ังตน พบใน
พน้ื ทร่ี าบและพนื้ ทสี่ งู ไมเ กนิ 1,000
เมตรแบง ออกเปน 2 ชนิด ดงั น้ี

ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย18 หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสังคม
2.1 ปาเบญจพรรณ พบในเกือบทุกภาคของประเทศ ไมสําคัญท่ีมีคาทาง

เศรษฐกิจไดแ ก ไมสัก ไมประดู ไมแ ดง ไมย าง ฯลฯ
2.2 ปา แดง ปาโคก หรอื ปาแพะ เปนปาโปรงพบมากในบริเวณทร่ี าบหรอื เนิน

เขาเตย้ี ๆ ซงึ่ เปน พน้ื ทสี่ ีแดง โดยเฉพาะในพ้นื ท่ีภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ไมท ่มี คี ณุ คา ทาง
เศรษฐกิจ คือ ไมเต็งรงั ไมพะยอม ฯลฯ

4. ทรัพยากรแรธาตุ

ประเทศไทยมีแหลงแรธ าตอุ ุดมสมบรู ณก ระจายอยูทว่ั ไป โดยเฉพาะบรเิ วณเขต
เทอื กเขาสงู ในภาคเหนอื ภาคตะวนั ตก และภาคใต ในทนี่ ้ี จาํ แนกแรธ าตไุ ดเ ปน 3 ชนดิ ดงั น้ี

4.1 แรโลหะ ไดแก ดบี กุ ทังสเตน ตะก่วั สงั กะสี ทองแดง เหล็ก พลวง และ
แมงกานีส

1บทที่ 4.2 แรอโลหะ ไดแ ก ยิปซมั หินปูน ดินมารล (ดินสอพอง) และรัตนชาติ
4.3 แรเ ชือ้ เพลิง ไดแก น้ํามันดิบ กาซธรรมชาติ และถา นหิน (ลิกไนต)
5. ทรพั ยากรสัตวปา
สตั วป า อาศยั อยใู นปา ตามโพรงไม ซอกหนิ ถา้ํ สตั วเ หลา นตี้ อ งพง่ึ พาหากนิ ดว ย
ตนเอง ปรับตวั ใหเขา กับสงิ่ แวดลอม เชน เสือ ชา ง กวาง หมี แรด ลิง คา ง เปนตน ปจ จบุ นั
สตั วป า ถกู คกุ คามมากขน้ึ ทาํ ใหส ตั วป า บางชนดิ สญู พนั ธไ ป ประเทศไทยไดม พี ระราชบญั ญตั ิ
สงวนและคมุ ครองสัตวป า ขึ้นเมอ่ื วันที่ 26 ธนั วาคม 2530 ดังน้นั รฐั บาลจงึ กาํ หนดใหวนั
ท่ี 26 ธันวาคม ของทกุ ปเ ปน “วันคุมครองสัตวปาแหง ชาต”ิ
ทรัพยากรและการแลกเปลี่ยนทรพั ยากร
เน่ืองจากประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิดของ
แตละทองถิ่น เมื่อมีมากในทองถิ่นก็ดูเหมือนวาเปนของไมมีประโยชนหรือไมมีคุณคา แต
ในขณะเดียวกันทองถ่ินอ่ืนมีความตองการจึงทําใหมีการแลกเปล่ียนทรัพยากรระหวางทอง
ถน่ิ เกดิ ขนึ้ ตวั อยา งขา งลา งนเี้ ปน ทรพั ยากรธรรมชาติ ทมี อี ยใู นแตล ะภาคและนาํ ไปสกู ารแลก
เปลยี่ นทรัพยากรระหวางทอ งถนิ่
ภาคเหนือ มีลิน้ จ่ี ลําไย สม เขียวหวาน และผักผลไมเ มอื งหนาว เชน บรอ คโคลี่
เซลาล่ี สตรอเบอรี่ ลกู ทอ ลกู พลับ สาลี่ เปนตน
ภาคใต มีทุเรียน เงาะ ลองกอง
มังคดุ และสตั วน ํ้าเคม็ เชน ปลา กงุ หอย
ปลาหมึก และอ่นื ๆ เชน มะพราว แรธ าตุ
ตา งๆ
ภาคกลาง ปลูกขาว ทําสวนผัก-
ผลไม เชน สมโอ ชมพู มะมวง ขนุน
ขาวโพด ออ ย ผกั ตางๆ และเลย้ี งสตั ว เชน
สุกร เปด ไก ปลานํา้ จดื เปน ตน

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 19

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ปลูก ถั่ว งา ขา วโพดออน มันสําปะหลัง ปอ ฝาย และ 1บทที่
สัตวเ ล้ียง เชน โค กระบอื สกุ ร เปนตน
ูภ ิมศาสต รกายภาพประเทศไทย
ผลกระทบท่เี กดิ จากการใชท รัพยากร
ทรพั ยากรธรรมชาตเิ มอ่ื นาํ มาใชม ากเกนิ ไปโดยไมม กี ารสรา งการทดแทนกจ็ ะทาํ ให
เกดิ ความสูญเสีย หรือถกู ทาํ ลายได เชน การตดั ถนนเพือ่ ใชในการคมนาคม หรอื การสรา ง
เข่ือนกกั เก็บนาํ้ จะตองใชเ นือ้ ทบ่ี รเิ วณ พ้ืนดิน จํานวนมหาศาล ทําใหพ ้นื ดนิ ทเี่ ปนปาไมถกู
โคน ทาํ ลายลง ทําใหปา ไมลดลง สัตวป าลดลงเพราะพื้นท่ปี าถกู ทาํ ลายทาํ ใหสภาพอากาศที่
ชมุ ชน้ื อดุ มสมบูรณ เกิดความแหงแลง ฤดูกาลผันแปรหรือฝนตกไมตองตามฤดูการ หรือ
ตกนอย หรือมีการใชพื้นดินเพื่อการเพาะปลูกมากขึ้น มีการทําลายปาเพ่ือการเพาะปลูก
นอกจากนก้ี ารใชส ารเคมใี นการเพาะปลกู เกนิ ความจาํ เปน ทาํ ใหด นิ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณเ สอ่ื มสภาพ
เมอ่ื ทรัพยากรเสื่อมลง สภาพส่ิงแวดลอ มกเ็ สอื่ มไปดว ย
ส่งิ แวดลอม
ส่ิงแวดลอม หมายถึง สิ่งตางๆทั้งหลายที่อยูรอบตัวเราท้ังสิ่งท่ีมีชีวิตและสิ่งท่ีไมมี
ชีวติ สิ่งท่ีเกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ สง่ิ ท่ีมนุษยส รา งข้นึ อาจมีประโยชนห รอื ไมมีประโยชน
ตอมนุษยก ็ได เราแบงสิง่ แวดลอมเปน 2 ประเภทคอื
1. สงิ่ แวดลอ มตามธรรมชาติ คอื สง่ิ แวดลอ มทเ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ ไดแ ก คน
พืชสัตว ดนิ นํา้ อากาศ ฯลฯ ส่งิ แวดลอ มนี้แบงเปน 2 ชนดิ ไดแก

1.1 ส่ิงแวดลอ มที่มชี ีวิต เชน คน สตั ว พืช ฯลฯ
1.2 สิ่งแวดลอ มท่ีไมม ชี ีวติ เชน ดิน นาํ้ อากาศ ภเู ขา ฯลฯ
2. ส่ิงแวดลอ มทม่ี นษุ ยส รา งขึ้น แบง เปน 2 ชนิด คอื
2.1 สงิ่ แวดลอ มทางกายภาพ เปน สงิ่ ทม่ี นษุ ยส รา งขนึ้ เปน วตั ถุ สามารถมองเหน็
ไดชัดเจนเชน อาคารบา นเรอื น ยานพาหนะ เส้อื ผา ฯลฯ
2.2 ส่ิงแวดลอมทางสงั คม เปน ส่ิงแวดลอ มท่มี นุษยส รางขึน้ แตไมใชวัตถจุ ึงไม
อาจมองเหน็ ได แตเ ปน สงิ่ ทม่ี ผี ลตอ พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก เชน ประเพณวี ฒั นธรรม กฎหมาย
ขอบงั คบั เปนตน

วิธกี ารอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติ

เน่ืองจากมีการทําลายทรัพยากรธรรมชาติจาการกระทําของมนุษยและการกระทํา
นนั้ มคี วามรวดเรว็ และรนุ แรงเกนิ กวา ระบบธรรมชาตจิ ะฟน ฟดู ว ยตวั เอง ดงั นนั้ เปน สงิ่ จาํ เปน
เรงดวนท่ีตองการรณรงคใหทุกคนในสังคมชวยกันอนุรักษ และมีความสํานึกอยางจริงจัง
กอ นทจ่ี ะสง ผลกระทบเลวรา ยไปกวานี้โดยคํานงึ ถึงส่ิงตอไปน้ี

1. ความสูญเปลา อันเกดิ จากการใชท รพั ยากรธรรมชาติ
2. ใชแ ละรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตดิ ว ยความระมดั ระวงั และตอ งใชใ หเ กดิ ประโยชน
สูงสดุ และคมุ คา ท่ีสุด
3. ใชแ ลวตอ งมีการทดแทน

ภมู ศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย20 หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสังคม

4. ตอ งควบคมุ อตั ราการเกดิ และการเปลยี่ นแปลงของประชากรใหส อดคลอ งเหมาะ
สมกัน

5. ใชท รพั ยากรอยางมีประสิทธภิ าพและหาส่ิงใหมๆ ใชอยางพอเพียง
6. ใหการศึกษาใหประชาชนตระหนักและเขาไปมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากร
และส่งิ แวดลอม



กิจกรรม

1บทที่ กจิ กรรมท่ี 8
8.1 ทรัพยากรธรรมชาติหมายถึงอะไร อธบิ ายและยกตวั อยางมา 3 ชนิด
__________________________________________________________
__________________________________________________________
__________________________________________________________
8.2 ใหผ เู รยี นยกตวั อยา งวธิ กี ารอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ ม
มา 3 ขอ
____________________________________________________________
____________________________________________________________
____________________________________________________________
8.3 ใหผูเรียนแบงกลุมศึกษา คนควา ผลกระทบที่เกิดจากการใชและการ
เปล่ียนแปลง คือ สิ่งแวดลอม ธรรมชาติ และทรัพยากรในทองถิ่น แลว
นํามาแลกเปลี่ยนเรยี นรรู วมกัน
__________________________________________________________
__________________________________________________________
__________________________________________________________
__________________________________________________________
__________________________________________________________
8.4 ปจจุบัน ประเทศไทยประสบภาวะวิกฤติการณทรัพยากรธรรมชาติอยางไร
บอกมา 3 ขอ
__________________________________________________________
__________________________________________________________
__________________________________________________________
__________________________________________________________

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 21

2บทที่ ประวตั ิศาสตรช าติไทย

สาระสําคัญ
ชาตไิ ทยมบี รรพบรุ ษุ ทเี่ สยี สละเลอื ดเนอ้ื เพอื่ สรา งอาณาจกั รใหค นไทยไดม ที อี่ ยอู าศยั

มีท่ีทาํ กินอดุ มสมบูรณแ ละมีศกั ดศิ์ รขี องความเปน ชาตไิ ทยถงึ ปจจุบัน นาน 700 ป โดยมี
พระมหากษัตริยท มี่ ีความสามารถ ทัง้ ดา นการรบ การปกครอง และการพฒั นาดา นตางๆ
ทค่ี นไทยทกุ คนตอ งตระหนกั และรว มกนั รกั ษาประเทศชาตใิ หอ ยอู ยา งมน่ั คง รม เยน็ เปน สขุ
ตลอดไป
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั

1. อธบิ ายขอมูลเกย่ี วกับประวัติศาสตรได
2. ระบสุ ภาพความเปล่ยี นแปลงทางประวัติศาสตรได
3. เกิดความตระหนักและสามารถนําความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรไปประยุกตให
ทนั กับสภาพการเปล่ยี นแปลงกับสภาพชมุ ชน สงั คมและความม่ันคงของประเทศชาตไิ ด
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เร่อื งท่ี 1 ความหมายความสาํ คัญของประวตั ิศาสตร
เร่อื งท่ี 2 ประวัตศิ าสตรค วามเปน มาของชนชาตไิ ทย

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 22 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม

เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั ของประวตั ิศาสตร
ความหมาย

ประวตั ศิ าสตร หมายถงึ เรอ่ื งราวหรือประสบการณใ นอดีตทีเ่ กิดขึน้ จากการกระทํา
ของมนุษย ทงั้ เร่อื งราวที่เกี่ยวกบั แนวคดิ พฤติกรรม ส่งิ ประดิษฐ มีววิ ฒั นาการที่มา ซ่ึงมี
นกั ประวัตศิ าสตรไ ดศึกษาคน ควา ใหร เู ร่อื งราวทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร

ตวั อยา ง ประวตั ิศาสตรท่ีเกย่ี วกับแนวความคิดของคนในอดตี เชน การฝง ศพของ
คนจีนท่ีมีการฝงคนเปนไปพรอมกับคนตาย เพราะเชื่อวาผูตายจะมีคนคอยรับใชหลังการ
ตาย การขดุ คน พบบรเิ วณทฝ่ี ง ศพของคนโบราณมกั พบอปุ กรณ เครอ่ื งใชต า งๆ ใกลบ รเิ วณ
นัน้ ๆ เพราะเกิดจากความเชื่อวาผูตายจะไดมีของใช เปนตน

2บทที่ ตัวอยาง ประวัติศาสตรเกี่ยวกับพฤติกรรม เชน ในสมัยยุคดึกดําบรรพที่พบวา
คนสมัยนั้นยังชีพดวยการลาสัตวเปนอาหาร เพราะพบอาวุธสําหรับลาสัตวในบริเวณที่เปน
ที่อยูอาศัยของคนสมัยนั้น
ตวั อยา ง ประวตั ศิ าสตรท ่เี ก่ยี วกบั สิ่งประดษิ ฐ เชน อาวธุ โบราณ เครอื่ งถวยชาม
ภาพเขยี น ตามผนังทีเ่ ปนการสะทอ นเรือ่ งราว วิถีชวี ติ ของคนสมัยตางๆ
ความสําคัญ
ประวตั ศิ าสตรม คี วามสาํ คญั มากกบั ชวี ติ เราคนไทย นอกจะใหเ ราไดเ รยี นรเู รอ่ื งราว
ของตนเองวา ไดม คี วามเปน อยมู าอยา งไร และมเี หตกุ ารณใ ดเกดิ ขน้ึ บา งในอดตี มพี ฒั นาการ
หรอื วิวฒั นาการในแตละดา นมาอยางไร ผศู กึ ษาประวัติศาสตรย งั ไดรับประโยชนดงั น้ี
1. เปน ผมู เี หตุ มผี ล เพราะการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรต อ งคดิ และหาหลกั ฐานเหตผุ ล
ประกอบเพราะอธบิ ายสง่ิ ที่พบอยางสมเหตุสมผล
2. เปนผูที่เห็นคุณคาของประวัติศาสตร เขาใจเร่ืองราวตางๆ ท้ังท่ีเปนของ
ประเทศไทยเรา หรอื ตา งประเทศได
3. เปน คนทลี่ ะเอยี ดรอบคอบ เพราะการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร ตอ งดทู กุ ราบละเอยี ด
ไมว า จะเปน หลกั ฐานรอ งรอยทเี่ ปน วตั ถุ สภาพแวดลอ ม หรอื ขอ มลู ทางประวตั ศิ าสตรอ นื่ ๆ
กอ นท่จี ะสรปุ วา เกิดอะไรขน้ึ
4. ทําใหมีความเขาใจเพื่อนมนุษย เพราะจากการศึกษาเร่ืองราวของชนชาติตางๆ
ทําใหรแู ละเขาใจกันอยา งลึกซง้ึ
5. เปน การถา ยทอดความรทู ไี่ ดศ กึ ษามาใหก บั ผใู กลเ คยี งและคนรนุ ตอ ไปได ทาํ ให
ประวัติศาสตรไมสูญหายไป

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 23

ขอ มูลหลักฐานทางประวตั ิศาสตร 2บทที่

หลกั ฐานทางประวัติศาสตรมีการจดั แบงเปน หลายลักษณะ ดังนี้ ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
1. หลักฐานตามแหลง ขอ มลู เชน เอกสาร เทปบนั ทกึ การสมั ภาษณ วรรณกรรม
2. หลกั ฐานตามลกั ษณะการบนั ทกึ ขอ มลู เชน การจารกึ พงศาวดาร บนั ทกึ สว นตวั
จดหมายเหตุ สารานกุ รม เงนิ ตรา โบราณสถาน
โบราณวัตถุ และอื่นๆ
3. หลกั ฐานตามยคุ สมยั เชน ยคุ กอ น
ประวตั ศิ าสตร ไดแ ก โครงกระดกู ซากโบราณ
สถาน เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช ฯลฯ ยคุ ประวตั ศิ าสตร
เปนสมัยที่มีการบันทึกเรื่องราวในหนังสัตว
แผนศิลา ดินเผา รวมถึงเร่ืองราวท่ีมีการเลา
สืบตอกันในรูปแบบของตํานาน ศิลาจารึก
พงศาวดาร ฯลฯ
4. หลักฐานตามเจตนารมณของผู
เกย่ี วขอ งในเหตกุ ารณ ทงั้ ทโี่ ดยเจตนาทจ่ี ะบนั
ทึกเรื่องราวไวและที่ไมม เี จตนาบนั ทึกไว

กจิ กรรม

กจิ กรรมท่ี 9
ใหผ เู รยี น เขยี นเลา ประวตั ศิ าสตร จงั หวดั ทผ่ี เู รยี นอาศยั อยมู คี วามยาวครง่ึ หนา

(เขยี นตวั บรรจง)

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 24 หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสังคม

เร่ืองท่ี 2 ประวตั คิ วามเปนมาของชนชาติไทย

สมัยกอ นกรุงสโุ ขทยั เปนราชธานี
ในการศึกษาประวัติศาสตรชนชาติไทย มีการศึกษากันและมีขอสันนิษฐานท่ีใกล
เคียงกัน คือ เดิมท่ีไดอพยพมาจากแถบภูเขาอัลไต และอพยพเรื่อยมาจนถึงแหลมทองใน
ปจ จบุ นั “ในตอนกลางลมุ แมน า้ํ แยงซี เปน ทต่ี งั้ ของอาณาจกั รฌอ ซงึ่ นกั ประวตั ศิ าสตร ซงึ่
ฌอในสมยั น้นั คอื ชนชาติไทย พระเจาฌอ ปาออง ซง่ึ ครองราชยอ ยูระหวา ง พ.ศ. 310 ถงึ
343 วา เปน กษตั รยิ ไ ทย ซงึ่ สอดคลอ งกบั ผลการศกึ ษาของนกั วชิ าการทศี่ กึ ษาเรอื่ งราวเกยี่ ว
กับความเปนมาของชนชาติไทย จะทําใหทราบถึงการต้ังถิ่นฐานนับแตเร่ิมตน การดําเนิน
ชีวิต และการผสมผสานทางวัฒนธรรมของชาติไทยอยางไรก็ตามไดมีขอสันนิษฐานหรือ

2บทท่ี แนวคดิ ตา งๆทม่ี หี ลกั ฐานนา เชอ่ื ถอื มผี ลใหก ารศกึ ษาประวตั ศิ าสตรค วามเปน มาของชนชาติ
ไทย สามารถสรุปแนวคิดท่เี ช่อื วา ชนชาตไิ ทยอพยพมาจากบริเวณประเทศจีน และทางตอน
เหนือของภาคพ้นื เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต สามารถแยกออกไดดังนี้
1. แนวคิดท่ีเช่ือวาถ่นิ เดมิ ของคนไทยอยูบรเิ วณเทอื กเขาอัลไต แนวคิดนเ้ี กดิ จาก
ขอ สนั นษิ ฐานที่วา ถนิ่ กาํ เนดิ ของมนุษยอ ยูบริเวณตอนกลางของทวปี เอเชยี คือ ทางตอนใต
ของเทือกเขาอัลไตซง่ึ ปจจุบนั อยใู นประเทศมองโกเลยี
2. แนวคดิ ทเ่ี ชอ่ื วา ถนิ่ กาํ เนดิ ของชนชาตไิ ทยอยบู รเิ วณทางตอนใตข องจนี ทางเหนอื
ของภาคพ้ืนเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต ตลอดจนรัฐอัสสมั ของอนิ เดยี
3. แนวคดิ นเ้ี ชอ่ื วา คนไทยอาศยั อยกู ระจดั กระจายกนั ไป ตง้ั แตม ณฑลกวางตงุ เรอ่ื ย
ไปทางตะวันตก ในมณฑลกวางสี ยูนาน กุยโจว เสฉวน ตลอดจนรฐั อัสสัมของอินเดีย
โดยอาศยั ความเชอื่ วา มผี ูค นทมี่ ี ภาษาและวฒั นธรรมคลา ยกับคนไทย อยทู างตอนใตข อง
จนี เปน จาํ นวนมากรวมทงั้ พบหลกั ฐานจาก บนั ทกึ ของจนี ทกี่ ลา วถงึ คนไทยสมยั แรกๆ เปน
เวลา 2,000 ปแ ลว
4. แนวคิดท่ีเชื่อวาถ่ินเดิมของคนไทยอยูในบริเวณมณฑลเสฉวน สมเด็จพระเจา
บรมวงศเธอกรมพระยาดํารง
ราชานุภาพ ทรงเสนอความ
เหน็ ไวว า คนไทย นา จะอยแู ถบ
ดินแดนทิเบต ติดตอกับจีน
( ม ณ ฑ ล เ ส ฉ ว น ป จ จุ บั น )
ประมาณ พ.ศ. 500 ถูกจีน
รกุ รานจงึ อพยพมาอยทู ยี่ นู าน
ทางตอนใตของจีนแลวกระ
จายไปต้ังถิ่นฐานของบริเวณ
เงี้ยวฉาน สิบสองจไุ ท ลา นนา
ลา นชาง

รายวิชาสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 25

ในการศกึ ษาถงึ ประวตั คิ วามเปน มาของชนชาตไิ ทย ยงั มขี อ สนั นษิ ฐานทต่ี า งกนั ออก 2บทที่
ไปแตอ ยา งไรกต็ ามชนชาตมิ กี ารตงั้ ถน่ิ ฐานในแหลมมลายถู งึ ปจ จบุ นั ซง่ึ เปน ดนิ แดนทเ่ี ราคน
ไทยไดใ ชเปนท่ีอยูทํากินสบื ตอ กนั มาอยางยาวนาน ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
ทม่ี า ณรงค พว งพิศ (บรรณาธกิ าร) หนังสือเรียนสงั คมศึกษา, ประวตั ศิ าสตรไ ทย รายวิชา
ส 028 ประวัติศาสตรก ารตง้ั ถ่นิ ฐานในดินแดนประเทศไทย กรุงเทพฯ:

กจิ กรรม

กจิ กรรมท่ี 10
10.1 จากขอสันนิษฐานเก่ียวกับความเปนมาของชนชาติไทยที่เชื่อวามาจาก

ทางตอนใตของประเทศจนี มีหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ ด ทจี่ ะสะทอนใหเชอ่ื ไดบา ง
อธิบายมาพอเขาใจ

10.2 ผเู รยี นทศ่ี กึ ษาความเปน มาของชนชาตไิ ทยมคี วามเหมอื น หรอื ตา งออก
ไปใหสรปุ มา 1-2 หนา เพ่อื นาํ มาแลกเปล่ยี นเรียนรูร ว มกนั

10.3 ใหผ เู รยี นศกึ ษาความเปน มาของชมุ ชนทอี่ าศยั อยู พรอ มทง้ั อา งองิ แหลง
ทม่ี าของขอมลู ดวย

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 26 หนังสือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม

อาณาจกั รตา งๆ ของไทย

สมยั กอนกรงุ สโุ ขทัย

2บทที่

รัชญา ไชยา (http://sukhothai.go.th/history/hist_01.htm) ไดเรียบเรยี งเกยี่ ว
กับประวตั ศิ าสตรช าตไิ ทยสมัยกอนตัง้ กรงุ สโุ ขทยั ไวด งั นี้

คาํ วา ไทย เปน ชอ่ื รวมของชนเผา มองโกล ซง่ึ แบง แยกออกเปนหลายสาขา เชน
ไทยอาหมในแควนอัสสัม ไทยใหญนอย ไทยโท ในแควนตัง้ เกี๋ย อปุ นสิ ยั ปกติมกั เอื้อเฟอ
เผื่อแผ รกั สนั ติและความเปนอสิ ระ

ความเจรญิ ของชนชาติไทยนี้ สนั นิษฐานวา มอี ายุไลเลยี่ กนั มากับความเจรญิ ของ
ชาวอยี ปิ ต บาบโิ ลเนยี และอสั สเิ รยี โบราณ ไทยเปน ชาตทิ ม่ี คี วามเจรญิ มากอ นจนี และกอ น
ชาวยุโรป ซึ่งขณะนั้นยังเปน พวกอนารยชนอยู เปน ระยะเวลา ประมาณ 5,000-6,000 ป
ทแี่ ลว ทช่ี นชาตไิ ทยไดเ คยมที ท่ี าํ กนิ เปน หลกั ฐาน มกี ารปกครองเปน ปก แผน และมรี ะเบยี บ
แบบแผนอยู ณ ดินแดนซง่ึ ปน ประเทศจนี ในปจ จบุ ัน

เมอ่ื ประมาณ 3,500 ป กอ นพทุ ธศกั ราช ชนชาตไิ ทยไดอ พยพขา มเทอื กเขาเทยี น
ชาน เดนิ ทางมาจนถึงท่ีราบลมุ อนั อุดมสมบูรณ ณ บริเวณตนแมนาํ้ ฮวงโห และแมน า้ํ แยง
ซเี กยี ง และไดต ้ังถิน่ ฐานอยู ณ บรเิ วณทแ่ี หง น้ัน แลว ละเลกิ อาชพี เล้ยี งสตั วแตเ ดมิ เปล่ียน
มาเปน ทาํ การกสกิ รรม ความเจรญิ กย็ ง่ิ ทวมี ากขนึ้ มกี ารปกครองเปน ปก แผน และไดข ยาย
ทที่ าํ กนิ ออกไปทางทิศตะวนั ออกตามลาํ ดบั

ในขณะที่ชนชาติไทยมคี วามเปนปกแผน อยู ณ ดินแดนและมคี วามเจริญดงั กลาว
ชนชาตจิ ีนยงั คงเปน พวกเลยี้ งสตั ว ทเ่ี รร อ นพเนจรอยูตามแถบทะเลสาบแคสเบียน ตอมา
เม่ือประมาณกวาหนึ่งพันปท่ีไทยอพยพเขามาอยูในที่ราบลุมแมนํ้าเรียบรอยแลวชนชาติจีน

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 27

จึงไดอพยพเขามาอยูในลุมนาํ้ ดงั กลาวนีบ้ า ง และไดพ บวาชนชาติไทยไดครอบครองและมี 2บทที่
ความเจรญิ อยกู อ นแลว ในระหวา งระยะเวลานน้ั เราเรยี กวา อา ยลาว หรอื พวกมงุ ประกอบ
กันขน้ึ เปนอาณาจักรใหญถ ึง 3 อาณาจักร คือ ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย

อาณาจกั รลุง ต้ังอยูท างตอนเหนอื บรเิ วณตนแมน ํ้าเหลือง (ฮวงโห)
อาณาจักรปา ตั้งอยูทางใตลงมาบริเวณพื้นท่ีทางเหลือของมณฑลเสฉวน
อาณาจกั รปา จดั วา เปน อาณาจกั รท่สี าํ คัญกวาอาณาจกั รอืน่
อาณาจกั รเงยี้ ว ต้ังอยูทางตอนกลางของลมุ แมน้าํ แยงซเี กยี ง
ทง้ั สามอาณาจักรน้ี มีความเจรญิ รงุ เรืองข้นึ ตามลาํ ดับ ประชากรกเ็ พ่มิ มากขน้ึ จงึ
ไดแผข ยายอาณาเขตออกมาทางทิศตะวันออก โดยมแี มน ้ําแยงซีเกยี งเปน แกนหลกั
จากความอุดมสมบูรณในพื้นที่ถ่ินที่อยูใหม มีอิทธิพลทําใหเปลี่ยนแปลงอุปนิสัย
เดิมตงั้ แตครั้งยงั ทําการเลีย้ งสตั ว ท่ีโหดเหยี้ ม และชอบรุกราน มาเปน ชนชาติทม่ี ีใจกวาง
ขวาง รกั สงบพอใจความสันติ อนั เปน อุปนสิ ยั ทเี่ ปน มรดกตกทอดมาถงึ ไทยรนุ หลงั ตอมา

เหตทุ ีช่ นชาตจิ นี เขา มารจู ักชนชาติไทยเปน ครั้งแรก

เมอื่ แหลง ทาํ มาหากนิ ทางแถวทะเลสาบแคสเบยี นเกดิ อตั คดั ขาดแคลน ทาํ ใหช นชาติ
จีนตองอพยพเคล่ือนยายมาทางทิศตะวันออก เม่ือประมาณ 2,500 ป กอนพุทธศักราช
ชนชาติจนี ไดอ พยพขามเทอื กเขาเทียนชาน ทร่ี าบสูงโกบี จนมาถงึ ลมุ แมนํ้าฮวงโห จึงได
ต้งั ถน่ิ ฐานอยู ณ ท่ีนนั้ และมคี วามเจริญข้นึ ตามลาํ ดบั ปรากฏมปี ฐมกษัตริยของจีนช่ือ ฟฮู ี
ไดม กี ารสบื วงศก ษตั รยิ ก นั ตอ มา แตข ณะนน้ั จนี กบั ไทยยงั ไมร จู กั กนั ลว งมาจนถงึ สมยั พระ
เจายู จีนกับไทยจึงไดรูจักกันคร้ังแรก โดยมีสาเหตุมาจากที่พระเจายู ไดมีรับสั่งใหมีการ
สาํ รวจ พระราชอาณาเขตขน้ึ ชาวจีนจึงไดมารูจกั ชาวไทย ไดเหน็ ความเจริญรุงเรอื งของ
อาณาจักรอายลาว จึงยกยองนับถือถึงกับใหสมญาอาณาจักรอายลาววา อาณาจักรไต
ซึ่งมีความหมายวาอาณาจักรใหญ สันนิษฐานวา เปนสมัยแรกที่จีนกับไทยไดแลกเปล่ียน
สัมพันธไมตรีตอ กัน

อาณาจกั รอา ยลาวถกู รุกราน

เมื่อประมาณ 390 ป กอนพุทธศักราช พวกจีนไดถูกชนชาติตาดรุกราน
พวกตาดไดลวงเลยเขามารุกรานถึงอาณาจักรอายลาวดวย อาณาจักรลุงซ่ึงอยูทางเหนือ
ตอ งประสบภยั สงครามอยา งรา ยแรง ในทีส่ ดุ ก็ตอ งทงิ้ ถน่ิ ฐานเดมิ อพยพลงมาทางนครปา
ซง่ึ อยทู างใต ปลอ ยใหพ วกตาดเขา ครอบครองนครลงุ ซง่ึ มอี าณาจกั รเขตประชดิ ตดิ แดนจนี
ฝา ยอาณาจกั รจนี ในเวลาตอ มาเกดิ การจลาจล พวกราษฎรพากนั อพยพหนภี ยั สงคราม เขา มา
ในนครปาเปน ครง้ั แรก เมอ่ื อพยพมาอยกู นั มากเขา กม็ าเบยี ดเบยี นชนชาตไิ ทยในการครองชพี
ชนชาตไิ ทยทนการเบยี ดเบยี นไมไ ด จงึ ไดอ พยพจากนครปามาหาทท่ี าํ กนิ ใหมท างใตค รง้ั ใหญ
เม่ือประมาณ 50 ป กอนพุทธศักราช แตอาณาจักรอายลาวก็ยังคงอยูจนถึงประมาณ
พ.ศ. 175 อาณาจกั รจีนเกิดมแี ควนหนึง่ คือ แควนจน๋ิ มีอํานาจขนึ้ แลว ใชแ สนยานุภาพ
เขา รกุ รานอาณาจกั รอา ยลาว นบั เปนครัง้ แรกทีไ่ ทยกบั จีนไดร บพงุ กัน ในท่สี ุดชนชาติไทยก็

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 28 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม
เสยี นครปาใหแ กจ นี เมอ่ื พ.ศ. 205 ผลของสงครามทาํ ใหช าวนครปาทย่ี งั ตกคา งอยใู นถน่ิ เดมิ
อพยพเขา มาหาพวกเดยี วกนั ทอี่ าณาจกั รเงย้ี ว ซงึ่ ขณะนนั้ ยงั เปน อสิ ระอยไู มไ ดอ ยใู นอาํ นาจ
ของจีน แตฝายจีนยังคงรุกรานลงทางใตสูอาณาจักรเง้ียวตอไป ในท่ีสุดชนชาติไทยก็เสีย
อาณาจักรเงยี้ วใหแ กพ ระเจาจนิ๋ ซีฮองเต เมือ่ ป พ.ศ.328
อาณาจักรเพงาย
ตง้ั แต พ.ศ. 400 – 621 เมอ่ื อาณาจักรอายลาวถูกรกุ รานจากจนี ท้งั วธิ ีรุกเงียบ
และรกุ รานแบบเปด เผยโดยใชแ สนยานภุ าพ จนชนชาตไิ ทยอา ยลาวสน้ิ อสิ รภาพ จงึ ไดอ พยพ
อกี ครง้ั ใหญ แยกยา ยกนั ไปหลายทศิ หลายทาง เพอื่ หาถน่ิ อยใู หม ไดเ ขา มาในแถบลมุ แมน า้ํ
สาละวนิ ลมุ แมน ้าํ อิรวดี บางพวกก็ไปถึงแควนอัสสัม บางพวกไปยังแควน ตงั เก๋ีย เรยี ก
วา ไทยแกว บางพวกเขา ไปอยทู ่ีแควน ฮุนหนํา พวกนี้มีจาํ นวนคอนขา งมาก ในทส่ี ุดไดต ง้ั

2บทที่ อาณาจักรขึ้น เมอ่ื พ.ศ. 400 เรยี กวา อาณาจักรเพงาย
ในสมัยพระเจาขนุ เมือง ไดมีการรบระหวา งไทยกับจีน หลายครงั้ ผลดั กนั แพผลดั
กันชนะ สาเหตทุ ่ีรบกนั เนอ่ื งจากวา ทางอาณาจกั รจีน พระเจา วูตี่ เล่ือมใสในพระพุทธ
ศาสนาและไดจัดสมณทูตใหไปสืบสวนพระพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดีย แตการเดินทาง
ของสมณทตู ตอ งผา นเขา มาในอาณาจกั รเพงาย พอ ขนุ เมอื งไมไ วใ จจงึ ขดั ขวาง ทาํ ใหก ษตั รยิ 
จีนขัดเคอื งจงึ สง กองทพั มารบ ผลทส่ี ุดชาวเพงายตอ งพายแพ เมอ่ื พ.ศ. 456
ตอ มาอาณาจกั รจนี เกดิ การจลาจล ชาวนครเพงายจงึ ไดโ อกาสแขง็ เมอื ง ตงั้ ตนเปน
อิสระ จนถงึ พ.ศ. 621 ฝายจนี ไดร วมกันเปนปกแผนและมกี ําลังเขม แขง็ ไดยกกองทัพมา
รุกรานไทย สาเหตุของสงครามเนื่องจากพระเจามิ่งตี่ กษัตริยจีนไดวางแผนการขยาย
อาณาเขต โดยใชศาสนาเปนเครื่องมือ โดยไดสงสมณทูตไปเผยแพรพระพุทธศาสนายัง
ประเทศใกลเ คียง สาํ หรบั นครเพงายนนั้ เม่ือพระพทุ ธศาสนาแผไ ปถงึ พอขุนลวิ เมา ซึ่ง
เปนหัวหนา ก็เล่อื มใส ชาวนครเพงายโดยท่วั ไปก็ยอมรบั นับถือเปน ศาสนาประจาํ ชาติ ดวย
ตางก็ประจักษในคุณคาของพระธรรมอันวิเศษยอดเยี่ยม นับวาสมัยนี้เปนสมัยสําคัญที่
พระพุทธศาสนาไดแผเ ขา มาถึงอาณาจักรไทย คือ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 612 เม่ือเปน เชน นน้ั
ฝา ยจนี จงึ ถอื วา ไทยตอ งเปน เมอื งขนึ้ ของจนี ดว ย จงึ ไดส ง ขนุ นางเขา มาควบคมุ การปกครอง
นครเพงาย เมอ่ื ทางไทยไมย อมจงึ เกดิ ผดิ ใจกนั ฝา ยจนี ไดก รฑี าทพั ใหญเ ขา โจมตนี ครเพงาย
นครเพงายจงึ เสยี อิสรภาพ เม่ือ พ.ศ. 621
อาณาจกั รนา นเจา (พ.ศ. 1193 – 1823)
หลังจากนครเพงายเสียแกจ นี แลว กไ็ ดมีการอพยพคร้ังใหญก นั อีกครงั้ หน่งึ ลงมา
ทางทศิ ใตแ ละทางทศิ ตะวนั ตก สว นใหญม กั เขา มาตงั้ อยตู ามลมุ แมน าํ้ ในเวลาตอ มาไดเ กดิ
มีเมืองใหญขึ้นถึง 6 เมือง เปนอิสระแกกัน ประกอบกับในหวงเวลาน้ันกษัตริยจีนกําลัง
เสอื่ มโทรม แตกแยกออกเปน สามกก กก ของเลา ป อนั มขี งเบง เปน ผูนาํ ไดเคยยกมาปราบ
ปรามนครอิสระของไทย ซึง่ มีเบง เฮกเปนหวั หนาไดส าํ เรจ็ ชาวไทยกลมุ นจี้ ึงตอ งอพยพหนี
ภยั จากจีน

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 29

ตอมาเมือ่ พ.ศ. 850 พวกตาดไดยกกาํ ลงั เขารุกราน อาณาจักรจนี ทางตอนเหนอื 2บทที่
เมอ่ื ตีไดแ ลว กต็ ้งั ตนข้นึ เปน กษัตรยิ ท างเหนอื มีปกกง่ิ เปน เมอื งหลวง สว นอาณาจักรทางใต
กษตั รยิ เ ชอื้ สายจนี กค็ รองอยทู เี่ มอื งนาํ่ กงิ ทงั้ สองพวกไดร บพงุ กนั เพอื่ แยง ชงิ ความเปน ใหญ ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
ทาํ ใหเกดิ การจลาจลไปท่ัวอาณาจักร ผลแหง การจลาจลครง้ั นน้ั ทําใหน ครอสิ ระทงั้ 6 ของ
ไทย คอื ซีลง มงเส ลา งกง มงุ ซุย เอยี้ แซ และเทงเซ้ียง กลบั คืนเปน เอกราช

นครมง เส นับวา เปนนครสําคญั เปนนครทใ่ี หญก วานครอนื่ ๆ และต้งั อยตู ํา่ กวา
นครอ่ืนๆ จึงมีฐานะมั่นคงกวานครอื่นๆ ประกอบกับมีกษัตริยที่มีพระปรีชาสามารถ และ
เขม แขง็ คอื พระเจา สนิ โุ ล พระองคไ ดร วบรวมนครรฐั ทงั้ 6 เขา เปน อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั รวม
เรยี กวา อาณาจกั รมง เส หรอื หนองแส จากนน้ั พระองคไ ดว างระเบยี บการปกครองอาณาจกั ร
อยา งแนน แฟน พระองคไ ดด าํ เนนิ นโยบายผกู มติ รกบั จนี เพอ่ื ปอ งกนั การรกุ ราน เนอื่ งจาก
ในระยะน้ันไทยกําลังอยูในหวงเวลาสรางตัวจนมีอํานาจ เปนอาณาจักรใหญท่ีมีอาณาเขต
ประชดิ ตดิ กบั จีน ทางฝายจีนเรียกอาณาจกั รนีว้ า อาณาจักรนา นเจา

แมวา อาณาจักรนานเจา จะสิ้นรัชสมยั พระเจา สนิ โุ ลไปแลว ก็ตาม พระราชโอรสของ
พระองคซ ง่ึ สบื ราชสมบตั ิ ตอ มากท็ รงพระปรชี าสามารถ นนั่ คอื พระเจา พลี อ โกะ พระองค
ไดท าํ ใหอาณาจักรนานเจา เจรญิ รุงเรอื งยง่ิ ขึ้นไปกวาเดิม อาณาเขตก็กวา งขวางมากขึ้นกวา
เกา งานชิน้ สาํ คญั ของพระองคอ ยางหนึ่งกค็ ือ การรวบรวมนครไทยอิสระ 5 นครเขาดวย
กันและการเปน สมั พันธไมตรกี บั จนี

ในสมัยนี้อาณาจักรนานเจา ทิศเหนือจดมณฑลฮุนหนํา ทิศใตจดมณฑลยูนาน
ทศิ ตะวนั ตกจดทเิ บต และพมา และทศิ ตะวนั ออกจดมณฑลกวางไส บรรดาอาณาจกั รใกลเ คยี ง
ตา งพากนั หวน่ั เกรง และยอมออ นนอ มตอ อาณาจกั รนา นเจา โดยทว่ั หนา กนั พระเจา พลี อ โกะ
มีอุปนิสยั เปน นกั รบ จงึ โปรดการสงคราม ปรากฏวาคร้งั หน่ึง พระองคเสด็จเปน จอมทัพไป
ชวยจีนรบกบั ชาวอาหรบั ที่มณฑลซินเกียง และพระองคไ ดรบั ชยั ชนะอยางงดงาม ทาง
กษัตริยจีนถึงกับยกยองใหสมญานามพระองควายูนานออง พระองคเปนกษัตริยที่เห็น
การณไ กล มีนโยบายในการแผอาณาเขตทีฉ่ ลาดสุขุมคัมภีรภาพ วธิ กี ารของพระองค คอื
สง พระราชโอกรสใหแ ยกยา ยกนั ไปตงั้ บา นเมอื งขนึ้ ใหมท างทศิ ใตแ ละทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี ง
ใต ไดแก บริเวณหลวงพระบาง ตงั เกีย๋ สิบสองปน นา สบิ สองจุไทย (เจา ไทย) หวั พันท้ัง
หาทง้ั หก กาลตอ มาปรากฏวาโอรสองคหนึง่ ไดไปสรา งเมอื งชอ่ื วา โยนกนคร ขน้ึ ทางใต
เมอื งตา งๆ ของโอรสเหลา นตี้ า งกเ็ ปน อสิ ระแกก นั เมอ่ื สนิ้ สมยั พระเจา พลี อ โกะ (พ.ศ. 1289)
พระเจา โกะลอ ฝง ผเู ปนราชโอรสไดครองราชยสืบตอมา และไดด ําเนินนโยบายเปนไมตรี
กับจนี ตลอดมา จนถึง พ.ศ. 1293 จึงมีสาเหตขุ ัดเคืองใจกนั ขนึ้ มูลเหตุเนือ่ งจากวา เจา
เมืองฮุนหนาํ ไดแ สดงความประพฤติดหู มน่ิ พระองค พระองคจึงขัดเคืองพระทัย ถงึ ขัน้ ยก
กองทพั ไปตไี ดเมอื งฮุนหนาํ และหัวเมืองใหญนอยอืน่ ๆ อกี 32 หวั เมอื ง แมวาทางฝายจนี
จะพยายามโจมตกี ลบั คนื หลายครง้ั กไ็ มส าํ เรจ็ ในทส่ี ดุ ฝา ยจนี กเ็ ขด็ ขยาด และเลกิ รบไปเอง ใน
ขณะที่ไทยทําสงครามกับจีน ไทยกไ็ ดทาํ การผูกมติ รกับทเิ บต เพ่อื หวงั กาํ ลงั รบ ละเปนการ
ปอ งกันอนั ตรายจากดานทิเบต

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 30 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม

เม่ือส้ินสมัยพระเจาโกะลอฝง ราชนัดดา คือ เจาอายเมืองสูง(อีเหมาซุน) ไดข้ึน
ครองราชยสบื ตอ มา มเี หตกุ ารณในตอนตน รัชกาล คือ ไทยกับทิเบตเปน ไมตรีกัน และได
รวมกาํ ลงั กนั ไปตแี ควน เสฉวนของจนี แตไ มเ ปน ผลสาํ เรจ็ ในเวลาตอ มา ทเิ บตถกู รกุ รานและ
ไดขอกําลังจากไทยไปชวยหลายครงั้ จนฝา ยไทยไมพ อใจ ประจวบกนั ในเวลาตอ มา ทางจนี
ไดแ ตง ทูตมาขอเปน ไมตรีกับไทย เจาอายเมืองสงู จึงคิดท่จี ะเปนไมตรกี บั จนี เมือ่ ทางทเิ บต
ทราบระแคะระคายเขากไ็ มพ อใจ จงึ คดิ อุบายหกั หลังไทย แตฝ ายไทยไหวทนั จงึ สวมรอยเขา
โจมตที เิ บตยอ ยยบั ตไี ดห วั เมอื งทเิ บต 16 แหง ทาํ ใหท เิ บตเขด็ ขยาดฝม อื ของไทยนบั ตง้ั แต
นนั้ มาก

ในเวลาตอ มากษตั รยิ น า นเจา ในสมยั หลงั ออ นแอ และไมม นี สิ ยั เปน นกั รบ ดงั ปรากฏ
ในตามบันทึกของฝา ยจนี วา ในสมยั ทพ่ี ระเจา ฟา ขึน้ ครองราชย เม่อื ป พ.ศ. 1420 น้ัน

2บทที่ ไดม พี ระราชสาสนไ ปถงึ อาณาจกั รจนี ชวนใหเ ปน ไมตรกี นั ทางฝา ยจนี กต็ กลง เพราะยงั เกรง
ในฝม อื และความเขม แขง็ ของไทยอยู แตก ระนน้ั กไ็ มล ะความพยายามทจ่ี ะหาโอกาสรกุ ราน
อาณาจกั รนานเจา ปรากฏวา พระเจาแผนดินจีนไดสงราชธิดา หงางฝา ใหม าอภิเษกสมรส
กับพระเจาฟา เพ่ือหาโอกาสรุกเงียบในเวลาตอมา โดยไดพยายามผันแปรขนบธรรมเนียม
ประเพณใี นราชสาํ นกั ใหม แี บบแผนไปทางจนี ทลี ะนอ ยๆ ดงั นน้ั ราษฎรนา นเจา กพ็ ากนั นยิ ม
ตาม จนในท่ีสดุ อาณาจกั รนา นเจากม็ ีลักษณะคลายกบั อาณาจกั รจีน แมวาส้นิ สมยั พระเจา
ฟา กษัตริยนานเจาองคหลังๆ ก็คงปฏิบัติตามรอยเดิมประชาชนชาวจีนก็เขามาปะปนอยู
ดวยมาก แมกษัตริยเองก็มีสายโลหิตจากทางจีนปะปนอยูดวยแทนทุกองค จึงกอใหเกิด
ความเสื่อม ความออนแอขึ้นภายใน มีการแยงชิงราชสมบัติกันในบางคร้ัง จนในท่ีสุดเกิด
การแตกแยกในอาณาจกั รนา นเจา ความเสอื่ มไดด าํ เนนิ ตอ ไปตามลาํ ดบั จนถงึ ป พ.ศ. 1823
ก็ส้ินสุดลงดวยการโจมตีของกุบไลขาน กษัตริยแหงราชอาณาจักรจีน อาณาจักรนานเจา
ส้ินสุดในคร้งั น้นั
ชนชาตติ างๆ ในแหลมสวุ รรณภมู กิ อ นท่ีไทยจะอพยพมาอยู
ชนชาติด้ังเดิม และมีความเจริญนอยท่ีสุดก็คือพวก นิโกอิด ซ่ึงเปนบรรพบุรุษ
ของพวกเงาะ เชน เซมงั ซาไก ปจจบุ นั ชนชาตเิ หลานม้ี ีเหลืออยนู อ ยเต็มที แถวปกษใ ต
อาจมีเหลืออยบู า ง ในเวลาตอ มาชนชาติทีม่ ีอารยธรรมสูงกวา เชน มอญ ขอม ละวา ได
เขามาต้งั ถนิ่ ฐาน
ขอม มถี ิน่ ฐานทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงใตข องแหลมสุวรรณภมู ิ ในบรเิ วณแมน า้ํ โขง
ตอนใตและทะเลสาบเขมร
ลาวหรอื ละวา มถี น่ิ ฐานอยบู รเิ วณลมุ แมน าํ้ เจา พระยา เปน ดนิ แดนตอนกลางระหวา ง
ขอมและมอญ
มอญ มถี ่ินฐานอยบู รเิ วณลุม แมน ํ้าสาละวนิ และแมน้ําอริ วดี
ทั้งสามชาติน้มี ีความละมายคลา ยคลงึ กนั มาก ตัง้ แตรปู ราง หนาตา ภาษา และ

รายวิชาสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 31

ขนบธรรมเนียม ประเพณีสนั นษิ ฐานไดว า นา จะเปนชนชาตเิ ดยี วกนั มาแตเดิม 2บทที่
อาณาจักรละวา เมื่อประมาณ พ.ศ. 700 ชนชาติละวา ซ่ึงเขาครอบครองถิ่น
ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
เจาพระยา ไดตั้งอาณาจกั รใหญข ึน้ สามอาณาจกั ร คอื
อาณาจักรทวาราวดี มอี าณาเขตประมาณตงั้ แตร าชบรุ ี ถึงพิษณุโลก มนี ครปฐม

เปน เมอื งหลวง
อาณาจักรโยนกหรือยาง เปนอาณาจักรทางเหนือในเขตพ้ืนที่เชียงราย และ

เชยี งแสนมีเงนิ ยางเปนเมืองหลวง
อาณาจกั รโคตรบูรณ มอี าณาเขตตง้ั แตน ครราชสมี าถึงอุดรธานี มีนครพนมเปน

เมืองหลวง
แหลมสวุ รรณภมู ไิ ดเ ปน ศนู ยก ลางการคา ของจนี และอนิ เดยี มาเปน เวลาชา นาน จน

กลายเปน ดนิ แดนแหง อารยธรรมผสม ดว ยความอดุ มสมบรู ณข องบรเิ วณนี้ เปน เหตดุ งึ ดดู
ใหชาวตางชาตเิ ขามาอาศัย และติดตอคาขาย นับต้ังแต พ.ศ. 300 เปน ตน มา ไดมชี าว
อนิ เดยี มาอยใู นดนิ แดนสวุ รรณภมู เิ ปน จาํ นวนมากขน้ึ ตามลาํ ดบั รวมทงั้ พวกทห่ี นภี ยั สงคราม
ทางอนิ เดยี ตอนใต ซงึ่ พระเจา อโศกมหาราช กษตั รยิ แ หง แควน โกศลไดก รฑี าทพั ไปตแี ควน
กลงิ คราฎร ชาวพน้ื เมอื งอนิ เดียตอนใต จงึ อพยพเขา มาอยทู พี่ มา ตลอดถงึ พ้นื ทีท่ ่ัวไปใน
แหลมมลายูและอินโดจนี อาศัยท่ีพวกเหลานี้มีความเจรญิ อยแู ลว จึงไดนาํ เอาวิชาความรู
และความเจรญิ ตา งๆ มาเผยแพร คอื

ศาสนาพุทธ สันนิษฐานวา พุทธศาสนาเขามาเผยแผเปนคร้งั แรกโดยพระโสณะ
และพระอุตระ ในสมัยพระเจาอโศกมหาราชแหงอินเดีย พระพุทธศาสนาเหมาะสมกับ
สุวรรณภูมิเพราะสอนใหรูจักบาปบุญคุณโทษใหความสงบรมเย็นจึงไดย่ังยืนมาจนถึงสมัย
ปจ จุบนั

ศาสนาพราหมณ มคี วามเหมาะสมในดา นการปกครอง ซงึ่ ตอ งการความศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ
และเดด็ ขาด ศาสนานี้สอนใหเคารพในเทพเจา ท้งั สาม คอื พระอศิ วร พระพรหม และพระ
นารายณ

นิติศาสตร ไดแก การปกครอง ไดวางแผนการปกครองหัวเมืองตลอดจนการตั้ง
มงคลนามถวายแกพ ระมหากษัตริยแ ละตงั้ ชอ่ื เสยี ง

อักษรศาสตร พวกอินเดียตอนใตไดนําเอาตัวอักษรคฤษฑเขามาเผยแพร ตอมา
ภายหลังไดดัดแปลงเปนอักษรขอม และอักษรมอญ พอขุนรามคําแหงมหาราชไดทรง
ประดิษฐอกั ษรไทย โดยดัดแปลงจากอกั ษรขอม เมื่อป พ.ศ. 1823

ศิลปะศาสตร ไดแก ฝมือในการกอสราง แกะสลัก กอพระสถูปเจดีย และหลอ
พระพุทธรูป

อยา งไรกต็ าม ศาสนาพทุ ธไดรั ับอทิ ธิพลจากศาสนาพราหมณม ิใชนอ ย จึงมีพธิ กี าร
ตา งๆ ทลี่ งเหลืออยจู นถุงปจจบุ ัน เชน พธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 32 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม
การแผอ ํานาจของขอมและพมา
ประมาณป พ.ศ. 601 โกณฑัญญะ ซ่ึงเปนชาวอนิ เดยี ไดส มรสกบั นางพญาขอม
และตอ มาไดข น้ึ เปน กษตั รยิ ค รอบครองดนิ แดนของนางพญาขอม จดั การปกครองบา นเมอื ง
ดว ยความเรยี บรอย ทํานุบาํ รุงกจิ การทหาร ทาํ ใหขอมเจรญิ ข้ึนตามลําดับ มีอาณาเขตแผ
ขยายออกไปมากข้นึ ในทสี่ ดุ ก็ไดยกกาํ ลังไปตีอาณาจักรโคตรบูรณ ซึง่ เปนอาณาจักรท่อี ยู
ทางเหนือของละวา ไวไ ด แลวถือโอกาสเขาตีอาณาจกั รทวาราวดี
ตอ มาเมอ่ื ประมาณป พ.ศ. 1600 กษตั รยิ พ มา ผมู คี วามสามารถองคห นง่ึ คอื พระเจา
อโนธรามงั ชอ ไดย กกองทพั มาตอี าณาจกั รมอญ เมื่อตีอาณาจกั รมอญไวในอาํ นาจไดแ ลว
กย็ กทพั ลว งเลยเขา มาตอี าณาจกั รทวาราวดี และมอี าํ นาจครอบครองตลอดไปทงั้ สองฝง แมน า้ํ
เจาพระยา อาํ นาจของขอมก็สญู สิ้นไป แตเ มอ่ื ส้ินสมัยพระเจา อโนธรามังชอ อํานาจของ

2บทท่ี พมาในลมุ นํา้ เจาพระยาก็พลอยเส่ือมโทรมดบั สูญไปดวย เพราะกษัตริยพมา สมัยหลังแยงชงิ
อํานาจซึง่ กันและกนั เปดโอกาสใหแ วนแควนตางๆ ทีเ่ คยเปนเมืองขึน้ ต้ังตวั เปนอสิ ระได
อกี ในระหวา งนี้ พวกไทยจากนา นเจา ไดอพยพเขามาอยใู นดินแดนสวุ รรณภูมเิ ปน จาํ นวน
มากขน้ึ เมอื่ พมา เสอ่ื มอาํ นาจลง คนไทยเหลา นกี้ เ็ รม่ิ จดั การปกครองกนั เองในลมุ นา้ํ เจา พระยา
ฝายขอมน้ันเม่ือเห็นพมาทอดทิ้งแดนละวาเสียแลว ก็หวนกลับมาจัดการปกครองในลุม
แมน า้ํ เจา พระยาอกี วาระหนง่ึ โดยอา งสทิ ธแิ หง การเปน เจา ของเดมิ อยา งไรกต็ ามอาํ นาจของ
ขอมในเวลานัน้ กก็ ็เส่ือมลงแลว แตเนอ่ื งจากชาวไทยท่อี พยพเขา มาอยยู งั ไมมีอาํ นาจเต็มท่ี
ขอมจึงบังคบั ใหชาวไทยสงสวยใหขอม พวกคนไทยที่อยใู นเขตลุม แมนํา้ เจา พระยาตอนใต
ไมก ลา ขดั ขนื ยอมสง สว ยใหแ กข อมโดยดี จงึ ทาํ ใหข อมไดใ จ และเรมิ่ ขยายอาํ นาจขน้ึ ไปทาง
เหนอื ในการนเ้ี ขา ใจวา บางครง้ั อาจตอ งใชก าํ ลงั กองทพั เขา ปราบปราม บรรดาเมอื งทข่ี ดั ขนื
ไมย อมสงสว ย ขอมจงึ สามารถแผอาํ นาจข้นึ ไปจนถงึ แควนโยนก
สว นแควนโยนกนน้ั ถอื ตนวา ไมเ คยเปนเมอื งขน้ึ ของขอมมากอน จงึ ไมย อมสง
สวยใหตามท่ีขอม
บังคับ ขอมจึงใช
กาํ ลงั เขา ปราบปราม
นครโยนกไดสําเร็จ
พ ร ะ เ จ า พั ง ค ร า ช
กษัตริยแหงโยนก
ลําดับท่ี 43 ไดถูก
เ น ร เ ท ศ ไ ป อ ยู ที่
เมอื งเวยี งสที อง
ภาพพระปรางคสามยอด จ.ลพบุรี แสดงอทิ ธิพลของขอมในสมยั โบราณ

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 33

แควน โยนกเชยี งแสน (พ.ศ. 1661 – 1731) 2บทท่ี

ดังไดท ราบแลว วา โอรสของพระเจาพีลอ โกะ องคห น่งึ ชอ่ื พระเจา สงิ หนวัติ ไดมา ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
สรา งเมืองใหมขนึ้ ทางใต ช่ือเมืองโยนกนาคนคร เมืองดงั กลา วน้อี ยใู นเขตละวา หรือใน
แควนโยนก เมอื่ ประมาณป พ.ศ. 1111 เปน เมอื งท่สี งา งามของยา นนนั้ ในเวลาตอมาก็ได
รวบรวมเมอื งทอ่ี อ นนอ ม ตง้ั ขนึ้ เปน แควน ชอ่ื โยนกเชยี งแสน มอี าณาเขตทางทศิ เหนอื ตลอด
สิบสองปนนา ทางใตจ ดแควนหรภิ ญุ ชัย มกี ษตั ริยส ืบเชอ้ื สายตอเน่ืองกันมา จนถงึ สมัย
พระเจา พังคราชจงึ ไดเสยี ทีแกข อมดังกลา วแลว

อยา งไรกต็ าม พระเจา พงั คราชตกอบั อยไู ดไ มน านนกั กก็ ลบั เปน เอกราชอกี ครงั้ หนงึ่
ดวยพระปรีชาสามารถของพระโอรสองคนอย คือ พระเจาพรหม ซึ่งมีอุปนิสัยเปนนักรบ
และมคี วามกลา หาญ ไดส รา งสมกาํ ลงั ผคู น ฝก หดั ทหารจนชาํ นชิ าํ นาญ แลว คดิ ตอ สกู บั ขอม
ไมยอมสง สวยใหข อม เม่อื ขอมยกกองทพั มาปราบปราม กต็ ีกองทพั ขอมแตกพา ยกลับไป
และยงั ไมแ ผอ าณาเขตเลยเขา มาในดนิ แดนขอม ไดถ งึ เมอื งเชลยี ง และตลอดถงึ ลานนา ลาน
ชาง แลว อญั เชญิ พระราชบิดากลบั ไปครองโยนกนาคนครเดิม แลวเปลี่ยนช่ือเมอื งเสยี ใหม
วาชัยบุรี สว นพระองคเ องนนั้ ลงมาสรา งเมอื งใหมท างใตช อ่ื เมืองชยั ปราการ ใหพระเชษฐา
คอื เจา ทกุ ขติ ราช ดาํ รงตาํ แหนง อปุ ราช นอกจากนนั้ กส็ รา งเมอื งอน่ื ๆ เชน เมอื งชยั นารายณ
นครพางคํา ใหเ จานายองคอ ื่นๆ ปกครอง

เมื่อสิ้นรัชสมัยพระเจาพังคราช พระเจาทุกขิตราช ก็ไดขึ้นครองเมืองชัยบุรี สวน
พระเจาพรหม และโอรสของพระองคกไ็ ดครองเมอื งชยั ปราการตอมา ในสมยั นั้นขอมกําลัง
เสอ่ื มอํานาจจึงมิไดย กกําลังมาปราบปราม ฝา ยไทยน้ัน แมกําลังเปนฝา ยไดเปรียบ แตก ็คง
ยงั ไมม กี าํ ลงั มากพอทจ่ี ะแผข ยาย อาณาเขตลงมาทางใตอ กี ได ดงั นนั้ อาณาเขตของไทยและ
ขอมจงึ ประชดิ กันเฉยอยู

เมอ่ื ส้นิ รชั สมยั พระเจา พรหม กษตั รยิ อ งคตอ ๆ มาออ นแอและหยอ นความสามารถ
ซ่ึงมิใชแตท่ีนครชัยปราการเทานั้น ความเสื่อมไดเปนไปอยางทั่วถึงกันยังนครอื่นๆ เชน
ชัยบรุ ี ชยั นารายณ และนครพางคาํ ดงั นั้น ในป พ.ศ. 1731 เมือ่ มอญกรฑี าทพั ใหญม า
รกุ รานอาณาจกั รขอมไดช ยั ชนะแลว กล็ ว งเลยเขา มารกุ รานอาณาจกั รไทยเชยี งแสน ขณะนน้ั
โอรสของพระเจา พรหม คือ พระเจาชยั ศริ ิ ปกครองเมอื งชยั ปราการ ไมสามารถตานทาน
ศกึ มอญได จงึ จาํ เปน ตอ งเผาเมอื ง เพอื่ มใิ หพ วกขา ศกึ เขา อาศยั แลว พากนั อพยพลงมาทาง
ใตของดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ จนกระทงั่ มาถึงเมืองรา งแหง หนึง่ ในแขวงเมอื งกําแพงเพชร ช่อื
เมอื งแปป ไดอาศยั อยูทีเ่ มืองแปปอยูหว งระยะเวลาหนึ่ง เหน็ วาชัยภมู ิไมส เู หมาะเพราะอยู
ใกลข อม จึงไดอพยพลงมาทางใตจ นถงึ เมืองนครปฐมจงึ ไดพ ักอาศัยอยู ณ ที่นัน้

สว นกองทัพมอญ หลังจากรุกรานเมอื งชัยปราการแลว ก็ไดย กลวงเลยตลอดไปถึง
เมอื งอน่ื ๆ ในแควน โยนกเชยี งแสน จงึ ทาํ ใหพ ระญาตขิ องพระเจา ชยั ศริ ิ ซง่ึ ครองเมอื งชยั บรุ ี
ตอ งอพยพหลบหนขี า ศกึ เชน กนั ปรากฏวา เมอื งชยั บรุ นี นั้ เกดิ นาํ้ ทว ม บรรดาเมอื งในแควน
โยนกตา งก็ถูกทาํ ลายลงหมดแลว พวกมอญเห็นวาหากเขาไปต้ังอยกู ็อาจเสียแรง เสยี เวลา

34 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม

และทรพั ยส นิ เงนิ ทอง เพอื่ ทจี่ ะสถาปนาขน้ึ มาใหม ดงั นนั้ พวกมอญจงึ ยกกองทพั กลบั เปน
เหตุใหแ วน แควนนี้วางเปลา ขาดผปู กครองอยหู ว งระยะเวลาหนง่ึ
ในระหวา งทฝี่ า ยไทย กาํ ลงั ระสา่ํ ระสา ยอยนู ้ี เปน โอกาสใหข อมซงึ่ มรี าชธานอี ปุ ราช
อยทู เ่ี มอื งละโว ถอื สทิ ธเิ์ ขา ครองแควน โยนก แลว บงั คบั ใหค นไทยทต่ี กคา งอยนู นั้ ใหส ง สว น
ใหแ กข อม ความพนิ าศของแควน โยนกครง้ั น้ี ทาํ ใหช าวไทยตอ งอพยพแยกยา ยกนั ลงมาเปน
สองสายคือ สายของพระเจา ชยั ศิริ อพยพลงมาทางใต และไดอ าศยั อยูช่วั คราวทเี่ มอื งแป
ปดังกลาวแลว สว นสายพวกชัยบรุ ไี ดแ ยกออกไปทางตะวนั ออกของสุโขทยั จนมาถึงเมือง
นครไทยจงึ ไดเขาไปตัง้ อยู ณ เมอื งน้นั ดว ยเห็นวาเปน เมืองทมี่ ีชัยภูมิเหมาะสม เพราะเปน
เมืองใหญ และต้ังอยูสุดเขตของขอมทางเหนือ ผูคนในเมืองน้ันสวนใหญก็เปนชาวไทย
อยา งไรกต็ ามในชน้ั แรกทเ่ี ขา มาตง้ั อยนู น้ั กค็ งตอ งยอมขน้ึ อยกู บั ขอม ซง่ึ ขณะนน้ั ยงั มอี าํ นาจอยู
ในเวลาตอมา เมอ่ื คนไทยอพยพลงมาจากนานเจา เปน จํานวนมาก ทําใหน ครไทย
2บทที่ มกี าํ ลงั ผคู นมากขน้ึ ขา งฝา ยอาณาจกั รลานนาหรอื โยนกนน้ั เมอ่ื พระเจา ชยั ศริ ทิ งิ้ เมอื งลงมา
ทางใต แลว กเ็ ปนเหตุใหดนิ แดนแถบนน้ั วา งผปู กครองอยูระยะหนงึ่ แตใ นระยะตอ มาชาว
ไทยทคี่ า งการอพยพอยใู นเขตนน้ั กไ็ ดร วมตวั กนั ตง้ั เปน บา นเมอื งขน้ึ หลายแหง ตงั้ เปน อสิ ระ
ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย แกก ัน บรรดาหัวเมืองตางๆ ทีเ่ กดิ ขึ้นในครัง้ นน้ั กน็ ับวา สาํ คัญ มอี ยูสามเมอื งดวยกนั คือ
นครเงนิ ยาง อยูทางเหนอื นครพะเยาอยตู อนกลาง และเมืองหรภิ ุญไชย อยูล งมาทางใต
สว นเมอื งนครไทยนนั้ ดว ยเหตุที่วา มีทีต่ ้งั อยปู ลายทางการอพยพ และอาศัยทีม่ ีราชวงศเช้อื
สายโยนกอพยพมาอยทู เ่ี มอื งนี้ จงึ เปน ทน่ี ยิ มของชาวไทยมากกวา พวกอน่ื จงึ ไดร บั ยกยอ ง
ขึ้นเปนพอเมือง ที่ต้ังของเมืองนครไทยน้ันสันนิษฐานวานาจะเปนเมืองเดียวกันกับเมือง
บางยาง ซ่ึงเปน เมืองใหญ มเี มอื งขน้ึ และเจาเมอื งมฐี านะเปน พอ ขนุ
เมอื่ บรรดาชาวไทยเกิดความคิดท่ีจะสลดั แอกของขอมครง้ั นี้ บคุ คลสาํ คัญในการ
น้ีก็คอื พอ ขนุ บางกลางทาว ซ่ึงเปนเจา เมอื งบางยาง และพอขนุ ผาเมือง เจาเมืองราด
ไดร ว มกําลงั กนั ยกขึ้นไปโจมตีขอม จนไดเ มืองสโุ ขทยั อันเปนเมืองหนาดา นของขอมไวได
เมอื่ ป พ.ศ. 1800 การมชี ัยชนะของฝา ยไทยในครง้ั น้นั นับวา เปนนิมติ หมายเบอ้ื งตน แหง
ความเจรญิ รงุ เรอื งของชนชาติไทย และเปน ลางรา ยแหงความเส่ือมโทรมของขอม เพราะ
นบั แตว าระนน้ั เปน ตน มา ขอมกเ็ สอื่ มอาํ นาจลงทกุ ที จนในทส่ี ดุ กส็ น้ิ อาํ นาจไปจากดนิ แดน
ละวา แตย งั คงมีอํานาจปกครองเหนือลมุ น้าํ เจาพระยาตอนใต

อาณาจกั รสุโขทัย

กรุงสุโขทัย ตามตํานานกลาววาพระยาพาลีราชเปนผูตั้งเมืองสุโขทัยเมื่อ พ.ศ.
1043 และมกี ษัตริยป กครองตอ กันมาหลายองค ถงึ สมยั พระยาอภัยขอมลาํ พนู มารกุ ราน
พระยาอภัยจึงหนขี อมไปจาํ ศีลอยูที่เขาหลวงและไปไดส าวชาวปาช่อื นางนาคเปนชายา ตอ
มาพระยาอภยั กก็ ลบั สโุ ขทยั เพอ่ื ครองเมอื งตามเดมิ และไดม อบผา กาํ พลกบั พระธาํ มรงคไ ว
ใหนางนาคเปนที่ระลึก เมื่อพระยาอภัยกลับไปแลวนางนาคก็ไดกําเนิดบุตรชายแตไมรูจะ
เกบ็ ลูกไวท ีไ่ หน จงึ ทิ้งลกู ไวท เ่ี ขาหลวงพรอมผา กําพลและพระธาํ มรงค พรานปา คนหน่ึงไป
พบจึงกลบั มาเล้ียง

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 35

ตอมาพระยาอภัยเมื่อกลับไปครองเมืองดังเดิมแลวก็ไดเกณฑชาวบานไปชวยกัน 2บทที่
สรา งปราสาท นายพรานถกู เกณฑไ ปดว ย ระหวา งการกอ สรา งปราสาทนายพรานไดว างเดก็
นอ ยไวขางปราสาทน้นั เมื่อแสงแดดสองถูกเด็กนอยยอดปราสาทกโ็ อนเอนมาบังรม ใหเ ด็ก ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
อยา งอศั จรรย พระอภยั มาดพู ระกมุ ารพรอ มผา กาํ พลและพระธาํ มรงคจ งึ ไดข อเดก็ ไปเปน บตุ ร
ตัง้ ชือ่ ใหวา อรุณกุมาร พระยาอภัยมีโอรสอีกองคห น่ึงกบั มเหสีใหมชื่อวา ฤทธกิ มุ าร ตอมา
ภายหลงั ไดไ ปครองเมอื งนครสวรรคแ ละมนี ามใหมว า พระลอื สว นอรณุ กมุ ารไปไดธ ดิ าเมอื ง
ศรีสัชนาลัยเปนชายจึงไปครองศรีสัชนาลัยมีนามใหมวา พระรวงโรจนฤทธิ์ พรอมทั้งยาย
เมอื งหลวงจากสโุ ขทยั ไปศรสี ัชนาลยั พระรว งโรจนฤทธ์ไิ ดเสดจ็ ไปเมืองจนี และไดพระสุทธิ
เทวรี าชธดิ ากรงุ จนี มาเปน ชายาอกี องคห นง่ึ พรอ มทง้ั ไดน าํ ชา งชาวจนี กลบั มาตง้ั เตาทาํ ถว ย
ชามท่ศี รีสชั นาลยั ซ่ึงเรียกวาเตาทุเรยี ง ครง้ั ถงึ ป พ.ศ.1560 ขอมมารุกราน ศรีสชั นาลยั มี
ขอมดาํ ดินมาจะจับพระรว งโรจนฤทธ์ิ พระรว งจึงสาบใหข อมกลายเปนหนิ อยตู รงนน้ั

เมื่อข้ึนครองเมือง พระรวงไดยายเมืองหลวงจากศรีสัชนาลัยมาที่สุโขทัย เมื่อสิ้น
รชั กาลแลว พอขุนนาวนําถม ไดป กครองสุโขทยั ตอ มา และสโุ ขทัยกต็ กเปนเมืองขนึ้ ของ
ขอม พอ ขนุ นาวนาํ ถมและพอ ขนุ ศรเี มอื งมานพยายามชว ยกนั ขบั ไลข อมจากสโุ ขทยั แตไ ม
สําเร็จ

ป พ.ศ. 1800 พอขุนบางกลางทา วกบั พอขุนผาเมอื งสามารถขบั ไลข อมไดสําเรจ็
พอขุนบางกลางทาวขึ้นเปนกษัตริยสุโขทัยทรงพระนามวา พอขุนศรีอินทราทิตย สุโขทัย
เจรญิ รงุ เรอื งมากทสี่ ดุ ในสมยั พอ ขนุ รามคาํ แหงและสมยั พระยาลไิ ทย สมยั พอ ขนุ รามคาํ แหง
นมี้ กี ารเชญิ พระสงฆจ ากนครศรธี รรมราชมาชว ยกนั ประดษิ ฐล ายสอื ไทยเปน เอกลกั ษณข อง
สโุ ขทัยเอง ซง่ึ พัฒนาตอ มาเปน หนงั สอื ไทยในปจจุบัน

พ.ศ. 1893 พระเจา อทู องทรงสถาปนาอยธุ ยาเปน ราชธานอี กี แหง หนงึ่ ของคนไทย
แตอ ยุธยากับสโุ ขทัยก็ไมไ ดเ ปนศัตรกู นั

ในสมยั พระยาลไิ ทยนน้ั ขนุ หลวงพะงว่ั แหง อยธุ ยาไดม ารว มมอื กนั เพอ่ื เผยแผพ ทุ ธ
ศาสนาใหเจริญรุงเรืองมีการนิมนตพระสงฆมาชวยรวบรวมพระธรรมวินัยที่กระจัดกระจาย
เพราะศึกสงครามและใหคณะสงฆรวมกันรางไตรภูมิพระรวงเพื่อใชสอนพุทธบริษัทให
ทําความดี ในสมัยพระยาลิไทยน้ีไดมีการสรางพระพุทธรูปสําคัญของไทยสามองค คือ
พระพทุ ธชินราช พระพุทธชินสีห และพระศากยมนุ ี

ยุคหลังพระยาลิไท อาณาจักรสุโขทัยออนแอลง ในที่สุดจึงถูกผนวกรวมเปน
อาณาจักรเดียวกับอยุธยา เม่ืออยุธยาเสียกรุงแกพมาคร้ังท่ี 2 เมืองสุโขทัยก็ย่ิงเส่ือมลง
พลเมืองสุโขทัยสวนใหญอ พยพหนีสงคราม

เมอื่ ตงั้ กรุงธนบุรี สโุ ขทัยกถ็ กู ฟน ฟูข้นึ ใหมด วย โดยไปตงั้ เมอื งอยทู ่ีบานธานีรมิ
แมน า้ํ ยม ตอ มากถ็ กู ยกฐานะเปน อาํ เภอธานขี น้ึ อยกู บั จงั หวดั สวรรคโลก พ.ศ. 2475 เปลย่ี น
ชื่ออําเภอธานีเปนอําเภอสโุ ขทยั ธานี และพ.ศ. 2482 ยบุ จงั หวดั สวรรคโลกเปน อาํ เภอ และ
ยกฐานะอาํ เภอสโุ ขทัยธานขี ้ึนเปนจังหวดั สโุ ขทัยแทน

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 36 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม
การกอ ต้งั อาณาจักรสโุ ขทยั
การกอตั้งอาณาจักรสุโขทัยเทาท่ีปรากฏหลักฐานแวนแควน สุโขทัยไดกอต้ังข้ึนใน
ชว งกลางพุทธศตวรรษท่ี 18 โดยศูนยกลางอํานาจของสุโขทัยอยบู รเิ วณลุมแมน้ํานาน ตอ
มาจึงไดขยายตัวไปทางดานตะวันตกบริเวณลุมแมนํ้าปงและทิศตะวันออกบริเวณลุมแมนํ้า
ปา สกั
จากศิลาจารึกหลักที่ 2 ศิลาจารึกวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย ไดกลาวถึงการขยาย
อํานาจทางเศรษฐกิจและการเมืองของชุมชนเมืองในลุมแมน้ํายม และลุมแมนํ้านาน ในรัช
สมยั ของพอ ขนุ ศรีนาวนําถมขนุ ในเมืองเชลียง (ศรีสัชนาลัย) เปน เจาเมืองปกครองในฐาน
เมอื งขึ้น ขอมไดครอบครองเมอื งศรีสชั นาลัย และสโุ ขทัยเม่ือประมาณกลางพุทธศตวรรษที่
18 ซ่ึงสนั นษิ ฐานวา เปน การขยายเมอื ง โดยการรวบรวมเมืองเปน เมืองคู ดังปรากฏเรียกใน

2บทที่ ศลิ าจารกึ วา “นครสองอนั ” การรวมเมอื งเปน เมอื งคนู เ้ี ปน การรวมทรพั ยากรสาํ หรบั การขยาย
เมืองใหเปน แวนแควน ใหญโตขนึ้ พระองคม โี อรส 2 พระองค คือ พอขนุ ผาเมอื ง เจาเมือง
ราด และพระยาคําแหงพระราม เจา เมอื งสระหลวงสองแคว (เมอื งพษิ ณุโลก)
พอ ขนุ ผาเมอื งนาํ้ ปรากฏความในจารกึ วา กษตั รยิ ข อมในสมยั นนั้ ซงึ่ สนั นษิ ฐานวา
คอื พระเจาชยั วรมันท่ี 7 (พ.ศ. 1724 – 1761) ไดยกราชธิดา คอื “นางสขุ รมหาเทว”ี ให
เพ่ือสรางสัมพันธไมตรี พรอมทั้งพระราชทางเคร่ืองราชูปโภค คือ พระขรรคชัยศรีและ
พระนามเฉลิมพระเกียรตวิ า “ศรีอินทราทิตย หรอื ศรีอินทราบดนิ ทราทิตย” อาณาเขต
ของกรุงสุโขทัยในสมัยพอขุนศรีนาวนําถม คงไมกวางขวางเทาใดนัก สันนิษฐานวา
ครอบคลมุ ถงึ เมอื งฉอด (เมอื งสอด) ลาํ พนู พษิ ณโุ ลก และอาํ นาจในสมยั ขอมในการควบคมุ
เมอื งในอาณาเขตในสมัยของพอขนุ ศรนี าวนาํ ถมคงไมมนั่ คงนัก แตละเมอื งคงเปนอสิ ระใน
การปกครองตนเอง เมืองหลายเมืองคงเปนเมืองในระบบเครือญาติ หรือเมืองท่ีมี
สัมพันธไมตรีตอกัน ภายหลังเม่ือพอขุนศรีนาวนําถมสิ้นพระชนม คงเกิดความวุนวายใน
เมืองสโุ ขทัย ขอมสบาดโขลญลําพง ซ่งึ สันนิษฐานวาอาจเปนเจา เมอื งลําพง ซึง่ เปนเมอื งที่
ปรากฏชื่อในศิลาจารึก หรืออาจเปนขุนนางขอมท่ีกษัตริยขอมสงมากํากับดูแลอยูท่ีสุโขทัย
ไดนํากาํ ลังเขายดึ เมอื งสุโขทยั ศรีสชั นาลัย และเมอื งใกลเ คยี งไวได พอขนุ ผาเมอื ง เจา เมือง
ราดและพระสหาย คอื พอ ขนุ บางกลางทาว เจา เมืองบางยาง ไดรวมกําลังกนั ปราบปรามจน
ไดชยั ชนะ พอขุนบางกลางหาวจงึ ไดข ึ้นครองราชย ณ เมืองสโุ ขทยั มีพระนามวา “พอขุน
ศรอี นิ ทราทติ ย” เปน ปฐมกษตั รยิ ร าชวงศพ ระรว ง สว นพอ ขนุ ผาเมอื งไดก ลบั ไปครองเมอื ง
ราดดงั เดิม
หลกั ฐานในศลิ าจารกึ กลา ววา หลังสมัยพอ ขนุ รามคําแหงมหาราช เมืองตางๆ ใน
อาณาเขตของสโุ ขทยั ไดแ ยกตวั เปน อสิ ระ ไมย อมรบั ศนู ยอ าํ นาจทเี่ มอื งสโุ ขทยั เหมอื นดงั เชน
สมยั ทพี่ อขนุ รามคาํ แหงมหาราช ดาํ รงพระชนมชีพอยู ปรากฏขอ ความในศลิ าจารกึ หลกั ท่ี
3 ศลิ าจารกึ นครชมุ จงั หวดั กาํ แพงเพชรวา “บา นเมอื งขาด....หลายบนั้ หลายทอ นแชว หลาย
บ้นั หลายทอ น ดง้ั เมืองพ... นกเปน ขนุ หนง่ึ เมืองคนที พระบาง หาเปนขุนหนึ่ง เมอื งเชยี ง

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 37

ทองหาเปน ขนุ หนึ่ง...” ความแตกแยกของเมืองตา งๆ ในอาณาจักรสโุ ขทยั หลงั สมยั พอ ขุน 2บทท่ี
รามคาํ แหงมหาราชนน้ั อาจเนอื่ งมาจากศนู ยก ลางอาํ นาจปราศจากความเขม แขง็ บา นพเี่ มอื ง
นองในอาณาจักรสุโขทัยไดแตกแยกออกถืออํานาจปกครองตนเองโดยไมขึ้นแกกัน เมือง ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
ประเทศราชทม่ี ีกาํ ลงั กลา แขง็ พากนั แยกตัวเปน อสิ ระ เชน เมืองนครศรีธรรมราช และเมอื ง
หงสาวดี เปนตน

อาณาจกั รสโุ ขทยั มคี วามเจรญิ รงุ เรอื งสบื มาประมาณ 200 ปเ ศษ (พ.ศ. 1762 – 1981)
ภายหลังจึงตกอยูใตอํานาจของกรุงศรีอยุธยา และถูกรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกับ
กรุงศรีอยุธยาในสมยั พระบรมราชาธริ าชท่ี 2 (เจา สามพระยา)

กิจกรรม

กจิ กรรมที่ 11
11.1 จากการประวัตศิ าสตรส มัยสุโขทัย กรงุ สุโขทัยเสอ่ื มอาํ นาจลง เพราะ

สาเหตใุ ด อธบิ ายมาพอเขาใจ
11.2 หลกั ฐานสาํ คญั ใดทที่ าํ ใหเ ราทราบประวตั ศิ าสตรส มยั สโุ ขทยั อธบิ าย

มาพอเขา ใจ

อาณาจักรกรงุ ศรอี ยุธยา

อาณาจกั รอยธุ ยาถอื กาํ เนดิ ขน้ึ มาจากการรวมตวั ของแวน แควน สพุ รรณบรุ แี ละลพบรุ ี
พระเจา อูทองไดส ถาปนาอยุธยาขึน้ เม่อื วนั ศกุ รท่ี 4 มนี าคม พ.ศ. 1893 (ค.ศ. 1351) โดย
ตัง้ ขึ้นในเมืองเกา “อโยธยา” ท่ีมีมากอน ในบริเวณทเี่ รียกวา หนองโสน ซ่งึ มีแมนาํ้ 3 สาย
คือ แมน ํ้าเจา พระยา แมน ้าํ ลพบุรี และแมน้ําปาสกั มาบรรจบกัน แลว ตั้งนามพระนครนว้ี า
“กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลกบวรรัตนราชธานีบุรีรมย” คนทั่วไป
เรยี กตวั เมอื งอยธุ ยาวา “เกาะเมอื ง” มรี ปู ลกั ษณะคลา ยเรอื สาํ เภา โดยมหี วั เรอื อยทู างดา นทศิ
ตะวันออก ชาวตางประเทศในสมัยนั้น กลาวถึงกรุงศรีอยุธยาวาเปนเวนิสตะวันออก
เนอ่ื งจากกรงุ ศรอี ยธุ ยามกี ารขดุ คคู ลองเชอ่ื มโยงสมั พนั ธก นั กบั แมน า้ํ ใหญร องเมอื ง จงึ ทาํ ให
อยธุ ยามีสภาพเปน เกาะมแี มนาํ้ ลอมรอบ

การสถาปนากรุงศรอี ยุธยา

ชาวไทยเริ่มต้ังถ่ินฐานบริเวณตอนกลาง และตอนลางของลุมแมนํ้าเจาพระยามา
ต้งั แต 18 แลว มเี มืองสาํ คญั หลายเมือง อาทิ ละโว อโยธยา สพุ รรณบุรี นครชยั ศรี เปน ตน
ตอ มาราวปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 19 อาณาจกั รขอม และสุโขทัยเร่ิมเสือ่ มอํานาจลง พระเจา
อทู อง เจา เมอื งอทู อง ซง่ึ ขณะนน้ั เกดิ โรคหา ระบาดและขาดแคลนนา้ํ จงึ ทรงดาํ รจิ ะยา ยเมอื ง
และพจิ ารณาชยั ภมู เิ พอ่ื ตงั้ อาณาจกั รใหม พรอ มกนั นน้ั ตอ งเปน เมอื งทมี่ นี าํ้ ไหลเวยี นอยตู ลอด

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 38 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม

คร้ังแรกพระองคทรงประทับท่ีตําบลเวียงเหล็กเพ่ือดูชั้นเชิงเปนเวลากวา 3 ป และตัดสิน
พระทยั สรา งราชธานแี หง ใหมบ รเิ วณตาํ บลหนองโสน (บงึ พระราม) และสถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยา
ขึ้นเปนราชธานี เมื่อวนั ศุกรท่ี 4 มนี าคม พ.ศ. 1893 มีชอื่ ตามพงศาวดารวา กรงุ เทพทวาร
วดีศรอี ยธุ ยา มหินทรายธุ ยา มหาดลิ กภพนพรตั น ราชธานบี รุ ีรมย ดวยบรเิ วณน้นั มีแมน ํ้า
ลอมรอบถึง 3 สาย อนั ไดแก แมน ํ้าลพบรุ ีทางทิศเหนือ แมน ํา้ เจา พระยาทางทศิ ตะวันตก
และทิศใต แมน้ําปาสัก ทางทิศตะวันออก เดิมทีบริเวณนี้ไมไดมีสภาพเปนเกาะ ตอมา
พระองคท รงดาํ รใิ หข ดุ คเู ชอื่ มแมน าํ้ ทง้ั 3 สาย กรงุ ศรอี ยธุ ยาจงึ มนี าํ้ เปน ปราการธรรมชาตใิ ห
ปลอดภยั จากขา ศกึ นอกจากนที้ ต่ี ง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยายงั หา งจากปากแมน าํ้ ไมม าก เมอื่ เทยี บกบั
เมอื งใหญๆ อกี หลายเมืองในบริเวณเดียวกัน ทาํ ใหก รงุ ศรีอยธุ ยาเปนศูนยกลางการกระจาย
สินคาสูภูมภิ าคอืน่ ๆ ในอาณาจักร รวมท้ังอาณาจักรใกลเ คยี งอีกดว ย

2บทที่
ขยายตวั ของอาณาจกั ร
กรงุ ศรอี ยธุ ยาดาํ เนนิ นโยบายขยายอาณาจกั รดว ยการใชก าํ ลงั ปราบปราม ซงึ่ เหน็ ได
จากชยั ชนะในการยึดครองเมืองนครธม (พระนคร) ไดอยางเดด็ ขาดในสมยั สมเดจ็ พระบรม
ราชาธิราชท่ี 2และอกี วิธีหนงึ่ คือ การสรา งความสมั พันธแ บบเครอื ญาติ อนั เห็นไดจากการ
ผนวกกรุงสโุ ขทยั เขา เปนสว นหน่ึงของอาณาจกั ร
การสิ้นสุดลงของอาณาจกั รกรงุ ศรีอยธุ ยา
เสียกรงุ ศรอี ยธุ ยาครั้งท่ี 1
ในสมยั พระมหาจักรพรรดิ์ ป พ.ศ. 2112 อาณาจักรพมามีความเข็มแขง็ เพราะมี
พระเจา บเุ รงนองมแี สนยานภุ าพ ไดข ยายอาณาเขตมายงั ประเทศไทยเกดิ วรี ะสตรหี รอื พระศรี
สรุ โิ ยทยั แตง ตวั เปนชายสรู บกบั พมา จนถกู ฟนขาดสะพายแลง และไทยเสยี กรุงศรอี ยุธยาใน
สมัยพระมหินทราธิราช พระราชบุตร พระมาหจักรพรรดิ์และพมาไดพระองคดําหรือ พระ
นเรศวรเปนตัวประกันไปอยูหงสาวดี จนตอมาพระนเรศวรเดินทางกลับประเทศไทยทรง
ประกาศตัวเปน อิสระภาพไมขนึ้ กับพมา กรุงศรอี ยุธยาจงึ เปนอิสระนับแตน ้นั มา
เสียกรุงอยธุ ยาครงั้ ท่ี 2
ชว งสมยั รชั กาลของสมเดจ็ พระเจา อยหู วั บรมโกศ พระองคม โี อรสอยู 5 พระองค ซง่ึ
ทง้ั 5 องคก ห็ มายอยากไดใ นราชสมบตั ิ เมอ่ื พระเจา เอกทศั น (โอรสองคโ ต) และพระเจา อทุ มุ พร
(โอรสองคร อง) ไดม สี ทิ ธใิ นราชสมบตั เิ ทา กนั โดยพระเจา เอกทศั นเ ปน โอรสองคโ ตยอ มไดใ น
ราชสมบตั ิ สว นพระเจาอุทุมพรก็ทรงมีสตปิ ญญาเปน เลิศ สามารถควบคมุ กองกาํ ลังได นนั้
เปนการจุดชนวนใหท้ัง 2 พระองคตองสลับการข้ึนครองราชยกัน โดยในยามสงบพระเจา
เอกทศั นจ ะทรงครองราชยใ นยามสงคราม พระเจา อทุ มุ พรจะทรงครองราชย ในทางพมา เมอ่ื
กษัตริย พระเจาอลองพญา สวรรคตจากการถูกกระสุนปนใหญ พระโอรสจึงตั้งทัพเขายึด
เมอื งอยธุ ยาในป 2309 ในเวลาตอ มาเมือ่ พระเจาอุทมุ พรหมดความมน่ั ใจในการครองราชย

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 39

เพราะพระเชษฐา (เอกทศั น) กท็ วงคืนราชสมบตั ิตลอดเม่ือไลข า ศึกได จงึ ออกผนวช โดย 2บทท่ี
ไมส ึก ทําใหพ ระเจา เอกทัศนค รองราชยไ ดนาน 9 ป ทคี่ ายบางระจนั ชาวบานบางระจันได
ขอกาํ ลงั เสรมิ จากอยธุ ยา แตพ ระองคไ มใ ห และในเวลายงิ ปน ใหญก ใ็ หใ สก ระสนุ นอ ย เพราะ ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
จะทําใหมเหสีรําคาญเสียง ทําใหพระเจาตากสินผูนํากองทัพหมดศรัทธาและนําทัพตีคาย
ออกจากกรงุ ในทส่ี ดุ กรงุ ศรอี ยธุ ยาถกู เผาไมเ หลอื แมน วดั วาอาราม นบั เวลาของราชธานไี ด
417 ป เสยี กรงุ ใหแ กพ มา 2 ครง้ั คอื ครง้ั แรก ป พ.ศ. 2112 ในสมยั สมเดจ็ พระมหนิ ทราธริ าช
(โอรสของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) ตกเปนเมืองข้ึนของพมาเปนเวลา 15 ป และเม่ือป
พ.ศ. 2117 พระนเรศวรมหาราชทรงกูเ อกราชกลับคนื มา และเม่อื วันที่ 7 เมษายน พ.ศ.
2310 กรุงศรอี ยุธยากถ็ ึงกาลลมสลาย

กรงุ ศรอี ยธุ ยามกี ษตั รยิ ป กครองทงั้ หมด 33 พระองคจ าก 5 ราชวงศ ไดแ ก ราชวงศ
อทู อง ราชวงศส พุ รรณบุรี ราชวงศสุโขทัย ราชวงศป ราสาททอง ราชวงศบานพลูหลวง

กิจกรรม

กิจกรรมท่ี 12
12.1 ลกั ษณะเดน ของการสรา งกรุงศรีอยธุ ยาเปน เมอื งหลวง คืออะไร
12.2 สาเหตสุ าํ คญั ทท่ี าํ ใหไ ทยตอ งการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาใหพ มา 2 ครงั้ คอื

อะไร

อาณาจักรกรุงธนบุรี

สมเด็จพระเจาตากสินสามารถยึดธนบุรีและกรุงศรีอยุธยาคืนมาจากพมาไดทําให
พระองคม คี วามชอบธรรมในการสถาปนาพระองคเ ปน พระมหากษัตรยิ  แตเนอ่ื งจากเหน็ วา
กรุงศรีอยุธยาเสียหายเกินกวาท่ีจะบูรณะใหคืนไดดังเดิม จึงทรงสถาปนาธนบุรีข้ึนเปน
ราชธานใี นปเดียวกนั

การสถาปนาธนบรุ เี ปน ราชธานี

เม่อื สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช สามารถกูเอกราชของชาตไิ ทยไดแลว ปญหา
ของไทยในขณะนนั้ คือ การปองกันตนเองใหพนจากการโจมตีโดยพมา และหาอาหารใหพอ
เล้ียงผูคนท่ีมีชีวิตรอดจากสงคราม แตสภาพอยุธยาขณะนั้นไมอาจจะฟนฟูบูรณะไดอยาง
รวดเร็วดวยกําลังคนเพียงเล็กนอย อีกท้ังพมาไดรูลูทางและจุดออนของอยุธยาเปนอยาง
ดีแลว ดังน้ันพระองคจําเปนที่จะตองหาชัยภูมิท่ีเหมาะสมในการสถาปนาราชธานีแหงใหม
และไดร บั พระราชทานนามวา “กรงุ ธนบรุ ศี รมี หาสมทุ ร” ....กรงุ ธนบรุ ตี งั้ อยทู างฝง ตะวนั ตก
ของแมน าํ้ เจา พระยา ซง่ึ เปน พนื้ ทขี่ องเมอื งบางกอกเดมิ ในสมยั อยธุ ยาเมอื งบางกอก มฐี านะ

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 40 หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม
เปน “เมอื งทาเดิม” คอื เปนที่จอดเรอื สนิ คา และเปน เมืองหนาดานทที่ ําหนาทป่ี อ งกนั ขาศกึ
ท่จี ะยกทัพเขา มาทางปากนํ้าเจา พระยา รวมทงั้ มีหนาที่ตรวจตราเก็บภาษเี รือและสินคาท่ขี น้ึ
ลองตามลําน้ําเจาพระยาตอนลางบางกอกซึ่งมีปอมปราการและมีดานเก็บภาษีดานใหญท่ี
เรียกวา ขนอนบางกอก
เมืองบางกอกจงึ มีชุมชนคนตา งชาติ เชน จีน อนิ เดยี มสุ ลิม ที่เดินทางมาตดิ ตอ
คา ขายและเปนทางผานของนักเดนิ ทาง เชน นกั การทตู พอคา นักการทหาร และนักบวช
ทีเ่ ขามาเผยแผศาสนา รวมทัง้ นักเผชญิ โชคทต่ี องการเดนิ ทางไปยังอยธุ ยา ดงั นั้น โดยพื้น
ฐานท่ีตั้งของธนบุรีจึงอยูในบริเวณที่ราบลุมอันอุดมสมบูรณของปากน้ําเจาพระยา และเปน
เมืองทม่ี ีความเจริญทางเศรษฐกจิ มากอน
ตลอดจนเปนเมืองที่มีความปลอดภัยเพราะมีท้ังปอมปราการและแมนํ้าลําคลองท่ี

2บทท่ี ปอ งกันไมใ หขาศึกโจมตไี ดโ ดยงาย
เมอ่ื สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช ไดส ถาปนาธนบรุ เี ปน ราชธานพี ระองคท รงโปรด
เกลาฯ ใหสรางพระราชวังขึ้นเปนท่ีประทับ โดยสรางพระราชวังชิดกําแพงเมืองทางดานใต
มีอาณาเขตตั้งแตปอมวิไชยประสทิ ธแ์ิ ละวัดทายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) ขึ้นมาจนถงึ วัด
อรณุ ราชวรารามวดั ทงั้ สองจงึ เปน วดั ในเขตพระราชฐาน สาํ หรบั วดั แจง มฐี านะเปน พระอาราม
หลวง และเปน ทป่ี ระดษิ ฐานพระแกวมรกตทีไ่ ดอ ญั เชิญมาจากเวยี งจนั ทรเม่ือ พ.ศ. 2322
การปกครอง หลังจากไทยตองเสยี กรงุ ศรีอยุธยาเสยี ใหแกพมา เมือ่ พ.ศ. 2310
บา นเมอื งอยใู นสภาพไมเ รยี บรอ ย มกี ารปลน สะดมกนั บอ ย ผคู นจงึ หาผคู มุ ครองโดยรวมตวั
กนั เปน กลมุ เรยี กวา ชมุ นมุ ชมุ นมุ ใหญๆ ไดแ ก ชมุ นมุ เจา พระยาพษิ ณโุ ลก ชมุ นมุ เจา พระฝาง
ชมุ นมุ เจา พมิ ายชมุ นมุ เจา นครศรธี รรมราช
เปนตน สมเด็จพระเจาตากสินทรงใชเวลา
ภายใน 3 ป ยกกองทัพไปปราบชุมชน
ตา งๆ ทตี่ งั้ ตนเปน อสิ ระจนหมดสนิ้ สาํ หรบั
ระเบียบการปกครองนั้น พระองคทรง
ยดึ ถอื และปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บการปกครอง
แบบสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายตามที่
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวาง
ระเบียบไว แตรัดกุมและมีความเด็ดขาด
กวา คนไทยในสมัยนั้นจึงนิยมรับราชการ
ทหาร เพราะถาผูใดมีความดีความชอบ
ก็จะไดร บั การปูนบําเหน็จอยางรวดเรว็

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 41

เศรษฐกจิ ในขณะทส่ี มเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราชขน้ึ ครองราชยน นั้ บา นเมอื งกาํ ลงั 2บทที่
ประสบความตกตาํ่ ทางเศรษฐกจิ อยา งทส่ี ดุ เกดิ การขาดแคลนขา วปลาอาหาร และเกดิ ความ
อดอยากยากแคน จึงมีการปลน สะดมแยงอาหาร มหิ นําซํา้ ยงั เกดิ ภยั ธรรมชาติขนึ้ อกี ทําให ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
ภาวะเศรษฐกิจท่ีเลวรายอยูแลวกลับทรุดหนักลงไปอีกถึงกับมีผูคนลมตายเปนจํานวนมาก
สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงแกไขวิกฤตการณดวยวิธีการตางๆ เชน ทรงสละทรัพย
สว นพระองค ซอื้ ขา วสารมาแจกจา ยแกร าษฎรหรอื ขายในราคาถกู พรอ มกบั มกี ารสง เสรมิ ให
มกี ารทาํ นาปล ะ 2 ครง้ั เพอื่ เพมิ่ ผลผลติ ใหเ พยี งพอ การสน้ิ สดุ อาํ นาจทางการเมอื งของสมเดจ็
พระเจา ตากสนิ มหาราช ในตอนปลายรชั กาล เนอ่ื งจากพระองคท รงตรากตราํ ทาํ งานหนกั ใน
การสรา งความเปนปกแผน แกชาติบานเมือง พระราชพงศาวดารฉบับตา งๆ ได บันทกึ ไวว า
สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ ทรงมพี ระสตฟิ น เฟอ น ทาํ ใหบ า นเมอื งเกดิ ความระสาํ่ ระสายและไดเ กดิ
กบฏขึ้นที่กรุงเกา พวกกบฏไดทําการปลนจวนพระยาอินทรอภัยผูรักษากรุงเกาจนถึงหลบ
หนมี ายงั กรุงธนบุรี สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราชโปรดใหพระยาสวรรคไ ปสืบสวนเอาตวั ผู
กระทาํ ผดิ มาลงโทษ แตพ ระยาสรรคก ลบั ไปเขา ดว ยกบั พวกกบฏ และคมุ กาํ ลงั มาตกี รงุ ธนบรุ ี
ทาํ ใหส มเดจ็ เจา พระยามหากษตั รยิ ศ กึ ตอ งรบี ยกทพั กลบั จากเขมร เพอื่ เขา แกไ ขสถานการณ
ในกรุงธนบุรี และจับกมุ ผูกอการกบฏมาลงโทษรวมทงั้ ใหข า ราชการปรึกษาพจิ ารณา ความ
ที่มีผูฟองรองกลาวโทษสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชในฐานะท่ีทรงเปนตนเหตุแหงความ
ยงุ ยากในกรงุ ธนบรุ แี ละมคี วามเหน็ ใหส าํ เรจ็ โทษพระองคเ พอ่ื มใิ หเ กดิ ปญ หายงุ ยากอกี ตอ ไป
สมเด็จพระเจาตากสนิ มหาราชจงึ ถูกสาํ เรจ็ โทษและเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2325

กจิ กรรม

กจิ กรรมที่ 13
13.1 เหตกุ ารณใ นสมยั กรงุ ธนบรุ ใี ดทอ่ี ยใู นความทรงจาํ ของคนไทยในปจ จบุ นั
อธบิ ายมาพอเขาใจ
13.2 สาเหตุทส่ี มเด็จพระเจา ตากสนิ ตองเสียกรุงใหก ับพมา คืออะไร อธบิ าย
มาพอเขาใจ

จา พระยามหากษตั รยิ ศ กึ ตอ งยกทพั กลบั จากเขมรมาปราบปราม และปราบดาภเิ ษก
เปน ปฐมราชวงศจักรีเม่ือป พ.ศ. 2525 ทรงพระนามวาพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลก ไดทรงทาํ
พิธีตั้งเสาหลักเมืองตามประเพณี เสาหลักเมืองไดสรางเปนศาลเทพารักษเรียกกันสามัญวา
“ศาลเจาพอหลักเมือง” และรับส่ังใหยายเมืองหลวงมาอยูกรุงเทพฯ ซึ่งเปนสวนหน่ึงของ
กรงุ ธนบรุ ี อยฟู ากตะวันออก เรียกเมืองบางกอก ซ่งึ มคี นจีนอาศัยอยูมาก เมอ่ื ยา ยมาอยฝู ง
ตะวนั ออกแลว ไดทรงสรางเปนเมืองหลวงขึ้น เรยี กวา กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร
ตอ มาในรชั กาลที่ 4 จงึ ทรงเปล่ยี นเปน กรุงเทพพระมหานครอมรรตั นโกสินทร

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 42 หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสังคม

เหตุท่ยี า ยกรงุ เพราะทรงเลง็ เหน็ วา
1. กรงุ ธนบรุ คี ับแคบ อยูร ะหวา งวดั เปน การยากทีจ่ ะขยาย
2. อยูฝ งคดของแมนํ้าทําใหน ้ําเซาะตลง่ิ พงั อยเู ร่อื ย
3. การทีม่ าตง้ั ทก่ี รงุ เทพฯ น้นั ทตี่ ั้งเหมาะสมกวา อาศยั แมน า้ํ เปนกําแพงเมือง และ
ตัวเมอื งอาจขยายได
สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา ทรงเปน ผสู ามารถไดท รงแกป ญ หาตา งๆ คอื เมอ่ื เสวยราชย
ขึน้ ครองก็ตองรีบสรางเมอื ง สรา งพระนครอยู 3 ป จึงสาํ เร็จ พ.ศ. 2328 พอสมโภชพระนคร
แลว ในปนัน้ เองพมากย็ กกองทัพใหญม าประชิด

1. การตง้ั กรุงรัตนโกสินทรเ ปนราชธานี

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ ทรงรับการกราบบังคมทูลเชิญจาก

2บทที่ ประชาชนข้ึนเปน พระมหากษัตรยิ จ ากประชาชน โดยทรงทาํ พิธปี ราบดาภเิ ษก ข้ึนเปน ปฐม
บรมกษตั รยิ แ หง ราชวงศจ กั รี เมอ่ื วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2325 และทรงสถาปนาเมอื งหลวงใหม
มีนามวา “กรงุ เทพมหานครบวรรัตนโกสนิ ทร มหนิ ทรายุธยามหาดลิ ก ภพนพรัตนร าชธานี
บรุ ีรมยอ ดุ มราชนเิ วชมหาสถาน อมรพมิ านอวตาลสถติ สักกะทศั ตยิ วิศนกุ รรมประสทิ ธ”ิ์ ใช
เวลาในการสราง 7 ป พระองคทรงมพี ระราชปณิธานวา “ตั้งใจอุปถัมภก ยอยกพระศาสนา
จะปกปองขอบขณั ฑสมี า รักษาประชาชนและมนตรี”
สมัยรัชกาลท่ี 1 ไทยทาํ สงครามกับพมา ถงึ 7 ครัง้ ครง้ั ที่สาํ คญั ที่สุด คอื สงคราม
9 ทพั โดยพระเจาปดงุ กษัตรยิ พมา รวมพลจํานวนถึง 144,000 คน จดั เปน 9 ทัพเขา ตีไทย
โดยแบง เปนตกี รุงเทพ 5 ทัพ หวั เมืองฝา ยเหนือ 2 ทัพ และฝา ยใต 2 ทัพ ไทยมีกาํ ลังเพียง
คร่ึงหนึ่งของพมา แตดวยพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราชและกรมพระราชวงั บวรสถานมงคล จงึ ทาํ ใหฝายพมาพายแพก ลับไป
ดานการปกครอง มกี ารปกครองตามแบบกรงุ ศรอี ยุธยาและธนบรุ ี คือ ยึดแบบ
ที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวางไวแตวางระเบียบใหรัดกุมมากขึ้น โดยมีพระมหา
กษตั ริยเปนพระประมุขสงู สดุ ในระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย
ดานเศรษฐกจิ จงั กอบ คือ การชักสว นจากสินคา หรอื เก็บเงินเปนอตั ราตาม
ขนาดของยานพาหนะทข่ี นสนิ คา อากร คอื การเก็บชกั สว นจากผลประโยชนทีร่ าษฎรทาํ ได
เชน การทํานา ทาํ สวน สวย คือ สิง่ ที่
ราษฎรเสยี ใหแ กร ฐั แทนการใชแ รงงาน
ฤชา คอื คา ธรรมเนยี มทเ่ี รยี กเกบ็ จาก
บริการตางๆ ที่รัฐทาํ ใหร าษฎร
1. เงนิ คา ผกู ปข อ มอื จนี เปน
เงินคาธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากชาย
ชาวจีน เพ่ือทดแทนการถูกเกณฑ
แรงงาน ซง่ึ เรม่ิ ในสมยั รชั กาลท่ี 2
ภาพพระบรมมหาราชวงั

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 43

2. เงินคา ราชการ เปนเงินทีไ่ พรจา ยแทนการเขา เวรราชการ เริ่มในสมัยรัชกาลท่ี 3 2บทที่
อตั ราคนละ 18 บาทตอ ป
ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
3. การเดินสวนเดินนา เริ่มมีข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 2 โดยเรียกเก็บเปน ขาวเปลือก
เรยี กวา หางขา ว

4. ระบบเจา ภาษีนายอากร เอกชนเปน ผูประมลู เพ่ือเปน ผจู ดั เก็บภาษี
ดานสังคม สังคมในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนยังคงมีลักษณะคลายสังคมสมัย
อยธุ ยาตอนปลาย แตม ีความสบายมากกวา เพราะไมค อ ยมีสงคราม เปน สงั คมเกษตรกรรม
ครอบครัวมขี นาดใหญ ยึดระบบอาวโุ ส มีการแบง ฐานะของบุคคลออกเปนพระมหากษัตรยิ 
พระบรมวงศานวุ งศ ขนุ นาง ไพร (ประชาชนธรรมดา) ทาส สาํ หรับพระสงฆเ ปนช้ันพิเศษที่
ไดรับการเคารพนบั ถือจากประชาชน
รชั กาลท่ี 2 คอื พระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั ในสมัยนพ้ี ระองคม พี ระปรชี าสามารถใน
ดา นศิลป
รัชกาลที่ 3 พระนั่งเกลาเจาอยูหัว เปนยุคท่ีก่ีคาเจริญมิตรคากับประเทศจีน
ประเทศไทยมเี ศรษฐกจิ กจิ ทมี่ น่ั คงมกี ารสรา งวดั วาอารามจาํ นวนมากมคี าํ ประพนั ธท ส่ี าํ คญั ๆ
คือ รามเกยี รต์ิ มีความสามารถในการแกะสลกั ประตูไมท ่วี ัดสทุ ศั น

การปฏริ ปู ราชการในสมัยรชั กาลท่ี 4

1. เปด โอกาสใหร าษฎรรอ งทกุ ข ถวายฎกี าไดอ ยา งสะดวก ดว ยการตกี ลองวนิ จิ ฉยั เภรี
2. ปรับปรุงดานการกฎหมายและการศาล ตั้งโรงพิมพ อักษรพิมพการ เพ่ือพิมพ

ประกาศและแถลงขา ว
3. ขนุ นางขาราชการสวมเส้อื เวลาเขา เฝา
4. ทรงจางแหมมแอนนา มาเปนครูสอนภาษาอังกฤษใหแกพระราชโอรสและ

พระราชธดิ าในพระบรมมหาราชวัง
5. ทรงทาํ นบุ ํารุงพระศาสนาทรงใหเ สรภี าพในการนับถอื ศาสนา
เหตุการณเ กย่ี วกบั ตา งประเทศในสมัยรัชกาลท่ี 4 มเี พ่ือนบานของไทย เชน พมา
มลายู ตกเปน เมอื งขน้ึ ขององั กฤษ ในป พ.ศ. 2398 สมเดจ็ พระนางเจา วคิ ตอเรยี แหง องั กฤษ
ทรงสงทตู ชื่อ เซอร จอหน บาวรงิ มาขอทําสญั ญากบั ไทย ชอื่ สญั ญาบาวริง สัญญานมี้ ที ้งั
ขอดีและก็ขอเสีย หลังจากที่ไทยทําสัญญานี้ไปแลวก็มีหลายชาติมาทําสัญญานี้กันอีก
เซอรจ อหน บาวรงิ ไดบ รรดาศกั ดเิ์ ปน “พระยาสยามนกุ ลู สยามศิ รมหายศ” พระบาทสมเดจ็
พระจอมเกลาเจา อยหู วั ไดเ ปลี่ยนช่ือกรุงเทพ จากคําวา บวร เปน อมร ท่แี ปลวาเทวดา และ
มกี ารตดั ถนนเจริญกรุง ซึง่ เปนถนนสายแรกของไทย


Click to View FlipBook Version