แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รีย น รู้
20204 -2108
วิ ช า ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม เ ชิ ง วั ต ถุ เ บื อ ง ต้ น
ครูผู้สอน นายพงศธร เคนสีแก้ว
วิ ท ย า ลั ย ส า ร พั ด ช่า ง กํา แ พ ง เ พ ช ร
คําอธิบายรายวชิ า
รหสั 20204 - 2108 วชิ า การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถเุ บือ้ งตน
หนว ยกติ 2-2-3 เวลาเรียนตอ ภาค 72 ชัวโมง
จดุ ประสงครายวชิ า
1. มีความรูความเขาใจเกยี วกับหลกั การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. วิเคราะหแ ละเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
3. สรางชดุ คาํ สงั ตามขนั ตอนการแกปญ หา (Algorithm)
4. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคานยิ มทีด ีในการใชค อมพวิ เตอร
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเกีย วกับหลักการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. เขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดในงานธุรกจิ
คําอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาภาคทฤษฎคี วบคกู ับการปฏิบัตเิ กยี วกับหลักการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
องคประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร ขนั ตอนการแกไขปญหา (Algorithm) กระบวนการ
เขยี นโปรแกรมคําสัง ควบคุมการทํางานของโปรแกรม การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดที
สามารถใชไ ดในระบบปฏิบตั กิ ารทีหลากหลาย
กําหนดการสอนทบี ูรณาการคณุ ธรรม จริยธรรม
คานิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
วิชา 20204 - 2108 การเขยี นโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องตน 4 ชวั โมงต่อ
สปั ดาห์
หนว ชือ หนวย/สาระสาํ คญั สัปดา ชัวโมง จดุ ประสงคก ารเรียนรู คณุ ธรรม
ย หท ี ที จริยธรรม คา นยิ ม
ที และคณุ ลักษณะ
อนั พงึ ประสงค
- ปฐมนิเทศ 1.บอกจุดประสงคร ายวชิ า
1.จุดประสงครายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคําอธิบาย
รายวชิ าตามหลักสตู รฯ ได
สมรรถนะรายวชิ าและ 2.บอกแนวทางวดั ผลและการ
คาํ อธบิ ายรายวชิ า ประเมนิ ผลการเรยี นรูได
2. แนวทางวดั ผลและการ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู ความมีมนุษย
1 การเขียนโปรแกรม 1 1-4 สัมพันธ
เชิงวัตถุเบ้ืองตน
1. อธบิ ายความรเู กียวกับการเขียน ความมวี นิ ยั
1. ความรเู กยี วกับการเขียน โปรแกรมได ความรับผดิ ชอบ
โปรแกรมคอมพิวเตอร 2. บอกหลกั การพฒั นาการเขียน ความเชอื มนั ใน
2. หลกั การพฒั นาการเขยี น โปรแกรมได ตนเอง
โปรแกรม
2 องคประกอบของโปรแกรม 2 5-8 ความสนใจใฝร ู
ภาษาคอมพวิ เตอร 1. อธิบายระดบั ของ ความรกั สามัคคี
1. ระดบั ของภาษาคอมพวิ เตอร ภาษาคอมพวิ เตอรไ ด ความกตญั ูกตเวที
2. โครงสรางของขอมูล 2. อธิบายโครงสรา งของขอมูลได
3 ขันตอนการแกปญ หา 3 9-12
1. ขันตอนการเขยี นโปรแกรม 1. บอกขนั ตอนการแกป ญหาได
คอมพิวเตอร 2. แสดงความรูเ กีย วกับการทํางาน
2. ความรูเบืองตนเกียวกับ ดวยอลั กอริทมึ ได
อัลกอริทมึ 3. แสดงความรเู กยี วกบั การใชร หัส
3. รหัสเทียม (Pseudo code) 4 13- เทียมในการทํางานได
16 4. เขยี นผงั งานได
4. การเขียนผังงาน
หนว ชอ่ื หนวย/สาระสําคัญ สปั ดา ช่ัวโมง จดุ ประสงคการเรียนรู คณุ ธรรม
ย หท ี่ ที่
ท่ี จริยธรรม คา นิยม
และคุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค
4. การเขยี นผงั งาน (ตอ) 5 17- 5. เขยี นแผนภูมิโครงสรางได
20
5. แผนภมู ิโครงสรา ง
(Structure chart)
4 ภาษาจาวา 6 21-
24 1. อธบิ ายความรูเบ้ืองตน เกี่ยวกับ
1. ความรเู บอื้ งตนเกย่ี วกับ
Java Java ได
2. การทํางานของภาษา Java 2. อธบิ ายการทํางานของภาษา
Java ได
3. เครือ่ งมือสําหรบั เขยี น 7 25- 3. สามารถเลอื กใชเครื่องมือในการ
28 เขยี นโปรแกรม Java ได
โปรแกรม Java
4. ข้นั ตอนการเขียนโปรแกรม 4. อธิบายข้นั ตอนการเขยี น
Java โปรแกรม Java ได
4. ขัน้ ตอนการเขียนโปรแกรม 8 29-
32
Java (ตอ )
5 กระบวนการเขียนโปรแกรม 10 37-
40 1. ประกาศ class attribute และ
คาํ ส่งั ควบคมุ
1. 1. การประกาศ class method ได
2. ใชง านคําสงั่ การแสดงผลและการ ความมีมนุษย
attribute และ สมั พันธ
method รับขอมูลได
3. ใชงานคําส่งั ควบคุมทศิ ทางการ ความมีวินัย
ความรบั ผดิ ชอบ
ทาํ งานของโปรแกรมได
ความเชอ่ื มัน่ ใน
2. การแสดงผลและการรับ 11 41- 1. ประกาศ class attribute และ ตนเอง
ขอ มูล 12 44 method ได ความสนใจใฝรู
13 45- 2. ใชงานคาํ สั่งการแสดงผลและการ ความรักสามัคคี
3. คาํ สง่ั ควบคมุ ทิศทางการ 48 รับขอ มูลได
ทํางานของโปรแกรม 49- 3. ใชง านคําส่ังควบคุมทิศทางการ ความกตัญูกตเวที
3. คําส่งั ควบคมุ ทิศทางการ 52 ทาํ งานของโปรแกรมได
ทาํ งานของโปรแกรม (ตอ)
6 การทํางานของโปรแกรม 14 53- 1. อธบิ าย และใช Method ได
56 2. อธบิ าย และใช Constructor ได
1. Method
หนว ช่อื หนวย/สาระสาํ คัญ สัปดา ชัว่ โมง จดุ ประสงคก ารเรยี นรู คุณธรรม
ย หท่ี ที่
ที่ จริยธรรม คา นิยม
และคุณลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค
2. Constructor 15 57- 3. อธิบาย และใช Exception ได
60
3. Exception 16 61-
64
7 การเขยี นโปรแกรมบน 17 65- 1. อธบิ ายความเหมาะสมของภาษา ความมมี นุษย
68 Java ในการเขียนโปรแกรมบน สมั พันธ
มาตรฐานเปด ทสี่ ามารถใชไ ด ความมวี ินัย
ในระบบปฏิบัติการท่ี มาตรฐานเปด ได
2. สามารถใชห ลกั ปฏบิ ัตใิ นการ ความรบั ผดิ ชอบ
หลากหลาย เขยี นโปรแกรมภาษา Java ไดอยาง ความเชอื่ ม่นั ใน
1. ภาษา Java กับการเขียน ตนเอง
ความสนใจใฝร ู
โปรแกรมบนมาตรฐานเปด เหมาะสม ความรกั สามัคคี
2. หลักปฏิบตั ใิ นการเขยี น
โปรแกรมภาษา Java ความกตญั ูกตเวที
สอบปลายภาค 18 --
แผนการสอนแบบบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
วชิ า การเขยี นโปรแกรมเชิงวัตถเุ บอ้ื งตน รหสั วชิ า 20204 - 2108
หนวยกิต (ชัว โมง) 2(3) เวลาเรยี นตอ ภาค 72 ชัวโมง
หนว ยการเรียนรูที 1 การเขยี นโปรแกรมเชิงวัตถเุ บ้อื งตน
เรือ ง เรอื ง การเขยี นโปรแกรมเชงิ วตั ถุเบื้องตน เวลาเรียน 4 ชัวโมง
สาระสาํ คัญ
ยูนกิ ซเปน ระบบปฏบิ ตั กิ ารประเภทหนึง ทีเปนเทคโนโลยีแบบเปด (open system) ซีงเปน
แนวคิดทีผ ูใชไมต อ งผกู ติดกับระบบใดระบบหนึง หรืออปุ กรณย ีหอ เดยี วกนั นอกจากนียนู กิ ซยังถูก
ออกแบบมาเพอื ตอบสนองการใชงานในลักษณะใหมีผใู ชไ ดห ลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกวา มัลติ
ยสู เซอร (multi-users) และสามารถทํางานไดหลายๆ งานในเวลาเดยี วกนั ในลักษณะทเี รียกวา
มลั ติทาสกงิ (multi-tasking)
ในสมยั กอ นผทู ีพัฒนาระบบปฏบิ ัตกิ ารคอื บริษัททผี ลิตคอมพิวเตอร ดงั นนั ระบบปฏบิ ตั กิ าร
จึงถูกออกแบบใหส ามารถใชไดเ ฉพาะกับเครือ งของบรษิ ทั เทานัน เรียกระบบปฏิบัตกิ ารประเภทนี
วา ระบบปฏิบตั กิ ารแบบปด (Proprietary operating system) ซงึ แมแตในปจ จบุ ันนีเครอื งระดบั
เมนเฟรมผขู ายก็ยงั คงเปน ผูกําหนดความสามารถของระบบปฏบิ ตั ิการของเครืองทขี ายอยู อยางไร
ก็ดี ปจ จบุ นั นีเ ริม มีแนวโนมทจี ะทาํ ใหระบบปฏิบัติการสามารถนาํ ไปใชงานบนเครืองตา งๆ กันได
(Portable operating system) เชน ระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู กิ ซ (UNIX) เปนตน
จดุ ประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความรูเกียวกบั การเขยี นโปรแกรมได
2. บอกหลักการพัฒนาการเขยี นโปรแกรมได
3. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคของผูส ําเรจ็
การศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทีครสู ามารถสงั เกตไดข ณะทาํ การสอนใน
เรอื ง
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. เขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดในงานธุรกจิ
เน้ือหาสาระ
1. ความรูเกี่ยวกบั การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร
2. หลกั การพฒั นาการเขียนโปรแกรม
ขน้ั นาํ เขา สบู ทเรียน
ครสู นทนากับผูเรียนเพือ่ ใหเห็นความสาํ คญั ของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร วา สามารถ
นาํ ไปประยุกตใ ชในการเรียน และการประกอบอาชีพไดม ากมาย
ครูแนะนาํ ใหผ ูเรยี นมีการวางแผนเรยี นวิชาการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
ผูเ รยี นทําแบบประเมินผลการเรียนรูก อ นเรยี น แลวสลบั กนั ตรวจเพ่อื เกบ็ คะแนนสะสมไว
ข้นั สอน
ครูใชเ ทคนคิ วิธสี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) ดว ยการเลาอธบิ ายแสดงสาธิตให
ผเู รียนเปน ผฟู งและเปดโอกาสใหผเู รยี นซักถามปญ หาไดในตอนทายของการบรรยายความหมาย
ของ Open-source software หรอื ซอฟตแวรบ นมาตรฐานเปด คือ ซอฟตแ วรคอมพวิ เตอรซ ึ่ง
เจาของลิขสิทธิ์อนุญาตใหมีการศกึ ษา แจกจาย และเปล่ยี นแปลง source code ของซอฟตแวร
ใหกบั สาธารณะ และมีขอดีคือมีคา ใชจ า ยที่ตา่ํ เมอ่ื เทียบกับซอฟตแวรท มี่ ีลขิ สทิ ธม์ิ ี source code
ทเ่ี ปด เผย ทาํ ใหม ่ันใจไดว าไมมีอะไรแอบแฝงอยูภายในซอฟตแ วรสามารถปรับใชใหตรงกับความ
ตองการของผใู ชง านไดงาย ซง่ึ ในการเปลีย่ นแปลงคุณสมบัตขิ อง open source software นั้น
จาํ เปน จะตอ งใชค วามรูในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเ ขา มาชว ย เนอ้ื หาในสวนนจ้ี ะเปน การ
อธิบาย
หลักเบอ้ื งตนในการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรซอฟตแ วรบ นมาตรฐานเปดโดยสวนมากนน้ั จะถกู
พฒั นาข้ึนจากความรวมมือกนั ของผูใชง าน
ครใู ชเทคนิควธิ ีสอนแบบใชโสตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction
Method) เปน วิธีสอนทีน่ ําอปุ กรณโ สตทัศนว ัสดุมาชวยพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอน โสตทัศน
วัสดดุ งั กลา ว ไดแ ก Power Point
เพ่อื ประกอบการอธิบายเร่ืองโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยมีเนอื้ หาครอบคลุมความหมายและ
ประเภทของโปรแกรมคอมพวิ เตอร
ผูเรียนบอกหลักการพัฒนาการเขยี นโปรแกรมที่ดี และวิเคราะหถ งึ เหตผุ ล และความ
จําเปนในการนําหลักการตางๆ มาพฒั นาการเขยี นโปรแกรม
ผเู รียนวิเคราะหวา ข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรมขน้ั ใดเปน ขั้นตอนที่สาํ คัญท่ีสุด พรอ มบอก
เหตผุ ล
ผูเรยี นคนควาขอมูลเพ่ิมเตมิ เก่ียวกบั Open source software พรอ มท้ังยกตัวอยา ง
ซอฟตแวร
ครใู ชเ ทคนดิ วธิ ีการจัดการเรยี นรแู บบรว มมือ (Cooperative Learning) หมายถึงกระบวน
การเรียนรูท ่ีจัดใหผเู รียนไดร ว มมือและชว ยเหลือกันในการเรยี นรโู ดยแบง กลุมผเู รยี นทมี่ ี
ความสามารถตา งกนั ออกเปน กลุม เล็ก ซงึ่ เปน ลกั ษณะการรวมกลมุ อยางมีโครงสรางที่ชดั เจน มี
การทํางานรวมกัน มกี ารแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นมีการชวยเหลอื พง่ึ พาอาศัยซ่งึ กนั และกนั มคี วาม
รับผิดชอบรวมกันทงั้ ในสว นตนและสว นรวมเพอ่ื ใหตนเองและสมาชกิ ทุกคนในกลมุ ประสบ
ความสาํ เรจ็ ตามเปา หมายที่กําหนดไว
ส่ือและแหลง การเรียนรู
1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2.รูปภาพ
3.กจิ กรรมการเรียนการสอน
4.แผนใส
5.สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส, PowerPoint
การวัดผลและการประเมินผล
วธิ วี ัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา รว มกิจกรรมกลุม
3. สังเกตพฤติกรรมการเขา รวมกจิ กรรมกลุม
4 ตรวจกิจกรรมสงเสริมคณุ ธรรมนาํ ความรู
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู แบบฝกปฏิบตั ิ
6. ตรวจกิจกรรมใบงาน
7. การสังเกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา นคณุ ธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค
เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา รวมกจิ กรรมกลมุ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รว มกิจกรรมกลมุ (โดยผูเ รยี น)
4. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู และแบบฝก ปฏบิ ัติ
5. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คา นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค โดยครู
และผเู รยี นรว มกนั ประเมิน
เกณฑก ารประเมินผล
1. เกณฑผ านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ งไมมชี องปรับปรุง
2. เกณฑผานการประเมินพฤตกิ รรมการเขารวมกิจกรรมกลมุ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑผานการสังเกตพฤติกรรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. แบบประเมนิ ผลการเรียนรูมีเกณฑผาน และแบบฝก ปฏิบัติ 50%
5. แบบประเมินกิจกรรมใบงานมีเกณฑผา น 50%
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค คะแนนขึ้นอยู
กบั การประเมินตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ผูเรียนวางแผนศึกษาวิชาการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2.ทําแบบฝก ปฏิบตั ิเพม่ิ เติมเพื่อฝกทักษะการเรยี นรู
แผนการสอนแบบบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
วชิ า การเขียนโปรแกรมเชงิ วัตถุเบอื้ งตน รหสั วิชา 20204 - 2108
หนวยกิต (ชัว โมง) 3(4) เวลาเรียนตอภาค 72 ชวั โมง
หนว ยการเรียนรทู ี 2 องคป ระกอบของโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร
เรอื ง เรือง องคประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอรเวลาเรียน 4 ชัวโมง
สาระสาํ คัญ
คอมพวิ เตอรเปนอุปกรณอ ิเล็กทรอนกิ ส การปอนคําสงั ทีทําใหค อมพิวเตอรประมวลผลตามทีเรา
ตอ งการนนั จะตอ งอยใู นรูปแบบทีเครือ งคอมพิวเตอรเ ขา ใจ คือ คําสงั ในรปู ของเลขฐานสอง ทีเรียก
กนั วา ภาษาเครอื ง
คําสงั ทีนํามาเรยี งตอ กันเพือสงั ใหคอมพิวเตอรทาํ งานอยา งใดอยา งหนงึ นันเรยี กวา โปรแกรม
ดังนันโปรแกรมทีเ ขียนขนึ มาจากภาษาคอมพวิ เตอรตอ งแปลงใหเ ปนภาษาเครืองกอน การเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอรใหทํางานตามทตี อ งการนันผูเขยี นโปรแกรมจะตองรวู าจะใหโปรแกรมทํา
อะไร มีขอมลู อะไรทตี องใหกบั โปรแกรมบาง
จดุ ประสงคก ารเรียนรู
1. อธิบายระดับของภาษาคอมพวิ เตอรไ ด
2. อธิบายโครงสรา งของขอมูลได
3. มีการพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข องผสู าํ เรจ็
การศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทีครสู ามารถสังเกตไดข ณะทําการสอนใน
เรอื ง
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเกยี วกบั หลักการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. เขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดในงานธุรกจิ
เนือ้ หาสาระ
1. ระดบั ของภาษาคอมพวิ เตอร
2. โครงสรางของขอมลู
ข้นั นําเขา สบู ทเรียน
1. ครแู ละผูเรียนสนทนาเกย่ี วกับเรอื่ งคอมพวิ เตอร เปน อุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส การปอ น
คําส่ังทท่ี ําใหคอมพวิ เตอรประมวลผลตามที่เราตองการนัน้ จะตอ งอยูในรปู แบบที่เคร่ืองคอมพิวเตอร
เขา ใจ คอื คําส่ังในรูปของเลขฐานสอง ท่ีเรียกกนั วา ภาษาเครอื่ ง และคาํ สั่งทน่ี ํามาเรียงตอ กนั เพ่ือสง่ั
ใหค อมพวิ เตอรท ํางานอยางใดอยา งหนึ่งนน้ั เรียกวา โปรแกรม ดังนั้นโปรแกรมที่เขียนขึน้ มาจาก
ภาษาคอมพิวเตอรต อ งแปลงใหเปน ภาษาเครื่องกอน การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรใหทํางานตามที่
ตอ งการนัน้ ผเู ขียนโปรแกรมจะตอ งรูวา จะใหโ ปรแกรมทําอะไร มขี อ มูลอะไรที่ตองใหก ับโปรแกรม
บาง
2.ผูเรยี นยกตัวอยางโปรแกรมคอมพิวเตอรทผ่ี ูเรยี นถนัด หรือเคยใช
3.ครูแนะนําใหผูเรียนศึกษาเพิม่ เติมเก่ียวกับภาษาคอมพิวเตอร
ขน้ั สอน
4.ครใู ชเทคนิควิธีสอนแบบใชโ สตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method)
เปนวธิ สี อนทนี่ าํ อุปกรณโ สตทศั นว ัสดุมาชว ยพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน โสตทศั นว สั ดุ
ดงั กลาว ไดแก Power Point
เพื่อแสดงใหผเู รียนไดเรียนรูระดับภาษาคอมพวิ เตอร โดยจะสามารถแบงออกเปนยคุ ของภาษา
(Generation) ซง่ึ ในยคุ หลังๆ จะมีการพัฒนาภาษาใหม คี วามสะดวกในการอาน และเขียนงา ยขนึ้
กวาภาษาในยคุ แรกๆ เน่อื งจากจะมีโครงสรางภาษาใกลเ คียงกบั ภาษาองั กฤษหรือภาษาทมี่ นษุ ย
เขา ใจได
หลกั เบ้ืองตนในการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรซ อฟตแวรบนมาตรฐานเปด โดยสว นมากน้ันจะถกู
พฒั นาขึน้ จากความรวมมือกันของผใู ชงาน
ครใู ชเทคนิควิธีสอนแบบใชโสตทศั นวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction
Method) เปนวิธีสอนทีน่ ําอปุ กรณโสตทศั นว ัสดุมาชว ยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน โสตทศั น
วัสดดุ ังกลาว ไดแก Power Point
เพอ่ื ประกอบการอธบิ ายเร่ืองโปรแกรมคอมพวิ เตอร โดยมเี นื้อหาครอบคลุมความหมายและ
ประเภทของโปรแกรมคอมพวิ เตอร
ผเู รียนบอกหลักการพัฒนาการเขยี นโปรแกรมทีด่ ี และวิเคราะหถงึ เหตผุ ล และความ
จาํ เปนในการนาํ หลกั การตางๆ มาพฒั นาการเขียนโปรแกรม
ผูเ รียนวิเคราะหวา ขั้นตอนการพฒั นาโปรแกรมข้ันใดเปน ขัน้ ตอนท่ีสาํ คัญท่ีสุด พรอ มบอก
เหตุผล
ผูเ รียนคนควาขอมูลเพม่ิ เตมิ เกี่ยวกับ Open source software พรอ มท้งั ยกตวั อยา ง
ซอฟตแวร
ครใู ชเทคนิดวธิ ีการจัดการเรยี นรแู บบรว มมือ (Cooperative Learning) หมายถึง
กระบวนการเรียนรูที่จัดใหผเู รียนไดร ว มมอื และชว ยเหลอื กนั ในการเรยี นรโู ดยแบง กลมุ ผเู รียนที่มี
ความสามารถตา งกนั ออกเปนกลมุ เล็ก ซง่ึ เปน ลกั ษณะการรวมกลุม อยางมโี ครงสรา งทชี่ ัดเจน มี
การทํางานรวมกัน มีการแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นมกี ารชวยเหลอื พึ่งพาอาศัยซง่ึ กนั และกัน มีความ
รับผดิ ชอบรวมกันท้ังในสว นตนและสว นรวมเพือ่ ใหตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุมประสบ
ความสาํ เร็จตามเปา หมายท่กี าํ หนดไว
สื่อและแหลงการเรียนรู
1.หนงั สือเรยี น วชิ าการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผน ใส
5.สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส, PowerPoint
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ดั ผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรมกลมุ
3. สงั เกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุม
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู แบบฝกปฏิบตั ิ
6. การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมดานคณุ ธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค
เครื่องมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเขารวมกิจกรรมกลมุ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ (โดยผเู รียน)
4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู แบบฝกปฏบิ ัติ
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คา นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค โดยครู
และผูเรยี นรว มกันประเมนิ
เกณฑก ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตองไมมีชองปรบั ปรุง
2. เกณฑผานการประเมินพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลมุ คอื ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑผานการสงั เกตพฤติกรรมการเขารว มกิจกรรมกลุม คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
เกณฑการประเมนิ มีเกณฑ 4 ระดบั คอื 4= ดมี าก, 3 = ดี, 2 = พอใช , 1= ควร
ปรับปรงุ
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผาน คือ 50%
5. แบบประเมินผลการเรียนรูมเี กณฑ แบบฝกปฏิบตั ผิ าน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค คะแนนขึน้ อยู
กับการประเมินตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.แนะนาํ ใหผ เู รียนอานทบทวนเนอื้ หาเพม่ิ เติม
2.ทํากจิ กรรมใบงาน และแบบฝก ปฏิบตั ิ
แผนการสอนแบบบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา การเขยี นโปรแกรมเชิงวัตถเุ บอื้ งตน รหสั วิชา 20204 - 2108
หนว ยกติ (ชัวโมง) 3(4) เวลาเรียนตอภาค 72 ชัวโมง
หนว ยการเรยี นรทู ี 3 ขันตอนการแกปญ หา
เรอื ง เรอื ง ขันตอนการแกปญ หา เวลาเรยี น 3 ชัวโมง
สาระสาํ คญั
ในชีวติ ประจําวันเราจะพบปญ หาตางๆ อยูตลอดเวลา ในการแกป ญหานนั มวี ธิ ีการทีเปน ขนั ตอน
ชัดเจน และแตกตางกนั ทงั นีขึนอยกู ับความสามารถและประสบการณข องบุคคลนัน ๆ โดยวิธีการ
แกปญ หาตอ งเริมจากการทาํ ความเขาใจ แลวหาวธิ ีการแกปญ หาอยางมีประสิทธิภาพ
จดุ ประสงคก ารเรียนรู
1. อธิบายระดบั ของภาษาคอมพวิ เตอรได
2. อธิบายโครงสรางของขอมูลได
3. แสดงความรูเกียวกบั การใชร หัสเทียมในการทํางานได
4. เขยี นผังงานไดเปด ในงานธุรกจิ
4. เขยี นผงั งานได
5. เขยี นแผนภูมโิ ครงสรางได
6. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคของผูสาํ เรจ็
การศึกษาสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทีครูสามารถสงั เกตไดข ณะทาํ การสอนในเรือง
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเกยี วกับหลกั การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. เขยี นโปรแกรมบนมาตรฐาน
เนื้อหาสาระ
1. ข้ันตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร
2. ความรูเ บื้องตนเกยี่ วกบั อัลกอริทมึ
ครง้ั ท่ี 1 (4ชว่ั โมง)
ขั้นนําเขา สบู ทเรยี น
1. ครแู ละผเู รียนสนทนาเก่ียวกับลกั ษณะของการแกป ญ หาในชวี ิตประจาํ วันน้ันมี
หลากหลายวธิ ี ไดแ ก การลองผิดลองถูก การใชเหตผุ ลประกอบการแกป ญหา วธิ ีขจดั และการ
ใชต ารางหาความสมั พนั ธข องขอมลู
2. ผูเรียนเลาประสบการณวิธกี ารแกไ ขปญหาทเ่ี คยประสบมาในชวี ติ ประจําวัน
3. ครูกลาววาการแกปญหา ในบางครั้งอาจมีความซบั ซอนเกินกวา ที่คนเราจะสามารถ
แกไขเองได ดงั นน้ั จงึ มกี ารใชคอมพิวเตอรเปนตัวชว ยในการแกปญ หา ซง่ึ การใชงานคอมพิวเตอร
เพอื่ การแกปญ หานนั้ เราจําเปนจะตองเขา ใจหลักการทํางานของคอมพวิ เตอรเสยี กอ น
4. ครแู สดงรฟู ภาพแสดงขน้ั ตอนการวิเคราะหปญหา
ขัน้ สอน
5.ครใู ชเทคนคิ วิธีสอนแบบใชโสตทศั นวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method)
เปนวิธีสอนที่นาํ อุปกรณโ สตทัศนวัสดมุ าชว ยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน โสตทศั นวสั ดุ
ดงั กลา ว ไดแ ก Power Point
เพ่อื อธบิ ายขนั้ ตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร
1). การวิเคราะหป ญหา (Problem analysis)
2). การออกแบบโปรแกรม (Design) ในขนั้ ตอนการออกแบบโปรแกรมนเี้ ปน การออกแบบ
การทํางานของโปรแกรมซึ่งผอู อกแบบสามารถเลอื กใชเครือ่ งมือมาชวยในการออกแบบได ดงั น้ี
2.1 อัลกอริทึม (Algorithm)
2.2 ผังงาน (Flowchart)
2.3 รหสั จาํ ลอง (Pseudo code)
2.4 แผนภมู ิโครงสราง (Structure chart)
3). การเขยี นโปรแกรมดว ยภาษาคอมพิวเตอร (Programming)
4). การทดสอบและแกไ ขโปรแกรม (Testing)
5). การทําเอกสารประกอบโปรแกรม (Documentation)
6). การบํารงุ รักษาโปรแกรม (Maintenance)
6.ครใู ชเทคนิควิธีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) ดวยการเลาอธิบายแสดงสาธิตใหผ เู รยี น
เปนผฟู ง และเปด โอกาสใหผเู รียนซกั ถามปญหาไดใ นตอนทา ยของการบรรยายความหมายของ
อลั กอรทิ ึม (Algorithm) ดังน้ี
- อัลกอริทึม (Algorithm) หมายถึง ข้ันตอนหรือลําดบั การประมวลผลในการแกปญ หาใด
ปญ หาหนง่ึ
ซ่งึ จะชว ยใหผ ูพ ัฒนาโปรแกรมเห็นขนั้ ตอนการเขียนโปรแกรมอยางงายขึน้
- อลั กอริทึม (Algorithm) หมายถงึ แนวคิดอยา งมเี หตุผลท่ผี พู ัฒนาโปรแกรม
โปรแกรมเมอร หรอื นักวิเคราะหร ะบบ ใชในการอธิบายวธิ ีการทํางานอยา งเปนข้ันตอนตามลําดับ
ในการที่จะพัฒนาโปรแกรมนนั้ ๆ ใหก ับผูที่สนใจหรือผูที่เปน เจาของงาน หรือผูท่รี บั ผดิ ชอบได
ทราบถงึ ขัน้ ตอนตา งๆ ในการเขยี นหรือพัฒนาโปรแกรม ขณะเดยี วกนั สามารถชว ยใหผูที่เปน
เจาของงาน หรือผูท่ีรับผดิ ชอบไดต รวจสอบขั้นตอนตางๆ ในการทํางาน และความถกู ตองในแตละ
ข้นั ตอนการทํางาน โดยผูท เ่ี ปนเจา ของงานหรือผูที่รับผดิ ชอบนั้นๆ ไมจ ําเปน ตองเขยี นโปรแกรม
เปน
7.ครแู ละผเู รียนบอกหลักการเขียนอลั กอริทึม โดยใชส อื่ Power Point ประกอบ
1). กระบวนการสําคญั เรมิ่ ตน ทจี่ ดุ จดุ เดียว ในการมจี ุดเรม่ิ ตนหลายทจ่ี ะทาํ ใหก ระบวนการ
วิธสี ับสน
จนในที่สดุ อาจทาํ ใหผลลัพธท่ไี ดไ มตรงกบั ความตองการ หรืออาจทําใหอัลกอริทึมน้นั ไมสามามารถ
ทํางานไดเ ลย
2). กาํ หนดการทํางานเปนข้ันตอนอยางชัดเจน การกําหนดอลั กอรทิ ึมทีด่ ีควรมีขัน้ ตอนท่ี
ชัดเจนไมค ลมุ เครือ เสร็จจากขน้ั ตอนหนึง่ ไปยังขัน้ ตอนท่สี องมีเงื่อนไขการทํางานอยางไร ควร
กาํ หนดใหชัดเจน
3). การทํางานแตละขนั้ ตอนควรสนั้ กระชบั เพราะการกาํ หนดขน้ั ตอนการทํางานใหส ้ัน
กระชบั นอกจากจะทําใหโปรแกรมทาํ งานไดร วดเรว็ แลว ยังเปน ประโยชนต อ ผอู ่นื ท่ีมาพฒั นา
โปรแกรมตอดว ยเพราะสามารถศึกษาอัลกอรทิ ึมจากโปรแกรมที่เขยี นไวไดงายขน้ึ
4). ผลลัพธในแตละขนั้ ตอนควรตอเนอื่ งกัน การออกแบบขน้ั ตอนทด่ี ีนนั้ ผลลัพธจาก
ขน้ั ตอนแรกควรเปน ขอมูลสาํ หรบั นําเขา ใหกับขอมลู ในขนั้ ตอ ไป ตอเน่อื งกันไปจนกระท่ังไดผล
ลพั ธตามทตี่ อ งการ
5). การออกแบบอลั กอริทึมท่ีดี ควรออกแบบใหค รอบคลมุ การทํางานในหลายรูปแบบ เชน
การออกแบบโดยคิดไวลว งหนา วา หากผใู ชโ ปรแกรมปอ นขอมลู เขาผิดประเภท โปรแกรมจะมกี าร
เตอื นวา ผใู ชงานมกี ารใสขอมลู ท่ีผิดประเภทโดยโปรแกรมจะไมร ับขอมูลนั้น เพ่ือใหใสขอ มลู ใหมอกี
คร้ัง เพอ่ื ปองกันการเกดิ จดุ บกพรอ งของโปรแกรมได
ครงั้ ที่ 2 (4 ชวั่ โมง)
ขัน้ นําเขาสบู ทเรียน
1.ครูใชเทคนคิ การสอนแบบซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรูเดมิ
จากสปั ดาหทผี่ านมา โดยดึงความรูเดิมของผเู รียนในเร่อื งท่ีจะเรยี น เพ่ือชว ยใหผ เู รียนมีความ
พรอ มในการเชอื่ มโยงความรใู หมก ับความรเู ดมิ ของตน ผสู อนใชก ารสนทนาซักถามใหผเู รียนเลา
ประสบการณเดมิ หรอื ใหผเู รยี นแสดงโครงความรูเดิม (Graphic Organizer) ของตน
2.ครสู นทนากบั ผูเรยี นเก่ียวกับรหสั เทียม หรอื ซูโดโคด (Pseudo code) เปนคําสัง่ ท่ี
จาํ ลองความคิดที่เปนลําดบั ขั้นตอนการทาํ งานของการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร โดยใช
สญั ลักษณเปน ประโยคภาษาอังกฤษ ซึ่งรหสั เทยี มหรือ ซโู ดโคด น้ี ไมใ ชภ าษาโปรแกรมทาง
คอมพิวเตอรจ งึ ไมสามารถนาํ ไปใชในการเขยี นโคดทางภาษา
คอมพวิ เตอรเ พอ่ื ประมวลผลได แตเปนการเขยี นจาํ ลองคําสั่งจรงิ แบบยอๆ ตามอลั กอริทึมของ
โปรแกรมระบบเพ่อื นาํ ไปพัฒนาเปนการเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอรไ ด
ข้นั สอน
4.ครใู ชเทคนคิ การสอนแบบ Lecture Method การจดั การเรียนรแู บบบรรยาย คือ
กระบวนการเรียนรูทผ่ี สู อนเปนผูถายทอดความรูใหแกผูเรียนโดยการพดู บอกเลา อธิบาย
ความหมายของรหัสเทียม หรือ ซโู ดโคด (Pseudo code) ซงึ่ หมายถงึ การเขยี นโปรแกรมใน
รูปแบบภาษาอังกฤษทมี่ ีขัน้ ตอนและรูปแบบแนนอน มีความกะทัดรดั และมองดคู ลา ยภาษาระดบั
สงู ท่ีใชก ับเครอ่ื งคอมพวิ เตอรซ ึ่งไมเ จาะจงใหเ ปนภาษาใดภาษาหนง่ึ รหสั เทียมจึงเหมาะทจ่ี ะใชใน
การออกแบบโปรแกรมกอนท่ีโปรแกรมเมอรจ ะทําการเขยี นโปรแกรมดว ยภาษาคอมพิวเตอรจ ริง
5.ผูเ รียนบอกประโยชนของรหสั เทยี ม ไดแก
1). เปนเคร่อื งมอื ในการกําหนดโครงรางกระบวนการทาํ งานของการเขยี น
โปรแกรมแตละโปรแกรม
2). เปนตน แบบในการทบทวน ปรับปรุงแกไ ข และพฒั นาโปรแกรมของ
โปรแกรมเมอร และนกั วเิ คราะหร ะบบ
3). เปนตวั กาํ หนดงานเขยี นโปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมเมอรนําไปพฒั นาเปน
โปรแกรมคอมพวิ เตอรเพ่อื ส่ังใหคอมพิวเตอรทาํ งานตามกระบวนการที่ไดจ าํ ลอง
กระบวนการจรงิ ไวใ นรหัสเทียม หรือ ซูโดโคด
6.ครูใชเทคนิคการสาธิตการเขียนรหัสเทยี ม หรือ ซูโดโคด
คร้งั ที่ 3 (4 ชัว่ โมง)
ขั้นนําเขาสบู ทเรียน
1. ครูใชเ ทคนิคการสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรูเดิม
จากสปั ดาหท่ผี านมา โดยดงึ ความรเู ดิมของผเู รยี นในเรือ่ งที่จะเรียน เพือ่ ชว ยใหผเู รียนมคี วาม
พรอ มในการเช่ือมโยงความรใู หมก ับความรูเดมิ ของตน ผสู อนใชการสนทนาซกั ถามใหผ เู รียนเลา
ประสบการณเดิม
2.ผเู รียนบอกความสําคัญของการนําผังงานไปใช
ขนั้ สอน
3.ครูใชเทคนคิ วิธีสอนแบบใชโสตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction
Method) เปนวธิ ีสอนท่ีนําอุปกรณโ สตทัศนวัสดุมาชว ยพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน โสตทศั น
วสั ดุดังกลาว ไดแ ก Power Point เพอื่ อธิบายสญั ลักษณในการเขียนผังงาน (Flowchart)
4.ครูใชเทคนคิ วิธีสอนแบบสาธติ (Demonstration Method) เปน วธิ ีสอนทีค่ รูแสดงให
ผูเ รยี นดูและใหค วามรูแกผ ูเรียนโดยใชสอื่ การเรียนรทู ่ีเปนรูปธรรม และผูเ รยี นไดป ระสบการณตรง
ซึ่งครูเปนผสู าธิต และใหผ ูเรยี นฝกทกั ษะปฏบิ ัติตามเพอ่ื เรียนรูก ารเขียนผังงาน5.ผเู รยี นเขียนผัง
งาน Flow chart การตัดเกรดรายวิชาคอมพิวเตอร จากคะแนนที่เปน ตัวเลข
เปน เกรด A,B,C,D,F หรอื 4,3,2,1,0 ของโรงเรยี นที่ผูเรียนเรียนอยู
6. ครูใชเ ทคนิดวิธกี ารจัดการเรียนรูแ บบรวมมือ (Cooperative Learning) หมายถงึ
กระบวนการเรียนรูทีจ่ ดั ใหผูเรยี นไดร ว มมือและชว ยเหลอื กนั ในการเรยี นรูโดยแบงกลมุ ผูเรียนทม่ี ี
ความสามารถตา งกันออกเปน กลุม เลก็ ซงึ่ เปนลักษณะการรวมกลุมอยา งมีโครงสรา งทชี่ ัดเจน มี
การทํางานรวมกัน มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็นมกี ารชวยเหลือพง่ึ พาอาศัยซึ่งกันและกนั มีความ
รบั ผดิ ชอบรว มกนั ท้งั ในสวนตนและสวนรวมเพื่อใหตนเองและสมาชิกทกุ คนในกลุมประสบ
ความสาํ เร็จตามเปา หมายทกี่ ําหนดไว ดังน้ี
6.1 แบงผูเรียนเปน กลมุ ๆ ละ 3-4 คน
6.2 คิดผังงาน เร่อื งใดก็ได
6.3 นําเสนอหนาช้ัน
6.4 เปดโอกาสใหแลกเปลี่ยนความรรู ะหวางกลมุ
7.ผูเรยี นคนหาตวั อยางผังงาน อยางนอ ย 3 ผังงาน จากส่อื อนิ เตอรเน็ต
8.ครกู ลาววาแผนภูมโิ ครงสราง เปนเครอ่ื งมอื สําหรับการออกแบบการเขียนโปรแกรมแบบ
มอดลู โดยจะมกี ารแบงโปรแกรมใหญๆ ออกเปน มอดูลยอ ยๆ และชว ยจัดการความสมั พนั ธร ะหวาง
มอดลู ยอยๆ มกี ารออกแบบโดยใชวธิ จี ากบนลงลาง (Top-Down technique)
9.ครูเสนอแนะและเปน ทป่ี รกึ ษาในการนําเอาแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซ่งึ ใน
กระบวนการทํางานทุกประเภทนั้น จะตองเนน สจั จะซ่งึ เปน ตวั คณุ ธรรม จริยธรรม เนน ความ
ซ่อื สตั ยส ุจรติ เนน ใหชว ยกันคดิ ชว ยกนั ทาํ เนนใหร ูจักความพอดี พอประมาณ มีเหตผุ ล ท้งั หมดน้ี
คอื หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชก บั การดําเนนิ ชีวติ ของทกุ คน
ได
ข้นั สรปุ และการประยุกต
10.ครแู ละผูเรียนสรปุ โดยการถามตอบเก่ยี วกับการเขยี นผังงาน และแผนภูมิโครงสราง
11.ผูเรียนทาํ กิจกรรมใบงาน แบบฝก ปฏิบัติ แบบประเมินผลการเรียนร เพ่อื ฝกทักษะการ
เรียนรูใหเกดิ ความชํานาญในการนาํ ไปประยุกตใ ชต อไป
12.ผูเรยี นรวมกนั ประเมินโดยพิจารณาจากขอมลู ความรู การใหเ หตผุ ล และความพรอ มใน
การอภิปราย
ส่ือและแหลงการเรยี นรู
1.หนังสือเรยี น วชิ าการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผน ใส
5.สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส, PowerPoint
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขารว มกจิ กรรมกลุม
3. สังเกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุม
4. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู แบบฝกปฏิบัติ
5. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมดานคณุ ธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค
เครอื่ งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขารว มกจิ กรรมกลุม (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขารวมกจิ กรรมกลุม (โดยผเู รียน)
4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู แบบฝก ปฏบิ ตั ิ
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค โดยครแู ละ
ผเู รยี นรวมกนั ประเมนิ
เกณฑการประเมนิ ผล
1. เกณฑผานการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ งไมมีชองปรับปรุง
2. เกณฑผานการประเมนิ พฤติกรรมการเขา รว มกิจกรรมกลมุ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผานการสังเกตพฤตกิ รรมการเขารว มกิจกรรมกลุม คือ ปานกลาง (50% ขึน้ ไป)
เกณฑการประเมิน มีเกณฑ 4 ระดับ คือ 4= ดมี าก, 3 = ดี, 2 = พอใช , 1= ควร
ปรับปรุง
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผา น คอื 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรูมีเกณฑ แบบฝกปฏบิ ตั ผิ าน 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค คะแนนข้นึ อยู
กับการประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กิจกรรมเสนอแนะ
1.แนะนําใหผ เู รียนอา นทบทวนเนอื้ หาเพม่ิ เติม
2.ทํากิจกรรมใบงาน และแบบฝก ปฏบิ ัติ
แผนการสอนแบบบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา การเขยี นโปรแกรมเชิงวัตถเุ บื้องตน รหสั วชิ า 20204 - 2108
หนวยกิต (ชัวโมง) 3(4) เวลาเรียนตอภาค 72 ชวั โมง
หนวยการเรียนรทู ี 3 ภาษาจาวา
เรือ ง เรอื ง ภาษาจาวา เวลาเรียน 4 ชัวโมง
สาระสาํ คญั
Java หรือ Java programming language มีความสามารถทํางานไดในระบบปฏบิ ตั ิการ
ทแี ตกตา งกนั ไมจ ําเปนตอ งดดั แปลงแกไ ขโปรแกรม เชน หากเขียนโปรแกรมบนเครือง Sun
โปรแกรมนันกส็ ามารถถูก compile และทํางานบนเครอื งพซี ีธรรมดาได มี IDE Application
server และ Library ตางๆ มากมายสําหรับจาวาทีสามารถใชงานไดโดยไมตอ งเสียคา ใชจ าย และ
ภาษาจาวาถกู ออกแบบมาใหม ีความปลอดภยั สูงตงั แตแรก ทําใหโปรแกรมทีเขียนขนึ ดวยจาวามี
ความปลอดภัยมากกวาโปรแกรมทเี ขยี นขึนดวยภาษาอืน
ปจจบุ นั การเขยี นโปรแกรมบนระบบปฏิบตั กิ ารทีหลากหลายเปน ทนี ิยมมาก เนืองจาก
ผเู ขยี นโปรแกรม ไมต องเขียนโปรแกรมหลายครงั เพอื นาํ ไปทาํ งานบนระบบปฏิบตั ิการทีแตกตา ง
กนั ตวั อยา งของการเขียนโปรแกรมดงั กลา วอาจพบเห็นมากในโปรแกรมทวั ไป หรอื โปรแกรมเกม
ทเี ขียนเพียงครงั เดียวแตส ามารถนาํ ไปใชบนอปุ กรณอืนไดหลายอปุ กรณ
จดุ ประสงคการเรยี นรู
1. อธิบายความรูเบืองตนเกียวกับ Java ได
2. อธิบายการทํางานของภาษา Java ได
3. สามารถเลอื กใชเครืองมอื ในการเขียนโปรแกรม Java ได
4. อธิบายขัน ตอนการเขยี นโปรแกรม Java ได
5. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคของผูส ําเรจ็
การศกึ ษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรูเกีย วกบั หลักการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. เขียนโปรแกรมบนมาตรฐาน
เนือ้ หาสาระ
1. ความรเู บ้ืองตนเก่ียวกับ Java
2. การทํางานของภาษา Java
ครงั้ ท่ี 1 (4ช่วั โมง)
ขัน้ นาํ เขา สบู ทเรียน
1.ครูสนทนากบั ผูเรยี นเกยี่ วกบั ภาษา Java วาเปนภาษาสําหรับเขียนโปรแกรมทีส่ นบั สนนุ
การเขยี นโปรแกรมเชงิ วัตถุ (OOP :Object-Oriented Programming) โปรแกรมทเ่ี ขียนขึน้ ถูก
สรา งภายในคลาส ดังนน้ั คลาสคือท่ีเกบ็ เมธอด(Method) หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีสถานะ
(State) และรปู พรรณ (Identity) ประจาํ พฤตกิ รรม(Behavior) สาํ หรบั การเขียนโปรแกรมภาษา
จาวา
2.ครูถามผูเรียนเก่ยี วกบั ความรูท ่ัวไปเบือ้ งตนเกี่ยวกับ Java เพอ่ื ทดสอบวาผเู รียนมคี วามรู
เก่ียวกับ Java หรอื ไม
3.ผเู รยี นยกตัวอยางขอดขี องการเขยี นโปรแกรมบนระบบปฏบิ ัติการดว ยภาษา Java
ขั้นสอน
4.ครใู ชเทคนคิ วิธกี ารจัดการเรียนรแู บบอภิปราย (Discussion Method) คอื กระบวนการ
ท่ีผสู อนมุง ให
ผูเรียนมีโอกาสสนทนาแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ หรอื ระดมความคิด โดยมจี ดุ มุงหมายเพอื่ ใหผเู รียน
เขา ใจเนอื้ หาไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ โดยอภปิ รายเรอ่ื งการเปรียบเทยี บภาษาคอมพวิ เตอร
สมยั กอนกบั ภาษาจาวา
5.ครใู ชเทคนคิ วิธีสอนแบบใชโ สตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction
Method) เปน วิธีสอนทีน่ ําอุปกรณโ สตทศั นว ัสดุมาชวยพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน โสตทัศน
วสั ดุดงั กลา ว ไดแ ก Power Point
เพ่อื อธบิ ายเทคโนโลยจี าวา ซงึ่ จาวา เปนภาษาคอมพวิ เตอร ทีไ่ ดม ีการจดั กลุมการทํางานออกเปน
3 กลุม ไดแ ก
1). J2SE (Standard Edition)
2). J2EE (Enterprise Edition)
3). J2ME (Micro Edition)
6.ครแู ละผเู รยี นอภิปรายเร่ืององคประกอบเทคโนโลยีจาวา ซึ่งแบงเปน 3 สวน ดังนี้
1). Java Virtual Machine (JVM)
2). Java Runtime Environment (JRE)
3). Java2 Software Developer Kit (J2SDK)
7.ผูเ รียนบอกจดุ เดน และจุดดอ ยของภาษาจาวา
8.ครเู ปด VDO แสดงการสรา งโปรแกรมภาษาจาวา ทัง้ 2 ประเภท คอื Java
Applications กบั Java Applets เพอื่ ใหผ เู รยี นเขาใจไดงา ยขน้ึ
9.ครเู นนผูเรยี นใหมีความละเอียดรอบคอบ มีความอดทน มคี วาเขมแข็ง มคี วามเพยี ร
พยายามในการฝกทกั ษะปฏบิ ตั งิ านไดจ ริงดา นคอมพวิ เตอรไ ด นอกจากน้ันยังใหระมัดระวังความ
ปลอดภยั ในการฝกปฏบิ ัติงานที่อาจผดิ พลาดเกดิ ขึ้นไดโดยไมไ ดต งั้ ใจ เพราะในการประกอบอาชพี
จริง ๆ ดังนนั้ ผูเรียนตองฝกทกั ษะความชาํ นาญเหลา นใี้ หม ปี ระสทิ ธิภาพ เพื่อสรางรายไดทีด่ ีใน
อนาคตตอไป และพรอมรบั ผลกระทบและความเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดขนึ้ ในอนาคต คอื ทําให
เขม แข็ง ก็จะทาํ ใหค รอบครัวมีเงนิ ออมอันเกิดจากการทํางานของเราได ถอื เปนเง่ือนไขสาํ คญั คือ
เรือ่ งคุณธรรม ลกั ษณะดังกลา วน้กี ็จะเปนการสรางภูมิคุมกนั ทด่ี ีในตัวเอง รวมทั้งมีความอดทน มี
ความเพียรพยายามในการทํามาหาเล้ียงชพี ในชวี ติ ประจาํ วันไดใ นอนาคตตอ ไปเปน อยางดี
ครัง้ ที่ 2 (4 ชวั่ โมง)
ขั้นนําเขาสบู ทเรียน
1.ครูใชเทคนคิ การสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู ดมิ
จากสัปดาหท่ผี านมา โดยดงึ ความรูเ ดมิ ของผเู รียนในเร่ืองที่จะเรยี น เพือ่ ชว ยใหผ ูเ รยี นมคี วาม
พรอ มในการเชอื่ มโยงความรใู หมกบั ความรูเดิมของตน ผสู อนใชการสนทนาซกั ถามใหผเู รียนเลา
ประสบการณเดมิ
2. ครูบอกเครื่องมอื ทใ่ี ชใ นการพฒั นาโปรแกรมภาษา Java ซึง่ ไดแ ก NetBeans , Eclipse
,Notepad และ EditorPlus
ขั้นสอน
3.ครสู าธติ การติดตั้งโปรแกรมเพอ่ื เรม่ิ เขยี นภาษา Java โดยมีขัน้ ตอน ดังตอไปนี้
4.ครูสาธิตการสรางโปรแกมภาษาจาวา โดยผเู รียนปฏิบัตติ าม
5. ครอู ธิบายและสาธติ การเขียนหมายเหตุ (Comment) ในการเขยี นโปรแกรมดวยภาษา
Java
6. ครูใชส อื่ Power Point ประกอบการอธบิ ายการใชส ญั ลกั ษณแ ยกคํา (Separator)
7. ครูและผูเรียนสาธติ การใชนิพจน (Expression) ในการเขยี นโปรแกรมภาษา Java
8. ครูอธิบายและสาธติ การใชต ัวดาํ เนนิ การ (Operator) ในการเขยี นโปรแกรมภาษา Java
9. ครูใชเทคนิคการสอนแบบ Lecture Method การจดั การเรียนรูแบบบรรยาย คอื
กระบวนการเรียนรูที่ผูส อนเปนผูถ ายทอดความรูใหแกผ ูเ รียนโดยการพดู บอกเลา อธบิ ายการเขยี น
โปรแกรมเชงิ วตั ถุ (Object Oriented Programming : OOP)
10.ครูเนน ใหผเู รียนกาํ หนดชน้ั รปู ภาพ (Layer) โดยใชค วามมีเหตมุ ผี ล และความรอบคอบ
ระมดั ระวัง ซึง่ จะเปน ภูมิคุมกันทดี ีในตัวเองได ซงึ่ ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตัดสินใจเก่ยี วกับ
ระดับของความพอเพียงจะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจจัยทเ่ี ก่ยี วของ
คาํ นึงถึงผลทค่ี าดวาจะเกดิ ขึน้ จากการกระทํานน้ั ๆ อยา งรอบคอบ สว น การมภี ูมคิ ุม กนั ทด่ี ีในตัว
หมายถึง การเตรยี มตัวใหพรอ มรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา นตางๆ ท่ีจะเกดิ ขน้ึ โดย
คํานึงถงึ ความเปนไปไดข องสถานการณตางๆที่คาดวาจะเกิดขนึ้ ในอนาคต
ครงั้ ที่ 3 (4 ชัว่ โมง)
ขน้ั นาํ เขา สบู ทเรียน
1. ครูใชเ ทคนคิ การสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู ดิม
จากสัปดาหท ผี่ านมา โดยดึงความรเู ดมิ ของผูเรียนในเรอ่ื งทจ่ี ะเรียน เพือ่ ชว ยใหผ ูเ รยี นมีความ
พรอมในการเช่อื มโยงความรูใหมกับความรเู ดิมของตน ผสู อนใชก ารสนทนาซกั ถามใหผูเรียนเลา
ประสบการณเดมิ
2.ผูเรยี นบอกความสาํ คญั ของการนาํ ผังงานไปใช
ข้นั สอน
3.ครูใชเทคนิควิธีสอนแบบใชโ สตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction
Method) เปน วธิ ีสอนที่นําอุปกรณโ สตทัศนว ัสดมุ าชวยพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน โสตทศั น
วัสดดุ ังกลา ว ไดแ ก Power Point เพ่อื อธิบายสญั ลักษณในการเขยี นผังงาน (Flowchart)
4.ครูใชเทคนิควิธีสอนแบบสาธติ (Demonstration Method) เปนวิธีสอนท่คี รูแสดงให
ผูเรยี นดูและใหค วามรูแกผูเรยี นโดยใชส อ่ื การเรียนรูท ี่เปนรปู ธรรม และผเู รยี นไดป ระสบการณตรง
ซึง่ ครูเปนผสู าธิต และใหผ เู รียนฝกทักษะปฏิบตั ติ ามเพือ่ เรยี นรกู ารเขียนผงั งาน5.ผูเรยี นเขียนผัง
งาน Flow chart การตดั เกรดรายวชิ าคอมพวิ เตอร จากคะแนนที่เปน ตวั เลข
เปนเกรด A,B,C,D,F หรอื 4,3,2,1,0 ของโรงเรยี นท่ีผูเรียนเรียนอยู
6. ครูใชเ ทคนิดวิธกี ารจดั การเรียนรแู บบรวมมือ (Cooperative Learning) หมายถึง
กระบวนการเรียนรูทจ่ี ดั ใหผเู รยี นไดร ว มมอื และชวยเหลอื กันในการเรยี นรโู ดยแบง กลมุ ผเู รียนที่มี
ความสามารถตางกันออกเปน กลุมเล็ก ซ่งึ เปนลกั ษณะการรวมกลมุ อยา งมโี ครงสรา งท่ชี ัดเจน มี
การทํางานรวมกนั มีการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นมกี ารชว ยเหลือพึ่งพาอาศัยซ่งึ กันและกัน มีความ
รับผิดชอบรว มกันทั้งในสว นตนและสวนรวมเพื่อใหต นเองและสมาชกิ ทุกคนในกลมุ ประสบ
ความสาํ เรจ็ ตามเปา หมายทกี่ าํ หนดไว ดงั น้ี
6.1 แบง ผูเรียนเปน กลุม ๆ ละ 3-4 คน
6.2 คิดผงั งาน เรอื่ งใดก็ได
6.3 นําเสนอหนาชน้ั
6.4 เปดโอกาสใหแ ลกเปลี่ยนความรรู ะหวางกลมุ
7.ผูเ รยี นคน หาตัวอยางผังงาน อยางนอย 3 ผงั งาน จากส่อื อินเตอรเน็ต
8.ครูกลาววา แผนภูมโิ ครงสราง เปน เครื่องมอื สําหรับการออกแบบการเขยี นโปรแกรมแบบ
มอดลู โดยจะมกี ารแบงโปรแกรมใหญๆออกเปนมอดูลยอยๆ และชวยจดั การความสัมพนั ธร ะหวาง
มอดูลยอยๆ มีการออกแบบโดยใชวิธีจากบนลงลาง (Top-Down technique)
9.ครูเสนอแนะและเปน ที่ปรึกษาในการนําเอาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซง่ึ ใน
กระบวนการทํางานทกุ ประเภทน้ัน จะตองเนนสัจจะซงึ่ เปนตวั คณุ ธรรม จริยธรรม เนน ความ
ซ่อื สัตยสุจริต เนน ใหชว ยกันคิด ชว ยกันทํา เนน ใหรจู ักความพอดี พอประมาณ มเี หตุผล ท้งั หมดน้ี
คอื หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถนําไปประยุกตใชก ับการดําเนนิ ชีวิตของทกุ คน
ได
ข้นั สรปุ และการประยกุ ต
10.ครูและผูเ รียนสรปุ โดยการถามตอบเกย่ี วกับการเขยี นผังงาน และแผนภูมโิ ครงสรา ง
11.ผูเรียนทาํ กิจกรรมใบงาน แบบฝก ปฏบิ ตั ิ แบบประเมนิ ผลการเรียนร เพ่ือฝกทักษะการ
เรยี นรูใหเกดิ ความชํานาญในการนําไปประยกุ ตใชตอ ไป
12.ผูเรียนรวมกันประเมินโดยพจิ ารณาจากขอมูลความรู การใหเหตุผล และความพรอ มใน
การอภิปราย
สอ่ื และแหลงการเรียนรู
1.หนงั สือเรียน วิชาการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2.รปู ภาพ
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผน ใส
5.ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส, PowerPoint
การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมินพฤตกิ รรมการเขา รวมกจิ กรรมกลุม
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รวมกจิ กรรมกลุม
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู แบบฝกปฏบิ ตั ิ
5. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค
เคร่อื งมือวัดผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขารว มกจิ กรรมกลมุ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรมกลมุ (โดยผเู รียน)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู แบบฝกปฏบิ ัติ
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค โดยครแู ละ
ผูเ รียนรวมกันประเมิน
เกณฑการประเมินผล
1. เกณฑผานการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ งไมมชี องปรับปรงุ
2. เกณฑผ านการประเมินพฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรมกลมุ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑผ านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ คือ ปานกลาง (50% ข้นึ ไป)
เกณฑการประเมนิ มเี กณฑ 4 ระดบั คอื 4= ดมี าก, 3 = ดี, 2 = พอใช , 1= ควร
ปรบั ปรุง
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผา น คอื 50%
5. แบบประเมินผลการเรยี นรูมเี กณฑ แบบฝก ปฏิบัติผา น 50%
6 แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม คา นิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค คะแนนขึ้นอยู
กับการประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.แนะนาํ ใหผูเ รียนอานทบทวนเนื้อหาเพ่ิมเตมิ
2.ทํากิจกรรมใบงาน และแบบฝก ปฏบิ ตั ิ
แผนการสอนแบบบูรณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
วชิ า การเขียนโปรแกรมเชงิ วัตถเุ บอื้ งตน รหสั วชิ า 20204 - 2108
หนวยกติ (ชวั โมง) 3(4) เวลาเรียนตอ ภาค 72 ชวั โมง
หนว ยการเรยี นรูที 5 กระบวนการเขียนโปรแกรมคาํ สงั ควบคมุ
เรือง เรอื ง กระบวนการเขียนโปรแกรมคาํ สังควบคมุ เวลาเรยี น 16 ชวั โมง
สาระสาํ คัญ
ในหนว ยนีจะนําความรูเบืองตนในการเขยี นโปรแกรมภาษา Java จากหนว ยทีแลวมาใชใ นการ
เขยี นโปรแกรมโดยจะเริม ตงั แตข ันตอนพืนฐานของการประกาศ class จากนันจะเปนการใชงาน
คาํ สังควบคมุ ตางๆ ในโปรแกรม ซงึ ในการเขียนโปรแกรมจาํ เปน ตองใชคําสังควบคมุ เพือให
โปรแกรมทํางานตามทีผูใชตองการ ในการทํางานของโปรแกรมสามารถแบงไดเปน 3 รูปแบบ คือ
การทํางานแบบลําดบั การทํางานแบบเงือ นไข และการทํางานแบบทาํ ซํา ผูเขยี นโปรแกรมตอง
ศึกษาใหเขา ใจกอ นนําไปประยกุ ตใ ชในการเขียนโปรแกรมตามตองการ
จุดประสงคก ารเรียนรู
1. ประกาศ class attribute และ method ได
2. ใชง านคาํ สงั การแสดงผลและการรบั ขอ มูลได
3. ใชงานคาํ สัง ควบคุมทศิ ทางการทํางานของโปรแกรมได
4. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข องผูสําเร็จ
การศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเกยี วกับหลักการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. เขยี นโปรแกรมบนมาตรฐาน
เน้อื หาสาระ
1. ความรูเบ้อื งตน เก่ียวกับ Java
2. การทํางานของภาษา Java
ครง้ั ท่ี 1 (4ชวั่ โมง)
ข้ันนําเขา สบู ทเรยี น
1.ครูกลา ววา ในหนวยนีจ้ ะนาํ ความรูเบ้อื งตน ในการเขียนโปรแกรมภาษา Java
จากหนว ยท่แี ลวมาใชในการเขยี นโปรแกรมโดยจะเร่ิมต้งั แตขนั้ ตอนพื้นฐานของการประกาศ class
จากน้นั จะเปน การใชงานคําส่งั ควบคมุ ตา งๆ ในโปรแกรม ซึ่งในการเขียนโปรแกรมจาํ เปน ตองใช
คําส่ังควบคมุ เพื่อใหโปรแกรมทํางานตามทผ่ี ูใชตอ งการ ในการทํางานของโปรแกรมสามารถแบงได
เปน 3 รปู แบบ คอื การทํางานแบบลําดับ การทํางานแบบเงอ่ื นไข และการทํางานแบบทําซา้ํ
ผเู ขยี นโปรแกรมตอ งศึกษาใหเขาใจกอนนาํ ไปประยุกตใ ชในการเขียนโปรแกรมตามตองการ
2.ครแู สดงรูปแบบการประกาศคลาส ดงั นี้
โดยที่ modifier คือ keyword ท่ใี ชในการกาํ หนดการเขา ถงึ คลาส
ClassName คือ ช่ือของคลาส
AttributeName คอื การประกาศ attribute
MethodName คือ การประกาศ method
ขนั้ สอน
3.ครใู ชเทคนิควิธสี อนแบบสาธิต (Demonstration Method) เปนวิธีสอนทีค่ รูแสดงให
ผเู รยี นดูและใหค วามรูแ กผูเรยี นโดยใชส อ่ื การเรียนรทู ี่เปนรูปธรรม และผเู รียนไดป ระสบการณตรง
ซงึ่ ครเู ปน ผสู าธติ และใหผูเรียนฝก ทกั ษะปฏบิ ตั ิตามเพื่อเรียนรขู ้ันตอนการประกาศ class
4.ครใู ชเทคนิควิธีสอนแบบใชโสตทศั นวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction
Method) เปน วธิ ีสอนทนี่ ําอปุ กรณโ สตทศั นว ัสดุมาชวยพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน
5.ครบู อกรูปแบบท่ใี ชในการประกาศตัวแปร
dataType varName; โดย datatype คือ ชนิดของตวั แปร และ varName คอื ชือ่ ของตัวแปร
ตวั อยา ง เชน
int myNumber;
myNumber = 5;
เปน การประกาศใหต วั แปร myNumber มีรปู แบบเปน เลขจํานวนเต็ม (integer) และมคี าเทากับ 5
สามารถใชก ารเขียนรวมกันในการประกาศตวั แปรได เชน
int myNumber = 5;
การประกาศเลขทศนยิ มจะตอ งกาํ หนดชนดิ ของขอ มลู ใหเ ปน fl oating เชน
float f = 4.5;
6.ครูแนะนําใหผ ูเรียนบันทึกบญั ชคี รวั เรอื น เพอื่ ใหเกิดการปฏิบตั พิ ัฒนาความรู ความคดิ
และปฏิบตั ถิ ูกตอง กอใหเ กดิ ความเจริญในดา นอาชีพหรอื เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ซ่ึงการ
ทําบญั ชคี รัวเรือนเปน เร่ืองการบนั ทึกรายรับรายจายประจาํ วนั /เดอื น/ป วา มีรายรบั รายจายจาก
อะไรบา ง จํานวนเทาใด รายการใดจา ยนอ ยจายมาก จาํ เปนนอยจําเปนมาก ก็อาจลดลงหรอื
เพ่ิมขนึ้ ตามความจําเปน ถาทุกคนคดิ ไดกแ็ สดงวาเปน คนรูจ ักพัฒนาตนเอง มีเหตุมผี ล รูจกั
พอประมาณ รักตนเอง รกั ครอบครัว รักชุมชน และรักประเทศชาติมากขึ้น จึงเหน็ ไดวาการทํา
บัญชีครวั เรอื น คอื วถิ ีแหง การเรียนรูเพือ่ พัฒนาชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ครง้ั ที่ 2 (4 ชว่ั โมง)
ข้ันนาํ เขาสบู ทเรียน
1. ครูใชเ ทคนิคการสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรูเ ดมิ
จากสัปดาหทผี่ านมา โดยดงึ ความรูเดมิ ของผเู รยี นในเรื่องทีจ่ ะเรยี น เพอ่ื ชวยใหผูเ รยี นมคี วาม
พรอ มในการเช่ือมโยงความรใู หมก ับความรูเ ดมิ ของตน ผสู อนใชก ารสนทนาซกั ถามใหผ เู รียนเลา
ประสบการณเดิม
2.ครูกลาววาพ้ืนฐานท่สี ําคัญอยา งหน่ึงในการเขยี นโปรแกรม Java คือการรับและแสดงผล
ขอ มลู เนื่องจากเปน สว นสําคัญในการใชง าน ถึงแมวา เราจะทําการออกแบบ และเขียนโปรแกรมได
ดเี พยี งใด แตห าก
ไมส ามารถรับขอมูลและแสดงผลขอ มลู ได โปรแกรมนัน้ ก็ไมสามารถนาํ ไปใชงานได
ข้ันสอน
3.ครูอธบิ ายและสาธิตการการแสดงผลขอมูลดวย method println() หรือ print()
- เม่อื เรียกใชง าน method print() จาก System.out.print(“Hello”); เมือ่ โปรแกรม
แสดงผลแลวตัวชต้ี ําแหนงจะอยทู ต่ี ําแหนง สดุ ทา ยของขอ มลู
- เมอื่ เรยี กใชง าน method print() รว มกับคําส่ังควบคุม \n จาก
System.out.print(“World!!!\n”); เมื่อโปรแกรมแสดงผลแลวตัวช้ตี ําแหนง จะอยทู ี่ตน บรรทัด
ใหม
- เมื่อเรยี กใชงาน method println() จาก System.out.println(“Hello”); เม่อื
โปรแกรมแสดงผล
แลวตัวชตี้ ําแหนง จะอยูทตี่ น บรรทดั ใหม
- เมอื่ เรยี กใชงาน method println() จาก System.out.println(“World!!!”); เมือ่
โปรแกรมแสดงผลแลวตวั ช้ตี ําแหนง จะอยทู ่ตี น บรรทัดใหม
4.ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ วา คําสัง่ println() หรือ print() สามารถใชในการคํานวณโดยใช
เครอ่ื งหมายทางคณติ ศาสตรไ ด
5.ครูใชเทคนิควิธีสอนแบบใชโสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction
Method) เปนวธิ ีสอนทน่ี ําอปุ กรณโ สตทศั นวัสดมุ าชว ยพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอน โสตทศั น
วสั ดดุ งั กลาว ไดแ ก Power Point
เพื่อแสดงใหผเู รียนไดเ รียนรรู หสั ควบคมุ การแสดงผล ดังนี้
6. ผูเรียนปฏิบตั ิตามตวั อยางการใชงาน print() ดงั รูปภาพขางลา ง
ผลลพั ธ
7.ผูเรยี นเขยี นโปรแกรมเพ่ือแสดงผลดงั ตอ ไปน้ี
1). แสดงผลขอ ความ Hi my name is Java
2). แสดงผลขอความ “Hi my name is Java”
3). แสดงผล Hello
How
Are
You
???
8.ผูเรียนเขยี นโปรแกรมเพื่อแสดงผล ดงั ตอ ไปน้ี
1). แสดงผลจาํ นวนเตม็ 12345678 โดยกาํ หนดใหม กี ารแสดงผลทั้งหมด 10 ตําแหนง
และแสดงผลจากซา ยไปขวา
2). แสดงผลเลขทศนยิ ม 123.456 โดยกําหนดใหมกี ารแสดงผลทง้ั หมด 12 ตาํ แหนง และ
ไมก ําหนดจาํ นวนทศนิยม แสดงผลจากขวามาซา ย
3). แสดงผลเลขทศนยิ ม 123.456 โดยกําหนดใหมกี ารแสดงผลทั้งหมด 10 ตาํ แหนง และ
กาํ หนดให
เปนทศนิยม 2 ตําแหนง แสดงผลจากซา ยไปขวา
9.ครูแนะนาํ ใหผ ูเรียนบันทึกบญั ชคี รัวเรอื น เพอื่ ใหเ กิดการปฏิบตั พิ ัฒนาความรู ความคิด
และปฏิบตั ิ
ถกู ตอ ง กอใหเกิดความเจริญในดา นอาชีพหรือเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ซง่ึ การทํา
บญั ชีครัวเรือนเปน เรอ่ื งการบันทึกรายรับรายจายประจําวัน/เดือน/ป วามีรายรับรายจายจาก
อะไรบาง จาํ นวนเทาใด รายการใดจา ยนอ ยจายมาก จาํ เปนนอ ยจาํ เปน มาก ก็อาจลดลงหรือ
เพ่มิ ข้นึ ตามความจาํ เปน ถาทกุ คนคดิ ไดกแ็ สดงวา เปน คนรูจ กั พฒั นาตนเอง มีเหตมุ ีผล รจู กั
พอประมาณ รกั ตนเอง รักครอบครัว รกั ชมุ ชน และรักประเทศชาติมากขึ้น จึงเหน็ ไดวาการทาํ
บัญชคี รวั เรือน คือวถิ แี หง การเรียนรูเ พ่อื พัฒนาชวี ิตตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
คร้งั ท่ี 3 (4 ชั่วโมง)
ข้นั นําเขา สูบ ทเรียน
1. ครูใชเทคนิคการสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู ดมิ
จากสปั ดาหท ผ่ี านมา โดยดงึ ความรูเดมิ ของผูเรียนในเรอ่ื งทจี่ ะเรยี น เพ่อื ชว ยใหผ เู รยี นมีความ
พรอ มในการเช่อื มโยงความรใู หมกับความรูเดิมของตน ผูส อนใชก ารสนทนาซักถามใหผ ูเรียนเลา
ประสบการณเดิม
2.เปด โอกาสใหผ ูเรยี นแสดงความคิดเห็น และสนทนากนั ระหวา งเพ่ือนในชนั้ เรียน
3.ครูกลาววา การกาํ หนดการทํางานของโปรแกรมสามารถทําไดโ ดยการใชคําสั่งควบคมุ ทิศ
ทางการทํางานของโปรแกรม ซงึ่ มอี ยู 3 รูปแบบ คือ
1). คาํ สัง่ ควบคุมทศิ ทางการทํางานของโปรแกรมแบบตามลําดับ (Sequence Control
Statement)
2). คําสัง่ ควบคุมทศิ ทางการทํางานของโปรแกรมแบบมีทางเลือก (Selection Control
Statement)
3). คาํ ส่ังควบคมุ ทิศทางการทํางานของโปรแกรมแบบทาํ ซาํ้ (Iteration Control
Statement)
ขั้นสอน
4.ครอู ธบิ ายและสาธติ การใชค าํ สัง่ ควบคมุ ทิศทางการทํางานของโปรแกรมแบบตามลําดับ
เพอื่ ทําความเขา ใจคําสัง่ ควบคมุ ทิศทางการทํางานของโปรแกรมแบบตามลําดบั ใหท ําการสรา ง
project ชื่อ Tax เพื่อใชใ นการคาํ นวณภาษีอยางงายข้นึ มากอ น โดยมีขัน้ ตอนดังน้ี
1). สรา ง project Tax
2). สราง Java class ชอื่ Tax_Calculator ไวใน project Tax
3). สรา ง method สาํ หรับคาํ นวณภาษชี ่ือ calTax ซง่ึ จะทําการรบั คาขอ มูลเงินเดอื นผาน
พารามิเตอร
ชนดิ float และทาํ การคืนคา ขอมลู ของภาษที ่คี าํ นวณไดออกมาเปน ขอ มลู ชนิด float
4). สราง Java main class ช่อื Tax1 ไวใ น project Tax เพอ่ื เรียกใช class
Tax_Calculator เมอื่ ทาํ การสราง project Tax เสร็จเรียบรอยแลว จะมลี ักษณะดงั ภาพ
5.ผูเรียนเขยี นโปรแกรมเพ่ือคาํ นวณเงนิ โบนสั ทจ่ี ะไดร ับ โดยกาํ หนดใหโ บนสั ท่ีจะไดรบั มีคา
เทากับ 10%
ของเงินเดือน
6.ครสู าธิตการใชค ําส่ัง If: คาํ ส่งั ควบคมุ ใหโ ปรแกรมทํางานหรือไมท าํ งานในชุดคําสงั่ ที่
กาํ หนด
ในการศึกษาขนั้ ตอนการทํางานของโปรแกรมท่ีใชคําส่ังควบคุมแบบมที างเลอื ก ทําการเขยี น
โปรแกรมตวั อยางซ่ึงมลี ักษณะดงั น้ี
1). สรา ง project If_Statement เพื่อใชใ นการศึกษาโดยในตัวอยางนีจ้ ะเปนการ
ตรวจสอบอายขุ องผูใชง าน หากผูใชง านมอี ายตุ ํ่ากวา 18 ป จะไมส ามารถใชงานได
2). สราง main class If_Statement ไวใ น project If_Statement เพ่อื ใชใ นการ
ตรวจสอบอายุลักษณะของ code ทไี่ ดม ีดงั นี้
ข้นั สรปุ และการประยกุ ต
7.ผเู รียนเขียนโปรแกรมเพื่อใชในการคิดเกรดของวิชาคอมพวิ เตอร โดยกําหนดให
ต้งั แต 80 คะแนนขน้ึ ไป เกรด A
คะแนน 70-79 เกรด B
คะแนน 60-69 เกรด C
คะแนน 50-59 เกรด D
ตํา่ กวา 50 เกรด F
กําหนดรูปแบบการทาํ งานของโปรแกรมดังน้ี
โปรแกรมทําการรับขอ มูลคะแนนจากผใู ช โดยใหคะแนนเปน ขอมูลชนิดเลขจํานวน
เต็ม
แสดงผลของเกรดทีไ่ ด พรอมท้ังขอ ความ
กรณที ี่ไดเ กรด A ใหแ สดงผล “เกรด A ดมี าก”
กรณีทไี่ ดเ กรด B ใหแสดงผล “เกรด B ด”ี
กรณีท่ีไดเกรด C ใหแสดงผล “เกรด C ปานกลาง”
กรณที ไ่ี ดเกรด D ใหแ สดงผล “เกรด D แย”
กรณที ไ่ี ดเ กรด F ใหแสดงผล “เกรด F ตองปรับปรุง”
ครัง้ ท่ี 4 ( 4ชัว่ โมง )
ข้ันนําเขาสูบ ทเรยี น
1.ครูใชเทคนิคการสอนแบบซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรูเดิมจาก
สปั ดาหทผ่ี านมา โดยดงึ ความรูเดมิ ของผูเรียนในเร่อื งทจี่ ะเรียน เพือ่ ชวยใหผ ูเรียนมคี วามพรอ มใน
การเช่อื มโยงความรูใหมก ับความรูเดมิ ของตน ผูส อนใชก ารสนทนาซักถามใหผูเ รียนเลา
ประสบการณเดิม
2.ครแู ละผูเรียนสนทนาถึงคาํ สัง่ ควบคุมทศิ ทางการทํางานของโปรแกรมทต่ี องศึกษาเพิม่ เตมิ
ตอเน่อื งจากสัปดาหที่แลว ไดแก คาํ ส่ัง switch , คําสง่ั while , คําสั่ง do…while และคาํ สง่ั for
ขน้ั สอน
3.ครอู ธิบายและสาธติ การใชค ําสงั่ switch โดยผเู รียนปฏิบัติตาม ซ่ึงมรี ูปแบบของคาํ สั่งดงั น้ี
ตวั อยา งของโปรแกรมทม่ี ีการใชคาํ สั่งควบคมุ switch มีดังนี้
4. ผูเรียนเขยี นโปรแกรมโดยใชคาํ ส่งั ควบคมุ ในการเลอื กเมนู โดยมขี อกําหนดดังนี้
1). กด 1 ใหแ สดงผลเมนู “เมนหู ลัก” ทางหนาจอ
2). กด 2 ใหแสดงผลเมนู “การตงั้ คา ” ทางหนาจอ
3). กด 3 ใหแสดงผลเมนู “ระดับเสยี ง” ทางหนาจอ
4). กด 4 ใหแ สดงผลเมนู “อ่นื ๆ” ทางหนาจอ
5). กรณีทีก่ ดเลขอื่นๆ ท่ไี มใช 1, 2, 3, 4 ใหแสดงผล “กรุณาเลือกเมนูใหถ ูกตอง”
5.ครอู ธิบายและสาธิตการใชคาํ สง่ั while โดยผูเรียนปฏบิ ตั ติ าม ซึ่งมีรูปแบบของคาํ ส่ังดังนี้
6.ครูอธิบายและสาธิตการใชคําสั่ง do…while โดยผูเรียนปฏบิ ัติตาม ซ่งึ รูปแบบของคาํ สง่ั
do…while มีดงั นี้
7.ครแู ละผูเรยี นสาธติ การคําส่ัง โดยผเู รียนปฏบิ ัตติ าม ซ่ึงรูปแบบของคําสงั่ for มดี งั นี้
8.ครแู นะนําใหผเู รยี นเขยี นโปรแกรมดว ยความละเอียดรอบคอบ มคี วามเพยี รพยายามในการนาํ
ความรูไปใชใหประสบความสําเรจ็ และมคี วามระมัดระวังขอผิดพลาดท่อี าจจะเกดิ ข้ึนไดในระหวาง
การทํางาน หรือหลังจากปฏิบตั หิ นาท่ดี วยความรบั ผิดชอบ ซึง่ เปน การสรางภูมิคุม กนั ท่ดี ีในตัวเอง
ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดังนนั้ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จึงเปน หลกั การ
ดําเนินชีวติ การทํางาน การบรหิ าร การพัฒนา รวมถึงการดําเนินกจิ กรรมในดา นตางๆ ของมนุษย
ท่ีเนน แนวทางสายกลางยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และมีภูมคิ มุ กันท่ีดี ภายใต
เงอ่ื นไขความรอบรู รอบคอบ ระมดั ระวัง และเงือ่ นไขคณุ ธรรม ความซอื่ สตั ยสุจรติ ความเพยี ร
ขยันอดทน และการแบง ปน
ขน้ั สรปุ และการประยกุ ต
9.ครูและผเู รยี นสรุปการใชค ําส่งั switch , คําสง่ั while , คาํ สงั่ do…while และคาํ ส่งั for
สอ่ื และแหลง การเรยี นรู
1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2.รูปภาพ
3.กจิ กรรมการเรียนการสอน
4.แผน ใส
5.ส่ืออิเล็กทรอนิกส, PowerPoint
การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรมกลมุ
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขารวมกิจกรรมกลุม
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู แบบฝกปฏิบตั ิ
5. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค
เครอ่ื งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุม (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรมกลุม (โดยผูเรียน)
4. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู แบบฝก ปฏิบัติ
6. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม คา นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครแู ละ
ผูเ รยี นรวมกนั ประเมิน
เกณฑก ารประเมินผล
1. เกณฑผ านการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตองไมมชี องปรับปรงุ
2. เกณฑผ านการประเมินพฤตกิ รรมการเขารว มกิจกรรมกลมุ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑผ านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รวมกจิ กรรมกลุม คือ ปานกลาง (50% ข้นึ ไป)
เกณฑก ารประเมิน มีเกณฑ 4 ระดับ คือ 4= ดีมาก, 3 = ด,ี 2 = พอใช , 1= ควร
ปรบั ปรุง
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผา น คอื 50%
5. แบบประเมินผลการเรยี นรูมเี กณฑ แบบฝก ปฏิบัติผา น 50%
6 แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม คา นิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค คะแนนขึ้นอยู
กับการประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.แนะนาํ ใหผูเ รียนอานทบทวนเนื้อหาเพ่ิมเตมิ
2.ทํากิจกรรมใบงาน และแบบฝก ปฏบิ ตั ิ
แผนการสอนแบบบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
วชิ า การเขียนโปรแกรมเชงิ วตั ถเุ บือ้ งตน รหสั วิชา 20204 - 2108
หนว ยกิต (ชวั โมง) 3(4) เวลาเรียนตอ ภาค 72 ชัว โมง
หนว ยการเรยี นรทู ี 6 การทาํ งานของโปรแกรม
เรอื ง เรอื ง การทํางานของโปรแกรม เวลาเรียน 12 ชัวโมง
สาระสําคัญ
ภาษา Java เปน ภาษาสําหรับการเขยี นโปรแกรมทีสนับสนุนใหแบงการทาํ งานของ
โปรแกรมออกเปนการทํางานยอยๆ ทเี ปนอิสระจากกัน โดยเนนทีก ารสรา ง class, attribute และ
method สําหรบั ใชในการทํางานอยางใดอยา งหนึง ซึงทําใหโ ปรแกรมมีความชัดเจน สามารถ
เปลียนแปลงและแกไขไดงา ย อกี ทัง ยังสามารถนํากลับมาใชใ หมไ ด นอกจากนีในการเขียน
โปรแกรมใดๆ กต็ าม ยอมมีโอกาสเกิดขอผิดพลาดขึนไดเสมอ ดงั นันวธิ ีการรบั มอื กับความ
ผดิ พลาดจากการทํางานของโปรแกรมจงึ มีความสําคัญเปนอยางยิง
เนือหาในหนวยนจี ะอธบิ ายเกยี วกบั สวนประกอบของโปรแกรมทเี ขยี นขนึ เพอื ทาํ งานอยา ง
ใดอยา งหนงึ โดยเฉพาะ และการจัดการกบั ขอผดิ พลาดทเี กิดขึนจากการทํางานของโปรแกรมคอื
รายละเอยี ดของ Method Constructorและ Exception
จุดประสงคก ารเรียนรู
1. อธิบาย และใช Method ได
2. อธบิ าย และใช Constructor ได
3. อธิบาย และใช Exception ได
4. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคของผูสาํ เร็จ
การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรูเกียวกับหลกั การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. เขยี นโปรแกรมบนมาตรฐาน
เน้ือหาสาระ
1. Method
2. Constructor
3. Exception
ครั้งท่ี 1 (4ช่วั โมง)
ขัน้ นําเขาสบู ทเรียน
1.ครกู ลา ววาเนอื้ หาในหนวยนจ้ี ะอธิบายเกยี่ วกับสวนประกอบของโปรแกรมทีเ่ ขยี นขนึ้ เพอื่
ทาํ งานอยา งใดอยา งหน่งึ โดยเฉพาะ และการจดั การกับขอผดิ พลาดทเ่ี กิดขึ้นจากการทํางานของ
โปรแกรมคือรายละเอียดของ Method Constructorและ Exception
2. ครบู อกความหมายของ Method คือ กลุม คาํ สัง่ ที่ถูกกาํ หนดขนึ้ เพ่อื ทาํ งานท่ี
เฉพาะเจาะจง โดยสามารถเปรียบไดกบั โปรแกรมยอย หรอื Function ในการเขยี นโปรแกรมแบบ
โครงสราง (Structured Programming) ซ่งึ method นั้นจะถือเปนสมาชิกของ class
ขน้ั สอน
3.ครอู ธบิ ายและสาธิตการประกาศ method กรณีไมมกี ารรบั คา parameter และไมม ี
การคนื คา parameter
4.ครูอธบิ ายและสาธิตการประกาศ method กรณี method มีการรบั คา parameter
แตไ มม ีการคืนคาparameter
5.ครอู ธบิ ายและสาธติ การประกาศ method กรณี method ไมมีการรบั คา parameter
แตมีการคืนคา parameter
6. ครูอธิบายและสาธติ การประกาศ method กรณี method มีการรับคา parameter
และมกี ารคืนคา parameter
7.ครอู ธิบายโดยใชสอื่ Power Point ประกอบ และสาธติ การประกาศ method ใน
ประเภทตางๆ
8.ผเู รยี นสราง method เพ่ือทาํ หนา ท่ดี งั ตอ ไปน้ี
1). สราง method เพื่อใชในการรบั ขอ มลู เลข 2 จาํ นวนและคืนคา ขอ มลู ตัวเลขท่มี ีคามากทส่ี ดุ
2). สราง method เพอ่ื ใชในการรบั ขอมลู เลข 2 จํานวนและคืนคาขอ มูลตัวเลขที่มีคา นอ ยทสี่ ดุ
3). สราง method เพื่อใชใ นการรบั ขอ มลู เลข 3 จํานวนและคนื คาขอ มูลตวั เลขที่มคี ามากทส่ี ดุ
4). สราง method เพ่อื ใชในการรบั ขอมลู เลข 4 จํานวนและคืนคาขอ มลู ตวั เลขทมี่ ีคานอ ยทส่ี ุด
9.ผูเ รียนสราง สราง method ชอื่ rollDice() ซงึ่ คืนคา เลข 1-6 ทีไ่ ดจ ากการทอดลกู เตา
และใช methodrollDice() ในการทดสอบความนาจะเปน ของการทอดลกู เตา โดยกาํ หนดใหทอด
ลูกเตาท้ังหมด 1,000 ครั้งและนบั จํานวนหนา ของลูกเตา ท่อี อกในแตละครัง้ เพื่อนาํ ไปคํานวณหา
ความนา จะเปน
10.ผูเรยี นเขยี นโปรแกรมคาํ นวณคา แรง OT โดยกําหนดใหสราง class ชอ่ื OT และสราง
method ดังน้ี
Method สาํ หรับรบั ขอ มูล เปนแบบ Instance Method ทําหนา ท่ีดงั นี้
1). รบั ขอ มลู จาํ นวนชว่ั โมง OT
2). รบั ขอ มูลประเภทแรงงาน (มี 2 แบบ คอื ประเภท 0 และ ประเภท “X”)
3). รับขอมูลคา แรงปกตติ อช่วั โมง
4). สงขอมลู ไปยัง method คาํ นวณ OT
11.ครใู ชเทคนิควิธกี ารจดั การเรียนรแู บบอภิปราย (Discussion Method) คือ
กระบวนการทผ่ี ูสอนมุงใหผเู รียนมีโอกาสสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นหรือระดมความคิด โดย
มีจดุ มุงหมายเพ่ือใหผูเรียนเขา ใจเนอ้ื หาไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ โดยมวี ธิ กี ารคอื ใหผ เู รียนชวยกนั
อภิปรายเนื้อหาของ Method สําเร็จรูปในภาษา Java
12.ครูเนนปฏบิ ัตกิ ารงานดวยความระมัดระวัง และใหส ามารถนําไปใชไ ดจริง เพือ่ สราง
ภมู คิ ุมกนั ในตวั เอง และเสนอแนะการนําความรไู ปประกอบอาชีพเพ่ือสรางรายไดใหแกตนเองและ
ครอบครัวตอ ไป
ข้นั สรปุ และการประยกุ ต
13.ครแู ละผเู รียนสรปุ เนือ้ หาท่เี รียน
14.ทําแบบประเมินผลการเรยี นรู แบบฝก ปฏิบัติ และประเมนิ ตนเองจากแบบประเมินตนเอง
พรอมทาํ กิจกรรมการจัดประสบการณการเรยี นรู
ครัง้ ท่ี 2 (4 ชั่วโมง)
ขนั้ นาํ เขาสบู ทเรยี น
1.ครใู ชเทคนคิ การสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู ดิม
จากสัปดาหท ีผ่ านมา โดยดึงความรเู ดิมของผเู รียนในเรอื่ งทจี่ ะเรียน เพ่อื ชว ยใหผเู รยี นมคี วาม
พรอ มในการเชื่อมโยงความรใู หมกับความรเู ดิมของตน ผูสอนใชการสนทนาซักถามใหผ ูเรียนเลา
ประสบการณเดิม
2. ครกู ลาววา Constructor เปน method ประเภทหน่งึ ซง่ึ มีลักษณะพเิ ศษคอื จะมีช่ือ
เดยี วกนั กับชือ่ ของ class เมื่อมกี ารสราง object จาก class นั้น Constructor จะถูกเรียกใชงาน
โดยอัตโนมตั ิ Constructor น้ันเปน method ท่ไี มมีการคืนคาและไมต อ งระบุ keyword “void
” ในข้ันตอนการสราง class
ขั้นสอน
3. ครแู สดงรปู ภาพตวั อยา งของโปรแกรมทม่ี กี ารใชง าน Constructor และ default
Constructor ประกอบการอธบิ าย และสาธติ
4.ครูและผเู รียนสาธติ การเขยี นโปรแกรมทม่ี กี ารใชง าน Overloading Constructor
5.ครอู ธบิ ายและสาธิตการเรียกใช Constructor ดว ย keyword this()
6.ครูแนะนาํ ใหผ ูเรียนรูจกั การนาํ เอาความพอเพยี งไปใชใหเกิดประโยชน ซง่ึ เปนความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจาํ เปนท่ตี อ งมรี ะบบภมู ิคมุ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควรตอ
ผลกระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน การตัดสินใจและการดําเนิน
กิจกรรมตางๆใหอยใู นระดับพอเพยี งนั้น ตองอาศยั ท้ังความรแู ละคุณธรรมเปน พื้นฐาน
7.ครแู นะนาํ ใหผ ูเรียนรูจ กั ชว ยเหลือสงั คมสว นรวม รูจักประหยดั พลังงาน เชน เปดปด
ไฟฟาในเวลาที่เหมาะสม
ขนั้ สรุปและการประยกุ ต
8.ครสู รุปบทเรียน โดยใช VDO และ PowerPoint และอภิปรายซกั ถามขอ สงสัย และใหผเู รียนฝก
ปฏิบัติในบางเรือ่ ง
คร้งั ท่ี 3 (4 ชว่ั โมง)
ขัน้ นําเขาสูบทเรียน
1.ครใู ชเทคนิคการสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู ดิม
จากสปั ดาหท ีผ่ านมา โดยดงึ ความรเู ดิมของผเู รียนในเร่ืองทจ่ี ะเรียน เพ่ือชว ยใหผ เู รียนมคี วาม
พรอมในการเชือ่ มโยงความรใู หมก ับความรเู ดมิ ของตน ผูสอนใชการสนทนาซกั ถามใหผเู รียนเลา
ประสบการณเดิม
2.เปด โอกาสใหผูเรียนสอบถาม หรอื แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ รวมทั้งปญ หาตาง ๆ
เกี่ยวกับการเขยี นโปรแกรมภาษา Java
3.ครแู ละผูเรยี นสนทนาเก่ียวความผิดพลาดท่ีเกดิ ขึ้นในการเขยี นโปรแกรมน้นั ถือเปน เรื่อง
ปกติที่อาจจะเกิดข้ึนได ดังนั้นผูใ ชจ ึงควรเรยี นรูวธิ ีการจดั การกบั ความผดิ พลาดทเ่ี กิดขึ้น และ
ปองกนั ใหเกิดความผิดพลาดนอ ยทส่ี ุดขอผดิ พลาดท่ีพบเห็นไดบ อ ยๆ เชน การหารดว ยศนู ย หรือ
การปอ นขอมลู ผิดประเภท อาจสงผลใหการทาํ งานของโปรแกรมลมเหลวได ในการตรวจสอบและ
ดักจับขอผดิ พลาดนนั้ สามารถทําไดโดยการใชงาน Exception มาชว ยในการตรวจสอบ ซึ่งถือเปน
วธิ ที ีน่ ิยมกนั มาก เนอ่ื งจากมกี ารแยกสวนของชุดคาํ ส่ังท่ใี ชส ําหรบั การทํางานของโปรแกรมออก
จากชดุ คําสั่งทใี่ ชในการจดั การความผิดพลาดทําใหส ามารถตรวจสอบไดตรงจุดและแกไ ขไดสะดวก
ข้ันสอน
4.ครใู ชเทคนคิ วิธกี ารจดั การเรียนรูแ บบอภิปราย (Discussion Method) คอื กระบวนการท่ี
ผูสอนมุงใหผ เู รียนมโี อกาสสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นหรอื ระดมความคิด โดยมีจุดมงุ หมาย
เพื่อใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ โดยอภปิ รายเนือ้ หาเรื่องความแตกตา งระหวา ง
Error และ Exception
5.ครูอธบิ าย และแสดงการสาธิตการใชง านคําสง่ั try…catch และใหผ ูเรียนปฏิบตั ิตาม โดย
รูปแบบการใชงานคาํ สั่ง try…catch มดี งั นี้
6.ครแู ละผูเรียนสาธิต การใชง านคาํ สงั่ throws ซึ่งมีรปู แบบในการเรยี กใชง านดงั น้ี
7.ผูเรียนเขยี นโปรแกรมจัดการขอ ผิดพลาดท่ีเกิดขน้ึ โดยการสราง Exception ขึ้นเอง โดยมี
ขอกําหนดดงั น้ี
1). โปรแกรมสามารถรบั ขอมลู ได โดยสามารถรบั ขอ มลู ชนิดเลขจาํ นวนเต็มเทานน้ั
2). โปรแกรมสามารถตรวจสอบชนิดของขอมูลได หากชนดิ ของขอมูลไมตรงกบั ท่ี
กําหนดใหแ สดงขอ ความ Invalid Input Type และจบการทํางาน
8.ครแู นะนําใหผ เู รียนรูจ กั การนําเอาความพอเพยี งไปใชใหเ กิดประโยชน ซึง่ เปนความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจําเปนท่ีตองมีระบบภมู คิ ุมกนั ในตัวที่ดพี อสมควรตอ
ผลกระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปลี่ยนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน การตัดสนิ ใจและการดาํ เนิน
กจิ กรรมตางๆใหอ ยูใ นระดบั พอเพียงนั้น ตอ งอาศัยท้ังความรแู ละคุณธรรมเปน พ้ืนฐาน
ขนั้ สรปุ และการประเมินผล
9.ครแู ละผเู รียนสรปุ การจัดการขอผดิ พลาดท่ีเกดิ ขึน้ ดวย Exception
10.ครูแนะนําใหผูเรียนนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาประยกุ ตใ ชใ น
ชวี ติ ประจําวนั
สือ่ และแหลง การเรยี นรู
1.หนงั สือเรียน วิชาการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผนใส
5.สือ่ อิเล็กทรอนิกส, PowerPoint
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา รว มกิจกรรมกลมุ
3. สงั เกตพฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรมกลุม
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู แบบฝก ปฏบิ ัติ
5. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึง
ประสงค
เครือ่ งมือวัดผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลมุ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รว มกจิ กรรมกลุม (โดยผเู รยี น)
4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู แบบฝกปฏิบัติ
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค โดยครแู ละ
ผูเรยี นรวมกนั ประเมิน
เกณฑการประเมินผล
1. เกณฑผ านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตองไมม ีชองปรบั ปรุง
2. เกณฑผานการประเมินพฤติกรรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
3. เกณฑผ านการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรมกลุม คือ ปานกลาง (50% ข้นึ ไป)
เกณฑการประเมิน มเี กณฑ 4 ระดับ คือ 4= ดีมาก, 3 = ด,ี 2 = พอใช , 1= ควรปรบั ปรงุ
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ าน คือ 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรูมีเกณฑ แบบฝกปฏบิ ัติผา น 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค คะแนนขึ้นอยู
กบั การประเมินตามสภาพจริง
แผนการสอนแบบบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วชิ า การเขยี นโปรแกรมเชิงวัตถเุ บอ้ื งตน รหสั วชิ า 20204 - 2108
หนวยกิต (ชวั โมง) 3(4) เวลาเรียนตอ ภาค 72 ชัวโมง
หนว ยการเรียนรูที 7 การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด ทีสามารถใชไ ดใน
ระบบปฏบิ ตั ิการทีหลากหลาย เวลาเรียน 4 ชัว โมง
สาระสาํ คญั
ภาษา Java เปนภาษาคอมพวิ เตอรท ไี ดร ับความนิยม เนอื งจากการเขียนโปรแกรมโดยใชภาษา
Java สามารถนาํ าไปใชไดในระบบปฏิบตั ิการทีหลากหลาย เชน Windows Os X Android เปน
ตน จากความสามารถของภาษา Javaทมี ีความหลากหลาย จึงมกี ารพัฒนาโปรแกรมดว ยบริษัท
ใหญๆ เพอื ใชในงานเฉพาะทาง ปจ จบุ นั ภาษา Java ไดเขา มามบี ทบาทในชีวติ ประจาํ าวนั มากขนึ
และความตองการโปรแกรมเมอรภ าษา Java กส็ งู ขนึ มากเชน กนั
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความเหมาะสมของภาษา Java ในการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด ได
2. สามารถใชห ลักปฏบิ ตั ิในการเขยี นโปรแกรมภาษา Java ไดอ ยางเหมาะสม
3. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคของผูส าํ เร็จ
การศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรูเกยี วกบั หลักการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. เขยี นโปรแกรมบนมาตรฐาน
เนอื หาสาระ
1. ภาษา Java กับการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2. หลักปฏิบัตใิ นการเขียนโปรแกรมภาษา Java