The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนทับโพธิพัฒนวิทย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanawich.s, 2022-07-06 04:14:36

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนทับโพธิพัฒนวิทย์

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนทับโพธิพัฒนวิทย์

50

งบประมาณในการบรหิ ารงาน ซึ่งการถกู กากับตดิ ตาม และประเมนิ ผลการ บริหารและการจัดการศึกษาอย่าง
ตอ่ เนอื่ งและสมา่ เสมอดงั กล่าวน้ีทาให้สถานศึกษามกี ารบริหารงานที่มคี ณุ ภาพ ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ
จากชมุ ชนและหน่วยงานต่างๆ โรงเรียนทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย์ มกี ระบวนการในการจัดสรรทรพั ยากร ดงั นี้

1. วิเคราะห์ปจั จัย โดยจัดประชมุ จดั สรรทรพั ยากรประจาปี ทบทวนการจดั สรรทรัพยากร
ท้ังดา้ นการเงิน บุคลากร และดา้ นต่างๆท่ีเกยี่ วข้องกบั การจดั การเรยี นการสอน ให้มีทรัพยากรเพียงพอและ
สมดลุ เพื่อใหเ้ กดิ ความเหมาะสมตอ่ การดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีจะดาเนินการจริง เพอื่ ให้ปฏิบัติงานได้ตาม
แผน

2. จัดทาแผนงานการจัดสรรทรัพยากร ไดแ้ ก่ การจัดสรรอัตรากาลัง โดย การวเิ คราะห์อตั รา
กาลังปัจจุบนั เพ่อื จัดสรรอัตรากาลงั และกาหนดภาระงานใหเ้ หมาะสม และมกี ารจัดสรร งบประมาณเงนิ
รายไดส้ าหรับจา้ งบุคลากร เพือ่ ไม่ให้กระทบกบั คุณภาพการจดั การเรยี นการสอน การจดั สรร งบประมาณ มี
การวิเคราะหจ์ ากการประเมินโครงการโดยใชร้ ูปแบบ CIPP Model ในปีท่ีผา่ นมา และ วเิ คราะหป์ ระมาณการ
รายรบั และรายจา่ ยของโรงเรียนในอนาคต เพื่อกาหนดโครงการ/กจิ กรรมทีจ่ ะ ดาเนินการพรอ้ มจดั สรร
งบประมาณ ดงั น้ันโรงเรยี นจึงมกี ารดั การความเสยี่ งเรื่องงบประมาณโดยการจดั สรร งบประมาณสารองไว้ รอ้ ย
ละ 10 สาหรับกรณีมีเหตุฉกุ เฉนิ จาเปน็ ต้องใช้เงนิ และการสนับสนนุ งบประมาณ จากการระดมทรัพยากรจาก
หน่วยงานอนื่ เพื่อใหเ้ กิดความมั่นใจวา่ สามารถดาเนนิ การตามแผนงานได้ บรรลุผลสาเร็จ

3. รวบรวมแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม และวเิ คราะหง์ บประมาณของทุกฝา่ ย
4. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2563/2564 เพ่อื ร่วม
กันจัดสรร ทรพั ยากรด้านการเงินและทรัพยากรบคุ คล เพอื่ เสนอต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น
5. กลุ่มบรหิ าร แผนงานและงบประมาณประชาสัมพนั ธใ์ ห้บคุ ลากรและผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ได้
ทราบถงึ งบประมาณท่ีได้รบั จัดสรร เพอื่ ให้แตล่ ะฝา่ ยไดด้ าเนินโครงการตามแผนที่วางไว้ โรงเรยี นทับโพธ์ิ
พัฒนวิทย์ มีการนาขอ้ มูลมาใช้ในการพฒั นาโดยใหบ้ คุ ลากรและผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการวางแผน
ปรบั ปรงุ และพฒั นาและร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา มีประกาศ แต่งตั้งคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้น
พืน้ ฐานข้ึนเพื่อใหค้ ณะกรรมการดงั กลา่ วได้เข้ามามบี ทบาทในการ บรหิ ารจัดการศึกษา รวมไปถงึ ผู้แทนชุมชน
และผมู้ สี ่วนเกีย่ วข้อง เช่น เครือข่ายผู้ปกครองนกั เรียน ทเี่ ขา้ มามี ส่วนเกย่ี วข้องในการขบั เคลอ่ื นและพฒั นา
โรงเรยี นให้มคี ณุ ภาพมากย่ิงขึ้น ในสว้ นของคณะกรรมการ สถานศึกษาก็เข้ามามีบทบาทในการกาหนด
นโยบายและแผนพฒั นาของสถานศกึ ษา ให้ความเหน็ ชอบ แผนปฏิบัติการประจาปขี องสถานศึกษา ใหค้ วาม
เหน็ ชอบในการจัดทาหลกั สตู รให้สอดคลอ้ งกับความ ตอ้ งการของท้องถิน่ กากบั และติดตามการดาเนินงานตาม
แผนของสถานศกึ ษา ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหเ้ ด็ก ในเขตบริการได้รับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานอยา่ งท่วั ถึง
เสนอแนะและมี ส่วนร่วมในการบริหารด้านวชิ าการ งบประมาณ การบรหิ ารงานบคุ คล และการบริหารงาน
ท่ัวไป ระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา ตลอดจน วิทยากรภายนอกและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เพ่ือส่งเสริมพฒั นาการ
ของนักเรียนทกุ ด้าน รวมทั้งส่อื สารจารตี ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของทอ้ งถน่ิ และของชาติ เสริมสรา้ ง
ความสมั พันธร์ ะหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองคก์ ร ทงั้ ภาครฐั และเอกชนเพ่อื ให้
สถานศึกษาเปน็ แหล่ง วิทยากรของชมุ ชน และมสี ่วนร่วมในการพฒั นาชมุ ชนและท้องถน่ิ ใหค้ วามเห็นชอบ

51

รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปีของ สถานศึกษากอ่ นเสนอต่อสาธารณชน ซึง่ จะเห็นคณะกรรมการ
สถานศกึ ษามบี ทบาทอย่างมากในการพฒั นา และขบั เคลือ่ นสถานศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพ และมาตรฐานเพ่ือใหเ้ ป็น
ท่ยี อมรับของทุกหน่วยงานและมีความ พร้อมในการรองรบั ผเู้ รยี นท่จี ะเข้ามาศกึ ษาตอ่ และในสว่ นของ
เครือขา่ ยผู้ปกครองนักเรยี น กค็ ัดสรรมาจากผู้ปกครองนักเรียนในทุกระดับช้ันโดยมกี ารเลอื ก ประธาน รอง
ประธาน เลขานกุ าร เหรญั ญิก ประชาสมั พันธ์ และคณะกรรมการจากทุกระดับชั้น เพ่อื เป็นอกี แรงขบั เคลอ่ื น
และพัฒนาสถานศึกษาเกยี่ วกับการประสานงานกบั ทางชุมชนและบุตรหลาน และชว่ ยสอดส่องดูแล และกากบั
ตดิ ตามเกีย่ วกบั พฤติกรรม ของผู้เรยี นในชมุ ชน ซ่งึ ทางโรงเรียนจะจดั ประชมุ ผูป้ กครองทุกปีการศึกษา เพ่อื
ชี้แจงนโยบาย ข้อตกลง ระหวา่ งนกั เรยี นและผู้ปกครองกับโรงเรียน และประชาสัมพนั ธข์ า่ วสารต่างๆของ
โรงเรยี น รวมถงึ ชแ้ี จง เก่ยี วกับพฤติกรรม ผลการเรียนของนักเรยี นให้ผปู้ กครองรบั ทราบและหาแนวทาง
ป้องกนั รว่ มกนั รวมทั้งยงั มี โครงการเยยี่ มบา้ นนกั เรยี นของคุณครูที่ปรึกษาเพื่อจะไดร้ บั ทราบสภาพการเปน็ อยู่
ของนกั เรยี นปญั หาและ ความลาบากของผู้เรยี น รวมท้งั ความพรอ้ มในด้านตา่ งๆ เพ่อื เป็นการคดั กรองผเู้ รียน
รายบคุ คลเพอื่ ท่ีจะ สง่ เสริมและหาแนวทางช่วยเหลอื ตอ่ ไป รวมทั้งยงั มสี ภานกั เรียนที่มาจากการเลือกตัง้ เพอ่ื
เปน็ ตัวแทนนักเรียนในการดาเนนิ กิจกรรมและประสานงานดา้ นต่างๆกับคณะครู นกั เรยี น รวมถึงชมุ ชน และ
หนว่ ยงานอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง

2.3 ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพของผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศกึ ษาทุกกลุ่ม
เปา้ หมาย โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ ไดจ้ ัดทาหลักสตู รทีเ่ อ้ือต่อการพัฒนาผู้เรยี นรอบดา้ นในทุก กล่มุ เป้าหมาย
โดยแบ่งสายการเรียนในระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลายเปน็ สายการเรียนดังนี้ แผนการเรียน วทิ ย์ – คณติ ,
ศลิ ป์ – ภาษา และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในทุกระดับชั้น และสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นสามารถ
ส่ือสารได้มากกว่า 2 ภาษา นอกเหนอื จากภาษาไทยและภาษาองั กฤษ และนอกจากนีโ้ รงเรียนยงั ไดจ้ ัด
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นมงุ่ พัฒนาใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ไดแ้ ก่ ความสามารถในการ
ส่อื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถ ในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต และ
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี และ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ได้แก่รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ย่างพอเพยี ง มงุ่ มนั่ ในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมจี ติ
สาธารณะ ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ซงึ่ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
ประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพ่ือสังคมและ
สาธารณประโยชน์ นอกจากโรงเรยี นได้ จดั กิจกรรมพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพของผูเ้ รยี นรอบดา้ นตาม
หลักสตู รสถานศึกษาแลว้ ยงั ได้จดั กจิ กรรม เสริมหลักสตู รเพือ่ พฒั นาส่งเสริมทักษะและความรูใ้ ห้กับผูเ้ รยี นผ่าน
กิจกรรมคา่ ยวชิ าการ ได้แก่ คา่ ยคณิตศาสตร์ คา่ ยวิทยาศาสตร์ ค่ายภาษาอังกฤษ และค่ายศิลปะ เพ่ือใหผ้ เู้ รยี น
สามารถตอ่ ยอดความรู้ รู้จักวางแผนและทางานอย่างเปน็ ขั้นตอน รู้จักการปรบั ตวั และแกป้ ัญหาได้อย่างเป็น
ระบบ ส่งเสริมนักเรยี นด้าน คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและรักษ์ความเปน็ ไทยโดยจดั ใหม้ ีการประกวดมารยาทไทย
เพื่อให้ผ้เู รียนได้เห็นค่าและตระหนักถึงความสาคัญของความเปน็ ไทย จดั โครงการคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเพ่ือให้
นกั เรยี นได้ตระหนกั และเห็น ความสาคัญในพิธกี รรมทางศาสนา และการปฏบิ ตั ติ นเป็นพุทธศาสนกิ ชนที่ดี และ
นอกจากนยี้ งั สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนรว่ มกิจกรรมในวนั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งสม่าเสมอ ได้แก่ กจิ กรรมวัน

52

วสิ าขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบชู า และวันเข้าพรรษา เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนซมึ ซับหลกั ธรรมคาส่ังสอนทาง
พระพทุ ธศาสนา อยา่ งไรกต็ ามโรงเรียนไม่ไดเ้ นน้ เฉพาะวิชาการและคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ยงั ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี น
ได้แสดงความสามารถอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพอยา่ งต่อเนือ่ ง โดยส่งผเู้ รียนเขา้ ร่วมการแข่งขันต่างๆ ท้ังในระดับ
โรงเรียน ระดบั จังหวัด ระดบั ภาค และระดบั ประเทศ เช่น การเข้าร้วมแข่งขันทักษะวิชาการในงานมหกรรม
ความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วชิ าการและเทคโนโลยขี องนกั เรียน การแข่งขันกฬี าเยาวชนแหง่ ชาติ การ
ประกวดโครงงาน เปน็ ตน้ และยังจดั กิจกรรมสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นรูจ้ ักสืบคน้ ข้อมูล วเิ คราะห์ และสรุปองคค์ วามรู้
ท่ีได้ เพือ่ นามาจัดนิทรรศการ ในแต่ละหวั ข้อที่โรงเรยี นกาหนดในแต่ละ ระดบั ชนั้ เพ่ือให้ผูเ้ รยี นก้าวทนั โลกทัน
เหตุการณ์ และพร้อมรบั มือกับสถานการณท์ ่ีเปลีย่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา และยงั เน้นการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผูเ้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง โดยเน้นให้ครจู ัดการเรียนการสอนแบบ active learning และมีการกากับตดิ ตามอยา่ ง
สุม่าเสมอตามแนวทางการบรหิ ารจัดการโรงเรียนทง้ั ระบบ

2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ นอกจากน้ผี ูบ้ รหิ ารยังส่งเสรมิ ให้ครูได้
พฒั นาตนเองเพอื่ ให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ โดยการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเข้ารบั การ
อบรมทง้ั ในและนอกสถานศึกษา ศกึ ษาดงู านการ เปน็ วทิ ยากร คณะกรรมการ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มี
ความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ ในสถานการณ์ Covid 19 ท่ี เกิดขึน้ ในการจัดการเรียนการสอนแบบ On line
เช่น

- การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการวิทยากรแกนนาของโรงเรยี นในโครงการ “ปลกู ฝังคุณลกั ษณะ อนั พงึ
ประสงค์ของผู้เรียนตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 ด้วยการจัดการเรยี นรู้ แบบ
บรู ณาการเพือ่ พัฒนาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21” ณ โรงเรยี นสริ ินธร จงั หวัดสุรินทร์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ตาม
เกณฑท์ กี่ าหนด

- การอบรมโครงการโรงเรยี นปลอดภยั ในประเทศไทย หลักสตู รการลดความเสย่ี งภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติ
และการปรบั ตวั รับการเปลีย่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

- การสง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณและทกั ษะโค้ดดิ้งเพอื่ การสรา้ งสรรค์นวตั กรรมของครู
จงั หวัดสรุ นิ ทร์ กิจกรรมที่ 1 ภายใต้โครงการยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ นิ ทรเ์ พ่ือการพฒั นาทอ้ งถนิ่

- วิทยากรลกู เสือ หลักสูตรการฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลกู เสือข้นั ความรู้ข้นั สูง (ATC) ณ คา่ ยลูกเสอื
จังหวัดสรุ ินทร์ หนว่ ยงานท่ีจดั สานกั งานค่ายลกู เสือ จงั หวดั สุรินทร์ คิดเปน็ ร้อยละ 100 ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด

- วทิ ยากรลกู เสอื หลักสูตรการฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลกู เสอื ขั้นความรู้ทว่ั ไปและ ขน้ั ความรู้
เบ้อื งตน้ (BTC) ณ คา่ ยลกู เสือจงั หวดั สรุ ินทร์ หน่วยงานทีจ่ ัด สานักงานค่ายลกู เสอื จังหวัดสุรนิ ทร์ คิดเป็นรอ้ ย
ละ 100 ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด

-เข้ารว่ มการสัมมนาสรา้ งเครอื ขา่ ยแนะแนวอาชพี จงั หวดั สุรนิ ทร์ โครงการเตรียมความพร้อมแก่
กาลังแรงงาน อบรมออนไลนใ์ นระบบ E-learning CME2 หลักสตู ร ความรู้เบือ้ งต้นในการปฏิบตั กิ ารวิจัยใน
ชั้นเรียน

- อบรมออนไลน์การเขยี นโปรแกรม Scratch (Coding Online for Teacher Plus: C4T Plus-
Scratch)

53

- อบรมออนไลน์การเขยี นโปรแกรมภาษา Python (Coding Online for Teacher Plus: C4T Plus-
Python)

- อบรมออนไลน์การสอนเพศวิถศี ึกษา : การพฒั นาการเรียนร้แู บบ E-Learning เพอ่ื พฒั นา
สมรรถนะครูให้สอนเพศวิถศี กึ ษาและทักษะชีวิตในระบบการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

- เขา้ ร่วมแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ศนู ย์พฒั นาวชิ าการกล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มหกรรมวิชาการมัธยมศกึ ษา สพม.สรุ ินทร์ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ปลกุ พลังคิด แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ กระบวนการ
เปิดชั้นเรยี น PLC-LS

- เข้ารว่ มการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะการอา่ นข้ันสงู สาหรบั นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษา
ตอนตน้ และนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4

นอกจากนย้ี ังสง่ เสรมิ ใหค้ รูไดพ้ ฒั นาตนเองโดยการศกึ ษาต่อในระดับที่สูงข้ึน ซึ่งขณะนม้ี คี รูท่ีกาลัง
ศึกษาต่อระดับปรญิ ญาโท จานวน 1 คน นอกจากนีย้ ังส่งเสริมให้ครู สง่ ผลงานเพือ่ เลอ่ื นให้มีวิทยฐานะที่สูงขน้ึ
ซึ่งปัจจุบนั มีครูท่มี ีวิทยฐานะชานาญการพิเศษ จานวน 6 คน และครูท่ีมวี ทิ ยฐานะชานาญการ จานวน 2 คน
ครู คศ.1 จานวน 1 คน และครูผชู้ ่วย จานวน 2 คน

54

ครรู อ้ ยละ 100 มีการพัฒนานวตั กรรม สือ่ การสอน application ตา่ งๆ ท่ี ใชใ้ นการสอน Online
และจัดการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั โดยสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รสถานศึกษา รวมท้งั สง่ เสริมความ เป็นเลิศ
ทางวชิ าการ

55

2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอ่ การจดั การเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ โรงเรยี นทับ
โพธ์พิ ฒั นวิทย์ มีการจัดสภาพแวดลอ้ มที่เอ้อื ตอ่ การเรยี นร้อู ย่างมคี ณุ ภาพ โดยผู้บรหิ าร มีนโยบายในการ
พัฒนาสภาพแวดลอ้ มเพ่ือส่งเสรมิ บรรยากาศทางวิชาการใหม้ ีการบริหารจัดการ ท่มี ีคณุ ภาพ และมีการจัดทา
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2564 ท่กี าหนดกาขอบข่ายงานบรกิ าร อาคารสถานท่ีและ
สภาพแวดล้อม ไว้ด้วย 11 ภารกิจ แบง่ ออกเป็น การบรกิ ารอาคารสถานทีแ่ ละ สภาพแวดล้อม การบริการ
อาคารเรียน การบรกิ ารหอ้ งเรียนการบริการห้องบริการ การบริการห้องพเิ ศษ การบรกิ ารอาคารประกอบ
การให้บริการนุา้ ด่ืม การสง่ เสริมสขุ ภาพอนามยั การสือ่ สารและ ประชาสมั พนั ธ์ การสรา้ งและเผยแพรเ่ กียรติ
ประวัตขิ องโรงเรียน การประเมินผลการดาเนนิ งานอาคาร สถานทแี่ ละสภาพแวดลอ้ ม ซึ่งแตง่ ตงั้ คณะครทู ่ี
รบั ผดิ ชอบไว้อยา่ งชดั เจน และจดั กิจกรรมใหผ้ บู้ ริหาร ครู และนักเรียน ไดม้ ีสว่ นร่วมในการพฒั นาบริบทของ
โรงเรียน ได้แก่ ความร่มรื่น ความสวยงาม ความสะอาด ความเป็นระเบยี บ ของโรงเรียน หอ้ งเรยี น เช่น
การกาหนดเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบของนักเรยี น การประกวด ห้องเรยี นสีขาว การจัดป้ายนเิ ทศสง่ เสรมิ บรรยากาศ
ทางการเรยี นรู้ โดยมคี ณะกรรมการสภานกั เรยี นและ คณะครูที่ปรึกษาทกุ ชน้ั เรียนเป็นผดู้ ูแลติดตามผลการ
พฒั นาของนกั เรียน อกี ทั้งผ้บู รหิ ารมีนโยบายในการ มอบหมายรองผอู้ านวยการตรวจเย่ียมช้ันเรียนและนเิ ทศ
การจดั การเรยี นการสอน มกี ารตรวจความเรียบร้อย ของอาคารเรียน ห้องเรียน มตี ารางการใชห้ อ้ งปฏบิ ัติการ
หอ้ งบรกิ าร ห้องพเิ ศษอ่ืนๆ เพ่อื พัฒนาและ ปรบั ปรุงซอ่ มแซมอปุ กรณ์ท่ีชารุด เชน่ บรเิ วณโรงเรียน อาคาร
เรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน หอ้ งประกอบ ครุภัณฑ์ และวสั ดอุ ุปกรณ์ตา่ ง ๆ เพื่อให้ผูเ้ รียนเกดิ บรรยากาศ
ที่ดใี น อีกทง้ั ยังปรับปรุงอาคารสถานทข่ี องโรงเรียน การจดั การแหลง่ เรยี นรทู้ ี่มี คุณภาพ เช่น การพัฒนา
ห้องสมดุ ใหม้ ชี ีวิต การพฒั นาห้องสมดุ กลุม่ สาระ การพฒั นามมุ นิทรรศการและ แหลง่ เรยี นรู้ตามธรรมชาติ
รวมถงึ แหล่งเรยี นร้ทู ี่เปน็ ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ จากการพฒั นาทเ่ี กิดขึ้น และไดจ้ ดั ทาการประเมนิ ความพึงพอใจต่อ
การจดั สภาพแวดล้อมอาคารสถานท่ี แหล่งเรยี นรู้ เพ่อื นาผลของการปฏบิ ัตงิ านไปพัฒนาปรับปรุงให้มี
ประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึนต่อไป

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้ ผู้บรหิ ารมี
การวางแผนการจดั การระบบข้อมูลเทคโนโลยสี ารสนเทศ ให้มคี วามถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ทันสมัย นาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ได้ และดาเนนิ การอย่างเป็นระบบ โดยมีคาสงั่ แตง่ ต้ังครูและบุคลากร ทางการศึกษาในการจัดทา
สารสนเทศของโรงเรียน โดยมกี ารจดั ทาเวป็ ไซตโ์ รงเรียนซงึ่ ประกอบดว้ ยข้อมูล พื้นฐานของโรงเรยี น ข้อมลู
บคุ ลากร ขอ้ มูลนกั เรยี น และกจิ กรรมตา่ งๆท่ีโรงเรียนดาเนนิ การ แผนพฒั นา/ สนเทศกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ทะเบียนแหลง่ เรียนรู้ทัง้ ภายในและภายนอก ทะเบยี นภมู ิปญั ญาท้องถิ่น เพื่อเป็นการประชาสมั พนั ธ์โรงเรียนผู้
มสี ว่ นได้ส่วนเสยี และหนว่ ยงานภายนอก รบั ทราบถึงข้อมูลท่ีถกู ตอ้ งและ ทนั สมัยของโรงเรียน นอกจากนยี้ ังมี
การจดั ทาขอ้ มูลนกั เรียนรายบุคคลผา่ นระบบ DMC เพอื่ ให้ทราบขอ้ มูล พ้ืนฐานของนกั เรียน เช่น ที่อยู่ วัน
เดือนปีเกิด ชอ่ื ผู้ปกครอง รายไดผ้ ู้ปกครอง ทาให้ทราบถึงความพรอ้ มและ ความขาดแคลนของผูเ้ รียน
เพื่อทจ่ี ะสามารถช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีมปี ัญหาด้านตา่ งๆ ได้ งานวดั ผลประเมินผลพัฒนาการคณุ ภาพของผู้เรยี น
ด้วย ระบบ SGS ทาให้นกั เรียนผู้ปกครองสามารถตรวจสอบข้อมูลของนกั เรียนไดอ้ ยา่ งสะดวก งานดา้ นอาคาร
สถานทีโ่ รงเรียนจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในหอ้ งเรียน สานักงานหอ้ งปฏบิ ัติการตา่ งๆ ระบบความ

56

ปลอดภัยในสถานศึกษา เพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ นอกจากนโ้ี รงเรยี นยัง มกี าร

จัดทาคู่มือครู คมู่ ือผู้ปกครองและนกั เรยี น เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและ เป็นไปใน

ทิศทางเดยี วกนั และลดปัญหาต่างๆขณะทีน่ ักเรียนกาลงั ศกึ ษาในสถานศึกษา และนอกจากนีง้ าน หอ้ งสมุดยัง

ได้จดั ทาสถติ ิการเข้าใช้หอ้ งสมดุ และยมื หนังสอื ของครแู ละนักเรียนในแตล่ ะเดอื น กระตุน้ และ สง่ เสรมิ ให้

ผู้เรียนมีนสิ ัยรกั การอา่ นโดยการมอบเกยี รตบิ ัตรให้กับนักเรียนทม่ี ีสถิตกิ ารยืมหนังสอื มากทส่ี ุดใน แต่ละเดือน

รวมท้ังกลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมไดจ้ ดั ทาทะเบียนแหล่งเรียนรู้ ทะเบียนภูมิ

ปญั ญาท้องถิน่ โดยเชิญวิทยากรทเ่ี ปน็ ปราชญ์ชาวบ้านมาสอนนกั เรยี น รวมท้ังให้นักเรียนไป สารวจปราชญ์

ชาวบ้านตามทอ้ งถ่ินของนกั เรียนและรวบรวมข้อมูลเพอ่ื จัดทาเปน็ รปู เล่มรายงาน ในส่วนของ การศึกษาต่อ

ของนกั เรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 และ 6 งานแนะแนวการศกึ ษา ไดส้ ารวจและจัดทา ข้อมูลการศึกษา

ต่อของนักเรยี นในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา เพอื่ เป็นสถิติและแรงบนั ดาลใจให้รนุ่ น้องในการศึกษา ตอ่ ในรุน่ ตอ่ ๆไปซง่ึ

แสดงผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 ดงั ตาราง

ประเดน็ พจิ ารณา ระดบั คุณภาพ
543 2 1

2.1 เปา้ หมายวิสยั ทศั นแ์ ละพันธกิจทส่ี ถานศึกษากาหนดชดั เจน 5

2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 5

2.3 ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตาม 5

หลักสูตรสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย

2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ 5

2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อตอ่ การจดั การ 5

เรียนรูอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ

2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจดั การ 5

และการจัดการเรียนรู้

สรปุ ภาพรวม ระดับคณุ ภาพ 5 แปลผล ยอดเยยี่ ม

3.จดุ เดน่
โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนไดใ้ ช้เทคนิคการประชุมท่หี ลากหลาย

วิธี เชน่ การประชุมแบบมีสว่ นร่วม การประชุมระดมสมอง การประชมุ กล่มุ เพ่ือให้ทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการ
กาหนดวิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าหมาย ทีช่ ดั เจน มีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจาปี ท่ีสอดคลอ้ งกับผลการจัดการศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป
การศึกษา ทม่ี ่งุ เนน้ การพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรูต้ ามหลักสตู รสถานศึกษา ครูผูส้ อน
สามารถจัดการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมีคุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ กากบั ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงานและ
จัดทารายงานผลการจัดการศกึ ษา และโรงเรียนไดใ้ ช้กระบวนวิจัยในการรวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื ใช้เป็นฐานในการ
วางแผนพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา

57

1.โล่รางวลั ประเภทโรงเรยี นดีเด่น ดา้ นการส่งเสริมการจัดการเรียนร้เู พศวถิ ศี กึ ษาและทักษะชีวิต
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564,

2.โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ระดบั 2 ดาว โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. กิจกรรม โรงเรยี นดีต้องมที ี่
ยืน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

4. จุดควรพฒั นา
1. เปดิ โอกาสให้ผปู้ กครองได้มสี ่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาผู้เรยี น

ให้มากยง่ิ ขนึ้
2. สร้างเครือข่ายความรว่ มมอื ของผมู้ สี ่วนเกีย่ วข้องในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นใหม้ คี วามเขม้ แขง็

มีสว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลือ่ นคณุ ภาพการจัดการศึกษา

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ
ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย์ ดาเนนิ การส่งเสริมให้ครจู ดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญโดย

การดาเนินงาน/กจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลักสูตรมกี ารประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตร
สถานศกึ ษา พฒั นาสปู่ ระชาคมอาเซยี นและมาตรฐานสากล มกี ารบรู ณาการภาระงาน ชิ้นงาน โดย ทุก
ระดับชั้นจดั ทาหน่วยบรู ณาการ เศรษฐกิจพอเพยี ง ปรบั โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรยี นรู้ ลดเวลาเรียน เพมิ่
เวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วยกาหนดคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคท์ ีส่ อดคลอ้ งกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุน
ใหค้ รจู ัดการเรียนการสอนท่สี รา้ งโอกาสใหน้ กั เรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วม ไดล้ งมอื ปฏิบัตจิ รงิ จนสรุปความรู้ได้ด้วย
ตนเอง จดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นทกั ษะการคิด เชน่ จดั การเรียนร้ดู ้วยโครงงาน ครูมกี ารมอบหมายหนา้ ท่ใี ห้
นกั เรียนจัดปา้ ยนเิ ทศ และบรรยากาศตามสถานท่ีตา่ ง ๆ ทง้ั ภายในห้องเรียนและนอกหอ้ งเรียน ครใู ชส้ ่อื การ
เรยี นการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ มีการประเมนิ คุณภาพและประสทิ ธิภาพของสือ่
การสอนทใ่ี ช้ ครูทกุ คนทางานวจิ ัยในช้นั เรียนปีการศึกษาละ 1 เรื่อง และได้รบั การตรวจให้คาแนะนาโดย
คณะกรรมการของเขตพ้ืนที่การศึกษา

อีกท้ังโรงเรียนดาเนินการสง่ เสรมิ ใหค้ รจู ัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั โดยการดาเนนิ งาน
/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่ การพัฒนาหลักสตู รทมี่ ุง่ เนน้ ให้นกั เรยี นมีคุณลกั ษณะและทกั ษะ การเรยี นรู้
ตามศตวรรษที่ 21 และมคี ุณภาพเทยี บเคียงมาตรฐานสากล ครมู กี ารจัดทาวิเคราะห์ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล คิด
เป็นรอ้ ยละ 100 ทาให้ผู้เรยี นมสี ว่ นร่วมในการวเิ คราะหถ์ ึงความถนัดและความ สนใจของตนเองในการเรยี นรู้
ครูผ้สู อนนาขอ้ มลู ทไ่ี ด้มาวิเคราะหก์ าหนดเนอ้ื หาสาระกจิ กรรมท่ีสอดคล้องกับ ความสนใจและความถนดั ของ
ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล สอดคล้องกบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา จัดทาเอกสาร ประกอบหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้
และแผนการจดั การเรียนรทู้ ้ัง 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทง้ั น้ี กระบวนการจัดการเรียนการสอนสง่ เสรมิ ใหค้ รู
จัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคญั โดยเน้น กระบวนการคดิ และลงมอื ปฏบิ ตั เิ พ่ือให้ผู้เรียนสามารถนา

58

องค์ความร้ทู ่ีได้มาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชวี ติ อาทิ การจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning เชน่
การสอนแบบโครงงาน (Project – Based Learning) การสอนโดยการลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Practice) การเรียนรู้
แบบสืบค้น (Inquiry – Based Learning) การเรียนรูจ้ ากการทากิจกรรม (Activity – Based Learning) การ
สอนท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) การเรียนการสอนบูรณาการสะเตม็ ศกึ ษา
(STEM Education) การจดั การ เรยี นร้แู บบร่วมมือ รวมถงึ การนาองค์ความรู้ของท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการ
เรยี นรแู้ บบบรู ณาการ มกี ิจกรรมตามแผนปฏบิ ตั ิการที่ ส่งเสรมิ ให้เกิดการเรยี นรู้โดยเน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั
ได้แก่ กจิ กรรมการพฒั นาผู้เรยี นตามนโยบาย“เรียนฟรี 15ปอี ยา่ งมคี ุณภาพ” กิจกรรมการพฒั นาการจดั การ
เรียนการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ กิจกรรมการ แขง่ ขนั ทกั ษะทางวชิ าการ กิจกรรมการปรบั พ้ืนฐาน
นกั เรยี นชน้ั ม.1 และ ม.4 กิจกรรมวิจัยในชั้นเรียนวิชา คณิตศาสตร์โดยใช้ระบบพ่ีเล้ยี ง กิจกรรมสง่ เสรมิ
ศักยภาพของผ้เู รยี นด้านคอมพิวเตอร์ กจิ กรรมการรกั การ อา่ น กจิ กรรมคา่ ยคณติ ศาสตร์ คา่ ยวิทยาศาสตร์
คา่ ยภาษาอังกฤษ กิจกรรมอบรมเชงิ ปฎบิ ัติการใช้ โปรแกรม GSP กิจกรรม Christmas Day กจิ กรรมเสริม
ประสบการณแ์ ข่ขนั ครอสเวิรด์ กจิ กรรมภาษาพา เพลนิ กิจกรรมกีฬาสภี ายใน กจิ กรรมการผลิตส่ือนวัตกรรม
ประกอบการจดั การเรียนการสอนของครผู สู้ อน กจิ กรรมการจดั ป้ายนเิ ทศ กจิ กรรมสัปดาห์หอ้ งสมดุ กจิ กรรม
เวทคี นเกง่ กจิ กรรม Open House และจัดการเรียนการสอนใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั มี
กิจกรรมทสี่ นับสนุนไดแ้ ก่ กจิ กรรมการเรยี นการ สอนวชิ าโครงงาน เช่นโครงงานวทิ ยาศาสตร์ โครงงาน
คณิตศาสตร์ โครงงานสังคมศึกษาศาสนาและ วัฒนธรรม โครงงานภาษาอังกฤษ โครงงานคุณธรรม นอกจากน้ี
ยังมีการจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียนท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้ เช่น การ จัดป้ายนเิ ทศในหอ้ งเรยี น การ
มีวัสดอุ ุปกรณแ์ ละส่อื การเรยี นการสอนที่มคี ุณภาพ รวมถงึ นักเรียนไดศ้ กึ ษา แหลง่ เรยี นร้นู อกหอ้ งเรียนผา่ น
กจิ กรรมทัศนศกึ ษา และอบรมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ พรอ้ มการสรา้ งแรงบันดาล ใจในการเรียนรูจ้ ากเชิญศษิ ยเ์ กา่
ผ้ปู ระสบความสาเร็จในอาชพี ด้านตา่ งๆ มาถ่ายทอดประสบการณใ์ นการ ดาเนินชีวิตให้ประสบความสาเรจ็
โรงเรยี นมีกระบวนการกากบั และตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอนของครูเพือ่ ใหบ้ รรลุตาม เป้าประสงคข์ อง
โรงเรียนท่ีตอ่ งการใหผ้ เู้ รยี นมีสมรรถนะ คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมความเปน็ ไทย และ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ
ประสงคต์ ามหลกั สูตรในบริบทการจัดการเรยี นร้ตู ามมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาและ มาตรฐานระดบั สากล
ผ่านกระบวนการนิเทศตดิ ตาม ไดแ้ ก่ 1. การนิเทศภายในโดยคณะกรรมการ การนเิ ทศ ภายในและนเิ ทศแบบ
จบั คูภ่ ายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีแบบบันทึกนเิ ทศอยา่ งเป็นระบบ 2. กระบวนการเปดิ ชั้นเรียน (PLC lesson
study) ของโรงเรยี น ดาเนินการโดย ครูผู้สาธติ ชั้นเรียนคัดเลอื กบทเรียน หลังจากนน้ั นาแผนการจัดการ
เรยี นรู้ทีผ่ า่ นการวพิ ากษ์ (PLC) มาปรับปรงุ มกี ารสะทอ้ นผลการจัดการเรียนรู้ผ่านการสรา้ งชุมชนแหง่ การ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทาใหไ้ ด้บทเรียนและแผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ีมคี ณุ ภาพ และมี การรายงานการเปดิ
ชนั้ เรียน

59

2. ผลการพฒั นา
จากการดาเนนิ งาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพอ่ื พัฒนาให้ครูการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้น

ผู้เรียนเปน็ สาคัญ สง่ ผลให้ผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานท่ี 3 อยใู่ นระดบั ดีเลิศ

ประเดน็ พจิ ารณา จานวน ระดับคุณภาพ จานว คดิ เป็น ระดบั
ครู นครู ร้อยละ คณุ ภาพ
ระดบั 3
ทั้งหมด ขึน้ ไป

5 4 3 21

1) จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ 13 39 1 13 100 4
และปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนาไป
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้

2) ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 13 48 1 13 100 4
แหล่งเรียนรู้ทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้

3) มีการบรหิ ารจดั การชั้นเรยี นเชงิ 13 28 3 13 100 4
บวก

4) ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียน 13 39 1 13 100 4
อย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นา
ผเู้ รยี น

5) มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละให้

ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพื่อพัฒนาและ 13 3 10 13 100 4

ปรับปรุงการจ้ดการเรยี นรู้

ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 3 ระดบั คณุ ภาพ 4 แปลความหมาย ดีเลิศ

ผลจากกระบวนการดาเนินงานผา่ นการกากบั ตดิ ตามท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพในด้านการจัดการ เรยี นการ
สอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ทาใหค้ รูปฏบิ ัติงานตามบทบาทหนา้ ทอ่ี ย่างมีประสทิ ธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผล มี
การวิเคราะหผ์ ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล ทาวจิ ัยในช้นั เรยี นเพ่อื แก้ปัญหาของผู้เรียน จัดกจิ กรรม การเรยี นการสอน
ให้สอดคล้องกบั ทห่ี ลักสูตรกาหนด โดยพัฒนาผ้เู รียนอยา่ งรอบด้านท้งั ความรู้ ความคดิ สติปญั ญา ให้ผเู้ รยี นมี
คุณธรรมจรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และสมรรถนะที่สาคัญตามหลกั สูตร มี สอ่ื นวตั กรรม
เทคโนโลยีท่ีสอดคลอ้ งกบั หลักสตู ร เหมาะสม ทันสมัย เชน่ Google classroom Kahoot Wordwall
Thankable Quizizz Liveworksheet Topworksheet Padlet เปน็ ตน้ และมกี ารวดั ผลและประเมนิ ผล
ตาม สภาพความเปน็ จรงิ โรงเรยี นไดม้ ีการดาเนินการเพือ่ ใหม้ ีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ระหวา่ งบุคลากรภายใน

60

61

สถานศกึ ษา เช่น การประชมุ ครเู พ่ือร่วมกันลงความเห็นและแลกเปล่ยี นแนวคิดกัน เพอ่ื พฒั นา
โรงเรยี นหรอื กิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ การอบรมครู เช่น การอบรมเชงิ
ปฏิบตั ิการผลติ สอื่ การเรยี นร้อู ิเลก็ ทรอนกิ ส์ สาหรับการเรยี นการสอน การอบรมชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ าง
วชิ าชีพ Professional Learning Community (PLC) การจดั กิจกรรมการเปิดชนั้ เรยี น และการแลกเปลีย่ น
เรยี นรรู้ ะหว่างสถานศกึ ษากบั ครอบครัว ชุมชน และองคก์ รท่ีเกี่ยวข้อง เช่น กิจกรรมการประชุมผูป้ กครอง
สร้างเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง รวมทัง้ มีการพฒั นาตนเองตามจรรยาบรรณ ของวิชาชพี ครูทาให้มีครผู พู้ ัฒนาตนเอง
ก่อใหเ้ กดิ ผลงานประจักษ์ด้านครแู ละนกั เรียน ดังนี้

-นายทรพั ยท์ วี โพธพ์ิ นั ธ์ เรื่อง การพฒั นาทักษะทางต้านการคดิ วเิ คราะหแ์ ละการแก้ปัญหา เรื่อง
ประมวลผลข้อมลู ด้วยแบบฝึกทกั ษะการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ จัดการเรยี นรใู้ ช้ปัญหาเป็นฐาน
(Problem-based Learning : PBL] ของนักเรียนระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย์

- นายทรัพย์ทวี โพธ์พิ ันธ์ รางวลั ระดับเหรียญทอง การนาเสนอผลงานการจัดทาโครงงานวชิ า
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี Best Practice (วธิ ปี ฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ) ศูนยพ์ ัฒนาวซิ าการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหกรรมวชิ าการมธั ยมศกึ ษา สพม.สรุ ินทร์ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ปลุกพลังคิด
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ กระบวนการเปิดขนั้ เรยี น PLC-LS

- นายธนวิชญ์ แสงราม รางวลั ระดับเหรยี ญทอง การนาเสนอผลงานการจัดทาวิจัยในชัน้ เรยี นวชิ า
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี Best Practice (วิธีปฏิบัติท่เี ป็นเลศิ ) ศูนยพ์ ัฒนาวซิ าการกล่มุ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหกรรมวชิ าการมธั ยมศกึ ษา สพม.สรุ ินทร์ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ปลกุ พลงั คดิ
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ กระบวนการเปิดขั้นเรียน PLC-LS

- นางสาวลาจวน สงี าม รางวลั ระดับเหรียญทอง การนาเสนอผลงานการจดั ทาวจิ ัยในชัน้ เรียนวชิ า
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี Best Practice (วิธีปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ป็นเลศิ ) ศูนยพ์ ัฒนาวิซาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหกรรมวชิ าการมัธยมศกึ ษา สพม.สุรนิ ทร์ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ปลกุ พลังคดิ
แลกเปลยี่ นเรียนรู้ กระบวนการเปิดขนั้ เรียน PLC-LS

- นายอนุชา ยอดงาม รางวลั ระดบั เหรยี ญทอง การนาเสนอผลงานการกิจกรรมการเรยี นรู้วิชา
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี Best Practice (วิธีปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ) ศูนยพ์ ฒั นาวซิ าการกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหกรรมวิชาการมธั ยมศกึ ษา สพม.สุรินทร์ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ปลุกพลังคิด
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ กระบวนการเปิดข้ันเรยี น PLC-LS

- นายวีรเดช มะแพทย์ รางวลั เครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “ครุ สุ ดดุ ี” ประจาปี 2564 ประกาศโดย
คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ คุรุสภา ลงวนั ท่ี 20 ตุลาคม พ.ศ. 2564 หนา้ 27 ลาดับที่ 706

- นายวีรเดช มะแพทย์ ผบู้ งั คับบัญชาลกู เสือดีเดน่ ประจาปี 2564 ประเภทผสู้ อน ประกาศ
สานกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ ลงวันท่ี 3 ธันวาคม 2564 หนา้ ที่ 51 สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา
สรุ นิ ทร์ ลาดบั ท่ี 3

-นายวีรเดช มะแพทย์ รบั พระราชทายนเหรยี ญลกู เสอื ยัง่ ยืน ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา 27 ธ.ค.
2564 เล่มที่ 138 ตอนท่ี 60ข หนา้ 8 ลาดับท่ี 312

62

-นายวีรเดช มะแพทย์ รางวลั ครผู ู้สอนดเี ดน่ ด้านการสง่ เสริมการจัดการเรียนร้เู พศวิถศี ึกษาและ
ทกั ษะชีวิต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ลงวันท่ี
23 กันยายน 25654 หนา้ ที่ 23 ลาดับที่ 459

- นางสาวลาจวน สงี าม รางวัลเหรียญทอง ครผู ู้สอนยอดเย่ียม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ กลุม่ วิชา
วิทยาศาสตร์ ด้านวิชาการ การประกวดรางวลั หนว่ ยงานและผ้มู ีผลงานดเี ด่นประสพผลสาเรจ็ เป็นท่ปี ระจกั ษ์
เพื่อรับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครัง้ ท่ี ๑๐ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ระดบั ภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื (ฝ่ายมัธยม) ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 22 กนั ยายน 2564

- นายทรพั ย์ทวี โพธ์ิพันธ์ รางวัลเหรยี ญเงิน ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ครูผู้สอนยอดเยี่ยม
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ กล่มุ วิชาเทคโนโลยี ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นการสอน สพฐ.
(OBEC AWARDS) คร้ังท่ี ๑๐ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 22 กันยายน 2564

-นายธนวิชญ์ แสงราม รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ระดับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ(ฝา่ ยมธั ยม)
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครั้งที่ 10 ประจาปีการศกึ ษา 2563 รายการ ครผู ู้สอนยอดเยย่ี ม
ส่งเสรมิ การใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรทู้ างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ด้าน
นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นการสอน โดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ใหไ้ ว้ ณ
วนั ที่ 22 กันยายน 2564

-นายวีรเดช มะแพทยร์ างวลั เหรยี ญทอง ชนะเลศิ ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (ฝา่ ยมธั ยม)
รางวัลทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ครั้งที่ 10 ประจาปีการศึกษา 2563 รายการ ครผู ู้สอนยอดเยย่ี ม
สง่ เสริมการใชน้ วตั กรรมการจดั การเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ดา้ น
นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอน โดยสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ให้ไว้ ณ
วนั ที่ 22 กันยายน 2564

-นายธนวชิ ญ์ แสงราม รางวลั เหรยี ญทอง รองชนะเลศิ ระดับชาติ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC
AWARDS) คร้งั ท่ี 10 ประจาปีการศึกษา 2563 รายการ ครผู สู้ อนยอดเย่ยี ม สง่ เสริมการใช้นวัตกรรมการ
จัดการเรยี นร้ทู างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การ
เรียนการสอน โดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกาศ ณ วันท่ี 18 เมษายน 2565

-นายวรี เดช มะแพทย์ รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลศิ ระดบั ชาติ รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC
AWARDS) ครัง้ ที่ 10 ประจาปกี ารศึกษา 2563 รายการ ครูผูส้ อนยอดเยีย่ ม สง่ เสรมิ การใช้นวตั กรรมการ
จัดการเรยี นรทู้ างไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื
การเรียนการสอน โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ ณ วนั ท่ี 18 เมษายน 2565

-นายชยั ณรงค์ แสงอทุ ัย รางวัล ครูผู้สอนดีเด่น ดา้ นการส่งเสริมการจัดการเรยี นรูเ้ พศวิถศี ึกษาและ
ทักษะชีวติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกาศสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ลงวันท่ี
23 กันยายน 25654 หนา้ ที่ 23 ลาดับที่ 458

63

3. จดุ เดน่
ครูมคี วามตั้งใจ มงุ่ มัน่ ในการพัฒนาการสอนมีแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้

เรยี นรโู้ ดยการคดิ ไดป้ ฏบิ ตั จิ ริง มีการให้วธิ กี ารและแหลง่ เรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย ใหน้ ักเรียนแสวงหาความร้จู าก
ส่ือเทคโนโลยดี ้วยตนเองอย่างต่อเนือ่ ง นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่เอือ้ ต่อการ
เรยี นรู้ของผู้เรยี นสามารถนาไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้ ครูนาเทคโนโลยมี าใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
ออนไลน์ ผ่านแอพลิเคช่นั ตา่ งๆในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 เชน่ Google classroom
Kahoot Wordwall Thankable Quizizz Liveworksheet Topworksheet Padlet มกี ารบริหาร
จดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวก สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนเกิดบรรยกาศการเรยี นรทู้ ่ดี ี และผลงานวิจยั ในชั้นเรยี นของครทู กุ คน
ไดร้ บั การตรวจประเมินพร้อมทัง้ ให้คาแนะนาจากคณะกรรมการวจิ ัยของเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
4. จดุ ควรพัฒนา

ควรนาภมู ิปัญญาท้องถ่ินใหเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมให้นกั เรียนไดเ้ รียนรแู้ ละการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่นักเรยี นทันทเี พือ่ นักเรียนนาไปใชพ้ ฒั นาตนเองและสรา้ งคณุ ค่าแก่ชมุ ชน

64

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม

สรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา

2564 โรงเรียนทบั โพธพิ์ ัฒนวิทย์ โดยภาพรวม ระดับคณุ ภาพ 4 ความหมาย ดเี ลิศ

มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ระดบั แปลผล

คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน 4 ดเี ลศิ
1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น 4 ดเี ลิศ
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี นการส่อื สาร และการคิดคานวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปราย 3 ดี
แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา 5 ยอดเยี่ยม
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 5 ดี
4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
5) มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 2 กาลงั
พฒั นา
51. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ค่าเฉล่ีย 8 กลุ่ม
สาระ 5 ยอดเยี่ยม

5.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET) 5 ยอดเยี่ยม
5 ยอดเยี่ยม
6) ความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชีพ 5 ยอดเยย่ี ม
1.2 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น 5 ยอดเยย่ี ม
1) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ตี ามทีส่ ถานศึกษากาหนด 4 ดีเลิศ
2) ความภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย
3) การยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 5 ยอดเยย่ี ม
4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม 5 ยอดเยย่ี ม
5 ยอดเย่ียม
สรปุ ผลการประเมินภาพรวม มาตรฐานที่ 1
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 5 ยอดเยีย่ ม
2.1 เปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน

2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดาเนินงานพฒั นาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศกึ ษาและทกุ กล่มุ เป้าหมาย
2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี

65

มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา ระดับ แปลผล
คณุ ภาพ

2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ย่าง 5 ยอดเยย่ี ม

มีคุณภาพ

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบริหารจดั การและการ 5 ยอดเยี่ยม

จดั การเรียนรู้

สรปุ ผลการประเมินภาพรวม มาตรฐานที่ 2 5 ยอดเยีย่ ม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

3.1 จัดการเรียนร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไป 4 ดเี ลิศ

ประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้

3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ 4 ดเี ลศิ

3.3 มีการบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก 4 ดเี ลิศ

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 4 ดเี ลิศ

3.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลับเพือ่ พฒั นาและปรบั ปรุง 4 ดีเลศิ

การจัดการเรยี นรู้

สรปุ ผลการประเมินภาพรวม มาตรฐานท่ี 3 4 ดเี ลศิ

สรปุ ผลการประเมินภาพรวมทุกมาตรฐาน 4 ดเี ลิศ

สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย์ โดยภาพรวม ระดับคุณภาพ 4 ความหมาย ดเี ลศิ

คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

ลงชอื่ .......................... ..............................ประธานกรรมการ
( นางจฬุ าภรณ์ บญุ ศรี)

ลงช่อื ..........................................................รองประธานกรรมการ
(นางโฉมยง พรมโส )

ลงช่ือ...........................................................กรรมการ
(นางพชั รนนั ท์ แพงยา )

66

ลงชอ่ื ...........................................................กรรมการ
( นางวภิ าภรณ์ วเิ ศษวงษา)

ลงชอ่ื ...........................................................กรรมการ
(นายวีรเดช มะแพทย์ )

ลงชื่อ..................... ......................................กรรมการ
(นายทรพั ยท์ วี โพธิพ์ นั ธ์ )

ลงชอ่ื ..........................................................กรรมการและเลขานุการ
( นายธนวิชญ์ แสงราม )

67

ส่วนที่ 3
สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการชว่ ยเหลือ

รายงานประจาปีของสถานศกึ ษาถือเปน็ ข้อมลู สารสนเทศสาคัญที่สถานศึกษาจะตอ้ งนาไปวิเคราะห์
สังเคราะหเ์ พอื่ สรุปการเช่ือมโยงหรอื สะท้อนภาพความสาเรจ็ กบั แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
(3 – 4 ปี) และนาไปใช้ในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดงั น้ัน จากผลการ
ดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจดุ เด่น จุดควรพฒั นาของแต่ละ
มาตรฐาน พรอ้ มทั้งแนวทางการพัฒนาในอนาคตและความตอ้ งการการชว่ ยเหลือไดด้ งั น้ี

1. สรปุ ผล

จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา

ดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี น ด้านคุณภาพผู้เรยี น

1) ผ้เู รียนมีผลสัมฤทธอ์ิ ย่ใู นระดบั ดี นักเรียนมี ความสามารถในการคิดคานวณ

ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้เปน็ ไปตาม การพูดอภิปราย และผลสมั ฤทธิท์ างการ

เกณฑ์และมาตรฐานของแตล่ ะระดับชัน้ มคี วามกล้า เรยี นในรายวชิ าภาษาอังกฤษและ

แสดงออก มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม ตามท่ีสถานศึกษา คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ตอ้ งเพิม่ กจิ กรรม

กาหนด เสริมและพฒั นา

2) ผเู้ รียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการ

แสวงหาความร้ไู ดด้ ้วยตนเอง นาเสนองาน และทางาน

ร่วมกบั ผู้อนื่ ได้

3) ผูเ้ รียนมีสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง มสี มรรถภาพทางกาย

และน้าหนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ มรี ะเบียบวินัย เคารพ

กฎกตกิ าระเบยี บของสังคม

4) ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคดิ คานวณ สามารถพูด

อภปิ ราย แสดงความคิดเหน็ และสามารถแก้ปญั หา

เฉพาะหน้าได้ และนาความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้

5) ผ้เู รยี นมคี วามพร้อมในการศกึ ษาต่อ สามารถนา

ความรูไ้ ปใชใ้ นการประกอบอาชีพได้

6)

68

จดุ เดน่ จุดควรพัฒนา
ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผบู้ ริหารศึกษา ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ

1) ผู้บริหารมคี วามตั้งใจ มคี วามมุง่ มน่ั มหี ลกั การบริหาร ของผบู้ รหิ ารศึกษา
และมวี ิสยั ทศั น์ที่ดใี นการบรหิ ารงาน สามารถเปน็
แบบอย่างท่ดี ใี นการทางาน และคณะกรรมการ ส่งเสริมและพัฒนาศกั ยภาพ
สถานศึกษามีความตง้ั ใจและมคี วามพรอ้ มในการ บคุ ลากรให้พร้อมรับการกระจายอานาจ
ปฏบิ ตั ิหน้าท่ตี ามบทบาท

2) โรงเรยี นมีการบริหารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ
โรงเรยี นไดใ้ ช้เทคนิคการประชุมทห่ี ลายหลายวธิ ี เชน่
การประชมุ แบบมีส่วนรว่ ม การประชมุ ระดมสมอง
การประชุมกลุม่ เพอื่ ให้ทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการ
กาหนดวิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าหมายท่ีชัดเจน มีการ
ปรับแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ตั ิ
การประจาปีท่ีสอดคล้องกับผลการจัดการศกึ ษา
สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาและนโยบายการ
ปฏริ ปู การศกึ ษาทีม่ งุ่ เน้นการพฒั นาใหผ้ ูเ้ รียนมี
คณุ ภาพตามาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร
สถานศกึ ษา ครผู ู้สอนสามารถจัดการเรยี นรู้ได้อยา่ งมี
คุณภาพ มีการดาเนนิ การนิเทศ กากับ ตดิ ตาม
ประเมนิ ผล การดาเนินงานและจัดทารายงาผลการจัด
การศกึ ษา และโรงเรยี นไดใ้ ชก้ ระบวนการวิจยั ในการ
รวบรวมข้อมลู เพือ่ ใชเ้ ป็นฐานในการวางแผนพัฒนา
คณุ ภาพสถานศกึ ษา

69

จุดเดน่ จุดควรพฒั นา

ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี น ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี น

เป็นสาคญั เปน็ สาคญั

1) ครมู ีความต้ังใจ มงุ่ มนั่ ในการพฒั นาการสอน ใน 1) สถานศกึ ษาควรมีการนาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินให้

การปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งเต็มเวลาและเต็ม เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียน

ความสามารถ การสอน

2) ครมู กี ารจัดกจิ กรรมให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรูโ้ ดยการ 2) สถานศึกษาควรให้นกั เรยี นได้ให้ข้อมลู

คดิ ย้อนกลบั แกน่ กั เรียนเพอ่ื ให้นกั เรยี นนาไป

3) นักเรียนได้ลงมือในการปฏิบัติจริงเพือ่ การ พัฒนาตนเอง

เรยี นร้แู ละพัฒนาศกั ยภาพ 3) ครคู วรจดั กจิ กรรมทเ่ี นน้ ใหผ้ ู้เรยี นไดม้ ี

4) ครูมีการใช้วิธกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นการ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิด

สอนและจดั แหลง่ เรียนรู้ทหี่ ลากหลาย สังเคราะห์ได้อยา่ งหลากหลายและใช้แหล่ง

5) ครใู ห้นกั เรียนแสวงหาความรู้จากสอ่ื เรียนรูใ้ นการพัฒนาตนเอง

เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง 4) ครูควรจัดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ ี

6) นักเรยี นมสี ่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ พฤตกิ รรมทศั นคตทิ ี่ดตี ่อความเปน็ ไทยไม่

สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ หลงใหลค่านยิ มต่างชาตจิ นเกดิ การเลียนแบบ

ทาให้ลมื วัฒนธรรมทดี่ ีงามของไทย

5) ครูควรจัดกจิ กรรมทีใ่ ห้ผเู้ รยี นได้มีการ

อภปิ ราย แลกเปล่ยี น เรยี นรูอ้ ยา่ ง

สมเหตุสมผล และมที กั ษะในการแก้ปัญหา

ตามสถานการณ์ไดอ้ ย่างเหมาะสม

6) ครูควรจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ี

หลากหลาย สอดคล้องกบั มาตรฐานการ

เรียนรู้ ตวั ช้ีวัดตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้

พื้นฐาน และฝึกใหน้ กั เรียนไดค้ ิดวเิ คราะห์

7) ครคู วรพัฒนาส่อื แหลง่ เรียนรู้ จัดเตรียม

ห้องปฏิบตั กิ ารให้อยใู่ นสภาพดีและพรอ้ มใช้

งานไดเ้ สมอ

8) ครูควรมีการวัดผลประเมินผลท่ีหลากหลาย

ตามสภาพจรงิ สอดคล้องกับมาตรฐานและ

การเรยี นรู้ ธรรมชาติวิชา

70

จุดเดน่ จุดควรพัฒนา
ดา้ นระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่ีมปี ระสิทธผิ ล ด้านระบบการประกันคณุ ภาพภายในท่มี ีประสิทธผิ ล

โรงเรยี นให้ความสาคัญกบั การดาเนินงาน 1) โรงเรยี นจัดระบบใหค้ รูประเมนิ ตนเอง
ประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาโดยเน้นการ รายบคุ คลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยงั ขาด
สร้างความเขา้ ใจและใหค้ วามรู้ดานการประกนั คณุ ภาพ การใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับแก่ครใู นการพฒั นา
การศกึ ษากบั คณะครู บุคลากรทุกฝ่ายทเี่ ก่ยี วข้อง ที่ ตนเองในการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พ่อื
ชัดเจน เปน็ ประโยชน์ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ยกระดับคุณภาพของผู้เรยี น
การดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในของโรงเรยี น เนน้
การมีสว่ นร่วม ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการ 2) นักเรียนมกี ารประเมนิ ตนเองในการเรยี นรูแ้ ต่
สรา้ งวฒั นธรรมการประกนั คุณภาพภายในของ ยังขาดการติดตามช่วยเหลอื ผู้เรียนเปน็
สถานศกึ ษาให้กับบุคคลที่เก่ยี วขอ้ งทุกระดับ รายบคุ คล

2. แนวทางการพัฒนาในอนาคต

1) การจดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ การพฒั นาผ้เู รียนเป็นรายบคุ คลให้ชัดเจนข้ึน
2) การสง่ เสริมใหค้ รเู หน็ ความสาคญั ของการจดั การเรยี นรู้โดยเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ
3) การจดั ทาวิจยั ในช้นั เรยี นเพ่อื พฒั นาผุเ้ รยี นใหส้ ามารถเรยี นร้ไู ด้เตม็ ศักยภาพ
4) การพฒั นาบคุ ลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปล่ยี นเรียนรู้ในงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย
5) มกี ารตดิ ตามผลการนาไปใชแ้ ละพัฒนาศกั ยภาพของครแู ละนกั เรียน
6) การพัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ป็นสังคมแห่งการเรียนรขู้ องชมุ ชน

3. ความต้องการและการช่วยเหลอื

1) การพัฒนาครูผสู้ อนในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ที่สอดคล้องกบั การพฒั นาผเู้ รียนในศตวรรษท่ี
21

2) การสร้างข้อสอบท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรูต้ ามแนวทางของการประเมนิ O-NET และ
PIZA

3) การจัดสรรครูผู้สอนได้ตรงตามวชิ าเอกที่โรงเรยี นมีความต้องการและจาเป็น

71

ส่วนที่ 4
การปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลิศของถานศกึ ษา

แบบรายงานนวตั กรรม/วิธกี ารปฏบิ ตั ิทดี่ (ี Best Practices)
ประเภทของนวตั กรรม/วธิ ีการปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลิศ

....................................................................................................
ชื่อวธิ กี ารปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practices) โรงเรยี นท่ีส่งเสริมการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยี
สารสนเทศ (DLIT) บรู ณาการกระบวนการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการวิจยั Research-Based-Learning (RBL)
โรงเรียน ทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย์ สหวทิ ยาเขต 6
ชอ่ื -สกลุ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา นางจุฬาภรณ์ บญุ ศรี
จานวนครูทั้งหมด 13 คน จานวนนกั เรยี นทั้งหมด 142 คน

.....................................................................

1. ความสาคญั ของนวัตกรรม/วธิ กี ารปฏิบัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practices)

ความทา้ ทายที่เปน็ พลวตั ของโลกศตวรรษท2่ี 1ทัง้ ในส่วนท่ีเปน็ แรงกดดนั ภายนอกไดแ้ กก่ าร
เปลยี่ นแปลงของบรบิ ทเศรษฐกิจและสังคมโลก อนั เนือ่ งจากการปฏิวตั ดิ ิจิทลั (Digital Revolution) การ
เปล่ียนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0 (The Fourth Industrial Revolution) การดาเนินงานเพื่อบรรลเุ ป้าหมาย
การพัฒนาท่ียั่งยืนขององคก์ ารสหประชาชาติ 2573 (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ที่
ประเทศไทยได้ใหส้ ัตยาบัน รวมทงั้ ผลกระทบของการเปน็ ประชาคมอาเซียน และความต้องการกาลงั คนท่มี ี
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 ประกอบกับแรงกดดนั จากภายในประเทศจากการเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งประชากรท่ี
สง่ ผลให้ประเทศเข้าสู่สังคมสงู วยั อย่างสมบูรณ์ในอนาคตอนั ใกลก้ ารตดิ กบั ดกั ประเทศทมี่ รี ายได้ปานกลาง
ทัศนคติความเชอื่ ค่านิยม วัฒนธรรม และพฤตกิ รรมของประชากรที่ปรับเปลี่ยนไปตามกระแส โลกาภิวัตน์การ
เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่สง่ ผลใหท้ รพั ยากรธรรมชาติถูกทาลายและ เส่ือมโทรมอยา่ งรวดเร็ว รวมทง้ั
ระบบการศกึ ษาทีย่ งั มปี ญั หาหลายประการ นับตงั้ แตป่ ัญหาคุณภาพ ของคนไทยทกุ ช่วงวยั ปญั หาคุณภาพและ
มาตรฐานการจดั การศึกษาในทุกระดบั จดุ อ่อนของระบบ การศึกษาและการพฒั นาบคุ ลากรด้านวิทยาศาสตร์
ภาษาองั กฤษ เทคโนโลยีและการบรหิ าร จัดการศึกษาของสถานศกึ ษาทีย่ ังไมเ่ หมาะสม ขาดความคลอ่ งตัว ยงั
มคี วามเหล่อื มล้าในด้านโอกาส และความเสมอภาคทางการศกึ ษา รวมทัง้ ปญั หาด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ
การขาด ความตระหนักถึงความสาคญั ของการมีวนิ ยั ความซ่ือสตั ย์สุจรติ และการมีจิตสาธารณะของคนไทย
ส่วนใหญ่ ส่งผลกระทบต่อระบบการศกึ ษา ท่ีต้องปรบั เปลย่ี นให้สนองและรองรบั ความทา้ ทาย ดังกลา่ ว จงึ มี
ความจาเปน็ ทป่ี ระเทศไทยตอ้ งปฏริ ูปการศกึ ษา เพอื่ ให้ระบบการศกึ ษาเปน็ กลไกหลกั ของการขับเคลือ่ น
ประเทศ ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบับใหม่ กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 –
2579) และกรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม แห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เพ่อื ให้

72

สามารถนาพาประเทศไปสู่ความม่ันคง มง่ั ค่งั และยง่ั ยนื ในอกี 20 ปี ขา้ งหนา้ ( แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.
2560 - 2579 . 2560 : ง)

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ม่งุ พัฒนาผู้เรียนทกุ คน ซ่ึงเป็นกาลังของ
ชาติให้เปน็ มนษุ ย์ท่มี คี วามสมดลุ ย์ทัง้ ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและ
เปน็ พลโลก ยึดม่นั ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุขมีความรแู้ ละ
ทักษะพ้นื ฐานรวมทั้งเจตคติที่จาเปน็ ต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวิต โดยม่งุ เนน้
ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั บนพื้นฐานความเชื่อวา่ ทุกคนสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ
(กระทรวงศึกษาธิการ . 2551 : 4)

การจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551(ปรับปรุง2560)
ครูผสู้ อนตอ้ งมีการวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัดสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นในการจัดการเรียนรตู้ าม
กลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละณลักษณะอันพึงประสงค์โดยมีหลักการจดั การเรยี นรู้ท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญการ
จดั การเรยี นรู้ทีค่ านึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคลการจดั การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองและ
การจดั การเรยี นรู้ทีเ่ นน้ คุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเขตพื้นทีก่ ารศึกษาและสถานศึกษาอาจเพิ่มเติมขนึ้ ไดใ้ นการ
จัดการเรยี นรู้ ท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ผสู้ อนต้องจัดกระบวนการท่ีหลากหลาย เพือ่ ให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรไู้ ดด้ ี
บรรลุตามเป้าหมายของหลกั สตู ร กระบวนการเรียนรทู้ จ่ี าเป็นสาหรบั ผเู้ รยี นเชน่ กระบวนการเรียนรแู้ บบ
บรู ณาการ กระบวนการสร้างองคค์ วามรู้ กระบวนการคดิ กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์และแกป้ ญั หา กระบวนการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการจัดการ
กระบวนการวจิ ยั กระบวนการเรยี นรู้การเรยี นรู้ของตนเองและกระบวนการพฒั นาลกั ษณะนิสยั เป็นต้น
(กระทรวงศึกษาธกิ าร)

ท้ังน้ตี อ้ งใหค้ วามสาคญั กับการใช้สื่อ การพัฒนาสื่อ การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ และการวดั
และประเมินผลท่หี ลากหลายเพือ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาผเู้ รียนอยา่ งต่อเนอ่ื งส่อื การเรียนรู้เปน็ เครอ่ื งมือสาคัญใน
การพัฒนาผู้เรยี นให้เกดิ การเรยี นร้ตู ามความมงุ่ หวังของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช
2551 ครูผูส้ อนมบี ทบาทสาคัญย่ิงในการจดั ทาหลักสูตรในการจัดทา พฒั นาและเลอื กใช้สื่อการเรยี นรู้ที่ดีและมี
ประสิทธิภาพเหมาะสมตามความแตกตา่ งของผู้เรียน ดว้ ยเหตุนี้สถานศึกษาควรให้ การส่งเสริม สนับสนุนให้มี
การนาสอื่ ไปใชใ้ นการพัฒนาการเรียนรู้ทสี่ ่งผลต่อผูเ้ รียน อย่างหลากหลายและเพียงพอ โดยการจดั ใหม้ แี หล่ง
เรียนรศู้ นู ยก์ ารเรียนรรู้ ะบบสารสนเทศ และเครือขา่ ยการเรยี นรู้ ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพท้งั ในสถานศกึ ษา และชมุ ชน
รวมท้งั การศึกษา ค้นควา้ วิจยั พัฒนาสือ่ การเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรียนรตู้ ามศกั ยภาพของผู้เรยี น
ปจั จุบันเทคโนโลยสี ารสนเทศไดพ้ ัฒนาไปอย่างรวดเรว็ ทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ ระบบอนิ เทอรเ์ น็ต ไดง้ ่ายซ่ึงมี
ผใู้ ช้งานทม่ี ีจานวนเพม่ิ มากขน้ึ ทกุ วนั ทกุ คนมอี สิ ระทจี่ ะเขา้ ไปแบง่ ปนั ความรแู้ ละเลอื กเคร่อื งมอื ท่ดี ีที่สดุ เพ่ือนา
ไปเผยแพร่ความรดู้ ว้ ยตัวเอง ต้องการสือ่ สาร และเสนอความคิดใหมๆ่ ได้โดยไมถ่ กู ปิดก้ัน นบั เป็นยุค 4.0 ที่

73

นกั การศกึ ษาตอ้ งตระหนักกับการเปลยี่ นถ่ายของ Content จาก Static Content เขา้ สยู่ คุ ของ Dynamic
Content

การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยที างไกล (Distance Learning) เปน็ การจัดการศึกษา ที่ใช้
เทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอนในทุกหอ้ งเรียน แกป้ ัญหาการขาดแคลนครผู ู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ครูสามารถจัดการเรยี นรใู้ นทุกกลมุ่ สาระไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ นกั เรียนและครูไดเ้ ขา้ ถึง สือ่ เทคโนโลยีท่ี
ทันสมัยนักเรยี นและครมู เี ครือขา่ ยในการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละทุกภาคสว่ นเขา้ มามีส่วนรว่ มในการจัด
การศึกษาการนาเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล (Distance Learning) มายกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาเป็น 2
รปู แบบ ได้แก่ การจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (Distance Learning Television ; DLTV) และการจดั
การศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning via Information Technology ; DLIT) มา
ดาเนินงานโดยเร่งดว่ นเพือ่ แกป้ ัญหาคณุ ภาพการศึกษา โดยมกี ารจัดสภาพการสนับสนนุ การจดั การเรยี นการ
สอน ของครูอย่างครบถ้วน ทง้ั กระบวนการออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีเน้น กระบวนการสร้างความรู้
จากการลงมือปฏบิ ตั ิ เนอื้ หา ตลอดจนส่ือและอุปกรณ์ทีจ่ าเปน็ ในการจัดเรียน การสอนอนั จะเป็นการลดความ
เหลอื่ มล้าทางการศึกษาลดช่องวา่ งและเพมิ่ โอกาสในการเข้าถงึ การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพให้กบั ประชาชนไทยทกุ
คนอันเปน็ การดาเนินการตามรอยเบ้อื งพระยุคลบาทและสนองพระราชดารใิ นการทจี่ ะพัฒนาการศกึ ษาไทยให้
เจรญิ ก้าวหนา้

จากผลการดาเนินงานทผ่ี า่ นมา พบวา่ การประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม ของโรงเรียนทบั โพธ์ิ
พฒั นวิทย์ มาตรฐานที่ 5 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดับชาตขิ ้ันพื้นฐานอยู่ในเกณฑค์ ุณภาพ พอใช้ ประกอบกับ
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) ไดพ้ จิ ารณาเห็นวา่ การจดั การเรียนการสอนในปัจจุบัน มีปญั หาทส่ี าคญั
คอื ปัญหาการขาดแคลนครู ครสู อนไมต่ รงกับวชิ าเอก โดยเฉพาะในโรงเรยี นขนาดเลก็ มขี ้อจากัดในการจัดการ
เรยี นรู้ นอกเหนอื จากมคี รูไม่ครบชั้นแลว้ ยังพบวา่ บางสว่ นครูสอนโดยไมใ่ ชส้ ่อื หรอื นวตั กรรม อนั เน่อื งมาจาก
วัสดุ อุปกรณม์ ีไมเ่ พียงพอ สง่ ผลใหน้ ักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กขาดโอกาสและความเทา่ เทยี มกับนกั เรยี นใน
โรงเรยี นขนาดใหญค่ ณะรักษาความสงบแห่งชาต(ิ คสช.)จงึ ได้อนุมัติให้มกี ารขยายผลการจดั การศึกษาทางไกล
ผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ ในโรงเรยี นขนาดเล็ก พร้อมท้งั ใหม้ ีการดาเนินการให้เปน็ รูปธรรมโดยเรว็ ดว้ ยการ
นาสอ่ื การสอนทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการแกป้ ัญหาและเสรมิ สร้างมาตรฐานการจัดการ
เรยี นการสอนของครู การบริหารจดั การศึกษาของผู้บรหิ าร และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนภายใต้แนวคิด
การดาเนนิ งาน ดงั นี้

1. สรา้ งฐานการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นและการเรยี นรใู้ หเ้ ปน็ คนดี คนเก่งและมีความสุข โดยมีจุดเน้น
ที่ตอ้ งการใหเ้ กดิ กับผู้เรยี นคือการเปล่ยี นบทบาทของผู้เรยี นจากผคู้ อยรบั ความร้อู ยา่ งเดยี วมาเปน็ ผู้เรียนทมี่ ี
ความกระตอื รือร้น แสวงหาความรู้และฝกึ ปฏิบัตเิ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความรูค้ วามคดิ และทกั ษะด้านต่างๆ ตามศักยภาพ
ความถนดั และความเขา้ ใจของผู้เรยี นโดยใช้ส่ือทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ควบคู่ไปกับรูปแบบการ

74

บรหิ ารงาน TPW Model และแหล่งกระบวนการเรยี นรูโ้ ดยใช้กระบวนการวิจัย Research-Based-Learning
(RBL)

2. สรา้ งฐานการพัฒนาครสู มู่ าตรฐานการเรียนการสอนในฐานะผู้จดั การเรยี นรู้สู่ครมู ืออาชพี โดยมี
จุดเน้นทตี่ ้องการให้เกดิ กบั ครูผสู้ อนคอื การเปลยี่ นบทบาทของครูไปสู่ผูอ้ านวยความสะดวกและสง่ เสริมให้เกดิ
การเรยี นร้ทู ่มี ีประสิทธิภาพ เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีในการเรียนรู้ รว่ มคิด รว่ มเรยี นรู้ ร่วมแก้ปัญหา กระตุ้น ชแี้ นะ จดั
ให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ หลงั เรยี นรู้ผ่านส่อื การสอนทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ ให้ผเู้ รียนสรา้ ง
องคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง

3. สร้างฐานการพฒั นาการบริหารและการจดั การศกึ ษาของผบู้ ริหารเชงิ ระบบโดยมจี ุดเน้นทต่ี อ้ งการ
ใหเ้ กดิ กบั โรงเรยี นคือมุง่ ทีจ่ ะเสริมสรา้ งและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาใหบ้ ังเกดิ ประสิทธผิ ลดา้ นการ
บรหิ ารงานวชิ าการโดยการสร้างสรรคค์ ุณภาพการศกึ ษาที่เน้นการมสี ่วนรว่ มและรปู แบบการบริหารงานTPW
Model และการสอดแทรกกระบวนการเชิงระบบคุณภาพ (PDCA) ไปสูก่ ารดาเนนิ งานคณุ ภาพ ภายใน
สถานศึกษาท่ีเปน็ สว่ นหนึ่งของการบริหารและการจดั การเรียนการสอนสู่มาตรฐานการศกึ ษา

กอปรกับโรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย์ มผี ลการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) ในปีการศกึ ษา 2563 อยู่ใน
ระดบั ที่ต้องเร่งพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธขิ์ องผเู้ รยี นและรองรับการประกนั
คุณภาพการศกึ ษาภายนอกในรอบถดั ไปจงึ ได้มกี ารนาการจดั การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(DLIT) บูรณาการรว่ มกับการบรหิ ารงานตาม TPW Model และแหล่งกระบวนการเรยี นรู้โดยใช้
กระบวนการวิจยั Research-Based-Learning (RBL)ซึ่งสง่ ผลผูเ้ รียนไดร้ บั การพัฒนา ทงั้ ด้านผลสัมฤทธิ์
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ตลอดจนทักษะการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น

2. วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการดาเนนิ งาน
2.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ งาน

2.1.1 เพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน เพ่ิมขึ้นจากปีการศึกษาท่ีผา่ นมารอ้ ยละ 3
2.1.2 เพอื่ พัฒนานกั เรียนใหม้ ีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80
2.1.3 เพอื่ พฒั นานักเรียนใหม้ ที กั ษะการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ 80
2.1.4 เพื่อให้ครูให้สามารถจดั การเรยี นร้ดู ้วยสอื่ ทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธภิ าพ ร้อยละ 80

2.2 เป้าหมายของการดาเนินงาน
2.2.1 เชงิ ปริมาณ

1.นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 1 - 6 โรงเรียนทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย์ ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 142 คน
2.ครูโรงเรียนทบั โพธพ์ิ ัฒนวิทย์ จานวน 13 คน

75

2.2.2 เชิงคณุ ภาพ
1.นกั เรียนมีผลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐานเพิ่มขึ้น มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

ทกั ษะการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน ผ่านเกณฑ์การประเมิน
2.ครสู ามารถจัดการเรยี นรู้ด้วยสื่อทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

3. ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน
โรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวิทย์ ไดน้ าหลักการบรหิ ารวงจรเดมมิ่ง PDCA มาใช้ในการบริหารงานวิชาการใน

การดาเนินการจัดการเรยี นรู้ดว้ ยสอ่ื ทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) และบรู ณาการรปู แบบการ
บรหิ ารงานตาม TPW Model โดยใช้แหล่งกระบวนการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการวิจัย Research-Based-
Learning (RBL) ซึ่งมีข้ันตอนในการดาเนินงานดงั น้ี

1. ขน้ั วางแผน (Plan)
1.1 รับทราบนโยบายและกาหนดเป็นเปา้ หมายการพฒั นาของโรงเรียน โรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ยร์ บั

นโยบายการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างเตม็ รูปแบบ ในช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 – 6
นามากาหนดเป็นนโยบาย/เป้าหมาย การพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพเชิงระบบ ดว้ ยการจดั การความรสู้ กู่ ารจดั
การศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและบูรณาการรว่ มกับนวัตกรรมการสอน RBL

1.2 ขับเคล่อื นสร้างความเข้มแขง็ โดยจัดประชมุ ชี้แจงข้าราชการครแู ละบุคลากรโรงเรยี น นกั เรียน
ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาและชุมชน ให้มีความตระหนกั และร่วมมอื กันพฒั นาไปสเู่ ปา้ หมาย อยา่ ง
จรงิ จัง

1.3 สร้างและแสวงหาความรู้เกยี่ วกับการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ด้วยการ
อบรมพัฒนา ศึกษาค่มู ือพระราชทานการจดั การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ เอกสารแนวทางการ
การกากบั ติดตามโครงการขยายผลการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ และความรอู้ ืน่ ๆที่มอี ยู่
ตามแหล่งต่างๆ เชน่ เว็บไซต์ มูลนธิ ทิ างไกลผ่านดาวเทียม เครอ่ื ข่ายห้องเรยี น DLIT ฯลฯ ควบคกู่ ับการเรียนรู้

76

แบบใช้วิจัยเป็นฐาน Research-Based-Learning (RBL) จดั การศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
DLIT

1.4 ทบทวนหลักสตู ร มีการดาเนนิ การทบทวนหลักสูตรและปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษา ใหม้ ีความ
สอดคล้องกบั แนวทางการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.5 ปรับโครงสรา้ งหลกั สูตร เวลาเรียน - จานวนช่ัวโมง : ปี ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ โดยโรงเรยี น
พิจารณาจาก ความสะดวกตอ่ การบริหารจัดการหลักสตู รสถานศึกษา

- หนว่ ยการเรียนรู้ของกลุ่มสาระ โดยโรงเรียนพจิ ารณาจากหนว่ ยการเรียนรู้ท่ีปรากฏ ในคูม่ ือสอน
ทางไกลผ่านดาวเทยี ม

- มาตรฐานการเรียนรู้ของหนว่ ยการเรยี นรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม ประกอบดว้ ย มาตรฐานการเรียนรขู้ อ้
ใดบา้ งเพ่ือเตรียมสูก่ ารวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้

-จัดทาแผนการเรียนร้รู ายช่ัวโมงให้มคี วามสอดคลอ้ งกับแนวทางการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี
สารสนเทศ โดยปรบั ให้มคี วามยืดหยนุ่ และสะดวกต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ของผ้เู รียน จัดเตรยี มสอื่ วสั ดุ
อุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้ และการวดั ผลประเมนิ ผลการเรียนรู้

- ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้
- หวั ขอ้ เร่ืองที่ชัดเจน มาตรฐานการเรียนรทู้ สี่ อดคล้อง
- ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวัง
- การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้สอ่ื การสอนทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศขั้นเตรยี มการจัดการ
เรียนรู้
- เตรยี มนกั เรยี น
- แจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้/ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง
- แนะนาวิธีการเรยี นรู้
- แบ่งกลมุ่ นกั เรียนเพอ่ื สง่ เสรมิ การเรียนรู้ขั้นการจัดการเรียนร้โู ดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านผ่านเทคโนโลยี
สารสนเทศ
- การนาเข้าสู่บทเรียน
- เตรียมความพร้อมกอ่ นชมรายการ
- การเรียนรู้จากการชมรายการโทรทัศน์ทางไกลผา่ นผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศข้ันการกจิ กรรมส่งเสริมการ
เรียนรู้
- ซกั ถามสาระสาคัญหรือความร้ทู ีไ่ ดจ้ ากการเรียน
- นาส่ิงทไี่ มเ่ ข้าใจหรือประเดน็ ทส่ี งสยั ที่ได้จากการเรียนมาอภิปราย
- มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นปฏิบตั เิ ป็นรายกลมุ่ /รายบุคคล
ขน้ั สรุปและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
- สรปุ สาระสาคัญหรอื ความรู้ทีไ่ ดร้ บั จากการเรียนในแต่ละคร้งั โดยครแู ละนักเรยี นร่วมกัน

77

- ตรวจสอบ/วดั ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียนตามตัวช้ีวดั เพ่ือจัดสอนซอ่ มเสรมิ ให้นักเรยี นที่ไม่บรรลุ
วัตถปุ ระสงคต์ ามตัวชี้วัด

- จัดให้นักเรียนศกึ ษาค้นคว้าเพ่ิมเตมิ
1.6 ดูแลระบบและอานวยความสะดวกการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศใหก้ บั

ครผู ู้สอน

2. ข้นั ดาเนินงาน (Do)
1. ครูดาเนินการจัดกระบวนการเรยี นร้โู ดยใชค้ ู่มอื ครพู ระราชทาน ตามตารางการจัดการเรียนรู้
2. ดาเนนิ การสอนเสริมเติมเตม็ ในวิชาต่างๆ หลังบทเรยี น
3. สอบถาม ซกั ถาม แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ครกู ับนักเรยี น นกั เรียนกบั นักเรยี น และหาขอ้ สรปุ องคค์ วามรู้

ตามตัวชว้ี ดั ในแตล่ ะวชิ า
4. ปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน ใบความรู้ควบคูก่ บั คู่มอื ครูพระราชทาน
5. ครผู ้สู อนนากระบวนการเทคนคิ การสอนเขา้ มาใช้ควบคู่กนั เช่น การนากระบวนการเรยี นรู้ RBL

และกระบวนการ PDCA มาใชใ้ นกิจกรรมนาเข้าสู่บทเรยี น กระบวนเทคนคิ การสอนเพอ่ื หรือวิธกี ารเรียนรโู้ ดย
เทคนคิ การเรยี นแบบร่วมมอื (Cooperative Learning) วิธกี ารเรยี นรู้โดยเทคนคิ การเรยี นแบบบูรณาการ เป็น
ตน้
3. ขนั้ ตรวจสอบ ประเมนิ ผล (Check)

โรงเรียนทับโพธิพ์ ฒั นวิทยต์ ิดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลโดยคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี นซง่ึ นา
โดยนางจุฬาภรณ์ บญุ ศรี ผู้อานวยการโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทยแ์ ละคณะกรรมการนเิ ทศภายใน ดาเนนิ การ
ตดิ ตาม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของครู การบนั ทึกผลหลงั สอนของครทู ส่ี ะทอ้ นผลการเรียนรูท้ เี่ กิดขน้ึ นาไปสู่
การปรบั ปรุงและพัฒนาให้เกดิ ประสิทธิผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ทห่ี ลักสตู รกาหนดไวโ้ ดยผู้บริหาร
สถานศกึ ษาบันทึกผลการนิเทศเพื่อสรปุ ผลการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ อยา่ งไร มี
ปัญหา อุปสรรค อย่างไรบา้ ง นักเรียนได้รบั การพฒั นาเปน็ อย่างไร เพอื่ นาข้อมูลมาสง่ เสรมิ และพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนของครตู อ่ ไป

นอกจากน้ี ยงั มีคณะกรรมการนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลจากสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา
สรุ ินทร์ ซ่งึ นาโดย นายสาเริง บุญโต ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุรินทร์
ดร.สุเนตร ขวญั ดา รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ และศึกษานเิ ทศก์
จานวน 5 คน ไดม้ านเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลโรงเรียนทับโพธพิ์ ัฒนวทิ ยไ์ ดแ้ ก่ นายพิจิตร อตุ ตะโปน นางณฐั
กานต์ ปแี หล่ ดร.รวิชญุฒม์ ทองแมน้ นางพชรพรรณ ด่านวไิ ล และดร.วชั รา สามาลย์ ไดม้ าดแู ลระบบ นเิ ทศ
กากับ ตดิ ตาม และช่วยเหลือส่งผลใหโ้ รงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย์จัดการศกึ ษาโดยใช้สื่อการสอนทางไกลผา่ น
เทคโนโลยีสารสนเทศไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพบรรลุวัตถุประสงคต์ ามเปา้ หมายทตี่ ัง้ ไว้

78

4. ข้ันปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนา (Action)
โรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย์ได้ดาเนินการจัดประชมุ ทบทวนหลังการปฏิบตั ิงาน AAR (Action After

Review) เพอื่ วเิ คราะห์ผลการดาเนนิ งานการจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ การสะท้อนสู่
การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพสูงขึ้นต่อไปโรงเรยี นได้จดั ทารายงานประเมินผลการจดั การ
เรยี นร้ขู องครูท่ีสอนโดยใช้สื่อการสอนทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมถึงผลที่เกิดขนึ้ ในด้านต่างๆ เชน่
การปฏิรปู การสอนของครู การปฏริ ูปการเรียนรขู้ องนกั เรยี นการปฏริ ูปการบริหารจัดการมผี ลการดาเนินงาน
บรรลุเปา้ หมายอย่างมีประสทิ ธิภาพหรอื ไมม่ ีขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงแกไ้ ข พฒั นาอย่างไร

TPW Model RBL

4. ผลการดาเนินงาน/ประโยชน์ทไี่ ด้รบั
โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ยโ์ ดยแนวคิดทา่ นผอู้ านวยการโรงเรยี นได้จัดการเรยี นรู้ด้วยระบบการศกึ ษา

ทางไกล DLIT ควบค่ไู ปกบั กระบวนการเรยี นการสอน RBL ในทุกระดับชัน้ ต้ังแตร่ ะดบั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ประโยชนไ์ ดจ้ ากการจัดการเรยี นรู้ DLIT ควบคูไ่ ปกับกระบวนการเรียนการสอน
RBL ภายใต้การบรหิ ารงานตาม TPW Model และ PDCA จึงจัดกิจกรรมดงั กล่าวในทกุ ระดับชน้ั ซ่ึงจากผล
การดาเนนิ งานส่งผลใหน้ ักเรยี นและโรงเรยี นประสบผลสาเรจ็ ดงั น้ี

79

4.1 ผลทเี่ กิดกบั ผเู้ รยี น
1. นักเรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) เพ่มิ ข้นึ ในปีการศึกษา 2564 เม่ือ

เทียบกับปกี ารศึกษา 2563 รายละเอยี ดดงั นี้

ช้นั ปีการศกึ ษา ผลการเปรียบเทยี บ ผลการเปรยี บเทียบ ร้อยละ
(+,-)
มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 2563 2564 -
มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 -- - ลดลงน้อยกวา่ รอ้ ยละ 3
-0.80
28.34 27.54

ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

วชิ า ปีการศกึ ษา ผลการ ผลการเปรียบเทยี บ ร้อยละ

ภาษาไทย (91) 2563 2564 เปรียบเทียบ -
ภาษาอังกฤษ (93) -
คณิตศาสตร์ (94) (+,-) -
วิทยาศาสตร์ (95) -
-- - -
สรุป
-- -

-- -

-- -

-- -

ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2564 เทียบกับปีการศึกษา 2563

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6

วชิ า ปีการศึกษา ผลการ ผลการเปรยี บเทียบ ร้อยละ

2563 2564 เปรยี บเทยี บ

(+,-)

ภาษาไทย 38.79 39.61 0.82 เพิ่มขึ้นน้อยกว่ารอ้ ยละ 3

สงั คมศึกษาฯ 34.95 37.58 2.63 เพม่ิ ขน้ึ นอ้ ยกว่าร้อยละ 3

ภาษาอังกฤษ 21.91 17.01 -4.9 ลดลงมากกว่ารอ้ ยละ 3

คณิตศาสตร์ 18.26 12.92 -5.34 ลดลงมากกวา่ รอ้ ยละ 3

วทิ ยาศาสตร์ 27.78 30.57 2.79 เพม่ิ ขน้ึ นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 3

สรปุ 28.34 27.54 -0.80 ลดลงน้อยกว่ารอ้ ยละ 3

80

1. นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์เพิม่ สงู ข้นึ เมอื่ เทียบกบั ปกี ารศกึ ษาที่ผ่านมา
2. นักเรยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 100
3. นกั เรยี นมที กั ษะการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ร้อยละ 90
4. ครูสามารถจัดการเรียนร้ดู ้วยส่ือทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100
5. ครูไดร้ บั การนิเทศการจดั การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ รอ้ ยละ 100

4.2 ผลทเี่ กดิ กบั สถานศกึ ษา
1. เป็นโรงเรยี นขนาดเล็กท่ีมคี ุณภาพ สามารถเป็นตน้ แบบในการศึกษาดูงานจากในโรงเรยี นในเขตพื้นท่ี

และนอกเขตพน้ื ท่ี
2. โรงเรยี นเปน็ แหลง่ เรยี นรแู้ ละสรา้ งองค์ความรู้ให้นักเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา

4.3 ผลทีเ่ กดิ กับชุมชน
1. ผู้ปกครองชุมชนให้ความไว้วางใจต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน ทาให้จานวนนักเรียนเพม่ิ ข้ึน
2. ผปู้ กครองชุมชนให้ความชว่ ยเหลอื โรงเรียนในการพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรยี น

4.4 ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจากการนานวตั กรรมไปใช้
การพฒั นาการเรยี นการสอนโดยใช้เทคโนโลยกี ารศึกษาและการสือ่ สารในยคุ ปัจจบุ นั เป็นส่งิ จาเปน็

และเปน็ ประเด็นสาคัญท่ีต้องตระหนักและสร้างความพรอ้ มใหเ้ กิดข้นึ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในการจัดการศกึ ษา
ทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศน้ัน กลายเปน็ ยทุ ธศาสตรส์ าคญั ทน่ี ามาใช้ในการพฒั นาการจัดการศึกษาใน
ยุคโลกาภิวัฒน์ และการแก้ปญั หาการจัดการศึกษาในทกุ ๆ มิติได้ อย่างไรก็ตามประสทิ ธิผลและประสทิ ธภิ าพ
ของการจดั การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศย่อมขึ้นอยู่กบั การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดีมี
ขั้นตอน โดยการปรับใชป้ ระยุกต์ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละแหง่ เปน็ สาคญั โดยเน้น
ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ อีกทงั้ ยังต้องหากระบวนการจดั การเรียนรอู้ ื่นๆเพื่อนามาบูรณาการในการจดั การศกึ ษา ซึ่ง
จากการทโี่ รงเรียนทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ ได้จดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT รว่ มกบั
การบรู ณาการกระบวนการ TPW Model ส่งผลผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นาพร้อมกนั ในทกุ ๆดา้ นทงั้ รา่ งกาย จิตใจ
และสติปัญญา

81

5.ปัจจยั ความสาเรจ็

ยทุ ธศาสตร์ 4 5 6
ปัจจัยสาคญั ส่คู วามสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอนทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT

4 ข้อ พ้ืนฐาน ผู้บรหิ าร 5 ข้อ จดั ทา ครนู า 6 ขอ้ ปฏบิ ตั ิ

1.สภาพแวดลอ้ มของ 1.ตอ้ งวางแผนการบริหารจัดการ 1.จดั สภาพหอ้ งเรยี นใหเ้ หมาะสม เอ้ือตอ่

โรงเรียนและภายใน อย่างเปน็ ระบบ สง่ เสรมิ การปฏิบตั ิกจิ กรรมตามแผนการจัดการ

หอ้ งเรียนต้องสะอาด สนบั สนุน การจดั การเรียนการ เรยี นรู้

และเปน็ ระเบียบ สอนทางไกลผ่านดาวเทียมอย่าง 2.เตรียมการสอนลว่ งหนา้ ท้ังสื่อ วัสดุ

2.โทรทศั นข์ นาด จริงจัง และอานวย ความสะดวก อุปกรณ์ ใบงาน ใบความรแู้ ละกจิ กรรม

เหมาะสมกับห้องเรียน ใหก้ ารจัดการเรยี น การสอน เสรมิ ตามที่ค่มู ือครูสอนทางไกลผา่ น

และจานวนนักเรียน เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ ตอ้ ง เทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนด รวมทง้ั

ติดตง้ั โทรทัศน์ ใหม้ ี เป็นผูน้ าดว้ ยความมุ่งมั่น และ มอบหมายงานให้นกั เรียนเตรยี มพร้อมใน

นาพาครูทุกคน ทุกฝา่ ย การเรียนครัง้ ต่อไป

ยทุ ธศาสตร์ 4 5 6
ปจั จยั สาคญั สคู่ วามสาเรจ็ ในการจดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ DLIT (ต่อ)

ความสงู เหมาะสมกบั ตระหนัก เห็นความสาคัญและให้ 3.รว่ มจดั การเรียนรู้ไปพร้อมกับครูโรงเรยี น

ระดบั สายตานักเรียน ความรว่ มมอื ดาเนนิ การอยา่ งจริงจงั ตน้ ทางและตอ้ งเอาใจใส่ กากับ ดูแล

3.บทบาทของครตู ้อง ต่อเน่ือง แนะนานักเรียนให้ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเรียน

เอาใจใส่ กากับ ดแู ล 2.ต้องจัดหาระบบเครอ่ื ข่าย ทกุ ครง้ั

ชว่ ยเหลือนักเรียนทง้ั อนิ เตอร์เน็ตทเ่ี พยี งพอ เคร่ือง 4.สรุปสาระสาคัญรว่ มกบั นกั เรยี นหลงั จาก

ก่อนเรยี น ระหว่าง คอมพิวเตอรพ์ กพา และโทรทศั น์ กิจกรรมการเรยี นรสู้ ิ้นสดุ ลงและบนั ทกึ ผล

เรียน และ หลงั เรียน ขนาดเหมาะสมกับห้องเรยี นละ การจัดการเรยี นรูห้ ลงั สอนทกุ ครง้ั

4.นกั เรยี นต้องมสี ว่ น จานวนนักเรียน ติดตั้งโทรทัศน์ใหม้ ี 5.วดั และประเมินผลเม่ือกิจกรรมการเรยี นรู้

ร่วมกจิ กรรม และ ความสงู เหมาะสมกบั ระดบั สายตา สิน้ สุดในแต่ละครัง้ แต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้

ตั้งใจเรียนรู้ไปพร้อม นกั เรยี น ทาให้ทราบวา่ ผลการเรียนรูข้ องนักเรยี น

กับนกั เรยี นโรงเรยี น 3.ตอ้ งจัดหาคู่มอื ครสู อนทางไกล บรรลุจุดประสงค์การเรยี นรู้หรือไม่ เพอ่ื

ไกลกังวล ผา่ นดาวเทียม ปรับปรงุ แก้ไขตอ่ ไป

4.ต้องนเิ ทศ ตดิ ตาม การจดั การ 6.จดั กิจกรรมสอนซอ่ มเสรมิ นอกตารางเพอื่

เรียน การสอนทุกหอ้ งเรยี นอย่าง ช่วยเหลือนักเรียนท่ไี ม่บรรลจุ ดุ ประสงค์การ

สมา่ เสมอ เรียนรู้ หรือให้ความรเู้ พ่มิ เติมแก่นกั เรียน

82

6.บทเรียนทไ่ี ด้รบั
1.การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการสอนทาให้ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเพ่ิมขน้ึ
2.การปรับเปลยี่ นมาให้ความสาคญั กบั การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในพฒั นางานทาให้ผูเ้ รียนมี

ความสนใจมากย่งิ ข้ึน
3.การปฏิบัตงิ านท่เี ปน็ ระบบมีแนวปฏบิ ัตทิ ่ชี ัดเจน มกี ารสนบั สนนุ สง่ ผลให้งานบรรลผุ ลสาเร็จตาม

เป้าหมาย
4.การพัฒนางานรว่ มกนั ความจริงจงั ในการปฏบิ ัตงิ าน การทางานเปน็ ทีม การมีสว่ นรับผิดชอบ

ร่วมกนั ในการปฏิบตั งิ าน ความรว่ มมือร่วมใจ การเอาใจใส่ เสยี สละ การอุทิศตนของบคุ ลากร ส่งผลให้งาน
ประสบผลสาเร็จได้ผลงานทม่ี ีคุณภาพ
7.การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรบั /รางวัลท่ีได้รบั

โรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวทิ ย์ ไดน้ าเสนอ ผลการดาเนนิ งาน ผ่านโครงการความรว่ มมอื เพอ่ื พฒั นาระบบ
และกลไกการบริหารงานจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เพอื่ การประกันคุณภาพการศกึ ษา ประจาปี
2564 การจดั การเรยี นการสอนในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 โดยครไู ด้รบั รางวลั ตา่ งๆ
และร่วมแลกเปลยี่ นแนวปฏิบตั ิที่ประสบผลสาเรจ็ ระดับสถานศกึ ษา ณ สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
มัธยมศึกษาสรุ ินทร์ดังน้ี

-นายทรพั ย์ทวี โพธ์ิพันธ์ เรอ่ื ง การพฒั นาทักษะทางตา้ นการคดิ วเิ คราะห์และการแก้ปัญหา เร่อื ง
ประมวลผลขอ้ มลู ด้วยแบบฝกึ ทกั ษะการเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการ จัดการเรยี นรูใ้ ช้ปญั หาเป็นฐาน
(Problem-based Learning : PBL] ของนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย์

- นายทรัพย์ทวี โพธิ์พันธ์ รางวลั ระดบั เหรียญทอง การนาเสนอผลงานการจดั ทาโครงงานวชิ า
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี Best Practice (วิธปี ฏิบตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ ) ศูนย์พฒั นาวซิ าการกลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหกรรมวชิ าการมัธยมศึกษา สพม.สุรินทร์ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ปลุกพลังคดิ
แลกเปล่ยี นเรียนรู้ กระบวนการเปิดข้นั เรยี น PLC-LS

- นายธนวิชญ์ แสงราม รางวลั ระดบั เหรยี ญทอง การนาเสนอผลงานการจัดทาวจิ ัยในชนั้ เรยี นวชิ า
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Best Practice (วธิ ีปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลศิ ) ศนู ยพ์ ัฒนาวิซาการกลุม่ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหกรรมวชิ าการมธั ยมศึกษา สพม.สุรนิ ทร์ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ปลุกพลังคิด
แลกเปล่ียนเรียนรู้ กระบวนการเปิดขน้ั เรียน PLC-LS

- นางสาวลาจวน สีงาม รางวัลระดบั เหรียญทอง การนาเสนอผลงานการจัดทาวิจยั ในช้นั เรยี นวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Best Practice (วิธีปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ) ศูนย์พฒั นาวิซาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหกรรมวชิ าการมธั ยมศึกษา สพม.สรุ นิ ทร์ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ปลกุ พลังคิด
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ กระบวนการเปดิ ข้ันเรยี น PLC-LS

- นายอนชุ า ยอดงาม รางวัลระดบั เหรียญทอง การนาเสนอผลงานการกจิ กรรมการเรยี นรู้วชิ า
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี Best Practice (วิธีปฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ ) ศนู ยพ์ ฒั นาวซิ าการกลมุ่ สาระการเรียนรู้

83

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหกรรมวชิ าการมธั ยมศึกษา สพม.สุรินทร์ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ปลกุ พลังคดิ
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ กระบวนการเปดิ ขัน้ เรียน PLC-LS

- นายวีรเดช มะแพทย์ รางวลั เครอื่ งหมายเชิดชูเกียรติ “ครุ สุ ดดุ ี” ประจาปี 2564 ประกาศโดย
คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี ครุ สุ ภา ลงวนั ที่ 20 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 หน้า 27 ลาดับท่ี 706

- นายวีรเดช มะแพทย์ ผ้บู ังคบั บญั ชาลกู เสือดีเดน่ ประจาปี 2564 ประเภทผสู้ อน ประกาศ
สานักงานลกู เสือแห่งชาติ ลงวันท่ี 3 ธนั วาคม 2564 หน้าที่ 51 สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
สุรนิ ทร์ ลาดับที่ 3

-นายวรี เดช มะแพทย์ รับพระราชทายนเหรยี ญลกู เสือย่งั ยนื ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา 27 ธ.ค.
2564 เลม่ ท่ี 138 ตอนที่ 60ข หน้า 8 ลาดบั ที่ 312

-นายวรี เดช มะแพทย์ รางวลั ครผู ู้สอนดเี ด่น ด้านการส่งเสริมการจัดการเรยี นรเู้ พศวถิ ีศึกษาและ
ทักษะชีวิต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ลงวันท่ี
23 กนั ยายน 25654 หนา้ ที่ 23 ลาดับท่ี 459

- นางสาวลาจวน สงี าม รางวลั เหรยี ญทอง ครผู ู้สอนยอดเยย่ี ม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลมุ่ วิชา
วิทยาศาสตร์ ด้านวชิ าการ การประกวดรางวลั หน่วยงานและผมู้ ผี ลงานดเี ดน่ ประสพผลสาเรจ็ เปน็ ที่ประจักษ์
เพือ่ รับรางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั้ ที่ ๑๐ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ระดบั ภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (ฝา่ ยมธั ยม) ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 22 กนั ยายน 2564

- นายทรพั ยท์ วี โพธพิ์ ันธ์ รางวัลเหรียญเงิน ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ครูผูส้ อนยอดเยี่ยม
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กลุ่มวิชาเทคโนโลยี ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นการสอน สพฐ.
(OBEC AWARDS) ครงั้ ที่ ๑๐ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โดยสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 22 กนั ยายน 2564

-นายธนวิชญ์ แสงราม รางวลั เหรียญทอง ชนะเลศิ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ฝา่ ยมธั ยม)
รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครั้งที่ 10 ประจาปีการศึกษา 2563 รายการ ครผู ู้สอนยอดเยยี่ ม
ส่งเสรมิ การใช้นวัตกรรมการจดั การเรยี นรทู้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ด้าน
นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นการสอน โดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ใหไ้ ว้ ณ
วันที่ 22 กันยายน 2564

-นายวีรเดช มะแพทย์รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (ฝ่ายมธั ยม)
รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ครงั้ ที่ 10 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 รายการ ครูผู้สอนยอดเยีย่ ม
ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมการจดั การเรียนรทู้ างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ดา้ น
นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นการสอน โดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ใหไ้ ว้ ณ
วันท่ี 22 กันยายน 2564

84

-นายธนวิชญ์ แสงราม รางวลั เหรียญทอง รองชนะเลิศ ระดบั ชาติ รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC
AWARDS) ครัง้ ที่ 10 ประจาปกี ารศึกษา 2563 รายการ ครผู ูส้ อนยอดเยยี่ ม ส่งเสริมการใช้นวตั กรรมการ
จัดการเรยี นรทู้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การ
เรยี นการสอน โดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ประกาศ ณ วนั ท่ี 18 เมษายน 2565

-นายวีรเดช มะแพทย์ รางวลั เหรียญทอง รองชนะเลิศ ระดับชาติ รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC
AWARDS) ครัง้ ท่ี 10 ประจาปีการศกึ ษา 2563 รายการ ครผู ู้สอนยอดเยีย่ ม สง่ เสริมการใชน้ วัตกรรมการ
จัดการเรยี นรูท้ างไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่อื
การเรียนการสอน โดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ ณ วันท่ี 18 เมษายน 2565

-นายชยั ณรงค์ แสงอทุ ยั รางวลั ครูผูส้ อนดเี ด่น ดา้ นการสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นร้เู พศวถิ ีศึกษาและ
ทักษะชีวติ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ประกาศสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ลงวนั ที่
23 กันยายน 25654 หนา้ ท่ี 23 ลาดับท่ี 458

85

ภาคผนวก

-ภาพประกอบการรายงานประจาปี 2564 ตามมาตรฐานทัง้ 3 มาตรฐาน
-ประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา/กาหนดคา่ เป้าหมาย/อัตลกั ษณ์/เอกลกั ษณ์
-กาหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
-ประกาศแตง่ ตัง้ คณะกรรมการตดิ ตามตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
โดยผูท้ รงคุณวุฒิ /คณะตรวจสอบคุณภาพการเขียนรายงานประจาปขี องสถานศึกษา

86

ภาพประกอบการรายงานประจาปี 2564 ตามมาตรฐานทง้ั 3 มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น

1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรยี น
กจิ กรรมปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษาประจาปีการศึกษา 2564

87

กิจกรรมการเรยี นการสอนประจาปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนเพ่อื ใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานและเป้าหมายท่ีกาหนด มีการจัดหาส่อื และอุปกรณ์ต่างๆทที่ ันสมัยท้งั รูปแบบ
การเรียนการสอน On site และการเรยี นการสอนรูปแบบ On line ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ

โรค โควิด-19

88

โรงเรียนมกี ารจดั การเรียนการสอนเพอื่ ให้เกดิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานและเป้าหมายท่ีกาหนด มีการจดั หาส่อื และอุปกรณ์ต่างๆที่ทนั สมยั ทั้งรูปแบบการ
เรียนการสอน On site และการเรียนการสอนรูปแบบ On line ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โค

วิด-19 ออกแบบกจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น

89

1.2 คุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น

โรงเรยี นมีการจัดกจิ กรรมอยา่ งหลากหลายในด้านการพฒั นาคุณธรรม
จรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

90

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผ้บู ริหารสถานศึกษา

1) เป้าหมายวิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนดชดั เจน

2) มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา

91

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา

ผ้มู บี รหิ ารใช้กระบวนการบริหารงานตาม PDCA และตอบสนองตอ่ นโยบายทางการศึกษาอย่างเต็มท่ี

92

93

94

95

96

3) ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย

97

4) พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ

98

5) จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เออื้ ต่อการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ

โรงเรียนมกี ารสงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพท้งั ภายนอกและภายในหอ้ งเรียนให้สะอาดร่มรืน่ มีการจดั หาสอื่
และอุปกรณ์ตา่ งๆท่ีทันสมยั ทัง้ รูปแบบการเรียนการสอน On site และการเรียนการสอนรปู แบบ On line

ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค โควดิ -19 ออกแบบกจิ กรรมให้เหมาะสมกับผูเ้ รียน

99

6) จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้

โรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวิทย์

งานวิชาการและงานทะเบยี น
วดั ผล โรงเรียนทับโพธิพ์ ฒั นวิทย์

ระบบดแู ลช่วยเหลือ
โรงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย์


Click to View FlipBook Version