2 รายงานประจําปี เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ______________ สํานักงานบรหิารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานประจําปี เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565
รายงานประจําปี เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ____________ ลิขสิทธิ์ของสํานักงานบรหิารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 978-616-564-193-7 พิมพ์ครั้งแรก ธันวาคม 2566 จัดพิมพ์โดย สํานักงานบรหารพื ิ้นที่นวตกรรมการศึกษา ั ชั้น 6 อาคารรัชมังคลาภิเษก 2 กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดําเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท์ 09 4998 5062 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์[email protected] www.EduSandbox.com พิมพ์ที่บร ิษัท ไอเดียนาลีน มีเดีย โซลูชั่น จํากัด (สํานักงานใหญ่) เลขที่ 88/16 หมู่ที่ 3 ตําบลบางกะดีอําเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี12000 โทรศัพท์02 102 0820
บทสรุปผู้บร ิหาร รายงานประจําปีเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 เล่มนี้ ได้มาจากการรวบรวม ศึกษา ว ิเคราะห์และสังเคราะห์ เอกสารรายงานผลการดําเนินงานของณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และเอกสาร ก าร ติ ด ต า ม ก าร บร ิห าร ง บ ปร ะ ม าณใ นพื้ น ที่ นวัตกรรมการศึกษา (โครงการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาตาม พ.ร.บ. พื้นที่นวัตกรรม การศึ กษา พ.ศ. 2562 ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566) เพื่อนําเสนอผลการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาซึ่งคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้ร่วมกับหน่วยงานของ ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โ ด ย อ า ศั ย พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ พื้ น ที่ น วั ต ก ร ร ม การศึกษา พ.ศ. 2562 ในการดําเนินการร่วมกัน ในการปฏิรูปการบร ิหารและการจัดการศึกษา ของประเทศให้เกิดความก้าวหน้า ผลลัพธ์ และ แนวปฏิบัติทีม่ีความเปน็เลิศ อีกทัง้สามารถขยายผล ไปสู่สถานศึกษาอื่น ๆ โดยเนื้อหาแบ่งออกเป็น 3 บท ได้แก่ 1) ข้อมูลพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2) การดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในระดับนโยบาย 3) การดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในระดับพื้นที่ การดําเนินการในระดับนโยบาย ในปีการศึกษา 2565คณะกรรมการนโยบาย พื้ น ที่ น วั ต ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด้ มี ก า ร ป ร ะ ชุ ม 4 ครั้ง ซึ่งมีเร่อืงเพื่อทราบ จํานวน 38 เร่อืง เร่อืงเพื่อพิจารณา จํานวน 17 เร่อืง และเร่อืงอื่น ๆ จํานวน 3 เร่อืง การดําเนินงานในระดับพื้นที่ ในการปีการศึกษา 2565 คณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ซึ่งมีหน้าที่ และอํานาจตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ได้มีการ ดําเนินการภาพรวมทั้ง 8 พื้นที่ (เดิม) คิดเป็นร้อยละ 75.89 อยู่ในระดับมาก โดยพื้นที่ที่มีการดําเนินการ จากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ได้แก่ ศร ีสะเกษ ระยอง กาญจนบุร ีปัตตานีนราธิวาส เชียงใหม่ สตูล และยะลา โดยคิดเป็นร้อยละ 89.28, 85.71, 82.14, 82.14, 75, 71.42, 67.85 และ 53.57 ตามลําดับ โดยมีการดําเนินการงานเพื่อให้บรรลุ วัตรประสงค์ตามมาตรา 5 ในแต่ละพื้นที่ ดังนี้ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด กาญจนบุร ีอาทิ(1) การจัดการประกวด “สุดยอด นวัตกรรมกาญจน์” เพื่อเผยแพร่ผลงานสื่อและ นวัตกรรมที่ประสบความสําเร็จ (2) สร้างภาคีเคร ือข่าย ความร่วมมือในการระดมทรัพยากรและสรรพกําลัง เพื่อการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพให้แก่ผู้เร ียน (3) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร (4) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา จังหวัดก าญ จนบุร ี(5) ปรับยุท ธศ าสตร์ ก าร ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี พ.ศ. 2563-2567ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด เชียงใหม่ อาทิ(1) การกําหนด 6 สมรรถนะผู้เร ียน “ละอ่อน เจียงใหม่”(2) พัฒนาการจัดการเร ียน การสอนให้กับผู้เรยีนกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาถิ่น (3) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร (4) พิจารณาหลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษา นําร่อง (5) จัดทําข้อเสนอปรับปรุงหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการบร ิหารงานบุคคลสําหรับสถานศึกษา นําร่องที่มีการใช้นวัตกรรมทว ิ/พหุภาษา
พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส อาทิ(1) การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา โดยใช้ กระบวนการว ิจัย “การพัฒนากลไกเคร ือข่ายความ ร่วมมือของทุกภาคส่วน อย่างยั่งยืนเพื่อขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่หนุนเสร ิมยุทธศาสตร์ การศึกษาสู่การพัฒนาคุณภาพครูและคุณภาพ ผู้เร ียนจังหวัดนราธิวาส” (2) กําหนดยุทธศาสตร์ สนับสนุนสถานศึกษาให้จัดการศึกษาที่เหมาะสมกับ บร ิบทของพื้นที่ (3) ส่งเสร ิมและสนับสนุนให้เกิดการ ปรับหลักสูตร (4) จัดกิจกรรมห้องปฏิบัติการการ เ ร ีย น รู้ ( Learning Lab) และ Open mind (5) จัดทําแนวทางการวัดและประเมิน ผลสมรรถนะ พื้นฐานและ แนวทางการวัดและประเมินผลสมรรถนะ หลักของผู้เร ียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ ร่างหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. …. (6) พัฒนา ร ะบบ ก ารปร ะ กั นคุ ณภ าพ ก ารศึ กษ าภายใน สถานศึกษาของสถานศึกษานําร่อง พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี อาทิ(1) การกําหนดว ิสัยทัศน์“นวัตกรรมการศึกษา พัฒนาคุณภาพ สู่พลเมืองอัจฉรยิะปตัตานีอย่างยั่งยืน” ส่งเสร ิมการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา สอดคล้อง กรอบหลักสูตร “Pattani Heritage” และ“SMART+I” ให้สถานศึกษานําไปใช้(2) ส่งเสร ิมและสนับสนุน ให้เกิดการปรับหลักสูตร (3) พัฒนาทักษะการเร ียนรู้ ของเด็กบกพร่องในการรับรู้ (LD) และกลุ่มเด็ก สมาธิสั้น (ADHD) ในพื้นที่จังหวัดปัตตานีโดยเคร ือข่าย ความร่วมมือแบบพหุองค์กร” (4) ดําเนินโครงการ ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สู่สถานศึกษานําร่อง พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีโครงการ พัฒนานวัตกรรมการบร ิหารจัดการสถานศึกษา โดยใช้OKRs และการนิเทศยกระดับคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดปัตตานี(5) กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ออกแบบการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (9) ก ารทบทวนแ ล ะพัฒน าแผนยุทธศาสตร์พื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีพ.ศ. 2566 - 2568 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา อ าทิ(1) ก ารกํ าหนดกร อบห ลัก สูตร จั งหวัด “มุ่งให้เด็กยะลารัก (ษ์) ยะลาและเป็นพลเมืองที่ เข้มแข็ง โดยใช้ฐานภาษาและการเร ียนรู้สู่การสร้าง อาชีพในสังคมแห่งความสุข” (2) “สานพลังเคร ือข่าย จัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อส่งเสร ิมการรู้หนังสือ ของนักเร ียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด ยะลา” (3) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร (4) จัดกิจกรรม Learning Lab (ห้องปฏิบัติการ การเร ียนรู้ทางสังคม (5) ร่วมดําเนินโครงการจัด การศึกษาเพื่อฟื้นฟูภาวะการถดถอยทางการเรยีนรู้ สําหรับนักเร ียนยากจนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดยะลา (9) ร่วมดําเนินการพัฒนาเคร่อืงมือวัด ผ ล ลัพ ธ์ ก ารเร ีย นรู้ ข อ ง นั กเร ีย นใ นร ะ ดั บชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ บูรณาการสังคม-ว ิทยาศาสตร์) กับหน่วยงาน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง อาทิ(1) การยกระดับคุณภาพการศึกษา และคิดค้น พัฒนาเป็นนวัตกรรมการเร ียนรู้กระบวนการว ิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนา น วั ต กรร ม ก ารเร ีย นรู้ ที่ ส่ งเ สร ิม คุณ ลั กษณ ะ ความเป็นผู้ประกอบการ (2) ประกาศแผนยุทธศาสตร์ การศึกษาจังหวัดระยองที่มุ่งจัดการศึกษาสําหรับคน ทุกช่วงวัย (3) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพิ่มเติม (4) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับ หลักสูตร (5) พัฒนาสมรรถนะความเป็น Digital Learner และลดความเหลื่อมลํ้า (6) จัดทําข้อเสนอ ร่างหลักเกณฑ์และวธีิการคัดเลือกเพื่อบรรจุแต่งตั้ง เข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตําแหน่งครูผู้ช่วยกรณีที่มีความ จําเป็นหร ือมีเหตุพิเศษอื่น พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยอง (7) สร้างกลไกระบบโค้ชในพื้นที่ (Node & Network) ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring (8) สร้างความรู้ความเข้าใจ ในการพัฒนาตามองค์ประกอบของหลักสูตร (9) พัฒนากลไกและโครงสร้างการดําเนินงาน เสร ิมแรงสถานศึกษานําร่อง (10) ดําเนินโครงการ
พัฒนารูปแบบการปรับกระบวนทัศน์ทางการศึกษา และเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนานวัตกรรม การศึกษา และ (11) พัฒนาผู้บร ิหารและคณะครู ในสถานศึกษานําร่องให้มีความเป็นผู้นําทางว ิชาการ และมีแนวทางในการดําเนินการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา บูรณาการกรอบหลักสูตรจังหวัดระยอง Rayong MARCO พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรสีะเกษ อาทิ(1) ส่งเสร ิมและสนับสนุนให้สถานศึกษา คิดค้นทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรม การศึกษา ซึ่งได้ส่งเสร ิมและพัฒนาสถานศึกษา รวมทั้งขยายผลนํานวัตกรรมการศึกษามาใช้ ในการจัดการเร ียนรู้ 9 ประเภท ได้แก่ นวัตกรรมเชิง ระบบ (จิตศึกษา PBL และ PLC) การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning) (การจัดการเร ียนรู้แบบมอนเตสซอร ี (Montessori) (การจัดการเร ียนรู้แบบองค์รวม (Holistic Learning) นวัตกรรมการศึกษาชันเร้ยนี (Lesson Study) และ ว ิธีการแบบเปิด (Open Approach) (6) นวัตกรรม เพาะพันธุ์ปัญญา (7) การจัดการเร ียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) (8) นวัตกรรมการเร ียนรู้ บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) และ (9) นวัตกรรมการสอนคิด Thinking School/นวัตกรรมเชิงพื้นที่ (คิดค้นพัฒนาเอง) (2) สนับ สนุนให้ ส ถ านศึ กษ าทุ กแห่ งเ ลื อ กใ ช้ นวัตกรรมซื้อสื่อ หนังสือ ตําราเร ียน ได้อย่างอิสระ (3) ข้อรับงบประมาณสนับสนุน (4) ส่งเสร ิม สนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร (5) กําหนด เป้าหมายการพัฒนาคน“ศร ีสะเกษ ASTECS” (6) พัฒนาโรงเร ียนแกนนําขยายผลเคร ือข่าย (7) ลงพื้นที่ติดตามการดําเนินงานวาระนวัตกรรม ก า ร ศึ ก ษ า โ ร งเ ร ีย นเ ป ลี่ ย น แ ป ล งเ ชิ ง ร ะ บ บ นวัตกรรมจิตศึกษา PBL และ PLC (8) ดําเนิน โคร งก าร ยกร ะดับก ารศึกษ า ให้ ได้ม าตร ฐ าน (9) กําหนดกรอบเคร่อืงมือการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เร ียนและ (10) วางแผน การดําเนินการออกแบบการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล อาทิ(1) ส่งเสร ิมและสนับสนุนให้สถานศึกษาคิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการศึกษา 4 ประเภท ได้แก่ การจัดการเร ียนรู้แบบโครงงาน ฐานว ิจัย การจัดการเร ียนรู้โดย “ครู 3 เส้า” ชุมชน แห่งการเร ียนรู้ทางว ิชาชีพ และหลักสูตรสิ่ งแวดล้อม (Eco School) (2) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพิ่มเติม (3) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับ หลักสูตร (4) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา (5) กําหนดสมรรถนะหลักของสถานศึกษาเพิ่ มเติม (6) พิจารณาคู่มือการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ ท า ง ก าร ศึ กษ าตามหลั กสูตรสถานศึ กษาฐาน สมรรถนะ (7) พิจารณาระบบบร ิหารคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษานําร่อง (8) จัดอบรม เชิงปฏิบัติการวัดและประเมินผลบนฐานนิเวศการ เร ียนรู้สตูล (9) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทําผลงาน เพื่อการประเมินว ิทยฐานะของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา และ (10) ลงพื้นที่ ติดตามเพื่อสร้างความเข้าใจการทํางานเชิงพื้นที่ และรับฟังความต้องการของสถานศึกษา
คํานํา พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 มีเหตุผลในการตราพระราชบัญญัตินี้ คือ โดยสมควรต้องพัฒนา การจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานอันเป็นรากฐานสําคัญของการพัฒนา คนไทย ให้มีคุณภาพ มีความใฝ่รู้มีความคิด สร้างสรรค์มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถ อยู่และทํางานร่วมกับผู้อื่นซึ่งมีความแตกต่าง หลากหลายได้มีความรู้เท่าทันโลก และมีทักษะ ในการประกอบอาชีพตามความถนัดของผู้เร ียน แต่ละคน และให้รัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ร่วมกันพัฒนา คุณภาพและประสิทธิภาพและลดความเหลื่อมลํ้าใน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างแท้จร ิง สมควร กําหนดให้มีพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ซึ่งเป็นพื้นที่ ปฏิรูปการบร ิหารและการจัดการการศึกษาขึ้น เพื่ อ ส นับ ส นุ น ก าร สร้ า งนวัตกรรมการศึกษา อันเป็นการนําร่องในการกระจาย อํานาจและให้อิสระ แก่หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาขัน้พืน้ฐาน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพและ ลดความเหลื่อมลํ้า รวมทั้ง มีการขยายผลนวัตกรรม การจัดการเร ียนการสอนและว ิธีการปฏิบัติที่ดี ไปใช้ในสถานศึกษาอื่น มาตรา 5 กํ าหนดว่ า “พื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจัดตังขึ้นเพื้ อวัตถุประสงค์ ่ ” 1) คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ศึกษาของผู้เรยีน รวมทั้งเพื่อดําเนินการให้มีการ ขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขันพื้นฐานอื้น่ 2) ลดความเหลื่อมลํ้าในการศึกษา 3) กระจายอํานาจและให้อิสระแก่หน่วยงาน ทางการศึกษาและสถานศึกษานําร่องในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาเพื่อเพิ่ มความคล่องตัวในการ บร ิหารและการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพยิงขึ่น้และ 4) สร้างและพัฒนากลไกในการจัดการศึกษา ร่วมกันระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา รายงานประจําปีเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 เล่มนี้ ได้มาจากการรวบรวม ศึกษา ว ิเคราะห์และสังเคราะห์ เอกสารรายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และเอกสาร ก า ร ติ ด ต า ม ก า ร บ ร ิห า ร ง บ ป ร ะ ม าณใ นพื้ น ที่ นวัตกรรมการศึกษา (โครงการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาตาม พ.ร.บ. พื้นที่นวัตกรรม การศึกษา พ.ศ. 2562 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566) เพื่อนําเสนอผลการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา ซึ่งคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้ร่วมกับหน่วยงาน ของภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โดยอาศัยพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ในการดําเนินการร่วมกันในการปฏิรูป การบร ิหารและการจัดการศึกษาของประเทศ ให้เกิดความก้าวหน้า ผลลัพธ์ และแนวปฏิบัติ ที่มีความเป็นเลิศ อีกทั้ง สามารถขยายผลไปสู่ สถานศึกษาอื่น ๆ โดยเนื้อหาแบ่งออกเป็น 3 บท ได้แก่ 1) ข้อมูลพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2) การดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในระดับนโยบาย 3) การดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในระดับพื้นที่ บรรณาธิการ
สารบัญ คํานํา สารบัญ Chapter 1 1 ข้อมูลพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา • ที่มาและความสําคัญ 1 • เป้าหมายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2568 4 • นโยบายยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา 7 • รูปแบบการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 10 • คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 12 • คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 18 • จํานวนสถานศึกษานําร่อง 79 Chapter 2 81 ผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในระดับนโยบาย • คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 81 • สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 85 Chapter 3 95 ผลการดําเนินงานในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา • ภาพรวมการดําเนินงานตามมาตรา 20 96 • ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 19 พื้นที่ 98 o ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8 พื้นที่ (เดิม) 98 o ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 11 พื้นที่ ( 149 ภาคผนวก 152 • พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 • กฎหมายลําดับรองตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 และหนังสือที่เกี่ยวข้อง • คณะผู้จัดทําและบรรณาธิการกิจ • เอกสารอ้างอิง
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 1 Chapter 1 ข ้ อม ู ลพ ื ้ นท ี่ นว ั ตกรรมการศ ึ กษา ที่มาและความสําคัญ ประเทศไทยจําเป็นต้องพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างเร่งด่วนให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ท า ง ส ังค มแ ล ะเศรษ ฐ กิจใ นศตวรรษที ่ 21 แต่การยกระดับคุณภาพการศึกษายังไม่ประสบ ผลสําเร็จ เห็นได้จากผลการทดสอบระดับชาติ และนานาชาติโดยเฉพาะผล PISA 2015 ที ่สะท้อนว ่า นักเร ียน ไทยจํานวนมากยังขาด คว าม ส าม าร ถใน ก าร อ ่าน จับใ จคว ามแ ล ะ ไม ่ส าม ารถปร ะ ย ุกต์ใช้คว ามรู ้คณิตศ าสตร์ และว ิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาอย ่างง ่าย ในชีว ิตประจําวัน ได้ซึ ่งระบบการศึกษา ไทย จะต้องปรับตัวและทําหน้าที ่เตร ียมความพร้อม ให้กับคนรุ่นใหม่ทั้งในด้านเจตคติทักษะ ความรู้ เป็นสิ่ ง สํา คัญจํา เป็นอ ย่า ง ยิ่ ง สําหรับก า ร ดํารงชีว ิตและการทํางานในปัจจุบันการปฏิรูป การศึกษาที ่ผ ่านมาส ่วนใหญ ่มุ ่งปฏิรูปในระดับ ประเทศ เพื ่อให้เกิดการเปลี ่ยนแปลงการศึกษา ทั้งระบบ แต่การปฏิรูปในแนวทางนี้มักสร้าง ต้นทุนในการปรับตัวค ่อนข้างสูงและไม ่ได้นํา ไปสู่การพัฒนาคุณภาพการเรยีนรู้รวมทั้ง
2 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 อ า จ มีผ ล ก ร ะ ท บ เ ชิง ล บ ที่ไ ม่ไ ด้ตั้ง ใ จ ต่อ สถานศึกษาและครูทั่วประเทศ ขณะเดียวกัน ได้มีองค์กรต่าง ๆ ได้พยายามยกระดับการศึกษา ของสถานศึกษาโดยพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการบร ิหารจัดการเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง การเร ียนรู้ในห้องเร ียนโดยตรง แต่นวัตกรรม เหล่านั้น ไม่ได้แพร่กร ะ จ า ย สู ่ส ถ า น ศึก ษ า โดยทั่วไป ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะปัจจัยเงื่อนไข ในด้านนโยบาย กฎ และระเบียบภาครัฐ และ การสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถ ของครูในสถานศึกษาทั่วไป ดังนั้น การปฏิรูป ระดับพื้นที ่ จึงน ่าจะเป็นคําตอบที ่จําเป็นในการ พัฒน าค ุณภ าพก ารศึกษ า ไท ย เพ ร า ะเ ป ็น การส ่งเสร ิมจุดแข็งและลดข้อจํากัดของการ ปฏิรูปทั้งระดับประเทศและระดับสถานศึกษา โดยการปฏิรูปร ะดับพื ้นที ่สามารถขยายผล นวัตกรรมการศึกษาและการบร ิหารจัดการ ในวงกว้างผ่านการลดกฎ ระเบียบที่เป็นอุปสรรค ซึ ่งแนวทางนี ้มีความเสี ่ยงตํ่ากว ่าการปฏิรูป ระดับประเทศ เพราะจํากัดผลกระทบเชิงลบ ที ่อ า จเ กิด ขึ ้น ไว ้ในพื ้นที ่ ในกรณีการปฏิรูป ไม ่ประสบผลสําเร็จและยังสามารถปรับเปลี ่ยน แนวท างในก ารดําเนินง าน ได้อ ย ่างรวดเร็ว และต ่อเนื ่องจนประสบความสําเร็จ แล้วนําไป ขยายผลทั้งประเทศ นอกจากนี ้การปฏิรูป ใ น ร ะ ด ับ พื ้น ที ่ย ัง เ ป ิด โ อ ก า สใ ห ้ร ัฐ อ งค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่ น ชุมชน องค์กรประชาสังคม และภาคธุรกิจในท้องถิ่ นได้มีส่วนร่วมในการร่วม พัฒนาก ารศึกษาให้สอดคล้องกับว ิสัยทัศน์ ในการพัฒนาคนและบร ิบทพื้นที่ จากการดําเนินการก่อนมีพระราชบัญญัติ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา หล า ย จังหวัดมีกล ไกในก ารขับเคลื ่อนพื ้นที่ ที ่ไม ่เป็นทางการ เช ่น สภาการศึกษาจังหวัด อย่างไรก็ตาม กลไกเหล่านี้ต้องการการเชื่อมต่อ เพื ่อนํา ไป สู ่ก ารปฏิรูปในร ะดับ ส ถ านศึกษ า ซึ ่งอยู ่ภายใต้การดูแลของเขตพื้นที ่การศึกษา แม้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ได ้ร ิเร่ มิ ปฏิรูประดับพื้นที่โดยมุ่งหมายที่จะ กระจายอํานาจให้เขตพื้นที่การศึกษา แต่ปัจจุบัน สํานักงานเขตพื้นที ่การศึกษาและสํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด ยังไม ่สามารถแก้ไขปัญหา และส ่งเสร ิมการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการบร ิหารจัดการของสถานศึกษาได้อย ่าง เบ็ดเสร็จภายในพื้นที่ การเสนอจัดตั้ง “พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” เป็นพื้นที่ปฏิรูปจะช่วยให้ประเทศให้สามารถปรับ นโยบาย กฎ และระเบียบต่าง ๆ ได้อย่างคล่องตัว เพื่อลดอุปสรรคในการจัดการศึกษา เพิ่ มขีด ความสามารถในการบร ิหารจัดการของเขตพื้นที่ การศึกษาให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการกระจาย อํานาจตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 เมื่อการปฏิรูปในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประสบความสําเร็จ สามารถขยายผลนวัตกรรม การศึกษาและการบร ิหารจัดการสู ่สถานศึกษา ขั้นพื้นฐานอื่น ตลอดจนนําเสนอนโยบายเพื่อพัฒนา การศึกษาของประเทศต่อไป ในการดําเนินการ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให้มีเสถียรภาพในการ บร ิห าร จ ัด ก ารแ ล ะ ก าร ส น ับ ส น ุน ส ่งเ สร ิม การปฏิรูประดับประเทศและระดับสถานศึกษา จึงมีการเสนอให้มีการตราพร ะร าชบัญญัติ พื้นที ่นวัตกรรมการศึกษา โดยเชื ่อม โยงกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ อีกทั้ง กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายเพิ่ มคุณภาพ และประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา ลดความ เหลื่อมลํ้าทางการศึกษา ส่งเสร ิมให้ทุกภาคส่วน ร ่วมกันจัดการศึกษา จึงจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาขึ้น เพื ่อส่งเสร ิมให้สถานศึกษานําร่อง มีอิสระในการจัดหลักสูตร การจัดการเร ียนการสอน
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 3 การบร ิหาร จัดการที ่มีความคล ่องตัว ให้ครูใช้ เวลาในการพัฒนานักเร ียนอย ่างเต็มที ่ครูและ บุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาให้มี ค ุณภ าพ สูง มีก ารคิดค ้นพัฒน านวัต กรร ม การศึกษาที่เหมาะสมกับบร ิบท และสามารถขยาย ว ิธีปฏิบัติที่ดีมีประสิทธิภาพของสถานศึกษานําร่อง ไปยังสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่นได้ มติสภาการศึกษาในการประชุม ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2561 ให้สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณา รับเร่อืงพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็นโครงการ ตามนโยบายและดําเนินการ ซึ่งถูกเสนอโดยภาคี เพื ่อ ก าร ศึกษ า ไ ท ย (Thailand Education Partnership : TEP) ผ่านคณะกรรมการอิสระ เพื่อการปฏิรูปการศึกษา และมติที่ประชุมผู้บร ิหาร องค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 ให้จัดตั้งพื้นที่นวัตกรรม การศึกษานําร่องให้ครบ 6 ภาค และนําไปสู่การ ประกาศใช้พระราชบัญญัติพื ้นที ่นว ัต กรร ม การศึกษา พ.ศ. 2562 (ประกาศใช้เมื ่อวันที ่ 30 เมษายน 2562) โดยเร่ มิแรกประกอบด้วย 8 พื้นที ่ และต่อมาได้มีการประกาศเพิ่ มเติมอีก 11 พื้นที ่ ส ่งผลให้ปัจจุบัน มีพื้นที ่นวัตกรรม การศึกษา จํานวน 19 พื้นที่ โดยแบ่งเป็น (1) พื ้นที ่นวัตกรรมการศึกษาต ามที่ กระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด จํานวน 8 พื ้น ที ่ ไ ด ้แ ก ่ จ ัง ห ว ัดเ ช ีย งใ ห ม ่ จ ัง ห ว ัด กาญจนบุร ีจังหวัดศร ีสะเกษ จังหวัดระยอง จังหวัดสตูล จังหวัดป ัตต านีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส และ (2) พื้ นที่นวั ตกรรมก ารศึ กษ าต ามที่ คณ ะรั ฐมนตร ีประกาศ จํ านวน 11 พื้ นที่ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดกระบี ่ จังหวัด จันทบุร ีจังหวัดตราด จังหวัดภูเก็ต จังหวัด แม ่ฮ ่องสอน จังหวัดสงขลา จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสุโขทัย จังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัด อุบลราชธานี
4 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 5 เป้าหมายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2564 - 2568 คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในการประชุม ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2564 มีมติเห็นชอบเป้าหมายการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2568 ซึ่งเป้าหมายดังกล่าว แบ่งเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย (1) เป้าหมายการขยายผลของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และ (2) เป้าหมาย การพัฒนาเชิงคุณภาพของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ซึ่งแต่ละส่วนมีรายละเอียดดังนี้ เป้าหมายการขยายผลของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา แบ ่งเป็น 3 ลักษณะ ได้แก ่ (1) เพิ่ มสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเดิม (2) เพิ่ มจังหวัดใหม่ให้ได้รับการประกาศ เป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และ (3) ถอดบทเรยีนและขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น ซึ่งแต่ละลักษณะมีรายละเอียดดังนี้ 1. เพิ่มสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเดิม 1.1 เป้าหมายการขยายผลในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กลุ่มที่ 1 (ศร ีสะเกษ ระยอง สตูล) คือ ร้อยละ 80 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดที่เป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กลุ่มที่ 1 (ศรสีะเกษ ระยอง สตูล) เข้าร่วม เป็นสถานศึกษานําร่อง 1.2 เป้าหมายการขยายผลในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กลุ่มที่ 2 (เชียงใหม่ กาญจนบุร ีปัตตานียะลา นราธิวาส) คือ ร้อยละ 50 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดที่เป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กลุ่มที่ 2 (เชียงใหม่ กาญจนบุร ีปัตตานียะลา นราธิวาส) เข้าร่วมเป็นสถานศึกษานําร่อง 2. เพิ่มจังหวัดใหม่ให้ได้รับการประกาศเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป้าหมายเพิม่จังหวัดใหม่ให้ได้รับการประกาศจัดตัง้เปน็พืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา ไม่เกิน 3 จังหวัด 3. ถอดบทเรยีนและขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขัน้พื้นฐานอื่น 3.1 นําร่องและทดลองการปฏิรูปการศึกษาในเร่อืงสําคัญ (1) ใช้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษานําร่องทดลองหลักสูตรฐานสมรรถนะ ก่อนขยายผลและประกาศใช้ ทัว่ประเทศ (2) ใช้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษานําร่องทดลองระบบการประเมินว ิทยฐานะที่สนับสนุนการพัฒนา สมรรถนะที่จําเป็นของครูในการคิดค้นและใช้นวัตกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรฐานสมรรถนะ ก่อนขยายผล และประกาศใช้ทัว่ประเทศ 3.2 ขยายผลโดยนํานโยบายทีด่ีจากพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาไปใช้ทัว่ประเทศ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานฝนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของสถานศึกษาทั่วประเทศ สามารถบรหิารและจัดการศึกษาได้อย่างอิสระในทุกด้าน โดยการนํานโยบาย และแนวปฏิบัติที่ดีในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาไปใช้ขยายผล โดยพิจารณาจากดัชนีการรับรู้ความอิสระในการ บร ิหารจัดการตนเองของสถานศึกษา (School Autonomy Perception Index) ทัง้ 4 ด้านได้แก่ด้านวชิาการ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และด้านการบรหิารทัว่ไป
6 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายการพัฒนาเชิงคุณภาพของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ (1) ระดับนักเร ียน (2) ระดับสถานศึกษา และ (3) ระดับพื้นที่ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. ระดับนักเร ียน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาช่วยยกระดับคุณภาพผู้เร ียนและลดความเหลื่อมลํ้า โดยพิจารณาจากเป้าหมาย การพัฒนานักเรยีนทุกคนในระดับชั้นสูงสุดของทุกช่วงชั้นในสถานศึกษานําร่องมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ผ่านมาตรฐานขั้นตํ่า ตามหลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เรยีนของสถานศึกษานําร่อง ที่ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้ 1.1 มีผลการประเมินในกลุ่มสมรรถนะพื้นฐาน (สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน 4 ด้าน ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์และว ิทยาศาสตร์) อย่างน้อย 2 ด้าน ไม่ตํ่ากว่า ร้อยละ 50 และอีก 2 ด้าน ที่เหลือ ไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 40 ยกเว้นกรณีผู้เร ียนเป็นเด็กพิเศษ 1.2 มีผลการประเมินในกลุ่มสมรรถนะหลักทั่วไป (สมรรถนะทั่วไปด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากการประยุกต์ใช้ ความรู้ทักษะ เจตคติและคุณลักษณะอย่างบูรณาการ ในการคิด การทํางาน และการแก้ปัญหาในสถานการณ์ หลากหลาย เช่น สมรรถนะด้านการจัดการตนเอง การสื่อสาร การคิดขั้นสูง การรวมพลังทํางานเป็นทีม การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง) อย่างน้อย 2 ด้าน ในระดับ “สามารถ” จากระดับสมรรถนะทั้งหมด 4 ระดับ ได้แก่ เร่ มิต้น กําลังพัฒนา สามารถ และเหนือความคาดหวัง ยกเว้นกรณีผู้เรยีนเปน็เด็กพิเศษ 2. ระดับสถานศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาช่วยยกระดับคุณภาพสถานศึกษา โดยพิจารณาจากเป้าหมายการพัฒนา ดังนี้ 2.1 สถานศึกษานําร่องทุกแห่งสามารถจัดกระบวนการเร ียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ได้ โดยพิจารณาจากดัชนีการมีส่วนร่วมของนักเรยีนในห้องเรยีน และนักเรยีนมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ตามเป้าหมายการพัฒนาเชิงคุณภาพของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาระดับนักเร ียน 2.2 สถานศึกษานําร่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 เป็นสถานศึกษาแกนนําขยายผลแนวปฏิบัติที่ดีในการจัด การศึกษาไปสู่สถานศึกษาอื่น 2.3 สถานศึกษานําร่องทุกสถานศึกษาสามารถบร ิหารและจัดการศึกษาได้อย่างอิสระในทุกด้าน วัดด้วยดัชนีการรับรู้ความอิสระในการบร ิหารจัดการตนเองของสถานศึกษา (School Autonomy Perception Index) ทัง้ 4 ด้าน ได้แก่ด้านวชิาการ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และด้านการบรหิารทัว่ไป 3. ระดับพื้นที่ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาช่วยเพิ่ มการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ในพื้นที่เพื่อร่วมพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยพิจารณาจากเป้าหมายการพัฒนา ดังนี้ 3.1 หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่ที่สถานศึกษาตั้งอยู่ มีส่วนร่วมในการ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษานําร่อง วัดโดยดัชนีการมีส่วนร่วมในการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3.2 ทุกจังหวัดมีกลไกการระดมทรัพยากรเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เช่น การพัฒนา นวัตกรรมการศึกษาในสถานศึกษานําร่อง การขยายผลนวัตกรรมการศึกษาที่ดีและการดําเนินงานตามอํานาจ หน้าที่ของคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป็นต้น 3.3 สถานศึกษานําร่องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคมในพื้นที่เพิ่ มขึ้น ในด้านการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการระดมทรัพยากร วัดโดยดัชนีการสนับสนุนสถานศึกษานําร่อง ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 7 เป้าหมายการขยายผล ของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น เป้าหมาย คิดเป็น ร้อยละ 2564 2565 ทัง้หมด 1. เพิ่มสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเดิม 1.1 ร้อยละ 80 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดที่เปน็ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กลุ่มที่ 1 (ศร ีสะเกษ ระยอง สตูล) เข้าร่วมเป็นสถานศึกษานําร่อง 213 269 56 - - • ศร ีสะเกษ 115 163 48 80% 16.51 • ระยอง 82 87 5 80% 30.31 • สตูล 16 19 3 80% 8.56 1.2 ร้อยละ 50 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัด ที่เป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กลุ่มที่ 2 (เชียงใหม่ กาญจนบุร ีปัตตานียะลา นราธิวาส) เข้าร่วมเป็นสถานศึกษา นําร่อง 267 308 41 - - • เชียงใหม่ 104 121 17 50% 13.00 • กาญจนบุร ี 58 60 2 50% 12.50 • ปัตตานี 32 32 - 50% 6.57 • ยะลา 30 42 12 50% 12.17 • นราธิวาส 43 53 10 50% 11.13 2. เพิ่มจังหวัดใหม่ให้ได้รับการประกาศเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพิ่มจังหวัดใหม่ให้ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา ไม่เกิน 3 จังหวัด - 11 11 3 366.66 3. ถอดบทเรยีนและขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น 3.1 นําร่องและทดลองการปฏิรูปการศึกษาในเร่อืงสําคัญ (1) ใช้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษานําร่องทดลองหลักสูตร ฐานสมรรถนะ ก่อนขยายผลและประกาศใช้ทัว่ประเทศ - 193 - - 33.44 (2) ใช้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษานําร่องทดลองระบบการ ประเมินว ิทยฐานะที่สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะที่จําเป็น ของครู ในการคิ ดค้ นและใช้ นวั ตกรรมที่ สอดคล้ อง กับหลักสูตรฐานสมรรถนะ ก่อนขยายผลและประกาศใช้ ทัว่ประเทศ N/A N/A - - - 3.2 ขยายผลโดยนํานโยบายที่ดีจากพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาไปใช้ทั่วประเทศ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของสถานศึกษาทั่วประเทศ สามารถบรหิาร และจัดการศึกษาได้อย่างอิสระในทุกด้าน โดยการนํานโยบาย และแนวปฏิบัติที่ดีในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาไปใช้ขยายผล โดยพิจารณาจากดัชนีการรับรู้ความอิสระในการบร ิหาร จัดการตนเองของสถานศึกษา (School Autonomy Perception Index) ทั้ง 4 ด้านได้แก่ด้านวชิาการ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และด้านการบรหิารทัว่ไป N/A N/A - 50% -
8 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายการพัฒนาเชิงคุณภาพ ของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น (ร้อยละ) เป้าหมาย คิดเป็น ร้อยละ ทัง้หมด 2564 2565 1. ระดับนักเร ียน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาช่วยยกระดับคุณภาพผู้เร ียนและลดความเหลื่อมลํ้า โดยพิจารณาจากเป้าหมายการพัฒนานักเร ียน ทุกคนในระดับชั้นสูงสุดของทุกช่วงชั้นในสถานศึกษานําร่องมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาผ่านมาตรฐานขั้นตํ่า ตามหลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรยีนของสถานศึกษานําร่องที่ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้ 1.1 มีผลการประเมินในกลุ่มสมรรถนะพื้นฐาน (สมรรถนะ ใ น คว า ม ฉ ล า ดรู้ พื้ น ฐ า น 4 ด้ า น ไ ด้แ ก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์และว ิทยาศาสตร์) อย่างน้อย 2 ด้าน ไม่ตํ่ากว่า ร้อยละ 50 และอีก 2 ด้าน ที่เหลือ ไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 40 ยกเว้นกรณีผู้เร ียนเป็นเด็กพิเศษ N/A N/A - 50 % - 1.2 มีผลการประเมินในกลุ่มสมรรถนะหลักทั่วไป (สมรรถนะทั่วไปด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากการประยุกต์ใช้ ความรู้ทักษะ เจตคติและคุณลักษณะอย่างบูรณาการ ในการคิด การทํางาน และการแก้ปัญหาในสถานการณ์ หลากหลาย เช่น สมรรถนะด้านการจัดการตนเอง การสื่อสาร การคิดขั้นสูง การรวมพลังทํางานเป็นทีม การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง) อย่างน้อย 2 ด้าน ในระดับ “สามารถ” จากระดับสมรรถนะทั้งหมด 4 ระดับ ได้แก่ เร่มิต้น กําลังพัฒนา สามารถ และเหนือความคาดหวัง ยกเว้นกรณีผู้เร ียนเป็นเด็กพิเศษ N/A N/A - 55% - 2. ระดับสถานศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาช่วยยกระดับคุณภาพสถานศึกษา โดยพิจารณาจากเป้าหมายการพัฒนา ดังนี้ 2.1 สถานศึกษานําร่องทุกแห่งสามารถจัดกระบวนการ เร ียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ได้โดยพิจารณาจาก ดัชนีการมีส่วนร่วมของนักเร ียนในห้องเร ียน และนักเร ียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึ กษาตามเป้ าหมายการพัฒนา เชิงคุณภาพของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาระดับนักเร ียน N/A N/A - 100% - 2.2 ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ร่ อ ง ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า ร้ อ ย ล ะ 5 0 เ ป็ น ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ก น นํ า ข ย า ย ผ ล แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ดี ในการจัดการศึกษาไปสู่สถานศึกษาอื่น N/A N/A - 50% - 2.3 สถานศึกษานําร่องทุกสถานศึกษาสามารถบร ิหาร แ ล ะ จั ด ก ารศึ กษ า ไ ด้ อ ย่ า ง อิ สร ะใ นทุ กด้ านวั ดด้ ว ย ดัชนีการรับรู้ความอิสระในการบร ิหารจัดการตนเอง ข อ ง ส ถ านศึ กษ า (School Autonomy Perception Index) ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ด้านวชิาการ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และด้านการบรหิารทัว่ไป N/A N/A - 100% -
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 9 เป้าหมายการพัฒนาเชิงคุณภาพ ของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด ปีการศึกษา เพิ่มขึ้น (ร้อยละ) เป้าหมาย คิดเป็น ร้อยละ ทัง้หมด 2564 2565 3. ระดับพื้นที่ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาช่วยเพิ่มการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่ เพื่อร่วมพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยพิจารณาจากเป้าหมายการพัฒนา ดังนี้ 3.1 หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ในพื้นที่ที่สถานศึกษาตั้งอยู่ มีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณภาพสถานศึกษานําร่อง วัดโดยดัชนีการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา N/A N/A N/A - - 3.2 ทุกจังหวัดมีกลไกการระดมทรัพยากรเพื่อขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เช่น การพัฒนานวัตกรรม การศึกษาในสถานศึกษานําร่อง การขยายผลนวัตกรรม การศึกษาที่ดีและการดําเนินงานตามอํานาจหน้าที่ของ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป็นต้น N/A N/A N/A 100% - 3.3 สถานศึกษานําร่องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน รัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคมในพื้นที่เพิ่มขึ้นในด้าน การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการระดมทรัพยากร วัดโดยดัชนีการสนับสนุนสถานศึกษานําร่องในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา N/A N/A N/A 100% - เป้าหมายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2564 – 2568
10 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 นโยบายยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา ของผู้เร ียนในสถานศึกษานําร่อง พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา ของผู้เร ียน จัดทําหลักสูตร สถานศึกษา ออกแบบ การเร ียนรู้ สถานศึกษานําร่อง ส่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ ติดตาม โดยมุ่งเน้น • การจัดการเร ียนรู้เชิงรุก • การคิดค้นนวัตกรรมของครู • การประยุกต์ใช้นวัตกรรม คณะกรรมการขับเคลื่อน เพื่อ • ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของผู้เร ียนตามหลักสูตร • เผยแพร่ผลการดําเนินงาน เป็นไปตามประกาศฯ • การประเมินผลสัมฤทธฯิ์ • ประกันคุณภาพภายใน • การเทียบโอน/เทียบวุฒิ สร้างความพร้อม และจัดหาเคร่อืงมือ ในการประเมิน เพื่อเตรยีมความพร้อมครู และบุคลากรทางการศึกษา ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ว ิธี ก า ร แ ล ะ เคร่อืงมือการวดัและรูปแบบใหม่ ที่สอดคล้องกับหลักสูตร บรรลุวัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งฟ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 11 นโยบายยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของผู้เร ียนในสถานศึกษานําร่อง ตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ได้ประกาศเร่อืง นโยบายยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เร ียนในสถานศึกษานําร่อง ประกาศ ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เพื่อให้คณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและสถานศึกษานําร่องนําไปปฏิบัติให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่สถานศึกษา เลือกใช้ได้อย่างหลากหลาย ตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 และบรรลุวัตถุประสงค์ ในการจัดตัง้พืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา ดังนี้ นิยาม “ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา” ความหมายว่า พัฒนาการของผู้เรยีนทั้งในด้านความรู้สมรรถนะ ทักษะ และเจตคติ “กระบวนการคิดขั้นสูง” ความหมายว่า วธิีคิด ขั้นตอนหรอืกระบวนการที่ใช้ในการคิดเพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ของการคิดแบบต่าง ๆ ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จําแนกไว้4 แบบ ได้แก่ การคิดอย่างมีว ิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดเชิงระบบ (System Thinking) การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และการคิดแก้ปัญหา (Problem Soling Thinking) “นวัตกรรมของครู” ความหมายว่า แนวคิด ว ิธีการ กระบวนการ รูปแบบ สื่อการเร ียนการสอน เทคโนโลยี การบรหิารจัดการชั้นเรยีน การวัดและประเมินผลที่ครูพัฒนาขึ้น หรอืต่อยอดให้เหมาะสมกับผู้เรยีน และบร ิบทของตน และมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อคุณภาพด้านต่าง ๆ สูงขึ้น “นวัตกรรมการศึกษา” ความหมายว่า แนวคิด ว ิธีการ กระบวนการ สื่อการเร ียนการสอนหร ือการบร ิหาร จัดการในรูปแบบใหม่ ซึ่งได้มีการทดลองและพัฒนาจนเป็นที่น่าเชื่อถือว่าสามารถส่งเสร ิมการเร ียนรู้ของผู้เร ียน และการจัดการศึกษา และให้ความหมายรวมถึงการนําสิง่ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาด้วย “การจัดการเร ียนรู้เชิงรุก (Active Learning)” ความหมายว่า การจัดกิจกรรมและประสบการณ์ การเร ียนรู้ให้ผู้เร ียนมีส่วนร่วมในการกระบวนการเร ียนรู้อย่างตื่นตัว (Active) ทั้งทางกาย สติปัญญา สังคม อารมณ์อย่างผสมผสานกลมกลืนกัน โดยใช้ว ิธีการหลากหลายที่เสร ิมสร้างความรู้สึกและเจตคติที่ดี ส่งเสร ิมการคิด การปฏิบัติการลงมือทํา และการมีปฏิสัมพันธ์แลกเปลี่ยนเร ียนรู้จากกันและกัน อันจะส่งผล ให้ผู้เร ียนเกิดการเร ียนรู้ได้ดี บาทบาทของสถานศึกษานําร่อง 1. การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาและออกแบบกระบวนการเร ียนรู้ให้สถานศึกษานําร่องมุ่งเน้น การจัดการเร ียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และการคิดค้นนวัตกรรมของครูหร ือการประยุกต์ใช้ นวัตกรรมการศึกษาต่าง ๆ เพือ่การยกระดับผลสัมฤทธิท์างการศึกษาของผู้เรยีน 2. ให้สถานศึกษานําร่องพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรยีนให้เป็น ไปตามประกาศ คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เร่อืง หลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของผู้เร ียนในสถานศึกษานําร่อง พ.ศ. 2564 ประกาศคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เร่อืง หลักเกณฑ์และวธิีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาของสถานศึกษานําร่อง พ.ศ. 2564 และประกาศคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เร่อืง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเทียบโอน ผลการเรยีนและการเทียบวุฒิการศึกษาของผู้เรยีนระหว่างสถานศึกษานําร่องและสถานศึกษาอื่น พ.ศ. 2564
12 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 บทบาทของคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. ให้คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาส่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ และติดตามสถานศึกษานําร่องในการจัดการเร ียนรู้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรยีน ตามเกณฑ์ ที่หลักสูตรสถานศึกษากําหนด และเผยแพร่การดําเนินงานและผลการดําเนินงานให้ภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้รับทราบ 4. ให้คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้การสนับสนุนช่วยเหลือสถานศึกษานําร่อง ให้มีความพร้อมในการพัฒนา จัดหาเคร่อืงมือในการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เร ียนในระหว่างทาง ก่อนที่จะมีการประเมินในวาระที่ครบ 3 ปีอีกทั้งใช้โอกาสที่สถานศึกษานําร่องต้องประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เรยีนในระดับชั้นสูงสุดของทุกช่วงชั้นทุกปีเพื่อเป็นการเตร ียมและเพิ่มความสามารถ ของครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถใช้วธิีการและเคร่อืงมือการวัดและประเมินผลรูปแบบใหม่ ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา เพือ่ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตัง้ฟ้ืนทีน่วัตกรรมการศึกษา บทบาทของประธานกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 5. ให้ประธานกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 13 ร ู ปแบบการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปรับระเบียบและแนวทางระบบต่าง ๆ ของ สพฐ./กระทรวงศึกษาธิการ ปรับโครงสร้างและระบบบริหารจัดการระดับพื้นที่/จังหวัด การบริหารจัดการ การระดมทรัพยากร สร้างการมีส่วนร่วม การเรียนการสอน งบประมาณ - Block Grant - บริหารงบฯ ด้วยตนเอง คล่องตัว - ลด ละ เลิก โครงการต่าง ๆ บุคคล - เลือกรับ - พัฒนาวิชาชีพ - เสนอเลื่อนวิทยฐานะ บทบาทครู หลักสูตรสถานศึกษา การประเมินผลสัมฤทธฯิ์ กระบวนการเรียน การสอน ร่วมกําหนดเป้าหมาย ของผู้เรียน แบ่งปันศักยภาพ และทรัพยากร ติดตามและสะท้อนผล โรงเรียนจัดการตนเอง (Autonomous School) โรงเรียนคุณภาพ ผู้เรียนมีสมรรถนะ (ความรู้ทักษะ เจตคต)ิดีขึ้น โรงเรียน/พื้นที่ ผลลัพธ์ที่ดี บรรลุเป้าหมาย โรงเรียน/พื้นที่ ผลลัพธ์ใกล้บรรลุ เป้าหมาย โรงเรียน/พื้นที่ ผลลัพธ์ยังไม่บรรลุ เป้าหมาย รร. เป็นนิติบุคคล มีความเป็นอิสระ การบริหารและ การจัดการศึกษา มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพดีขั้น ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา ของผู้เรียน กลไกการมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา ร่วมกันทุกภาคส่วน
14 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 คิดค้น ทดลอง พัฒนา ประยุกต์ใช้ นวัตกรรมการศึกษา คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเร ียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เรยีน รวมทั้ง เพื่อดําเนินการให้มีการขยายผล ไปใช้ในสถานศึกษา ขัน้พืน้ฐานอืน่ พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 มาตรา 5 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ วัตถุประสงค์ มาตรา 5 (1) (2) (3) (4) ลดความเหลื่อมลํ้า ลดความเหลื่อมลํ้าในการศึกษา ทั้งด้านโอกาส คุณภาพ และประสิทธิภาพด้านการศึกษา กระจายอํานาจ และให้ความอิสระ กระจายอํานาจและให้อิสระแก่หน่วยงาน ทางการศึกษาและสถานศึกษานําร่องในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาเพื่อเพิ่มความคล่องตัว ในการบร ิหารและการจัดการศึกษาให้มี คุณภาพและประสิทธิภาพยิง่ขึน้ สร้างและพัฒนากลไก สร้างและพัฒนากลไกในการจัดการศึกษาร่วมกัน ร ะหว่า งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 15 คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 กําหนดให้คณะกรรมการนโยบาย พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประกอบด้วย ดังต่อไป 1. นายกรัฐมนตร ีหร ือรองนายกรัฐมนตร ีซึ่งนายกรัฐมนตร ีมอบหมาย ประธานกรรมการ 2. รัฐมนตร ีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ 3. ปลัดกระทรวงการคลัง กรรมการ 4. ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรรมการ 5. ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการ 6. ปลัดกระทรวงว ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อว.) กรรมการ 7. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ 8. ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ กรรมการ 9. ประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย กรรมการ 10. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรแีต่งตั้งจากบุคคลซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการศึกษา การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ การบร ิหาร การเงิน การพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม การประเมินผล กฎหมาย เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม หร ือด้านอื ่นอันเป็นประโยชน์แก ่การพัฒนา คุณภาพและประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 5 จํานวนไม่เกิน 8 คน
16 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 10.1 รองศาสตราจารย์ประภาภัทร นิยม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 10.2 นางปิยาภรณ์มัณฑะจิตร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 10.3 นางสาวศุภธิดา พรหมพยัคฆ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 10.4 นายสมเกียรติตั้งกิจวานิชย์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 10.5 รองศาสตราจารย์ประว ิต เอราวรรณ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 10.6 นายสมศักดิ์พะเนียงทอง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 10.7 นางเนตรชนก ว ิภาตะศิลปิน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 10.8 นายปกรณ์นิลประพันธ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 11. เลขาธิการคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรรมการและเลขานุการ 12. ผู้อํานวยการสํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ผู้ช่วยเลขานุการ 13. ผู้แทนกรมส่งเสรมิการปกครองท้องถิ่ น ผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่และอํานาจ 1. กําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับประเทศระดับประเทศในการดําเนินการส่งเสร ิมให้มีพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา 2. ให้คําแนะนําแก่คณะรัฐมนตร ีในการประกาศกําหนดให้จังหวัดใดเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา รวมทัง้ประกาศยุบเลิกพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา 3. กําหนดนโยบาย และกํากับดูแลการดําเนินงานของคณะกรรมการขับเคลื่อน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ในการจัดตัง้พืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาตามมาตรา 5 4. กําหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการดําเนินงานและการบร ิหารจัดการในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 5. กําหนดแนวทางให้คณะกรรมการขับเคลื่อนปรับปรุงแก้ไขการดําเนินงานของหน่วยงานทางการศึกษา หร ือสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 6. กําหนดมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาและสถานศึกษานําร่อง 7. เสนอแนะต่อรัฐมนตร ีให้มีการนําแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาไปใช้ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขัน้พืน้ฐานของรัฐและของเอกชน 8. เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตร ีในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หร ือคําสั่งที่เกี่ยวกับ การจัดการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบร ิหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยนําผลสัมฤทธิ์ในการดําเนินงานของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขดังกล่าว 9. เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตร ีในการตราพระราชกฤษฎีกาขยายเวลาใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ 10. กําหนดหลักเกณฑ์และว ิธีการรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษานําร่อง 11. ออกระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทั่วไปเกี่ยวกับการบรหิารจัดการ การปฏิบัติงาน การเงินสิทธิประโยชน์ และการประเมินผลภายในสถานศึกษานําร่อง 12. แต่งตัง้คณะอนุกรรมการเพือ่ทําการแทนหร ือปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย 13. ออกระเบียบหร ือประกาศเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ 14. หน้าที่และอํานาจอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หร ือกฎหมายอื่นกําหนดให้เป็นหน้าที่และอํานาจ ของคณะกรรมการนโยบาย
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 17 คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาแต่งตั้ง โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 วรรคหนึ่ง (12) แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562และมติคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา จึงแต่งตัง้คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการนโยบายพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา ดังนี้ 1. คณะอนุกรรมการด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ติดตามและประเมินผล 1. นายสมเกียรติตัง้กิจวานิชย์ ประธานอนุกรรมการ 2. ศ.ว ิจารณ์พานิช อนุกรรมการ 3. รองเลขาธิการ กพฐ. อนุกรรมการ 4. รศ.ปัทมาวดีโพชนุกูล อนุกรรมการ 5. น.ส.ศุภธิดา พรหมพยัคฆ์ อนุกรรมการ 6. ผอ.สบน.สพฐ. อนุกรรมการและเลขานุการ 7. ผอ.สตผ.สพฐ. อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่และอํานาจ 1. เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับประเทศในการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและการส่งเสร ิม ให้มีพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา รวมทั้งการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา พ.ศ. 2562 ต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการนโยบายพืนที่นวัตกรรมการศึกษา ้ 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามอบหมาย 2. คณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย 1. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ประธานอนุกรรมการ 2. รศ.จิรุตม์ศร ีรัตนบัลล์ อนุกรรมการ 3. นายโกว ิท คูพะเนียด อนุกรรมการ 4. นายเสนีย์เรอืงฤทธิร์าวีอนุกรรมการ 5. นายสุทธิสายสุนีย์ อนุกรรมการ 6. ผอ.สน.สพฐ. อนุกรรมการและเลขานุการ 7. ผอ.สบน.สพฐ. อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรอืคําสั่งที่เกี่ยวกับการบรหิารและการจัดการศึกษา เพื่อให้เกิดความอิสระและความคล่องตัวในการบร ิหารและการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา รวมทั้งขยายผลไปยังพื้นที่และสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น ต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการนโยบายพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามอบหมาย
18 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 3. คณะอนุกรรมการด้านส่งเสร ิมการบร ิหารว ิชาการ 1. รศ.ประภาภัทร นิยม ประธานอนุกรรมการ 2. รศ.สุธีระ ประเสร ิฐสรรพ์ อนุกรรมการ 3. นายว ิเชียร ไชยบัง อนุกรรมการ 4. นางปิยาภรณ์มัณฑะจิตร อนุกรรมการ 5. ศ.บังอร เสร ีรัตน์ อนุกรรมการ 6. ผอ.สวก.สพฐ. อนุกรรมการและเลขานุการ 7. ผอ.สบน.สพฐ. อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอรูปแบบ แนวทาง และนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการบร ิหารงานว ิชาการ ในพื้นที ่นวัตกรรม การศึกษา ส่งเสร ิมให้เกิดการคิดค้นละพัฒนานวัตกรรมการเรยีนการสอนเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ ทางการ ศึกษาและลดความเหลื่อมลํ้าในการเรยีนรู้องผู้เรยีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้ง กําหนดมาตรฐานข้อมูล และมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและสถานศึกษานําร่อง ต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการนโยบายพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามอบหมาย 4. คณะอนุกรรมการด้านส่งเสร ิมการบร ิหารบุคคล 1. รศ.ประว ิต เอราวรรณ์ ประธานอนุกรรมการ 2. เลขาธิการ ก.ค.ศ. อนุกรรมการ 3. นางสุปราณีนฤนาทนโรดม อนุกรรมการ 4. นายรตนภูมิโนสุ อนุกรรมการ 5. นายธงชัย มัน่คง อนุกรรมการ 6. ผอ.สพร.สพฐ. อนุกรรมการและเลขานุการ 7. ผอ.สบน.สพฐ. อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอแนวทางส่งเสร ิมบร ิหารงานบุคคล การออกกฎ ก.ค.ศ หร ือว ิธีการ เงื่อนไข สําหรับการบร ิหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้ง การโยกย้าย การเลื่อนเงินเดือน และการประเมินว ิทยฐานะให้เกิดความเหมาะสมกับการบร ิหารงานของสถานศึกษานําร่อง ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามอบหมาย
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 19 5. คณะอนุกรรมการด้านส่งเสร ิมการบร ิหารงบประมาณ 1. นายสมศักดิ์พะเนียงทอง ประธานอนุกรรมการ 2. นายชัยพฤกษ์เสร ีรักษ์ อนุกรรมการ 3. รศ.ชัยยุทธ ปญัญสวัสดิส์ุทธิ์อนุกรรมการ 4. นายอํานวย มีศร ี อนุกรรมการ 5. ผอ.สนย.สป. อนุกรรมการ 6. ผอ.สนผ.สพฐ. อนุกรรมการและเลขานุการ 7. ผอ.สบน.สพฐ. อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอแนวทาง หลักเกณฑ์ว ิธีการ ระเบียบ หร ือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษานําร่อง สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา การส่งเสร ิม ประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการบร ิหารงานงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้างการรับและการใช้จ่ายเงิน หร ือทรัพย์สินที่มีผู้บร ิจาคเพื่อการศึกษาให้แก่สถานศึกษานําร่องต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามอบหมาย 6. คณะอนุกรรมการด้านการสื่อสารและการมีส่วนร่วม 1. นางปิยาภรณ์มัณฑะจิตร ประธานอนุกรรมการ 2. นายธนกร ศร ีสุขใส อนุกรรมการ 3. รศ.ว ิลาสินีพิพิธกุล อนุกรรมการ 4. นางเนตรชนก ว ิภาตะศิลปิน อนุกรรมการ 5. นายสมพงษ์หลีเคราะห์ อนุกรรมการ 6. ผอ.สบน.สพฐ. อนุกรรมการและเลขานุการ 7. ผอ.สอ.สพฐ. อนุกรรมการและช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอแนวทางในการสื่อสาร การสร้างการมีส่วนร่วม และการพัฒนากลไกในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่าง ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการนโยบายพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามอบหมาย
20 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 7. คณะอนุกรรมการที่ปรกึษาพิเศษ 1. รศ.วรากร สามโกเศศ ประธานอนุกรรมการ 2. ศ.กิตติคุณจรัส สุวรรณเวลา อนุกรรมการ 3. ศ.ว ิจารณ์พานิช อนุกรรมการ 4. รศ.จิรุตม์ศร ีรัตนบัลล์ อนุกรรมการ 5. นางสุมาลีอุทัยเฉลิม อนุกรรมการ 6. รศ.ประพันธ์ศิร ิสุเสารัจ อนุกรรมการ 7. นายศักดิ์ สิน โรจน์สราญรมย์อนุกรรมการ 8. ผอ.สบน. อนุกรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่และอํานาจ 1. ให้ความเห็นแล ะข้อเสนอแน ะในการพัฒนาพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษาต่อคณะกรรมการนโยบาย พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามอบหมาย
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 21 สํานักงานบรหิารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 กําหนดให้สํานักงานบร ิหาร พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทําหน้าที่เกี่ยวกับงานวชิาการ และงานธุรการของคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มีหน้าที่ 1. เป็นหน่วยงานกลางในการดําเนินการ ส่งเสร ิม สนับสนุน และประสานงานของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และรับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการนโยบาย 2. จัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ระดับประเทศในการดําเนินการส่งเสร ิมให้มีพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อเสนอ ต่อคณะกรรมการนโยบาย 3. จัดให้มีการว ิเคราะห์และว ิจัยเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 4. จัดทํามาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และสถานศึกษานําร่องเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการนโยบาย 5. รวบรวมข้อมูล ศึกษา และว ิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา รวมทั้ง นําเสนอ แนวทางการขยายผลแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาต่อคณะกรรมการนโยบาย 6. กํากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 7. จัดทํารายงานประจําปีเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8. ปฏิบัติงานอื่นใดตามพระราชบัญญัตินี้หร ือกฎหมายอื่นที่บัญญัติให้เป็นหน้าที่และอํานาจของสํานักงาน หร ือตามที่คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย
22 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มาตรา 19 แห ่งพระราชบัญญัติพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 กําหนดให้แต ่ละพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา มีคณะกรรมการขับเคลื ่อนพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษา จํานวน ไม ่เกิน 21 คน ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ กรรมการอื่นอย่างน้อยต้องประกอบด้วยกรรมการ โดยตําแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตและพัฒนาครูผู้แทนองค์กรเอกชน และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิโดยให้ศึกษาธิการจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ มาตรา 19 วรรคสอง กําหนดให้องค์ประกอบ จํานวน คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม หลักเกณฑ์ และว ิธีการได้มาวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นตําแหน่งของคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาประกาศกําหนด ข้อ 4 แห่งประกาศคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เร่อืง องค์ประกอบ จํานวน คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม หลักเกณฑ์และว ิธีการได้มาวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นตําแหน่ง ของคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2565 ดังนี้
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 23 มาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 กําหนดให้คณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามีหน้าที่และอํานาจ ดังนี้ 1. กําหนดยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. ประสานให้หน่วยงานทางการศึกษา องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่ น หน่วยงานอื่นของรัฐ และเอกชนดําเนินการร ่วมกัน เพื ่อขับเคลื ่อนพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษา ตามยุทธศาสตร์ และแผนการดําเนินงาน ตาม (1) 3. ประสานให้หน ่วยงานที ่มีความเชี ่ยวชาญเฉพาะให้การสนับสนุนทางเทคนิคในการจัดทํา สื ่อการสอน จัดการเร ียนรู้ในรูปแบบใหม่ พัฒนาบุคลากร จัดระบบการประเมิน และวัดผล และการอื่นที่จําเป็น สําหรับพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 4. นําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติไปปรับใช้กับ การจัดการศึกษาในสถานศึกษานําร่องให้เหมาะสมกับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 5. ส่งเสร ิมการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษานําร่อง อย่างต่อเนื ่อง เพื ่อให้สามารถจัดการเร ียนการสอน ได้อย่างมีคุณภาพและเหมาะสมกับสภาพ ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 6. จัดให้มีการออกแบบการทดสอบผู้เรยีนเพือ่วัดผลสัมฤทธิท์างการศึกษาในพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา 7. ส ่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ และติดตาม สถานศึกษานําร ่องเพื ่อให้จัดการเร ียน การสอนที่มีคุณภาพและเกิดการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา 8. เสรมิสร้างและเตรยีมความพร้อมให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในการเป็นสถานศึกษานําร่องหร ือในการนํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ในการจัดการศึกษา 9. เพิ่ มขีดความสามารถให้แก ่หน ่วยงานทางการศึกษาในพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษา เพื ่อทําการ พัฒนานวัตกรรมการศึกษา หร ือนํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ 10. จัดให้มีการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษานําร่อง 11. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อทําการแทนหรอืปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนมอบหมาย 12. รายงานผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษารวมทั้งปัญหาและอุปสรรคในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ต่อคณะกรรมการนโยบาย 13. หน้าที ่แล ะอําน า จที ่พร ะร าชบัญญัตินี้หร ือกฎหม า ยอื ่นกําหนดให้เป ็นหน้าที ่อําน า จของ คณะกรรมการขับเคลื่อน 14. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย การดําเนินการตาม (1) (2) (4) (6) และ (10) ให้คณะกรรมการขับเคลื ่อนปร ึกษาหาร ือกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย การออกแบบทดสอบตาม (6) และการประเมินผลตาม (10) ต้องสอดคล้องกับหลักสูตร ตามมาตรา 25 ในกรณีที ่คณะกรรมการขับเคลื ่อนเห็นว ่าสถานศึกษานําร่องใดมีความพร้อม อาจมอบหมาย หน้าที่และอํานาจตาม (6) ให้แก่สถานศึกษาดังกล่าวดําเนินการในส่วนของตนได้
24 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 การแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 วรรคหนึ่ง (13) และมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 และประกาศ คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เร่อืง องค์ประกอบ จํานวน คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม หลักเกณฑ์และว ิธีการได้มาวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นตําแหน่งของคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2565 จึงแต่งตัง้แต่งตัง้คณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา ดังนี้ 1. คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานกรรมการ 2. ผอ.สพป.กจ 1 กรรมการ 3. ผอ.สพป.กจ 3 กรรมการ 4. ผอ.สพป.กจ 4 กรรมการ 5. ผอ.สพม.กจ กรรมการ 6. นายก อบจ.กาญจนบุร ี กรรมการ 7. นายยงยุทธ สงพะโยม ผอ.รร.ทองผาภูมิ กรรมการ 8. ผศ.พจนีย์สุขชาวนา อธิการบดีมรภ.กจ. กรรมการ 9. นายบุญชูว ิวัฒนาทร กรรมการ ประธานหอการค้าจังหวัดกาญจนุบร ี 10. นางปราณปิยา อมรชัยยาพิทักษ์ กรรมการ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุร ี 11. นายทรงวุฒิศีลแดนจันทร์ กรรมการ ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุร ี 12. นายวุฒิเดช ก้อนทองคํา กรรมการ นายกสมาคมสื่อมวลชนจังหวัดกาญจนบุร ี 13. นายอนันต์กัลปะ กรรมการ 14. นายศิวโรฒ จิตนิยม กรรมการ 15. พ.ต.ต.กมลสันติกลั่นบุศย์กรรมการ 16. นายศุภชัย มากสมบูรณ์ กรรมการ 17. นายเฉลิมฉัตร จันทร์อินทร์ กรรมการ 18. นายสุรสีห์พลไชยวงศ์ กรรมการ 19. นายจักรกฤษ โพธิ์ แพงพุ่ม กรรมการ 20. นายสะอาด ทั่นเส้ง กรรมการ 21. ศึกษาธิการจังหวัด กรรมการและ เลขานุการ ให้คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีตามประกาศนี้มีหน้าที่และอํานาจตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรแีต่งตั้ง 1. คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์การมีส่วนร่วม และภาคีเคร ือข่าย ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุร ี ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ 1. รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุร ี (ที่ได้รับมอบหมาย) ประธาน อนุกรรมการ 2. นายก อบจ.กาญจนบุร ี รองประธาน อนุกรรมการ 3. นายกสมาคมสื่อมวลชน จังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 4. นายบุญชูว ิวัฒนาทร อนุกรรมการ ประธานกิติมศักดิ์หอการค้าจังหวัดกาญจนบุรี 5. นายอนันต์กัลปะ ผอ.สก.สค. อนุกรรมการ 6. รองศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 7. นายสะอาด หั่นเส้ง ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 8. ผอ.รร.เทพมงคลรังสี สพม.กจ อนุกรรมการ 9. ประชาสัมพันธ์จังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 10. ผู้อํานวยการกลุ่มอํานวยการ ศธจ.กาญจนบุร ี อนุกรรมการ และเลขานุการ อํานาจหน้าที่ 1. ประสานให้หน่วยงานทางการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นของรัฐและเอกชน ดําเนินการร่วมกันเพื่อขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตามยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงาน เพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 2. ประสานให้หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะให้การสนับสนุนทางเทคนิคในการจัดทําสื่อการสอน การจัดการเร ียนรู้ในรูปแบบใหม่ การพัฒนาบุคลากร การจัดระบบการประเมินและวัดผล และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับพัฒนานวัตกรรมการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 25 3. ประชาสัมพันธ์การดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีการดําเนินงานของคณะกรรมการขับเคลื่อน และนําเสนอผลงานที่โดดเด่นของสถานศึกษา ผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ สู่สาธารณชน 4. จัดทําเอกสาร สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ความเคลื่อนไหว และรณรงค์เพื่อการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา การระดมทุนเพื่อการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา การเสร ิมสร้างการมีส่วนร่วมจัดการศึกษาของภาคประชาชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 5. แต่งตัง้คณะทํางานเพอทําการแทนหร ือปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี ื่มอบหมาย 2. คณะอนุกรรมการบร ิหารงบประมาณ นายก อบจ.กาญจนบุร ี ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ 1. อุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุร ี ประธาน อนุกรรมการ 2. ศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุร ี รองประธาน อนุกรรมการ 3. สพป.กจ 1 อนุกรรมการ 4. คลังจังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 5. ประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 6. ประธานหอการค้าจังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 7. รอง นายก อบจ.กาญจนบุร ี อนุกรรมการ 8. ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว อนุกรรมการ 9. นายสุรสีห์พลไชยวงศ์ อนุกรรมการ 10. ผอ.รร.พระแท่นดงรังว ิทยาคาร สพม.กจ อนุกรรมการ 11. ผู้อํานวยการกลุ่มอํานวยการ ศธจ.กาญจนบุร ี อนุกรรมการ และเลขานุการ อํานาจหน้าที่ 1. จัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้แก่สถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีเพื่อการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใน แต่ละปีงบประมาณ 2. การส่งเสร ิมสนับสนุนการระดมทรัพยากร ทรัพย์สินที่มีผู้บร ิจาคเพื่อการศึกษาให้กับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 3. กํากับติดตามการใช้จ่ายเงินที่สถานศึกษานําร่องได้รับจากพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 4. ดําเนินการวางแผนการบร ิหารงานงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การรับและการใช้จ่ายเงิน งบประมาณที่ได้รับเพื่อขับเคลื่อน การดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 5. แต่งตั้งคณะทํางานเพื่อทําการแทนหรอืปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี มอบหมาย 3. คณะอนุกรรมการส่งเสร ิมและพัฒนาบุคลากร อธิการบดีมหาว ิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุร ี ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ 1. นายอนันต์กัลปะ ผอ.สกสค. ประธาน อนุกรรมการ 2. ผอ.สพม.กจ รองประธาน อนุกรรมการ 3. รองศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 4. ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 5. ประธานศูนย์เคร ือข่ายส่งเสร ิมการศึกษา เอกชนจังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 6. ผอ.สํานักงาน กศน.กาญจนบุร ี อนุกรรมการ 7. ผู้อํานวยการกลุ่มบร ิหารงานบุคคล สพม.กจ อนุกรรมการ 8. ผู้อํานวยการกลุ่มบร ิหารงานบุคคล อนุกรรมการ สพป.กจ 1 9. ผู้อํานวยการกลุ่มบร ิหารงานบุคคล สพป.กจ 2 อนุกรรมการ 10. ผู้อํานวยการกลุ่มบร ิหารงานบุคคล สพป.กจ 3 อนุกรรมการ 11. ผู้อํานวยการกลุ่มบร ิหารงานบุคคล สพป.กจ 4 อนุกรรมการ 12. ผอ.รร.เทพมงคลรังสี สพท.กจ อนุกรรมการ 13. ผอ.รร.บ้านสามยอด สพป.กจ 4 14. ผู้อํานวยการกลุ่มบร ิหารงานบุคคล ศธจ.กาญจนบุร ี อนุกรรมการ และเลขานุการ
26 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 อํานาจหน้าที่ 1. ส่งเสร ิมการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษานําร่องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ จัดการเร ียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและเหมาะสมกับสภาพในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 2. เสนอเพื่อให้มีการออกกฎ ก.ค.ศ. หร ือหลักเกณฑ์ ว ิธีการ หร ือเงื่อนไข สําหรับการบร ิหารงานบุคคลของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้ง การโยกย้าย การเลื่อนเงินเดือนและการประเมินวทิยฐานะ ต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เกิดความเหมาะสมกับการบร ิหารงานของสถานศึกษานําร่อง ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. ให้ความเห็นในกรณีที่หน่วยงานใดประสงค์จะดําเนินโครงการ กิจกรรม หร ือภารกิจใดซึ่งให้สถานศึกษานําร่องเป็นผู้ดําเนินการ หร ือร่วมดําเนินการให้หน่วยงานต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 4. ให้ความเห็นต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีในการจัดการเร ียนการสอนของสถานศึกษา นําร่องที่ประสงค์จะดําเนินการร่วมกับหน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน หรอืภาคประชาสังคม ทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ตามที่เห็นสมควร ในกรณีที่เป็นการจัดการเรยีนการสอนร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศ ที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 5. แต่งตั้งคณะทํางานเพื่อทําการแทนหรอืปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี มอบหมาย 4. คณะอนุกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พาณิชย์จังหวัดกาญจนบุร ี ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ 1. ผอ.สพม.กจ ประธาน อนุกรรมการ 2. ผอ.รร.กาญจนานุเคราะห์ ผอ.สพม.กจ รองประธาน อนุกรรมการ 3. นายศุภชัย มากสมบูรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 4. ผอ.สพป.กจ 1 อนุกรรมการ 5. ผอ.สพป.กจ 2 อนุกรรมการ 6. ผอ.สพป.กจ 3 อนุกรรมการ 7. ผอ.สพป.กจ 4 อนุกรรมการ 8. ผอ.รร.ทองผาภูมิว ิทยา สพม.กจ อนุกรรมการ และเลขานุการ 9. นายสราวุธ พูลพิพัฒน์ อนุกรรมการและ นักว ิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ ศธจ.กาญจนบุร ี ผู้ช่วยเลขานุการ อํานาจหน้าที่ 1. กําหนดยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 2. ส่งเสรมิพัฒนา เพิ่มขีดความสามารถให้แก่หน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อทําการพัฒนานวัตกรรม การศึกษาหร ือนํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ 3. จัดให้มีการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษานําร่อง 4. แต่งตัง้คณะทํางานเพือ่ทําการแทนหรอืปฏิบัติงานตามทีค่ณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรร การศึกษาจังหวัดกาญจนบุรีมอบหมาย 5. รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษารวมทั้งปัญหาและอุปสรรคในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 6. กําหนดหลักเกณฑ์วธิีการ และเงื่อนไขการพิจารณาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาแห่งใดที่ประสงค์ จะเป็นสถานศึกษานําร่องเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 7. พิจารณาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาแห่งใดที่แจ้งความประสงค์จะเป็น สถานศึกษานําร่องเพื่อขออนุมัติ ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 27 5. คณะอนุกรรมการว ิชาการ งานว ิจัย และนวัตกรรม รองอธิการบดีมหาว ิทยาลัยมหิดล ว ิทยาเขตกาญจนบุร ี ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ 1. ผอ.สพป.กจ 1 ประธาน อนุกรรมการ 2. ผอ.สพม.กจ รองประธาน อนุกรรมการ 3. ผอ.สํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 4. เกษตรจังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ 5. ประธาน อศจ.กาญจนบุร ี อนุกรรมการ 6. ประธานศูนย์เคร ือข่ายส่งเสร ิม การศึกษาเอกชน อนุกรรมการ 7. คณบดีคณะครุศาสตร์ มรภ.กจ. อนุกรรมการ 8. รศ.กรัณย์พล ว ิวรรธมงคล อาจารย์มรภ.กจ. อนุกรรมการ 9. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มศก. อนุกรรมการ 10. ศ.นร ินทร์สังข์รักษา อาจารย์มศก. อนุกรรมการ 11. ผอ.รร.เทพมงคลรังสี สพม.กจ อนุกรรมการ 12. ผอ.รร.ทองผาภูมิว ิทยา สพม.กจ อนุกรรมการ 13. ผอ.รร.บ้านสามยอด สพป.กจ 4 อนุกรรมการ 14. ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบโครงการ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สพม.กจ อนุกรรมการ 15. ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบโครงการ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สพป.กจ 1 อนุกรรมการ 16. ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบโครงการ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สพป.กจ 2 อนุกรรมการ 17. ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบโครงการ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สพป.กจ 3 อนุกรรมการ 18. ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบโครงการ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สพป.กจ 4 อนุกรรมการ 19. ผอ.กองการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม อบจ.กาญจนบุร ี อนุกรรมการ 20. ผอ.กองการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ทม.กาญจนบุร ี อนุกรรมการ 21. ท้องถิน่จังหวัดกาญจนบุรีอนุกรรมการ 22. รองศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุร ี อนุกรรมการ และเลขานุการ 23. น.ส.ถว ิล หวังกุ่ม ศึกษานิเทศก์ศธจ.กาญจนบุร ี อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 24. นายนิวัตน์โชติสวัสดิ์ ศึกษานิเทศก์ศธจ.กาญจนบุร ี อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อํานาจหน้าที่ 1. พิจารณาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อนําไปใช้กับสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให้ครอบคลุมสมรรถนะสําคัญของผู้เร ียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมาตรฐานการเร ียนรู้เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดกาญจนบุร ีอนุมัติใช้หลักสูตร 2. พิจารณาการขออนุญาตการใช้หลักสูตรต่างประเทศของสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา นําความเห็นเสนอต่อ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบาย พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. ประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีรวมถึง ให้ข้อคิดเห็น ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีในการพิจารณาสถานศึกษาที่สมัครเข้าร่วมหร ือ สถานศึกษาที่ขอยกเลิกการเป็นสถานศึกษาในพื้นที่พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 4. ส่งเสรมิสนับสนุนการวจิัยทางการศึกษา ประสานภาคีเครอืข่าย เพิ่มขีดความสามารถให้แก่หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษา ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีเพื่อทําการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาหร ือนํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ 5. จัดให้มีการออกแบบการทดสอบผู้เร ียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิท์างการศึกษาในพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี 6. ส่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ และนิเทศ ติดตามการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด กาญจนบุร ี
28 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 7. กํากับ ดูแลการเทียบโอนผลการเร ียนและการเทียบวุฒิการศึกษาของผู้เร ียนระหว่างสถานศึกษานําร่องและสถานศึกษาอื่น ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษากําหนด 8. จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้เร ียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนภาคเอกชน และผู้แทนภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเกี่ยวกับการดําเนินการปรับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้พืน้ฐานร่วมกับคณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา หรอืสถานศึกษานําร่อง (แล้วแต่กรณี) 9. พิจารณาให้ความเห็นชอบ กรณีที่หน่วยงานใดประสงค์จะดําเนินโครงการ กิจกรรม หร ือภารกิจ ร่วมกับสถานศึกษานําร่อง ซึ่งความในพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษากําหนดให้ต้องขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีก่อนดําเนินการ 10. ส่งเสร ิมให้มีการว ิจัยเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ทั้งในระดับสถานศึกษาและระดับพื้นที่นวัตกรรม เพื่อนําผลไปใช้ในการ กําหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 11. แต่งตั้งคณะทํางานเพื่อทําการแทนหรอืปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี มอบหมาย 12. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีมอบหมาย
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 29 2. คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานกรรมการ 2. ผอ.สพป.ชม 6 กรรมการ 3. ผอ.สพม.ชม กรรมการ 4. นายก อบจ.เชียงใหม่ กรรมการ 5. นายสําเร็จ ไกรพันธ์ ผอ.รร.แม่ร ิมว ิทยาคม กรรมการ 6. นางอําไพ มณีวรรณ ผอ.รร.บ้านขุนแม่ตื่นน้อย กรรมการ 7. รศ.เกียรติสุดา ศร ีสุข คณบดีคณะศึกษาศาสตร์มช. กรรมการ 8. ผศ.เยี่ยมลักษณ์อุดาการ คณบดีคณะคุรุศาสตร์มร.มช. กรรมการ 9. นายจุลนิตย์วังว ิวัฒน์ เลขาธิการหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ กรรมการ 10. นางนรรธพร จันทร์เฉลี่ย เสร ิบุตร กรรมการ ประธานมูลนิธิโรงเร ียนสตาร์ฟิชคันทร ีโฮม 11. ผศ.วรรณา เทียนมี ผอ.มูลนิธิภาษาศาสตร์ประยุกต์ กรรมการ 12. นางสิร ินันท์ศร ีว ีระสกุล กรรมการ 13. นายสินอาจ ลําพูนพงศ์ กรรมการ 14. นายโกศล ปราคํา กรรมการ 15. นายบวรเวทย์ตันตรานนท์ กรรมการ 16. นายชัชวาล ทองดีเลิศ กรรมการ 17. ผศ.สุภัทร ชูประดิษฐ์ กรรมการ 18. น.ส.สุธิดา แซ่เตี๋ยว กรรมการ 19. ผศ.สายฝน แสนใจพรม กรรมการ 20. นายไพรัช ใหม่ชมภู กรรมการ 21. ศึกษาธิการจังหวัด กรรมการและ เลขานุการ ให้คณะกรรมการขับเคลื ่อนพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ตามประกาศนี้มีหน้าที ่และอํานาจตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่แต่งตั้ง 1. คณะอนุกรรมการว ิชาการ ว ิจัยและประเมินผล 1. รศ.เกียรติสุดา ศร ีสุข คณบดีคณะศึกษาศาสตร์มช. ประธาน อนุกรรมการ 2. นายสินอาจ ลําพูนพงศ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ รองประธาน อนุกรรมการ 3. ศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ รองประธาน อนุกรรมการ 4. นายบุญเสร ิม จิตเจนสุวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 5. นายปราโมทย์เลิศชีวกานต์ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 6. น.ส.วงเดือน โปธิปัน ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 7. รศ.สมเกียรติอินทสิงห์ รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์มช. อนุกรรมการ 8. ผศ.อรทัย อินตา หัวหน้าภาคว ิชาหลักสูตรและการสอน มร.ชม. อนุกรรมการ 9. ผศ.สายฝน แสนใจพรม อาจารย์ประจําคณะศึกษาศาสตร์มร.ชม. อนุกรรมการ 10. ผศ.สุบัน พรเว ียง อาจารย์ประจําคณะศึกษาศาสตร์มช. อนุกรรมการ 11. นางสุนันท์นาหลวง ผู้อํานวยการ สํานักงาน กศน.อําเภอหางดง อนุกรรมการ 12. น.ส.พวงชมพูเฮงประเสร ิฐ ผอ.รร.บ้านห้วยปูลิง สพป.ชม 5 อนุกรรมการ 13. ผศ.วรรณา เทียนมี ผอ.มูลนิธิภาษาศาสตร์ประยุกต์ อนุกรรมการ 14. มล.นิศามณีผลธัญญา ผู้รับใบอนุญาต รร.สวนเด็กสันกําแพง อนุกรรมการ 15. นางอนงค์ศร ีบุญเร ือง อนุกรรมการ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ อบจ.เชียงใหม่ 16. น.ส.เกษราภรณ์สิงห์คะมณี ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ สพม.ชม อนุกรรมการ 17. น.ส.เกษแก้ว ปวนแดง ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ สพป.ชม 6 อนุกรรมการ 18. รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ อนุกรรมการ 19. นายนพดล โป่งอ้าย ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการ และเลขานุการ 20. นางจุฬาพร ส่งสิร ิฤทธิกุล ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 21. น.ส.กมลพรรณ กันทะทิพย์ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 22. น.ส.วนิจช์ตา โชติว ิศิษฐ์กุล ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.เชียงใหม่ ผู้ช่วยเลขานุการ 23. นายรัชภูมิสมสมัย ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.เชียงใหม่ ผู้ช่วยเลขานุการ 24. น.ส.ชนิกานต์เร ือนแก้ว ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.เชียงใหม่ ผู้ช่วยเลขานุการ
30 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 อํานาจหน้าที่ 1. ประสานให้หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะให้การสนับสนุนทางเทคนิคในการจัดทําสื่อการสอน จัดการเร ียนรู้ในรูปแบบใหม่ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา จัดระบบการวัดและประเมินผลรวมทั้งการดําเนินงานอื่น ๆ เพื่อส่งเสรมิและพัฒนาพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 2. ส่งเสร ิมการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษานําร่องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ จัดการเร ียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและเหมาะสมกับบร ิบทของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. กําหนดหลักเกณฑ์ ว ิธีการ และเงื่อนไขให้ได้มาซึ่งโรงเร ียนนําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ โดยจัดให้มี การประเมินความพร้อมในการเป็นสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 4. ส่งเสร ิมและสนับสนุนนวัตกรรมการบร ิหารงานว ิชาการของโรงเร ียน นําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้กับการ จัดการศึกษาในสถานศึกษา นําร่องให้เหมาะสมกับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 5. จัดให้มีการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษานําร่อง รวมถึงให้ข้อคิดเห็นต่อการคงอยู่หร ือพ้นจากการเป็นสถานศึกษานําร่อง 6. ส่งเสร ิม สนับสนุน และติดตามการจัดการศึกษาของสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 7. เพิ่มขีดความสามารถให้แก่หน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อทําการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา หร ือการนํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ 8. นิเทศ ติดตามการจัดกระบวนการเร ียนรู้ของสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 9. ว ิเคราะห์และว ิจัยเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 10. ส่งเสร ิมสนับสนุนให้สถานศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ ทําการว ิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการศึกษา 11. รายงานผลการดําเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 12. เสนอแนะให้พิจารณาแก้ไขกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 13. แต่งตัง้คณะทํางานเพือ่ปฏิบัติงานตามทีค่ณะอนุกรรมการวชิาการ วจิัยและประเมินผลมอบหมาย 14. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่มอบหมาย 2. คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์และแผนงาน 1. นายชาญ คําภิระแปง ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธาน อนุกรรมการ 2. ศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ รองประธาน อนุกรรมการ 3. ผอ.สพป.ชม 1 อนุกรรมการ 4. ผอ.สพป.ชม 2 อนุกรรมการ 5. นางสิร ินันท์ศร ีว ีระสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 6. น.ส.สุธิดา แซ่เตี๋ยว ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 7. นายนพพร เดชชิต รอง ผอ.สพป.ชม 6 อนุกรรมการ 8. ผศ.เยี่ยมลักษณ์อุดาการ คณบดีคณะครุศาสตร์มร.ชม. อนุกรรมการ 9. นายนพดล มณีเฑียร อนุกรรมการ ผอ.ว ิทยาลัยเทคโนโลยีและสหว ิทยาการ มทร.ล้านนา 10. ประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงใหม่ อนุกรรมการ 11. นายประวัติผันผาย ผอ.รร.ฝางชนูปภัมภ์สพม.ชม อนุกรรมการ 12. นายสําเร็จ ไกรพันธ์ อนุกรรมการ ผอ.รร.บ้านแม่ร ิมว ิทยาคม สพม.ชม 13. น.ส.ธาราทิพย์วงษ์บรรณะ อนุกรรมการ ผอ.รร.นวมินทนาชูทิศพายัพ สพม.ชม 14. นายพูลศักดิ์จิตสว่าง ผอ.รร.ยุพราชว ิทยาลัย สพม.ชม อนุกรรมการ 15. นายวรชัย ภิรมย์ ผอ.รร.บ้านบวกครกเหนือ สพป.ชม 4 อนุกรรมการ 16. นายม่อนถิน่นพคุณ ผอ.รร.บ้านห้วยนํ้าดิบ สพป.ชม 6 อนุกรรมการ 17. นายปฏิภาณ โรจน์รุ่ง อนุกรรมการ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.เชียงใหม่ 18. รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ อนุกรรมการ 19. ผู้อํานวยการกลุ่มนโยบายและแผน ศธจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการและ เลขานุการ 20. น.ส.พัฒนาพร พวงสายใจ นักว ิเคราะห์นโยบายและแผน ศธจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 21. น.ส.ปานมนัส โปธา นักว ิเคราะห์นโยบายและแผน ศธจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 22. น.ส.ชัชฎาภรณ์ชัยพรม ผู้ช่วยเลขานุการ นักว ิชาการคอมพิวเตอร์ศธจ.เชียงใหม่ 23. น.ส.ภัณฑิรา เขื่อนคํา ผู้ช่วยเลขานุการ นักว ิเคราะห์นโยบายและแผน ศธจ.เชียงใหม่ 24. ผู้แทน ปส.กช.เชียงใหม่ ผู้ช่วยเลขานุการ 25. ผู้อํานวยการกลุ่มนโยบายและแผน สพป.ชม 1 – 6 ผู้ช่วยเลขานุการ 26. ผู้อํานวยการกลุ่มนโยบายและแผน สพม.ชม ผู้ช่วยเลขานุการ
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 31 อํานาจหน้าที่ 1. จัดทําร่างยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อวางนโยบายแนวทางการจัด การศึกษาในพื้นที่ 2. จัดให้มีระบบข้อมูลตามมาตรฐานที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษากําหนด 3. ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ 4. รายงานผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ และแผนปฏิบัติการประจําปี เสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 5. แต่งตัง้คณะทํางานเพือ่ปฏิบัติงานตามทีค่ณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์และแผนงานมอบหมาย 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่มอบหมาย 3. คณะอนุกรรมการบรหิารจัดการเชิงพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 1. นายโกศล ปราคํา ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธาน อนุกรรมการ 2. นายรตนภูมิโนสุ ผู้ทรงคุณวุฒิ รองประธาน อนุกรรมการ 3. ศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ รองประธาน อนุกรรมการ 4. นายไพรัช ใหม่ชมภู ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 5. นายชัชวาลย์ทองดีเลิศ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 6. นายจิรเมธ จันทบูรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 7. นายทิพากร ศิร ิพัฒนพงศ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 8. นายนิมิตร ไทยดํารงค์ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 9. นายสุชน ว ิเชียรสรรค์ ผอ.สพม.ชม อนุกรรมการ 10. นายอนุกูล ศร ีสมบัติ ผอ.สพป.ชม 3 อนุกรรมการ 11. นางจุไรรัตน์จุลจักรวัฒน์ อนุกรรมการ อาจารย์ประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มร.ชม. 12. นางว ิภาวัลย์วรพุฒิพงค์ รองนายก อบจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการ 13. นายวัชรพงศ์ฝ้นัติบ๊ ผอ.ว ิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ประธาน อศจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการ 14. นายเกร ียง ฐิติจําเร ิญพร ผอ.รร.ปร้นิสรอยแยลว์ว ิทยาลัย อนุกรรมการ 15. นายมานิช ถาอ้าย อนุกรรมการ ผอ.รร.ต้นแก้วผดุงพิทยาลัย อบจ.เชียงใหม่ 16. น.ส.สมจิต ตาคําแสง ผอ.รร.ดอยเต่าว ิทยาคม สพม.ชม. อนุกรรมการ 17. นายณรงค์อภัยใจ ผอ.รร.บ้านพระนอน สพป.ชม 2 อนุกรรมการ 18. นายพิศิษฐ์พงษ์ไชยแก้ว ผอ.รร.บ้านสบลาน สพป.ชม 4 อนุกรรมการ 19. รองสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด เชียงใหม่ อนุกรรมการ 20. นายเปรม ศร ีว ิชัยลําพรรณ์ ผอ.กลุ่มบร ิหารงานบุคคล ศธจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการและ เลขานุการ 21. นายณัฐว ิรุฬห์ว ิรุฬห์ว ิร ิยางกูร นิติกรชํานาญการ ศธจ.เชียงใหม่ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 22. นางสุพัตา ศร ีสุภมาตุ ผู้ช่วยเลขานุการ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ ศธจ.เชียงใหม่ 23. น.ส.กรรณิการ์นาร ี ผู้ช่วยเลขานุการ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.เชียงใหม่ 24. น.ส.ยศวดีเขตต์เมืองมูล ศึกษานิเทศก์ศธจ.เชียงใหม่ ผู้ช่วยเลขานุการ อํานาจหน้าที่ 1. ประสาน ส่งเสร ิม และสนับสนุน ให้เกิดเครอืข่ายเพื่อการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ทั้งในหน่วยงานราชการ ภาคประชาสังคม องค์กรวชิาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา และองค์กรอื่นทั้งในและนอกพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่เพื่อให้เกิด การขับเคลื่อนตามเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
32 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 2. บูรณาการการดําเนินงานร่วมกันระหว่างสถานศึกษานําร่อง หน่วยงานทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่น ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงาน เพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 3. เพิ่มขีดความสามารถให้แก่หน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่เพื่อทําการพัฒนานวัตกรรม การศึกษาหร ือนํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ 4. สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการดําเนินการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 5. จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อเสนอแนะให้เกิดการแก้ไขกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การตําเนินงาน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6. รายงานผลการดําเนินงานขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7. เสนอแนะให้พิจารณาแก้ไขกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 8. แต่งตัง้คณะทํางานเพือ่ปฏิบัติงานตามทีค่ณะอนุกรรมการบรหิารจัดการเชิงพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่มอบหมาย 9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่มอบหมาย
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 33 3. คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานกรรมการ 2. ผอ.สพป.นธ 1 กรรมการ 3. ผอ.สพม.นธ กรรมการ 4. นายก อบจ.นราธิวาส กรรมการ 5. นายนิรัตน์นราฤทธิพันธ์ ผอ.รร.สุไหงโก-ลก กรรมการ 6. นายสว่าง ชินพงษ์ ผอ.รร.บ้านสุไหงโก-ลก กรรมการ 7. นายอาสลัน หิเล กรรมการ . คณบดีคณะว ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมนร. 8. น.ส.อุไรวรรณ ชินพงษ์ รอง ผอ.ว ิทยาลัยชุมชนนราธิวาส กรรมการ 9. นายอชิพล พชรพงศ์พลิน กรรมการ กรรมการผู้จัดการ บรษิัท ศิวะเทรดดิ้ ง 2016 จํากัด 10. น.ส.อลิษา ชนากานต์ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ บรษิัท นูนุห์อินเตอร์เนชัน่แนล จํากัด 11. นายเมธา เมฆารัฐ กรรมการ ประธานกรรมการ บร ิษัท ประชารัฐรักสามัคคีนราธิวาส (ว ิสาหกิจเพื่อสังคม) จํากัด 12. นายเจตน์มาหามะ กรรมการ ประธานกรรมการ บร ิษัท ซัน โฟรเซ่น ฟรุ๊ต จํากัด 13. นายกิตติหวังธรรมมั่ง ประธานหอการค้านราธิวาส กรรมการ 14. นายสิทธิเทพ นราทอง กรรมการ ประธานกรรมการ บร ิษัท นราทองพลัส จํากัด 15. นางนูร ีฮัน เร็งมา กรรมการ 16. ผศ.หลุยส์หะยีสะและ กรรมการ 17. นายเทอดศักดิ์ถาวรสุทธิ์กรรมการ 18. นายพิษิฏฐ์สุรวัลลภ กรรมการ 19. นายศุภชัย รุ่งอารยะทรัพย์ กรรมการ 20. นายอับดุลอาซิซ เจ๊ะมามะ กรรมการ 21. ศึกษาธิการจังหวัด กรรมการและ เลขานุการ ให้คณะกรรมการขับเคลื ่อนพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาสตามประกาศนี้มีหน้าที ่และอํานาจตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาสแต่งตั้ง 1. คณะอนุกรรมการด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ติดตามและประเมินผล 1. นายเทอดศักดิ์ถาวรสุทธิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธาน อนุกรรมการ 2. รศ.ดร.ชญาพิมพ์อุสาโห อนุกรรมการ อาจารย์ประจําจุฬาลงกรณ์มหาว ิทยาลัย 3. นายว ิร ิน นาราว ิทย์ ผู้ช่วยอธิการบดีมนร. อนุกรรมการ 4. นายอชิพล พชรพงศ์พลิน ผู้แทนเอกชน อนุกรรมการ 5. นายเจตน์มาหามะ ผู้แทนเอกชน อนุกรรมการ 6. นายสมัย เลาะยา ผอ.รร.บ้านบาตูมิตรภาพที่ 66 อนุกรรมการ 7. นางโสรยา อาแซ ผอ.รร.บ้านมูโนะ อนุกรรมการ 8. นางพรทิพย์วุตติสาหะ อนุกรรมการ ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน ศธจ.นราธิวาส 9. น.ส.ซาร ีพะ ดีร ี ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผล ศธจ.นราธิวาส อนุกรรมการและ เลขานุการ มีหน้าที่และอํานาจ 1. เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ติดตามและประเมินผลระดับจังหวัดในการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตรรมการศึกษาและการส่งเสร ิม พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในจังหวัดนราธิวาส รวมทั้งการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษานําร่อง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นไปตามเจตนารมณ์พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาสมอบหมาย
34 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 2. คณะอนุกรรมการด้านส่งเสร ิมการบร ิหารว ิชาการ 1. น.ส.อุไรวรรณ ชินพงษ์ รอง ผอ.ว ิทยาลัยชุมชนราธิวาส ประธาน อนุกรรมการ 2. รศ.ดร.วรรณดีสุทธินรากร อนุกรรมการ อาจารย์ประจํามหาว ิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3. นางนูร ีฮัน เร็งมา ข้าราชการบํานาญ อนุกรรมการ 4. นายประกอบ มณีโรจน์ ข้าราชการบํานาญ อนุกรรมการ 5. น.ส.อามีเนาะ มามุ ข้าราชการบํานาญ อนุกรรมการ 6. นายนิยอ บาฮา อนุกรรมการ ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล สพป.นธ 3 7. น.ส.ดาหลา ธนาจิรเสฐ อนุกรรมการ ผู้บร ิหาร รร.โก-ลกคิดส์ 8. น.ส.ไซหนับ เอสเอ อนุกรรมการ นักว ิชาการชํานาญการพิเศษ ศธภ. 7 9. นางปัทมาวดีขันธ์ชัย ศึกษานิเทศก์ชํานาญการ ศธจ.นราธิวาส อนุกรรมการและ เลขานุการ มีหน้าที่และอํานาจ 1. เสนอรูปแบบ แนวทาง และนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการบร ิหารงานว ิชาการในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ส่งเสร ิมให้เกิดการ คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการเรยีนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและลดความเหลื่อมลํ้าในการเรยีนรู้ของผู้เรยีน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งกําหนดมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาและสถานศึกษนําร่องต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 3. การกํากับ ติดตามและประเมินผล การดําเนินงานในพื้นที่นวัตกรรมกาณศึกษาจังหวัดนราธิวาส 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาสมอบหมาย 3. คณะอนุกรรมการด้านส่งเสร ิมการบร ิหารบุคคล 1. นายสว่าง ชินพงษ์ ผอ.รร.บ้านสุไหงโก-ลก ประธาน อนุกรรมการ 2. นายเกร ียงไกร ศักระพันธุ์ ผอ.สก.สค.นราธิวาส อนุกรรมการ 3. นายว ิเชษฐ์ไทยทองนุ่ม นายก ทต. ร ือเสาะ อนุกรรมการ 4. น.ส.กฤตภัทร ภาพยนต์ อนุกรรมการ ผอ.กลุ่มงานบร ิหารทรัพยากรบุคคล ศธจ.นราธิวาส 5. ผศ.หลุยส์หะยีสาและ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 6. นายอับดุลอาซิดอเล๊าะ ผอ.รร.บ้านมะนังกาหยี อนุกรรมการ 7. นางว ินิพร แซ่ฮํ่า นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ อนุกรรมการ ปฏิบัติหน้าที่ ผอ.กลุ่มบร ิหารงานบุคคล ศธจ.นราธิวาส 8. นายธนะวัฒน์เลิศประเสร ิฐ ศึกษานิเทศชํานาญการ ศธจ.นราธิวาส อนุกรรมการ และเลขานุการ มีหน้าที่และอํานาจ 1. เสนอแนวทางส่งเสรมิบรหิารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้ง การโยกย้าย การเลื่อนเงินเดือน และการประเมินว ิทยฐานะ ให้เกิดความเหมาะสมกับการบร ิหารงานของสถานศึกษานําร่อง ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาสมอบหมาย
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 35 4. คณะอนุกรรมการด้านส่งเสร ิมการบร ิหารงบประมาณ 1. นายเมธา เมฆารัฐ ประธานกรรมการบร ิษัทประชารัฐ ประธาน อนุกรรมการ รักสามัคคีนราธิวาส (ว ิสาหกิจเพื่อสังคม) จํากัด 2. นายพิษิฏฐ์สุรวัลลภ รองอธิการบดีมนร. อนุกรรมการ 3. ทพญ.เนาวร ินทร์จารุพงศา ผู้ทแทนเอกชน อนุกรรมการ 4. นายธรรมศักดิ์สุขประเสรฐิ สํานักงานทนายความ อนุกรรมการ 5. น.ส.สุนีย์อาแว ผอ.รร.บ้านสะโล อนุกรรมการ 6. น.ส.โสภิดา ตุลยาพงศ์ อนุกรรมการ ผอ.หน่วยตรวจสอบภายใน ศธจ.นราธิวาส 7. นายนิธิรอน ภัทราธิกุล ศึกษานิเทศชํานาญการ ศธจ.นราธิวาส อนุกรรมการและ เลขานุการ มีหน้าที่และอํานาจ 1. เสนอแนวทาง หลักเกณฑ์ว ิธีการ ระเบียบ หร ือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษานําร่อง สังกัด สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา การส่งเสรมิประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการบรหิาร งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การรับและการใช้จ่ายเงินทรัพย์สินที่มีผู้บร ิจาคเพื่อการศึกษาให้แก่สถานศึกษานําร่องต่อ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 2. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาสมอบหมาย
36 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 4. คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานกรรมการ 2. ผอ.สพป.ปน 1 กรรมการ 3. ผอ.สพม.ปน กรรมการ 4. นายก อบจ.ปัตตานี กรรมการ 5. นายว ิรัตน์จันทร์งาม กรรมการ ผอ.รร.นิคมสร้างตนเองโคกโพธิ์มิตรภาพที่ 148 6. นายประเสร ิฐ อิบรอเห็น ผอ.รร.บ้านเขาตูม กรรมการ 7. นายแวดาโอะ แวดือเระ ผู้จัดการ รร.จงรักสัตย์ว ิทยา กรรมการ 8. รศ.เอกร ินทร์สังข์ทอง กรรมการ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ม.อ. ว ิทยาเขตปัตตานี 9. นายณัฐนนท์พงษ์ธัญญะว ิร ิยา ประธานหอการต้าจังหวัดปัตตานี กรรมการ 10. นางสุภาวดีโชคสกุลนิมิต ประธานหอการค้าจังหวัดปัตตานี กรรมการ 11. นายอัลดุลลายิด เบ็ญฮาวัน กรรมการ 12. นายเรซา ชูสุวรรณ กรรมการ 13. นายสมชาย ตั้งสิรวิรกุล กรรมการ 14. นายตติยะ ฉิมพาลี กรรมการ 15. ผศ.ชวลิต เกิดทิพย์ กรรมการ 16. นายโพธิ์บุญจันทร์เพชร กรรมการ 17. ผศ.ธวัช นุ้ยผอม กรรมการ 18. นายมูฮําหมัด ประจัน กรรมการ 19. นางมัสนะห์สารี กรรมการ 20. ศึกษาธิการจังหวัด กรรมการและ เลขานุการ ให้คณะกรรมการขับเคลื ่อนพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีตามประกาศนี้มีหน้าที ่และอํานาจตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีแต่งตั้ง 1. คณะอนุกรรมการด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ติดตามและประเมินผล 1. นายณัฐนนท์พงศ์ธัญญะว ิร ิยา (ปธ.หอการจังหวัดชายแดนภาคใต้) ประธาน อนุกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 2. นายสมชาย ตัง้สิรวิรกุล อนุกรรมการ (ผจก. ธนาคารกรุงไทย สาขาปัตตานี ) ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 3. นายตติยะ ฉิมพาลี อนุกรรมการ (รองประธานภาคใต้และประธานกลุ่ม จชต.) ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 4. ผศ.ชวลิต เกิดทิพย์ อนุกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 5. ผอ.สช.จ.ปัตตานี อนุกรรมการ 6. ผอ.สพป.ปน 1 อนุกรรมการ 7. ผอ.สพม.ปน อนุกรรมการ 8. ผอ.กลุ่มอํานวยการ ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการ 9. ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการ และเลขานุการ 10. น.ส.ปาณิสรา อินทศิร ิ นักว ิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ ศธจ.ปัตตานี 11. นางเจ๊ะรูฮานี แวอีซอ นักว ิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดในการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและส่งเสร ิมให้มีเคร ือข่ายโรงเร ียนนําร่องพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา มาตรา 20 (1) 2. กํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหน่วยงานให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 3. จัดให้มีระบบข้อมูลตามมาตรฐานทีค่ณะกรรมการนโยบายกําหนด รวมทัง้ศึกษาและวเิคราะห์แนวทางการจัดการศึกษา ของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 4. นําเสนอรายงานผลการดําเนินงาน ประจําปีต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 5. กลัน่กรองเร่อืงทีจ่ะเข้าสู่การประชุมคณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 6. นําเสนอแนวทางการขับเคลื่อนงบประมาณประจําปีต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีมอบหมาย
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 37 2. คณะอนุกรรมการด้านส่งเสร ิมการบร ิหารว ิชาการ ว ิจัยและประเมินผล 1. รศ.เอกร ินทร์ สังข์ทอง ประธานอนุกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 2. ผศ.มูฮามัสสกร ีมันยูนุ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ม.ฟ.น. อนุกรรมการ 3. นายเรชา ชูสุวรรณ อนุกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 4. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป.ปน 1 อนุกรรมการ 5. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป.ปน 2 อนุกรรมการ 6. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพป.ปน 3 อนุกรรมการ 7. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สพม.ปน อนุกรรมการ 8. หัวหน้ากลุ่มพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการ 9. ผอ.กองการศึกษา อบจ.ปัตตานี อนุกรรมการ 10. น.ส.อาบีบ๊ะ ตาเปาะโต๊ะ อนุกรรมการ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.ปัตตานี 11. นางอานิซะห์ ประจัน อนุกรรมการ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.ปัตตานี 12. น.ส.ฐิติรัตน์ ปุยร ิพันธ์ อนุกรรมการ ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ ศธจ.ปัตตานี 13. รองศึกษาธิการจังหวัดปัตตานี อนุกรรมการ และเลขานุการ 14. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมิน และการจัดการศึกษา ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอรูปแบบ แนวทาง และนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการบร ิหารงานว ิชาการ ในโรงเร ียนนําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให้สอดคล้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 2. ส่งเสรมิสนับสนุนหรอืนําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติไปปรับใช้กับการจัด การศึกษาในสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เหมาะสม 3. ส่งเสร ิม สนับสนุน และติดตามการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษานําร่อง พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถจัดการเร ียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและเกิดการพัฒนานวัตกรรม การศึกษาที่เหมาะสมกับบร ิบทของพื้นที่ 4. ตรวจสอบระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็นประจําทุกปีรวมทั้งจัดให้มี การออกแบบการทดสอบผู้เรยีนเพือ่วัดผลสัมฤทธิท์างการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และว ิธีการที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด 5. ส่งเสร ิม สนับสนุนให้หน่วยงานทางการศึกษาดําเนินการให้สถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในสังกัด ได้พัฒนาหร ือนํา นวัตกรรมการศึกษามาใช้ในการจัดการศึกษา 6. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา สภาพปัญหาและอุปสรรคของสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็น ประจําทุกปีต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 7. จัดให้มีการว ิเคราะห์และว ิจัยเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี
38 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 3. คณะอนุกรรมการด้านกฎหมายและส่งเสร ิมการบร ิหารงานบุคคล 1. ศึกษาธิการจังหวัดปัตตานี ประธาน อนุกรรมการ 2. ผอ.สพป.ปน 1 อนุกรรมการ 3. นายโพธิ์บุญจันทร์เพชร (ทนายความ) อนุกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 4. ผอ.สพม.ปน อนุกรรมการ 5. นายอนุสรณ์ พิทักษ์สันติกุล นิติการชํานาญการ อบจ.ปัตตานี อนุกรรมการ 6. ผอ.กลุ่มบร ิหารงานบุคคล ผอ.สพป.ปน 1 อนุกรรมการ 7. ผอ.กลุ่มบร ิหารงานบุคคล ผอ.สพป.ปน 2 อนุกรรมการ 8. นางอาภรณ์ เบญจวงศ์ นิติการชํานาญการพิเศษ สพป.ปน 3 อนุกรรมการ 9. ผอ.กลุ่มบร ิหารงานบุคคล ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการ และเลขานุการ 10. นายธันนพัฒน์ จิตร์เสน นิติการชํานาญการ ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 11. น.ส.อาซีหย๊ะ หีมล๊ะ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอการนําข้อกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรอืคําสั่งเกี่ยวกับการบรหิารและการจัดการศึกษาเพื่อให้เกิดความอิสระ และความคล่องตัวในการบร ิหารและจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา รวมทัง้ขยายผลไปยังสถานศึกษาอืน่ต่อคณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 2. เสนอแนวทางส่งเสร ิมบร ิหารงานบุคคล ให้ดําเนินการตามกฎ ก.ค.ศ. หร ือเสนอว ิธีการ เงื่อนไข สําหรับการบร ิหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้ง การโยกย้าย การเลื่อนเงินเตือน และการประเมินว ิทยฐานะ ให้เกิดความเหมาะสมกับการบร ิหารของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาต่อคณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี 3. เสนอแนะ และให้ความช่วยเหลือการดําเนินการของสถานศึกษานําร่อง ตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 4. คณะอนุกรรมการด้านการสื่อสารและการมีส่วนร่วม 1. ผศ.ธวัช นุ้ยผอม ประธาน อนุกรรมการ 2. รองศึกษาธิการจังหวัดปัตตานี อนุกรรมการ 3. นายมูฮําหมัด ประจัน อนุกรรมการ 4. นายว ิชิต เพชรยอด อนุกรรมการ 5. ผอ.สํานักงาน กศน.จังหวัดปัตตานี อนุกรรมการ 6. ผศ.มูฮามัสสกร ีมันยูนุ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ม.ฟ.น. อนุกรรมการ 7. ประธาน อศจ.ปัตตานี อนุกรรมการ 8. น..ชไมพร อินทร์แก้ว อนุกรรมการ อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ม.อ.ว ิทยาเขตปัตตานี 9. นายธนาวุฒิ ถนอมลิขิตวงศ์ ประชาสัมพันธ์อบจ.ปัตตานั อนุกรรมการ 10. ผอ.กลุ่มพัฒนาการศึกษา ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการ และเลขานุการ 11. นางขวัญตา ค้าขึ้น ศึกษานิเทศก์ชํานาญการ ศธจ.ปัตตานี อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่และอํานาจ 1. เสนอแนวทาง รูปแบบการสื่อสารและการมีส่วนร่วมโดยการพัฒนากลไกในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. ประสานให้หน่วยงานทางการศึกษา หน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐและเอกชน ดําเนินการร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงานของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. ประสานหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะมาให้การสนับสนุนทางความรู้และเทคนิคในการสื่อสารประชาสัมพันธ์การทําสื่อ การสอนในรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 4. รวบรวมข้อมูลผลการดําเนินงาน การพัฒนานวัตกรรมการศึกษาของสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และหน่วยงาน ต้นสังกัดของสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเผยแพร่ต่อสาธารณชนด้วยว ิธีการที่หลากหลาย จากการมีส่วนร่วม ทุกภาคส่วนในพื้นที่ 5. กลั่นกรองการขับเคลื่อนงานด้านส่งเสรมิการบรหิารวชิาการการสื่อสารและการมีส่วนร่วมเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 39 5. คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานกรรมการ 2. ผอ.สพป.ยล 14 กรรมการ 3. ผอ.สพม.ยล กรรมการ 4. นายก ทน.ยะลา กรรมการ 5. ว่าที่ ร.ต. อับดุลรอแม การ ีอูมา ผอ.รร.นิบงชนูปถัมภ์ กรรมการ 6. นายพีระดนย์การดี กรรมการ ผอ.รร.บันนังสตาอินทรฉัตร มิตรภาพที่ 200 ที่ระลึก ส.ร.อ. 7. นางอรวรรณ เร ืองหิรัญ ผอ.รร.อนุบาลเบตง (สุภาพอนุสรณ์) กรรมการ 8. ผศ.เกสร ีลัดเลีย กรรมการ รองอธิการดีฝ่ายวจิัยและพัฒนาท้องถิ่น มรย. 9. นายอิทธิพัทธ์ศิร ิเสร ีวัฒนา ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยะลา กรรมการ 10. ผศ.เกษม เบ็ญจวงศ์ กรรมการ กรรมการที่ปรึกษาหอการค้าจังหวัดยะลา ด้านการค้า 11. นายไพศาล อาแซ กรรมการ นายกสมาคมการศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา 12. รศ.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต กรรมการ 13. นายเพาซีบาเกาะ กรรมการ 14. นายอรรถสิทธิ์รัตนแคล้ว กรรมการ 15. นางนร ิศรา กุลโชติรัตน์ กรรมการ 16. นายสมชาย กุลคีร ีรัตนา กรรมการ 17. นายณรงค์ชูเพชร กรรมการ 18. ผศ.สมศักดิ์ด่านเดชา กรรมการ 19. รศ.นัททีขจรกิตติยา กรรมการ 20. นายไมตร ีลีอะละ กรรมการ 21. ศึกษาธิการจังหวัด กรรมการและ เลขานุการ ให้คณะกรรมการขับเคลื ่อนพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลาตามประกาศนี้มีหน้าที ่และอํานาจตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลาแต่งตั้ง 1. คณะอนุกรรมการด้านอํานวยการบรหิารและส่งเสรมิการขับเคลื่อน 1. ศึกษาธิการจังหวัดยะลา ประธาน อนุกรรมการ 2. ผศ.นายสมศักดิ์พะเนียงทอง ประธานอนุกรรมการ ด่าเดชา ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 3. ท้องถิน่จังหวัดยะลา อนุกรรมการ 4. ผอ.สพป.ยล 1 อนุกรรมการ 5. ผอ.สพป.ยล 2 อนุกรรมการ 6. ผอ.สพป.ยล 3 อนุกรรมการ 7. ผอ.สช.จ.ยะลา อนุกรรมการ 8. ผอ.สพม.ยล อนุกรรมการ 9. ผอ.กองการศึกษา ทน.ยะลา อนุกรรมการ 10. น.ส.รุ่งกานต์สิร ิรัตน์เร ืองสุข รองปลัด อบจ.ยะลา อนุกรรมการ 11. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผล ศธจ.ยะลา อนุกรรมการและ เลขานุการ มีอํานาจหน้าที่ 1. เสนอร่างยุทธศาสตร์และร่างแผนการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลาให้คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ให้ความเห็นชอบ โดยปรึกษาหาร ือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 20 (1) 2. ดําเนินการประสานให้หน่วยงานทางการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นของรัฐและเอกชน ดําเนินการร่วมกัน เพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดยะลา ตามข้อ 1.1 โดยปรึกษาหาร ือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรา 20 (2) 3. เสนอร่างหลักเกณฑ์ว ิธีการ และเงื่อนไขในการเป็นสถานศึกษานําร่อง ให้คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ให้ความเห็นชอบตามมาตรา 27 วรรคสอง 4. ในกรณีที่หน่วยงานใดประสงค์จะดําเนินโครงการ กิจกรรม หร ือภารกิจใดซึ่งให้สถานศึกษานําร่องเป็นผู้ดําเนินการหร ือ ร่วมดําเนินการ ให้หน่วยงานนั้นเสนอเร่อืงต่ออนุกรรมการฝ่ายนี้เพื่อกลั่นกรองก่อนขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ก่อนดําเนินการ ตามมาตรา 33 5. ในกรณีสถานศึกษานําร่องจัดการเรยีนการสอนร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศจะต้องเสนอเร่อืงต่ออนุกรรมการฝ่ายนี้เพื่อกลั่นกรอง ก่อนขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการขับเคลื่อนฯก่อนดําเนินการตามมาตรา 34 วรรคสอง 6. นําเสนอสถานศึกษานําร่องที่จะพ้นจากการเป็นสถานศึกษานําร่องเพื่อให้คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ให้ความเห็นชอบ ทั้งนี้ให้รับฟงั ความคิดเห็นจากนักเรยีน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษานําร่อง และคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้พืน้ฐาน และจะต้องคํานึงถึงผลกระทบต่อนักเร ียนด้วยโดยให้กําหนดเงื่อนไขให้สถานศึกษานําร่องปฏิบัติเพื่อไม่ให้นักเร ียนและครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับผลกระทบจากการพ้นจากการเป็นสถานศึกษานําร่อง ตามมาตรา 39 7. หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่กฎหมายกําหนดและตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ มอบหมาย
40 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 2. คณะอนุกรรมการฝ่ายว ิชาการ 1. ผศ.เกสลีลัดเลีย รองอธิการบดีฝ่ายว ิจัยและพัฒนา ท้องถิน่มรย. ประธาน อนุกรรมการ 2. นายปราการ เมธาว ิวรรธน์กุล ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 3. นายไมตร ีลีอะละ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 4. นางยะสีลาเต๊ะ อนุกรรมการ ผอ.ส่วนบร ิหารการศึกษา ทม.ยะลา 5. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา หร ือผู้แทน สพป.ยล 1 อนุกรรมการ 6. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา หร ือผู้แทน สพป.ยล 2 อนุกรรมการ 7. ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา หร ือผู้แทน สพป.ยล 3 อนุกรรมการ 8. หัวหน้ากลุ่มพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาหร ือผู้แทน สช.จ.ยะลา อนุกรรมการ 9. น.ส.อรว ินท์ชําระ ศึกษานิเทศก์ศธจ.ยะลา อนุกรรมการ และเลขานุการ 10. น.ส.ศุภธิดา ไกรฤกษ์ เจ้าหน้าที่ มรย. อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ มีอํานาจหน้าที่ 1. ประสานให้หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะให้การสนับสนุนทางเทคนิคในการจัดทําสื่อการสอนและจัดการเร ียนรู้ในรูปแบบใหม่ สําหรับพัฒนานวัตกรรมการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตามมาตรา 20 (3) 2. นําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งซาติไปปรับใช้กับการจัดการศึกษาในสถานศึกษา นําร่องให้เหมาะสมกับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาโดยปรึกษาหาร ือกับหน่วยงานเกี่ยวข้องประกอบด้วย ตามมาตรา 20 (4) 3. ส่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ และติดตามสถานศึกษานําร่องเพื่อให้จัดการเร ียนการสอนที่มีคุณภาพและเกิดการพัฒนา นวัตกรรมการศึกษา ตามมาตรา 20 (7) 4. เสรมิสร้างและเตรยีมความพร้อมให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในการเปน็สถานศึกษานําร่องหรอืในการนํา นวัตกรรมการศึกษาไปใช้ในการจัดการศึกษา ตามมาตรา 20 (8) 5. เพิ่มขีดความสามารถให้แก่หน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อทําการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาหรอื นํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ตามมาตรา 20 (9) 6. พิจารณากลั่นกรอง กรณีสถานศึกษานําร่องร่วมกันจัดซื้อตํารา สื่อการเรยีนการสอนหรอืฐานข้อมูลในระบบทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนํามาใช้ร่วมกันในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาก่อนเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ให้ความเห็นชอบ ตามมาตรา 35 (2) 7. หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่กฎหมายกําหนดและตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ มอบหมาย 3. คณอนุกรรมการฝ่ายติดตามและประเมินผล 1. รศ.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต อาจารย์ประจําคณะว ิทยากร อิสลาม ม.อ. ว ิทยาเขตปัตตานี ประธาน อนุกรรมการ 2. นายดุลลาภ ตาเล๊ะ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 3. นายดุสิต ณ สุวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 4. น.ส.เสาวนิตย์ทว ีสันทนีนุกูล ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 5. นายสมชาย กุลคีร ีรัตนา ผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการ 6. ผศ.โอภาส เกาไสยาภรณ์ อนุกรรมการ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาสื่อและเทคโนโลยี การศึกษา ม.อ. ว ิทยาเขตปัตตานี 7. ผศ.ซัมซูสาอุ อนุกรรมการ อาจารย์ประจําหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาว ิชาการบร ิหารและการจัดการศึกษาอิสลาม ม.อ. ว ิทยาเขตปัตตานี 8. ผศ.เกษม เบ็ญจวงศ์ ผอ.สถาบันรัชภาคย์ยะลา อนุกรรมการ 9. น.ส.พิชญา ชูเพชร ผอ.กลุ่มตรวจราชการและติดตาม ประเมินผล ศธภ.7 อนุกรรมการ และเลขานุการ 10. น.ส.หทัย ศร ีชมภู ศึกษานิเทศก์ศธจ.ยะลา อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ