The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนทับโพธิพัฒนวิทย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanawich.s, 2022-07-06 04:14:36

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนทับโพธิพัฒนวิทย์

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนทับโพธิพัฒนวิทย์

บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวทิ ย์ ตาบลทบั ใหญ่ อาเภอรัตนบุรี จงั หวัดสุรินทร์
ท.่ี ....................................................... วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2565
เร่ือง บันทกึ การใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายในประจาปี ปกี ารศึกษา 2564
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เรยี น ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
สง่ิ ท่ีส่งมาดว้ ย รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 1 เล่ม

ดว้ ยโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวิทย์ ได้ดาเนินการจัดทารายงานการประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ.2561 ปกี ารศกึ ษา 2564 ตาม
กฎกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ย ระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา เม่ือ
สน้ิ ปกี ารศกึ ษา สถานศึกษาทุกแหง่ ต้องจัดทารายงานประจาปี ที่เป็นรายงานประเมนิ คุณภาพภายใน เพ่ือ
เสนอตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา หน่วยงานต้นสงั กดั และหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้องพิจารณา และเปดิ เผย
รายงานตอ่ สาธารณชนตอ่ ไป

จึงเรยี นมาเพื่อทราบและพจิ ารณาความเห็นชอบตอ่ ไป
ขอแสดงความนบั ถอื

(นางจฬุ าภรณ์ บญุ ศรี)
ผู้อานวยการโรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย์
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บนั ทึกการให้ความเห็นชอบรายงานประจาปขี องสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564
ตามท่ีโรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวิทย์ ได้จัดทารายงานการประเมินคณุ ภาพภายในประจาปีการศกึ ษา
2564 ระดับมัธยมศกึ ษา และนาเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานนั้น
ข้าพเจา้ และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ไดศ้ กึ ษารายละเอยี ดของรายงานรายงานการประเมนิ
คุณภาพภายในประจาปีแลว้ ปรากฏว่า มคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกับผลการดาเนนิ งานของสถานศึกษา
ขา้ พเจา้ และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จงึ ให้ความเห็นชอบรายงานประจาปีการศึกษา 2564 ของ
โรงเรียนทับโพธพ์ิ ฒั นวทิ ย์ และขอใหท้ างโรงเรยี นไดน้ าผลการดาเนินงานไปพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ให้ได้
มาตรฐานตามที่กาหนดไว้ต่อไป

....……………..............…
( นางจนั ทร์ดี จอ้ ยสระคู )
ประธานกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานโรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวิทย์

18 เมษายน 2565

2

คานา

การปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษทส่ี อง (พ.ศ. 2552-2561) ได้ใหค้ วามสาคัญการนาผลการประเมนิ
คุณภาพการศึกษาของหนว่ ยงานต้นสงั กดั และสถานศกึ ษาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
ตามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553 โดยกาหนดให้
สถานศกึ ษาดาเนนิ การ 1) จัดระบบการประกันคุณภาพภายใน 7 องค์ประกอบตามกฎกระทรวง ฯ และใหถ้ อื
เป็นสว่ นหนึง่ ของการบริหารการศึกษาเนน้ ความต่อเนอ่ื ง 2) จัดทารายงานประจาปีของสถานศกึ ษา โดยต้น
สังกดั 3) เผยแพร่ผลการติดตาม และผลการปฏบิ ัตงิ านที่ดีของสถานศกึ ษาตอ่ สาธารณชน 4) นาผลการ
ประเมนิ ไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ตลอดท้ังเพอ่ื รองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

ดงั นัน้ โรงเรียนทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ย์ ไดด้ าเนนิ การตามหลกั การของกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องทุกปี
การศกึ ษา และได้จัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา พรอ้ มท้งั จัดทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษา
ของสถานศึกษาท่ีมงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนนิ การตามแผนทีก่ าหนดไว้ โดยใช้ข้อมูลจากการ
ประเมินตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา 2564 ประกอบดว้ ยส่วนสาคัญ คือ
บทสรปุ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ส่วน
ที่ 3 สรุปผลการประเมนิ และแนวทางการพฒั นา และ ส่วนที่ 4 การปฏิบัติที่เป็นเลิศของถานศึกษา เพอ่ื ในการ
ติดตามตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพภายใน

ขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนินงาน และผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น ท่ีมี
ส่วนรว่ มในการจัดทาเอกสารรายงานฉบบั นี้ และหวังวา่ เอกสารรายงานฉบบั น้จี ะเป็นประโยชนต์ ่อการปรบั ปรุง
และพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาในปีถดั ไป และเป็นฐานข้อมลู ในการกาหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการจดั
การศึกษาของสถานศกึ ษาและของหน่วยงานตน้ สงั กัด ตลอดจนเพอ่ื ประโยชนใ์ นการรองรบั การประเมิน
คณุ ภาพภายนอก จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

(นางจฬุ าภรณ์ บญุ ศร)ี
ผอู้ านวยการโรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวิทย์

3

สารบัญ

ส่วนที่ หน้า
2
∙ คานา 3
∙ สารบัญ 5
∙ บทสรุปของผู้บรหิ าร 7
1 ขอ้ มลู พื้นฐานของสถานศึกษา 9
9
∙ ขอ้ มลู ทัว่ ไป 11
∙ ขอ้ มลู ครูและบุคลากร 12
∙ ขอ้ มลู นกั เรียน 24
∙ สรปุ ขอ้ มูลผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดบั สถานศึกษา 26
∙ ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรยี น 28
∙ สรปุ การใชแ้ หล่งเรียนรูภ้ ายในและภายนอกสถานศกึ ษา 30
∙ ข้อมลู งบประมาณ 31
∙ สภาพชมุ ชนโดยรวม 39
∙ สรปุ ผลการประเมนิ จากหนว่ ยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ 39
2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 48
∙ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น 57
∙ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา
∙ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั 64
∙ สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 67
67
ปกี ารศึกษา 2564 70
3 สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลอื 70
71
∙ จุดเดน่ จุดที่ควรพฒั นา 71
∙ แนวทางการพัฒนาในอนาคต
∙ ความตอ้ งการการชว่ ยเหลือ
4 การปฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลิศของถานศกึ ษา
∙ แบบรายงานนวตั กรรม/วธิ กี ารปฏิบัติทดี่ ี(Best Practices)

4

สารบัญ (ตอ่ )

สว่ นที่ หนา้

ภาคผนวก 85-115

∙ ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา/กาหนดคา่ เป้าหมาย/

อัตลกั ษณ์/เอกลกั ษณ์

∙ คาส่งั แตง่ ตั้งคณะทางานการเขียนรายงานประจาปีของสถานศึกษา

∙ ประกาศแตง่ ต้งั คณะกรรมการติดตามตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพภายใน

ของสถานศึกษาโดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ /คณะตรวจสอบคุณภาพการเขยี นรายงาน

ประจาปีของสถานศกึ ษา

5

บทสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ าร

โรงเรยี น ทบั โพธพ์ิ ฒั นวิทย์ ท่ตี งั้ ตาบล ทบั ใหญ่ อาเภอ รัตนบรุ ี จังหวัด สรุ นิ ทร์
สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ ินทร์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร โทร 095-4250-099 E-mail : [email protected] Website :
https://tpw.thai.ac/ มบี คุ ลากรข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา จานวน 16 คน เปิดสอนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 มีเนื้อที่ 50 ไร่
..............................................................................................................................................................................
1. คุณภาพของถานศกึ ษาอยูใ่ นระดบั คุณภาพใด มคี ุณภาพอยา่ งไร
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รียน ระดับคุณภาพ ดีเลิศ

โรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย์ มีกระบวนการพฒั นาผู้เรยี นดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย ครูจัดการเรยี นรู้ให้
เป็นไปตามศกั ยภาพของผู้เรียน และเปน็ ไปตามมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสตู รสถานศกึ ษา มกี ารออกแบบ
การจดั การเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกับผ้เู รยี นและหลากหลาย เชน่ รปู แบบการระดมสมอง (Brainstorming) แบบลง
มอื ปฏบิ ัตจิ ริง (Practice) แบบร่วมมอื กนั เรยี นรู้ (Cooperative Learning) แบบใช้กระบวนการคิด
กระบวนการใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) และมงุ่ เน้นพฒั นาใหผ้ ู้เรยี นทกุ คนอ่าน
ออกและเขียนได้ มีความสมารถในการคิดวิเคราะห์ตอ่ ยอดจากช้ันเรียนในระดบั ที่สงู ขน้ึ และส่งเสริมให้ผเู้ รยี นมี
คุณธรรม จรยิ ธรรมทเ่ี หมาะสมกับวัย โดยเฉพาะการมวี ินยั ความซือ่ สัตยซ์ ่ือสตั ย์ และความรบั ผดิ ชอบท่ีเป็น
คณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องสถานศึกษา โดยการจัดคา่ ยคณุ ธรรม ช่วั โมงความดี ช่ัวโมงจติ สาธารณะ ชว่ั โมง
ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลาร้ใู นทุกระดับช้นั นอกจากน้ีจดั ให้มีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต อีกทั้งยงั
นาภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินมาร่วมกนั วางแผนการจดั การเรยี นการสอน และมกี ารเรียนรภู้ ูมปิ ญั ญาในชมุ ชนรอบ ๆ
สถานศกึ ษา ดว้ ยการจดั กจิ กรรมการสอนแบบโครงงาน (หนึง่ โรงเรียนหนึง่ อาชพี หนึง่ ผลติ ภัณฑ)์ ส่วนการ
พัฒนาครนู ้ัน เน้นการใช้เทคนคิ การสอนหรอื นวัตกรรมท่หี ลากหลายให้ตรงตามศักยภาพผ้เู รยี น สนับสนุนการ
ใช้เทคโนโลยมี าเป็นสอ่ื ในการจัดการเรยี นรู้ โดยจัดให้มแี หล่งเรียนรแู้ ละแหล่งสบื คน้ ข้อมูล ได้แก่ ห้องสมดุ ห้อง
คอมพิวเตอร์ แล้วรว่ มกนั สะท้อนปัญหาการจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบ PLC จัดการวดั และประเมนิ ผล
แบบบูรณาการ มีระบบการแนะแนวและการดแู ลสุขภาวะจติ นาภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ มารว่ มกันวางแผนการ
จดั การเรียนการสอน และมกี ารเรียนรภู้ ูมิปัญญาในชมุ ชนรอบ ๆ สถานศกึ ษา จดั กิจกรรมการสอนเนน้ โครงงาน
เชน่ โครงงานหน่งึ โรงเรยี นหนงึ่ อาชีพหนง่ึ ผลติ ภัณฑ์นอกจากนีส้ ถานศกึ ษาไดม้ นี ิเทศแบบ (Coaching) ติดตาม
ตรวจสอบอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนเป็นไปตามเป้าหมายที่ส่งผลให้ผ้เู รยี นมีทักษะชวี ิต
และอยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ

โรงเรยี นไดด้ าเนนิ การจัดกจิ กรรมท่สี ่งเสริมให้ผ้เู รยี นบรรลตุ ามเป้าหมายวสิ ัยทัศน์ ปรัชญาและจดุ เนน้
ของสถานศกึ ษา มกี ิจกรรมพิเศษเพือ่ ตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา และมีผล
การดาเนนิ งานบรรลตุ ามเป้าหมาย ภายใต้การบริหารจดั การสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้การนิเทศ

6

งานด้วยวงจร PAOR มกี ารบริหารจดั การดา้ นที่มีประสิทธิภาพ มรี ะบบสารสนเทศของโรงเรยี นเปน็ หมวดหมู่
เปน็ ปจั จบุ นั โดยเฉพาะการนาเทคโนโลยีมาใช้ ทาให้การบรหิ ารจัดการของโรงเรยี นมปี ระสทิ ธิภาพ และจัดทา
หลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีความเหมาะสม จัดรายวิชาเพิ่มเติมตามจดุ เน้นของโรงเรยี น ซ่ึงมาจากตามความถนัด
ความสามารถและความสนใจของนกั เรยี น ส่วนครูปฏิบัตหิ นา้ ทตี่ รงกบั ความรู้ความสามารถหรือคณุ วฒุ ิทาง
การศกึ ษา และไดร้ บั การส่งเสริมและพัฒนาใหม้ ีสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี โดยนาผลที่ได้จากการพัฒนา
ดังกลา่ วมาปรบั ใช้พัฒนาโรงเรียนจนสง่ ผลใหน้ กั เรยี น ผู้ปกครอง และชุมชนเกดิ ความพึงพอใจ นอกจากนไ้ี ดจ้ ัด
หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบัตกิ าร อาคารเรยี นม่ันคง สะอาดและปลอดภยั มีส่ิงอานวยความสะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพ
ใช้การได้ดีสภาพแวดลอ้ มรม่ รื่น มกี ารสรา้ งและพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ภายในสถานศกึ ษาและใช้ประโยชนจ์ าก
แหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เพื่อพฒั นาการเรียนร้ขู องผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษา
รวมทั้งผ้ทู เ่ี กีย่ วขอ้ ง แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหวา่ งบคุ ลากรภายในสถานศกึ ษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว
ชุมชน และองคก์ รทเ่ี ก่ยี วข้อง รวมถงึ การให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือสารการเรยี นร้เู พ่ือ
สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ โดยบรกิ าร Wireless network ที่ครอบคลุมพน้ื ท่ีสะดวก มรี ะบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ทีท่ นั สมยั ทาให้นักเรียนสามารถพัฒนาตนเองไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ

โรงเรยี นดาเนนิ การสง่ เสรมิ ให้ครจู ัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญโดยการดาเนินงาน/
กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏบิ ัติการปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษา พฒั นาสู่
ประชาคมอาเซียน มีการบูรณาการภาระงาน/ชนิ้ งานโดยทกุ ระดับช้ันจัดทาหนว่ ยบูรณาการอาเซยี น เศรษฐกิจ
พอเพียงปรับโครงสร้างรายวชิ า หนว่ ยการเรียนรู้ ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ สัดส่วนคะแนนแตล่ ะหน่วยกาหนด
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ทสี่ อดคล้องกับหนว่ ยการเรียนรู้ สนบั สนุนให้ครจู ัดการเรยี นการสอนที่สรา้ งโอกาส
ใหน้ ักเรียนทกุ คนมสี ว่ นรว่ ม ได้ลงมือปฏบิ ตั ิจริงจนสรุปความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง จัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ทกั ษะ
การคิด เชน่ จดั การเรียนรดู้ ้วยโครงงาน ครมู กี ารมอบหมายหน้าท่ใี หน้ ักเรียนจัดปา้ ยนเิ ทศ และบรรยากาศตาม
สถานทตี่ ่าง ๆ ทัง้ ภายในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรยี น ครใู ชส้ ือ่ การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภมู ิ
ปัญญาทอ้ งถน่ิ มีการประเมินคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพของสอื่ การสอนทใี่ ช้ ครูทกุ คนทางานวิจัยในชัน้ เรียน
ปกี ารศกึ ษาละ 1 เร่ือง และไดร้ ับการตรวจใหค้ าแนะนาโดยคณะกรรมการของเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
2. สถานศกึ ษารู้ไดอ้ ย่างไรวา่ ตนเองมีคุณภาพในระดับนั้นมีขอ้ มูลหลกั ฐานเอการเชงิ ประจกั ษอ์ ะไรบ้าง
ทจ่ี ะสนบั สนุน

ผลจากการจัดดาเนนิ การในดา้ นผลการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกและ
อ่านคลอ่ งตามมาตรฐานการอา่ นในแต่ละระดับช้ัน สามารถเขียนส่อื สารได้ดี รจู้ ักการวางแผนสามารถทางาน
รว่ มกบั ผู้อนื่ ได้ดตี ามหลกั ประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูล
หรือแสวงหาความรูจ้ ากสือ่ เทคโนโลยไี ดด้ ว้ ยตนเอง รวมทั้งสามารถวเิ คราะห์ จาแนกแยกแยะได้ว่าสิง่ ไหนดี
สาคญั จาเปน็ รวมทง้ั รเู้ ทา่ ทันสอ่ื และสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ผเู้ รียนรูแ้ ละตระหนกั ถงึ โทษและพิษภยั
ของสิ่งเสพติดตา่ งๆ เลือกรับประทานอาหารท่ีสะอาด และมีประโยชน์ รกั การออกกาลังกาย นกั เรียนทกุ คน
สามารถเล่นกีฬาไดอ้ ยา่ งน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกล่มุ ของสถานศึกษาของสังคม มที ศั นคติ

7

ท่ีดีตอ่ อาชพี สจุ ริต รวมถงึ มีความเข้าใจเร่อื งความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและระหว่างวัย ท้ังนี้ มีผลการ
ดาเนินงานเชิงประจักษจ์ ากการประเมนิ ในด้านตา่ ง ๆ และกาหนดแผนในการพัฒนาดงั น้ี

1. โรงเรยี นมีการกาหนดเป้าหมายวสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาความตอ้ งการ
พฒั นาของโรงเรียน นโยบายการปฏิรปู การศึกษาความตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถิ่น และสอดคล้องกับแนว
ทางการปฏริ ปู ตามแผนการศกึ ษาชาติ

2. แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจาปสี อดคลอ้ งกบั การพฒั นาผู้เรยี นทุก
กลมุ่ เป้าหมาย มกี ารพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ คี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานตาแหนง่
ข้อมลู สารสนเทศมีความถกู ตอ้ ง ครบถ้วน ทนั สมยั นาไปประยุกต์ใช้ได้ มกี ารดาเนินการอย่างเป็นระบบ และมี
กิจกรรมจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทก่ี ระตุ้นผูเ้ รียนใหใ้ ฝเ่ รียนรู้

3. โรงเรียนมกี ารปรบั แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ัติการประจาปี ให้สอดคล้องกบั
สภาพปญั หา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา โดยผมู้ สี ว่ นได้เสียมีสว่ นร่วมในการพัฒนา
และร่วมรบั ผิดชอบ

4. คณะกรรมการและผ้เู กย่ี วข้องทุกฝ่าย มสี ่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ
รบั ทราบรบั ผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษา

5. โรงเรยี นมีการนิเทศ กากบั ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจดั การศึกษาท่ีเหมาะสมเป็น
ระบบและต่อเนอื่ ง เปดิ โอกาสให้ผเู้ กยี่ วข้องมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา

6. โรงเรยี นมีรปู แบบการบรหิ ารและการจัดการเชิงระบบโดยทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล
และแนวคดิ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุง่ พัฒนาผเู้ รยี นตามแนวทางปฏิรปู การศกึ ษา

7. โรงเรียนมีการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาจากเครอื ข่ายอุปถมั ภ์ ส่งผลให้
สถานศกึ ษามีสื่อ และแหล่งเรียนร้ทู ีม่ คี ุณภาพ
3. จุดเดน่

1. ผเู้ รยี นอา่ นหนงั สือออกและอา่ นคล่อง สามารถเขียนเพอ่ื การส่อื สารได้ และสามารถคิดวิเคราะห์ถึง
การพฒั นาตนเองในการใช้ทักษะชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถงึ สามารถใชเ้ ทคโนโลยใี น
การแสวงหาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง สง่ ผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยใู่ นระดับดี และผู้เรียนมี
สุขภาพรา่ งกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและนา้ หนักสว่ นสงู ตามเกณฑ์ มีระเบยี บวินัยมีจิตสาธารณะตาม
โครงการโรงเรียนคุณธรรม เปน็ ทีย่ อมรบั ของชมุ ชนโดยรอบ

2. ครูมคี วามต้ังใจ มุ่งมน่ั ในการพฒั นาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรยี นรโู้ ดยการคิด ได้
ปฏบิ ตั จิ ริง มีการใหว้ ิธีการและแหล่งเรียนรทู้ ี่หลากหลาย ให้นกั เรยี นแสวงหาความรูจ้ ากสอ่ื เทคโนโลยีด้วย
ตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ และ
ผลงานวจิ ัยในชนั้ เรียนของครทู ุกคน ได้รบั การตรวจประเมนิ พรอ้ มทั้งใหค้ าแนะนาจากคณะกรรมการวิจยั ของ
เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา

8

3. โรงเรยี นมกี ารบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนคิ การประชมุ ที่หลากหลาย
วิธี เช่น การประชุมแบบมีสว่ นร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลมุ่ เพือ่ ให้ทุกฝ่ายมีสว่ นร่วมในการ
กาหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมาย ที่ชดั เจน มกี ารปรับแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ัตกิ าร
ประจาปี ที่สอดคลอ้ งกับผลการจัดการศึกษาสภาพปญั หา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ูป
การศกึ ษา ท่ีมงุ่ เนน้ การพฒั นาใหผ้ ูเ้ รยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอน
สามารถจัดการเรียนรูไ้ ดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ มกี ารดาเนนิ การนเิ ทศ กากบั ติดตาม ประเมนิ ผล การดาเนนิ งานและ
จัดทารายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการรวบรวมขอ้ มลู เพื่อใช้เปน็ ฐานในการ
วางแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา
4. จุดควรพัฒนา

1. ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET)
ของนกั เรียนใหอ้ ยใู นเกณฑม์ าตรฐานระดับชาติ และมีค่าเฉลยี่ ในแตละรายวิชาทกุ วิชาสูงกวา่ คา่ เฉล่ีย
ระดับประเทศ

2. ส่งเสรมิ ความรูความสามารถในการสรางนวัตกรรมของนักเรียนอยา่ งต่อเนอื่ ง หลากหลายรปู แบบ
3. จัดกิจกรรมสงเสริมพฒั นาศักยภาพนกั เรียนใหหลากหลายตามความต้องการโดยเฉพาะ นกั เรยี น
กลุม่ ท่ีเรียนอ่อน
4. สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ของผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ งในการจัดการศึกษาของโรงเรยี นให้มีความเขม้ แข็ง
มสี ว่ นร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
5. ควรนาภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ให้เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมให้นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้และการให้
ข้อมูลยอ้ นกลับแก่นักเรยี นทนั ทีเพอื่ นักเรียนนาไปใช้พฒั นาตนเอง
5. ขอ้ เนอแนะ
1. ส่งเสริมการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทีเ่ น้นการพฒั นาผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คลให้ชัดเจนขน้ึ
2. สง่ เสริมการจัดทาวิจัยในชัน้ เรยี นเพ่อื พฒั นาผเู้ รยี นให้สามารถเรียนรู้ได้เตม็ ศักยภาพ
3. สง่ เสริมการพฒั นาสถานศกึ ษาให้เปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ของชมุ ชน

9

ส่วนท่ี 1
ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศกึ ษา

1.1 ขอ้ มูลทั่วไป
โรงเรียน ทับโพธ์พิ ัฒนวิทย์ ที่ตงั้ ตาบล ทับใหญ่ อาเภอ รตั นบรุ ี จังหวัด สุรินทร์

สังกัด สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ ินทร์ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทร......-.....โทรสาร.......-........ E-mail. [email protected]
Website http://www.tpw.thai.ac เปดิ สอนระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ถงึ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
เน้อื ที.่ .....50....ไร.่ .....-.....ตารางวา
1.2 ขอ้ มลู ผบู้ ริหาร

ผูอ้ านวยการโรงเรียน ช่อื -สกุล นางจุฬาภรณ์ บุญศรี โทรศพั ท์ 087-9562642 E-mail.
[email protected] วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด ปริญญาโท ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (ศษ.ม.) การ
บรหิ ารการศึกษา ดารงตาแหนง่ ทโี่ รงเรียนนี้ตงั้ แต่ 21 เดอื น กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 จนถงึ ปัจจุบัน

1.3 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

1) จานวนบุคลากร

บุคลากร ผู้บริหาร ครผู สู้ อน พนักงานราชการ ครูอัตรา เจา้ หน้าทอ่ี น่ื ๆ
12 จ้าง 1
ปีการศึกษา 2564 1 1

10

2) วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ของบุคลากร

บคุ ลากร ปริญญาเอก ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาตรี ด่ากวา่ ปริญญาตรี
8 6 1
ปีการศกึ ษา 2564

3) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน จานวน(คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน
สาขาวิชา ในแตล่ ะสาขาวิชา(ชม./สปั ดาห)์
1
1. บริหารการศกึ ษา 2 0
2. คณติ ศาสตร์ 4 19
3. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 23
4. ภาษาไทย 1 20
5. ภาษาองั กฤษ 2 18
6. สังคมศึกษา 1 20
7. การงานอาชีพ 1 19
8. ศิลปะ 1 18
9. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 14 16
19.13
รวม

1.3 ข้อมลู นกั เรยี น 11

จานวนนักเรียนปกี ารศึกษา 2564 รวม 142 คน (ข้อมูล ณ วนั ที่ 1 มีนาคม 2565) รวมทั้งสนิ้
6
ระดบั ชน้ั เรียน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 73
69
จานวนห้อง 111111 142
142
เพศ ชาย 10 18 21 9 6 9

หญิง 17 11 11 12 8 10

รวม 27 29 32 21 14 19

เฉลี่ยตอ่ หอ้ ง 27 29 32 21 14 19

12

1.4 ข้อมูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นระดับสถานศกึ ษา

รอ้ ยละของนักเรยี นท่มี เี กรดเฉล่ยี ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดบั 3 ขน้ึ ไป

ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 ปีการศกึ ษา 2564

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน รอ้ ยละจานวน
นกั เรียนทไี่ ด้ นักเรียนทีไ่ ด้
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จานวน จานวนนักเรยี นทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ ระดับ3.00ข้นึ ระดบั 3.00ข้นึ
นักเรยี นท่ี

ชอ่ื วิชา เขา้ สอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ไป ไป

ภาษาไทยพื้นฐาน1 25 333367 9 36.00
คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน1 25 2258323 2 8.00
วิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน1 25 3 5 10 5 2 18 72.00
การออกแบบเทคโนโลยี 1 25 11 44.00
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม1 25 385126 17 68.00
ประวตั ิศาสตร1์ 25 4768 15 60.00
สขุ ศึกษา1 25 1 3 11 10 23 92.00
พลศึกษา1 25 7 10 6 2 16 64.00
ศลิ ปะ1 25 74581 25 100.00
การงานอาชีพ 1 25 898 21 84.00
ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน1 25 49822 3 12.00
กลุ่มสาระการเรยี นรู้เพม่ิ เตมิ
คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เติม 1 25 34369 9 36.00
คอมพวิ เตอรป์ ระยุกต์ 25 16 64.00
หนา้ ที่พลเมอื ง1 25 2259322 5 20.00
การป้องกนั การทุจริต1 25 2863132 4 16.00
งานใบตอง 25 25 100.00
การศกึ ษาคน้ คว้าและสร้างองค์ 414547
ความรู้ 25 4 2379 24 96.00
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้พน้ื ฐาน 9 12 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม 275 160 58.18
150 8 11 5 1 83 55.33

39 55 73 55 18 17 18 0
21 41 21 19 12 16 20 0

13

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน ร้อยละ
นักเรยี นท่ี จานวน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จานวน จานวนนกั เรยี นที่มีผลการเรียนรู้ ไดร้ ะดับ3 นักเรียนที่
นักเรยี น ได้ระดบั
ชอื่ วิชา ขน้ึ ไป 3.00 ข้ึนไป
ทเี่ ขา้ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
ภาษาไทยพ้นื ฐาน2 สอบ
คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน2
วทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน2 23 6 7 3 5 1 1 16 69.57
วิทยาการคานวณ 1
สังคมศึกษาศาสนาและ 27 2 5 3 7 5 2 3 10 37.04
วฒั นธรรม2
ประวตั ิศาสตร2์ 26 7 3 6 6 3 1 16 61.54
สขุ ศกึ ษา2
พลศกึ ษา2 15 1 317 3 4 26.67
ศลิ ปะ2
การงานอาชพี 2 16 6 4 2 2 2 12 75.00
ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน2
กลุ่มสาระการเรียนรเู้ พ่มิ เติม 16 5 1 3 1 4 1 1 9 56.25
คณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เติม2 2 9 40.91
การเขยี นโปรแกรมภาษาโลโก้ 22 1 3 5 13 14 77.78
หนา้ ท่พี ลเมือง 2 9 56.25
การป้องกันการทจุ รติ 2 18 9 4 1 4 21 77.78
การส่อื สารและการนาเสนอ 6 46.15
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้พืน้ ฐาน 16 1 5 3 3 4
กล่มุ สาระการเรยี นรู้เพิม่ เตมิ
27 3 12 6 3 1

13 3 3 3 3 1

27 1 6 6 5 6 12 13 48.15
20 80.00
25 18 241 1 14 87.50
21 11 61.11
16 6 3 5 1 15 100.00
95 4 126 56.81
18 7 1 3 2 2 32 2 73 75.35

15 14 1

219 41 47 38 48 27

101 46 10 17 12 9

14

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน รอ้ ยละจานวน

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จานวน จานวนนักเรยี นทีม่ ีผลการเรยี นรู้ นักเรียนทีไ่ ด้ นักเรยี นทีไ่ ด้
ชื่อวชิ า นกั เรียนที่
ระดบั 3.00 ระดบั 3.00

เข้าสอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขึน้ ไป ขน้ึ ไป

ภาษาไทยพน้ื ฐาน3 28 4 6 3 2 9 4 13 46.43
14 50.00
คณิตศาสตร์3 28 2 2 10 7 4 2 1 18 64.29
19 67.86
วิทยาศาสตร์3 28 2 6 10 4 3 3
16 57.14
การออกแบบเทคโนโลย2ี 28 3 12 4 4 3 2
13 46.43
สังคมศกึ ษาศาสนาและ 28 5 4 7 4 8 24 85.71
วัฒนธรรม3 22 78.57
25 89.29
ประวัติศาสตร์3 28 1 7 5 5 10 15 53.57
11 39.29
สขุ ศึกษา3 28 3 11 10 2 2
14 50.00
พลศกึ ษา3 28 3 6 13 2 4 6 21.43
14 50.00
ศลิ ปะ3 28 12 4 9 2 1 20 71.43
16 57.14
การงานอาชพี 3 28 9 6 10 3 27 96.43
21 75.00
ภาษาองั กฤษ3 28 3 2 6 6 56 190 61.69
118 60.20
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ

คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 3 28 2 3 9 7 4 3

การสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหว 2 มติ ิ 28 425539

หนา้ ทพ่ี ลเมือง3 28 4 8 2 6 3 2 3

การปอ้ งกันการทุจริต3 28 4 7 9 2 1 3 2

อาเซียน1 28 4 2 10 1 6 2 3

ดนตรีตามความถนัด 28 13 4 10 1

การแปรรูปอาหาร 28 8 7 6 4 3

กลุม่ สาระการเรียนรพู้ ้ืนฐาน 308 47 60 83 48 47 13 10 0

กลุม่ สาระการเรยี นร้เู พิม่ เตมิ 196 35 35 48 26 22 13 17 0

15

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน รอ้ ยละ
นกั เรยี น จานวน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 4 จานวนนกั เรยี นท่มี ผี ลการเรยี นรู้ 0 นกั เรียนที่
นักเรยี นท่ี 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ที่ได้ ได้ระดับ
ชือ่ วชิ า เข้าสอบ ระดบั 3.00ขึ้นไป
3.00 ข้ึน
ภาษาไทยพน้ื ฐาน4 ไป
คณิตศาสตร์4
วทิ ยาศาสตร์4 20 4 5 9 2 18 90.00
วทิ ยาการคานวณ 2 7 25.00
สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม4 28 2 2 3 9 6 3 3 10 50.00
ประวตั ศิ าสตร์4 20 71.43
สขุ ศึกษา4 20 1 4 5 9 1 22 78.57
พลศกึ ษา4 23 82.14
ศลิ ปะ4 28 7 8 5 2 5 1 18 64.29
การงานอาชีพ4 22 78.57
ภาษาองั กฤษ4 28 8 9 5 4 1 1 5 17.86
กลุ่มสาระการเรียนรเู้ พมิ่ เตมิ 19 67.86
คณิตศาสตร์เพ่ิมเตมิ 4 28 5 6 12 2 1 2 15 53.57
การเขียนโปรแกรมโดย SCRATCH
หนา้ ท่พี ลเมือง4 28 4 5 9 8 2
การปอ้ งกนั การทจุ ริต4
อาเซ่ียน 2 28 4 10 8 2 4
นาฏศิลป์ไทย1
ขนมไทย 28 13 5 3 3 2 1 1
กลุ่มสาระการเรยี นรพู้ ้นื ฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเติม 28 9 6 4 4 23

28 3 8 4 6 7

28 1 4 6 8 5 2 2 11 39.29

28 7 5 1 1 8 6 13 46.43

28 1 2 11 2 9 3 14 50.00

28 4 4 16 4 24 85.71

28 3 6 8 9 2 17 60.71

28 16 6 3 2 1 25 89.29

28 9 8 4 2 4 1 21 75.00

292 60 68 67 51 29 9 5 3 179 61.75

196 41 35 49 28 29 12 1 1 125 63.78

16

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน รอ้ ยละจานวน
นกั เรยี นทไี่ ด้ นักเรยี นที่ได้
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวนนกั เรียนทีม่ ผี ลการเรียนรู้ ระดับ 3.00 ระดบั 3.00 ขึ้น
นกั เรียนที่
ชอ่ื วิชา ขน้ึ ไป ไป
เข้าสอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
ภาษาไทยพน้ื ฐาน5
คณิตศาสตร์5 31 5 3 4 4 1 14 12 38.71
วิทยาศาสตร์5
การออกแบบเทคโนโลยี3 23 1 2 7 7 5 1 10 43.48
สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม5
ประวัติศาสตร์5 31 6 7 5 1 3 5 4 18 58.06
สุขศึกษา5
พลศึกษา5 31 5 6 6 6 6 2 17 54.84
ศลิ ปะ5
การงานอาชีพ 5 31 10 11 5 2 1 2 26 83.87
ภาษาองั กฤษ5
กลุ่มสาระการเรยี นรู้เพิ่มเตมิ 31 9 12 6 2 1 1 27 87.10
คณิตศาสตรเ์ พ่ิมเติม5
โครงงานคอมพิวเตอร์ 31 5 14 6 4 2 25 80.65
การปอ้ งกนั การทุจริต5
หน้าทพ่ี ลเมือง5 31 2 3 10 9 7 15 48.39
นาฏศลิ ปพ์ ้นื เมอื ง 1
เกษตรทฤษฎใี หม่ 31 13 3 4 9 2 20 64.52
กล่มุ สาระการเรยี นรพู้ นื้ ฐาน
กล่มุ สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม 31 11 11 3 5 1 25 80.65

31 1 3 3 5 3 9 7 7 22.58

31 4 6 7 6 2 2 4 17 54.84
48.39
31 1 13 1 3 10 3 15 67.74
54.84
31 11 4 6 1 1 3 5 21 67.74
70.97
31 12 1 4 5 1 1 7 17 60.26
60.75
31 13 3 5 9 1 21

31 11 3 8 2 6 1 22

333 68 75 59 54 32 34 11 0 202

186 52 30 31 26 14 15 17 1 113

17

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน ร้อยละจานวน
นักเรยี นที่ นักเรียนทไี่ ด้
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ จานวน จานวนนกั เรียนทม่ี ผี ลการเรยี นรู้ ไดร้ ะดบั ระดบั 3.00 ข้ึน
ชือ่ วชิ า นักเรยี นท่ี 0 3.00 ข้ึนไป ไป

เข้าสอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1

ภาษาไทยพน้ื ฐาน6 31 5 6 9 5 1 5 20 64.52
22.58
คณิตศาสตร์6 31 1 2 4 5 5 7 7 7 13.33
58.06
วิทยาศาสตร6์ 30 2 1 1 9 6 5 6 4
90.32
วทิ ยาการคานวณ3 31 5 4 9 3 6 3 1 18
87.10
สงั คมศกึ ษาศาสนาและ 31 7 9 12 2 1 28 77.42
วฒั นธรรม6 61.29
80.65
ประวัติศาสตร์6 31 5 9 13 2 1 1 27 83.87
29.03
สุขศึกษา6 31 12 12 7 24
19.35
พลศกึ ษา6 31 8 8 3 4 5 3 19 58.06
35.48
ศลิ ปะ6 31 8 7 10 5 1 25 90.32
87.10
การงานอาชีพ6 31 9 6 11 2 1 2 26 93.55
60.74
ภาษาอังกฤษ6 31 1 8 4 4 11 3 9 63.98

กลมุ่ สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม

คณิตศาสตร์ เพมิ่ เติม6 31 158584 6

การเขียนโปรแกรมภาษาซี 31 2 10 6 7 3 1 2 18

วทิ ยาศาสตร์เพิ่มเตมิ 1 31 3 5 3 4 9 3 4 11

การปอ้ งกนั การทจุ รติ 6 31 16 4 8 2 1 28

หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง6 31 9 10 8 2 1 1 27

ร้องเพลงไทยสากล-ไทยลูกทุ่ง1 31 13 12 4 1 1 29

กลุม่ สาระการเรียนร้พู ืน้ ฐาน 340 51 64 92 48 30 31 24 0 207

กลุม่ สาระการเรยี นร้เู พม่ิ เติม 186 43 42 34 24 19 13 11 0 119

18

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน รอ้ ยละ
นกั เรียนท่ีได้ จานวน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จานวน จานวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการเรียนรู้ ระดับ 3.00 นกั เรยี นท่ีได้
ระดบั 3.00
ช่อื วิชา นกั เรียนที่ ข้ึนไป ขนึ้ ไป

ภาษาไทย1 เข้าสอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน 1
ฟสิ กิ สพ์ ื้นฐาน1 16 9 1 13 1 1 10 62.50
การออกแบบเทคโนโลยี 1
สงั คมศึกษา1 15 3 35 4 3 20.00
สขุ ศึกษา
ศิลปะ1 14 5 3 3 2 1 11 78.57
ภาษาองั กฤษ1
กลุ่มสาระการเรยี นรเู้ พมิ่ เติม 14 3 3 42 11 6 42.86
คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ 1
คอมพวิ เตอรก์ ราฟฟกิ 15 7 4 2 1 1 13 86.67
ฟสิ กิ ส1์
เคมี1 12 8 3 1 11 91.67
ชวี วทิ ยา1
การปอ้ งกันการทุจริต1 16 12 2 2 12 75.00
หน้าท่ีพลเมือง 1
การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 14 31 5 14 4 28.57
กลุม่ สาระการเรยี นรพู้ ื้นฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เติม 15 1 2 4 6 2 1 6.67
9 64.29
14 3 3 3 2 2 1 9 69.23
5 41.67
13 4 2 3 3 1 10 71.43
12 80.00
12 3 1 1 4 2 1 15 100.00
14 87.50
14 6 3 1 2 2 70 60.73
75 65.10
15 9 2 1 3

15 9 6

16 11 2 1 2

116 29 29 12 13 20 7 5 1

114 45 19 11 15 13 9 2 0

19

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน ร้อยละจานวน
นกั เรียนที่ นกั เรียนทไี่ ด้
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จานวน 4 จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ได้ระดับ ระดับ 3.00 ขึ้น
ชอ่ื วชิ า นักเรยี นท่ีเขา้ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 3.00 ขึ้นไป ไป

สอบ 12 80.00
6 37.50
ภาษาไทย2 15 64 23 7 43.75
คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน2 16 1 11 78.57
ฟิสิกสพ์ ้ืนฐาน 2 16 15 591 4 30.77
วิทยาการคานวณ 1 14 32 11 73.33
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม2 13 152 2 13 100.00
พลศึกษา 15 1 6 46.15
ศิลป 2 13 45 6111
ภาษาอังกฤษ2 13 93
กล่มุ สาระการเรียนรู้เพม่ิ เตมิ 3621
คณิตศาสตรเ์ พ่มิ เติม2 16 4
การเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอน 10 24
ฟสิ ิกส์ 2 16
เคมี2 14 1
ชวี วทิ ยา1 17
การปอ้ งกันการทุจรติ 2 15 2 2 2 21
หน้าที่พลเมอื ง2 14
อาเชียนศึกษา1 14 1681 1 6.25
กลุ่มสาระการเรยี นรู้พื้นฐาน 115 81 1 10 100.00
กลุ่มสาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม 116 9 56.25
7 2 3 1 21 8 57.14
23 36 13 76.47
82 32 15 100.00
66 3 14 100.00
56 3 13 92.86
0 70 61.26
3 10 1 2 83 73.62
24 24 22 30 8 4 3
29 28 26 18 9 3 1

20

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน ร้อยละ
นักเรียนทีไ่ ด้ จานวน
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ จานวน จานวนนกั เรยี นทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ ระดบั 3.00 นักเรยี นที่
ไดร้ ะดับ
ชอ่ื วชิ า นกั เรียนที่ ข้ึนไป 3.00 ขึ้นไป

ภาษาไทย3 เขา้ สอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
คณิตศาสตร์3
เคมีพ้ืนฐาน1 14 5 3 2 22 10 71.43
การออกแบบเทคโนโลยี 2 8 57.14
สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม3 14 1 7 4 2 8 57.14
ประวัตศิ าสตร1์ 9 64.29
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา3 14 3 1 4 4 1 1 7 70.00
ศิลปะ3 9 64.29
ภาษาอังกฤษ3 14 1 1 7 1 4 14 100.00
กลุม่ สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเติม 14 100.00
คณติ ศาสตร์เพม่ิ เติม3 10 43 3 5 35.71
การออกแบบส่ิงของเคร่อื งใช้
ฟิสกิ ส์ 3 14 6 3 23
เคมี3
ชีววทิ ยา 3 14 5 1 8
การป้องกันการทจุ รติ 3
การผูกผา้ 14 9 5
กลุม่ สาระการเรยี นรู้พ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรเู้ พ่มิ เตมิ 14 5 1 2 3 3

14 5 4 3 1 1 5 35.71
12 85.71
14 1 4 7 2 7 50.00
8 57.14
14 4 1 2 2 1 4 11 73.33
10 71.43
14 1 4 3 3 1 2 13 92.86
0 84 68.89
15 3 6 2 3 1 0 66 66.60

14 4 5 1 1 21

14 8 2 3 1

122 29 19 36 12 17 6 3

99 21 22 23 16 6 9 2

21

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน ร้อยละ
นกั เรียนทไี่ ด้ จานวน
กลุม่ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวนนกั เรยี นท่ีมีผลการเรยี นรู้ ระดบั 3.00 นักเรยี นท่ีได้
ระดับ 3.00
ช่ือวชิ า นักเรยี นที่ ขน้ึ ไป ขึ้นไป

ภาษาไทย4 เข้าสอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
คณิตศาสตร์4
ชีววทิ ยาพ้ืนฐาน1 13 6 1 1 4 1 8 61.54
วทิ ยาการคานวณ 2 4 30.77
สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม4 13 1 3 5 4 7 58.33
ประวัติศาสตร2์ 7 63.64
สุขศึกษาและพลศึกษา4 12 5 222 1 9 100.00
ศลิ ปะ4 8 80.00
การงานอาชีพ 1 11 1 2 4 2 2 7 77.78
ภาษาอังกฤษ4 12 100.00
กล่มุ สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ 98 1 12 85.71
คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เติม4 6 54.55
การสรา้ งเว็บเพจดว้ ยภาษา HTML 10 6 2 2
ฟิสกิ ส์ 4
เคมี4 93 42
ชวี วทิ ยา4
การปอ้ งกันการทุจรติ 4 12 10 2
ขนมอบ
กลมุ่ สาระการเรียนรพู้ ้นื ฐาน 14 10 2 11
กลุม่ สาระการเรยี นรูเ้ พิ่มเติม
11 1 5 2 3

12 4 5 2 1 4 33.33

14 2 3 6 12 0 11 78.57

14 4 22 31 2 6 42.86

11 1 3 1 5 1 5 45.45

12 3 3 1 2 2 1 7 58.33

11 8 2 1 11 100.00

14 12 11 12 85.71

114 49 11 20 19 12 1 1 1 80 71.23

88 30 11 15 14 10 5 2 1 56 63.47

22

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน รอ้ ยละ
นักเรียนทไี่ ด้ จานวน
กลุม่ สาระการเรียนรู้ จานวน 4 จานวนนักเรียนทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ 0 ระดับ 3.00 นกั เรียนท่ี
ชื่อวชิ า นกั เรยี นท่ี 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ได้ระดับ
เข้าสอบ ข้ึนไป 3.00 ข้ึนไป

ภาษาไทย5 18 11 1 1 2 2 1 13 72.22

คณิตศาสตร์ 18 1 2 2 7 2 4 3 16.67

ชวี วิทยาพื้นฐาน2 18 4 1 6 4 12 11 61.11

วิทยาการคานวณ3 17 5 6 4 2 11 64.71

สังคมศกึ ษา 18 4 3 4 3 3 1 11 61.11

ประวตั ศิ าสตร3์ 18 3 8 3 1 3 14 77.78

สุขศกึ ษา 18 8 3 1 3 3 12 66.67

ศลิ ปะ(ทัศนศลิ ป)์ 18 12 1 2 2 1 13 72.22

ภาษาอังกฤษ 5 18 4 347 4 22.22

กลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเติม

คณิตศาสตร์ เพ่มิ เติม5 18 2 4 642 2 11.11

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 18 6 3 2 3 2 2 11 61.11

ฟสิ กิ ส5์ 18 5 5 1 2 1 4 11 61.11

เคมี5 18 1 2 2 3 2 4 4 5 27.78

ชีววิทยา5 18 4 3 6 1 3 1 13 72.22

หนา้ ทพี่ ลเมือง3 18 4 1 3 2 6 2 5 27.78

การศกึ ษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ 18 11 2 2 3 15 83.33

กลมุ่ สาระการเรยี นร้พู ื้นฐาน 161 46 23 25 17 23 14 13 0 92 57.19

กลมุ่ สาระการเรียนรเู้ พิม่ เตมิ 126 27 19 16 19 16 16 13 0 62 49.21

23

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน รอ้ ยละ
นักเรยี นทไ่ี ด้ จานวน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จานวน จานวนนกั เรยี นทีม่ ีผลการเรียนรู้ ระดับ 3.00 นักเรียนท่ไี ด้
ระดบั 3.00
ชอ่ื วิชา นักเรียนท่ี ขน้ึ ไป ขน้ึ ไป

ภาษาไทย6 เข้าสอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
โลกและดวงดาว1
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม6 18 10 3 22 1 13 72.22
ประวัติศาสตร4์ 9 50.00
สุขศึกษาและพลศึกษา6 18 3 4 2 4 3 1 1 16 88.89
ศลิ ปะ6 13 72.22
การงานอาชพี 6 18 8 3 5 1 1 18 100.00
ภาษาอังกฤษ6 15 83.33
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเติม 18 5 5 3 2 2 1 16 88.89
คณติ ศาสตร์ เพมิ่ เตมิ 6 9 50.00
โครงงานคอมพิวเตอร์ 18 8 8 2
ฟิสกิ ส์6
เคม6ี 18 13 1 1 12
ชวี วิทยา6
การป้องกันการทุจรติ 6 18 9 6 1 2
หน้าที่พลเมอื ง4
ประยกุ ตศ์ ิลป์1 18 4 1 4 3 2 1 3
การส่ือสารและการนาเสนองาน
กลมุ่ สาระการเรียนรพู้ ืน้ ฐาน 18 17 4 33 1 5.56
กลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ พ่ิมเติม 61.11
18 4 3 4 3 1 3 11 50.00
88.89
18 2 2 5 4 3 1 1 9 72.22
83.33
18 14 2 2 16 100.00
88.89
18 6 5 2 2 1 2 13 61.11
75.69
18 10 3 2 3 15 67.90

18 11 7 18

18 15 1 11 16

18 11 4 1 2 11

144 60 31 18 12 11 6 6 0 109

162 62 22 26 23 12 8 9 0 110

24

1.5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET)

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ประจาปีการศกึ ษา 2564

ตารางเปรียบเทียบ ผลการทดสอบ O-NET ม.6 ระหว่าง ปีการศกึ ษา 2564 เทยี บ ปีการศึกษา 2563

วิชา ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา เพมิ่ ขน้ึ / ระดับ ระดบั สังกัด ระดับประเทศ
2563 2564 ลดลง จังหวดั
ภาษาไทย 38.79 39.61
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ 34.95 37.58 0.82 46.88 47.74 46.4
วฒั นธรรม
ภาษาอังกฤษ 21.91 17.01 2.63 36.89 37.45 36.87
คณติ ศาสตร์ 18.26 12.92
วทิ ยาศาสตร์ 27.78 30.57 -4.9 21.9 25.83 25.56
28.34 27.54 -5.34 18.85 21.83 21.28
สรปุ 2.79 27.98 29.04 28.65
-0.80 30.50 32.38 31.75

25

2. เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปกี ารศึกษา 2563 – 2564 นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6

26

1.6 ผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ปีการศึกษา 2564
1.7 ขอ้ มูลการใช้แหลง่ เรยี นรูภ้ ายในและภายนอกโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 2564

1.7.1 แหล่งเรยี นรูภ้ ายใน สถิติการใช้ จานวนคร้ัง/ปี
ช่ือแหล่งเรียนร้ภู ายใน ใชต้ ลอดปีการศึกษา
ใช้ตลอดปีการศกึ ษา
1. ห้องสมุด ใชต้ ลอดปกี ารศกึ ษา
2. ห้องวทิ ยาศาสตร์ ใชต้ ลอดปกี ารศกึ ษา
3. หอ้ งคอมพิวเตอร์ ใชต้ ลอดปกี ารศึกษา
4 .หอ้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ใชต้ ลอดปกี ารศึกษา
5. ห้องศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ ใช้ตลอดปีการศกึ ษา
6. หอ้ งสหกรณ์ ใช้ตลอดปีการศึกษา
7. หอ้ งโสตทัศนศึกษา ใชต้ ลอดปกี ารศึกษา
8. สวนพฤษศาสตรโ์ รงเรียน ใชต้ ลอดปีการศกึ ษา
9. เรือนเพาะชา ใช้ตลอดปีการศกึ ษา
10. สนามฝกึ ทกั ษะดา้ นกฬี า – กรีฑา ใช้ตลอดปีการศึกษา
11. หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา ใชต้ ลอดปกี ารศกึ ษา
12. ห้องประชมุ อุไรวรรณ ใชต้ ลอดปกี ารศึกษา
13. โรงอาหาร ใชต้ ลอดปกี ารศึกษา
14. หอ้ งสือ่ นวตั กรรม
15. ห้องประชาสัมพันธ์

27

1.7.2 แหลง่ เรียนรภู้ ายนอก

28

1.8 งบประมาณท่ไี ด้รบั จดั สรร ประจาปงี บประมาณปี 2564

1. งบค่าจดั การเรยี นการสอน

1.1 งบเงนิ อดุ หนุน เงินอุดหนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน (ค่าใช้จา่ ยรายหัว)

1.1 ผลผลิตผจู้ บการศึกษาก่อนประถมศกึ ษา

1.1.1 กจิ กรรมการจัดการศกึ ษากอ่ นประถมศกึ ษา

- งบประมาณทไี่ ดร้ ับจัดสรร รวม……-……….....บาท

1.2 ผลผลติ ผูจ้ บการศกึ ษาภาคบังคับ

1.2.1 กิจกรรมการจดั การศึกษาประถมศกึ ษา

- งบประมาณทีไ่ ด้รบั จัดสรร รวม ……-………..บาท

1.2.2 กิจกรรมการจัดการศกึ ษามธั ยมศึกษาตอนต้น 86 คน

- งบประมาณท่ีไดร้ บั จัดสรร 3,500 บาท/86 คน/ปี รวม 301,000 บาท

- เงนิ เพิ่มพเิ ศษทไ่ี ดร้ ับจัดสรร 1,000 บาท/86 คน/ปี รวม 86,000

บาท

1.3 ผลผลติ ผจู้ บการศกึ ษามัธยมศึกษาตอนปลาย

1) กจิ กรรมการจัดการศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลาย 52 คน

- งบประมาณทไี่ ดร้ บั จัดสรร 3,800 บาท/52 คน/ปี รวม 197,600 บาท

- เงนิ เพม่ิ พิเศษท่ไี ด้รบั จดั สรร 1,000 บาท/52 คน/ปี รวม 52,000 บาท

งบเงินอุดหนุน ท่เี หลือจากปงี บประมาณก่อน จานวน - บาท

รวมทัง้ ส้ิน 1.1 + 1.2 + 1.3 จานวน 636,600 บาท

1.4 เงนิ นอกงบประมาณ งบประมาณทไ่ี ด้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานอืน่ เช่น เงนิ

สนับสนนุ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ หรอื อปท. (อบจ./เทศบาล/อบต.) เงนิ บริจาค

1.4.1 เงนิ สนับสนนุ จาก อบต. จานวน.... ...... บาท

1.4.2 เงินบรจิ าค จานวน......-........ บาท

1.4.3 เงินอนื่ ๆ (พักนอน) / ปี จานวน........-...... บาท

รวมท้ังส้ิน จานวน …...................บาท

1.2 งบอดุ หนุนรายการเงินอดุ หนุนปจั จยั พน้ื ฐานนักเรียนยากจน

1.2.1 ระดบั ประถมศกึ ษา ปีการศกึ ษาละ 500 / คน รวม………....-..…...... บาท

1.2.2 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นปกี ารศกึ ษาละ 3,500 /86 คน รวม…....301,000... บาท

29

1.3 งบอดุ หนนุ โครงการสนบั สนนุ การจดั การศึกษาโดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย 15 ปี

1.3.1 คา่ หนังสอื เรียน

- ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 764 บาท/25 คน/ปี รวม 19,100 บาท

- ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 877 บาท/29 คน/ปี รวม 25,433 บาท

- ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 949 บาท/32 คน/ปี รวม 30,368 บาท

- ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 1,318 บาท/19 คน/ปี รวม 25,042 บาท

- ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 1,263 บาท/14 คน/ปี รวม 17,682 บาท

- ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 1,109 บาท/19 คน/ปี รวม 21,071 บาท

รวมงบประมาณ 138,696 บาท

1.3.2 คา่ อุปกรณ์การเรียน

- ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น 420 บาท/86 คน/ปี รวม 36,120 บาท

- ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 460 บาท/52 คน/ปี รวม 23,920 บาท

รวมงบประมาณ 60,040 บาท

1.3.3 คา่ เครือ่ งแบบนักเรียน (2 ชดุ : ป)ี

- ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น 450 บาท/86 คน/ปี รวม 38,700 บาท

- ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 500 บาท/52 คน/ปี รวม 26,000 บาท

รวมงบประมาณ 64,700 บาท

1.3.4 ค่ากิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น

- ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น 880 บาท/86 คน/ภาคเรียน รวม 75,680 บาท

- ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย 950 บาท/52 คน/ภาคเรียน รวม 49,400 บาท

รวมงบประมาณ 125,080 บาท

1.4 ลกั ษณะการใชง้ บประมาณท่ีไดร้ บั การจัดสรร ( เงินอุดหนนุ รายหัว )

4.1 งบบุคลากร

- คา่ จา้ งชัว่ คราว จานวน.....-..... บาท

4.2 งบดาเนินงาน

- คา่ ตอบแทน จานวน............ บาท

- ค่าใช้สอย จานวน.. ......... บาท

- คา่ วัสดุ จานวน............ บาท

- คา่ สาธารณูปโภค จานวน............ บาท

4.3 งบลงทนุ

- ค่าครุภัณฑ์ จานวน.............. บาท

- คา่ ทด่ี ินและส่ิงกอ่ สร้าง จานวน...............บาท

30

1.5 การจัดสรรงบประมาณภายในหน่วยงาน

5.1 กลุ่มบริหารงานวิชาการ จานวน 381,960 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 60

5.2 กล่มุ บรหิ ารงานงบประมาณ จานวน 63,660 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 10

5.3 กล่มุ บริหารงานบุคคล จานวน 63,660 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10

5.4 กลุม่ บรหิ ารงานทวั่ ไป จานวน 63,660 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 10

5.5 งบทดลองจา่ ย จานวน 63,660 บาท คิดเป็นร้อยละ 10

รวมงบประมาณ (เงินอุดหนนุ รายหัว) 636,600 บาท

สรุปโครงการประจาปีการศึกษา 2564

โรงเรยี นไดด้ าเนนิ การจดั ทาโครงการ โดยวิเคราะห์ถงึ ความจาเปน็ และตอบสนองจุดเน้นการ

พัฒนาตามขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ ของสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา

(องคก์ ารมหาชน) และปจั จยั อืน่ มาประกอบการจัดทาและดาเนินการ โดยแบง่ ตามกลมุ่ งาน 4 กล่มุ งาน

1. กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ จานวน 11 โครงการ

2. กลุ่มงานบรหิ ารบคุ คล จานวน 4 โครงการ

3. กลมุ่ งานบริหารท่วั ไป จานวน 7 โครงการ

4. กลุม่ งานบริหารงบประมาณ จานวน 4 โครงการ

5. กลมุ่ งานกจิ การนักเรียน จานวน 4 โครงการ

รวม 30 โครงการ

รวมทง้ั ส้นิ 30 โครงการ

1.9 สภาพภูมิศาสตรโ์ รงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวิทย์

ตัง้ อยู่ที่สาธารณประโยชน์โนนนา้ คา ซึง่ เปน็ ทาเลเล้ยี งสตั ว์ ตาบลทับใหญ่ อาเภอรตั นบุรี
จังหวัดสรุ ินทร์ มีพนื้ ท่ีประมาณ 50 ไร่ ลกั ษณะทว่ั ไปเปน็ ที่ราบลมุ่ รมิ ฝง่ั แม่น้ามูล ฤดูฝนจะมีน้าท่วมถึงบรเิ วณ
โรงเรียนทุกปกี ารเดินทางจากหมู่บ้านตา่ งๆ เขา้ สู่โรงเรยี นมีเส้นทางหลายลกั ษณะคือ จะมีถนนลูกรงั บางส่วน
อีกบางสว่ นถนนโรยหนิ คลกุ และลาดยาง การเดินทางในชว่ งฤดฝู นคอ่ นข้างลาบาก โรงเรียนอยู่หา่ งจากตวั
อาเภอรตั นบรุ ี ประมาณ 14 กิโลเมตร และอยหู่ ่างจากสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ ินทร์ 90
กโิ ลเมตร อาชีพของผ้ปู กครองนกั เรียนและชมุ ชนในเขตพื้นที่บริการ คอื อาชพี เกษตรกรรม และรับจา้ งทั่วไป
ผู้ปกครองส่วนมากยากจนมฐี านะยากจน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ท่ีเป็น
ทร่ี จู้ ักโดยทั่วไป คอื ขนบธรรมเนียมประเพณยี ดึ ขนบธรรมเนียมประเพณแี บบชาวอสิ าน คอื ฮตี สิบสองครองสบิ สี่
อันเป็นแนวการปฏิบตั ติ ามความเช่อื และประเพณีของชาวพุทธ

31

1.10. โอกาสและข้อจากัดของโรงเรยี น
โอกาสของโรงเรียน
โรงเรียนทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ยเ์ ปน็ โรงเรยี นขนาดเลก็ มจี านวนนักเรียนไมม่ าก ทาให้ครดู ูแลนกั เรียน

ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ สถานทีต่ ้งั ไม่หา่ งจากชมุ ชน การเดินทางสะดวก ปลอดภัย หน่วยงาน ผ้ปู กครอง ชุมชน
ให้ความรว่ มมอื สง่ เสรมิ สนับสนนุ มีสว่ นรว่ มในการพัฒนาเปน็ อยา่ งดี ครเู ปน็ ผูม้ ีความรคู้ วามสามารถ ตงั้ ใจ
ทมุ่ เทเสยี สละ ไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ มบี รบิ ท สภาพแวดลอ้ มแหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีทส่ี ามารถใช้
จัดการเรยี นการสอนได้อย่างมีคุณภาพ ผู้บริหารปฏบิ ัตงิ านใหห้ ลักการบริหาร โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล ให้ทุก
ฝา่ ยมสี ่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการผู้เรียนมีความสามารถพเิ ศษด้านกีฬา ศลิ ปดนตรี มีความรกั สามัคคี มวี ินัย
ตลอดจนคุณธรรม จริยธรรม

ข้อจากดั ของโรงเรยี น
โรงเรียนมีขอ้ จากัดด้านความพร้อมในการจัดการเรยี นการสอน คอื ดา้ นอาคาร สถานท่ี สือ่
เทคโนโลยอี ยา่ งเพยี งพอ นกั เรียน ผปู้ กครองทมี่ คี วามพรอ้ มสง่ บุตรหลานเรยี นในเมือง ทาใหโ้ รงเรยี นมีภาระ
รับผิดชอบผเู้ รยี นท่ีไมม่ คี วามพร้อมในด้านต่างๆ เช่น ด้านฐานะเศรษฐกจิ ของผู้ปกครอง ด้านสติปัญญาความ
พรอ้ มในการเรียน ครูผสู้ อนไมค่ รบตามเกณฑท์ ่กี าหนด สอนไมต่ รงวิชาเอก ผู้ปกครองอพยพย้ายถ่นิ นักเรยี น
อย่ตู ามลาพังไม่มีผูด้ ูแล

1.11 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
โรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย์ ไดร้ ับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ.รอบสาม
ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน : มัธยมศึกษา ระหว่างวนั ท่ี 26 – 28 มกราคม 2558
ตารางสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกจาแนกเป็นรายมาตรฐานตามกฎกระทรวง ดงั ตอ่ ไปนี้

ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน นา้ หนกั คะแนน ระดับ
มธั ยมศกึ ษา (คะแนน) ทีไ่ ด้ คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 1ผลการจัดการศึกษา 10.00 9.23 ดมี าก
กล่มุ ตวั บ่งช้ีพ้ืนฐาน
ตัวบ่งชี้ท่ี 1 ผเู้ รยี นมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี 10.00 9.70 ดมี าก
ตัวบ่งช้ีท่ี 2 ผเู้ รียนมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยมทพี่ ึงประสงค์
ตัวบง่ ชี้ที่ 3 ผเู้ รยี นมีความใฝ่รู้และเรยี นร้อู ย่างตอ่ เนอื่ ง 10.00 8.62 ดี
ตวั บ่งชีท้ ี่ 4 ผู้เรยี นคิดเป็น ทาเปน็
ตวั บ่งชท้ี ่ี 5 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผูเ้ รยี น 10.00 7.32 พอใช้

กลุ่มตวั บง่ ชอ้ี ตั ลักษณ์ 20.00 7.34 ตอ้ ง
ปรบั ปรงุ

32

ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน น้าหนัก คะแนน ระดบั

มัธยมศกึ ษา (คะแนน) ทไ่ี ด้ คุณภาพ

ตวั บง่ ชี้ท่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรชั ญา ปณิธาน พนั ธกจิ และ 5.00 5.00 ดีมาก
วตั ถุประสงคข์ องการจัดตัง้ สถานศึกษา

ตวั บง่ ชี้ที่ 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจุดเดน่ ทส่ี ่งผลสะท้อนเปน็ 5.00 5.00 ดีมาก
เอกลักษณข์ องสถานศึกษา

กลุม่ ตัวบง่ ชีม้ าตรการส่งเสริม

ตวั บง่ ชีท้ ี่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพื่อส่งเสรมิ บทบาทของ 5.00 5.00 ดีมาก
สถานศึกษา

มาตรฐานท่2ี การบรหิ ารจัดการศกึ ษา

กลมุ่ ตวั บง่ ชี้พ้ืนฐาน

ตวั บง่ ชี้ที่ 7 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศกึ ษา 5.00 4.50 ดมี าก

กลุ่มตัวบง่ ช้ีมาตรการสง่ เสริม

ตัวบ่งชท้ี ่ี 12 ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐาน รักษา

มาตรฐานและพฒั นาส่คู วามเปน็ เลศิ ท่ีสอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏิรปู 5.00 4.00 ดี

การศกึ ษา

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ

กลุ่มตัวบง่ ชีพ้ ้ืนฐาน

ตวั บ่งชี้ท่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั 10.00 8.00 ดี

มาตรฐานท่ี 4 วา่ ด้วยการประกันคณุ ภาพภายใน

กลมุ่ ตวั บง่ ชพ้ี ื้นฐาน

ตัวบ่งช้ที ี่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและ 5.00 4.75 ดีมาก
ต้นสังกัด

ผลรวมคะแนนท้ังหมด 100.00 78.46 ดี

จุดเดน่

1. ด้านผลการจดั การศกึ ษา

สถานศึกษามีการจัดโครงการส่งเสรมิ สนุ ทรยี ภาพและสุขภาพลานามัยโครงการพัฒนาระบบ

ดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนและโครงการพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ มทพี่ งึ ประสงค์สง่ ผลให้ผเู้ รยี นมีสขุ ภาพ

กายและสุขภาพจิตท่ีดีมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ มท่ีพึงประสงคอ์ ยใู่ นระดบั คุณภาพท่ดี มี ากมีอตั ลักษณ์

“ประพฤติดมี มี ารยาทงาม” มีการพฒั นาตามจดุ เน้นและจดุ เด่นท่ีส่งผลสะทอ้ นเปน็ เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา

คือ “ศิลปะดนตรีพ้ืนเมือง” มกี ารดาเนนิ โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศโครงการพัฒนาระบบดแู ล

ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นและโครงการส่งเสรมิ ทักษะผู้เรียนสู่ความเปน็ เลิศเป็นโครงการพเิ ศษเพือ่ สง่ เสรมิ บทบาทของ

33

สถานศกึ ษาสง่ ผลให้สถานศึกษามเี ทคโนโลยีในการจัดการบรหิ ารในสานกั งานอยา่ งเพยี งพอผเู้ รยี นรา่ เริงแจม่ ใส
มีสุขนสิ ัยสุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดีและมีสมรรถภาพตามเกณฑไ์ ม่เสพส่ิงเสพติดส่งิ มอมเมาร้จู กั หลกี เลีย่ ง
ความรุนแรงและโรคภยั ตลอดจนไดร้ ับการส่งเสรมิ พัฒนาความเปน็ เลิศในด้านต่างๆอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ

2. ดา้ นการบริหารจัดการศกึ ษา
สถานศึกษามีการบริหารจดั การและการพฒั นาสถานศกึ ษาทีม่ ีประสิทธิภาพ

3. ด้านการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
ไม่มี

4. ด้านการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษามีการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษาโดยจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

ขั้นพ้นื ฐานปี2556–2559แผนปฏบิ ัตกิ ารและกาหนดโครงการเพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษารวม17โครงการมี
การดาเนินงานตามระบบบรหิ ารคณุ ภาพ (PDCA) ผลการดาเนนิ งานบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ของโครงการเป็น
สว่ นใหญ่ส่งผลให้สถานศึกษามรี ะบบการประกันคุณภาพภายในทม่ี ีประสิทธิผลในระดับคุณภาพดีมาก

จุดที่ควรพฒั นา
1. ด้านผลการจดั การศึกษา
การพฒั นาให้ผูเ้ รียนมีความใฝร่ ้แู ละเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื งคดิ เป็นทาเปน็ และการพัฒนา

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนในทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้
2. ดา้ นการบรหิ ารจัดการศึกษา
การสง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อรกั ษามาตรฐานและพฒั นาสู่ความเปน็ เลิศท่ีสอดคล้องกับ

แนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา
3. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
การนาผลการประเมินดา้ นการสง่ เสรมิ ให้ครไู ด้รับการพฒั นาในวิชาทส่ี อนคุณภาพแผนการ

จัดการเรียนรูก้ ารจดั การเรียนรแู้ ละแบบวดั แบบทดสอบไปพัฒนาครูแต่ละคนอยา่ งเป็นระบบ
4. ดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน
ไมม่ ี

โอกาส
โรงเรียนทับโพธ์ิพฒั นวิทย์เปน็ โรงเรียนขนาดเลก็ มีจานวนนักเรียนไมม่ ากทาใหค้ รูดูแลนักเรยี นไดอ้ ยา่ ง

มีประสิทธภิ าพสถานที่ต้ังไมห่ า่ งจากชมุ ชนการเดินทางสะดวกปลอดภัยหนว่ ยงานผูป้ กครองชมุ ชนใหค้ วาม
ร่วมมอื สง่ เสรมิ สนบั สนุนมีสาวนร่วมในการพฒั นาเปน็ อยา่ งดี

34

อปุ สรรค
โรงเรียนทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย์มีขอ้ จากดั ด้านความพร้อมในการจดั การเรยี นการสอนคอื ผู้ปกครองท่มี ี

ความพร้อมส่งบุตรหลานเรยี นในเมืองทาใหโ้ รงเรยี นมีภาระรบั ผดิ ชอบผเู้ รียนทไี่ มม่ ีความพร้อมในดา้ นต่างๆเชน่
ดา้ นฐานะเศรษฐกิจของผู้ปกครองผูป้ กครองอพยพยา้ ยถ่ินทาใหน้ ักเรยี นตอ้ งอยู่ตามลาพงั ไมม่ ผี ู้ดแู ล

ข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นาตามกฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คุณภาพ
การศกึ ษาพ.ศ. 2553

1. ด้านผลการจัดการศึกษา
1) ผู้เรยี นควรได้รับการพฒั นาทกั ษะการคดิ ด้วยการฝกึ การฟงั การพูดการอ่านและการเขยี น

เพอื่ เชอ่ื มโยงความคิดใหเ้ ป็นระบบควรได้รับการส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์คิดนอกกรอบดว้ ยการจัดสรรพน้ื ที่/
เวทเี พอื่ แสดงช้นิ งาน/ผลงานที่เกดิ จากการเรยี นรู้ในชัน้ เรยี นปกติรวมท้งั เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในการ
ประเมนิ และวพิ ากษ์ผลงานอยา่ งสร้างสรรค์

2) ผูเ้ รียนควรได้รับการพัฒนาใหม้ คี วามใฝ่รู้และเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องด้วยการที่ครมู อบหมาย
ใหผ้ เู้ รยี นบันทึกการอ่านการสืบค้นขอ้ มูลความรู้ทางอนิ เทอร์เน็ตและการศกึ ษาดงู าน/ทศั นศกึ ษาให้มเี นอื้ หา
สาระครอบคลมุ ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้และเชอ่ื มโยงไปสกู่ ารประเมินพฒั นาการของการอา่ นคดิ วิเคราะห์และ
เขียนสื่อความของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล

3) สถานศกึ ษาควรมีการการปรับพน้ื ฐานความรู้ของผูเ้ รยี นแรกเขา้ ให้มีความรู้พนื้ ฐาน
เพียงพอเพือ่ ศกึ ษาในระดบั ช้ันทส่ี ูงขนึ้ และควรลดกิจกรรมตา่ งๆอาจมกี ารจดั กิจกรรมนอกเหนอื กจิ กรรมการ
วิชาการในเชิงบรู ณาการเพื่อลดภาระงานของครูและผู้เรยี นใหน้ อ้ ยลงเพ่ือใหค้ รูมีเวลาเพยี งพอสาหรับการจัด
กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามหลกั สตู ร

4) ผู้เรยี นควรได้รบั การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้ด้วยการ
สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรูว้ ิธกี ารเรียนรูแ้ ละฝกึ ทักษะการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานที่สาคญั ได้แกท่ กั ษะการสื่อสาร
ทักษะการคิดและทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรผ์ ่านกจิ กรรมในชน้ั เรียนทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นได้ฝกึ
ปฏบิ ัตติ ามภาระงานเป็นข้ันตอนจนเกดิ ผลผลิตทเ่ี ปน็ ผลงานการเรยี นรูห้ รอื องค์ความรขู้ องผเู้ รียน

2. ด้านการบรหิ ารจัดการศึกษา
สถานศกึ ษาควรมีการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพอื่ ยกระดับมาตรฐานรักษามาตรฐานและ

พฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ที่สอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาดว้ ยการพัฒนาผ้เู รียนให้มีความใฝร่ ู้และ
เรียนรูอ้ ยา่ งต่อเน่ืองมที ักษะกระบวนการคดิ มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนที่สูงขึ้นครูควรมีการพัฒนาตนเองให้มี
ความร้เู พอ่ื ใหเ้ ปน็ ครมู ืออาชพี โดยให้แหล่งเรยี นรู้ที่มีอยู่แล้วใหค้ มุ้ ค่าเกดิ ประโยชนส์ งู สุดและสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญา
ท้องถิน่ เขา้ มารว่ มจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ หม้ ากย่งิ ขน้ึ

35

3. ดา้ นการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
1) ครูควรบันทกึ หลังสอนตามสภาพจรงิ ให้ครอบคลมุ เป้าหมายทต่ี ้องการให้เกดิ ข้นึ กบั ผู้เรียน

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานพ.ศ. 2551และควรนาผลไปใช้ปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นรูใ้ ห้
สอดคลอ้ งกบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น

2) สถานศกึ ษาควรดาเนนิ การนาผลการประเมนิ ดา้ นการสง่ เสรมิ พฒั นาครูในวชิ าท่ีสอน
คุณภาพแผนการจดั การเรยี นรู้การจดั การเรียนร้แู ละแบบวัดแบบทดสอบไปพัฒนาครูแตล่ ะคนอย่างเป็นระบบ

4. ด้านการประกนั คณุ ภาพภายใน
ไม่มี

นวตั กรรมหรือตวั อยา่ งการปฏิบัตทิ ี่ดี (Good Practice)ของสถานศกึ ษาที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ สังคม
1. นวตั กรรมการบริหาร “สามประสาน” หรอื 3 ส สานที่ 1 คณะกรรมการสถานศกึ ษา สานท่ี 2
โรงเรยี น สานที่ 3 ผปู้ กครองชุมชนโดยการขบั เคล่อื นในลกั ษณะฟนั เฟืองทางานประสานกันมีผทู้ ่โี รงเรยี น
แตง่ ตัง้ เป็นคณะตา่ งๆประสานงานลงสู่การปฏบิ ตั ิทาความเขา้ ใจแลกเปลี่ยนเสนอแนะ “หลอมเป็นองค์ความรู้
นาสู่การปฏิบตั ิ”
2. บทเรยี นสาเร็จรูปเรือ่ งการพัฒนาหลักการใช้ภาษาไทยชุดคายืมและประโยคใชเ้ พ่อื พฒั นาการใช้
ภาษาไทยเกีย่ วกับคาทีย่ ืมมาจากภาษาต่างประเทศและประโยคในภาษาไทยประกอบการสอน ช้นั มัธยมศึกษา
ปที ่1ี
3. แบบฝึกเสรมิ ทักษะคณิตศาสตร์เรื่องลาดับและอนุกรมชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ใชป้ ระกอบการสอน
เรอื่ งลาดบั และอนุกรมเพื่อใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ ทักษะการคดิ คานวณทักษะการสอ่ื สารทกั ษะการให้เหตุผลทักษะการ
เช่ือมโยงและทกั ษะการแก้ปญั หา
4. ชุดการสอนเร่อื งระบบประสาทวชิ าชีววิทยา ว33241 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ใช้เพอ่ื พัฒนาผู้เรียนให้
เกดิ การเรยี นรูอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพเรอื่ งระบบประสาทใช้ในการทบทวนบทเรยี นให้มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นที่
ดีขึน้ และมีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ วิชาวิทยาศาสตร์
5. บทเรียนสาเร็จรปู เรอื่ งมงคล 6 ทิศ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ใชพ้ ฒั นาผู้เรยี นให้ร้แู ละปฏิบัตมิ ารยาทท่ี
จาเป็นต้องแสดงออกทางสังคมได้ถูกตอ้ งและเปน็ การส่งเสรมิ วฒั นธรรมประเพณไี ทย
6. แบบฝึกทักษะพืน้ ฐานการเลน่ ตะกรอ้ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ใช้พฒั นาการเลน่ กีฬาตะกร้อให้เป็น
กฬี าที่เล่นไดง้ ่ายเพียงแคใ่ ห้มีพืน้ ทีว่ า่ งเพยี งพอทาให้ผู้ฝึกซอ้ มเกิดทักษะพนื้ ฐานเกิดความชานาญดังกลา่ วเพมิ่
มากข้ึนสง่ ผลทาให้สามารถเลน่ กีฬาตะกรอ้ ได้ดยี ิ่งขน้ึ
7. บทเรยี นการต์ นู เร่อื งความหมายของนาฏยศัพท์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ใชป้ ระกอบการสอนเรื่อง
ความหมายของนาฏยศพั ท์เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดทกั ษะการคดิ และทกั ษะการปฏิบตั ิ
8. หนังสืออ่านเพ่มิ เตมิ ชุดตามรอยพ่อเกษตรทฤษฎใี หม่ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ใช้ประกอบการสอน
เร่ืองเกษตรทฤษฎใี หม่มงุ่ ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นทกุ คนให้เรียนรู้และพัฒนาตนเองดว้ ยกระบวนการกลุ่ม

36

9. แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะภาษาองั กฤษเรือ่ งอสี านบ้านเฮาเพอ่ื เป็นสือ่ การเรยี นการสอนซ่งึ ช่วยให้ผเู้ รียน
เกดิ การเรียนร้กู ารปฏบิ ตั ิไดด้ ว้ ยตนเองได้ฝึกทกั ษะเพ่มิ เตมิ โดยแบบฝกึ เสรมิ ทักษะนี้มุง่ เน้นกระบวนการเรียนรู้
ที่มกี ารปฏบิ ัตินามาใช้ไดจ้ ริงตามหน้าท่ีของภาษามเี ปา้ หมายในการใช้ภาษาสือ่ สารในชีวติ จรงิ

ขอ้ เสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตามมาตรฐานและตัวบง่ ชี้
(ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน : มธั ยมศึกษา)
โรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวิทย์ รับการประเมินระหว่างวนั ท่ี 26 – 28 มกราคม 2558

ตวั บ่งช้ีที่ ขอ้ เสนอแนะ
1 สถานศกึ ษามีการดาเนินโครงการส่งเสริมสนุ ทรยี ภาพและสขุ ภาพพลานามัย และโครงการพฒั นา
2 ระบบดแู ลนกั เรียนอย่แู ลว้ จงึ ควรมกี ารเฝา้ ระวังใหผ้ ู้เรยี นไดร้ บั ประทานอาหารท่มี ีประโยชนใ์ น
ปริมาณและคุณภาพเพียงพอสาหรับความต้องการของร่างกายในแตล่ ะวนั ด้วยการประสานกบั
3 ผู้ปกครองให้ผู้เรียนได้รบั ประทานอาหารเชา้ ก่อนมาโรงเรยี นทกุ คน
4 สถานศกึ ษามโี ครงการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มทีพ่ ึงประสงค์ มีการเลือกตัง้
คณะกรรมการนกั เรยี น มีการตดิ ตามบันทกึ ความดีของผเู้ รยี น สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมีจติ สาธารณะด้วย
การให้บาเพญ็ ประโยชน์ต่อส่วนรวม สง่ ผลให้ผเู้ รียนเป็นลกู ที่ดีของพอ่ แม่ เป็นนกั เรยี นท่ีดขี อง
โรงเรียนในระดับดีมาก จึงควรส่งเสรมิ บทบาทของคณะกรรมการนกั เรยี นให้โดดเด่นยิ่งขน้ึ ดว้ ยการ
ใหด้ แู ลจัดกจิ กรรมวนั Cleaning Day เพอื่ พฒั นาหอ้ งเรยี น อาคารสถานท่ีใหม้ ีความสะอาด ถูก
สขุ ลกั ษณะ จะทาให้ผู้เรยี นเกดิ ความรบั ผดิ ชอบต่อสาธารณสมบัติ และเสรมิ สร้างความสามัคคีในหมู่
คณะนกั เรียนให้แนน่ แฟน้ มากย่งิ ขน้ึ
ผูเ้ รยี นควรได้รับการพฒั นาให้มีความใฝ่รู้ และเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่อื ง ดว้ ยการที่ครมู อบหมายให้
ผู้เรยี นบนั ทึกการอ่าน การสืบค้นขอ้ มูลความรู้ทางอนิ เทอร์เนต็ และการศึกษาดงู าน/ทศั นศกึ ษา ให้มี
เนือ้ หาสาระครอบคลมุ ทุกกลุ่มสาระการเรยี นร้แู ละเช่ือมโยงไปสู่การประเมินพฒั นาการของการอ่าน
คดิ วิเคราะห์ และเขียนสื่อความของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล
ผ้เู รียนควรได้รบั การพัฒนาทกั ษะการคิด ด้วยการฝึกการฟงั การพูด การอ่าน และการเขียนเพือ่
เช่อื มโยงความคดิ ให้เป็นระบบ ควรได้รับการสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบด้วยการ
จดั สรรพ้ืนท/ี่ เวที เพ่ือแสดงช้ินงาน/ผลงานทีเ่ กดิ จากการเรียนรู้ในชั้นเรียนปกติ รวมท้งั เปิดโอกาสให้
ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการประเมินและวพิ ากษผ์ ลงานอย่างสร้างสรรค์

37

5 1.สถานศกึ ษาควรมีการการปรบั พืน้ ฐานความรูข้ องผเู้ รยี นแรกเขา้ ให้มีความรพู้ น้ื ฐานเพยี งพอเพื่อ
ศึกษาในระดบั ชั้นทสี่ งู ขน้ึ และควรลดกิจกรรมตา่ งๆ อาจมกี ารจดั กิจกรรมนอกเหนือกิจกรรมการ
วิชาการในเชิงบูรณาการเพ่อื ลดภาระงานของครูและผู้เรยี นใหน้ อ้ ยลง เพื่อให้ครมู เี วลาเพยี งพอ
สาหรบั การจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลักสูตร
2. ผเู้ รียนควรได้รบั การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ด้วยการสง่ เสรมิ ให้
ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้วิธีการเรยี นรแู้ ละฝึกทักษะการเรียนรแู้ ละฝกึ ทักษะการเรยี นร้ขู ัน้ พน้ื ฐานทส่ี าคญั
ไดแ้ ก่ ทักษะการส่ือสาร ทกั ษะการคดิ และทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ผ่านกิจกรรมในชน้ั
เรียนท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดฝ้ กึ ปฏิบัติตามภาระงานเป็นขั้นตอนจนเกดิ ผลผลติ ท่ีเป็นผลงานการ
เรยี นรู้หรือองค์ความรู้ของผูเ้ รียน

ตัวบง่ ชี้ท่ี ขอ้ เสนอแนะ
6 1.ครูควรบันทึกหลังสอนตามสภาพจรงิ ให้ครอบคลมุ เปา้ หมายที่ต้องการให้เกิดขนึ้ กับผู้เรยี นตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 และควรนาผลไปใชป้ รบั ปรงุ กระบวนการเรยี นรู้
7 ให้สอดคลอ้ งกบั พฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น
8 2. สถานศึกษาควรดาเนนิ การนาผลการประเมนิ ด้านการสง่ เสรมิ พฒั นาครใู นวิชาท่สี อน คุณภาพ
แผนการจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรู้ และแบบวดั แบบทดสอบ ไปพัฒนาครแู ต่ละคนอยา่ งเป็น
9 ระบบ
สถานศึกษามกี ารบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาซงึ่ มีประสิทธภิ าพอย่แู ลว้ แต่ควรเพิ่มเตมิ
กิจกรรมการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานของสถานศึกษา เช่น ประเมินระบบการประเมิน กระบวนการ
ประเมิน เอกสารการประเมนิ และการใชผ้ ลประเมินอยา่ งมีประสิทธภิ าพให้ครอบคลุมภาระงานและ
บคุ ลากรทุกคน
สถานศกึ ษามพี ัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศึกษาและตน้ สงั กัดโดยกาหนด
มาตรฐานการศึกษาจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษานาแผนสู่การปฏิบตั ดิ ้วยการจัดทาแผนปฏิบัติ
การดาเนนิ โครงการจานวน17โครงการจนบรรลเุ ป้าหมาย15โครงการแต่เพ่ือให้สถานศึกษามีขอ้ มลู
สารสนเทศตามระบบบริหารคุณภาพ (PDCA) จงึ ควรมกี ารสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ โครงการให้เป็น
ระบบเพื่อประโยชน์ในการนามาใชต้ ดั สนิ ใจในการบริหารจดั การตามโครงสร้างการบริหารในปี
การศึกษาต่อไป
สถานศกึ ษามกี ารพัฒนาให้บรรลตุ ามปรชั ญาปณิธาน/วิสัยทัศน์พนั ธกิจและวตั ถุประสงคข์ องการ
จัดตั้งสถานศึกษาผู้เรยี นเกิดอัตลักษณ์คือมีความประพฤติดีมมี ารยาทงามส่งผลให้ได้รบั รางวัลเหรยี ญ
ทองการประกวดมารยาทไทยทั้งระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลายจงึ ควรธารง
รักษามาตรฐานนไี้ ว้ให้ยง่ั ยืนสบื ไป

38

10 สถานศึกษามกี ารการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจดุ เด่นทสี่ ง่ ผลสะท้อนเปน็ เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา
11 สง่ ผลให้สถานศกึ ษามีเอกลักษณ์คือ “ศิลปะดนตรีพ้นื เมอื ง” สามารถสรา้ งชือ่ เสียงจนไดร้ บั รางวลั
(เหรยี ญทอง) วงโปงลางจึงควรดารงรกั ษามาตรฐานน้ไี วใ้ ห้ยง่ั ยนื สืบไป
ตัวบ่งช้ีท่ี สถานศกึ ษามีการดาเนินงานโครงการพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศโครงการพัฒนาระบบดแู ล
12 ช่วยเหลอื นักเรียนและโครงการสง่ เสริมทักษะผู้เรียนสคู่ วามเปน็ เลิศเปน็ โครงการพเิ ศษเพ่ือสง่ เสรมิ
บทบาทของสถานศกึ ษาสง่ ผลให้สถานศกึ ษามีเทคโนโลยใี นการจัดการบรหิ ารในสานกั งานอย่าง
เพยี งพอผูเ้ รยี นร่าเริงแจ่มใสมสี ขุ นิสยั สุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ดี ีและมสี มรรถนะตามเกณฑไ์ มเ่ สพ
ส่งิ เสพติดสิ่งมอมเมารูจ้ ักหลกี เล่ยี งความรนุ แรงและโรคภัยตลอดจนได้รับการสง่ เสรมิ พฒั นาความ
เป็นเลศิ ในดา้ นต่าง ๆ อยา่ งเต็มศกั ยภาพจงึ ควรดารงรกั ษามาตรฐานนี้ไว้ให้ยัง่ ยนื สืบไป

ข้อเสนอแนะ
สถานศกึ ษาควรมกี ารส่งเสริมพัฒนาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดับมาตรฐานรักษามาตรและพฒั นาสูค่ วาม
เปน็ เลศิ ท่สี อดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรปู การศึกษาด้วยการพัฒนาผเู้ รียนให้มีความใฝร่ แู้ ละเรียนรู้
อยา่ งต่อเน่ืองมที ักษะกระบวนการคดิ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นท่ีสงู ข้นึ ครคู วรมกี ารพัฒนาตนเองใหม้ ี
ความรเู้ พ่อื ให้เป็นครมู ืออาชีพโดยให้แหล่งเรียนรู้ทีม่ อี ยแู่ ลว้ ใหค้ ุ้มคา่ เกดิ ประโยชน์สูงสุดและสง่ เสริม
ภูมิปัญญาท้องถิน่ เข้ามารว่ มจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ หม้ ากย่ิงขึ้น

39

สว่ นที่ 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น
ระดับคุณภาพ ดเี ลศิ

1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวทิ ย์ มกี ระบวนการพัฒนาผู้เรยี นดว้ ยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย ครูจัดการเรยี นรูใ้ ห้

เปน็ ไปตามศกั ยภาพของผู้เรียนและเปน็ ไปตามมาตรฐานและตวั ชี้วัดของหลักสตู รสถานศกึ ษาและมีการ
ออกแบบการจัดการเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกับผเู้ รียน โดยมกี ารจัดการเรยี นรู้ทั้งรปู แบบการระดมสมอง แบบลงมอื
ปฏิบัติจรงิ แบบรว่ มมือกันเรยี นรู้ แบบใชก้ ระบวนการคิดกระบวนการใชป้ ญั หาเปน็ หลัก และเน้นเรือ่ งการอ่าน
ออกของผู้เรยี นเป็นเรือ่ งสาคัญทสี่ ุดโดยม่งุ พัฒนาใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนอา่ นออกและเขียนได้ต่อยอดจากชั้นเรียนทไี่ ด้
เลือ่ นช้นั สูงข้ึนโรงเรียนไดพ้ ฒั นาครูทุกคนให้มคี วามสามารถในการนาเทคนคิ วิธสี อนใหต้ รงตามศกั ยภาพผูเ้ รยี น
ใชส้ ื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มแี หลง่ เรยี นรู้และแหล่งสบื ค้นขอ้ มลู ได้แก่ หอ้ งสมุด หอ้ ง
คอมพวิ เตอร์ครูร่วมกนั กาหนดแผนการจดั การเรียนรู้ ร่วมกนั สะทอ้ นปญั หาการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบ
PLCจัดการวดั และประเมนิ ผลแบบบรู ณาการครูเนน้ การใชค้ าถามเพือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ของผ้เู รียน
นอกจากนี้ สถานศกึ ษาได้มกี ารดาเนนิ การนิเทศการสอนเพ่ือพฒั นากระบวนการสอนเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ ของ
ผ้เู รยี น เพอ่ื ให้อยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข เน้นการพฒั นาด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ท่เี หมาะสมกบั วัยของ
ผ้เู รียน โดยการจดั คา่ ยคุณธรรม ชั่วโมงความดี ช่วั โมงจติ สาธารณะ ช่วั โมงลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ให้กบั นักเรียน
ทุกระดับช้นั จดั กจิ กรรมการพฒั นาให้เหมาะสมกับวยั พฒั นาคณุ ธรรมผเู้ รยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา เน้นให้
ผู้เรยี นมวี นิ ยั ซอื่ สตั ย์ รบั ผิดชอบ และมีระบบการแนะแนวและการดูแลสขุ ภาวะจติ นาภูมิปญั ญาท้องถิ่นมา
ร่วมกันวางแผนการจัดการเรยี นการสอนและมีการเรียนร้ภู ูมปิ ญั ญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา จดั กิจกรรม
การสอนเนน้ โครงงานเช่นโครงงานหนง่ึ โรงเรยี นหนึ่งอาชพี หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ เปน็ ต้น
2. ผลการดาเนินงาน

ผลจากการจัดดาเนินการในด้านผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการ ผู้เรยี นสามารถอา่ นออกและ
อ่านคล่องตามมาตรฐานการอา่ นในแตล่ ะระดบั ช้ัน สามารถเขียนสือ่ สารไดด้ ี ร้จู ักการวางแผนสามารถทางาน
รว่ มกับผอู้ ่ืนไดด้ ีตามหลกั ประชาธปิ ไตย กลา้ แสดงออก และแสดงความคดิ เห็นได้อยา่ งสร้างสรรค์ สืบค้นขอ้ มูล
หรือแสวงหาความรู้จากส่อื เทคโนโลยีไดด้ ว้ ยตนเอง รวมทงั้ สามารถวเิ คราะห์ จาแนกแยกแยะได้ว่าสงิ่ ไหนดี
สาคญั จาเปน็ รวมทั้งรู้เทา่ ทันสอ่ื และสังคมทีเ่ ปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ผเู้ รยี นร้แู ละตระหนักถึงโทษและพิษ
ภยั ของสงิ่ เสพติดตา่ งๆ เลอื กรบั ประทานอาหารที่สะอาด และมีประโยชน์ รักการออกกาลงั กาย นักเรยี นทุกคน
สามารถเล่นกีฬาได้อยา่ งนอ้ ยคนละประเภท ยอมรบั ในกฎกตกิ าของกลุ่ม ของสถานศึกษาของสงั คม มที ัศนคติ
ทด่ี ีต่ออาชพี สุจริต รวมถงึ มคี วามเข้าใจเรอ่ื งความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและระหว่างวัย ทั้งนี้ มผี ลการ
ดาเนินงานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการประเมนิ ในด้านต่าง ๆ

40

กระบวนการพัฒนาประเด็น 1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผ้เู รยี น
1) ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คานวณ มีกระบวนการพัฒนาโดยการ

จดั กิจกรรมการเรียนการสอนทเ่ี นน้ การพฒั นาให้นักเรยี นมี ความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สารและ
การคดิ คานวณ โดยครูผู้สอนได้ดาเนนิ การคดั กรอง ด้านการอ่าน การเขียน การคดิ คานวณของผู้เรยี น มา
วางแผนการสอนและจัดกจิ กรรมท่หี ลากหลาย ใชเ้ ทคนิคการสอนต่าง ๆ และเหมาะสมกบั นกั เรยี นในแตล่ ะ
กลุ่ม เชน่ การสอนโดยใช้เทคนคิ เพอ่ื นชว่ ยเพื่อน การสอนโดยใชโ้ ครงงาน (PBL) การสอนโดยใช้กระบวนการ
Active Learning การสอนแบบ 5E การสอน บูรณาการ STEM ศกึ ษา เปน็ ตน้ เพอื่ พัฒนาทักษะผู้เรียนท่ี
เหมาะสมกบั วยั และศักยภาพของผู้เรยี นในแต่ละ ด้าน จดั การเรียนรทู้ ่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ให้นักเรียนมที กั ษะ
ทัศนคติ ค่านยิ ม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพื่อเผชญิ กับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism) ที่มีท้ัง
ความสาเรจ็ และมคี วามสขุ มกี ารวดั ประเมนิ ผล ตามสภาพจริงดว้ ยเครื่องมือวัดผล ประเมนิ ผลท่หี ลากหลาย มี
การจดั กจิ กรรม/โครงการเพอื่ ส่งเสริม ความสามารถใน การอา่ น การเขียน การสือ่ สารและการคิดคานวณ ตาม
เกณฑ์ของแตล่ ะระดับชั้น ได้แก่ กิจกรรมรกั การอา่ นกลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย กจิ กรรมอา่ นออกเขยี นได้
กจิ กรรมวันสนุ ทรภู่ กจิ กรรมประกวดทกั ษะภาษาไทย โครงการทส่ี ่งเสรมิ การอา่ น เขียน คดิ คานวณ และสือ่ สาร
ทางคณิตศาสตร์ เชน่ กิจกรรมสง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ กจิ กรรมสอนเสริม กจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้
โครงงาน กิจกรรมวนั คริสมาสต์กจิ กรรมประชาธิปไตย กิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธิแ์ ละส่งเสริมความเปน็ เลศิ
ทางวชิ าการ เป็นตน้

2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี น ความคิดเหน็
และแกป้ ญั หา มกี ระบวนการพฒั นาตามจุดเน้นของหลกั สตู รและจุดเน้นของโรงเรียน โดยการจัดการเรยี นรู้ท่ี
เน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั มกี ารศึกษาขอ้ มูลผู้เรียนเปน็ รายบคุ คลเพ่อื จดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ มกี ารออกแบบ
การจัดการเรยี นที่สง่ เสรมิ การเรยี นร้ทู งั้ ในและนอกหอ้ งเรียน และการเรยี นทเี่ น้นการลงมือ ปฏบิ ตั ิแบบบรู ณา
การ การใช้สื่อ ICT เป็นฐานในการจัดการเรยี นรูใ้ ห้ผูเ้ รียนได้แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ อยา่ งหลากหลาย
นกั เรยี นเรียนรผู้ า่ นกระบวนการสบื ค้น แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ครผู ้สู อนวางแผนการสอน และจัดกจิ กรรม
โดยใช้เทคนคิ การสอนตา่ ง ๆ เพือ่ พฒั นาทกั ษะผูเ้ รียนทเี่ หมาะสมกบั วัยและศกั ยภาพของ ผู้เรยี นในแตล่ ะด้าน
วดั ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยเครอื่ งมอื วัดผล ประเมินผลทีห่ ลากหลาย มีการจัด กจิ กรรม/โครงการเพือ่
สง่ เสริมความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ และคิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคิดเห็น และ
แกป้ ญั หา เช่น กิจกรรมสง่ เสริมทกั ษะทางวชิ าการของกลมุ่ สาระการเรียนรทู้ ัง้ 8 กลุ่มสาระฯ กิจกรรมเตรียม
ความพรอ้ มการแขง่ ขันทักษะความเปน็ เลิศทางวิชาการ กจิ กรรมส่งเสริมการประกวดงานศลิ ปหตั ถกรรม
นกั เรียน กิจกรรมบูรณาการสง่ เสริมคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ กจิ กรรมการผลติ ส่อื กิจกรรมพัฒนาและ
สง่ เสรมิ นกั เรยี นเข้าร่วมแข่งขนั ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอรแ์ ละหนุ่ ยนต์ กจิ กรรมสัปดาหว์ ิทยาศาสตร์ กิจกรรม
สอนเสรมิ ยกระดับผลสมั ฤทธิก์ ารทดสอบระดับชาติ และกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ เป็นต้น

3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม มีกระบวนการพฒั นาโดยมีนโยบายทีส่ นับสนุนส่งเสริมการ
จดั การเรียนการสอนโดยใชเ้ ทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย และเหมาะสมกบั ความแตกต่างระหว่างบคุ คลของ
นักเรียน เชน่ การสอนโดยใช้โครงงาน (PBL) การสอนโดยใช้กระบวนการ Active Learning การสอนแบบ

41

5E การสอนบูรณาการ STEM ศกึ ษา การ สอนโดยใชก้ ระบวนการกล่มุ การสอนโดยใช้การรว่ มมอื เทคนิค
TGT การสอนโดยใชก้ ารรว่ มมือเทคนคิ STAD การสอนโดยใช้การรว่ มมือเทคนคิ TAI การสอนโดยใช้อุปนัย
ร่วมกับผังมโนทัศน์ เป็นตน้ ท้ังนโ้ี รงเรยี นได้จดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ทสี่ ่งเสริมมีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
ของนักเรยี นทาใหน้ กั เรียนเกิดความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทงั้ ดว้ ยตวั นกั เรียนเองและการทางาน
เปน็ ทมี มีการพัฒนาการจนเกิดการเช่อื มโยงองค์ความรู้ และประสบการณม์ าใชใ้ นการสร้างสรรค์ผลงาน
ชน้ิ งาน หรือโครงงาน ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนในรายวชิ าการสบื คน้ เพื่อสร้างองค์ความรู้ 1 (IS 1)
รายวิชาการทารายงานเชงิ วชิ าการ และการนาเสนอ 2 (IS 2) รายวิชาเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน (IS 3)
รายวิชาการออกแบบเทคโนโลยี ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้นและมธั ยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมการผลิตส่ือ
ประกอบการเรียนการสอนท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กิจกรรมส่งเสริมการวจิ ยั ในช้นั เรียน กจิ กรรมส่งเสรมิ
ความเป็นเลิศทางวิชาการ กิจกรรมสง่ เสรมิ มหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยี
ของนักเรียน และกิจกรรมบูรณาการสง่ เสริมคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เป็นตน้

4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร มีกระบวนการพฒั นาตามจดุ เนน้ ของ
หลกั สูตร จุดเน้นของโรงเรยี น และตามวสิ ัยทัศน์ของโรงเรยี น ท่วี า่ “โรงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวิทย์ เป็นสถานศกึ ษา
ที่มงุ่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ณุ ธรรม นาความรู้ สู่มาตรฐานสากล บนพ้นื ฐานของเศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่
ศิลปวฒั นธรรมไทย” โดยการจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ มีการออกแบบการ จดั การเรียนทีส่ ่งเสริม
การเรียนรู้และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในรายวชิ า ตา่ งๆ ทัง้ 8
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ จะกาหนดส่ือการเรยี นรู้ที่เป็นสอื่ เทคโนโลยี ไว้ในแผนการจดั การเรยี นรู้ และกาหนดให้
ผู้เรียนสบื ค้นความรูจ้ ากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ เปน็ ต้น มีการจดั โครงการหรอื กจิ กรรมท่สี ่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร เชน่ การอบรมการออกแบบเวบ็ ไซต์ การอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร การใช้โปรแกรม
The Geometer's Sketchpad (GSP) กจิ กรรมค่ายภาษาและวัฒนธรรม การจัดการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี
การศึกษาทางไกลผ่านระบบ (DLTV) และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) เปน็ ตน้ ซ่งึ สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยี
และการใชภ้ าษาใน การส่ือสาร การจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้สอื่ ICT เป็นฐาน เช่น ใน
รายวิชาการศึกษา ค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) และรายวชิ าการสื่อสารและการนาเสนอ (HIS2) ทเ่ี นน้
การใช้เทคโนโลยีเปน็ ส่อื กลางในการสืบคน้ ขอ้ มูล การวิพากษ์ การอภปิ รายแสดงความคิดเห็นและการ
นาเสนอผลงาน ทาให้ใหน้ ักเรียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร การออกแบบ
เทคโนโลยี การทางาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม ได้เต็มตามศักยภาพ

5) มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มกี ระบวนการพฒั นาโดยเนน้ ให้ผู้เรยี นมี
ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนใหม้ ี คุณภาพเปน็ ไปตามเปา้ หมาย ซึ่งพฒั นาตงั้ แต่ กระบวนการสร้างและใช้หลกั สูตร
การจัดการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ การเปดิ ช้ันเรยี น (PLC Lesson study) มกี ารศกึ ษาข้อมลู ผูเ้ รียนเป็น
รายบคุ คลเพ่อื จดั ทา แผนการจดั การเรียนรู้ มีการออกแบบการจัดการเรยี นทส่ี ่งเสรมิ การเรียนรูท้ ัง้ ในและนอก
หอ้ งเรียนและการ เรยี นทีเ่ นน้ การลงมือปฏบิ ตั ิแบบบูรณาการ ให้ผู้เรยี นได้แลกเปล่ียนความคิดเห็นอย่าง
หลากหลาย ผู้เรียน เรียนผ่านกระบวนการสบื ค้น แสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง ครูผ้สู อนวางแผนการสอนและจัด
กจิ กรรมโดยใช้ เทคนิคการสอนต่าง ๆ เพ่ือพฒั นาทักษะผูเ้ รียนท่ีเหมาะสมกบั วัยและศกั ยภาพของผูเ้ รยี นในแต่

42

ละด้าน มกี ารจัดโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ที่สนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี นมีผลสัมฤทธิ์เปน็ ไปตามหลักสูตร จดั ทา
รายงานผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนทุกภาคเรียนทุกปกี ารศกึ ษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการสอนในปี
การศึกษาต่อไป นอกจากนี้ยงั จัดโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นมีผลการทดสอบระดบั ชาติของ
ผเู้ รยี นท่สี งู ขึน้ และคณุ ภาพเป็นไปตามเปา้ หมาย เชน่ กิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หรือ กจิ กรรม
ติวเข้ม รายวชิ าภาษาไทย รายวิชาคณิตศาสตร์ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรมและ รายวชิ าภาษาอังกฤษ มกี ารเปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาตขิ ัน้ พนื้ ฐานเพื่อดพู ฒั นาการ
อยา่ งตอ่ เนื่อง ส่งผลให้ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ม.6 ปกี ารศกึ ษา
2564 มพี ฒั นาการคะแนนกลมุ่ สาระการเรียนรเู้ พิ่มขึน้ โดยเฉพาะกลมุ่ สาระวิชาท่มี พี ัฒนาการเพม่ิ ข้นึ จากปี
การศึกษา 2563 และปกี ารศกึ ษา 2562 คือ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยกลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีและกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมีคะแนนสงู กว่า
ระดับประเทศ

6) มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดีต่องานอาชีพ การศกึ ษาแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม
แหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 12 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศกึ ษาชาติ นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 2560 การจดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษา การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ การจดั ทา
แผนการจัดการเรียนรู้ การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ตามแผนการจัดการเรียนรู้ นอกจากนัน้ ยังมกี ารจดั ทาแผนปฏบิ ัติการประจาปี กาหนดโครงการ/กิจกรรมใหม้ ี
ความสอดคลอ้ งกบั ทิศทางของการพัฒนาผู้เรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา เช่น กิจกรรมแนะแนวศึกษา
ตอ่ และอาชีพ กิจกรรมการสรา้ งแรงบันดาลใจในการศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชพี กจิ กรรมพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้เพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรรู้ ายวชิ างานประดิษฐ์ งานชา่ ง และ งานคหกรรม
กิจกรรมเปิดโลกทัศน์ด้านการศึกษาตอ่ กิจกรรมเสรมิ ทักษะดา้ นอาชพี ตลอดจนแบบทดสอบวัดความรูแ้ ละ
ทกั ษะพน้ื ฐานของแตล่ ะวชิ าทีส่ อ่ื ให้เหน็ วา่ ผู้เรยี นมอี งค์ความรู้และทักษะ พืน้ ฐานตอ่ การประกอบอาชพี
กจิ กรรมการฝึกประสบการณด์ า้ นอาชพี ในสถานประกอบการ กิจกรรมการ สารวจเป้าหมายอาชพี ของผเู้ รยี น
เอกสารผลงานการศึกษาด้านอาชีพของผู้เรียน เอกสารผลงานการ วเิ คราะหต์ นเองเพ่อื การศึกษาต่อและการ
ประกอบอาชพี เอกสารการทาบันทกึ ข้อตกลงในการจดั การศกึ ษา กิจกรรมการศกึ ษาดงู านนอกสถานทเ่ี พือ่ ให้
นกั เรยี นนามาเป็นแนวทางในการประกอบ อาชพี เช่น กิจกรรมการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร นอกจากนนั้ ยังจดั ให้
มกี ารดาเนินการขับเคลือ่ นนโยบายและจุดเนน้ ไปสกู่ ารปฏิบตั ิเพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธ์ิในภาพรวม โดยจดั ให้มีการ
พัฒนาหลักสูตรให้มคี วามเชอ่ื มโยงทง้ั ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน อาชวี ศึกษาและอุดมศกึ ษา โดยในระดับ
มัธยมศึกษาครแู ละผู้เรยี นร่วมกันสร้างกระบวนการเรยี นรูแ้ ละจดั การ เรยี นรแู้ บบองคร์ วม จดั ให้มีแหลง่ เรียนรู้
เพอื่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ุณภาพ จัดการเรยี นรู้ท่หี ลายหลายเชือ่ มโยงสอู่ าชพี และการมงี านทา การจดั การศกึ ษา
เพ่ือพัฒนาผ้เู รียนใหม้ ีทักษะและความเชี่ยวชาญในงานอาชีพเฉพาะด้าน เรียนรู้จากสถานการณ์จรงิ
สถานการณจ์ าลอง และจากกิจกรมต่าง ๆ จัดการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สารและเพ่ือการ
ประกอบอาชพี และการจดั กิจกรรมทเ่ี ป็นการเตรียมความ พรอ้ มดา้ นกาลังคนและการเสริมสรา้ งศักยภาพของ

43

ประชากรในทกุ ชว่ งวัย ( ต้ังแต่ระดบั ม.1 – ม.6) การพัฒนาทักษะท่สี อดคล้องกบั ความต่องการใน
ตลาดแรงงานและทักษะทีจ่ าเปน็ ต่อการดารงชวี ิตในศตวรรษที่ 21

กระบวนการพัฒนาประเด็น 1.2 คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน
1) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มที่ดี ตามท่ีสถานศึกษากาหนด โรงเรยี นทบั โพธ์ิพัฒนวิทย์ มี

กระบวนการพฒั นา ไดส้ อดแทรกคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์และคา่ นิยมที่ดขี อง นักเรียนในการจดั กิจกรรมการ
เรยี นการสอนทกุ รายวชิ า โดยได้จัดกิจกรรมเพ่ือปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม มคี วามรักชาติ
ศาสน์ กษตั รยิ ์ มีความซอื่ สตั ย์สุจริต มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี งมงุ่ มั่น ในการทางาน รักความเปน็ ไทย
มีจติ สาธารณะ เช่น กิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะ กิจกรรมบูรณาการคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์กิจกรรมวันสาคัญทางศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ กิจกรรมสภา นกั เรยี นส่งเสรมิ ประชาธิปไตย กิจกรรม
โรงเรยี นคณุ ธรรม กิจกรรมธนาคารโรงเรียน กจิ กรรมอบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม(วยั ใส...ต้านภยั ยาเสพติด)
กิจกรรมสวดมนตป์ ระจาสัปดาห์ กิจกรรมหนา้ เสาธงตอนเชา้ การเคารพ ธงชาติ ร้องเพลงชาติ การสวดมนต์
เจริญสติ การเรยี น การให้ความร่วมมือในกจิ กรรมต่าง ๆ การปฏิบตั ิตาม ขอ้ ตกลง ระเบยี บข้อบงั คบั ของ
โรงเรยี น การดแู ลรักษาสขุ ภาพร่างกายของตนเอง การรกั ษาความสะอาด การจดั กระเปา๋ การจดั เก็บของใช้
การทาความสะอาดภาชนะ การเล่นแบบมกี ตกิ า ไปจนถึงการทกั ทาย สวสั ดี การทาความเคารพผใู้ หญ่ มจี ิต
อาสา โดยให้นกั เรยี นได้มีสว่ นร่วม สง่ เสริมใหน้ กั เรียนทางานเป็นกลุ่ม มีการแต่งตง้ั คณะทางาน ประชมุ
นักเรยี น เพ่อื เขยี นโครงการ และดาเนนิ กิจกรรมตามทวี่ างแผนไว้ พร้อมทั้งรายงานผลการปฏิบตั ิงาน

2) ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย โรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย์ ไดส้ อดแทรก คุณลกั ษณะท่ีพงึ
ประสงค์ของผู้เรียนเรื่องความภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเป็นไทยในการจดั กจิ กรรมการเรยี น การสอนทุก
รายวิชาโดยการจัดทาหลกั สตู รทอ้ งถ่นิ ทุกกลุ่มสาระ เพอื่ ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน และมกี ารจัดกิจกรรมท่ี
สง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะด้านความภมู ิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยแก่นกั เรียนอยา่ งต่อเนือ่ ง เชน่ การแสดงความ
เคารพ การสนทนา กิจกรรม/โครงการตา่ ง ๆ ดา้ นการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม เชน่ กจิ กรรมจติ สาธารณะ
กจิ กรรมสง่ เสริมโรงเรยี นวถิ พี ุทธเน่อื งในวันสาคัญทางพุทธศาสนา กิจกรรมการ ประกวดมารยาทไทย กิจกรรม
รักษาศีล 5 กิจกรรมสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศทางวชิ าการของกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม เพือ่ ส่งเสริมสนับสนนุ อนุรกั ษข์ นบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม ท้องถ่นิ ของจังหวัดสรุ นิ ทร์

3) การยอมรับท่จี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรยี นมีการจัด หอ้ งเรยี นโดยให้
นกั เรียนทุกระดับชนั้ ทุกห้อง ไดเ้ รยี นรว่ มกนั แบบคละความสามารถด้านการเรียนรู้ คือ อ่อน ปานกลาง เกง่
นอกจากนั้นนกั เรียนยงั มคี วามแตกตา่ งและหลากหลายท้ังครอบครวั เศรษฐกิจ ศาสนา และ การใช้ภาษา
ท้องถิน่ ดงั น้ันโรงเรยี นไดจ้ ดั ใหม้ ีกจิ กรรมตา่ ง ๆ อย่างหลากหลายเพ่อื ให้นักเรยี น ยอมรบั และอยู่ ร่วมกันบน
ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล และสามารถพัฒนาคณุ ภาพของนักเรยี นไดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ โดยโรงเรียน ไดจ้ ดั
กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมบรู ณาการคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ กจิ กรรมค่ายภาษาและวัฒนธรรม กิจกรรมวนั
คริสต์มาส กิจกรรมคา่ ยคณิตศาสตร์ กิจกรรมคา่ ยส่งเสริมความสามารถด้าน ดนตรีไทย ดนตรสี ากล ดนตรี
พื้นเมือง นาฏศลิ ปพ์ น้ื เมอื ง นาฏศลิ ป์สรา้ งสรรค์และทัศนศลิ ป์ กิจกรรมกฬี าภายใน ซ่ึงแต่ละกจิ กรรมท่จี ัดขน้ึ

44

ทาให้นกั เรยี นมคี วามรัก สามัคคี มีนา้ ใจแมม้ พี น้ื ฐานท่ีแตกต่างกัน นอกจากนั้นพบวา่ นกั เรยี นได้ค้นพบความ
ถนัดความสามารถของตนเอง กจิ กรรมประชมุ สวดมนตท์ กุ ระดับช้นั นักเรยี นได้ฝกึ สมาธเิ ขา้ ใจถงึ คุณคา่ ของ
หลกั ธรรมคาสง่ั สอนของศาสนา แสดงมารยาทในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมได้อย่างเหมาะสม เต็มใจ ให้เกยี รตผิ ู้อืน่
ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี นทก่ี ล่าวไว้วา่ “ประพฤตดิ ี มมี ารยาทงาม” มที กั ษะการทางานเปน็ กลุ่ม
ยอมรบั ฟงั เหตผุ ลของผู้อื่น มีความเปน็ ผ้นู าและผู้ตามท่ดี ี มีวนิ ัย

4) สุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม โรงเรียนไดม้ ีการดาเนนิ การเพือ่ ให้นกั เรยี นรกั ษา สุขภาพกาย
สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม และแสดงออกอยา่ งเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย สามารถอยู่รว่ มกบั คนอื่นอยา่ งมี
ความสขุ เขา้ ใจผอู้ ืน่ ไมม่ คี วามขัดแย้งกบั ผูอ้ นื่ โดยโรงเรียนไดจ้ ัดกิจกรรม ดงั ต่อไปนี้ กิจกรรม ทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย กจิ กรรมการแข่งขนั กีฬาภายนอก กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพงานโภชนาการการ กิจกรรม
เฝา้ ระวงั การเจริญเติบโต กิจกรรมจัดซื้อ จัดหา วัสดคุ รภุ ัณฑ์และยาเวชภัณฑ์ กิจกรรมฟันสะอาด เหงอื ก
แขง็ แรง กจิ กรรมการบริจาคโลหติ กิจกรรมคา่ ยดนตร/ี นาฏศลิ ปพ์ ื้นเมือง กจิ กรรมคา่ ยนาฏศลิ ป์ กจิ กรรม
ส่งเสริมความเปน็ เลศิ ทางด้านศิลปะ กจิ กรรมวัยใส ตา้ นภัยเอดสแ์ ละยาเสพตดิ (TO BE NUMBER ONE)
กจิ กรรมตรวจสขุ ภาพนักเรยี นประจาปี กิจกรรมอบรมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม(วัยใสต้านภัยยาเสพตดิ ) กจิ กรรม
สง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะ กจิ กรรมจราจรและความปลอดภัยใน สถานศกึ ษา กิจกรรมประกนั
ชวี ิตนักเรยี น กจิ กรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานศกึ ษา(ทัศนศกึ ษา) กิจกรรมคดั กรองนกั เรียน กจิ กรรมเขา้
คา่ ยลูกเสอื เนตรนารี เปน็ ตน้

3. ผลการพัฒนา
จากการจดั กระบวนการพัฒนาทหี่ ลากหลายทาให้ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของนักเรยี นและ

คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดีเลศิ ดังน้ี

ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของนกั เรยี น
1) นกั เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น เขยี นตามมาตรฐานการอ่านในแตล่ ะระดบั ช้นั ในระดบั ดีเลศิ

สง่ ผลให้นักเรยี นตามเกณฑค์ ่าเป้าหมายของสถานศกึ ษา ซงึ่ ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 น้ัน
การทากจิ กรรมประกวดตา่ งๆไดม้ กี ารงดทาใหน้ ักเรียนไมไ่ ด้เขา้ ร่วมกิจกจิ กรรมแตใ่ นดา้ นการพฒั นาคุณภาพ
ผูเ้ รียนยงั ดาเนินการอยา่ งมคี ณุ ภาพ สง่ ผลให้นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทยทีม่ คี ะแนนเพม่ิ ขนึ้

2) นักเรียนมีความสามารถในด้านการสื่อสารทัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสม ตามระดับช้ัน
ในระดบั ดเี ลิศ ส่งผลใหน้ กั เรียนไดร้ บั รางวลั เหรียญทองแดง Spelling Bee Competition 2021 ระดบั ช้ัน
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มหาวิทยาลยั ศรีปุทุม ประจาปี 2564 รางวลั ชมเชยการแข่งขันประลองคาศัพท์
(Vocab Size Battle Online) ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น โครงการประลองศัพทก์ บั Enconcept ประจาปี
2564 และรางวลั Smart Teacher การเปิดชนั้ เรียน การจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษแบบ Active

45

Learning รว่ มกนั ของครผู ูส้ อนและนักเรยี น ระดบั เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษาสุรินทร์ ปีการศกึ ษา 2564

3) นักเรียนมคี วามสามารถในด้านการคิดคานวณ ในระดับดเี ลศิ ส่งผลใหน้ กั เรยี นมคี ะแนนพฒั นาการ
ทางการเรยี น คะแนนทดสอบระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐานในรายวิชากลุ่มสาระวทิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโยโลยมี ีค่า
คะแนนเฉลยี่ สงู กว่าระดบั ประเทศ

4) นักเรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ทาใหไ้ ดร้ ับรางวัล หนึ่งโรงเรียน หนง่ึ นวัตกรรม
เรือ่ ง “ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้ ขนุนตน้ ทุนแห่งรกั ษต์ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”ระดบั เหรยี ญเงนิ
ระดบั ภมู ิภาค ประจาปี 2562 จาก สานักงานเลขาธิการครุ ุสภา

5) นักเรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหา ความรจู้ ากสื่อ
เทคโนโลยไี ด้ดว้ ยตนเอง การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การออกแบบ ส่งิ ประดษิ ฐโ์ ดย
กระบวนการทางเทคโนโลยี รวมทั้งสามารถวเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะไดว้ ่าสง่ิ ไหนดี สาคัญ จาเปน็ รวมทั้งรู้
เทา่ ทันส่อื และสงั คมที่เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว ทาให้ได้รบั รางวัลเหรยี ญทอง การแข่งขนั การวาดภาพด้วย
และรางวลั หนง่ึ โรงเรียน หนงึ่ นวัตกรรม เรอ่ื ง “ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ ขนุนตน้ ทุนแห่งรักษ์ตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง”ระดับเหรยี ญเงิน

6) นกั เรยี นมีความรู้ มีทักษะพืน้ ฐานและเจตคติที่ดี พรอ้ มท่ีจะศกึ ษาต่อในระดับท่ีสงู ข้ึน และการ
ทางานหรอื งานอาชีพตามเป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด เชน่ การปรากฏผลข้อมูลด้านการศึกษาต่อท่ีสอด
คลอ้ งกับเป้าหมายอาชพี ท่ีผู้เรียนคาดหวงั หรือต้องการ มกี ารจัดทาบนั ทกึ ขอ้ ตกลงรว่ มกันกบั มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ และมหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ นิ ทร์ ในการจัดการศึกษาในรปู แบบ
ผู้เรยี นทุกระดบั ชน้ั มีการกาหนดเป้าหมายอาชีพใหก้ ับตนเอง ผ้เู รยี นทกุ ระดับช้นั ผา่ นการวัดความรู้และทกั ษะ
พน้ื ฐานทจ่ี าเป็นตอ่ การประกอบอาชีพ และมเี จตคตทิ ีด่ ีต่อการประกอบอาชพี ผู้เรยี นทกุ ระดับชนั้ ได้ร่วม
กจิ กรรมบูรณาการดา้ นความรู้และทักษะพน้ื ฐาน ที่จาเปน็ ตอ่ การประกอบอาชีพ

คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผเู้ รยี น
1) นักเรยี นได้รับการส่งเสรมิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ค่านยิ มทีด่ ีงาม เพอ่ื ปลกู ฝงั คณุ ธรรม

จริยธรรม ค่านิยมท่ีดงี าม มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ มคี วามซ่ือสัตย์สจุ ริต มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อยา่ ง
พอเพียง ม่งุ มน่ั ในการทางาน รักความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ ทาให้นกั เรียนได้รบั รางวัลการประกวด
ภาพถา่ ย “การแตง่ กายไทย สไตล์สรุ นิ ทร์”โครงการวันเด็กแห่งชาติ “เด็กดีมีคณุ ธรรม THE IDOL สะเรน็ ”
ประจาปี 2564 จากวฒั นธรรมจังหวัดสรุ นิ ทร์

2) จากกิจกรรมโครงการตาง ๆ ท่โี รงเรยี นไดจัดข้ึนเพ่ือสงเสรมิ ความภาคภูมิใจในทองถ่ิน และความ
เปน็ ไทย ทาให้นักเรยี นโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวิทย์ ไดร้ ับการส่งเสริมและพัฒนาใหม้ ีความกตญั ญู กตเวทดี ว้ ย
การตอบแทนบญุ คณุ ครู รู้เคารพ ตัง้ ใจเรียน รับผิดชอบต่อหนา้ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย การเขา้ ร่วม กิจกรรมวัน
สาคัญทางศาสนา บาเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม ประเพณีสาคญั อันเป็นการสืบสานภมู ิปัญญาท้องถน่ิ และ
วฒั นธรรมไทย จนนาไปสคู่ วามภาคภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย นางสาวพรนภา สุโพธิ์ ได้รับรางวัล

46

พระราชทานรางวลั เด็กและเยาวชนดีเดน่ ประจาปี 2562 กรมกจิ การเด็กและเยาวชน กระทรวงการพฒั นา

สังคมและความมั่นคงของมนุษย์

3) นักเรยี นรกั ษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ อารมณ์ และสงั คม และแสดงออกอย่างเหมาะสม ในแตล่ ะ

ชว่ งวัย สามารถอยู่รว่ มกบั คนอื่นอยา่ งมีความสขุ เขา้ ใจผอู้ ่นื ไม่มคี วามขดั แยง้ กบั ผู้อ่ืน ทาใหไ้ ดร้ ับ

ทงั้ นี้ มีผลการดาเนินงานเชงิ ประจักษจ์ ากการประเมนิ ในด้านตา่ ง ๆ ดังนี้

ประเด็นพิจารณา จานวน 5 ระดับคุณภาพ (คน) 1 ระดบั ผลการ
นกั เรียน 4 32 ดี (3) รอ้ ยละ ประเมนิ
ทัง้ หมด ขึน้ ไป

1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการ

ของผู้เรยี น

1) มีความสามารถในการอา่ น 142 57 32 32 18 3 121 85.21 ดีเลิศ

การเขียนการสอื่ สาร และการ

คดิ คานวณ

2) มคี วามสามารถในการคิด 142 46 31 34 21 10 111 78.17 ดีเลศิ

วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี

วจิ ารณญาณ อภปิ ราย

แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และ

แก้ปัญหา

3) มคี วามสามารถในการ 142 40 32 32 30 8 104 73.24 ดีเลศิ

สร้างนวตั กรรม

4) มคี วามสามารถในการใช้ 142 48.00 54.00 31.00 9.00 0.00 133 93.66 ดเี ลิศ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร

5) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน 142 18 24 43 49 2 85 59.86 ดี

ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา

5.1 มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี น

ตามหลักสูตรสถานศึกษา

ค่าเฉลย่ี 8 กลมุ่ สาระ

5.2 ผลการทดสอบ 9 0 0 4 3 2 4 44.44 กาลงั

ทางการศกึ ษาระดบั ชาติ พัฒนา

ข้นั พื้นฐาน (O-NET)

47

จานวน ระดบั คุณภาพ (คน) ระดับ ผลการ
5 4 32 ดี (3) รอ้ ยละ ประเมนิ
ประเด็นพจิ ารณา นักเรียน 90 30 15 7 1 ขึ้นไป

ท้ังหมด 90 39 13 0

6) ความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และ 142 142 0 0 0 0 135 95.07 ยอดเยย่ี ม
38 79 13 12
เจตคติที่ดีต่องานอาชพี
142 0 0 0
1.2 คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์

ของผู้เรยี น

1) การมีคณุ ลกั ษณะและ 142 0 142 100 ยอดเยย่ี ม

ค่านิยมทดี่ ตี ามทีส่ ถานศกึ ษา 0 142 100 ยอดเยี่ยม
0 130 91.55 ยอดเย่ยี ม
กาหนด
0 142 100 ยอดเย่ยี ม
2) ความภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และ 142 ดีเลศิ

ความเป็นไทย

3) การยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ่วมกัน 142

บนความแตกตา่ งและ

หลากหลาย

4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และ 142

จิตสังคม

สรุปผลการประเมินภาพรวม

3. จดุ เด่น
ผู้เรียนอ่านหนงั สอื ออกและอา่ นคลอ่ ง รวมทงั้ สามารถเขยี นเพอ่ื การส่อื สารได้ ทุกคนสามารถใช้

เทคโนโลยใี นการแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง สง่ ผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี นอยูใ่ นระดับดี มี
คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน(O-NET) ทุกกล่มุ สาระทม่ี ีการทดสอบไม่ต่ากว่า
เกณฑม์ ากนกั มีพฒั นาการของคะแนนท่ีเพิม่ ขนึ้ ในรายวิชาสงั คมศกึ ษา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดชว่ ง 4 ปตี ่อเนอ่ื งและผเู้ รียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกาย
และนา้ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ มีระเบียบวนิ ัยมจี ิตสาธารณะตามโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม เปน็ ท่ียอมรบั ของ
ชมุ ชนโดยรอบ
4. จุดควรพฒั นา
1. ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ของนักเรียน
ให้อย่ใู นเกณฑม์ าตรฐานระดับชาติ และมีคา่ เฉลย่ี ในแตล่ ะรายวชิ าทุกวิชาสงู กวา่ ค่าเฉล่ยี ระดับประเทศ
2. สง่ เสริมความรู้ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรมของนักเรียนอยา่ งต่อเนือ่ ง หลากหลายรปู แบบ

48

3. จดั กจิ กรรมสง่ เสริมพัฒนาศักยภาพนกั เรียนใหห้ ลากหลายตามความตอ่ งการโดยเฉพาะ นักเรยี นกล่มุ ที่เรยี น
อ่อน

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนไดด้ าเนินการวเิ คราะห์สภาพปญั หา ผลการจดั การศกึ ษาท่ีผ่านมา โดยการศกึ ษาข้อมูล

สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ การจัดการศกึ ษาตามนโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา และจัด
ประชมุ ระดมความคดิ เหน็ จากบคุ ลากรในสถานศึกษา เพอื่ วางแผนรว่ มกันในการกาหนดเป้าหมายปรับ
วสิ ยั ทัศน์ กาหนดพนั ธกิจกลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของโรงเรยี นเพอ่ื พฒั นาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับ
แผนพฒั นาคณุ ภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา
และนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา พรอ้ มท้ังจดั หาทรัพยากร จดั สรรงบประมาณมอบหมายงานให้ผู้รบั ผิดชอบ
ดาเนินการพฒั นาตามแผนงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายทีก่ าหนดไวม้ ีการดาเนนิ การนิเทศ กากับตดิ ตาม
ประเมินผลการดาเนินงานและจดั ทารายงานผลการจดั การศกึ ษา
2. ผลการพัฒนา

1. โรงเรียนมกี ารกาหนดเป้าหมายวสิ ยั ทัศน์ และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปญั หาความตอ้ งการ
พัฒนาของโรงเรียน นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษาความต้องการของชุมชน ทอ้ งถิน่ และสอดคลอ้ งกับแนว
ทางการปฏิรปู ตามแผนการศกึ ษาชาติ

2. แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปสี อดคลอ้ งกบั การพัฒนาผ้เู รยี นทกุ
กลุม่ เปา้ หมาย มกี ารพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ คี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานตาแหนง่
ข้อมลู สารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทนั สมยั นาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ มีการดาเนนิ การอย่างเปน็ ระบบ และมี
กิจกรรมจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทก่ี ระตุน้ ผู้เรยี นให้ใฝ่เรยี นรู้

3. โรงเรียนมกี ารปรับแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับ
สภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษา โดยผมู้ ีส่วนได้เสียมีส่วนรว่ มในการพฒั นา
และร่วมรบั ผิดชอบ

4. คณะกรรมการและผ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ย มสี ่วนรว่ มในการรว่ มวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ
รบั ทราบรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา

5. โรงเรยี นมกี ารนเิ ทศ กากับตดิ ตาม และประเมินผลการบรหิ ารและการจดั การศึกษาท่ีเหมาะสมเปน็
ระบบและต่อเนอ่ื ง เปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ียวข้องมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา

6. โรงเรยี นมีรูปแบบการบรหิ ารและการจดั การเชิงระบบโดยทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล
และแนวคดิ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยมุง่ พฒั นาผูเ้ รียนตามแนวทางปฏริ ูปการศกึ ษา

7. โรงเรียนมีการระดมทรพั ยากรเพ่อื การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาจากเครอื ข่ายอุปถมั ภ์ ส่งผลให้
สถานศกึ ษามีสอื่ และแหล่งเรยี นรู้ทมี่ ีคณุ ภาพโดยได้ดาเนนิ การดงั นี้

49

2.1 การมีเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพนั ธกิจท่ีสถานศกึ ษากาหนดชัดเจน โรงเรยี นได้ดาเนนิ การ
วเิ คราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจัดการศกึ ษาทผี่ ่านมา โดยการศกึ ษา ข้อมูลสารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ติดตาม
ประเมินการจดั การศึกษาตามนโยบายการปฏิรปู การศึกษา และ จดั ประชุมระดมความคดิ เหน็ จากบคุ ลากรใน
สถานศกึ ษาเพ่ือวางแผนรว่ มกนั กาหนดเป้าหมาย ปรับวิสยั ทศั น์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัด
การศึกษาของสถานศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน มีการปรบั แผนพฒั นาการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี
ใหส้ อดคล้องกบั สภาพปญั หา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา พรอ้ มท้งั จดั หาทรพั ยากร
จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ ผ้รู บั ผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่อื ให้บรรลุเปา้ หมายที่
กาหนดไว้ มรี ะบบประกันคุณภาพภายใน ทเี่ ขม้ แข็ง ใชห้ ลักการบรหิ ารจัดการโรงเรียนทงั้ ระบบด้วย
กระบวนการ PTW MODEL มรี ปู แบบการบรหิ าร จัดการทม่ี งุ่ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน มีระบบการนเิ ทศ กากบั
ตดิ ตาม ตรวจสอบการปฏิบัตงิ านตามแผนและมีการ ประเมนิ โครงการ โดยใชร้ ปู แบบ CIPP Model

2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา โรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย์ มีระบบบริหารจดั การ
คณุ ภาพสถานศึกษาโดยฝ่ายบริหาร มีนโยบายในการกาหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ อย่างชัดเจน โดย
มีการประชมุ OD (Organization Development) ของคณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา และผู้บริหาร ให้
เปน็ ไปในทศิ ทางท่พี ัฒนาองค์กร ไดอ้ ย่างเต็มประสิทธภิ าพโดยองิ จุดเนน้ จากกระทรวงศึกษาธกิ าร สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ และบรบิ ทของโรงเรยี น
และชุมชน มีการจดั ทา แผนพฒั นาการศกึ ษา แผนพฒั นาในทุกกลมุ่ บริหารงาน รวมทัง้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ทั้ง 8 กลุ่มสาระ นอกจากน้ีทุกกล่มุ งาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ยงั จัดทาโครงการ/กจิ กรรมที่เน้นพฒั นาคณุ ภาพ
ผู้เรียนรอบด้าน โดยมีการกาหนดกลุ่มเปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ และระยะเวลาในการดาเนนิ งานอยา่ งชัดเจน
โดยทุกโครงการ/ กจิ กรรมจะถูกรวบรวมจัดทาเป็นแผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2563 / 2564 ทัง้ น้ใี น
การดาเนิน โครงการ/กิจกรรมโดยออกแบบนวัตกรรมบริหารจัดการ “ใชห้ ลกั การบริหารจัดการโรงเรียนทงั้
ระบบด้วย กระบวนการ TPW MODEL” เพ่อื ให้การดาเนินการเปน็ ไปอยา่ งมีระบบและตรวจสอบการใช้
งบประมาณ ตามโครงการ/กิจกรรม มีการกากับ ติดตาม และประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบตั กิ าร
การบรหิ าร และการจดั การศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่องและสม่าเสมอท้ังจากหนว่ ยงานภายในและภายนอกสถานศึกษา
เช่น การ ประเมินโครงการ/กิจกรรมในแตล่ ะปงี บประมาณ จะถกู กากับติดตามโดยโรงเรียนไดแ้ ต่งต้งั
คณะกรรมการใน ประเมนิ โครงการ/กิจกรรม โดยใชร้ ปู แบบ CIPP Model ซ่ึงคณะกรรมการประกอบไปดว้ ย
คณะกรรมการ สถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ผูบ้ รหิ าร และคณะครู นอกจากนี้
โรงเรยี นยงั ไดด้ าเนินการนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนของครูในชน้ั เรียน โดยผบู้ รหิ าร ประเมนิ ครผู ้สู อน
หวั หน้ากลมุ่ สาระประเมินครูผู้สอน และครูผสู้ อนประเมนิ กันเอง ท้ังมีการจดั กจิ กรรมเปดิ ช้ันเรียนทุกกลมุ่ สาระ
รวมทั้งการประเมินผลการปฏบิ ัติงานของครูผ่ชู ่วย พนักงานราชการ ครูอตั ราจ้าง เจ้าหน้าท่ีสานกั งาน
นักศึกษาฝึกประสบการณ์ รวมทง้ั นกั การภารโรงและนักพัฒนาเพ่อื ให้เกิดประสิทธภิ าพ สงู สุดในการปฏบิ ตั ิ
หนา้ ท่ี นอกจากนโี้ รงเรียนยังไดร้ บั การประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษาโดย ผู้ทรงคุณวฒุ ิที่หนว่ ยงานต้น
สังกัดขนึ้ ทะเบยี นไวใ้ นทุกปีการศกึ ษา รวมทงั้ การได้รับการตรวจสอบของกลุม่ บริหารแผนงาน งบประมาณ
และประกนั คณุ ภาพจากสานกั งานตรวจเงินแผ่นดนิ (สตง.) เพ่ือตรวจสอบความ ถกู ตอ้ งและ โปรง่ ใสของการใช้


Click to View FlipBook Version