The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by niran.moo, 2022-05-25 00:22:18

วิชาสังคม สค11001

2013-12-18_22-25-13_0.096375

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย 44 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม

การปฏริ ปู ในสมยั รชั กาลที่ 5

1. การเลกิ ทาส แบบคอ ยเปน คอ ยไป โดยโปรดใหเ ลกิ การซอ้ื ขายทาส ลดคา ตวั ทาส
ลกู ทาสในป พ.ศ. 2411 ทรงใชเวลา 31 ป แผนดนิ ไทยจึงหมดทาส

2. ดา นการศกึ ษา ไดม กี ารตงั้ โรงเรยี นมหาดเลก็ หลวงและโรงเรยี นวดั มหรรณพาราม

การปรบั ปรุงประเพณตี า งๆ

1. ยกเลกิ พธิ กี ารหมอบคลานเวลาเขา เฝา
2. ยกเลกิ ทรงผมมหาดไทย
3. จัดการไฟฟา
4. จดั การประปา

2บทที่
ท่ีสําคัญ คือ ทรงตองการ
ดูแลทุกขสุขของราษฎรอยางแทจริง
โดยเสดจ็ ประพาสตน จงึ ไดเ สดจ็ เยอื น
ราษฎรตามหัวเมืองตางๆ อยูเสมอ
โปรดใหเลิกทาสทําใหพระองคไดรับ
การถวายพระนามวา “สมเดจ็ พระปย
มหาราช” เพราะทรงเปนที่รักของ
ประชาชนทกุ คน ทรงครองราชยน าน
42 ป วนั ท่ี 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 เปน วันสวรรคต มีการนาํ พวงมาลาไปถวายสกั การบูชา
ณ พระบรมรปู ทรงมา ทกุ ปเรยี กวา วันปยมหาราช
การปฏริ ูปในสมัยรัชกาลท่ี 6
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว หรือพระมหาธีรราชเจา ทรงเปนพระ
ราชโอรสของรชั กาลที่ 5 พระราชกรณยี กจิ ของพระองคในการปฏิรปู งานดา นตาง ๆ คอื
1. การปกครอง ทรงสําเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษ จึงทรงนําการปกครอง
แบบประชาธิปไตยมาทดลองแกขาราชการดวยการต้ังเมืองประชาธิปไตย คือ “ดุสิตธานี”
(อยูในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎ) มีการเลือกต้ัง การแสดงความคิดเห็น แตยัง
ไมไ ดผ ลเพราะราษฎรไดร บั การศึกษายังไมเ พยี งพอ มีการออกหนงั สอื พมิ พ “ดสุ ิตสมิต” ให
ประชาชนแสดงความคดิ เห็น
2. ความสัมพนั ธก ับตางประเทศ สงครามโลกคร้ังที่ 1 เกิดขนึ้ ในป พ.ศ. 2475 –
2461 ในยุโรปพระองคตัดสินพระทัยเขากับฝายสัมพันธมิตร เยอรมนีเปนฝายรุกรานและ
แพ ทําใหไทยมฐี านะเทาเทยี มกับฝายสัมพนั ธมิตร ทาํ ใหส ามารถแกไ ขสนธิสญั ญาบาวริง ท่ี
ทําในสมยั รชั กาลท่ี 4

รายวิชาสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 45

รชั กาลท่ี 6 ทรงไดร บั ความรว มมอื ชว ยเหลอื จาก ดร.ฟรานซสิ บี แซร ไดช ว ยเจรจา 2บทที่
เก่ยี วกับสนธิสัญญาบาวริงกับประเทศตา งๆ ประเทศแรกที่ยอมแกไข คอื โปรตเุ กส จนครบ
ทกุ ประเทศ ตอ มา ดร. ฟรานซสิ บแี ซร ไดร บั พระราชทานบรรดาศกั ดเ์ิ ปน พระยากลั ยาณไมตรี ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย
เหตกุ ารณก อ นการเปลย่ี นแปลงการปกครอง เมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู วั เสดจ็
ข้นึ ครองราชย พระองคจ ัดใหมกี ารกระทําท่ีเก่ียวกบั ประชาธปิ ไตย ไดแก

1. ทรงตั้งสภาตางๆ ใหมีสว นในการปกครองแผน ดิน
2. โปรดเกลาฯใหรางรัฐธรรมนูญ แตไมไดรับความเห็นจากสภาที่ปรึกษาราชการ
แผน ดนิ
3. ทรงเตรยี มการและฝกทดลองใหประชาชน รูจกั ใชส ทิ ธใิ นการปกครองทองถนิ่
4. คณะราษฎรป ระกอบดว ย บรรดาผทู ไ่ี ปศกึ ษาจากตา งประเทศเปน นกั เรยี นไทยท่ี
จบจากเมืองนอกมาทํางานในประเทศไทย พวกนี้ไดรับพระราชทานทุนไปศึกษาที่ตาง
ประเทศ รวมผทู เ่ี ปน ขา ราชการทถ่ี กู ปลดจากงานและจากทหาร มหี วั หนา คอื พลเอกพระยา
พหลพลพยหุ เสนา ตอ มาไดเ ลอื่ นเปน พลตรี ไดพ าคณะราษฎรเ ขา เฝา รชั กาลท่ี 7 ซง่ึ ขณะนนั้
ประทับอยูท่ีหัวหิน เมื่อพระองคไดขาวการเปล่ียนแปลงการปกครองก็โปรดใหคณะราษฎร
เขาเฝา พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูหวั เม่อื วนั ที่ 24 มิถนุ ายน 2475 พระองคไดต รสั
วา เตรยี มจะพระราชทานรัฐธรรมนญู อยแู ลว ไมต องการใหเ สียเลอื ดเนื้อ มีรัฐธรรมนญู ฉบบั
ชว่ั คราวเม่ือวันที่ 27 มิถนุ ายน พ.ศ. 2475 และไดมกี ารรา งรัฐธรรมนญู ฉบบั ถาวรเมอ่ื วนั ที่
10 ธันวาคม 2475 และวนั นี้เปน วนั รัฐธรรมนูญ โดยมนี ายกรฐั มนตรคี นแรก คอื พระยา
มโนปกรณน ติ ธิ าดา (กอน หุตะสงิ ห) ตอ มาไดมนี ายกรฐั มนตรีคนที่ 2 คอื พลเอกพระยา
พหลพลพยหุ เสนาการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ไมคอยไดผลสมบรู ณ เพราะอาํ นาจ
ไปอยูในคนบางกลุมเทานั้น ทําใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดสละราชสมบัติ
เมอ่ื วนั ที่ 12 มนี าคม พ.ศ. 2477 และไดเ สดจ็ ไปทป่ี ระเทศองั กฤษ พระองคไ ดเ สดจ็ สวรรคต
ท่ีประเทศอังกฤษ อนุสาวรียของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวอยูท่ีหนารัฐสภาใกล
กับสวนดสุ ติ นบั เปนพระบดิ าแหง ประชาธปิ ไตยของไทย

ราชวงศจ กั รี

ชื่อของราชวงศจักรีมีท่ีมาจากบรรดาศักด์ิ “เจาพระยาจักรีศรีองครักษ” ตําแหนง
สมุหนายก ซ่ึงเปนตําแหนงทางราชการท่ีพระองคเคยทรงดํารงตําแหนงมากอนในสมัย
กรุงธนบุรี คาํ วา “จกั ร”ี น้ีพองเสียงกับคําวา “จกั ร” และ “ตรี” ซึ่งเปน เทพอาวุธของพระ
นารายณ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชจงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ให
สรา งพระแสงจักรและพระแสงตรไี ว 1 สํารบั และกําหนดใหใชเ ปน สญั ลักษณประจําราชวงศ
จกั รีสืบมาจนถึงปจ จบุ ัน

46 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม

พระปฐมบรมมหาชนกแหงราชวงศจ ักรี
พระมหากษัตริยไ ทย

ราชวงศจ ักรี : Chakri (พ.ศ. 2325 – ปจจุบนั ) * ราชวงศจ กั รี *

พระปรมาภไิ ธย ขึ้นครองราชย ส้ินสดุ การ หมายเหตุ
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาจักรี ครองราชย
บรมนาถฯ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลก
มหาราช 6 เมษายน 7 กนั ยายน
พ.ศ. 2325 พ.ศ. 2352

2บทที่ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอิศร 7 กันยายน 21 กรกฎาคม
สนุ ทรฯ พระพุทธเลิศหลา นภาลัย พ.ศ. 2352 พ.ศ. 2367

ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา 21 กรกฎาคม 2 เมษายน
เจษฎาบดินทรฯ พระน่งั เกลาเจาอยหู ัว พ.ศ. 2367 พ.ศ. 2394

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหา 2 เมษายน 1 ตลุ าคม
มงกฎุ ฯ พระจอมเกลา เจา อยหู ัว พ.ศ. 2394 พ.ศ. 2411

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาจฬุ า 1 ตลุ าคม 23 ตลุ าคม
ลงกรณฯ พระจุลจอมเกลา เจาอยูหวั พ.ศ. 2411 พ.ศ. 2453
มหาราช 26
พฤศจิกายน
พระบาทสมเดจ็ พระรามาธิบดศี รี 23 ตุลาคม พ.ศ. 2468
สินทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกฎุ เกลา พ.ศ. 2453
เจาอยูห ัว

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหา 26 พฤศจิกายน 2 มีนาคม
ประชาธปิ กฯ พระปกเกลาเจา อยูห ัว พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2477

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหา 2 มีนาคม 9 มถิ นุ ายน
อานนั ทมหดิ ลฯ พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร พ.ศ.2477 พ.ศ. 2489

พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา 9 มิถนุ ายน ปจจุบัน
ภูมพิ ลอดุลยเดชฯ มหาราช พ.ศ. 2489

รายวิชาสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 47

กิจกรรม 2บทท่ี

กิจกรรมท่ี 14
14.1 สมัยรัชกาลใดของราชวงศจักรีที่มีความเจริญสูงสุดดานศาสนา
ศลิ ปวัฒนธรรม
14.2 สมัยรัชกาลท่ี 5 การปฏิรูปการปกครองท่ีมีความสําคัญตอคนไทย
คือ เรอื่ งใด
14.3 ประวตั ศิ าสตรไ ทย ทท่ี าํ ใหไ ทยตอ งเสยี เอกราชไปถงึ สามครง้ั มสี าเหตุ
มาจากเรือ่ งใด



ประ ัว ิตศาสต รชาติไทย

48 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม

3บทที่ เศรษฐศาสตร

สาระสาํ คัญ

การศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากร ลักษณะอาชีพ ปญหาและสาเหตุ
การวางงานในทองถิ่นและผลกระทบที่เกิดขึ้นในสังคม ตลอดจนระบบและสถาบันทาง
เศรษฐกิจตางๆ ความสัมพันธของระบบเศรษฐกิจและความจําเปนของการรวมมือกันทาง
เศรษฐกิจในสังคมโลก จะทําใหผูเรียนสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและ
การบรโิ ภค การใชทรพั ยากรท่มี ีอยอู ยา งจํากัดไดอยางมีประสิทธภิ าพและคมุ คา

ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั

1. อธบิ ายความหมายความสาํ คญั เศรษฐศาสตรใ นครอบครัวและชุมชนได
2. อธิบายความสัมพันธระหวางความตองการทรัพยากรทองถ่ินกับปริมาณและ

ขอ จํากัดของทรพั ยากรในดา นตางๆ ได
3. ใชทรัพยากรบนพ้ืนฐานของความพอเพียงดานเศรษฐกิจอยางมคี ณุ ธรรม
4. นาํ ระบบและวธิ กี ารของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ชก บั ชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยา ง

เหมาะสม
5. ใชทรพั ยากรบนพื้นฐานของความพอเพยี งดานเศรษฐกจิ อยางมคี ุณธรรม
6. อธิบายระบบการพึ่งพาการแขงขันและประสานประโยชนในทางเศรษฐกิจได

ถกู ตอง

ขอบขา ยเนื้อหา

เร่ืองท่ี 1 เศรษฐศาสตรในครอบครวั และชุมชน
เรอื่ งที่ 2 กิจกรรมทางเศรษฐกจิ
เรอื่ งที่ 3 คณุ ธรรมของผูผลติ ผูบ รโิ ภค
เร่ืองท่ี 4 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมในทองถน่ิ และชุมชน

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 49

เร่อื งท่ี 1 เศรษฐศาสตรในครอบครวั และชมุ ชน 3บทที่

คนทว่ั ไปมักจะเขาใจกันวา เศรษฐศาสตร หมายถึง การใชป ระโยชนจากสินคาและ เศรษฐศาสต ร
บริการในการบําบัดความตองการ หรือตอบสนองความพอใจของมนุษยเทานั้น เปนเรื่อง
ของความตองการที่จะบริโภค แตโดยท่ีแทจริงแลวการบําบัดความตองการ เพ่ือใหไดรับ
ความพงึ พอใจตอ งใหม ผี ลตามมาโดยเกดิ คณุ ภาพชวี ติ ดงั นน้ั การบรโิ ภคตอ งมคี วามหมาย
เพือ่ ใหไดคุณภาพชีวิตดว ย

การเรียนรูเศรษฐศาสตรเก่ียวของกับการศึกษาพฤติกรรมมนุษยในสังคมทางดาน
กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ การดาํ รงชวี ติ และการศกึ ษาวธิ กี ารนาํ เอาทรพั ยากรทม่ี อี ยอู ยา งจาํ กดั
เพอ่ื บาํ บดั หรอื ตอบสนองความตอ งการใหเ กดิ ประโยชนแ ละใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ทง้ั ใน
ปจ จบุ นั และอนาคต โดยนาํ ความคดิ สรา งสรรคม าใชใ นการผลติ หรอื บรกิ าร เพอ่ื เพม่ิ มลู คา ทาง
เศรษฐกจิ ใหก บั สนิ คา และบรกิ ารตา งๆ
ความหมายและความสําคัญของเศรษฐศาสตร

เศรษฐศาสตร หมายถงึ การศึกษาเกี่ยวกับการท่ีมนุษยเ ลอื กใชวิธีการตา งๆ ใน
การนาํ เอาทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี อี ยมู าใชใ นการผลติ สนิ คา และบรกิ ารใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมาก
ท่ีสุด เพื่อสนองความตองการและหาวิธีการกระจายสินคาและการบริการไปสูประชาชนได
อยางรวดเรว็

ความสําคัญของเศรษฐศาสตร
เศรษฐศาสตรม คี วามสาํ คญั ตอมนษุ ยท ุกสถานภาพ เชน ผูผ ลิต ผบู รโิ ภค เจา ของ
การผลติ หรอื รัฐบาล
ผูบริโภคที่มีความรูทางเศรษฐศาสตรจะชวยใหรูขอมูลและเขาใจสภาวะเศรษฐกิจ
ของประเทศและของโลก สามารถปรับตวั และวางแผนทางเศรษฐกิจของครอบครัวไดอ ยา ง
เหมาะสมและเกดิ ประโยชน เชน การหารายไดท สี่ มั พนั ธก บั รายจา ย การออมทรพั ย และการ
บริโภค เปน ตน
ผูผลิต การมีขอมูลสําหรับการวิเคราะห การวางแผน การผลิต การบริการสินคา
รวมท้ังการจัดสรรสินคาไปสูกลุมเปาหมายอยางเปนระบบ มีคุณภาพและไดมาตรฐาน ซ่ึง
เปน ผลดที ง้ั ผผู ลติ และผบู รโิ ภค และสามารถพฒั นาสนิ คา ใหเ ปน ทต่ี อ งการของผบู รโิ ภคมากขน้ึ

กิจกรรม

กจิ กรรมท่ี 15
ใหผูเรียนยกตัวอยางผูผลิตและผบู ริโภคมาอยา งละ 3 ตัวอยา ง

เศรษฐศาสตร 50 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม

เรื่องท่ี 2 กิจกรรมทางเศรษฐกจิ

การผลติ
การผลติ หมายถงึ การทาํ ใหเ กดิ มขี น้ึ ตามความตอ งการ โดยแรงคนหรอื เครอ่ื งจกั ร
รวมถึงวธิ ีการอ่นื ๆ ท่ีทาํ ใหเ กิดขึ้น
ปจจัยในการผลิตสินคาและบรกิ าร
สงิ่ ทมี่ ีความสาํ คัญในการผลิตสนิ คาและบริการ 4 ประการ ไดแ ก
1. ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถงึ สงิ่ ทมี่ คี า ทเี่ กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ เชน นาํ้ มนั
แรธ าตุ ทองคาํ น้ํา ปา ไมแ ละสมนุ ไพร เปน ตน
2. ทุน หมายถึง เงนิ หรอื ทรพั ยส ิน เชน โรงงาน เคร่ืองจกั รและอปุ กรณในการผลติ

3บทท่ี ทใี่ ชใ นการดําเนนิ กิจกรรมเพ่ือหาผลประโยชน
3. แรงงาน หมายถึง ความสามารถและกิจกรรมที่คนในวัยทํางานกระทําในการ
ทํางาน เพ่ือใหเ กดิ ประโยชนใ นทางเศรษฐกจิ
4. การประกอบการ หมายถึง ความสามารถของผูประกอบการในการนํา
ทรัพยากรธรรมชาติ ทุนและแรงงานมารวมกันเพื่อผลิตสินคาและบริการ โดยไดรับคา
ตอบแทนเปนกาํ ไร
ปจ จัยในการเพิ่มการผลติ สนิ คาและบริการ
สิ่งทที่ ําใหผ ปู ระกอบการเพิ่มการผลิตสนิ คา และบรกิ ารใหมีปรมิ าณมากย่งิ ขน้ึ ขึ้น
อยูกับปจจัย ตางๆ ดังนี้
1. ความตอ งการขนั้ พน้ื ฐานของมนุษย หมายถงึ ปจ จยั 4 คือ อาหาร เครือ่ งนงุ หม
ยารกั ษาโรคและที่อยูอ าศยั ส่งิ เหลานเ้ี ปนส่งิ ที่มนษุ ยตองการในการดํารงชีวติ
2. การโฆษณาชวนเชอ่ื ผปู ระกอบการมกั ใชส อื่ เชน โทรทศั น วทิ ยแุ ละหนงั สอื พมิ พ
เปน ตน เพ่อื ทจ่ี ะแนะนาํ ใหประชาชนไดรจู กั สินคา และบรกิ ารในวงกวางมากขน้ึ เพือ่ กระตุน
ใหเกิดการบริโภคสินคาและบริการ
เพม่ิ ข้นึ
3. ประเพณี เปนสวนที่มี
ความสําคัญในการเพิม่ ผลผลติ เพ่ือ
ตอบสนองความตองการของบุคคล
เชน ประเพณีเขาพรรษา ผูประกอบ
การจะเพมิ่ ผลผลติ เทยี นจาํ นาํ พรรษา
และประเพณีสงกรานต ผูประกอบ
การจะเพ่ิมการผลิตนํ้าอบและแปง
เปน ตน

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 51

4. สภาพสงั คม เน่ืองจากสภาพสังคมทผี่ คู นตองการความสะดวกสบายมากยงิ่ ข้นึ 3บทท่ี
ผูประกอบการจึงมกี ารเพม่ิ การผลติ สนิ คาเพอื่ ตอบสนองความตอ งการ เชน รถยนต เครือ่ ง
ปรบั อากาศ เคร่ืองซกั ผา เตารดี และตูเ ย็น เปนตน เศรษฐศาสต ร
แรงจูงใจในการผลติ สินคา

1. การเพมิ่ ขน้ึ ของประชากร เมอ่ื ประชากรเพม่ิ ขน้ึ ความตอ งการบรโิ ภคสนิ คา และ
บริการยอ มเพม่ิ ขึ้น ดังน้ัน ผูป ระกอบการยอ มตอ งผลิตสนิ คามากขึน้ เพ่ือตอบสนองความ
ตองการ

2. การจัดสรรทรัพยากร เปนการนําทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดมาทําใหเกิด
ประโยชนส งู สุดในการผลติ สนิ คาและบรกิ าร

3. การกระจายทรัพยากร เปนการนําทรัพยากรจากแหลงท่ีมีอยูมากไปสูแหลงท่ีมี
อยูนอ ย โดยผูประกอบการตอ งคาํ นึงถงึ ประโยชนส ูงสุดและเหมาะสมมากทีส่ ดุ

การใชทรพั ยากรในจังหวดั และภมู ิภาคของตน
การทผ่ี ปู ระกอบการนาํ ทรพั ยากรในพนื้ ทมี่ าใชใ นการผลติ สนิ คา เนอื่ งมาจากสาเหตุ

หลายประการดงั น้ี
1. การนําทรัพยากรในพ้ืนที่มาผลิตสินคา ทําใหลดตนทุนในการขนสง อีกทั้ง

ประหยัดเวลาอกี ดวย
2. ทําใหสินคา มีราคาถกู ลง เนอ่ื งจากตน ทุนมีราคาต่ํา
3. เกดิ อาชพี ขนึ้ ภายในทองถนิ่

การบรโิ ภคและการบริการ
การบรโิ ภค หมายถงึ การใชส นิ คา และบรกิ ารของประชาชน การบรโิ ภคสามารถแบง

ออกเปน 2 ลักษณะ ไดแ ก
1. การบรโิ ภคสินคาทไ่ี มค งทน คือ สนิ คาท่ีใชแลว หมดไป เชน อาหาร ยารักษาโรค

เคร่อื งด่มื ปากกา ยางลบ สมุดและดินสอ เปน ตน
2. การบรโิ ภคสินคา ทคี่ งทน คือ สนิ คาทใี่ ชแลว ยังคงอยู เชน โตะ เกาอ้ี รถยนต

เส้อื กางเกง กระเปา และรองเทา เปนตน
หลกั เกณฑใ นการเลือกซอื้ สินคา

1. ความจาํ เปน พิจารณาวาสนิ คาชนิดนั้นมคี วามจําเปนตอการดาํ รงชวี ิตหรอื ไม
2. คุณภาพ เปน ส่งิ ทม่ี ีความสาํ คัญอยางยิง่ ในการเลอื กซอื้ สินคา โดยเลอื กสินคาท่ี
มคี ุณภาพดี เหมาะสมกับราคาและปริมาณ
3. ราคา เปน สว นหนึง่ ในการเลอื กซื้อ โดยเฉพาะสินคาชนิดเดียวกนั คุณภาพเทา
กนั และปริมาณเทา กนั ดังนั้น ราคาจึงเปนหลกั เกณฑใ นการพจิ ารณาสนิ คา อยางหน่ึง

เศรษฐศาสตร 52 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม

การบริการ หมายถึง การปฏิบัติเพ่ือใหความสะดวกสบายในดานตางๆ เชน การขึ้น
รถโดยสาร การตัดผมและการเลนเคร่ืองเลนในสวนสนุก เปนตน
การแลกเปล่ยี นและการกระจายรายได

ตลาด หมายถึง สถานที่ที่เปนแหลงชุมนุมของผูคาเพื่อจําหนายสินคาประเภท
ตา งๆ ลักษณะของตลาดแบงเปน 2 ประเภท ไดแก

1. ตลาดแขงขันสมบรู ณ หรือตลาดเสรี หมายถึง ตลาดที่มีการแขง ขันสงู มผี ซู ้ือ
และผูขายจํานวนมาก ราคาของสินคาเปนไปตามกลไกตลาดและผูผลิตมีอิสระในการ
เขา – ออกในตลาดอยา งเสรี

2. ตลาดแขงขนั ไมสมบูรณ แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้

3บทที่ 2.1. ตลาดผกู ขาด คอื ตลาดทมี่ หี นว ยธรุ กจิ เดยี วในการจดั หาสนิ คา และบรกิ าร
ในตลาด ไมม ีคูแ ขงทางการตลาดเลย
2.2 ตลาดผขู ายนอ ยราย คอื ตลาดทม่ี หี นว ยธรุ กจิ เพยี ง 3–4 รายในการจาํ หนา ย
สนิ คา ชนดิ เดยี วกนั ในตลาด ทาํ ใหส ามารถจาํ หนา ยสนิ คา ไดใ นจาํ นวนมาก เชน ผผู ลติ รถยนต
นาํ้ อดั ลม ปูนซเี มนตแ ละเหลก็ เปนตน
2.3 ตลาดกง่ึ แขง ขนั กงึ่ ผกู ขาด คือ ตลาดทม่ี ผี ูข ายจํานวนมากแตม สี ัดสว นใน
ตลาดนอ ย เชน รานตดั ผม รานอาหารและรา นบริการซอม เปนตน
ปจ จัยทก่ี าํ หนดโครงสรา งทางการตลาด
1. จํานวนผูผลิตในตลาด
2. สภาพภูมศิ าสตร
3. ความสามารถของสินคา ในตลาดทีส่ ามารถใชท ดแทนกนั มีมากนอยเพยี งใด

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 53

การแขง ขนั 3บทที่
การแขงขนั หมายถงึ การตอ สูร ะหวา งผูผ ลิตที่ผลติ สินคาในลกั ษณะเดียวกัน เพ่อื
เศรษฐศาสต ร
จาํ หนายใหแ กผ บู รโิ ภคในปรมิ าณทมี่ ากขน้ึ โดยอาศัยปจ จยั ตา งๆ ไดแ ก
1. เทคโนโลยี หมายถึง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท่ีนาํ มาใชในการผลิตสินคา

เพอ่ื ใหไดส ินคาท่ีมคี ุณภาพดขี น้ึ แตราคาถูกลง โดยเทคโนโลยแี บง ออกเปน 2 ลักษณะ
คือ

1) เทคโนโลยีทางการเกษตร เปนการนําวิทยาศาสตรมาพัฒนางานดาน
การเกษตรต้ังแตวิธีการผลิต เชน การไถนา การเกี่ยวขาวและวิธีการรดน้ํา เปนตน
การขยายพนั ธุ คุณภาพและปริมาณผลผลิต รวมถงึ การใชยาปราบศตั รพู ชื

2) เทคโนโลยดี า นอตุ สาหกรรม เปน การนาํ เครอ่ื งจกั รมาใชแ ทนแรงงานคน เพอื่
ใหไดสินคาที่รวดเร็ว มีปริมาณมากและมีมาตรฐานเทาเทียมกัน ซึ่งทําใหสินคามี
ราคาถกู ลงและคณุ ภาพดีข้นึ

2. การเลอื กใชท รพั ยากรทอ งถน่ิ เปน การลดตน ทนุ การผลติ อกี ทงั้ ยงั เปน การเพม่ิ
รายไดใ หก ับทองถน่ิ ของตนเอง เชน ภาคใตมีแรด ีบุกจํานวนมาก ทําใหเ กิดโรงงานถลุงแร
และการทําโรงงานนํ้าปลาใกลกับชายฝง ทะเลท่มี ีการจบั ปลากนั มาก เปน ตน
ประโยชนของการแขงขนั

1. ทาํ ใหเ กิดสินคาชนดิ ใหมในตลาด เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของผูบ ริโภค
2. ทาํ ใหส นิ คามีราคาถกู ลง แตคุณภาพดีขนึ้
3. มีสนิ คา ใหเลอื กมากขึน้

กิจกรรม

กิจกรรมที่ 16
ใหผูเรียนยกตัวอยางผลกระทบที่เกิดจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สงผลตอ

การประกอบอาชพี ของคนในชุมชนท่ตี นอยู

กจิ กรรมที่ 17
ผูเรียนมีหลักในการเลือกซื้อของใชอยางไรบาง จัดลําดับใหเห็นความสําคัญ

มาประกอบดว ย

เศรษฐศาสตร 54 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม

เรอื่ งท่ี 3 คณุ ธรรมของผผู ลิตและผบู ริโภค

ความหมายของผูผลติ
ผูผลติ หมายถึง ผผู ลติ สินคา และบริการ โดยการนาํ ปจจยั การผลติ มาแปรรูปเปน
สนิ คา เชน นาํ องุนมาทาํ เปน ไวน นําขา วสาลมี าทาํ เปนขนมปง นําถ่ัวเหลืองมาสกดั เปน
นาํ้ มนั หรอื สรา งบรกิ ารในรปู แบบตา ง ๆ เชน บรกิ ารขนสง บรกิ ารความบนั เทงิ ตา ง ๆ เปน ตน
ความหมายของผบู ริโภค
ผูบรโิ ภค หมายถึง ผูใ ชป ระโยชนจากสนิ คา และบรกิ าร ซึ่งอาจจะเปนการบริโภค
โดยตรง เชน การดื่ม การรบั ประทาน การใชสินคา หรือการบริโภคทางออม เชน การใช

3บทที่ น้ํามันในการขับรถยนต การใชไ ฟฟาในเคร่ืองใชไฟฟาตางๆ เปนตน
ความสมั พันธของผผู ลติ และผูบริโภคสินคาและบริการ
ในระบบเศรษฐกิจ บุคคลคนหน่งึ อาจทาํ หนา ท่เี ปน เพียงผบู รโิ ภค เปนเพียงผูผลิต
เปนเพียงเจาของปจจัยการผลิตหรือเปนทั้งผูบริโภคและผูผลิต เปนท้ังผูบริโภคและเปน
เจา ของปจ จยั การผลติ หรอื เปน ทงั้ สามประการกไ็ ด ผบู รโิ ภคทาํ หนา ทว่ี นิ จิ ฉยั และตดั สนิ ใจวา
จะบรโิ ภคสนิ คา และบรกิ ารอะไรทต่ี อ งการเพอื่ แสวงหาความพงึ พอใจใหม ากทส่ี ดุ เมอ่ื ตดั สนิ
ใจเลือกประเภทของสินคาและบริการท่ีจะบริโภคหรือใชแลว ผูบริโภคก็ตองมาคิดวาจะมี
ปจ จยั ทางดา นการเงนิ ทจี่ ะนาํ มาซอ้ื สนิ คา และบรกิ ารเหลา นนั้ หรอื ไม หนทางหนง่ึ ทผ่ี บู รโิ ภค
จะไดเ งนิ มาใชจายก็คอื จากกําไรที่ไดในฐานะทท่ี ําหนาทผ่ี ูผลติ สนิ คา หรือจากผลตอบแทน
ของการเปน เจา ของปจ จยั การผลติ แลว ขาย หรอื ใหเ ชา ปจ จยั การผลติ ทต่ี นมหี รอื ครอบครอง
อยู ดังนั้น ผบู รโิ ภคทกุ คนจึงตองทาํ หนาทีเ่ ปน ผูผลติ หรือเปนเจาของปจ จยั การผลติ หรอื
เปนท้ังสองอยา งไปในตัว
ในฐานะที่เปนผผู ลิต บุคคลตองมีหนา ที่ในการนําเอาปจ จัยการผลติ ตางๆ ทอ่ี าจ
ไดจากการครอบครองของตนหรือไดจากการหาซื้อหรือเชาซ้ือจากบุคคลอ่ืนมาผลิตเปน
สินคาสําเร็จรูปหรือบริการแลวขายหรือมอบใหแกผูบริโภค ดังนั้นหนาที่สําคัญของผูผลิตก็
คอื การผลติ สนิ คา และบรกิ ารตามความตอ งการของผบู รโิ ภคดว ยตน ทนุ การผลติ ทต่ี า่ํ ทสี่ ดุ
เพื่อใหสามารถขายสินคาและบริการเหลานั้นในราคาที่ตํ่ากวาคูแขงขันรายอ่ืนๆ การผลิต
สนิ คา และบริการน้บี างครั้งผูผลติ ตอ งเส่ียงตอ การขาดทุน ถาตน ทนุ การผลิตสูงกวารายรับ
ท่ไี ดจ ากการขายสินคา และบริการนั้น ดงั นน้ั ผผู ลิตจงึ ตองมกี ารวางรูปแบบของการดําเนิน
การทด่ี ี เพอื่ หลกี เลย่ี งการขาดทนุ และเพอ่ื ใหไ ดก าํ ไรคมุ กบั ความเหนอ่ื ยยากและความลาํ บาก
ตลอดจนการลงทนุ ของตน
ในฐานะที่เปนเจาของปจจัยการผลิต บุคคลจําตองนําเอาปจจัยการผลิต ซึ่งไดแก
ท่ีดินแรงงาน ทุนและการประกอบการไปเสนอขายหรือใหบริการแกผูผลิต เพื่อนําไปผลิต
สินคาและบริการตางๆ เมื่อผูผลิตตกลงรับซ้ือนําเอาปจจัยเหลานั้นไปผลิตก็จะใหผล

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 55

ตอบแทนแกเจาของปจจัยการผลิตในรูปของคาเชา คาจาง ดอกเบ้ียและกําไร ซ่ึงเจาของ 3บทที่
ปจ จยั การผลติ กจ็ ะนาํ เอาผลตอบแทนซง่ึ อยใู นลกั ษณะตา งๆ กนั ไปใชจ า ยหาซอ้ื สนิ คา ตา งๆ
เพื่อการอุปโภคและบริโภค บางคร้ังเจาของปจจัยการผลิตอาจทําหนาที่เปนผูผลิตเองโดย เศรษฐศาสต ร
การนําเอาปจ จัยการผลติ ทีต่ นมอี ยูไปใชผ ลติ สินคา และบรกิ ารตา งๆ

คุณธรรมของผูผลิต

ผผู ลติ สนิ คา และบรกิ ารควรมคี ณุ ธรรมพน้ื ฐานในการดาํ เนนิ การเพอื่ สรา งความเชอ่ื
มน่ั ใหกับผูบริโภคและเพอื่ ผลประโยชนข องผผู ลติ ในระยะยาว ดังนี้

1. ผูผลิตตอ งไมทาํ ในสิ่งที่ไมถูกตอง การทาํ ใหผ ูบ รโิ ภคไดร บั อันตรายจากการใช
สนิ คาหรือบรหิ ารของตนเองเปน สง่ิ ทีน่ าละอายและขาดความรับผิดชอบ ผผู ลติ ควรละเวน
และตอ งไมกระทาํ

2. ผผู ลติ ตอ งพฒั นาคณุ ภาพสนิ คา อยเู สมอ ผผู ลติ ตอ งถอื วา เปน ความจาํ เปน ทจ่ี ะ
ตอ งพฒั นาสนิ คา ใหไ ดม าตรฐาน โดยการนาํ สนิ คา ของตนไปตรวจสอบคณุ ภาพกอ นทจี่ ะนาํ
ไปจําหนายแกผูบริโภค เชน นําสินคาไปตรวจสอบที่สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ
อตุ สาหกรรม (มอก.) เพอ่ื เปนหลกั ประกนั แกผบู รโิ ภค

3. ผผู ลติ ตอ งรกั ษาความซอื่ สตั ยต อ ผบู รโิ ภค การผลติ สนิ คา ทไ่ี ดม าตรฐานเดยี วกนั
หมดเปนส่ิงท่ีสําคัญ เปนการสรางความเชื่อม่ันและศรัทธาในสินคาและถือวาแสดงความ
ซือ่ สตั ยต อ ผูบ รโิ ภค

4. การรักษาสภาพแวดลอ ม ผูผ ลติ ตอ งถอื เปนหนา ที่และความรับผดิ ชอบตอ การ
รกั ษาสภาพแวดลอ มมิใหถ ูกทําลาย รวมท้งั ตอ งอนรุ กั ษส ่งิ แวดลอ มใหคงอยูตอไป เชน
จดั สภาพแวดลอ มโรงงานใหน า อยู สะอาดและถกู สขุ อนามยั จดั ระบบการบาํ บดั นาํ้ เสยี อยา งดี
เชน มกี ารปลกู ตนไมแ ละจัดกิจกรรมสง เสรมิ การอนุรกั ษส ภาพแวดลอ มใหด ีข้ึน

คณุ ธรรมของผูบ ริโภค

คณุ ธรรมของผบู รโิ ภคเปน หลกั การในการเลอื กบรโิ ภคสนิ คา และบรกิ ารตา งๆ ผบู รโิ ภค
ควรปฏิบตั ิโดยคาํ นึงถึงหลกั การ ดงั น้ี

1. ความจําเปน หมายถงึ การบริโภคอุปโภคในสง่ิ จาํ เปน เชน ดา นปจจัยสี่ ซ่ึง
ประกอบดวยเสือ้ ผา ยารักษาโรค อาหาร ทีอ่ ยูอาศยั ในปริมาณทพี่ อเพียงตอ การดาํ รงชีวติ
ประจาํ วัน ไมค วรบริโภคอุปโภคสนิ คาและบริการในปรมิ าณทม่ี ากเกนิ ไป เพราะกอใหเ กดิ
ความสิ้นเปลืองของสังคมและเปน ผลเสียตอสุขภาพ

2. ความมปี ระโยชนแ ละความปลอดภยั หมายถงึ การบรโิ ภคอปุ โภคในสง่ิ จาํ เปน
ทีก่ อใหเกิดประโยชน เชน มนุษยค วรรับประทานอาหารเพื่อประทงั ชีวิตโดยตอ งคาํ นงึ ถงึ
คณุ คา ของสารอาหารดว ย ไมค วรซ้ือสินคาและบริการดว ยเหตุผลท่วี า ราคาถูก

3. ความประหยดั หมายถงึ การบรโิ ภคอปุ โภคโดยการใชจ า ยใหเ หมาะสมกบั ฐานะ
ทางเศรษฐกิจของตน ไมฟมุ เฟอ ย ไมท ้งิ ขวาง ไมเ ลียนแบบการบรโิ ภคของบคุ ลอ่นื ซ่ึง

56 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม

มีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวาท่ีอาจนิยมบริโภคอุปโภคสินคาและบริการที่มีราคาแพงและไม
บรโิ ภคตามการโฆษณา หลกั การความจําเปน หรือความพอเพียง ความมีประโยชน ความ
ปลอดภัยและความประหยดั เปนสิง่ ที่เกิดขน้ึ พรอมๆ กนั ซึ่งเปน หลกั การท่สี ามารถเกิดขึน้
ไดเสมอ ถาบุคคลใชสติและปญญาไตรตรองกอนที่จะตัดสินใจบริโภคอุปโภคสินคาและ
บริการ

กจิ กรรม

กิจกรรมท่ี 18
การทีผ่ ผู ลิตและผูบ รโิ ภคสินคา และบรกิ ารมีคุณธรรม มปี ระโยชนต อเศรษฐกิจ
3บทท่ี อยางไร บอกมา 3 ขอ

เศรษฐศาสตร เรอ่ื งที่ 4 ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมในทอ งถิ่นและชุมชน

ความหมายของทรพั ยากร
ทรพั ยากรในทางเศรษฐศาสตร หมายถงึ ส่ิงมีคา ท้ังปวง ซง่ึ อาจจะเกิดขึน้ เองหรอื มี

อยูตามธรรมชาติและเกดิ จากการทม่ี นษุ ยสรางหรือประดิษฐข น้ึ
ประเภทของทรพั ยากร

ทรัพยากรแบง ออกเปน ประเภทตางๆ ดังนี้
1. ทรพั ยากรมนษุ ย หมายถงึ บคุ คลหรอื มนษุ ยใ นฐานะทเี่ ปน แรงงานหรอื ผปู ระกอบ
การ ซึ่งเปน สวนหน่ึงของกระบวนการผลิตและการพัฒนาประเทศในดา นตางๆ
2. ทรัพยากรท่ไี มใชมนุษย ประกอบดวย

ก. ทรัพยากรท่ีมนุษยสรางขึ้น หมายถึง ทรัพยากรที่มนุษยสรางข้ึน เชน
เครื่องจักร คอมพิวเตอร รถยนต รถจกั รยาน บานและเคร่ืองใชไ มส อยตา งๆ

ข. ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงหมายถึง ทรัพยากรท่ีเกิดข้ึนเองหรือมีอยูตาม
ธรรมชาติ ซง่ึ อาจแบง ยอยได 3 ประเภท ดงั น้ี

1) ทรัพยากรธรรมชาตทิ ใี่ ชแลว ไมหมดเปลอื งหรอื สญู หายไป ไดแ ก อากาศ
นํา้ ในวฎั จกั รหมุนเวยี น

2) ทรัพยากรที่ทดแทนหรือรักษาไวได เชน น้ํา (ท่ีอยูเฉพาะที่เฉพาะแหง
ดิน ที่ดิน ปาไม ทุง หญา สัตวป า

3) ทรพั ยากรท่ไี มง อกเงยใชแลวหมดไป เชน แรธ าตุ นาํ้ มนั

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 57

ทรัพยากรธรรมชาติที่ 3บทท่ี
ท ด แ ท น ห รื อ รั ก ษ า ไ ว ไ ด แ ล ะ
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ไ่ี มง อกเงยใช เศรษฐศาสต ร
แลว หมดไป ถือเปนทรัพยากรที่มี
อยูอยางจํากัด เพราะถึงแมบาง
อยางจะสรางทดแทนหรือบํารุง
รักษาได แตก็ตองใชระยะเวลา
ยาวนาน เชน ทรัพยากรปาไม
เปนตน

ภาวะวกิ ฤติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรพั ยากรธรรมชาติ เมอ่ื นาํ มาใชม ากเกนิ ไปโดยไมม กี ารสรา งทดแทนกจ็ ะทาํ ใหเ กดิ

การสญู เสยี หรอื ถกู ทาํ ลายได เชน การตดั ถนน เพอ่ื ใชใ นการคมนาคม การสรา งเขอ่ื นเกบ็ นาํ้
จะตอ งใชเ นอ้ื ทแ่ี ละบรเิ วณพนื้ ดนิ จาํ นวนมหาศาล ทาํ ใหพ นื้ ดนิ ทเี่ ปน ปา ไมถ กู โคน ทาํ ลายลง
ทาํ ใหป า ไมล ดลง สตั วป า ลดลง เกดิ
ความแหงแลง ฤดกู าลผนั แปรฝน
ตกไมตรงตามฤดูกาลหรือตกนอย
มีการทําลายปาเพ่ือการเพาะปลูก
และใชสารเคมีในการเพาะปลูกเกิน
ความจําเปน ทําใหดินที่อุดม
สมบูรณ เสอื่ มสภาพเมอื่ ทรพั ยากร
เสอื่ มสภาพแวดลอ มกเ็ สอื่ มสภาพไป
ดว ย
ลกั ษณะอาชพี ของครอบครัว ชุมชน ประเทศ

ความหมายของอาชพี
อาชพี หมายถงึ งานหรอื กจิ กรรมใดๆ ทกี่ อ ใหเ กดิ ผลผลติ ทส่ี ามารถประเมนิ คา เปน
เงินหรือรายไดและกิจกรรมนน้ั ตอ งสุจริตเปนที่ยอมรบั ของสงั คม
ความสําคญั ของอาชพี
1. ความสาํ คญั ตอ บคุ คลและครอบครวั การทมี่ นษุ ยจ ะดาํ รงชวี ติ อยใู นสงั คมไดอ ยา ง
มคี วามสขุ ตามอตั ภาพนนั้ จาํ เปน ตอ งประกอบอาชพี เพอื่ ใหม รี ายได เพอื่ ทจ่ี ะนาํ ไปซอื้ เครอื่ ง
อุปโภคบรโิ ภค ส่งิ ของที่จาํ เปนในการดํารงชวี ติ ของตนเองและคนในครอบครัว
2. ความสาํ คญั ตอ ชมุ ชน ประเทศ ในระดบั ชมุ ชน อาชพี มคี วามสาํ คญั ตอ เศรษฐกจิ
ภายในชมุ ชน ทาํ ใหมีการใชทรพั ยากรในทองถ่ิน แกป ญ หาความยากจนของคนในชุมชน

เศรษฐศาสตร 58 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม

เม่ือประชาชนมีรายไดยอ มกินดอี ยดู ี รางกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี สง ผลตอ การพฒั นา
ชุมชน และในระดบั ประเทศ เมือ่ ชุมชนพัฒนาสังคมสวนรวมกจ็ ะเจรญิ กาวหนาไปดว ย

ประเภทของอาชีพ อาชีพแบงไดห ลายประเภท ดังนี้
1. แบง ตามลักษณะอาชีพ

1.1 อาชพี อสิ ระ หมายถงึ อาชพี ทผ่ี ปู ระกอบการดาํ เนนิ การดว ยตนเอง อาจเปน
ผูผลติ สินคาหรอื เปนผูบริการกไ็ ด

1.2 อาชพี รบั จา ง หมายถงึ อาชพี ทผ่ี ปู ระกอบการไมไ ดเ ปน เจา ของ แตไ ดร บั จา ง
จากนายจางเปน ชวงระยะเวลา เชน รายชว่ั โมง รายวัน รายเดือน

2. แบง ตามลกั ษณะรายไดและความมนั่ คง
2.1 อาชพี หลกั หมายถงึ อาชพี ทผ่ี ปู ระกอบการใชเ วลาสว นใหญใ นการประกอบการ

3บทที่ 2.2 อาชพี รองหรอื อาชพี เสรมิ หมายถงึ อาชพี ทผี่ ปู ระกอบการใชเ วลานอกเวลา
งานหลกั ดําเนนิ การ
3. แบง ตามสาขาประกอบการ
3.1 อาชีพดา นอุตสาหกรรม เชน ชางยนต ชา งไฟฟา ชา งวทิ ยุ เปน ตน
3.2 อาชีพดา นเกษตรกรรม เชน ทํานา ทาํ ไร เล้ียงสตั ว ทาํ การประมง เปน ตน
3.3 อาชีพดานคหกรรม เชน ศิลปหัตถกรรม เชน ตัดเย็บเส้ือผา ทําอาหาร
ขนม เปนตน
3.4 อาชีพดา นพาณชิ ยกรรม เชน คาขาย บัญชี เลขานุการ เปนตน
3.5 อาชพี ดา นอื่นๆ เชน ดานกีฬา ดานบนั เทงิ ดนตรี นาฏกรรม เปน ตน
ปจจัยทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอการเปลีย่ นแปลงทางอาชีพ
การเกิดอาชีพใหม ทําใหเกิดการพัฒนาอาชีพหรือแมกระทั่งเกิดความเส่ือมทาง
อาชพี เกดิ จากปจ จัยหลายปจจัย ดังนี้
1. ความเจริญกา วหนาทางเทคโนโลยี
ความเปล่ียนแปลงทางดานเทคโนโลยี ปจจุบันวิทยาการไดเจริญกาวหนาไปอยาง
รวดเรว็ และเปนสาเหตทุ ําใหเ กิดเทคโนโลยีใหมๆ ตลอดเวลา ซ่ึงมีผลตอ การเกดิ การพฒั นา
และการเส่ือมของอาชีพเปนอยางย่ิง เชน การนําเคร่ืองจักรมาใชแทนแรงงานคน การนํา
เทคโนโลยที างการเกษตรมาใชในการเกษตร การนําคอมพวิ เตอรมาใชใ นสํานักงาน เปนตน
2. ความเปลย่ี นแปลงทางทรพั ยากร
ทรพั ยากรนบั วา เปน ปจ จยั ในการผลติ เบอื้ งตน ทส่ี าํ คญั ซง่ึ กอ ใหเ กดิ อาชพี ทรพั ยากร
นัน้ มมี ากมายและแตกตา งกันไปในทองถ่นิ เชน ปา ไม น้ํา แรธ าตุ นํา้ มัน พชื ผกั และผล
ไม สัตวบ ก สตั วน ํา้ ฯลฯ ทรัพยากรมกี ารเปล่ียนแปลงอยตู ลอดเวลา มที ้งั ท่ีจาํ นวนลดลงอัน
เนอ่ื งมาจากมนษุ ยนําไปใชป ระโยชน มที ง้ั ทรพั ยากรที่เกดิ ข้ึนมาใหม เชน น้าํ มัน และกา ซ
ธรรมชาติ เปน ตน

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 59

3. ความเปลยี่ นแปลงทางดา นการเมือง 3บทที่
การเมืองเปนปจจัยสําคัญในการลงทุน การท่ีจะมีนักลงทุนมาลงทุนมากหรือนอย
ขึ้นอยูกับสภาพทางการเมือง ถารัฐบาลมีเสถียรภาพม่ันคง ไมเปล่ียนแปลงรัฐบาลบอยๆ เศรษฐศาสต ร
ผทู จี่ ะมาลงทนุ ในอตุ สาหกรรมตา งๆ กจ็ ะเกดิ ความมนั่ ใจทจี่ ะมาลงทนุ นอกจากนน้ั นโยบาย
ของรัฐบาลจะเปน ตัวกาํ หนดอาชพี ตางๆ ไดเปน อยางดี
4. ความเปลีย่ นแปลงทางสงั คม
โดยเฉพาะการทม่ี ปี ระชากรเพม่ิ มากขน้ึ ตอ งการสง่ิ ของอปุ โภค บรโิ ภคและสง่ิ ดาํ รงชวี ติ
มมี ากขน้ึ ทําใหเกิดการลงทนุ เพอื่ ผลิตสินคาและบรกิ ารมากขึ้นดวย
การสํารวจความพรอมในการเลือกประกอบอาชีพ

การทีจ่ ะเลอื กประกอบอาชีพใด ควรไดสํารวจความพรอมทุกๆ ดา น ดงั นี้
1. ความพรอมของตนเอง แบง ไดดงั นี้

1) สิ่งตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับการประกอบอาชีพที่ตนเองมีอยูในขณะน้ัน เชน
เงนิ ทนุ ทดี่ นิ แรงงาน วสั ดเุ ครอื่ งมอื เครอ่ื งใชแ ละอน่ื ๆ ทจี่ าํ เปน ตอ การประกอบอาชพี ทกี่ าํ ลงั
ตดั สนิ ใจเลือก

2) ความรู ทกั ษะและความถนดั ของตนเอง การทจ่ี ะประกอบอาชีพใหไดผ ลดี
จะตองพิจารณาถึงความรู ทักษะและความถนัดของตนเองดวยเสมอ เพราะส่ิงเหลานี้จะ
ชวยใหการกระทาํ ในส่งิ ทีต่ นถนัดน้ัน เปน ไปอยา งสะดวก รวดเรว็ คลอ งแคลว และมองเหน็
ชองทางที่จะพัฒนาอาชีพใหรุดหนาไดดีกวาคนท่ีไมมีความรู ทักษะและความถนัดใน
อาชีพนั้นๆ แตต ดั สินใจเลือกประกอบอาชีพน้ันๆ

3) ความรักและความจริงใจ เปนองคประกอบท่ีเกิดจากความรูสึกภายในของ
แตละคน ซึ่งความรูสึกน้ีจะเปนแรงผลกั ดนั ใหเกดิ การทาํ งานดว ยความมานะ อดทน ขยนั
กลา สู กลา เสย่ี ง ซ่ึงถอื วา เปนองคป ระกอบในการตัดสินใจท่สี ําคัญอยา งหนงึ่

2. ความพรอมของสังคม สิ่งแวดลอม คือ ความพรอมของสิ่งตางๆ ท่ีอยูรอบๆ
ตวั เราหรอื จะตอ งเขา มาเกย่ี วขอ งทจ่ี ะสง ผลดี ผลเสยี ตอ การประกอบอาชพี ของตน เชน ทาํ เล
ตลาด สว นแบง ของตลาด ทรพั ยากรทเ่ี อ้ือในทองถน่ิ แหลงความรู ตลอดจนผลทจ่ี ะเกดิ
ขนึ้ ตอ ชมุ ชน หากเลือกอาชีพน้นั ๆ

3. ความพรอ มทางวชิ าการของอาชพี คอื ความพรอ มของขอ มลู ความรแู ละเทคนคิ
ตา งๆ สําหับการประกอบอาชีพน้ันๆ เชน การบํารุงรักษาตนออนพืช การฉีดยาฆาแมลง
กอนเก็บเกยี่ ว การเคลอื บสารเคมี เปน ตน

ปจจัยสาํ คญั ในการประกอบอาชีพ

1. ทุน เปนปจจัยท่ีสําคัญในการใหการสนับสนุนในการจัดหาทรัพยากรและ
เอ้ืออํานวยในกิจการใหด ําเนนิ ไปดว ยความเรยี บรอ ย

2. คน เปน ทรพั ยากรบคุ คลทถ่ี อื ไดว า เปน ปจ จยั ทม่ี คี วามสาํ คญั อยา งยง่ิ ทจ่ี ะกอ ใหเ กดิ
ผลสาํ เรจ็

เศรษฐศาสตร 60 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม

3. ท่ีดิน คือ แหลงหรือท่ีทํามาหากินของผูประกอบอาชีพอิสระจะเปนที่ตั้ง
สาํ นกั งานและบริเวณประกอบอาชีพ

4. เครอ่ื งจักร เปนอปุ กรณทจ่ี ดั หามาเพอื่ ใชป ฏิบัติงานใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ และ
คุมคา

5. วัสดุ เปนปจจยั สําคัญเพราะเปน วตั ถุดบิ ทจี่ ะนํามาใชผ ลติ หรอื ใหบ รกิ าร วสั ดุ
ที่ใชต อ งมคี ณุ ภาพดแี ละมปี รมิ าณพอเพยี ง

6. การคมนาคม คือ เสนทางติดตอระหวางผูดําเนินกิจการกับผูมาใชบริการ
สามารถติดตอ ไดส ะดวกและปลอดภัย

7. การตลาด เปน แหลง ชว ยกาํ หนดทศิ ทางความตอ งการของสนิ คา การแลกเปลย่ี น
สินคา การแขงขนั สินคาดานคณุ ภาพและราคา

3บทท่ี 8. การจัดการ คอื การวางแผนการดําเนินการประกอบอาชีพอาชพี เพ่ือใหเกดิ
ผลดีอยางเหมาะสม คุมคา คุมเวลา คมุ ทนุ และหวังไดก ําไรสงู สดุ เรมิ่ ตน ต้งั แตก ารเลอื ก
สิ่งทจี่ ะผลติ จะบริการวิธีการและการใชว สั ดุอุปกรณ
9. การประชาสัมพันธ เปนส่ิงสําคัญและจําเปนอยางยิ่งที่ผูประกอบอาชีพอิสระ
จะตองกระทําเพ่ือเปนการบอกกลาวช้ีแจงใหผูอ่ืนทราบวา เราดําเนินกิจการอะไร อยางไร
เมอื่ ไร ทไี่ หน
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
พอสรุปสาระสําคญั ๆ ไดด ังตอ ไปนี้
1. การพ่ึงตนเอง หลักเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนการผลิตใหเพียงพอกับความ
ตอ งการบรโิ ภคในครวั เรอื นกอ นทเี่ หลอื จากการบรโิ ภค จงึ ดาํ รเิ พอื่ การคา เปน อนั ดบั รองและ
สามารถพงึ่ ตนเองได มชี ีวติ อยางไมฟงุ เฟอ ลดคาใชจาย โดยการสรา งสง่ิ อปุ โภคบริโภคใน
ที่ดนิ ของตนเอง เชน ขาว นาํ้ ปลา พชื ผัก เปนตน
2. การรวมกลมุ ของชาวบาน
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงจะใหความสําคัญกับการรวมกลุมของชาวบาน
มงุ เนน ใหช าวบา นรวมกลมุ กนั ดาํ เนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ตา งๆ อาทิ การทาํ เกษตรแบบ
ผสมผสาน รวมกลมุ กนั ทาํ หตั ถกรรม การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร การใชภ มู ปิ ญ ญา
จากทองถน่ิ การพฒั นาเทคโนโลยีพนื้ บา นและเทคโนโลยีสมัยใหมทเี่ หมาะสม สอดคลอง
กับความตอ งการและสภาพแวดลอมของทองถ่นิ ตนเอง
การรวมกลุมของชาวบานจะเปนการพัฒนาสมาชิกในชุมชน ใหมีการสราง
เครือขายชุมชนท่ีเขมแข็ง สมาชิกในกลุมจะคอยใหคําแนะนําในการแกปญหาตางๆ และ
หาวิธีการใหสมาชิกภายในกลุมมีรายไดจากการประกอบอาชีพเพ่ิมขึ้นเม่ือกลุมชาวบานได
รบั การพฒั นาทดี่ แี ลว กจ็ ะชว ยใหส งั คมเขม แขง็ ขนึ้ เศรษฐกจิ ของประเทศกจ็ ะเจรญิ เตบิ โตได
อยางมีประสิทธิภาพและเกิดความม่ันคง ทําใหเศรษฐกิจขยายตัวและมีการกระจายรายได
ทีด่ ขี ึ้นอกี ดวย

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 61

3. ความเอื้ออาทรและความสามัคคี 3บทที่
เศรษฐกจิ พอเพยี งตงั้ อยบู นพนื้ ฐานของการทส่ี มาชกิ ของชมุ ชนมคี วามเออื้ เฟอ
เศรษฐศาสต ร
เอ้ืออาทร ชวยเหลือและสามัคคี รวมแรงรวมใจเพ่ือประกอบกิจกรรมหรืออาชีพตางๆ ให
บรรลผุ ลสาํ เร็จ ยอ มเปน ผลประโยชนต อสวนรวมเปนสําคญั สมาชกิ ของชมุ ชนสามารถอยู
รวมกนั ไดอ ยา งมีความสุข

การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง
เพื่อที่จะสามารถดํารงชีวิตไดอยางพออยูพอกิน เราควรท่ีจะปฏิบัติตนตามแนว

เศรษฐกิจพอเพยี งดังน้ี
1. จะตองยดึ หลกั พออยู พอกิน พอใช
2. มคี วามประหยดั โดยพยายามตัดทอนรายจา ยและลดความฟุมเฟอย
ในการดาํ รงชีวติ
3. ประกอบอาชพี ดว ยความถกู ตอ งและสจุ รติ ไมป ระกอบอาชพี ทผ่ี ดิ ศลี ธรรมและ
ผิดกฎหมาย
4. ไมค วรแกงแยง ประโยชนและแขง ขนั ในการประกอบอาชีพอยางรุนแรง
5. รจู กั แสวงหาความรเู พม่ิ เตมิ และพยามยามพฒั นาตนเองใหม คี วามรคู วามสามารถ
มากข้ึนแลวนําความรู ความเขาใจท่ีไดรับมานั้นมาปรับใชในการดําเนินชีวิต
ประจาํ วัน
6. ใชค วามรู ความสามารถมาพฒั นาภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ เพอื่ เปนการเพม่ิ พนู รายได
ใหกบั ตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน
7. ชวยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน มีความเอื้อเฟอเผื่อแผและมีความสามัคคีใน
ครอบครวั และชุมชน
แนวพระราชดาํ รเิ ศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ทางเลอื กใหมข องประชาชนชาวไทยเพอ่ื ท่ี

จะสามารถดํารงชีวิตแบบพออยูพอกินและสามารถพึ่งพาตนเองได เศรษฐกิจพอเพียง มี
ความสําคัญตอการพัฒนาประเทศอันจะนําไปสูสังคมที่มีคุณภาพทั้งทางดานเศรษฐกิจและ
สังคม ดังนั้น ประชาชนชาวไทยทุกคนควรนาํ ไปปฏิบตั อิ ยา งจรงิ จัง

แหลง ทุนในหมูบาน

1. สถาบันการเงิน
สถาบันการเงิน หมายถึง องคกรทีด่ ําเนนิ การเก่ยี วกบั ธุรกิจ การเงินและการให

สนิ เช่ือเปนตวั กลางในการเช่อื มโยงผูออมเงนิ กบั ผูตองการกูเงนิ
หนา ที่ของสถาบันการเงิน

ในทน่ี ข้ี อกลา วถงึ หนา ทขี่ องสถาบนั การเงนิ ประเภทธนาคารพาณชิ ยเ ทา นน้ั สว น
สถาบนั การเงินเฉพาะอยา งก็จะมหี นาที่เฉพาะขององคกรแตกตางกันไป

เศรษฐศาสตร 62 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม

หนาทห่ี ลกั ของธนาคารพาณิชย มดี ังนี้
1. บรกิ ารรับฝากเงินสาํ หรับผูม ีเงนิ ออม โดยผูออมเงนิ จะไดรบั ดอกเบีย้ ตอบแทน

บรกิ ารรับฝากเงินมีหลายลกั ษณะ ไดแก เงนิ ฝากกระแสรายวนั เงินฝากออมทรพั ย เงนิ ฝาก
ประจํา

2. บริการสินเชื่อ โดยแบงประเภทสินเชอื่ ไดด ังน้ี
2.1 เงนิ กูทั่วไป โดยนําหลกั ทรัพยหรือเงินฝากมาค้ําประกนั
2.2 เงนิ กเู บกิ เงนิ เกนิ บญั ชี โดยนาํ หลกั ทรพั ยห รอื เงนิ ฝากมาทาํ วงเงนิ คาํ้ ประกนั

การเบกิ เงนิ เกนิ บัญชี
2.3 รับซอ้ื ตวั๋ เงินทีม่ กี าํ หนดระยะเวลา

3. บริการอืน่ ๆ เชน

3บทที่ 3.1 ใหบ รกิ ารในดา นเปน ตวั แทนของลกู คา เชน ชว ยเกบ็ เงนิ ตามเชค็ ตวั๋ เงนิ และ
ตราสารอื่นๆ ชวยเก็บและจายเงินประเภทอ่ืนๆ เชน คาเชา คาดอกเบี้ย คาไฟฟา คาน้ํา
ประปา คาภาษีหรือคาธรรมเนียมใหแกหนวยราชการตางๆ และชวยเปนตัวแทนรัฐบาลใน
การขายพันธบตั ร ตั๋วเงนิ คลัง เปนตน
3.2 ใหบ ริการชวยเหลอื ดานการคา และการชําระเงนิ ระหวา งประเทศ
2. สหกรณ
สหกรณ หมายถงึ การรวมกลมุ กนั ของคณะบคุ คลเพอื่ ดาํ เนนิ กจิ การตา งๆ โดย
มีวัตถุประสงคชวยเหลือซึ่งกันและกันระหวางสมาชิก และไดจดทะเบียนเปนสหกรณตาม
กฎหมาย
หลักการของสหกรณ
1. เปด รบั สมาชกิ ตามความสมัครใจ เขามาเปนสมาชกิ ดวยความเต็มใจ
2. เปดรับสมาชกิ โดยไมจ าํ กดั เชอื้ ชาติ ศาสนา หรอื ฐานะทางสงั คม
3. ดําเนินการตามหลักประชาธิปไตย คือ สมาชิกมีสิทธิแสดงความคิดเห็นและมี
สิทธอิ อกเสยี ง
4. สหกรณต อ งจดั สรรผลประโยชนใ หแ กส มาชกิ ในรปู ของเงนิ ปน ผลจากหนุ สว นที่
สมาชกิ มีอยู
5. เจาหนาที่และสมาชิกของสหกรณมีสิทธ์ิในการรับทราบขอมูลท่ีเปนประโยชน
ตอการพฒั นากจิ การสหกรณ
6. เจา หนา ทแ่ี ละสมาชกิ สหกรณค วรหาความรใู หมๆ และแลกเปลย่ี นความรรู ะหวา ง
กนั เพอ่ื นาํ มาพัฒนากิจการของสหกรณ
ระเบียบการจดั ตั้งสหกรณ
1. กาํ หนดชือ่ และประเภทของสหกรณ
2. กาํ หนดวตั ถุประสงคข องการจดั ต้งั สหกรณ

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 63

3. ตอ งมคี ณะบุคคลต้ังแต 10 คนข้นึ ไป 3บทท่ี
4. ตองจดทะเบียนจดั ตงั้ สหกรณตามพระราชบญั ญัติสหกรณ พ.ศ. 2511
5. ตองดําเนนิ การตามหลักการของสหกรณ เศรษฐศาสต ร

วธิ กี ารจดั ต้งั สหกรณข้ึนในชมุ ชน
1. ข้นั เตรียมการ

1.1 สาํ รวจความพรอมของบคุ ลากรภายในชมุ ชน
1.2 จดั หาสถานทีใ่ นการจดั ตัง้ สหกรณ
1.3 แตงตัง้ คณะผูดําเนนิ งานจดั ตั้งสหกรณ
1.4 คน ควา หาความรเู กย่ี วกบั การดาํ เนนิ กจิ การสหกรณแ ละหลกั การในการจดั ตง้ั
1.5 กาํ หนดระเบยี บ ขอ บงั คบั และกฎเกณฑก ารรบั สมาชกิ ราคาหนุ วตั ถปุ ระสงค

และวธิ ีการดาํ เนินงานของสหกรณ
2. ขนั้ ดําเนนิ การจดั ตงั้

2.1 เปดรับสมาชกิ สหกรณ
2.2 ประชมุ สมาชิกเพือ่ แตง ตัง้ คณะกรรมการดําเนินงาน
3. ข้นั ตอนดาํ เนินกจิ การ
3.1 คณะกรรมการตองดาํ เนนิ กจิ การของสหกรณใ หเ ปนไปตามวตั ถุประสงค

หลกั การและระเบยี บขอ บงั คบั ของสหกรณ

ประโยชนของการจัดต้ังสหกรณ
1. สมาชกิ ของสหกรณส ามารถซื้อสินคาไดในราคาทีถ่ กู ลง
2. การรวมตวั กันทําใหเกิดการชวยเหลือซึง่ กนั และกนั ในหมสู มาชกิ
3. สมาชิกไดรับประโยชนจากเงนิ ปน ผล
4. สงเสริมใหเกดิ ความสามคั คีขน้ึ ในชุมชน
5. เปน แหลงเงนิ กูของสมาชิก
6. ทําใหเกิดการเรียนรูการดําเนินธุรกิจในรูปแบบหนึ่ง ซ่ึงสามารถนําไปปรับใช

ในการทาํ ธุรกิจรูปแบบอน่ื ได
3. กองทนุ หมูบา น

เปนแหลงทุนในหมูบานและชุมชนซ่ึง รัฐบาลไดจัดสรรงบประมาณโโยมี
วัตถุประสงคใหคนในชุมชนกูยืมไปใชในการประกอบอาชีพ โดยเรียกเก็บดอกเบี้ยในอัตรา
ตํ่าและพฒั นาครุ ภาพชวี ิตในดานตางๆ

เศรษฐศาสตร 64 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม

กจิ กรรม

กจิ กรรมท่ี 19
ใหผ เู รยี นสาํ รวจทนุ ในชมุ ชนของผเู รยี นวา มอี ะไรบา งและบอกดว ยวา จะนาํ ทนุ

เหลานน้ั ไปใชใหเ กดิ ประโยชนอ ยางไร
กิจกรรมท่ี 20

ใหผ เู รยี นรวมกลมุ อภปิ รายถงึ ความหมายและวธิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียงตามทผ่ี เู รยี นเขา ใจ แลว สรปุ สงมา 1 – 2 หนา กระดาษ
กิจกรรมท่ี 21

ใหผเู รยี นบนั ทึกรายรบั – รายจา ยของผเู รยี นเอง โดยใชระยะเวลา 30 วนั และ

3บทท่ี ใหค ิดแบบบนั ทกึ (บัญช)ี ข้นึ เอง



รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 65

4บทท่ี การเมืองการปกครอง

สาระสําคัญ

การศึกษาและทําความเขาใจเก่ียวกับระบบการเมืองการปกครอง ในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขและรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จะ
ทาํ ใหผ เู รยี นสามารถปฏบิ ตั ติ นตามหนา ทข่ี องพลเมอื งดี ตามกฎหมาย ประเพณี วฒั นธรรม
ไทยไดอ ยา งถกู ตอ ง สง ผลใหผ เู รยี นดาํ รงชวี ติ อยรู ว มกนั ในชมุ ชน สงั คมไทยและสงั คมโลก
ไดอยา งเปน สขุ

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั

1. อธบิ ายขอ มลู เกย่ี วกบั การเมอื ง การปกครองทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ตนเอง ชมุ ชน ทอ งถน่ิ
และประเทศได

2. ปฏบิ ตั ิตนตามบทบาทหนา ที่และรักษากฎระเบยี บภายใตรฐั ธรรมนูญได
3. เห็นคุณคาของตนเอง เคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผูอ่ืนไดอยางถูกตอง

เหมาะสม

ขอบขา ยเนอ้ื หา

เรอ่ื งที่ 1 ความหมายความสําคัญของการเมืองการปกครอง
เรอ่ื งที่ 2 โครงสรา งการบริหารราชการแผนดิน
เรื่องท่ี 3 ความสมั พันธร ะหวา งอาํ นาจนิตบิ ัญญัติ อาํ นาจบริหาร อํานาจตลุ าการ
เรอ่ื งที่ 4 การมีสวนรวมทางการเมือง การปกครองในระดับทองถิ่นและระดับ

ประเทศ

การเมอื งการปกครอง 66 หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสังคม

เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของการเมอื งการปกครอง

การปกครองของไทย
สาเหตุท่ีสําคัญมาจากการที่ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองจาก
ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยม าเปน ระบอบประชาธปิ ไตย ซง่ึ เรม่ิ มแี นวคดิ มาตง้ั แตร ชั กาลท่ี 6
โดยกลมุ บคุ คลท่เี รยี กตนเองวา “คณะราษฎร” ประกอบดว ย ขา ราชการ ทหาร พลเรือน
ไดเ ขา ยดึ อาํ นาจการปกครอง พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู วั จงึ ไดท รงลงพระปรมาภไิ ธย
ในรางรัฐธรรมนูญการปกครองแผนดินฉบับช่ัวคราวที่คณะราษฎรไดเตรียมไว นับวาเปน
รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย เม่ือวันท่ี 10 ธันวาคม 2475 ถือไดวาประเทศไทยมีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนการปกครองระบอบ

4บทที่ ประชาธิปไตยนบั แตน ้นั มา
ความสาํ คญั การปกครองของไทย
ในการใชอํานาจในการปกครองน้ันเพ่ือประชาชนเปนผูใชอํานาจและใชตามหลัก
กฎเกณฑซ่งึ กําหนดไวในกฎหมายรัฐธรรมนูญ ซ่งึ เปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ โดยใน
กฎหมายรฐั ธรรมนญู นน้ั กาํ หนด สทิ ธิ หนา ท่ี ของชาวไทย สถาบนั พระมหากษตั รยิ  สถาบนั
การเมอื ง รฐั สภา ศาล การปกครองสว นสภา สว นภมู ภิ าค สว นทอ งถน่ิ เพอ่ื ใหก ารบรหิ าร ปกครอง
บา นเมอื งมคี วามเปน ระเบยี บเรยี บรอ ยมคี วามเจรญิ กา วหนา มสี ทิ ธใิ ชอ าํ นาจตา งๆ เปน ไปตาม
ทาํ นองคลองธรรม สมตามเจตนารมณก ารปกครองระบบประชาธปิ ไตยของไทย
จนถึงปจจุบันไดมีการเปล่ียนแปลงแกไขและประกาศใชรัฐธรรมนูญการปกครอง
หลายฉบับเพือ่ ใหเหมาะสม สอดคลอ งกบั สภาวการณบา นเมอื งที่ผันแปรเปลี่ยนในแตล ะยุค
สมยั โดยมีสาระสาํ คญั เหมือนกัน คือ ยึดม่นั ในหลกั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จะมีเนื้อหาแตกตางกันก็เพื่อใหเหมาะสมกับสภาวการณ
ของบานเมืองในขณะน้ัน ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแลวจํานวน 18 ฉบับ และปจจุบัน
พ.ศ. 2554 ใชร ัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550
หลกั การสําคญั ของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันมีหลักการและเจตนารมณที่จะธํารงรักษาไวซึ่งเอกราช
และความมั่นคงของชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย ซึ่งหลักการสําคัญของรัฐธรรมนูญ
พ.ศ. 2550 ไดระบุไวในหมวด 1 บททั่วไป สรุปไดดังนี้
ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบงแยกมิไดมีการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน
ชาวไทยศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาพของบุคคลตองไดรับ
ความคุมครองประชาชนชาวไทยทุกคนไมแยกเพศ ศาสนาและยอมไดรับความคุมครอง
เทาเทียมกัน

รายวิชาสงั คมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 67

โครงสรา งของรฐั ธรรมนญู 4บทที่

รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 แบงโครงสรางออกเปน การเ ืมองการปกครอง
105 หมวด และมีบทเฉพาะกาล สรุปสาระสาํ คัญแตละหมวดดังนี้

หมวด 1 บทท่วั ไป
ประเทศไทย เปนราชอาณาจักรอันหน่ึงอันเดียวจะแบงแยกมิได มีการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ พระมหากษตั ริยท รงใชอ าํ นาจ
ทางรัฐสภา คณะรฐั มนตรแี ละศาล
หมวด 2 พระมหากษัตรยิ 
ทรงอยใู นฐานะอันเปน ท่เี คารพ ผูใ ดจะละเมิดมไิ ด ทรงเลือกและแตงต้ังประธาน
องคมนตรแี ละองคมนตรไี มเกนิ 18 คน
หมวด 3 สิทธิและเสรภี าพของชนชาวไทย
การใชอํานาจโดยองคก รของรฐั ตองคาํ นึงถงึ ศักดศิ์ รีความเปนมนษุ ย สิทธิและ
เสรีภาพของบคุ คล ทงั้ ดานการประกอบอาชีพ การสอ่ื สาร การแสดงความคดิ เหน็ ความ
เปนธรรมดานการศึกษา การสาธารณสุขและสวัสดิการของรัฐ เสรีภาพในการชุมชนท่ีไม
ละเมิดสิทธิผอู ื่นและกฎหมาย
หมวด 4 หนาท่ีของชนชาวไทย
บคุ คลมีหนา ท่ีพทิ กั ษรกั ษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ และการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ และมหี นา ทปี่ อ งกนั รกั ษาผลประโยชน
ของชาติ ปฏบิ ัติตามกฎหมายโดยเฉพาะหนาที่ไปใชส ทิ ธิเลือกต้งั
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหง รฐั
เนน ใหป ระชาชนมสี ว นรว ม การกระจายอาํ นาจ การดาํ เนนิ งาน มงุ เนน การพฒั นา
คุณภาพ คุณธรรม มีประสิทธิภาพ โปรงใสใหความคุมครองและพัฒนาเด็ก เยาวชน
สง เสรมิ ความรรู กั สามัคคี
หมวด 6 รัฐสภา
รฐั สภามหี นา ทบี่ ญั ญตั กิ ฎหมายและควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านของฝา ยบรหิ าร ประกอบ
ดว ย 2 สภา คอื สภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) และวฒุ ิสภา (ส.ว.)
หมวด 7 การมีสว นรวมทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน
ประชาชนเปนผูมีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิเขาช่ือรองขอตอวุฒิสภาใหถอดถอนบุคคล
ออกจากตาํ แหนงไดเพราะมสี ทิ ธิออกเสยี งประชามติ
หมวด 8 การเงิน การคลงั และงบประมาณ
เพ่ือกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจัดหารายได การกําหนดรายจาย การกอหนี้
หรือการดาํ เนินการท่ีผกู พนั ทรพั ยส นิ ของรฐั หลักเกณฑการกําหนดวงเงินสาํ รองจาย เพื่อ
กรณีฉกุ เฉินหรือจําเปน ซง่ึ เปน กรอบในการกาํ กบั การใชจ ายเงินตามแนวทางการรักษาวนิ ัย
การเงนิ การคลงั และรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ อยา งยง่ั ยนื และเปน แนวทางในการจดั ทาํ งบ
ประมาณรายจา ยของแผนดิน

การเมอื งการปกครอง 68 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม
หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
รัฐธรรมนญู กาํ หนดใหม ีนายกรฐั มนตรี 1 คน และมรี ฐั มนตรีอ่นื อกี ไมเ กิน 35 คน

โดยไดรบั การแตง ตง้ั จากพระมหากษตั ริย
หมวด 10 ศาล
กําหนดใหศ าลหรอื อาํ นาจตุลาการแบง เปน
ท่ัวไป ศาลรัฐธรรมนญู ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร
หมวด 11 องคก รตามรัฐธรรมนูญ
กําหนดใหมีองคกรท่ีจะดําเนินการตรวจสอบ ติดตามการทํางานของบุคคล คณะ

บุคคลและหนว ยงาน ท้งั ภาครัฐและเอกชน ดงั น้ี
1. องคก รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู ประกอบดว ย คณะกรรมการการเลอื กตงั้ ผตู รวจ

4บทที่ การแผนดิน คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และคณะกรรมการ
ตรวจเงินแผนดนิ
2. องคกรอ่ืนตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย องคกรอัยการ คณะกรรมการสิทธิ
มนษุ ยชนแหงชาตแิ ละสภาทปี่ รึกษาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ
หมวด 12 การตรวจสอบการใชอาํ นาจรัฐ
กําหนดใหม ีการตรวจสอบขา ราชการประจําและขาราชการการเมือง
หมวด 13 จรยิ ธรรมของผูดาํ รงตําแหนงทางการเมอื งและเจา หนา ท่ขี องรัฐ
การพจิ ารณา สรรหา แตง ตง้ั บคุ คลเขา สตู าํ แหนง ตอ งเปน ไปตามระบบคณุ ธรรมและ
คํานงึ ถงึ พฤติกรรมทางจริยธรรมดว ย
หมวด 14 การปกครองสว นทอ งถิ่น
ใหความเปนอิสระแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีสภาทองถิ่นในการบริหารงานเนนการ
กระจายอาํ นาจ ใหการสนับสนุน กําหนดนโยบายการบริหาร
หมวด 15 การแกไ ขเพิม่ เตมิ รัฐธรรมนญู
มีการแกไขเพ่ิมเติมได แตหามแกไขท่ีมีผลตอการเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุขหรือเปลี่ยนแปลงรูป
ของรัฐ
บทเฉพาะกาล
ใหองคมนตรีดํารงตําแหนง
อยใู นวนั ประกาศใชรัฐธรรมนูญ

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค11001) <<ระดับประถมศึกษา>> 69

เรอื่ งที่ 2 โครงสรางการบริหารราชการแผน ดนิ 4บทที่

การบริหารราชการแผน ดนิ เปน อาํ นาจหนาที่ของรัฐบาล (นายกรัฐมนตรแี ละคณะ การเ ืมองการปกครอง
รฐั มนตร)ี แบงออกเปน

การบรหิ ารราชการสว นกลาง ไดแก การกาํ กับดูแลสาํ นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง
ทบวง

การบรหิ ารราชการสวนภมู ภิ าค ไดแ ก จังหวดั และอาํ เภอ โดยจังหวัดและอาํ เภอ
รบั คําสงั่ จากสวนกลาง คือ กระทรวง ทบวง กรม ไปปฏิบัติ

การบรหิ ารราชการสว นทอ งถน่ิ ไดแ ก การปกครองสว นทอ งถน่ิ ของไทยตามพระราช
บญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดนิ พ.ศ. 2534 จาํ แนกเปน องคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั
เทศบาล องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล กรงุ เทพมหานคร เมอื งพทั ยา

แนวคิดเรอ่ื งการปกครองสว นทองถิน่

เจตนารมณข องรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ประการหนง่ึ
คือ มุงหวังท่ีจะปรับปรุงโครงสรางทางการเมืองการปกครองใหพัฒนาสังคมไทยไปสูสังคม
ประชาธิปไตยอยางแทจริง สาระสําคัญของการปกครองสวนทองถ่ินบัญญัติไวใน
หมวด 9 ของรฐั ธรรมนูญฉบบั ปจจุบัน ในมาตรา 282 โดยอา งถึงมาตรา 1 เปนกรอบใน
การกําหนดอํานาจหนาท่ีวารัฐจะตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่นตามหลักแหลง
การปกครองตนเองตามเจตนารมณข องประชาชนในทองถ่นิ

การปกครองทอ งถิ่นจาํ แนกออก ดังนี้
1. องคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั จดั ตงั้ ขนึ้ โดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการ
สวนจังหวัด โดยกําหนดใหจัดตั้งขึ้นทุกจังหวัด (ยกเวน กรุงเทพมหานคร) ปจจุบัน
ประเทศไทยมีองคก ารบริหารสว นจงั หวัด 76 แหง (76 จงั หวดั )
อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด มีหนาที่ดังน้ี คือ รักษาความสงบ
เรยี บรอ ยจดั การเรอ่ื งการศกึ ษา บาํ รงุ ศาสนา สง เสรมิ วฒั นธรรม ดแู ลกจิ การสาธารณปู โภค
ในจังหวดั ใหไดรับความสะดวกดาํ เนนิ การปอ งกนั โรค บําบดั โรค โดยจัดต้งั สถานพยาบาล
ของทอ งถน่ิ และบาํ รงุ ใหต อ เนอ่ื งจดั ดแู ลระบบคมนาคมทางนาํ้ ทางบก จดั ระบบระบายนาํ้ ใหด ี

โครงสรางองคก ารบรหิ ารสวนจังหวดั

ประชาชนในทองถ่นิ เลือกต้งั สมาชกิ สภาองคการบริหารสวนจังหวัดทกุ 4 ป ผทู ่ี
ไดรับการเลือกต้งั เปนสมาชิกสภาองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั หรือ (ส.จ.) ทําหนา ท่ใี นสภา
องคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั โดยลงมตเิ ลอื กประธานสภาองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั และนายก
องคก ารบริหารสวนจังหวัด

70 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม

แผนผงั แสดงโครงสรางองคการบริหารสว นจังหวดั

โครงสรางองคการบรหิ ารสวนจังหวดั

ประชาชน นายกองคก ารบริหาร
สภาองคการบรหิ ารสวนจังหวัด สว นจังหวัด

4บทที่ รองนายก อบจ.
ปลดั อบจ. (แตง ต้ัง)
การเมอื งการปกครอง

สว น สวนแผนงานและ สวนกิจการ สวน สวนชาง
อํานวยการ งบประมาณ อบจ. การคลัง

2. เทศบาล เปนองคกรที่จัดต้ังข้ึนโดยพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
เทศบาลแบง ออกเปน 3 ประเภท คือ เทศบาลตําบล เทศบาลเมอื ง และเทศบาลนคร โดย
ใชเ กณฑจ าํ นวนประชากรและรายไดข องทอ งถนิ่ เปน องคป ระกอบสาํ คญั ในการแบง ประเภท
ของเทศบาล

อาํ นาจหนา ท่ขี องเทศบาล มีอํานาจหนา ทโ่ี ดยรวมดงั น้ี
ดูแลความสงบเรยี บรอ ยของประชาชนดแู ลความสะอาดของถนน ทส่ี าธารณะ ระบบการ
จดั เกบ็ ขยะจดั ใหม สี วนสาธารณะสง่ิ แวดลอ มทส่ี ะอาด สวยงามเปน ทพี่ กั ผอ นปอ งกนั ภยั จาก
อคั คภี ยั และจดั เครอื่ งมอื ระงบั ภยั จดั ระบบการศกึ ษาในเขตเทศบาลปอ งกนั และระวงั โรคตดิ ตอ

โครงสรา งของเทศบาล

เทศบาลแบงออกเปน 3 ระบบ คือ เทศบาลตําบล เทศบาลเมืองและเทศบาลนคร
แตละองคกรประกอบดวย สภาเทศบาล มาจากการเลือกตั้งของประชาชน (ทําหนาที่ฝาย

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 71

นิติบัญญัติ) สภาเทศบาลจะเลือกสมาชิกเปนคณะเทศมนตรี (ทําหนาที่ฝายบริหารของ 4บทที่
เทศบาล) ประกอบดว ยนายกเทศมนตรแี ละเทศมนตรี จาํ นวนสมาชกิ สภาเทศบาลและคณะ
เทศมนตรีจะแตกตางกันตามประเภทของเทศบาล คือ การเ ืมองการปกครอง

เทศบาลตาํ บล ประกอบดวย
สภาเทศบาล 12 คน คณะ
เทศมนตรี มี นายกเทศมนตรี 1 คน
เทศมนตรี 2 คน
เทศบาลเมอื ง ประกอบดว ยสภา
เทศบาล 18 คน คณะเทศมนตรี มี นายก
เทศมนตรี 1 คน เทศมนตรี 2 – 3 คน
เทศบาลนคร ประกอบดว ยสภา
เทศบาล 24 คน คณะเทศมนตรี มี นายก
เทศมนตรี 1 คน เทศมนตรีไมเ กิน 4 คน

โครงสรางของระเบยี บบรหิ ารราชการกรงุ เทพมหานคร

ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร เลือกต้ังผูวาราชการกรุงเทพมหานคร บริหาร
กจิ การในกรงุ เทพมหานคร มวี าระการดํารงตาํ แหนง 4 ป

ประชาชนเลือกต้ังสมาชิกกรุงเทพมหานคร (ฝายนติ บิ ัญญตั ิ) กําหนดใหประชาชน
ในแตล ะเขตปกครอง เลอื กสมาชกิ สภาเขต (ส.ก.) ไดเ ขตละ 1 คน ปจ จบุ นั กรงุ เทพมหานคร
มี 50 เขตปกครอง

ป ร ะ ช า ช น เ ลื อ ก ตั้ ง
สมาชกิ สภาเขต (ส.ข.) เปน ฝา ย
นิติบัญญัติของเขต (จํานวน
ส.ข. คาํ นวณตามเกณฑร าษฎร)
แตล ะเขตมี ส.ข. อยา งนอ ยเขต
ละ 7 คน เขตใดมีราษฎรเกิน
หนงึ่ แสนคน ใหมี ส.ข. ไดเพ่ิม
อีก 1 คน เศษของแสนถาเกิน
หาหม่ืนใหน ับเปน หนึ่งแสนคน

72 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม

กรุงเทพมหานคร

ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร สภากรุงเทพมหานคร
(ฝา ยบริหาร) วาระ 4 ป (ฝายนติ บิ ัญญตั )ิ วาระ 4ป

รองผวู า ราชการกรงุ เทพมหานคร
วาระ 4 ป
ประชาชน
เลอื กตงั้
ปลดั กรุงเทพมหานคร
4บทท่ี (มาจากการแตง ตัง้ )
สนง.เขต ผอู าํ นวยการเขต ผวู า ราชการกรุงเทพมหานคร
การเมอื งการปกครอง (ปลดั กทม. แตง ตั้ง) (ฝายบรหิ าร) วาระ 4ป

5. เมืองพัทยา
เมอื งพทั ยาเปน องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ รปู แบบพเิ ศษ จดั ตง้ั ขน้ึ ตามพระราช

บัญญัติระเบียบบรหิ าราชการเมอื งพทั ยา พ.ศ. 2521
สาเหตุท่ีมีการปรับปรุงการปกครองทองถ่ินเมืองพัทยาจากรูปแบบเดิม คือ

สุขาภิบาล นาเกลอื จังหวัดชลบุรี เปน เมืองทองเทยี่ วที่มีรายไดและเศรษฐกิจอยใู นระดับดี
จึงใชรูปแบบการจัดการเมือง ซึ่งเปนระบบนักบริหารมืออาชีพเพ่ือความคลองตัวในการ
บรหิ าร ตอ มามพี ระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการเมอื งพทั ยา พ.ศ. 2542 มาใชแทน
พระราชบัญญัตฉิ บบั เดิม

อํานาจหนาท่ีของเมืองพัทยา มีหนาที่ในการรักษาความสะอาดเรียบรอยวาง
ผงั เมอื งและควบคมุ การกอ สรา งจดั สง่ิ แวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติ จดั การจราจรควบคมุ
และสงเสริมการทอ งเทีย่ วจัดใหมีน้าํ สะอาดใชค วบคุมระเบียบตลาด ทา เทยี บเรือ ทจ่ี อดรถ

กิจกรรม

กิจกรรมที่ 22
ใหผ ูเ รยี นอธบิ ายบทบาทหนา ท่ีของเทศบาล มาพอเขาใจ

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 73

เรอื่ งท่ี 3 ความสัมพนั ธร ะหวางอํานาจนิตบิ ัญญัติ อาํ นาจบริหาร 4บทที่
และอาํ นาจตลุ าการ
การเ ืมองการปกครอง
ระบบการเมอื งการปกครองของไทยในปจจุบัน

ประเทศไทยเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยเ ปน ระบอบ
ประชาธปิ ไตย ตง้ั แตว นั ท่ี 24 มถิ นุ ายน 2475 เปน ตน มา นบั เปน การสน้ิ สดุ การปกครอง
ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยแ ละเรม่ิ ตน การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ระบบรฐั สภาอนั มี
พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ มรี ฐั ธรรมนญู เปน กฎหมายสงู สดุ รปู แบบของรฐั เปน รฐั เดย่ี ว
มอี าํ นาจอธปิ ไตยหรอื อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองรฐั เปน ของประชาชน พระมหากษตั รยิ ท รงใช
อาํ นาจอธปิ ไตยแทนปวงชน โดยทรงใชอ าํ นาจนติ บิ ญั ญตั ผิ า นทางรฐั สภา ทรงใชอ าํ นาจบรหิ าร
ผา นทางคณะรฐั มนตรแี ละทรงใชอ าํ นาจตลุ าการผา นทางศาล

โครงสรา งการเมืองการปกครองของไทย
แผนภมู แิ สดงโครงสรางการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรฐั สภา

รัฐธรรมนญู

พระมหากษตั ริย
(ทรงใชอํานาจอธปิ ไตยแทนปวงชน)

อํานาจอธปิ ไตย

นติ ิบัญญตั ิ บริหาร ตุลาการ
(รฐั สภา) (คณะรัฐมนตรี) (ศาล)

ส.ส. สมาชิกสภา ส.ว. นายก คณะรฐั มนตรี ศาลทหาร
ผูแ ทนราษฎร วุฒิสภา รฐั มนตรี (ไมเกนิ 35 ศาลปกครอง
(1 คน)
คน) ศาลยุตธิ รรม
ศาลรฐั ธรรมนญู

การเมอื งการปกครอง 74 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
อํานาจอธิปไตย หมายถึง อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศโดยรัฐธรรมนูญ

กาํ หนดใหเ ปน อาํ นาจของปวงชนชาวไทย ซง่ึ สอดคลอ งกบั หลกั การของระบอบประชาธปิ ไตย
ที่ถือวา ประชาชนเปนเจา ของประเทศ

ดังน้ัน อํานาจอธิปไตยจึงเปนเคร่ืองช้ีถึงความเปนประชาธิปไตยและความเปน
เอกราชของชาติ เพราะประเทศทม่ี เี อกราชและเปน อสิ ระไมอ ยภู ายใตก ารปกครองของรฐั อนื่
เทานน้ั จึงจะใชอ ํานาจอธปิ ไตยไดโ ดยสมบูรณ

อาํ นาจอธปิ ไตย แบง ออกเปน 3 อาํ นาจ ไดแ ก อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ (รฐั สภา) อาํ นาจ
บรหิ าร (คณะรฐั มนตร)ี และอาํ นาจตลุ าการ (ศาล) โดยรฐั ธรรมนญู บญั ญตั ใิ หพ ระมหากษตั รยิ 
เปน ผทู รงใชอ าํ นาจอธปิ ไตยทงั้ สามแทนปวงชนชาวไทย โดยผา นทางรฐั สภา คณะรฐั มนตรี
และศาลตามลาํ ดับ

4บทท่ี ท้ังน้ี สถาบันทงั้ สามดังกลา วตา งมีอาํ นาจเปนอสิ ระตอกนั แตม ีความสัมพันธซ ่ึง
กนั และกนั สามารถตรวจสอบและถว งดลุ การใชอ าํ นาจของอกี ฝา ยหนงึ่ ได อาํ นาจอธปิ ไตย
ท้ัง 3 มดี ังน้ี
1. อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ คอื อาํ นาจในการตรากฎหมายใชบ งั คบั แกพ ลเมอื งของประเทศ
โดยรฐั สภาเปน ผูทําหนา ทีท่ โี่ ดยตรง
พระมหากษัตริยจะทรงใชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา โดยทรงลง
พระปรมาภิไธยในรางพระราชบัญญัติที่ผานการพิจารณาจากรัฐสภาแลวเปนผลใหกฎหมาย
ฉบบั นนั้ มผี ลใชบ ังคบั โดยสมบูรณ
2. อํานาจบริหาร คือ อาํ นาจในการบงั คบั ใชก ฎหมาย บริหารและจัดการปกครอง
บานเมืองใหเปนระเบียบเรียบรอย เพ่ือใหเกิดความเจริญกาวหนาและความผาสุกของ
ประชาชน ผทู ําหนาที่ดา นบรหิ ารโดยตรง คือ รฐั บาลหรอื คณะรฐั มนตรี
พระมหากษตั รยิ จ ะทรงใชอ าํ นาจบรหิ ารผา นทางคณะรฐั มนตรี เชน ทรงลงพระ
ปรมาภไิ ธยแตง ตง้ั ขา ราชการระดบั สงู ใหป ฏบิ ตั หิ นา ท่ี เชน ปลดั กระทรวงและอธบิ ดกี รมตา งๆ
เปนตน
3. อาํ นาจตุลาการ คือ อาํ นาจในการพิจารณาพิพากษาคดีใหเปน ไปตามกฎหมาย
โดยศาลเปน ผใู ชอ าํ นาจหรอื ปฏบิ ตั หิ นา ทน่ี โ้ี ดยตรง พระมหากษตั รยิ จ ะทรงใชอ าํ นาจตลุ าการ
ผา นทางศาล เชน ทรงลงพระปรมาภิไธยแตง ตัง้ ประธานศาลฎีกาและผูพิพากษาใหปฏบิ ตั ิ
หนาท่ี เปน ตน

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 75

เรอื่ งท่ี 4 การมีสว นรวมทางการเมอื งการปกครองในระดบั ทอ งถิ่น 4บทที่
และระดบั ประเทศ
การเ ืมองการปกครอง
ในสงั คมประชาธปิ ไตย ถอื วา อาํ นาจอธปิ ไตย ซง่ึ เปน อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองรฐั
เปนของประชาชน ประชาชนจึงบทบาทในการมีสวนรวมกําหนดแนวทางการปกครองรัฐ
เพอ่ื ประโยชนแ กป วงชน สนองความตอ งการของปวงชน ฉะนนั้ การมสี ว นรว มทางการเมอื ง
การปกครองจึงเปนหัวใจของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

รปู แบบการมสี วนรวมทางการเมอื ง

การมีสวนรว มทางการเมอื งการปกครอง หมายถงึ การที่ประชาชนในฐานะเปน
เจาของประเทศมีสวนในการกําหนดนโยบายหรือกําหนดการตัดสินใจของรัฐบาลในการ
ดาํ เนนิ งานของรฐั เพ่อื ประโยชนแกป ระชาชน

การมสี ว นรว มทางการเมอื งการปกครองของไทยมีหลายรปู แบบ ไดแก
1. การแสดงความคิดเหน็ ของประชาชนผานสอ่ื ตา งๆ เชน หนงั สอื พิมพ วทิ ยุ
2. การจดั อภปิ รายทางการเมอื งเพอื่ หาขอ มลู หรอื ขอ สรปุ การลงคะแนนเสยี งเลอื ก
ตง้ั ตวั แทนระดบั ทอ งถน่ิ ระดบั จงั หวดั และระดบั ประเทศ การสมคั รเปน สมาชกิ พรรคการเมอื ง
3. การสมัครรับเลือกตง้ั เปน สมาชิกสภาทอ งถิน่ หรอื สมาชิกสภาผูแทนราษฎร
4. การชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ หรอื ปกปอ งสทิ ธบิ างอยาง
5. การเลอื กต้ัง ประเภทตางๆ เชน อบต. ส.ส. สจ. ฯลฯ

บทบาทหนา ท่ี ความรบั ผดิ ชอบของตนเองในฐานะพลเมอื งดขี องทอ งถน่ิ และ
ประเทศชาติ

การดาํ เนนิ ชวี ติ ตามวถิ ที างประชาธปิ ไตย เชน การเคารพความคดิ เหน็ ของกนั และกนั
ยอมรับความคิดเห็นของสมาชิกสวนใหญและแสดงความคิดเห็นที่สรางสรรค เพ่ือหาทาง
เลอื กทด่ี ที ส่ี ดุ ทจ่ี ะพฒั นาสงั คมใหเ จรญิ กา วหนา และอาํ นวยความผาสกุ ใหแ กส มาชกิ สว นใหญ
รวมทงั้ สมาชิกจะดาํ รงชีวติ อยูรว มกันอยา งสนั ติสขุ ถึงแมจะมคี วามขดั แยง กันกส็ ามารถหา
ขอ ยตุ ิไดด วยการใชเ หตผุ ลตดั สินใจกับปญ หาน้ันโดยไมม ีการใชก าํ ลงั เขา แกไขปญหา

ดงั น้นั ตวั เราจงึ ตองรบั รูบทบาทและหนาท่ขี องตนเองในฐานะพลเมอื งที่ดดี ังน้ี
1. มีความรักและภูมิใจในชุมชนทองถ่นิ ของตนเองดวยการชวยรักษาและพัฒนา
ชุมชนและทอ งถน่ิ ของตนใหม ีสภาพแวดลอ มทสี่ วยงาม สะอาด นา อยอู าศัย และไรมลพษิ
ตางๆ
2. เคารพและปฏบิ ตั ติ ามขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรมและระเบยี บขอ บงั คบั
กฎหมายของชมุ ชน รักษาสาธารณสมบตั ิของชุมชนไวใ หค งอยูและใชท รัพยากรของชมุ ชน
อยา งประหยดั เพือ่ ประโยชนรวมกัน

การเมอื งการปกครอง 76 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม

3. เสยี สละประโยชนส ว นตนเพอ่ื ประโยชนส ว นรวม เชน เสยี ภาษหี รอื คา ธรรมเนยี ม
ทกุ ชนดิ ทช่ี มุ ชนหรอื ประเทศชาตกิ าํ หนด เพอ่ื ชมุ ชน ประเทศชาตจิ ะไดน าํ เงนิ เหลา นน้ั ไปใช
บาํ รงุ รกั ษาและพฒั นาชมุ ชนใหเ จรญิ กา วหนา ตอ ไป

4. สนับสนุนนโยบายของทางราชการท่ีตองการรักษาและพัฒนาชุมชนใหเจริญ
กา วหนา รวมทง้ั รว มมอื กบั ทางราชการปอ งกนั มใิ หใ ครมาทาํ ลายสภาพแวดลอ มทด่ี ขี องชมุ ชน

คุณธรรมของการเปนพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยในระดับกลุมสังคม
ทองถิ่นและประเทศชาติ

1. การเห็นแกประโยชนสวนรวม เพราะสังคมประชาธิปไตยจะดํารงอยูได และ
สามารถพัฒนาใหมีความเจริญกาวหนาไดอยางมาก ถาสมาชิกในสังคมเห็นแกประโยชน

4บทท่ี สวนรวมและยอมเสียสละ ประโยชนส ว นตนเพ่ือประโยชนส วนรวมเสมอ
2. การรับฟงความคิดเห็นของกันและกัน และเคารพในมติของเสียงสวนมาก
สมาชิกในสงั คมประชาธปิ ไตยมักจะมีความคดิ เหน็ ในปญ หาตา งๆ ของสงั คมและแนวทาง
แกไ ขปญ หานน้ั แตกตา งกนั จงึ จาํ เปน ตอ งใชเ สยี งขา งมาก หาขอ ยตุ เิ กย่ี วกบั แนวทางในการ
แกไ ขปญ หานน้ั ๆ แตท ง้ั นเี้ สยี งสว นมากกจ็ ะตอ งเคารพความคดิ เหน็ ของเสยี งสว นนอ ย และ
จะตอ งไมถ อื วา เสยี งสว นนอ ยเปน ฝา ยผดิ จงึ จะทาํ ใหส งั คมประชาธปิ ไตยโดยดาํ รงอยไู ดอ ยา ง
สนั ติ
3. การมีระเบียบวนิ ัยและรบั ผิดชอบหนา ท่ี ถา สมาชิกในสังคมประชาธปิ ไตยโดย
ยดึ มนั่ ในระเบยี บวนิ ยั ควบคมุ ตนเองได ไมล ะเมดิ สทิ ธขิ องผอู นื่ และตงั้ ใจปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี อง
ตนใหดีท่ีสดุ เทาทจี่ ะดไี ด สงั คมประชาธปิ ไตยน้ันกจ็ ะมีแตความสงบสขุ และเจรญิ กา วหนา
4. ความซื่อสัตยสุจริต ถาสมาชิกในสังคมประชาธิปไตยทุกคนยึดม่ันในความ
ซื่อสัตยสุจริต เชน ไมลักทรัพย ไมเบียดเบียนทรัพยสินของผูอ่ืนมาเปนของตน หรือถา
ขา ราชการกป็ ฏบิ ตั หิ นา ทดี่ ว ยความซอื่ สตั ยส จุ รติ ไมเ หน็ แกอ ามสิ สนิ จา ง ไมท าํ การคอรปั ชนั่
สงั คมน้ันจะมสี นั ตสิ ขุ และเจริญกาวหนา ขึ้นเรอื่ ยๆ


รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 77

กิจกรรม

กจิ กรรมท่ี 23 4บทที่
ใหผ เู รยี นบอกบทบาทและหนา ทข่ี องชนชาวไทยตามทร่ี ฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2540 กาํ หนดไว
3 ขอ คอื
1. ...................................................................................................................
2. ...................................................................................................................
3. ...................................................................................................................
ใหผ เู รยี นบอกคณุ ธรรมของการเปน พลเมอื งทด่ี ใี นสงั คมประชาธปิ ไตยมา 3 ขอ คอื
1. ...................................................................................................................
2. ...................................................................................................................
3. ...................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 24 การเ ืมองการปกครอง
ใหผเู รียนยกตัวอยางกิจกรรมท่ตี นเขาไปมีสวนรวมในชุมชนแลวนํามาแลกเปล่ยี น

เรยี นรใู นกลมุ ผเู รยี นและรว มกนั วเิ คราะหว า กจิ กรรมทผ่ี เู รยี นเขา ไปมสี ว นรว มในชมุ ชน เนน
กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั การเมอื งการปกครองหรอื ไม เพราะเหตใุ ด

กจิ กรรมท่ี 25 จงเลอื กคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ งทส่ี ดุ เพยี งคาํ ตอบเดยี ว
1. ขอ ใดเปน หนว ยงานยอ ยทส่ี ดุ ตามระเบยี บการบรหิ ารราชการสว นกลาง
ก. ทบวง ข. กอง
ค. กรม ง. ฝา ย
2. ใครเปน ผมู หี นา ทบ่ี รหิ ารกจิ การเมอื งพทั ยา
ก. ปลดั เมอื งพทั ยา ข. สภาเมอื งพทั ยา
ค. นายกเมอื งพทั ยา ง. ปลดั กระทรวงมหาดไทย
3. ประเทศไทยมีการปกครองระบอบใด
ก. สงั คมนยิ ม ข. เผด็จการ
ค. ประชาธิปไตย ง. สาธารณรฐั
4. อาํ นาจอธิปไตยเปน ของปวงชนชาวไทย หมายถงึ ขอใด
ก. ชนชั้นสูงมอี ํานาจในการปกครอง
ข. ประชาชนท่มี ีการศึกษาชว ยกันปกครอง
ค. ประชาชนทกุ คนมีสวนรว มในการปกครอง
ง. อาํ นาจในการปกครองอยูท่ีบคุ คลท่มี ีความรู
5. การใชอาํ นาจในการปกครองประเทศไทยอยภู ายใตก รอบที่กําหนดไวข องสิ่งใด
ก. กฎหมาย ข. รัฐธรรมนูญ
ค. ความตองการของรฐั ง. ความตอ งการของประชาชน

แนวเฉลย 78 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม

แนวเฉลย

กิจกรรมท่ี 1
ลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทยมีอิทธิพลตอความเปนอยูของคนไทยในเรื่อง

ตางๆ ดังนี้
1. การประกอบอาชพี คนไทยท่ีอาศยั อยูแถบชายฝงทะเล เชน จังหวัดในภาคใต

และภาคตะวันออก สว นใหญจ ะประกอบอาชพี การทําประมง ที่อาศัยแถบทร่ี าบลุมนํา้ เชน
จงั หวดั ในภาคกลางจะประกอบอาชพี เกษตรกรรม เพราะมคี วามอดุ มสมบรู ณ สว นประชาชน
ทอี่ าศยั อยใู นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ซงึ่ พน้ื ทส่ี ว นใหญเ ปน แอง ลาดเอยี ง เปน ภเู ขาดนิ สว น
ใหญเปนดินทรายไมอุมนํ้า ทําใหมีน้ําไมเพียงพอในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทําให
สว นหน่ึงตอ งอพยพไปประกอบอาชีพท่ีอนื่ ๆ

2. ดา นโภชนาการ ภมู ปิ ระเทศทางภาคใต มคี วามอดุ มสมบรู ณด ว ยอาหารทะเลและ
ผักผลไมในขณะที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือขาดแคลนอาหารทะเลจึงทําใหคนทางภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือมโี อกาสเปน โรคทพุ โภชนาการมากกวา ฯลฯ

แนวเฉลย 2

กจิ กรรมท่ี 2 เปนกจิ กรรมเฉพาะพน้ื ท่ี ผูเรียนศึกษาเอกสารประกอบการอธิบาย
กิจกรรมท่ี 3 ใชแนวคาํ ตอบจากหนังสือเรยี น เร่ืองท่ี 1
กจิ กรรมที่ 4

- จงั หวัดในภาคเหนอื มี 9 จังหวดั คอื เชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน ลาํ พนู
ลาํ ปาง แพร นา น อุตรดิตถ และพะเยา

- จงั หวัดในภาคใต มี 14 จังหวดั คอื ชมุ พร พทั ลงุ สรุ าษฎรธานี นครศรีธรรมราช
สงขลา ปต ตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง พงั งา กระบี่ ภเู กต็ ตรัง และสตูล

- จังหวดั ในภาคกลางมี 22 จงั หวดั คอื สุโขทยั พิจติ ร พษิ ณโุ ลก กําแพงเพชร
เพชรบูรณ นครสวรรค อุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี อางทอง สระบุรี สุพรรณบุรี
พระนครศรอี ยธุ ยา ปทมุ ธานี นนทบรุ ี นครปฐม กรงุ เทพมหานคร สมทุ รปราการ สมทุ รสาคร
สมุทรสงคราม และนครนายก
กจิ กรรมที่ 5

กรณีที่ไมไ ดระบุทิศไวในแผนท่ี โดยปกติ ทศิ เหนือจะอยดู านบนทิศใตอ ยดู านลา ง
ของแผนท่ี สวนทิศตะวันออกจะอยูทางซายมือและทิศตะวันตกจะอยูขวามือของผูอาน
แผนท่ี
กิจกรรมท่ี 6 ใชขอมลู ในหนังสือเรยี นเรื่องท่ี 3 ประกอบ
กจิ กรรมท่ี 7

1. ก 2. ค 3. ง 4. ข 5. ก

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค11001) <<ระดับประถมศกึ ษา>> 79 แนวเฉลย
กิจกรรมท่ี 8

8.1 ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึงส่งิ ตา งๆ ทีเ่ กิดข้ึนเองตามธรรมชาตแิ ละมนุษย
สามารถนํามาใชใหเกดิ ประโยชนตอการดาํ รงชวี ิต เชน น้ํา อากาศ ดนิ ฯลฯ

8.2 วิธีการอนรุ ักษท รพั ยากร ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม
1. การทาํ แนวปะการังเทยี ม เพอ่ื ใหเปน แหลง อาหารใหมข องปะการัง
2. การปลกู พชื คลมุ ดิน เพอ่ื ลดการพังทลายของดนิ เชน หญาแฝก
3. การคดั แยกขยะ นาํ ขยะอินทรยี ไปทาํ ปุย นํากระดาษแกว พลาสตกิ กลับไป

ใชอ ีก ฯลฯ
8.3 ใชขอ มูลในหนงั สอื เรียนเร่อื งท่ี 4 ประกอบการอภปิ ราย
8.4 ประเทศไทยประสบภาวะวกิ ฤติการณทรพั ยากรธรรมชาติดงั นี้
1. ปาไมตน น้าํ ลําธารถูกทําลายสง ผลใหเ กิดน้ําทว มเพราะไมม ีปาไมดูดซับน้ํา
2. การถมแหลงระบายน้ําตามธรรมชาติ เพ่ือการกอสรางทําใหเกิดน้ําทวมขัง

เวลาฝนตกหนักเพราะไมท างระบายนา้ํ
3. น้ําเนาเสยี เพราะเกดิ การระบายสงิ่ ปฏิกลู ลงแหลง น้ําในแมน าํ้ ลาํ คลอง สง ผล

ใหสตั วนํา้ ตาย
8.5 ตวั อยา งความสญู เสยี ที่เกดิ จากการไมอนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาติ
1. การถางปาทําไรเลอ่ื นลอย ทําใหด นิ เสีย สญู เสยี พ้นื ทปี่ าสง ผลใหเกิดภาวะ

โลกรอน
2. การจบั ปลาสตั วน าํ้ อยา งผดิ วธิ ี ทาํ ใหป รมิ าณสตั วน าํ้ ลดลงสง ผลใหข าดแคลน

พนั ธสุ ตั วนาํ้ อาหารสําคญั
3. การใชผลิตภัณฑพ ลาสตกิ โฟมมากขน้ึ ทาํ ใหก ารทาํ ลายขยะทาํ ยาก สง ผล

ใหสิ่งแวดลอ มเปนพษิ เพิ่มขึน้
กิจกรรมท่ี 9 -
กจิ กรรมที่ 10

10.1 มหี ลกั ฐานเกย่ี วกบั ความเปน มาของชนชาตไิ ทยซง่ึ เชอ่ื วา มาจากทางตอนใตข อง
ประเทศจนี เพราะมหี ลกั ฐานจากบนั ทกึ ของจนี กลา วถงึ คนไทยสมยั แรกๆ เมอ่ื 2,000 ปแ ลว
และในแจจุบันพบวาคนไทยอยูท่ีแควนสิบสองปนนามีการใชภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย
ยงั คงหลงเหลืออยู

10.2 ศกึ ษาจากหนงั สือเรียน เรอ่ื งท่ี 2 ประวัติความเปน มาของชาตไิ ทย มีแนวคดิ
ความเชอื่ อยู 4 ประเดน็
กิจกรรมที่ 11

11.1 เพราะความแตกแยกของเมอื งตา งๆ เนอ่ื งจากหลงั จากสมยั พอ ขนุ รามคาํ แหง
มหาราช อาํ นาจจากศนู ยก ลางปราศจากความเขม แขง็ บา นเมอื งออ นแอลง บา นพเี่ มอื งนอ ง
ตางแยกกนั เปน อิสระในการปกครองตนเอง ไมข ึ้นแกก นั

แนวเฉลย 80 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
11.2 คือหลกั ฐานในศิลาจารึก ปรากฏขอความในศิลาหลกั ที่ 3 ซึง่ เปน ศลิ าจารกึ

นครชมุ จังหวดั กาํ แพงเพชร เปนตน
กจิ กรรมที่ 12

12.1 ลกั ษณะเดน ของการสรา งกรงุ ศรีอยธุ ยาเปน เมอื งหลวง คอื มีสภาพเปน เกาะ
มีแมน้ําลอ มรอบ 3 สาย คือ แมน ํา้ ลพบรุ ี ทางทิศเหนือ แมน้าํ เจาพระยาทางทิศตะวันตก
และแมน ํ้าปา สักทางทศิ ตะวันออก

12.2 สาเหตสุ าํ คญั คอื คนไทยออ นแอ แตกความสามคั คี และประเทศพมา มคี วาม
เขมแขง็ ตองการขยายอาณาเขต
กจิ กรรมท่ี 13

คอื พระเจา ตากสนิ มหาราชทรงรวบรวมคนไทยซงึ่ แตกเปน กก เปน เหลา เปน ชมุ นมุ
ตา งๆ ใหม ารวมเปนอาณาจกั รเดยี วกันได
กจิ กรรมที่ 14

14.1 ในสมัยรัชกาลท่ี 2 ของราชวงศจักรี มีความเจริญสูงสุดดานศาสนา ศิลป
วฒั นธรรม มกี ารสรา งวดั เกดิ สถาปต ยกรรมในพระพทุ ธศาสนามวี รรณกรรมเกดิ ขน้ึ มากมาย
จนกลาววาเปนยุคทองทางวรรณกรรม เชน รามเกยี รติ์

14.2 ในสมยั รชั กาลที่ 5 การปฏิรูปการปกครองทสี่ าํ คญั คอื การเลกิ ทาส แลกการ
ต้งั กระทรวงตา งๆ แทนระบบเวียง วงั คลัง นา ทเ่ี ปน ระบบเกา
กจิ กรรมท่ี 15

ตวั อยา งผผู ลติ เชน จา ของไรอ อ ย เจา ของยาสฟี น วเิ ศษนยิ ม เจา ของรา นซกั รดี ฯลฯ
ตวั อยางผูบริโภค เชน หยกไปซ้อื ผกั แดงไปรา นถายรปู สมชายไปผากเงินที่
ธนาคาร ฯลฯ
กิจกรรมที่ 16
ตวั อยา งผลกระทบทเี่ กดิ จากกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ตอ การประกอบอาชพี ของคนใน
ชุมชนที่ตนอยู เชน
1) การขน้ึ ราคานํา้ มนั พชื สง ผลใหตน ทนุ การผลิตสูงขึน้ ทําใหสนิ คา มีราคาสงู ขนึ้
2) การเปด หรอื เกดิ หางสรรพสินคา หรือรานสะดวกซื้อทาํ ใหร า นคา ยอ ยในชมุ ชนมี
ยอดขายลดลง
กิจกรรมที่ 17
ใชขอมลู ในหนงั สอื เรียนเรื่องท่ี 2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจประกอบการตอบคาํ ถาม
ดังนี้
1. ความจาํ เปน พิจารณาวา สินคา ชนดิ นัน้ มีความจาํ เปน หรือไม
2. คณุ ภาพ โดยเลอื กสินคาท่มี คี ุณภาพดเี หมาะสมกบั ราคาและปริมาณ
3. ราคา โดยเฉพาะสินคาชนิดเดยี วกนั คณุ ภาพและปริมาณเทา กนั ดงั นัน้ ราคาจึง
เปนหลักเกณฑใ นการพิจารณาสนิ คาดวย

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศึกษา>> 81 แนวเฉลย
กจิ กรรมท่ี 18

1. ราคาของสนิ คาจะเหมาะสม
2. คุณภาพของสินคา จะดี เพราะไมม ีการปลอมปน
3. ผผู ลติ สามารถวางแผนการผลติ ไดตรงตามความตอ งการผูบ ริโภค ฯลฯ
กิจกรรมที่ 19-21 อภปิ รายโดยใชขอมลู จากหนงั สือเรียนบทท่ี 3 เร่ืองท่ี 4 ประกอบ
กิจกรรมท่ี 22
เทศบาลเปนองคกรในระดับทองถ่ินแบงเปน 3 ประเภท คอื เทศบาลตําบล เทศบาล
เมือง และเทศบาลนคร มอี าํ นาจหนาท่ี ในการดูแลความสงบเรยี บรอยของประชาชน ตง้ั แต
การทําความสะอาดถนน ปอ งกันภัย จัดระบบการศกึ ษา และระวงั เรือ่ งโรคตดิ ตอ เปน ตน
กิจกรรมท่ี 23
คณุ ธรรมของการเปน พลเมืองดีในสงั คมประชาธิปไตยทส่ี ําคญั คอื
1. การไปใชส ิทธเิ ลอื กตง้ั ผแู ทนในระดับตางๆ เพอื่ ใหไปทาํ หนาที่แทนทกุ ครั้ง
2. การใชสิทธเิ สรภี าพที่ไมลว งละเมดิ สิทธเิ สรีภาพของผูอ ่ืน
3. การปฏิบตั ติ นตามกฎหมายอยางเครงครัด ทีส่ ําคัญๆ คือ การเสียภาษี การรับ
ราชการทหาร การปฏิบตั ติ ามกฎหมายจราจร
กจิ กรรมที่ 24 ศกึ ษาหนังสือเรียนบทท่ี 4 เรือ่ งท่ี 4 ประกอบการทํากจิ กรรม
กิจกรรมท่ี 25
1. ง 2. ค 3. ค 4. ค 5. ข



82 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม

บรรณานุกรม

การศกึ ษานอกโรงเรยี น. กรม. ชดุ วชิ าการศกึ ษานอกโรงเรยี น หมวดวชิ าพฒั นาสงั คมและชมุ ชน
ระดับประถมศกึ ษา หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544.

กลุ ธดิ า รตั นโกศล. พฒั นาสงั คมและชมุ ชน ระดบั ประถมศกึ ษา สาํ นกั พมิ พล องไลฟ เอด็ จาํ กดั 2550.
ชศู ักดิ์ จรญู สวสั ดิ์ 2545 เศรษฐศาสตรเ พ่อื ชวี ติ , กรุงเทพมหานคร. โอเดียนสโตร
ทวี ทองสวางและคณะ 2525 ภูมศิ าสตรกายภาพ กรงุ เทพมหานคร. โอเดยี นสโตร
นชิ า แกว พานชิ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชว งชน้ั ท่ี 2 สาํ นกั พมิ พเ ดอะบคุ ส จาํ กดั 2547.
รศ.ดร.ทวี ทวีวาร และคณะ หมวดวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หนังสือเรียน

ชดุ การศกึ ษานอกโรงเรยี น (กศน.) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สตู รการศกึ ษา
ขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544.
จรนิ ทร เทศวานิช 2531 หลักเศรษฐศาสตรเ บ้อื งตน กรุงเทพมหานคร โอเดยี นสโตร
คณะอาจารย กศน. คมู อื การเรียนรู สาระการเรียนรูห มวดวิชาพัฒนาสังคมและชุมชน
บริษัท ไผม เี ดยี เซ็นเตอร จํากดั 2548.
รุจิเรข ขลั หารชนุ และคณะ. หนงั สือเรยี นชดุ การศกึ ษานอกโรงเรยี น (กศน.) หมวดวิชาพฒั นา
สังคมและชุมชน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2544 สาํ นักพมิ พป ระสานมิตร จํากัด
มานิต กติ ตจิ งู กติ และคณะ. สาระการเรียนรู พัฒนาสงั คมและชุมชน ตามหลักสูตรการศึกษา
นอกโรงเรียน ระดับประถมศึกษา 2547.
http://earthquake.usgs.gov/
http://www.thaigoodview.com
http://www.vcharkarn,com/varticle/33610
http://www.bloggang.com
http://www.thaipr.net
http://www.thai.cri.cn
http://www.thaigoodview.com
http://th.wikipedia.org
http://rirs3.royin.go.th/dictionvary,asp
http://www.thaigoodview.com/node/76621
http://www.mwit.ac.th

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค11001) <<ระดบั ประถมศกึ ษา>> 83

คณะผจู ัดทาํ

ท่ีปรกึ ษา บุญเรือง เลขาธกิ าร กศน.
อิม่ สุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
1. นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชยั ยศ แกว ไทรฮะ ท่ปี รึกษาดา นการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
3. นายวชั รินทร ตณั ฑวุฑโฒ ผอู าํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. ดร.ทองอยู
5. นางรกั ขณา

ผเู ขยี นและเรียบเรียง

1. นางสาวสดุ ใจ บุตรอากาศ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
2. นางสาวพมิ พาพร อนิ ทจักร สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
3. นางดษุ ณี เหลยี่ มพนั ธุ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ คณะ ูผจัดทํา
4. นางดวงทพิ ย แกวประเสรฐิ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
5. นายนพิ นธ ณ จนั ตา สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
6. นางอบุ ลรัตน มโี ชค สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
7. นางกรรณกิ าร ยศต้อื สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
8. นางณชิ ากร เมตาภรณ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื

ผูบรรณาธิการและพฒั นาปรบั ปรงุ

1. นางพรทิพย เข็มทอง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางสาวพมิ พาพร อินทจกั ร สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
3. นางสาวสรุ ัตนา บรู ณะวทิ ย สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก
4. นางสาวสุปรีดา แหลมหลัก สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
5. นางสาวสาลินี สมทบเจริญกุล สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
6. นายอุดมศักดิ์ วรรณทวี สํานักงาน กศน. อ.โขงเจียม
7. นายเรืองเวช แสงรตั นา สาํ นักงาน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
8. นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื ขา ราชการบํานาญ
9. นางธัญญาวดี เหลา พาณิชย ขา ราชการบํานาญ
10.นางพรทพิ ย เขม็ ทอง กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
11.นางสาววรรณพร ปท มานนท กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
12.นายเรอื งเดช แสงวัฒนา สถาบนั กศน. ภาคตะวนั นออกเฉยี งเหนอื
13. นางมยุรี สวุ รรณาเจริญ สถาบนั กศน. ภาคใต
14.นางสาววาสนา บรู ณาวทิ ย สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก

84 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม

15. นางสาววาสนา โกลียวัฒนา สถาบนั การศึกษาทางไกล
16. นางธญั ญาวดี เหลา พาณชิ ย ขา ราชการบํานาญ
17. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน

คณะทํางาน ม่ันมะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ ปทมานนท กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นายศุภโชค กลุ ประดษิ ฐ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร เหลืองจติ วฒั นา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวศริญญา
5. นางสาวเพชรนิ ทร

ผพู ิมพตน ฉบับ

คณะผูจดั ทาํ 1. นางปยวดี คะเนสม กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นางเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ พิ ัฒน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวชาลนี ี ธรรมธิษา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวอรศิ รา บา นชี กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ผูออกแบบปก

นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น


Click to View FlipBook Version