The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีฯ ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปีฯ ปีการศึกษา 2565

รายงานประจำปีฯ ปีการศึกษา 2565

รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 137 5) ดําเนินโครงการยกระดับการศึกษา ให้ได้มาตรฐาน ประกอบด้วย (1) พัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะและกระบวนการจัดการเร ียนรู้และ การประเมินผล (2) จัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์สําหรับ ห้องเร ียนปฏิบัติการและฐานการเร ียนรู้ที่สอดคล้อง กับกรอบหลักสูตรจังหวัด (3) จัดค่ายพัฒนาทักษะ นักเร ียนที่เชื่ อม โ ยงกับกรอบหลักสูตร จั งหวัด โดยให้โรงเร ียนแกนนําเป็นหลักในการดําเนินการ และสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมค่าย และ (4) จัดทําระบบข้อมูล เพื่ อร อ งรั บ ข้ อ มู ล ส าร ส นเ ท ศพื้ น ที่ นวั ต กรร ม การศึกษาจังหวัดศร ีสะเกษ 6) กําหนดกรอบเคร่อืงมือการประเมินผล สัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรยีนในสถานศึกษา นําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศร ีสะเกษ เพื่อพัฒนาเคร่อืงมือวัดและประเมินผลทางการเรยีนรู้ ฐานสมรรถนะ แบบทดสอบผู้เร ียน และเอกสารรายงาน ผลการเร ียนรู้ฐานสมรรถนะ 7) วางแผนการดําเนินการออกแบบการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ร่วมกับ หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะให้การสนับสนุน ทางเทคนิคในการจัดระบบการประเมินและวัดผล พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ส่งเสร ิมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยมอบหมายให้ครูเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทํา หลักสูตรเป็นรายว ิชาในรายว ิชาที่ตรงกับว ิชาเอก หร ือในรายว ิชาที่มีความถนัด ให้สอดคล้องกับ School Concept ซึ่ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ อั ต ลั ก ษ ณ์ ของสถานศึกษา โดยปัจจุบันมีสถานศึกษาใช้หลักสูตร ประเภทที่ 1 จํานวน 1 แห่ง ประเภทที่ 2 จํานวน 1 แห่ง และประเภทที่ 3 จํานวน 13 แห่ง 2) กําหนดสมรรถนะหลักของสถานศึกษา เพิ่มเติมจาก (ร่ าง) กรอบหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ….และมีบูรณาการ การจัดการเร ียนรู้รายว ิชา โดยใช้ผลลัพธ์การเร ียนรู้ (Learning Outcome) หร ือ LO จากว ิชาพื้นฐาน ซึ่งครูผู้สอนได้จําแนกผลลัพธ์การเร ียนรู้ที่สามารถ บูรณาการได้มาจัดการเร ียนรู้ในรายว ิชาบูรณาการ และมีการปรับเปลี่ยน LO อยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้อง กับหลักสูตร เพื่อให้มีความสมบูรณ์ 3) คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา เพื่อให้สถานศึกษานํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ สําหรับจัดการเร ียนการสอน (1) โครงงานฐานว ิจัย 5 หน่วย 14 ขั้นตอน เป็นการใช้กระบวนการว ิจัย ในการจัดการเร ียนรู้โดยเร่มิจากให้ผู้เร ียนได้เร ียนรู้ จากเร่อืงใกล้ตัวในชุมชน เก็บข้อมูลทุนชุมชน ด้วยเคร่อืงมือต่าง ๆ และนําสิ่งที่ค้นพบมาพัฒนา เป็นโจทย์ว ิจัย เพื่อนํา ไปสู่การสร้างองค์ความรู้ ที่สามารถแก้ปัญหาหร ือพัฒนาโรงเร ียนและชุมชน (2) ก า ร จั ด ก า รเ ร ีย น รู้ โ ด ย ใ ช้“ค รู 3 เ ส้ า ” ครูโรงเร ียน ครูชุมชน ครูพ่อแม่ เพราะการจัดการ เร ียนรู้ไม่ได้เป็นหน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็น หน้าที่ของทุกคนที่อยู่รอบตัวผู้เร ียน (3) กระบวนการ ทางชุมชนการเร ียนรู้ทางว ิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) การจัดการเร ียนรู้ ด้วยกระบวนการโครงงานฐานว ิจัย เป็นกิจกรรมการ เร ียนการสอนในรูปแบบ Active Learning รูปแบบ หนึ่งที่ครูส่วนใหญ่ไม่มีความชํานาญในขั้นตอน และกระบวนการสอน จึงจําเป็นต้องมีการ PLC ร่วมกันทุกสัปดาห์เพื่อสรุปข้อค้นพบจากการจัดการ เร ียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ปัญหาอุปสรรคที่พบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน โดยมีทีมโค้ช ซึ่งประกอบด้วยศึกษานิเทศก์นักวจิัยท้องถิ่น และ


138 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ผู้ทรงคุณวุฒิ(ครูและศึกษานิเทศก์ที่เกษียณอายุ ราชการ) ร่วม PLC กับครูทุกโรงเร ียน สัปดาห์ละ 1 วัน 4) พิจารณาการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา ของผู้เร ียนตามประกาศที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษากําหนด และพิจารณาคู่มือการ วัดแ ล ะปร ะ เมินผล สัมฤทธิ์ทา ง ก า รศึกษา ตามหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ 5) พิจารณาระบบบร ิหารคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษานําร่องตามประกาศที่คณะกรรมการ นโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษากําหนด และ ให้เพิ่มเติมรายละเอียดเพื่อให้สถานศึกษาเข้าใจ กระบวนการ PDCA ทัง้ 4 QM 6) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “ผู้นํา การเปลี่ยนแปลงในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดสตูล”เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้บร ิหารสถานศึกษา นําร่องให้เป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลง สร้างความสัมพันธ์ และร่วมวางแผนการดําเนินงานร่วมกัน 7) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการ จัดการเร ียนรู้แบบ Active Learning สู่การพัฒนา สมรรถนะผู้เร ียนในศตวรรษที่ 21 ร่วมกับโครงการ Innovative For Thai Education (IFTE) เพื่อพัฒนาการจัดการเร ียนรู้เชิงรุกแบบบูรณาการ คณิตศาสตร์ว ิทยาศาสตร์และอังกฤษ 8) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการออกแบบการ จัดการเร ียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อฝึกปฏิบัติการ การออกแบการจัดการเร ียนรู้โดยมีว ิทยากรให้คําแนะนํา และแลกเปลี่ยนความรู้ 9) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการวัดและประเมินผล บนฐานนิเวศการเร ียนรู้สตูล เพื่อว ิเคราะห์นิเวศ การเร ียนรู้ของผู้เร ียนและเชื่อมโยงนิเวศการเร ียนรู้ ทุกแหล่งกับการวัดและประเมินผล 10) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทําผลงาน เพื่อการประเมินวทิยฐานะของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์ว PA สําหรับโรงเร ียนนําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดสตูล 11) จั ดป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร วางแผน การขับเคลื่อนงานในโรงเร ียนนาร่องพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสตูลเพื่อดําเนินการขับเคลื่อน การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา 12) ศาสตราจารย์จรัส สุวรรณมาลา กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิลงพื้นที่ติดตามเพื่อสร้างความเข้าใจ การทํางานเชิงพื้นที่และรับฟังความต้องการ ข อง สถ านศึ กษ า ณ โร งเร ียนบ้ านบ่ อเ จ็ ด ลู ก และศึกษาธิการจังหวัด ในฐานะกรรมการและ เลขานุการ พร้อมด้วยผู้ทรงคุณวุฒิศึกษานิเทศก์ ลงพื้นที่ติดตามสภาพปัญหาและความพร้อม ของสถานศึกษานํ าร่ อง ณ โรงเร ียนบ้ านหาญ โรงเร ียนบ้านวังปร ิง โรงเร ียนนิคมพัฒนาผัง 6 และโรงเร ียนจงหัว


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 139 4. การสร้างและพัฒนากลไกการทํางานร่วมกันทุกภาคส่วน มาตรา 5 วรรคหนึ่ง (2) กําหนดให้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการสร้าง และพัฒนากลไกการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ซึง่พืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาทัง้ 8 พืน้ที่มีการดําเนินงานเพือ่บรรลุวัตถุประสงค์ดังนี้ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) สร้างการรับรู้ความเข้าใจ และการ ยอม รับจ ากทุกภ าคส่วน ในก ารส่งเสร ิมและ สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาในลักษณะต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นการจัดระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้และมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ ของผู้เร ียนในทุกระดับ (1) ด้านภาคีเคร ือข่ายด้าน ว ิชาการระดับจังหวัด ทั้งภาครัฐและเอกชนในการ อบรมพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษานําร่อง ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเร ียนรู้ และพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการศึกษาและการเร ียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เร ียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตร ส ถ า น ศึ ก ษ า และ (2) ด้ า น ภ า คี เ ค ร ือ ข่ า ย ด้านว ิชาการระดับโรงเร ียน ตัวอย่าง โรงเร ียน บ้ า น ส า ม ย อ ด สามารถส ร้ า ง ภ า คี เ ค ร ือ ข่ า ย ความร่วมมือในการระดมทรัพยากรและสรรพกําลัง จากทั้งภาครัฐและเอกชน ในการส นั บ ส นุ น ทั้งด้านความรู้ว ิธีการการสมัยใหม่ งบประมาณ บุคลากร และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงความร่วมมือ ในการบร ิหารจัดการและการแก้ปัญหาให้แก่ผู้เร ียน เช่น การส่งเสร ิมการสร้างรายได้ระหว่างเร ียน ก า ร ฝึ ก ทั ก ษ ะพื้ น ฐ า นใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชีพ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ จ า ก ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ เ ฉ พ า ะ ท า ง เป็นต้น เพื่อให้สถานศึกษานําร่องเกิดการจัดการ ศึกษาที่มีคุณภาพ 2) ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดําเนิน “โครงการศึกษาและพัฒนาระบบกลไกหนุนเสร ิม การพัฒนากรอบหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ เพื่อการจัดการเรยีนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุกของ สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา 8 จังหวัด” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้แนวทาง ว ิธีการ กระบวนการส่งเสร ิม สนับสนุนสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การจัดการเร ียนรู้ฐานสมรรถะเชิงรุกในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขัน้พืน้ฐาน 3) จัดเวที“สานพลังชาวกาญจนบุร ี” ร่วมสร้าง อนาคตการศึกษาด้วยกระบวนการห้องปฏิบัติการ การเร ียนรู้ทางสังคม (Learning Lab) พื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีเพื่อค้นหาและศึกษา ข้อมูล ฐานทุน และความต้องการของสังคมที่มีต่อการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของจังหวัดกาญจนบุร ี และนํามากําหนดยุทธศาสตร์และเป้าหมายของพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี


140 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ มีการดําเนินการดังนี้ 1) ประสานหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามามีส่วน ร่วมในการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่ อ ส่ง เ สร ิมและสนับ สนุนก าร จัด ก ารศึ กษ า ของสถานศึกษานําร่อง อาทิ “คณะศึกษาศาสตร์ มหาว ิทยาลัยเชียงใหม่” ให้การสนับสนุสการสร้าง ศูนย์ให้คําปร ึกษาสถานศึกษา “คณะศึกษาศาสตร์ และศิลปศาสตร์มหาว ิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น” ให้การสนับสนุนการสร้างระบบคลังอิเล็กทรอนิกส์ สื่อการเร ียนการสอน “คณะครุศาสตร์มหาว ิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่” เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการ ยกระดับคุณภาพการเร ียนการสอนของสถานศึกษา “มูลนิธิภาษาศาสตร์ประยุกต์” ร่วมยกระดับคุณภาพ การเร ียนการสอนทว ิ/พหุภาษาของสถานศึกษา สถาบันวจิัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)” สนับสนุนการขับเคลื่อนระบบการวัดและประเมินผล การศึกษาในสถานศึกษานําร่อง 2) ร่วม “โครงการศึกษาและพัฒนาระบบ กล ไกหนุนเสร ิมการพัฒนากรอบหลั กสูตร สถานศึกษาฐานสมรรถนะ เพื่อการจัดการเรยีนรู้ ฐานสมรรถนะเชิงรุ กของสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8 จังหวัด” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้แนวทาง ว ิธีการ กระบวนการส่งเสร ิมสนับสนุนสถานศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเร ียนรู้ ฐานสมรรถะเชิงรุกในสถานศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานและบรรลุเป้าหมายในการจัดการศึกษา คือ ผู้เร ียนมีสมรรถนะ เป็นผู้เร ียนรู้ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง 3) จัดกิจกรรม“Learning Lab (ห้องปฏิบัติการ การเร ียนรู้ทางสังคม) ของจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้ โครงการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาและศึกษาข้อมูล ฐานทุน และความต้องการของสังคมที่มีต่อการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส มีการดําเนินการดังนี้ 1) สนับสนุนและส่งเสร ิมการพัฒนานวัตกรรม การศึกษา โดยใช้กระบวนการว ิจัย “การพัฒนา กลไกเคร ือข่ายความร่วมมือของทุกภาคส่วน อย่า งยั่งยืนเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาที่หนุนเสรมิยุทธศาสตร์การศึกษา สู่การพัฒนาคุณภาพครู และคุณภาพผู้เร ียน จังหวัดน ร าธิว าส” โด ย สร้ า งก ารมี ส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน (หัวหน้าหน่วยงานการศึกษา หัวหน้ าส่วนร าชก าร ผู้ปร ะกอบก าร องค์กร ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ปราชญ์ภูมิปัญญา ท้องถิน่ แหล่งเร ียนรู้ในจังหวัดนราธิวาส ผู้นําศาสนา ผู้บร ิหารสถานศึกษานําร่อง ศึกษานิเทศก์ครูโค้ช ผู้แทนท้องถิ่น และเยาวชน) แล้วนํามาว ิเคราะห์ ความต้องการจัดการศึกษาของจังหวัดนราธิวาส ภาพอนาคตของเด็กนราธิวาส และกลไกว ิธีการ พัฒนาการจัดการศึกษา เพื่อนํามาปรับใช้กับการ วางแผนการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 2) จัดกิจกรรม“Learning Lab (ห้องปฏิบัติการ การเร ียนรู้ทางสังคม) นํามาทบทวนแผนยุทธศาสตร์ พื้ น ที่ น วั ต กรร ม ก าร ศึ กษ า จั ง ห วั ด นร า ธิ ว า ส จากกลุ่มภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน ก ลุ่ ม ผู้ บ ร ิห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ร่ อ ง ก ลุ่ ม โ ค้ ช (ศึกษานิเทศก์และครู) กลุ่มแหล่งเร ียนรู้กลุ่ม ภูมิปัญญา กลุ่มผู้ประกอบการ กลุ่มผู้นําศาสนา และกลุ่มเยาวชนมีความต้องการจัดการศึกษา ของจังหวัดนราธิวาส


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 141 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) สร้างความเข้มแข็งของกลไกการทํางาน ร่วมกันของทุกภาคส่วนผ่านคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีและ คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการขับเคลื่อนแต่งตั้ง ซึ่งประกอบด้วยกรรมการจากภาคีเคร ือข่าย จากหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2) ร่วมกับมหาว ิทยาลัยสงขลานคร ินทร์ ว ิทยาเขตปัตตานีดําเนินการว ิจัยและสร้างความ เข้มแข้งในขับเคลื่อนและเกิดกลไกในพื้นที่ โดยนํา แนวคิด OKRs ไปใช้ในการพัฒนาแผนกลยุทธ์ และพัฒนานวัตกรรมการศึกษา โดยมีหลักคิดใน การจัดทําเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของ จังหวัดปัตตานีและลดความเหลื่อมลํ้าทางการ ศึกษา โดยยึดหลักการบร ิหารแบบมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน 3) ระดมสมองจากหน่วยงานทุกภาคส่วน ในพื้นที่เพื่อวางแผนการปรับยุทธศาสตร์พื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีพ.ศ. 2566 - 2568 โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและส่งเสร ิมการจัด การศึกษาของสถานศึกษานําร่อง พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) สร้างความร่วมมือจากภาคีเคร ือข่าย ในพื้นที่ ได้แก่ มหาว ิทยาลัยราชภัฏยะลา องค์การ บร ิหารส่วนจังหวัดยะลา เทศบาลนครยะลา และ ภาคประชาสังคมในพื้นที่ เพื่อสร้างกลไกการบร ิหาร จั ด ก า ร ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ท า ง ก า ร ศึ กษ าใ น ก า ร ขับเคลื่อนการศึกษาในนวัตกรรมการศึกษาสู่การ ปฏิบัติในเชิงบูรณาการที่เป็นระบบครบวงจร 2) จัดกิจกรรมLearning Lab (ห้องปฏิบัติการ การเร ียนรู้ทางสังคม) ภายใต้โครงการศึกษา และพัฒนาระบบกลไกหนุนเสร ิมการพัฒนากรอบ หลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะเพื่อการจัดการ เร ียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุกของสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8 จังหวัด เพื่อค้นหา ศึกษาข้อมูลฐานทุนและ ความต้องการของสังคมที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และนํามากําหนดยุทธศาสตร์และเป้าหมาย ของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา 3) จัดกิ จ ก ร ร ม Social Lab Think & Talk เพื่อสนทนาในหัวข้อการสร้างพลังกล ไก เคร ือข่ายความร่วมมือเพื่อเด็กยะลา


142 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ร่ ว มส ร้ า งกลไกระบบโค้ชในพื้นที่ (Node & Network) ด้ ว ย ก ร ะ บ ว น ก า ร Coaching and Mentoring โ ด ย สํ า นั ก ง า น ศึกษาธิการจังหวัดระยองร่วมกับสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา สถาบันอาศรมศิลป์โรงเร ียนรุ่งอรุณร่วม สร้างระบบโค้ชโดยประกอบด้วย (1) ผู้อํานวยการ สถานศึกษา (2) ครูและ (3) ศึกษานิเทศก์จํานวน 8 Node รวมทั้งภาคีเคร ือข่ายสถาบันการเร ียนรู้ ของคนทุกช่วงวัยจังหวัดระยอง (RILA) โดยมีการ จัดอบรมพัฒนาและร่วมสะท้อนคิด ซึ่งมีสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย จํานวน 35 แห่ง แห่งละ 6 คน โดยมีกรอบการพัฒนา คือ (1) การพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ การจัดแผนจัดการเร ียนรู้(OLE) ฐานสมรรถนะ (2) การออกแบบการบวนการเร ียนรู้ ที่ ทํ า ใ ห้ เ กิ ด ส ม ร ร ถ น ะ (Learning Process) และ (3) การออกแบบและการสร้างเคร่อืงมือการวัด และประเมินผลฐานสมรรถนะ (360๐ Evaluation) ด้วยกระบวนการสะท้อนคิด (Critical Reflection) 2) แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตร สถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยอง โดยสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ระยองร่วมกับหน่วยงานทางการศึกษา สํานักงาน เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ร่ อ ง เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพิจารณาการปรับ หลักสูตรของสถานศึกษานําร่อง 3) ว ิเคราะห์และรายงายผลการประเมินผล แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ คุณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ย ใ น สถานศึกษาของสถานศึกษานําร่อง โดยร่วมกับ หน่วยงานทางการศึกษา อาทิสํานักงานศึกษาธิการ จังหวัดระยอง สพป.รย 1 และ 2 สพม.ชบรย อบจ. ระยอง ส ถ.จ. ระยอง และ ท น. ระยอง เพื่อร่วมดํ าเนินก ารว ิเคร า ะห์แล ะร า ยง า ยผล การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภ า ยใ น ส ถ า น ศึ ก ษ านํ า ร่ อ ง แ ล ะเ พื่ อ ร า ย ง า น คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยอง 4) แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน พัฒนากล ไกและ โครงสร้ างการดําเนินงาน เ ส ร ิม แ ร ง ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ร่ อ ง โ ด ย ร่ ว ม กั บ ผู้เชี่ ยวช าญที่มีปร ะสบก ารณ์ด้ านก ารพัฒน า หลักสูตร การจัดการเร ียนรู้การวัดและประเมินผล เพื่อสนับสนุนและส่งเสร ิมการพัฒนานวัตกรรม การศึกษาของสถานศึกษา 5) คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดระยอง เห็นชอบให้ศูนย์ว ิทยา ศาสตรศึกษา คณะว ิทยาศาสตร์ มหาว ิทยาลัย ศร ีนคร ินทรว ิโรฒ สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสร ิม ววน. และหน่วย บพท. ดําเนิน “โครงการว ิจัย การศึกษากลไกความร่วมมือในการจัดการศึกษา ระดับจังหวัดและ พัฒนานักว ิจัยชุมชน ผ่าน กระบวนการว ิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อการพัฒนานวัตกรรมการเรยีนรู้ที่ส่งเสรมิ คุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการของนักเร ียน ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง” โดยมีสถานศึกษานําร่องเข้าร่วม จํานวน 16 แห่ง ซึ่งได้กลไกความร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรมการ เร ียนรู้ที่ส่งเสร ิมคุณลักษณะความเป็นประกอบการ และกลไกความร่วมมือการจัดการศึกษาระดับ จังหวัด รูปแบบ 4 กลไก + 6 ปัจจัย สู่ความสําเร็จ ในการพัฒนา นวัตกรรมการเร ียนรู้เพื่อพัฒนา คุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการที่สอดคล้องกับ โรงเร ียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 143 6) คณะอนุกรรมการด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ ติดตามและประเมินผล จัดตั้งสถาบันการเรยีนรู้ ข อ งค นทุ ก ช่ ว งวั ย จั งหวั ด ร ะ ย อ ง Rayong Inclusive Learning Academy ( RILA) ซึ่ ง ไ ด้ ร่ ว ม กั บ (1) แ อ พ พ ลิ เ ค ชั น StartDEE เพื่อส่งเสร ิมการพัฒนาความฉลาดรู้ด้วยทักษะ เทคโนโลยีดิจิทัลและพัฒนาสมรรถนะความเป็น Digital Learner แ ล ะ ลดคว ามเห ลื่ อม ลํ้ า เ ช่น การเข้าถึงการถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ การขาด แคลน ครูการขาดแคลนสื่อทัศนูปกรณ์การเพิ่ม อิสระและโอกาสในการเร ียนรู้ส่งเสร ิมการเร ียนรู้ เป็นรายบุคคล (Personalize Learning) เป็นต้น (2) ร่วมกับสวนพฤกษศาสตร์ระยอง สวทช. สํานักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังที่ 2 และพื้นที่แหล่งนํ้าต่าง ๆ ร่วมกันจัดทําแหล่งเร ียนรู้ 3 นํ้า เพื่อสํารวจ ค้นหา ใช้ประโยชน์ และรักษา ความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างสํานึกการใช้ ประโยชน์อย่า งยั่งยืน จากความหลากหลาย ทางชีวภาพ และเชื่อมโยงเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์เพื่อสร้างรายได้ให้กับ ประชากรในพื้นที่ โดยใช้แอพพลิเคชัน Navanurak เป็นแพลตฟอร์ม สําหรับบร ิหารจัดการคลังข้อมูล วัฒนธรรม และความหลากหลายทางชีวภาพ (3) ร่วมกับบร ิษัท ซันโทร ีเบฟเวอเรจ แอนด์ฟู้ด (ประเทศไทย) จํากัด และศูนย์สิ่งแวดล้อมศึกษาประเทศไทย (EEC Thailand) จัด โครงการค่ายรักษ์นkา Mizuiku ปีที่ 2 ที่จังหวัดระยอง ในประเด็นคืนสมดุลให้นํ้า คืนสมดุลให้โลก ตลอดปีการศึกษา 2565 เพื่อ พัฒ น า ค รูใ ห้ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถใ น ก า ร จั ด ก า ร สิ่ งแวดล้อมศึกษา (4) สร้างกลุ่ม RILA’s Family เพื่ อเป็น ก ล ไ กบ่ มเพ า ะ ส มรร ถน ะเ ด็ กร ะ ย อ ง ต ามกร อบหลักสูตร จั งหวัดร ะ ย อง (Rayong MARCO) 7) คณะอนุกรรมการด้านส่งเสร ิมการบร ิหาร ว ิช าก าร จัดกิจก ร รม “เสวนาพัฒนาก รอบ หลักสูตรจังหวัดระยอง” เพื่อปรับกรอบหลักสูตร โดยมีสมรรถนะหลักของผู้เร ียนเชื่อมโยงเพื่อพัฒนา คนในจังหวัดตอบสนองยุทธศาสตร์การศึกษา จังหวัดระยองสู่มาตรฐการศึกษาของชาติและสากล และ ดําเนินโครงการพัฒนารูปแบบการปรับ ก ร ะบวนทัศน์ทา ง ก า รศึกษา แ ล ะ เพิ่มขีด ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การ บร ิหารส่วนจังหวัดระยอง เพื่อพัฒนารูปแบบการ ปรับกระบวนทัศน์ทางการศึกษาและเพิ่มขีด ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ตามบร ิบทจังหวัด ระยอง ให้กับผู้บร ิหารสถานศึกษาของสถานศึกษา นําร่อง และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อช่วยพัฒนา คนระยอง เด็กและเยาวชนระยองให้อยู่รอด อยู่ร่วม อยู่อย่างสร้างสรรค์ และร่วมพัฒนาระยองให้เป็น เมืองน่าอยู่ 8) ร่วมกับสถาบันอาศรมศิลป์ ดําเนิน กิจกรรม DE ต้นนํ้า หัวข้อ “สะท้อนประสบการณ์ การขับเคลื่อน ค้นหากลไกหนุนเสรมิสร้าง เป้ าหม ายก า รพัฒน าคุณภ าพด้ านว ิช าก า ร และแผนปฏิบัติการร่วมกัน” และ “สะท้อน ประสบการณ์การขับเคลื่อนหากลไกหนุนเสรมิ ก า ร พั ฒ น า ก ร อ บ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ฐานสมรรถนะ เพื่อการจัดการเรยีนรู้ฐาน สมรรถนะเชิงรุกของสถานศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน” ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8 จังหวัด : ระยะที่ 1 การพัฒนาระบบโค้ชในพื้นที่จังหวัด (Area-based Coaching System)


144 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 9) ประสานขอความร่วมมือสถาบันว ิจัย เพื่อการพัฒนาประเทศไทย ดําเนินการพัฒนา ทักษะและเคร่อืงมือประเมินเพื่อพัฒนา 3 ขั้นตอน ดังนี้ (1) ชวนสร้างเคร่อืงมือประเมินเพื่อพัฒนา สมรรถนะผู้เร ียน (2) จัดคลินิกว ิชาการให้คําปร ึกษา และ (3) สังเกตการณ์การนําเคร่อืงมือประเมินไปใช้จรงิ จากการติดตามตามพบว่า (1) ครูเห็นประโยชน์ ของการประเมินเพื่อพัฒนา เข้าใจเป้าหมาย การเร ียนรู้ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะมากขึ้น และสามารถวางแผนการจัดกระบวนการเร ียนรู้เพื่อ นําผู้เร ียนไปสู่เป้าหมายได้(2) ครูสามารถนําความรู้ ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมมาใช้สร้างเคร่อืงมือ ประเมินเพื่อพัฒนาและนําไปใช้ได้จรงิ เกิดความ เชื่อม โยงชัดเจนระหว่างเป้าหมายการเร ียนรู้ การจัดกระบวนการเร ียนรู้และการประเมินผล และ (3) ครูเห็นความสําคัญของการขยายผล เคร่อืงมือประเมินเพื่อพัฒนา โดยครูนําเคร่อืงมือ มาศึกษาเพิ่มเติมจนเข้าใจถึงจุดเด่น และจุดที่ต้อง พัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับการใช้งานในห้องเร ียน และมีความพยายามขยายผลไปใช้กับแผนการสอน ในคาบเร ียนอื่น ๆ เพิม่เติม พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรสีะเกษ การดําเนินการ ดังนี้ 1) สร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน ดังนี้ (1) มูลนิธิสยามกัมมาจล ร่วมเป็นภาคีสนับสนุน กล ไกขับเคลื่อนจังหวัด สนับสนุนงบประมาณ การพัฒนาบุคลากร การสร้างระบบคลังอิเล็กทรอนิกส์ สื่อการเร ียนการสอน (2) สถาบันอาศรมศิลป์ และมูลนิธิโรงเร ียนลําปลายมาศพัฒนา ร่วมเป็น ผู้เชี่ ยวช าญนวัตกรรมก าร จัดก ารศึกษ าแล ะ นวัต กรร ม ก าร จั ด ก ารเร ียนรู้(Mentor) เ ช่น สนับสนุนงานด้านว ิชาการในการพัฒนาคุณภาพการ จัดการเร ียนรู้(3) สถาบันวจิัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย (TDRI) ให้การสนับสนุนการว ิจัย เชิงนโยบายและสนับสนุนการขับเคลื่อนระบบการวัด และประเมินผลการศึกษา การว ิจัยคู่ขนานกระบวนการ เร ียนการสอน การประเมินผล (4) คณะครุศาสตร์ มหาว ิทยาลั ยร า ช ภั ฏ ศ ร ีส ะ เ ก ษ สนั บ ส นุ น และให้คําปร ึกษาและเป็นพี่เลี้ยงนวัตกรรมการสอน แบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงาน บูรณาการ (PIL) และร่วมเป็นคณะกรรมการในการ ย ก ร ะ ดั บ คุณ ภ าพ ก า รเ ร ีย น ก า ร (5) มู ล นิ ธิ สดศรสีฤษดิ์วงศ์ให้การสนับสนุนการถอดบทเร ียน โรงเร ียนในศตวรรษที่ 21 และว ิจัยแผนการจัดการ เร ียนรู้(6) ศูนย์ว ิจัยคณิตศาสตร์ศึกษาและ สถาบันว ิจัยและพัฒนาว ิชาชีพครูสําหรับอาเซียน คณะศึกษาศาสตร์มหาว ิทยาลัยขอนแก่น ให้การ สนับ สนุนการข ย า ยผ ลนวัต กรร ม ก ารศึ กษ า ชั้นเรยีน และว ิธีการแบบเปิด (Lesson Study & Open Approach) (7) สถาบันอาศรมศิลป์ ให้การสนับสนุนการขยายผลนวัตกรรมการเร ียนรู้ แ บ บ อ ง ค์ ร ว ม ( Holistic Learning) พั ฒ น า พื้นที่การเร ียนรู้(Learning Space) โรงเร ียน ลําปลายมาศพัฒนา ให้การสนับสนุนการขยายผล นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้เชิงระบบด้วยจิตศึกษา PBL และ PLC


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 145 2) จัดประชุมร่วมภาคีเคร ือข่ายการเร ียนรู้ จังหวัดศร ีส ะเกษ เพื่อกําหนดก รอบทิศทาง การพัฒนา การส่งเสรมิการขับเคลื่อน ติดตาม และประเมินการดําเนินงาน โดยทบทวนหน้าที่ ของคณะอนุกรรมการ การขับเคลื่อนหลักสูตร ฐานสมรรถนะ และการขับเคลื่อนกลไกทางว ิชาการ 3 ) จั ด เ ว ทีSISAKET Forum ร่ ว ม กั บ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องเพื่อสื่อสาร และสร้างการรับรู้การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดศร ีสะเกษ 4) ร่วมกับหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะทาง อาทิอาจารย์ฉัตร ียา เลิศว ิชา ผู้เชี่ยวชาญ ด้าน Mind Brain and Education พร้อมด้วย ทีมงานธารปัญญา มูลนิธิสยามกัมมาจล โรงเร ียน แกนนํา ผู้บร ิหาร ศึกษานิเทศก์ร่วมกัน Site Visit สถานศึกษานําร่องใช้นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้ โดยใช้สมองเป็นฐาน โดยติดตามในบร ิบทกุญแจ 5 ดอก แล ะกร ะบวนก ารจัดการเร ียนรู้BBL และหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการ การจัดทํากรอบเคร่อืงมือการประเมินผลสมัฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เร ียนในสถานศึกษานําร่อง พื้ น ที่ น วั ต ก ร ร มก ารศึ กษ า จั งหวั ดศร ีส ะเกษ โดยมูลนิธิสยามกัมมาจลให้การสนับสนุนการ พัฒนาแบบทดสอบในการพัฒนาเคร่อืงมือติดตาม ความก้าวหน้าว ิชาภาษาไทย เน้นการอ่านออกเสียง อ่านเอาเร่อืง และการเขียน สถาบันอาศรมศิลป์ ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ นแ บ บ ท ด ส อ บ ว ิช า ภ า ษ า ไ ท ย ภาษาอังกฤษ ว ิชาการบูรณาการ เป็นต้น 5) แต่งตั้งคณะทํางานประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษานําร่อง เพื่อทําหน้าที่ รวบรวม สังเคราะห์สรุปรายงานผลการตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ต่ อคณ ะกรรมก ารขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดศร ีสะเกษ รวมถึงให้คําปร ึกษา แนะนํา สนับสนุนและช่วยเหลือสถานศึกษา 6) แต่งตั้งคณะทํางานประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เร ียนในสถานศึกษานําร่อง เพื่อทําหน้าที่ออกแบบการทดสอบผู้เร ียนเพื่อวัด ผลสัมฤทธิท์างการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผล การจัดการศึกษาของสถานศึกษานําร่อง รวมถึง ประสานให้หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะให้ การสนับสนุนทางเทคนิคในการจัดระบบการ ประเมินและวัดผล พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) สร้างกลไกการทํางานผ่านคณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสตูลทั้ง 5 คณะ ซึ่งประกอบด้วย บุคลากรจากภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม โดยการส่งเสร ิม สนับสนุน และช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง ๆ (1) สมาคมวัฒนพลเมืองและศึกษานิเทศก์ในการ ขั บเ ค ลื่ อ นพัฒ น า ห ลั ก สู ต รส ถ า น ศึ ก ษ า ฐ า น สมรรถนะ (2) สถาบันอาศรมศิลป์เป็นพี่เลี้ยง ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ (3) สถาบัน วจิัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ในการพัฒนา เคร่อืงมือประเมินสมรรถนะผู้เรยีนและจัดอบรม ป ฏิ บั ติ ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล บ น ฐ า น นิ เ ว ศ ก า ร เ ร ีย น รู้ ส ตู ล (4) ม ห า ว ิท ย า ลั ย ทั ก ษิ ณ และมหาว ิทยาลัยราชภัฏยะลา เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ และให้คําปร ึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ของสถานศึกษานําร่อง


146 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 2) ดําเนินโครงการพัฒนาระบบบร ิหาร จัดการตนเองเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โดยมีนายสมพงษ์ หลีเคราะห์ กรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ น า ย ก ส ม า ค ม วั ฒ น พ ล เ มื อ ง เป็นหัวหน้าโครงการ ซึ่งประกอบด้วยโครงการย่อย คือ (1) โครงการพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา โรงเร ียนนําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล (2) โครงการพัฒนาระบบนิเทศติดตาม (Coaching) และการมีส่วนร่วมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดสตูล และ (3) โครงการการออกแบบวัดและ ประเมินผลตามหลักสูตรฐานสมรรถนะในโรงเร ียน นําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล 3) ร่วมกับภาคีเคร ือข่ายในการจัดอบรม เพื่อส่งเสรมิการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพ ข อ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ของ สถานศึกษานําร่องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ จัดการเร ียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและเหมาะสม กับ สภ าพในพื้นที่นวัต กรรม ก ารศึ กษ า เ ช่น การอบรมเชิงปฏิบัติการออกแบบการจัดการเร ียนรู้ ฐานสมรรถนะ ก าร อบร มเ ชิ งปฏิ บั ติ ก ารวั ด แล ะปร ะเมินผลบนฐ านนิเวศก ารเร ียนรู้ สตูล การอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทาผลงานเพื่อการ ประเมินว ิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากร ตามหลักเกณฑ์ ว PA การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “ผู้นาการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสตูล” 4) สร้างภาคีเคร ือข่ายศึกษานิเทศก์ผู้บร ิหาร สถานศึกษานําร่องและสมาคมวัฒนพลเมืองภายใต้ โครงการพัฒนาระบบนิเทศติดตาม (Coaching) และการมีส่วนร่วมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดสตูล


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 147 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา มาตรา 20 วรรคหนึ่ง (12) กําหนดให้รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา รวมทั้งปัญหาและอุปสรรค ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จากเอกสารการรายงานข้อมูล เอกสารรายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มีข้อมูลผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลาและสตูล ดังนี้ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา ผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลาที่เข้าร่วมการทดสอบ โดยมีค่าเฉลี่ยระดับจังหวัดและระดับประเทศ ดังนี้ ระดับชัน้ประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ว ิทยาศาสตร์ รวม จังหวัด 20.67 40.77 31.29 31.94 31.17 ประเทศ 28.06 53.89 37.62 39.34 39.79 ระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ว ิทยาศาสตร์ รวม จังหวัด 20.61 40.32 28.25 28.94 29.53 ประเทศ 24.39 52.95 32.05 33.32 35.68 ระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดับ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ว ิทยาศาสตร์ สังคม รวม จังหวัด 17.64 35.68 21.25 25.30 29.01 25.78 ประเทศ 21.61 44.09 23.44 28.08 33.00 30.04 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล สถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล ได้มีการทดลองประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เร ียนในสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในกลุ่มสมรรถนะพื้นฐาน และสมรรถนะหลัก โดยจําแนกตามหลักสูตรที่สถานศึกษามีการปรับใช้ดังนี้ ตาราง แสดงผลการประเมินสมรรถนะพื้นฐานของผู้เรยีนชัน้ป.3 - ม.6 ระดับชัน้ (คน) สมรรถนะพื้นฐาน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ว ิทยาศาสตร์ ป.3 (595) 99.83 99.83 99.83 99.83 ป.6 (507) 99.61 99.61 99.61 99.61 ม.3 (224) 97.32 96.88 96.88 96.88 ม.6 (136) 97.06 97.06 91.91 97.06


148 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 สมรรถนะหลักตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้พื้นฐาน พุทธศักราชการ 2551 ตาราง แสดงผลการประเมินสมรรถนะหลักของผู้เรยีนชั้น ป.3 - ม.6 ระดับชัน้ (คน) สมรรถนะหลัก ความสามารถ ในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถ ในการแก้ไขปัญหา ความสามารถ ในการใช้ชีว ิต ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี ระดับปรับปรุง ระดับพอใช้/ผ่านเกณฑ์ ระดับดี ระดับดีเย่ียม ระดับปรับปรุง ระดับพอใช้/ผ่านเกณฑ์ ระดับดี ระดับดีเย่ียม ระดับปรับปรุง ระดับพอใช้/ผ่านเกณฑ์ ระดับดี ระดับดีเย่ียม ระดับปรับปรุง ระดับพอใช้/ผ่านเกณฑ์ ระดับดี ระดับดีเย่ียม ระดับปรับปรุง ระดับพอใช้/ผ่านเกณฑ์ ระดับดี ระดับดีเย่ียม ป.3 (147) 0 4 55 88 0 5 40 97 0 8 47 92 0 3 36 108 0 23 82 42 ป.6 (137) 0 10 31 96 0 7 32 98 0 5 31 101 0 2 36 99 0 6 42 89 ม.3 (224) 5 22 63 134 6 38 96 84 2 20 76 126 5 36 97 86 21 24 57 122 ม.6 (136) 4 11 19 102 5 26 47 58 0 4 27 105 0 7 20 109 5 9 12 110 สมรรถนะหลักตามร่างกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้พื้นฐาน พุทธศักราช …. ระดับประถมศึกษา ตาราง แสดงผลการประเมินสมรรถนะหลักของผู้เรยีนชั้น ป.3 และ ป.6 ระดับชัน้ (คน) สมรรถนะหลัก การจัดการ ตนเอง การคิดขัน้สูง การสื่อสารการรวมพลัง ทํางานเป็นทีม การเป็นพลเมือง ที่ เข้มแข็ง การอยู่ร ่วมกับธรรมชาติ และวทิยาการอย่างยัง่ยืน ระดับเร ิม่ต้น (คน) ระดับกําลังพัฒนา (คน) ระดับสามารถ (คน) ระดับเหนือความคาดหวัง (คน)ระดับเร ิม่ต้น (คน) ระดับกําลังพัฒนา (คน) ระดับสามารถ (คน) ระดับเหนือความคาดหวัง (คน)ระดับเร ิม่ต้น (คน) ระดับกําลังพัฒนา (คน) ระดับสามารถ (คน) ระดับเหนือความคาดหวัง (คน) ระดับเริม่ต้น (คน) ระดับกําลังพัฒนา (คน) ระดับสามารถ (คน) ระดับเหนือความคาดหวัง (คน)ระดับเร ิม่ต้น (คน) ระดับกําลังพัฒนา (คน) ระดับสามารถ (คน) ระดับเหนือความคาดหวัง (คน)ระดับเร ิม่ต้น (คน) ระดับกําลังพัฒนา (คน) ระดับสามารถ (คน) ระดับเหนือความคาดหวัง (คน) ป.3 (448) 7 35 349 52 1 74 350 23 1 50 372 20 24 125 246 50 1 49 378 19 1 100 325 22 ป.6 (370) 2 35 313 20 2 46 307 15 2 21 330 17 2 90 267 12 2 39 314 15 2 41 312 15


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 149 ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 11 พื้นที่ด้วยมติคณะรัฐมนตร ี เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2565 จึงประกาศกําหนดให้กรุงเทพมหานคร จังหวัดกระบี่ จันทบุร ีตราด ภูเก็ต แม่ฮ่องสอน สงขลา สระแก้ว สุโขทัย สุราษฎร์ธานีและอุบลราชธานีเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 16 ธันวาคม 2566 และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2565 (เล่ม 139 ตอนพิเศษ 296 ง หน้า 8) ซึ่งต่อมาคณะกรรมการนโยบาย พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้มีการประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการ ขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาทัง้ 11 พื้นที่ เร ียบร้อยแล้ว คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ทั้ง 11 พื้นที่ได้มีการดําเนินงานตามมาตรา 20 ให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา พ.ศ. 2562 ซึ่งข้อมูลได้ส่วนนี้ได้มาจากการรวบรวม ศึกษา และว ิเคราะห์เอกสารรายงานผลการดําเนินงานโครงการ พัฒนาระบบการศึกษา โดยใช้รูปแบบพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และเอกสารการติดตามการบร ิหารงบประมาณในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โดยสรุปเป็นภาพรวม ผลการดําเนินงานใ นปีการศึกษา 2565 ดังนี้ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดกระบี่ดําเนินการจัดทํา หลักเกณฑ์ ว ิธีการและเงื่อนไข การอนุมัติให้ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบันมีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 27 แห่ง และได้แต่งตัง้คณะอนุกรรมการ จํานวน 1 คณะ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษากรุงเทพมหานคร ดําเนินการจัดทํา ห ลั กเ กณฑ์ ว ิธี ก ารแ ล ะเ งื่ อน ไ ข ก าร อนุ มัติ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษานําร่อง ซึ่งปัจจุบันมีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 104 แห่ง และได้มีการจัดประชุมเพื่อว ิเคราะห์สภาพปัญหา และจัดทําแนวทางการดําเนินงาน และว ิเคราะห์ ประเภทนวัตกรรมและระดับความพร้อมของ นวัตกรรม และแนวทางการนิเทศ ติดตาม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล Executive & Public Dashboard คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดจันทบุร ีดําเนินการจัดทํา หลักเกณฑ์ ว ิธีการและเงื่อนไข การอนุมัติให้ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบันมีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 46 แห่ง และได้แต่งคั้งคณะอนุกรรมการ จํานวน 2 คณะ และมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการปรับหลักสูตร สถานศึกษานําร่อง เพื่อว ิเคราะห์ทุนศักยภาพ แ ล ะพ ลั ง ก าร ขั บเ ค ลื่ อ น ก าร จั ด ก าร ศึ กษ า และระดมความเห็นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ จัดทํากรอบหลักสูตร คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดตราด ดําเนินการจัดทํา หลักเกณฑ์ ว ิธีการและ เงื่อน ไข การอนุมัติ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบันมีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 57 แห่ง และมีการแต่งตัง้คณะอนุกรรมการ จํานวน 3 คณะ


150 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดภูเก็ต ดําเนินการจัดทํา หลักเกณฑ์ ว ิธีการแล ะเงื่อน ไข การอนุมัติ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบันมีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 88 แห่ง และได้มีการสร้างการรับรู้ความเข้าใจให้ทุกภาค ส่วนและแนวทางการจัดการศึกษา พร้อมทั้ง มี ก าร จั ดปร ะ ชุ มเ ชิ งปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อจัดทํ า หลักสูตรสถานศึกษาสู่การพัฒนา “Phuket Model” แ ล ะ ร่ างชุด ร า ยว ิช า (Learning Module) ตามเป้าหมาย 10 เสาหลักทาง เศรษฐกิจของจังหวัด รวมถึง ว ิพากษ์โมดูล การเรยีนรู้และพิจารณากลั่นกรองหลักสูตร โดยให้สถานศึกษามีอิสระในการเลือกพัฒนา ที่สอดคล้องกับบร ิบทตนเอง นอกจากนี้มีการ แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อให้ข้อเสนอแนะ และมีการรับรองการใช้หลักสูตร และมีการ สร้างกล ไกการสนับสนุนการ ใช้หลักสูตร สถานศึกษา ประกอบด้วย การสร้าง Core Team ทางว ิชาการในโรงเร ียน การพัฒนาครูให้มีความรู้ เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรม สื่อ การสอน การวัดและประเมินผล และสร้างทีม Coach ระดับพื้นที่ (ศึกษานิเทศน์ผู้ทรงคุณวุฒิกรรมการ สถานศึกษาขัน้พืน้ฐาน ผู้ปกครอง) คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ดําเนินการ จัดทําหลักเกณฑ์ว ิธีการ และเงื่อนไข การอนุมัติ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบันมีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 37 แห่ง และได้แต่งตัง้คณะอนุกรรมการ จํานวน 3 คณะ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสงขลา ดําเนินการจัดทํา ห ลั กเ กณฑ์ ว ิธี ก ารแ ล ะเ งื่ อน ไ ข ก าร อนุ มัติ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบันมีถสานศึกษานําร่อง จํานวน 67 แห่ง และได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จํานวน 3 คณะ นอกจากนี้ได้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ รวมทั้ง การคิดค้นและพัฒนา นวัตกรรมการศึกษาและการเรยีนรู้เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เร ียนจากทุนเดิม ตามบร ิบทสถานศึกษา และเอื้อต่อการบร ิหาร จัดก ารแล ะก าร จัดกิ จกรรมก ารเร ียนรู้ที่มี ค ว า ม แ ต ก ต่า ง ข อ ง ส ถ า น ศึกษา ร ว ม ทั้ง สอดคล้องกับความต้องการของผู้เร ียนและ ชุมชน และเป้าหมายหลัก 6 ประการ ของเด็ก และคนรุ่นใหม่ในจังหวัดสงขลา และสร้างการมี ส่วนร่วมกับทุกภ าคส่วนเพื่อออกแบบการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาภายใต้ Model SONGKHLA: UCI คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสระแก้ว ดําเนินการจัดทํา หลักเกณฑ์ ว ิธีการ แล ะเงื่อน ไขการอนุมัติ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบันมีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 73 แห่ง และได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จํานวน 2 คณะ นอกจากนี้ได้กําหนดให้สถานศึกษานําร่อง นํ า SAKAEO Model ม า ใ ช้ เ ป็ น ก ล ไ ก ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด ส ร ะ แ ก้ ว แ ล ะ นํ า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ใ ห้ เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้มีการจัดประชุม การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด สระแก้วสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และนํามาว ิเคราะห์เพื่อสร้างระบบนิเวศ และเป้าหมายการพัฒนา “นวัตกร สระแก้ว รักษ์ สระ พัฒนาสระแก้ว” คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสุโขทัย ดําเนินการจัดทํา หลักเกณฑ์ ว ิธีการ และเงื่อนไขการพิจารณา อนุมัติเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบัน มีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 25 แห่ง และได้ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จํานวน 3 คณะ นอกจากนี้ได้มีสร้างกลไกการบูรณาการในการ จัด ก ารศึ กษ าที่มีคุณภ าพเพื่ อ สร้ า ง โ อ ก า ส


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 151 และความเท่าเทียมทางการศึกษา โดยสร้าง เคร ือข่ายอาสาสมัครทางการศึกษาร่วมกับ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในจังหวัด ร วมทั้งดํ าเ นิ น โ ค ร ง ก า ร ว ิจั ย “การพัฒนาต้นแบบพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” โดยกลไกการบูรณาการทางนโยบายเพื่อสร้าง ระบบนิเวศการเร ียนรู้บนฐานชุมชนให้กับเด็ก ด้อยโอกาส และผู้ยากจนในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย นอกจากนี้ได้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกแบบการเรยีนรู้และพัฒนา นวัตกรรมการศึกษา ได้อย่างอิสระ โดยมี หน่วยงานทางการศึกษาให้ความสนับสนุนและ มี ร ะ บ บ ติ ด ต า ม ป ร ะเ มิ น ผ ล จ า กเ ค ร ือ ข่ า ย ศึกษานิเทศก์ตลอดจนนักว ิชาการศึกษาเข้ามา มี ส่ ว นร่ ว ม ทํ าใ ห้เ กิ ด นวั ต กรร ม ก าร ศึ กษ า เชิงระบบในระดับชุมชนเชื่อมโยงระดับจังหวัด ในส่วนของการกลไกการจัดการศึกษาร่วมกัน ทุ ก ภ า ค ส่ ว น และได้ มี ก า ร จัดตั้งสมัชชา การศึกษาจังหวัดเพื่อสร้างนิเวศการเร ียนรู้ บนฐานชุมชนที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพ ชีว ิตของคนในชุมชน คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานีดําเนินการ จั ด ทํ า ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ว ิธี ก า ร แ ล ะ เ งื่ อ น ไ ข การพิจารณาอนุมัติเป็นสถานศึกษานําร่อง โดยปัจจุบันมีสถานศึกษา 95 แห่ง และได้แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการ จํานวน 4 คณะ นอกจากนี้ ได้มีการจัดกิจกรรมการประยุกต์ใช้นวัตกรรม การเชิงระบบสู่การบร ิหารสถานศึกษาและ นวัตกรรมการเรยีนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะ ผู้เร ียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี และ จั ด อ บ ร ม ก า ร พั ฒ น า สมรรถนะครูเพื่อสร้างนวัตกรรมการเร ียนรู้ ฐานสมรรถนะร่วมกับมหาว ิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดอุบลราชธานีดําเนินการ จัดทํ าหลักเกณฑ์ ว ิธีก าร แล ะเงื่ อน ไ ขก าร พิ จ า ร ณ า อ นุมั ติ เ ป็ น ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ร่ อ ง โดยปัจจุบันมีสถานศึกษานําร่อง จํานวน 264 แห่ง และได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จํานวน 3 คณะ นอกจากนี้ได้มีการแต่งตั้งคณะทํางานด้านการ ปรับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เหมาะสมกับบร ิบทพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อกําหนดเป้าหมายการปรับหลักสูตร พัฒนา ระบบการเข้าถึงข้อมูลด้วยการปักหมุด เพื่อใช้ เ ป็น ข้ อ มู ลใ น ก าร ศึ กษ า ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เ ช่ น สถานที่ตั้ง ข้อมูลพื้นฐาน ผลการดําเนินงาน และแผนที่การเดินทาง เป็นต้น พัฒนาแพลตฟอร์ม ดิ จิ ทั ล https://edlupeo.in.th ม า ใ ช้ เ ป็ น เคร่อืงมือในการส่งเสรมิสนับสนุน ให้สถานศึกษา เข้าถึงสื่อการจัดการเรยีนรู้อย่างทั่วถึง นอกจากนี้ ได้ส่งเสร ิมให้สถานศึกษานําร่องปรับหลักสูตร สถานศึกษาให้มีความสอดคล้องกับบร ิบท ของพื้นที่ โดยร่วมกับหน่วยงานการศึกษา ในพื้นที่ซึ่งครอบคลุมทั้งหลักสูตร 4 ประเภท และได้สร้างและพัฒนากลไกในการจัดการศึกษา ร่วมกันทุกภาคส่วน เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกัน ภ า ย ใ ต้ แ น ว คิ ด ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต น เ อ ง “UB-SPEC Model”


152 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 – Appendix ภาคผนวก


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 153 พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562


154 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 หนังสือรวมกฎหมายลําดับรองตามพระราชบัญญัติ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 และหนังสือที่ เกี่ยวข้อง หนังสือรวมกฎหมายลำดับรอง ตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 และหนังสือที่เกี่ยวขHอง (ISBN E-BOOK : 978-616-564-212-5) กฎหมายลําดับรอง ตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 และ หนังสือที่ เกี่ยวข้อง สํานักงานบรหารพื ิ้นที่นวัตกรรมการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 155 คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ที่ คณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา QR Code QR Code ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2565 QR Code ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2566 1 กาญจนบุร ี 2 เชียงใหม่ 3 นราธิวาส 4 ปัตตานี 5 ยะลา 6 ระยอง 7 ศร ีสะเกษ


156 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ที่ คณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา QR Code QR Code ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2565 QR Code ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2566 8 สตูล 9 กระบี่ 10 กรุงเทพมหานคร 11 จันทบุร ี 12 ตราด 13 ภูเก็ต 14 แม่ฮ่องสอน


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 157 ที่ คณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา QR Code QR Code ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2565 QR Code ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2566 15 สงขลา 16 สระแก้ว 17 สุโขทัย 18 สุราษฎร์ธานี 19 อุบลราชธานี


158 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะผู้จัดทํา คําสัง่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พืน้ฐาน ที่ 1203/2566 เร่อืง แต่งตัง้คณะทํางานดําเนินการจัดทํารายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษา ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ___________ โดยที่พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 มาตรา 18 (7) กําหนด ให้สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มีหน้าที่ในการจัดทํารายงานประจําปีเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้อนุมัติให้สํานักงานบร ิหารพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา ดําเนินการจัดทํารายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา นัน้ เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปด้วยความเร ียบร้อยและมีประสิทธิภาพ มีรายงานประจําปี เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โดยมีผลการดําเนินงานเกี่ยวกับการ จัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่เป็นไปตามสภาพจร ิงสะท้อนการทํางานและการเปลี่ยนแปลงเชิง พื้นที่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงแต่งตั้งคณะทํางานดําเนินการจัดทํารายงานประจําปี เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โดยมีองค์ประกอบ ดังต่อไปนี้ ที่ปรกึษา 1. นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้พืน้ฐาน 2. นายภูธร จันทะหงษ์ปุณยจรัสธํารง ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้พืน้ฐาน คณะทํางาน 1. นายพิทักษ์โสตถยาคม ประธานคณะทํางาน ผู้อํานวยการสํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. นายเก ประเสร ิฐสังข์ รองประธานคณะทํางาน นักว ิชาการศึกษาชํานาญการ สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. นางสาววงเดือน สุวรรณศิร ิ คณะทํางาน นักว ิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ สํานักว ิชาการและมาตรฐานการศึกษา ช่วยราชการสํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 4. นางสาวอุมาภรณ์พัฒนะนาว ีกุล คณะทํางาน นักว ิชาการศึกษาชํานาญการ สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 5. นางสาวมาศชฎา จันทราทิพย์ คณะทํางาน นักว ิชาการศึกษา สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 159 6. นางสาวปราชญาพร แช่ใจ คณะทํางาน นักว ิชาการศึกษา สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 7. นางสาวประถมพร ว ิเศษอุด คณะทํางาน นักว ิชาการศึกษา สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8. นายสุวศิน เขียวสุวรรณ คณะทํางาน นักว ิชาการศึกษา สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 9. นางสาวฐิติมา มณฑล คณะทํางาน นักว ิชาการศึกษา สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 10. นายอิศรา โสทธิสงค์ คณะทํางานและเลขานุการ นักว ิชาการศึกษา สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 11. นางเนตรทราย แสงธูป คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ พนักงานธุรการ ส 4 สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 12. นางสาวณัฐมล ไชยประดิษฐ์ คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ นักว ิชาการศึกษา สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 13. นางสาวภัชธีญา ปัญญารัมย์ คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 14. นางสาวนิฎฐา ขุนนุช คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ นักจัดการงานทัว่ไป สํานักงานบรหิารพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา 15. นางสาวอทิตยา บุญกวย คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ นักจัดการงานทัว่ไป สํานักงานบรหิารพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา มีหน้าที่รวบรวม ศึกษา ว ิเคราะห์สังเคราะห์ และจัดทําเอกสารรายงานประจําปีเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โดยมีผลการดําเนินงานเกี่ยวกับการจัด การศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่เป็นไปตามสภาพจร ิงและสะท้อนการทํางานและการเปลี่ยนแปลง เชิงพื้นที่ ให้มีสาระสําคัญที่ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ที่ผ่านกระบวนการตรวจสอบและพิสูจน์อักษร เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ต่อสาธารณชนและในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์บนเว็บไซต์ของสํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาต่อไป ทัง้นี้ตัง้แต่บัดนีเ้ปน็ต้นไป สัง่ณ วันที ่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2566 (นายอัมพร พินะสา) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้พืน้ฐาน


160 รายงานประจําปีเกียวกับการจัดการศึกษาในพ่ื้นทีนวัตกรร่มการศึกษา ปีการศึกษา 2565 เอกสารอ้างอิง กองส่งเสร ิมและพัฒนาการบร ิหารการศึกษาในภูมิภาค สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, (2566). เอกสารการติดตามการบรหิารงบประมาณในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (โครงการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566). พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562. (2562 เมษายน 30). ราชกิจจานุเบกษา 136 (56 ก) สํานักงานบร ิหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา, (2566). เอกสารการติดตามการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา ปีการศึกษา 2565 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่. (2566). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุร ี. (2566). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดระยอง. (2566). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดศร ีสะเกษ. (2566). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสตูล. (2566). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปัตตานี. (2566). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา. (2566). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส. (2566). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา.


1 รายงานประจําปี เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 DOWNLOAD ______________ สํานักงานบรหิารพื้นที่นวตักรรมการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


Click to View FlipBook Version