The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พงศธร เคนสีแก้ว, 2020-07-30 10:02:42

20204-2108 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น

ข้นั นําเขาสบู ทเรยี น
1.ครูสนทนากับผูเรียนเกี่ยวกับ ภาษา Java เปนภาษาคอมพิวเตอรที่ไดรบั ความนิยม

เน่ืองจากการเขยี นโปรแกรมโดยใชภาษา Java สามารถนําาไปใชไดใ นระบบปฏบิ ัตกิ ารท่ี
หลากหลาย เชน Windows Os X Android เปน ตน จากความสามารถของภาษา Javaท่ีมคี วาม
หลากหลาย จึงมกี ารพฒั นาโปรแกรมดว ยบริษทั ใหญๆ เพื่อใชใ นงานเฉพาะทาง ปจจุบนั ภาษา
Java ไดเขา มามบี ทบาทในชีวติ ประจําาวนั มากขึน้ และความตอ งการโปรแกรมเมอรภ าษา Java ก็
สงู ขน้ึ มากเชนกัน

2.ครูบอกรนุ ของภาษา Java ที่สําาคัญแบงเปน 3 รุนใหญๆ คือ
1). J2SE ปจจบุ ันเปลย่ี นชื่อเปน SE (Standard Edition)
2). J2EE ปจจุบนั เปลี่ยนช่ือเปน EE (Enterprise Edition)
3). J2ME ปจจุบนั เปลย่ี นชอื่ เปน ME ((Micro Edition)

3. ครูใชเ ทคนิการอภิปรายเร่ืองความเหมาะสมของการใช ภาษา Java ในการเขียน
โปรแกรมบนมาตรฐานเปด
ขนั้ สอน

3.ครอู ธิบายและสาธิตการประกาศ method กรณไี มม ีการรบั คา parameter และไมม ี
การคืนคา parameter

4.ครอู ธบิ ายและสาธติ การประกาศ method กรณี method มีการรบั คา parameter
แตไ มม ีการคนื คาparameter

5.ครูอธิบายและสาธิตการประกาศ method กรณี method ไมม กี ารรับคา parameter
แตมีการคนื คา parameter

6. ครอู ธบิ ายและสาธติ การประกาศ method กรณี method มีการรับคา parameter
และมกี ารคนื คา parameter

7.ครอู ธิบายโดยใชส ่อื Power Point ประกอบ และสาธิตการประกาศ method ใน
ประเภทตา งๆ

8. ครูใชเ ทคนคิ การสอนแบบ Lecture Method การจดั การเรียนรแู บบบรรยาย คือ
กระบวนการเรียนรูทผี่ สู อนเปน ผูถ า ยทอดความรูใหแกผูเรยี นโดยการพดู บอกเลา อธบิ ายเน้ือหา
เร่อื งการประกาศ (Declaration) ดงั น้ี

1). จํานวนของการประกาศตอ บรรทัด
2). ตําแหนง ของการประกาศ
3). การประกาศ class และ interface
9. ครูใชเ ทคนิควธิ ีการจัดการเรียนรแู บบอภปิ ราย (Discussion Method) คือกระบวนการท่ี
ผสู อนมุงใหผเู รยี นมโี อกาสสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นหรือระดมความคิด โดยมี
จุดมุงหมายเพ่ือใหผูเรียนเขาใจเนอ้ื หาไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยอภิปรายเน้อื หาเร่อื งการ
สราง Statements ดังนี้
1). Statement อยางงาย (Simple statements)
2). Statement ทมี่ คี วามซบั ซอน (Compound statements)
3). return Statements
4). if, if-else, if else – if else Statements
5). for Statements
6). while Statements
7). do-while Statements
8). switch Statements
9). try-catch Statements
10.ครอู ธิบายและสาธติ การใชพ ื้นทว่ี าง (White Space) ในการเขียนโปรแกรม Java
11.ครูใชเทคนิควธิ ีสอนแบบใชโ สตทศั นวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction
Method) เปนวธิ ีสอนที่นําอุปกรณโ สตทศั นวัสดุมาชว ยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน โสตทัศน
วสั ดดุ ังกลาว ไดแ ก Power Point
เพอื่ อธิบายหลกั ในการตัง้ ชอ่ื เพอ่ื ชว ยใหการอานโปรแกรมเปน ไปไดง ายข้นึ
12.ครูใชเทคนคิ วิธีการจัดการเรียนรูแบบอภปิ ราย (Discussion Method) คือกระบวนการ
ทีผ่ สู อนมงุ ใหผ ูเรยี นมีโอกาสสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นหรอื ระดมความคดิ โดยมีจดุ มงุ หมาย
เพอ่ื ใหผูเรยี นเขา ใจเนื้อหาไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยมีวิธีการคือ ใหผูเรยี นชวยกนั อภปิ ราย
เนื้อหาของแนวทางในการเขยี นโปรแกรม
1). การกาํ หนดการเขาถึง Instance และ ตวั แปรของ Class

2). การอางถงึ ตัวแปรของ Class และ Methods
3). คา คงท่ี
4). การกําหนดคาตัวแปร
5). แนวทางปฏิบตั อิ น่ื ๆ
13. ครแู สดงรปู ภาพตวั อยาง Code ประกอบการอธิบาย
ตัวอยางของ Java source fi le ซ่งึ ประกอบดวย 1 public class
14.ผูเรียนเขียนโปรแกรมโดยใชร ูปแบบตามหลักปฏิบัตใิ นการเขียนโปรแกรมเพอ่ื ควบคมุ การทาํ า
งานของลิฟต 2 ตัว โดยมีขอกาํ าหนดดงั น้ี
- ลิฟตท ั้งสองตวั อยูในอาคารสงู 10 ช้ัน
- ลฟิ ตตัวที่ 1 จอดเฉพาะชั้น 1 และชั้นท่ีเปน เลขคู
- ลฟิ ตตวั ที่ 2 จอดเฉพาะช้ัน 1 และชั้นทเี่ ปนเลขค่ี
15.ผูเรียนเขียนโปรแกรมโดยใชร ูปแบบตามหลักปฏิบัติในการเขยี นโปรแกรมเพ่อื คาํ านวณ
ผลคะแนนของการแขง ขนั ฟตุ บอลโดยมีขอกาํ าหนดดังนี้
- จาํ านวนทมี ท้ังหมด 32 ทีมแขง ในการแขงขนั รอบแรก เปน การแขง แบบพบกนั หมด
- ผลการแขงขนั ชนะ ได 3 คะแนน
- ผลการแขงขนั เสมอ ได 1 คะแนน
- ผลการแขงขันแพ ได 0 คะแนน
- ทมี ท่ีจะผา นเขารอบท่ี 2 มีท้งั หมด 16 ทมี โดยเรยี งตามลําาดบั ของคะแนน

16.ครูเนน ใหผ ูเรียนพมิ พง านตางๆ ดวยความรอบคอบ ระมดั ระวังขอผดิ พลาดจากการใช
โปรแกรมกราฟก ทง้ั นี้เพือ่ ฝก ทักษะความชํานาญใหผเู รยี นปฏบิ ตั ไิ ดจ ริง และสงเสริมเพอื่ นาํ ไป
ประกอบวชิ าชีพ เพอื่ เปนการสรางภมู ิคมุ กนั ท่ดี ีในตัวเอง

ขนั้ สรุปและการประยกุ ต
17.ครูและผเู รียนสรปุ เน้อื หาท่เี รียน

สื่อและแหลงการเรยี นรู
1.หนังสอื เรียน วชิ าการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปด
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผน ใส
5.สือ่ อิเล็กทรอนิกส, PowerPoint
การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรมกลุม
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู แบบฝกปฏบิ ัติ
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดา นคณุ ธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค
เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรมกลมุ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รว มกจิ กรรมกลมุ (โดยผเู รียน)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู แบบฝกปฏบิ ัติ
6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม คา นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค โดยครแู ละ
ผเู รียนรวมกนั ประเมนิ

เกณฑการประเมินผล
1. เกณฑผ านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ งไมมีชองปรบั ปรุง
2. เกณฑผานการประเมินพฤตกิ รรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ คอื ปานกลาง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑผ านการสังเกตพฤตกิ รรมการเขารว มกจิ กรรมกลุม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป)

เกณฑการประเมนิ มเี กณฑ 4 ระดบั คือ 4= ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช , 1= ควรปรับปรุง

4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ าน คอื 50%

5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรูมเี กณฑ แบบฝก ปฏบิ ัติผาน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค คะแนนขึ้นอยู
กับการประเมนิ ตามสภาพจริง


Click to View FlipBook Version