The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีฯ ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปีฯ ปีการศึกษา 2565

รายงานประจำปีฯ ปีการศึกษา 2565

รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 87 กิจกรรม ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทําแนวปฏิบัติการบรหิารงานบุคคลของสถานศึกษานําร่อง ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา วัน เวลา สถานที่ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2565 ผ่านระบบ Zoom วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนากรอบโครงการผลิตครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. จัดทําข้อมูลการจัดตัง้อ.ก.ค.ศ. พืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา 3. รวบรวมข้อมูลปัญหาด้านการบร ิหารบุคคล กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ผู้แทนกลุ่มบร ิหารงานบุคคล สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด และสํานักพัฒนาระบบบร ิหารบุคคลและนิติการ สาระสําคัญ 1. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการคัดเลือก 2. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบรรจุ 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแต่งตัง้ 4. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการโยกย้าย 5. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือน 6. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประเมินว ิทยฐานะ


88 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 กิจกรรม “บทเร ียนทรงพลัง” เพื่อการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา วัน เวลา สถานที่เมื่อวนัที่ 23 สิงหาคม 2565 ผ่านระบบ Zoom และถ่ายทอดสดผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เข้าใจถึงหลักการ แนวคิด และเป้าหมายของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2. เพื่อให้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาใหม่ เข้าใจทิศทางและว ิธีการดําเนินงาน 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเร ียนรู้ประสบการณ์จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง กลุ่มเป้าหมาย คณะผู้เสนอ ผู้บร ิหาร ครูบุคลากรทางการศึกษา ศึกษานิเทศก์พี่เลี้ยง และผู้ที่สนใจ สาระสําคัญ 1. ความเป็นอิสระในการใช้หลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษานําร่อง 2. การเลือกและการสร้างนวัตกรรมให้เหมาะสมกับพื้นที่ 3. แนวคิดสู่จังหวัดพัฒนาตนเอง 4. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาใหม่ ก้าวอย่างไรให้ประสบความสําเร็จ 5. เบื้องหลังการเร ียนแปลง จากผลงานว ิจัยของสถาบันว ิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 6. การพัฒนาระบบนิเวศการศึกษาอย่างเป็นระบบ 7. การจัดการศึกษาบนภูมิสังคมและการจัดการเร ียนรู้ครูสามเส้า 8. Sisaket ASTECS สู่การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะและกลไก Super Coach 9. การพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ บนความหลากหลาย รายละเอียด www.edusandbox.com /24th_aug_2022_powerful_lesson ตอนที่ 1 https://fb.watch/mMgcEwFUgd ตอนที่ 2 https://fb.watch/mMgjfRKJ-G บทสรุป www.edusandbox.com /07_sep_22_conclusion_ orientation


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 89 กิจกรรม เวทีสื่อสารเพื่อการแลกเปลี่ยนเรยีนรู้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ครั้งที่ 1 “11 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและการเป็นสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” วัน เวลา สถานที่ เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2566 ผ่านระบบ Zoom และถ่ายทอดสดผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์ วัตถุประสงค์ แลกเปลี่ยนเร ียนรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 และการเป็น สถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กลุ่มเป้าหมาย คณะผู้เสนอ ผู้บร ิหาร ครูบุคลากรทางการศึกษา ศึกษานิเทศก์พี่เลี้ยง และผู้ที่สนใจ สาระสําคัญ 1. ความเป็นอิสระของสถานศึกษานําร่อง 2. งานประสานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3. การใช้โอกาสจากพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 4. การเป็นสถานศึกษานําร่อง 5. การแต่งตัง้คณะกรรมการขับเคลือ่นพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา 6. การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา รายละเอียด https://www.edusandbox.com/10th_jan_2023_exchange_news


90 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 กิจกรรม เวทีสื่อสารเพื่อการแลกเปลี่ยนเรยีนรู้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ครั้งที่ 2 “เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย พ.ร.บ. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562” วัน เวลา สถานที่ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2566 ผ่านระบบ Zoom และถ่ายทอดสดผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์ วัตถุประสงค์ แลกเปลี่ยนเร ียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โดยสํานักงานคณะกรรมการการกฤษฎีกา กลุ่มเป้าหมาย คณะผู้เสนอ ผู้บร ิหาร ครูบุคลากรทางการศึกษา ศึกษานิเทศก์พี่เลี้ยง และผู้ที่สนใจ สาระสําคัญ 1. คําอธิบายรายมาตรา 2. ระดมสมองและตอบประเด็นปัญหาที่สงสัยเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา รายละเอียด https://www.edusandbox.com/13th_jan_2023_exchange_news/


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 91 กิจกรรม การประชุมสานพลังคณะกรรมการขับเคลื่อนในฐานะผู้พลิกเกม Game Changer และสร้างการเปลี่ยนแปลงผู้เรยีนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา วัน เวลา สถานที่ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์2566 ผ่านระบบ Zoom และถ่ายทอดสดผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์ วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกฎหมายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และบทบาทคณะกรรมการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา บุคลากรจากสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษานําร่อง และหน่วยงานทีเ่กีย่วข้องทัง้ภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่และภาคประชาสังคมในพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษา และผู้ทีส่นใจ สาระสําคัญ เร ียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ศร ีสะเกษ ระยอง และนราธิวาส ที่สามารถนําไปปรับประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม 1. ผอ.เปลี่ยนแปลง มุ่งผลลัพธ์ที่นักเร ียน 2. การปรับหลักสูตรสถานศึกษาและการประเมินสมรรถนะ 3. การสร้างสมรรถนะด้านอาชีพ 4. กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมกลไกทางว ิชาการและการพัฒนากรอบหลักสูตรจังหวัดระยอง และนราธิวาส 5. การว ิเคราะห์ต้นทุนของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 6. การพัฒนาพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาอย่างยัง่ยืน รายละเอียด https://www.edusandbox.com/22th_mar_2023_game_changer


92 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 กิจกรรม การประชุมเซิงปฏิบัติการบรรณาธิการกิจมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยน ข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและสถานศึกษานําร่อง วัน เวลา สถานที่ ระหว่างวันที่ 5 - 7 เมษายน 2566 ณ โรงแรม Palazzo กรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมาย คณะทํางานบรรณาธิการกิจมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการศึกษาของ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและสถานศึกษานําร่อง ตามคําสั่ง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ที่ 661/2566 สัง่ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 วัตถุประสงค์ บรรณาธิการกิจมาตรฐานรูปเล่มมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัด การศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและสถานศึกษานําร่องให้ครบถ้วนสมบูรณ์ สาระสําคัญ บรรณาธิการกิจมาตรฐานรูปเล่มมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัด การศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและสถานศึกษานําร่องให้ครบถ้วนสมบูรณ์เพื่อเผยแพร่ไป ยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด https://www.edusandbox.com/6th_jul_2023_data


รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 93 กิจกรรม การประชุมปฏิบัติการจัดทําแนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนทั่วไปเพื่อพัฒนานวัตกรรม การศึกษา รายการค่าใช้จ่ายดําเนินงาน ตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา พ.ศ. 2562 วัน เวลา สถานที่ ระหว่างวันที่ 1 - 3 พฤษภาคม 2566 ณ โรงแรม Palazzo กรุงเทพมหานคร และผ่านระบบ Zoom วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทําร่างแนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนทั่วไปเพื่อพัฒนานวัตกรรมการศึกษา รายการค่าใช้จ่าย ดําเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย ผู้แทนจากหน่วยงานสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา นําร่องในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้พืน้ฐาน สาระสําคัญ 1. ภาพรวมของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและการจัดทํางบประมาณ 2. สะท้อนประสบการณ์และการใช้จ่ายงบประมาณ 3. การจัดทําร่างแนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนทั่วไปเพื่อพัฒนานวัตกรรมการศึกษา รายการค่าใช้จ่ายดําเนินงาน รายละเอียด https://www.edusandbox.com/17th_may_summary_meeting


94 รายงานประจําปีเกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 95 –––––––––––– Chapter 3 การดําเนินงาน พ ื ้ นท ี่ นวัตกรรมการศึกษา ในระดับพ ื ้ นท ี่ในการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตามมาตรา 20 ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ซึ่งข้อมูลได้ส่วนนี้ข้อมูลพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาเดิม 8 พื้นที่ ได้มาจากการรวบรวม ศึกษา และว ิเคราะห์เอกสารรายงานผลการดําเนินงานของ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และสําหรับข้อมูลพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 11 พื้นที่ใหม่ ได้มาจากการรวบรวม ศึกษา และว ิเคราะห์เอกสารการติดตามการบร ิหารงบประมาณในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (โครงการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตาม พ.ร.บ. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2566) โดยจะแบ่งข้อมูลเป็น 2 ส่วน คือ 1. ภาพรวมการดําเนินงานตามมาตรา 20 2. ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 19 พื้นที่ 2.1 ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8 พื้นที่ (เดิม) 2.2 ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 11 พื้นที่ (ใหม่)


96 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ภาพรวมการดําเนินงานตามมาตรา 20 ในปีการศึกษา 2565 คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาทั้ง 8 พื้นที่ (เฉพาะพื้นที่เดิม) ได้มีการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ดังนี้ ค่าคะแนน หมายถึง ดําเนินการแล้ว = 2 คะแนน หมายถึง กําลังดําเนินการ = 1 คะแนน หมายถึง ยังไม่ดําเนินการ = 0 คะแนน ที่ ม. 20 รายการ กาญจนบุร ี เชียงใหม่ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา ระยอง ศร ีสะเกษ สตูล ค่า ร้อยละ แปลผล 1 (1) ยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงาน 16 100 มากที่สุด 2 (2) ประสานหน่วยงานทางการศึกษา ดําเนินการตาม (1) 15 93.75 มากที่สุด 3 (3) ป ร ะ ส า น ห น่ ว ย ง า น ที่ มี ค ว า ม เชี่ยวชาญเฉพาะ 15 93.75 มากที่สุด 4 (4) นําหลักสูตรแกนกลางฯ ไปปรับใช้ จัดการศึกษา 16 100 มากที่สุด 5 (5) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 15 93.75 มากที่สุด 6 (6) ออกแบบการทดสอบผู้เร ียน 6 37.50 น้อย 7 (7) ส่ ง เ ส ร ิม ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ค ว า ม ช่วยเหลือ และติดตาม 14 87.50 มากที่สุด 8 (8) เสร ิมสร้างและเตร ียมความพร้อม การเป็นสถานศึกษานําร่อง 15 93.75 มากที่สุด 9 (9) เพิ่มขีดความสามารถหน่วยงาน ทางการศึกษาในการพัฒนาหรือ นํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ 11 68.75 มาก 10 (10) ประเมินผลการจัดการศึกษา 7 43.75 ปานกลาง 11 (11) แต่งตัง้คณะอนุกรรมการ 16 100 มากที่สุด 12 (12) รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ปัญหา และอุปสรรค 10 62.50 มาก 13 วรรค สอง หาร ือและประสานงานหน่วยงาน ในการจัดทํายุทธศาสตร์/ปรับ ห ลั ก สู ตร/ออกแบบทดสอบ/ ประเมินผลที่สอดคล้องกับหลักสูตร 7 43.75 ปานกลาง 14 วรรค สี่ มอบหมายให้สถานศึกษาดําเนินการ ออกแบบการทดสอบผู้เรียนของตน 7 43.75 ปานกลาง รวม 23 21 20 23 15 24 25 19 28 75.89 มาก ร้อยละ 82.14 75 71.42 82.14 53.57 85.71 89.28 67.85 75.89 เกณฑ์การแปลความหมาย เพื่อจัดระดับผลการดําเนินงานในแต่ละข้อและในแต่ละพื้นที่ ดังนี้


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 97 ร้อยละ 80.01 - 100.00 หมายถึง มีการดําเนินงานมากที่สุด ร้อยละ 60.01 - 80.00 หมายถึง มีการดําเนินงานมาก ร้อยละ 40.01 - 60.00 หมายถึง มีการดําเนินงานปานกลาง ร้อยละ 20.01 - 40.00 หมายถึง มีการดําเนินงานน้อย ร้อยละ 00.01 - 20.00 หมายถึง มีการดําเนินงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.00 หมายถึง ไม่มีการดําเนินงานเลย เมื ่อพิจารณาจากตารางข้อมูลการดําเนินงานตามมาตรา 20 พบว ่า มีผลการดําเนินการอยู ่ใน ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 75.89 เมื่อพิจารณารายข้อสามารถจําแนกระดับและร้อยละ ดังนี้ ระดับมากที่สุด (8 ข้อ) คิดเป็นร้อยละ 100 จํานวน 3 ข้อ ได้แก่ข้อ 1, 4, 11 คิดเป็นร้อยละ 93.75 จํานวน 4 ข้อ ได้แก่ข้อ 2, 3, 5, 8 คิดเป็นร้อยละ 87.50 จํานวน 1 ข้อ ได้แก่ข้อ 7 ระดับมาก (2 ข้อ) คิดเป็นร้อยละ 68.75 จํานวน 1 ข้อ ได้แก่ข้อ 9 คิดเป็นร้อยละ 62.50 จํานวน 1 ข้อ ได้แก่ข้อ 12 ระดับปานกลาง (3 ข้อ) คิดเป็นร้อยละ 43.75 จํานวน 3 ข้อ ได้แก่ข้อ 10, 13, 14 ระดับน้อย (1 ข้อ) คิดเป็นร้อยละ 37.50 จํานวน 1 ข้อ ได้แก่ข้อ 6 เมื่อพิจารณาในภาพรวมของแต่ละพื้นที่มีการดําเนินงานในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 75.89 อยู่ในระดับมาก โดยพื้นที ่นวัตกรรมการศึกษาที ่ดําเนินการจากมากที ่สุดไปน้อยที ่สุด ได้แก่ ศร ีสะเกษ ระยอง กาญจนบุร ี ปัตตานีนราธิวาส เชียงใหม่ สตูล และยะลา โดยคิดเป็นร้อยละ 89.28, 85.71, 82.14, 82.14, 75, 71.42, 67.85 และ 53.57 ตามลําดับ 89.28 85.71 82.14 82.14 75 71.42 67.85 53.57 ศร ีสะเกษ ระยอง กาญจนบุร ี ปัตตานี นราธิวาส เชียงใหม่ สตูล ยะลา ค่าเฉลี่ย


98 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 19 พื้นท ี่ ผลการดําเนินงานตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ของพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาทั้ง 19 พื้นที่ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้ได้มาจากว ิเคราะห์การรายงานข้อมูลเพื่อจัดทํารายงานประจําปีเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 และเอกสารรายงานผลการดําเนินโครงการ ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดตาม พ.ร.บ. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยแบ่งข้อมูลเป็น 2 ส่วนประกอบด้วย • ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8 พื้นที่ (เดิม) • ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 11 พื้นที่ (ใหม่) ความก้าวหน้าการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 8 พื้นที่ (เดิม) ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้ ได้มาจากว ิเคราะห์การรายงานข้อมูลเพื ่อจัดทํารายงานประจําปีเกี ่ยวกับการจัดการศึกษาในพื้นที ่นวัตกรรม การศึกษา ปีการศึกษา 2565 และเอกสารการติดตามการบร ิหารงบประมาณในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (โครงการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตาม พ.ร.บ. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2566) โดยจําแนกเนื้อหา 5 ส่วน คือ 1. การคิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการศึกษา 2. การลดความเหลื่อมลํ้าในการศึกษา 3. การกระจายอํานาจและให้ความอิสระแก่หน่วยงานการศึกษา 4. การสร้างและพัฒนากลไกการทํางานร่วมกันทุกภาคส่วน 5. ผลสัมฤทธิท์างการศึกษา 1. การคิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการศึกษา พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 มาตรา 5 วรรคหนึ่ง (1) บัญญัติว่า พื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เพื่อคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรยีนรู้เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เรยีน รวมทั้งเพื่อดําเนินการให้มีการขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น ซึ่งมีการดําเนินงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังนี้ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี คณะกรรมการขับเคลื ่อนพื้นที ่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีดําเนินการจัดทํา แผน คู่มือ เครื่อ งมือ แ ล ะปฏิทินก า รนิเทศ เ พื ่อ ส ่ง เ ส ร ิม ส น ับ ส น ุน ใ ห ้ค ว า ม ช ่ว ยเ ห ล ือ และติดตาม สถานศึกษานําร่องเพื่อให้จัดการเร ียน การสอนที่มีคุณภาพและเกิดการพัฒนานวัตกรรม การศึกษา และได้มอบหมายให้คณะกรรมการ ว ิช า ก าร ง านว ิจัยแ ล ะนวัต กรรม ดําเนิน ก าร จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (1) สร้างและออกแบบ นวัตกรรมการเร ียนรู้ฐานสมรรถนะ (2) การจัดการ เร ียนรู ้แบบ Active Learning (3) การนิเทศ การศึกษาและการนิเทศชั้นเรยีน (4) การว ิจัย ในชั้นเรยีน (5) การวัดและประเมินผลการจัดการ เร ียนรู้ฐานสมรรถนะ และ (6) การพัฒนาหลักสูตร


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 99 แล ะกร ะบวนการเร ียนรู้ฐานสมรรถน ะ อีกทั้ง ดําเนินการสร้างขวัญและกําลังใจให้กับบุคลากร แ ล ะเ ป ็น ก า ร เ พิ่ ม ขีด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ ห้กับ ส ถ า น ศึก ษ า นํ า ร ่อ งใ น ก า รคิดค ้นแ ล ะพัฒน า นวัตกรรมการศึกษาและการเร ียนรู้สํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุร ีได้จัดการประกวด แข่งขัน “สุดยอดนวัตกรรมกาญจน์” เพื่อเป็นเวที ให้ครูได้แลกเปลี ่ยนเร ียนรู้และเผยแพร ่ผลงาน สื ่อ และน ว ัต ก ร ร ม ที ่ป ร ะ ส บ ผ ล สํ า เ ร ็จ (best practices) ประกอบด้วย ด้านการบร ิหารจัดการ ดีเด ่น ด้านการจัดการเร ียนรู้ดีเด ่น ด้านนวัตกร รุ ่นเยาว์ระดับระถมศึกษาและมัธยมศึกษาดีเด ่น และด้านการนิเทศการศึกษา ตัวอย่างผลงาน อาทิ (1) ผลงาน “การบรหิารจัดการเพื่อลดความ เหลื่อมล ํ้ าทางการศึกษาที่สอดคล้องกับบรบิท ท้องถิ่นและศักยภาพของผู้เรยีนโดยใช้รูปแบบ (บวรx2)” ของนายยงยุทธ สงพะโยม ผู้อํานวยการ โรงเร ียนทองผาภูมิว ิทยา (2) ผลงาน “แนวทาง การพัฒนาการบร ิหารแบบมีส่วนร่วม (Change : share for change)” แบ่งปันเพื่อการเปลี่ยนแปลง ของนายอาร ินทร โพธิ์ สวรรค์ผู้อํานวยการโรงเร ียน วัดใหม ่ดงสัก (3) ผลงาน “การประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาแบบระดมพลัง (Mobilize)” ของนายสมรัก ใจตรง ผู้อํานวยการ โรงเร ียนบ้านสามยอด (4) ผลงาน “เคร่อืงป๊ัมเจล อ ัต โ น ม ัต ิ” โ ร ง เ ร ีย น ช ุม ช น บ ้า น ห น อ ง ฝ ้า ย (5) ผลงาน “ยาดมสมุนไพร SWAT” ของโรงเร ียน อ น ุบ า ล วั ดไชยชุ มพลชนะสงคราม (6) ผลงาน “ผงสีมหัศจรรย์” ของโร งเร ียนบ ้าน ส าม ย อด และ (7) ผลงาน “ชอล์กรักษ์ โลก” ของโรงเร ียน บ้านหนองหิน ป ัจ จ ุบ ัน ส ถ า น ศ ึก ษ า นํ า ร ่อ ง ใ น พื ้น ที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนนบุร ีได้มีการ คิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรม การศึกษา ดังนี้ รายชื่อนวัตกรรมของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ีในปัจจุบัน โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา ตลาดสํารอง การพัฒนารูปแบบการเร ียนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการ ทํางานแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสร ิมทักษะการปฏิบัติงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ ของนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 5 อนุบาลวัดไชยชุมพล ชนะสงคราม 1. ยาดมสมุนไพร SWAT 2. การจัดทําผ้ามัดย้อมด้วย กระบวน SAPAE อนุบาลกาญจนบุร ี Computer Classroom By Krukan บ้านทุ่งนานางหรอกเพ็ญชาติอุปถัมภ์ รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ ที่สอดคล้องกับชีว ิตจร ิงเพื่อส่งเสร ิม ทักษะ การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ผ่านโครงงานระดับประถมศึกษา ตอนปลาย


100 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา อนุบาลศรสีวัสดิ์ 1. “พัฒนาทักษะด้านวทิยาการคํานวณของนักเรยีนชั้น ป.6 โดยใช้กระบวนการ SPOI MODEL” 2. “Good Food Delivery Good Healthy For Us” กินดีออกกําลังกายดี เพื่อสุขภาพที่ดีของเรา 3. การจัดกระบวนการ เร ียนรู้ระดับปฐม 4. นวัตกรรม Ning Delivery Free Learning บ้านหนองหิน 1. การจัดการเร ียนรู้ในสถานการณ์โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา (โคว ิด-19) โดยใช้ ชอล์กและกระดานดําเป็นสื่อการเร ียนรู้ 2. สุขภาพดีด้วยนันทนาการ ตาราง 9 ช่อง 3. การจัดการเร ียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21และคุณธรรม จร ิยธรรม ของนักเร ียนโรงเร ียนบ้านหนองหินโดยใช้รูปแบบการจัดการ Bannonghin wink Model วัดใหม่ดงสัก 1. 7 Dose “Code ไม่ลับ ยกระดับ RT” 2. The Little Science “เส้นทางนักว ิทยาศาสตร์น้อย” 3. “Chinese is fun” ภาษาจีนแสนสนุก 4. “6 ways to english skill 6 แ น ว ท า ง ส ร้ า ง ทั ก ษ ะ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ” ที่ขับเคลื่อนด้วยกระบวนการจัดการเร ียนรู้แบบ Active Learning” 5. “6 Activities to Child development” 6 กิจกรรม นําสู่พัฒนาการ เด็กปฐมวัย 6. “ว ิทยาการคํานวณ สร้ างสรรค์ (Creative Computing Science to Young Innovator)” 7. แนวทางการพัฒนาการบร ิหารแบบมีส่วนร่วม Change : share for change “แบ่งปันเพื่อการเปลี่ยนแปลง” 8. 7 Strong Maths “7 ก้าว การเร ียนรู้สู่คณิตศาสตร์ที่เข้มแข็ง” 9. “Job Model เล่นขาย ของ จําลองอาชีพ” ที่ขับเคลื่อนด้วยกระบวนการ จัดการเร ียนรู้แบบ Active Learning ตามนโยบาย “ลดเวลาเรยีน เพิม่เวลารู้” 10.Smart Teacher 4.0 คุณลักษณะครูไทย 4.0 (มีความสุข ดีเก่ง มีทักษะ) บ้านสามยอด 1. “การเขียนสะกดคําศัพท์ภาษาอังกฤษ 7 ขัน้ตอน Spelling 7 Steps Cycle” 2. การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาแบบระดมพลัง (Mobilize) 3. การจัดกิจกรรมการเร ียนรู้แบบบูรณาการด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ 4. การจัดกิจกรรมการเร ียนรู้โดย “วงจรพัฒนาบทเร ียนร่วมกัน (Lesson Study Cycle:LSC) 5. การนิเทศภายในแบบผสมผสาน (Integrated supervision) ราษฎร์บํารุงธรรม ทักษะอาชีพในฝัน โดยใช้SIX STEP MODEL ชุมชนบ้านหนองฝ้าย 1. การจัดการเร ียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยใช้รูปแบบ SELE MODEL 2. การนิเทศภายในสถานศึกษา โดยใช้SMART MODEL 3. การออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยโปรแกรม Google SketchUp ใช้กับ 3D Printer


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 101 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา ทองผาภูมิว ิทยา 1. การบร ิหารจัดการเพื่อลดความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษาที่สอดคล้องกับบร ิบท ท้องถิน่และ ศักยภาพของผู้เรยีนโดยใช้รูปแบบ (บวร) 2 2. มัคคุเทศก์น้อย นานาชาติพันธ์ 3. เตาเผาพลังงานไฟฟ้าชีวมวลจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร 4. Smart farm Solar cells 5. แบตเตอร่จีากนํา้ส้มควันไม้ กาญจนานุเคราะห์ 1. การพัฒนาความสามารถในการขายสินค้าออนไลน์ในยุค COVID-19 ของนักเรยีนชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้วยชุดกิจกรรม E-Commerce 2. “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีนวรรณคดีไทย เร่อืง อิเหนา ตอนศึก กะหมังกุหนิงด้วยว ิธีการเร ียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ร่วมกับการใช้เพลงพืน้บ้านประกอบการสอนของนักเรยีนชัน้ม.4” 3. บอร์ดสมองกล IOT เทพมงคลรังษี 1. “การพัฒนาทักษะทางภาษาไทยของนักเร ียนโรงเร ียนเทพมงคลรังษี โดยใช้รูปแบบ “4 ส Model สู่ความเป็นเลิศด้านการอ่านการเขียน” 2. การพัฒนาศักยภาพผู้เร ียนสู่ความเป็นเลิศรูปแบบ“ก่อ ร่าง สร้าง อาชีพ” พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ส่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ และติดตาม สถานศึกษานําร่อง เพื่อให้จัดการเร ียนการสอนที่มีคุณภาพและเกิดการ พัฒนานวัตกรรมการศึกษาของสถานศึกษานําร่อง ในสังกัด พร้อมทั้งได้จัดประชุมสร้างการรับรู้ การดําเนินการตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา พ.ศ. 2562 เพื่อเตร ียมความพร้อม ให้สถานศึกษานําร่องนํานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ ในการจัดการศึกษา ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ร่ อ งใ น พื้ น ที่ น วั ต ก ร ร ม การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการคิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้ รายชื่อนวัตกรรมของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน โรงเร ียน นวัตกรรม ประเภทนวัตกรรม การบร ิหาร หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผล ส่ือ การนิเทศ เทพเสด็จว ิทยา รูปแบบการบร ิหารจัดการสถานศึกษาเพื่อการ พัฒนาทีย่ัง่ยืน แม่โป่งประชาสามัคคี Active Learning Theme in Maepong แม่คือว ิทยา หลักสูตรฐานสมรรถนะและแพลทฟอร์การเร ียนรู้ โรงเร ียนแม่คือว ิทยา คําเที่ยงอนุสสรณ์ Modern Khamthieng


102 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรม ประเภทนวัตกรรม การบร ิหาร หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผล ส่ือ การนิเทศ ชุมชนบ้านบวกครกน้อย การพัฒนาสมรรถนะนักเร ียนด้วย BKN Model โรงเร ียนชุมชนบ้านบวกครกน้อย Lesson study and Open Approach STEM education บ้านโป่งน้อย Lesson study and Open Approach บ้านตลาดขี้เหล็ก VIP Model การพัฒนาตามศาสตร์พระราชา วัดข่วงสิงห์ นวัตกรรมสร้างคนดีสู่สังคมโดยใช้กระบวนการ เร ียนรู้Active Learning (ข่วงสิงห์ลานนักรบ) ศร ีเนห์รู เศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงภูมิสังคม หมู่บ้านสหกรณ์2 การจัดการเร ียนรู้ตามรูปแบบการจัดการเร ียนรู้ ของ สสวท. เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เร ียน อนุบาลเชียงใหม่ การบร ิหารจัดการโรงเร ียนโดยใช้รูปแบบ SAC Model หลักสูตรว ิถีชาวบัว ชุมชนวัดช่อแล โครงการส่งเสร ิมและพัฒนาว ิชาชีพข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ด้วยกระบวนการ PLC บ้านเมืองกื้ด กา ร จัดกา ร เ รียนรู้เ ร่ือง อาชีพบนพื้นฐ าน ของชุมชน บ้านแม่โจ้ MAEJO MODEL พั ฒ น า ผู้ เ ร ีย น เ ต็ ม ต า ม ศักยภาพ บ้านต้นรุง รูปแบบการบร ิหารจัดการสถานศึกษาแบบมีส่วน ร่วมที่ส่งเสร ิมคุณภาพผู้เร ียน โดยใช้Model "HAPPINESS School" บ้านนาบุญโหล่งขอด NABOON SMART MODEL บ้านบ่อแก้ว นวัตกรรมการเร ียนรู้การพัฒนาทักษะอาชีพ ด้วย BLC MODEL บ้านพระนอน การจัดการเร ียนรู้แบบบูรณาการข้ามศาสตร์ เพื่อส่งเสร ิมทักษะการจัดการตนเองสําหรับ นักเร ียนที่เป็นบุตรหล านแรงง านข้ ามช าติ ของโรงเร ียนบ้านพระนอน


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 103 โรงเร ียน นวัตกรรม ประเภทนวัตกรรม การบร ิหาร หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผล ส่ือ การนิเทศ บ้านสะลวงนอก นวัตกรรมเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเร ียนต้นแบบ ศู น ย์เร ีย นรู้ ต า มแ นวพร ะร า ช ดํ าร ิปรั ชญ า ของเศรษฐกิจพอเพียง บ้านหนองไคร้ โรงเร ียน 3 ดีสู่ว ิถีนวัตกร บ้านหนองปลามัน การจัดการเร ียนการสอนบนฐานศิลปวัฒนธรรม ล้านนาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีว ิต พร้าวบูรพา การบร ิหารจัดการแบบมีส่วนร่วมที่ส่งเสร ิมทักษะ ผู้เร ียนในศตวรรษที่ 21 ของโรงเร ียนพร้าวบูรพา ในพื้นที่นวัตกรรมจังหวัดเชียงใหม่ วัดแม่แก้ดน้อย การบร ิหารจัดการศึกษา โดยใช้NARONG MODEL วัดโป่งแยง เฉลิมพระเกียรติ การพัฒนาศักยภาพผู้เร ียนเพื่อการเตร ียมตัว ใ น โ ล ก ที่ เ ป็ น จ ร ิ ง ( Life in the word) ด้วยกิจกรรม “ศิลป์บําบัด” สู่ผลิตภัณฑ์งานอาชีพ ตามกระบวนการ Active Learning บ้านป่าตุ้ม กร ะ บ ว น ก าร จั ด ก ารพัฒ น า ผู้เร ีย น โ ด ยใ ช้ patoom โมเดล เทพศิร ินทร์9 การจัดการเร ียนการสอนโดยใช้PBLเป็นฐาน เพียงหลวง 1 (บ้านท่าตอน) ในทูลกระหม่อมหญิง อุบลรัตน ราชกัญญา สิร ิวัฒนาพรรณวดี Phiangluang 1 Seven Learning Center Model บ้านเปียงหลวง เปียงหลวง โมเดล (Piang Luang Model) บ้านเว ียงฝาง PBL & PLC การจัดการเร ียนรู้ที่มีคุณภาพสู่ ผู้เร ียน บ้านแม่งอนกลาง การจัดการศึกษาด้วยเทค โน โลยีการศึกษา ทางไกล ผ่านดาวเทียม DLTV ด้วยกระบวนการ Active Learning สู่ ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด PjBL บ้านแม่อ้อใน MN.234 ว ิถีพอเพียง บ้านกองลม “คุณเพียงขวัญ เทียพร ิตร ีภรณ์” การใช้แหล่ง เร ียนรู้ในชุมชนเป็นฐาน บ้านขอบด้ง อ่างขางโมเดล บ้านดงป่าลัน การเร ียนรู้stem ด้วยงานประดิษฐ์ไทย บ้านนาหวาย หลักสูตรบูรณาการณ์ศร ีสังวาลย์ศึกษา


104 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรม ประเภทนวัตกรรม การบร ิหาร หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผล ส่ือ การนิเทศ บ้านผาแดง รูปแบบการพัฒนาการศึกษาเพื่อส่งเสร ิมการอ่าน ออกเขียนได้ การประกอบสัมมาชีพสําหรับนักเร ียนกลุ่มชาติ พันธ์ุบนพื้นที่สูง บ้านร ินหลวง การพัฒนาหลักสูตรการเร ียนการสอนภาษาไทย โดยว ิธีธรรมชาติ (whole languages) การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะโดยใช้การว ิจัย เป็นฐาน บ้านสันต้นหมื้อ STM MODEL บ้านหนองขวาง เศรษฐกิจพอเพียงในท้องถิน่ บ้านหลวง หนังสือเล่มเล็กใหญ่ บ้านห้วยคอกหมู ทว ิภาษา และopen approach บ้านออน การจัดการศึกษาแบบยั่งยืนโดยใช้ชุมชนเปน็ฐาน ตามแนวคิด BANON model ว ิรุณเทพ 1 ครู1 นวัตกรรม สันติวนา หนูน้อยสร้างอาชีพ บูรณาการศาสตร์ด้วย PBL แม่ว ินสามัคคี นวัตกรรมการเร ียนรู้สู่สัมมาชีพโดยใช้อัตลักษณ์ เชิงพื้นที่ล่องแพแม่ว ิน บ้านเหล่าเป้า ก ารใช้กร ะบวนก าร INNOVATION SEAT เพื่อการจัดการเร ียนรู้สู่คุณภาพการจัดการเร ียน รวมโดยใช้โรงเร ียนเป็นฐาน ก า ร เ ร ีย น รู้ ผ่ า น Coding Platform ระบบ ควบคุมไฟฟ้าระบบควบคุมนํ้า e-Smart School ผ่านระบบ Application บนโทรศัพท์มือถือ บ้านป่าตาล ตุ๊กตาดินยิม้บ้านป่าตาลสร้างรายได้สู่อาชีพ บ้านพันตน การพัฒนาครูผู้สอนด้านกระบวนการจัดการ เร ียนรู้แบบ Active Learning ผ่านการสอน รูปแบบโครงงาน (Project Based Learning) บ้านห้วยข้าวลีบ HKL model สันป่าตอง (สุวรรณราษฎร์ว ิทยาคาร) ย้อนรอยเว ียงท่ากาน สืบสานว ิถีชนคนเมืองยอง โดยใช้Power of SWR Model บ้านแม่บวน ส่งเสร ิมทักษะอาชีพ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากไม้ บ้านขุนแม่ตื่นน้อย พัฒนาคุณภาพการจัดการเร ียนรู้สําหรับเด็ก กลุ่มชาติพันธุ์(ทว ิภาษา)


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 105 โรงเร ียน นวัตกรรม ประเภทนวัตกรรม การบร ิหาร หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผล ส่ือ การนิเทศ บ้านตาลเหนือ ผางประทีปล้านนาสืบสานภูมิปญัญาท้องถิน่ บ้านตุงติง คลินิคภาษา บ้านพุย การแก้ปัญหาการอ่านออกเขียนได้โดยใช้ภาษาแม่ เป็นฐาน ทว ิ/พหุภาษา บ้านมูเซอ การจัดการเร ียนรู้สําหรับเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ โดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน (พหุภาษา) บ้านยางเปา การจัดการเร ียนรู้ด้านสัมมาชีพ ผ่านกระบวนการ "YP O-SHOP MODEL" บ้านยางครก การบร ิหารเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเร ียน ชนเผ่ากะเหร่ยีงโรงเรยีนบ้านยางครก บ้านยางครก การจัดการเร ียนการสอนทักษะอาชีพ บ้านสบลาน การจัดการเร ียนการสอนโดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน (ทว ิ/พหุภาษา) โรงเร ียนเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ (จิตศึกษา PBL , PLC ) บ้านห้วยไม้หก สัมมาอาชีพ บ้านห้วยนํ้าขาว กระบวนการจัดกิจกรรมการเร ียนการสอน รูปแบบทว ิภาษา บ้านห้วยปูลิง การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิต ศึกษา PBL และ PLC บ้านห่างหลวง ทักษะอาชีพ ชุมชนบ้านช่างเคิง่ โรงเร ียนเปลี่ยนแปลงเชิงระบบและ Montessori บ้านแม่เอาะ การจัดการเร ียนการสอนแนวทว ิภาษา/พหุภาษา บ้านแม่แดดน้อย พัฒนาว ิชาชีพแบบชุมชนแห่งการเร ียนรู้ทาง ว ิชาชีพ บ้านแม่มุ ทว ิภาษา/พหุภาษา บ้านขุนแตะ การจัดการเร ียนรู้เพื่อพัฒนาชีว ิต บ้านทุ่งแก การจัดการเร ียนการสอนแนวทางทว ิภาษา บ้านนากลาง กรจัดการเร ียนรู้สําหรับเด็กกลุ่มชาติพันธุ์โดยใช้ ภาษาเป็นแม่ฐาน (ทว ิ/พหุภาษา) บ้านบนนา ทว ิภาษา บ้านสบแม่รวม ทว ิภาษา/ปรับพ่อแม่ให้เป็นครูเปลี่ยนที่อยู่ให้เป็น ห้องเร ียน บ้านสองธาร การเร ียนรู้ภาษาไทยโดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน สําหรับเด็กชาติพันธุ์ (ทว ิภาษา)


106 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรม ประเภทนวัตกรรม การบร ิหาร หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผล ส่ือ การนิเทศ บ้านห้วยสะแพด การจัดการเร ียนการรูปแบบทว ิ/พหุภาษาโดยใช้ ภาษาแม่เป็นฐาน เชียงใหม่คร ิสเตียน หลักสูตรส่งเสร ิมทักษะชีว ิตและการทํางานใน ศตวรรษที่ 21 ภายใต้บร ิบทเมืองเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาผู้เร ียนสู่การเป็นพลเมืองโลก เอื้อว ิทยา เ พิ่ม รู้ บูร ณ า ก า ร ท้อ ง ถิ่น สู่ ก า ร เ ร ีย น รู้ โดยกระบวนการ Active learning บ้านปลาดาว การส่งเสร ิมพัฒนาทักษและสมรรถนะผู้เร ียน ด้วยนวัตกรรมการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เร ียนมี ทักษะในศตวรรษที่ 21 อย่างยัง่ยืน ปร ินส์รอยแยลส์ว ิทยาลัย นวัตกรรมการจัดการศึกษาเพื่อเสร ิมสร้าง ความเป็นพลเมืองภายใต้แนวคิด มั่นคง มั่งคั่ง ยั่ง ยืน ด้ว ย รูปแบบกา รคิดในกา ร ทํ า ง า น บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พิมานเด็กเชียงใหม่ นวัตกรรม We Are Leaders การสร้างเสร ิม ภาวะผู้นําในตนเองของนักเร ียนพิมานเด็กเชียงใหม่ รัตนาเอื้อว ิทยา การพัฒนาผู้เร ียนให้เป็นพลเมืองดีมีสัมมาชีพ สํานึกรักษ์บ้านเกิด ผ่านกิจกรรมหลักสูตรท้องถิ่ น ด้วยกระบวนการ Active Learning สวนเด็กสันกําแพง นวัตกรรมการจัดการเรยีนรู้โดยใช้สิ่งแวดล้อม ในโรงเร ียนเป็นฐานสู่การสร้างพลเมืองของโลก สหว ิทย์พิมานเชียงใหม่ We Love Stories เสร ิมสร้างทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเด็กปฐมวัยด้วยนิทาน อนุบาลร่มแก้ว ดนตร ีพาLearn อนุบาลสุมาลี รูปแบบการจัดการเร ียนรู้บนพื้นฐานว ิถี ไทย สู่เศรษฐกิจฐานความรู้ตามแนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ดาราว ิทยาลัย Dara Thinking Model สู่ สั ง ค มเ ศ ร ษ ฐ กิ จ ฐานความรู้ กาว ิละอนุกูล หนังสืออ่านง่าย ราชประชานุเคราะห์30 การอ่านออกเขียนได้ของนักเร ียนประถม ราชประชานุเคราะห์31 จังหวัดเชียงใหม่ นวัตกรรมการพัฒนาการจัดการเร ียนการสอน นักเรยีนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6 โดยใช้ โมเดล 3R2A เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านออกเขียน ได้คิดเลขเป็นคิดว ิเคราะห์ได้และกล้าแสดงออก


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 107 โรงเร ียน นวัตกรรม ประเภทนวัตกรรม การบร ิหาร หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผล ส่ือ การนิเทศ ศร ีสังวาลย์เชียงใหม่ การเร ียนการสอน Coding เพื่อพัฒนานวัตกรรม การศึกษา และ Smart Farm ศึกษาสงเคราะห์เขียงใหม่ หลักสูตรบูรณาการฐานสมรรถนะศึกษาสงเคราะห์ เชียงใหม่ โรงเร ียนแห่งการสร้างสรรค์นวัตกรรม สอนคนตาบอดภาคเหนือใน พระบรมราชินูปถัมภ์จังหวัด เชียงใหม่ หลักสูตรสถานศึกษาสําหรับนักเร ียนที่มีความ บกพร่องทางกาคเห็น โสตศึกษาอนุสารสุนทร หลักสูตรภาษามือไทย ต้นแก้วผดุงพิทยาลัย เทคโนโลยีกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา บ้านแม่งอนขี้เหล็ก CPBL (Community's Problem-based Learing) บ้านศาลา นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยกระบวนการ Active Learning สู่โรงเร ียนเหมือนบ้าน เชียงดาวว ิทยาคม การพัฒนาทักษะสัมมาชีพโดยโมเดล SMART Q ของโรงเร ียนเชียงดาวว ิทยาคม แม่แจ่ม I tri“P” MC Model ทางเดินสายวัฒนธรรมแม่แจ่ม แม่แตง การจัดการเร ียนรู้ชีว ิตบนฐานสมรรถนะใน ศตวรรษที่ 21 แม่ร ิมว ิทยาคม หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อส่งเสร ิมอัจฉร ิยะภาพ ในตน ดอยเต่าว ิทยาคม PINTHO Model เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ การศึกษา ฝางชนูปถัมภ์ ส่งเสร ิมความเป็นเลิศภาษาจีนสู่งานอาชีพ มัธยมกัลยาณิวัฒนา เฉลิมพระเกียรติ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้“กัลยาณิวัฒนาสร้าง สุข” โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสร ิมสร้าง สมรรถนะของผู้เร ียน สู่การเร ียนรู้อย่างมีความสุข ยุพราชว ิทยาลัย การจัดการเร ียนรู้ที่ส่งเสร ิมการพัฒนากระบวนการ คิดและการสร้างสรรค์นวัตกรรม ตามแนวทาง ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า ( STEM EDUCATION) และ การพัฒนาทักษะการเร ียนรู้ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence Learning) สันป่าตองว ิทยาคม การจัดการเร ียนรู้ห้องเร ียนสีเขี ยวสู่สังคม แห่งการเร ียนรู้


108 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส คณะกรรมการขับเคลื ่อนพื้นที ่นวัตกรรม ก าร ศึก ษ า จ ัง หว ัด นร าธ ิว า ส ไ ด ้สน ับ ส น ุนแล ะ ส ่ง เ ส ร ิม ก า ร พ ัฒ น า น ว ัต ก ร ร ม ก า ร ศ ึก ษ า ผ่านกระบวนการว ิจัย “การพัฒนากลไกเคร ือข่าย ความร่วมมือของทุกภาคส่วน อย่า งยั่งยืน เพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่หนุน เสร ิมยุทธศาสตร์การศึกษาสู่การพัฒนาคุณภาพ ค ร ูแ ล ะ ค ุณ ภ าพ ผู ้เ ร ีย น จ ัง ห ว ัด น ร า ธ ิว า ส” ที ่ส ่งเสร ิมพัฒนาการจัดการเร ียนรู้ประกอบด้วย 1) การพัฒนาหลักสูตรการจัดการเร ียนรู้ภาษาไทย โดยใช้ชุมชนเป ็นฐาน 2) การพัฒนาหลักสูตร การเร ียนรู้ด้วยนวัตกรรมบทเร ียนฐานสมรรถนะ ที ่ส อ ด ค ล ้อ ง ก ับ บ ร ิบ ท ว ัฒ น ธ ร ร ม ท ้อ ง ถิ่น ( Culturally Responsive Learning Module) แ ล ะ 3 ) ก า ร พ ัฒ น า ห ล ัก สูต ร อ ิส ล า ม ศ ึก ษ า ฐานสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 ป ัจ จ ุบ ัน ส ถ า น ศ ึก ษ า นํ า ร ่อ ง ใ น พื ้น ที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส ได้มีการ คิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรม การศึกษา ดังนี้ รายชื่อนวัตกรรมของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา สุไหงโกลก สร้างความเข้มแข็งทางว ิชาการ เป็นผู้นําทางว ิทยาศาสตร์และภาษาต่างประเทศ บาเจาะ พัฒนาผู้เร ียนให้มีทักษะทางว ิชาการ สามารถเชื่อมโยงชีว ิตด้านใน สร้างเด็กให้มี สมรรถนะมุ่งสู่อนาคต บ้านมูโนะ สมรรถนะทางภาษา เพื่อธุรกิจบนพื้นฐานว ิถีอิสลาม บ้านนํ้าใส สื่อสารการเร ียนรู้สู่อาชีพบนว ิถีชุมชน บ้านตือมายู ว ิถีอิสลามเป็นฐาน สร้างทักษะอาชีพเพื่อสร้างงาน ส่งเสร ิมว ิชาการเพื่อการเร ียนรู้ บ้านสากอ พัฒนาว ิชาการสู่ทักษะอาชีพ และยกระดับคุณภาพชีว ิตจากภายใน บ้านหัวคลอง โรงเร ียนแห่งนวัตว ิถีตากใบ บ้านกาเด็ง โรงเร ียนแห่งการประสานทรัพยากรเพื่อการเร ียนรู้ร่วมกับชุมชน สร้าง ความหมายของการมีอาชีพและชีว ิตที่ดี บ้านสะโล การเร ียนรู้ภูมินิเวศ เพื่อเร ียนรู้ตัวตนของตนเอง ผ่านการอ่าน คิดว ิเคราะห์เขียน บ้านนํ้าหอม โรงเร ียนและชุมชนร่วมกันจัดการเร ียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพและ มีชีวติที่ดีบนฐานทรัพยากรของท้องถิ่ น บ้านตาโงะ โรงเร ียนเป็นพื้นที่ส่งเสร ิมทักษะอาชีพ ทักษะชีว ิต โดยใช้ทักษะว ิชาการ และการมีคุณธรรมเป็นฐาน บ้านปาร ี เป็นโรงเร ียนที่จัดการเร ียนรู้เพื่อสร้างสมดุลชีว ิต (มีทักษะว ิชาการควบคู่ทักษะ อาชีพและทักษะชีว ิต) บนพื้นฐานว ิถีชุมชน บ้านบลูกาสนอ ดุอาร์เพื่อชีว ิตและอาชีพ (Dua Doing Learning) บ้านบาตูมิตรภาพที่ 66 โรงเร ียนแห่งการเร ียนรู้เพื่อสร้างความหมายแห่งความสุขและสันติ วัดราษฎร์สโมสร (ไพโรจน์ว ิทยา) รอืเสาะแดนดินถิ่ นพหุวัฒนธรรม บ้านกลูบี เรยีนรู้อาชีพวถิีถิ่ น และมีชีวติที่ดีท่ามกลางทุนทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมแห่งลุ่มนํ้าสายบุร ี ดารุลอามาน ดารุลอามานโรงเร ียนแห่งการสร้างมุอ์มินในดินแดน แห่งประวัติศาสตร์ศาสนา และวัฒนธรรม


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 109 พื้นที่นวตักรรมการศึกษาจังหวดั ปตัตานี คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดปัตตานีร่วมกับทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้แนวคิดเพื่อพัฒนาความร่วมมือ และกําหนดว ิสัยทัศน์“นวัตกรรมการศึกษา พัฒนา คุณภาพ สู่พลเมืองอัจฉรยิะปัตตานีอย่างยั่งยืน” เพื่อรับเปลี่ยนโครงสร้างการทํางานและสร้าง การเปลี่ยนแปลงระบบระเบียบแนวปฏิบัติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีจุดหมายยสําคัญ ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของเด็กปัตตานี สู่ ก า ร เ ป็ น Smart People จั ง ห วั ด ปั ต ต า นี โดยร่วมกับทีมว ิจัยคณะศึกษาศาสตร์มหาว ิทยาลัย สงขลานคร ินทร์ว ิทยาเขตปัตตานีในการส่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือและติดตาม สถานศึกษา นําร่อง เพื่อให้จัดการเร ียนการสอนที่มีคุณภาพ และเกิดการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา สอดคล้อง ก ร อ บ ห ลั ก สู ต ร “Pattani Heritage” และ “SMART+I” ให้สถานศึกษานําไปใช้ โดยปัจจุบันสถานศึกษานําร่องในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีได้มีการคิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้ รายชื่อนวัตกรรมของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา บ้านคาโต • การจัดการเร ียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน • การบร ิหารหลักสูตรด้วยกระบวนการ TRCCR ยะหรง่ิ การจัดการเร ียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้OPPIn Model บ้านตือระ การจัดการเร ียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน บ้านตันหยงลุโละ การจัดการเร ียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน บูรณาการศาสตร์วิชาผสมผสานภูมิปัญญาตันหยงลุโละ อนุบาลปัตตานี การจัดการเร ียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน “อนุบาลนักคิดพิชิต 4.0” วัดมุจลินทวาปีวิหาร (เพชรานุกูลกิจ) การจัดการเร ียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน วัดสุวรรณากร การจัดการเร ียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บ้านคลองช้าง • การศึกษาชัน้เรยีนและวธิิการแบบเปิด • ส่งเสร ิมการอ่านการเขียน “ช้างน้อยเร ียงร้อยถ้อยภาษากับลิฟต์6 ตัว” นิคมสรา้งตนเองโคกโพธิ์ มิตรภาพที ่ 148 การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บ้านประจัน • กระบวนการ PLC เพื ่อพัฒนาการจัดการเร ียนการสอนเชิงรุก (AL) สู่การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ของนักเร ียนโรงเร ียนบ้านประจัน • การจัดการเร ียนรู้โดยใช้โครงงานฐานว ิจัย บ้านระแว้ง กลยุทธ์การพัฒนาผู้เร ียนโดยใช้4 จุดเน้นภายใต้กระบวนการเร ียนรู้5 ขัน้ตอน (5 steps) โดยใช้รูปแบบการเร ียนรู้โดยใช้โครงงานฐานวิจัย มายอ (สถิตย์ภูผา) • การจัดการเร ียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน • การนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการ PEORER ด้วยเทคนิคชี้แนะสะท้อนคิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรยีนรู้แบบ Active Learning ของครู ที ่ส่งผลต่อทักษะการคิด บ้านม่วงเตี้ย การจัดการเร ียนรู้BMT MODEL สู่สถานศึกษาพอเพียง บ้านช่องแมว การจัดการเร ียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน


110 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา บ้านกะรุบี การศึกษาชัน้เรยีนและวธิิการแบบเปิด บ้านโคกนิบง การจัดการเร ียนรู้โครงงานฐานว ิจัย เบญจมราชูทิศ BENJAMA PATTANI Model เดชะปัตตนยานุกูล กระบวนการชุมชนการเร ียนทางว ิชาการ (ALC) วุฒิชัยว ิทยา โครงการส่งเสร ิมการเร ียนรู้ด้านการงานอาชีพ จงรักสัตย์วิทยา • Open approach • ics to classroom design จิปิภพพิทยา อ่าน เขียน เร ียนภาษา ซอลีฮียะห์ • การศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และว ิธีการแบบเปิด (Open Approach) • การจัดการเร ียนรู้โครงงานฐานว ิจัยและการศึกษาชัน้เรยีนด้วยวธิีการสอนแบบSTEM ปุยุดประชารักษ์ การสอนแบบโครงงานด้วยฐานว ิจัยบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วรคามินอนุสรณ์ การจัดการเร ียนรู้Theme-Based Learning ส่งเสร ิมศาสน์ • การศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) • ตัรบียะห์3 นาที ดรุณศาสน์ว ิทยา โรงเร ียนเล็กในโรงเร ียนใหญ่ ประสานว ิทยามูลนิธิ การจัดการเร ียนรู้โดยใช้โครงงานฐานว ิจัยผสมผสานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุสลิมสันติชน • ว ิธีการแบบเปิด (Open Approach) • นวัตกรรมการบร ิหารจัดการระบบมักตับ Head of Department Tarbiah ยุวอิสลามวิทยามูลนิธิ • ว ิธีการแบบเปิด (Open Approach) • ทักษะชีวิตเพื ่อการสื ่อสาร (ตลาดนัดนานาชาติ) อิบนูอัฟฟานบูรณวิทย์ การศึกษาชัน้เรยีนและวธิิการแบบเปิด บ้านเขาตูม Open approach & lesson study บ้านตะบิงตีงี Open Approach & Lesson Study พื้นที่นวตักรรมการศึกษาจังหวดัยะลา คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา ส่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ และติดตามสถานศึกษานําร่องให้สามารถจัดการ เร ียนการสอนที่มีคุณภาพและเกิดการพัฒนา นวัตกรรมการศึกษา อาทิการว ิเคราะห์ทบทวน นวัตกรรมของสถานศึกษานําร่องเพื่อทบทวน การดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานวัตกรรม โดยมุ่งพัฒนาให้สอดคล้องกรอบหลักสูตรจังหวัด “มุ่งให้เด็กยะลารัก (ษ์) ยะลาและเป็นพลเมืองที่ เข้มแข็ง โดยใช้ฐานภาษาและการเร ียนรู้สู่การ สร้างอาชีพในสังคมแห่งความสุข” และมีระบบโค้ช ในพื้นที่มีบทบาทในการเป็นพี่เลี้ ยงของครูและ หากระบวนการที่จะสนับสนุนการเร ียนรู้ของคุณครู ร่ ว มเป็นเพื่ อนคู่ คิ ดเป็นที่พึ่ งพ าท า งว ิช า ก าร สร้างแนวคิดร่วมกันในการขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษา ปัจจุบันสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดยะลา ได้มีการคิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 111 รายชื่อนวตักรรมของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวตักรรมการศึกษาจังหวดัยะลา โรงเร ียน School Concept นวัตกรรมการศึกษา บ้านวังใหม่ (ประชาอุทิศ 2519) ยุวเกษตรยุคใหม่ ใส่ใจเทคโนโลยีสู่ผู้ประกอบการที ่ดี • การจัดการเร ียนรู้ Active Learning • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ไทยรัฐวิทยา 94 (บ้านบ่อนํ้าร้อน) สืบสานภูมิปัญญา สร้างสรรค์อาชีพสู่การเป็นผู้ประกอบการ ที ่ดีในสังคมพหุวัฒนธรรม 1 ห้องเร ียน 1 อาชีพ บ้านจาหนัน โรงเร ียนบ้านจาหนัน จัดการเร ียนรู้บนพื้นฐานการใช้ โครงงานเป็นฐาน โดยบูรณาการภูมิปัญญาปลาส้มจาหนัน สู่การเป็นผู้ประกอบการน้อยบนพื้นฐานว ิถีอิสลาม JANAN Model บันนังสตาอินทรฉัตร มิตรภาพที ่ 200 ที ่ระลึก ส.ร.อ. นวัตกรน้อย สื่อสารสร้างสรรค์ด้วยใจรักษ์ถิ่นและ สิง่แวดล้อม • การบร ิหารสถานศึกษา PAPAI B.O. Model • บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานฐานว ิจัย บ้านบันนังดามา ส่งเสร ิมกีฬา พัฒนาเกษตรอินทร ีย์สืบสานวัฒนธรรม ตามว ิถีอิสลาม • การบร ิหารสถานศึกษา DAMA Model • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้การคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน บ้านราโมง โรงเร ียนส่งเสร ิมด้านภาษา สร้างอาชีพ นําเทคโนโลยี รว่มสรา้งสรรค์อยู่รว่มกับธรรมชาติอย่างยัง่ยืน เตร ียมความพร้อมสู่โลกแห่งอาชีพ นิบงชนูปถัมภ์ เด็ก นิบ งเร ียนรู้ สู่คว ามเป็น อัจ ฉร ิย ะบนพหุภ าษ า เป็นผู้ประกอบการน้อยร้อยปัญญา สํานึกรักษ์ถิ่นฐาน ยะลาบ้านเรา IS บูรณนาการข้ามสาระ บ้านปอเยาะ เป็นหลักสูตรที่มุ่งจัดการศึกษาให้นักเร ียนมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึษาขนั้พนื้ฐาน โดยผเู้รยีนอา่นออก เขียนได้สื่อสารอย่างสร้างสรรค์โดยใช้ฐานภาษาและ เข้าใจในพหุวัฒนธรรม มีความรักในถิ่นบ้านเกิดและ เร ียนรู้การสร้างอาชีพในสังคมโดยนําหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และคําสอนของศาสนาอิสลามมาเป็น แนวทางการดําเนินชีว ิตอย่างมีความสุข • การบร ิหารสถานศึกษา POYOH Model • งานหัตถศิลป์ส่งเสร ิมความคิด สร้างสรรค์สร้างอาชีพเสร ิม ด้วยการเร ียนรู้แบบ Active Learning เขื ่อนบางลาง ใฝ่เรียนรู้ส ่งเสร ิมภาษา พัฒนาเทคโนโลยีสู่ทักษะอาชีพ รกั(ษ์)สิง่แวดล้อม สืบสานวัฒนธรรมตามแบบวถิีอิสลาม • การบร ิหารสถานศึกษา KHUEN Model • การจัดการเร ียนรู้ ด้วยโครงงานฐานว ิจัย บ้านรามัน เก่งภาษา นําพาชุมชน สู่พลเมืองที ่ดีด้วยเทคโนโลยีเชื ่อมโลก Skype in the classroom สู่ห้องเร ียนและชุมชนโลก


112 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน School Concept นวัตกรรมการศึกษา บ้านนิคมสร้างตนเองธารโต สืบสานงานพ่อ ต่อยอดภูมิปัญญาใช้เทคโนโลยีและภาษา พัฒนาสู่นวัตกรที ่ดีของชุมชน การจัดการเร ียนรู้ “4 สจท” แก้ไข ปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ บ้านลาแล คุณธรรมนําชีวิต เร ียนรู้สู่อาชีพ เก่งภาษา อยู่ร่วมกับ สังคมและสิง่แวดล้อม • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน • แบบเร ียนมูลาบาฮาซา • แบบเร ียนเสร ิมปานาบาฮาซา บ้านเกล็ดแก้ว สืบสานภูมิปัญญา พัฒนานวัตกรรม สู่ผู้ประกอบการที ่ดี ในชุมชนที ่เป็นสุข การเร ียนรู้แบบบูรณาการ โดยใช้โครงงาน บ้านสะเอะ โรงเร ียนบ้านสะเอะสร้างการเร ียนรู้บนพื้นฐานการว ิจัย เพื่อพัฒนางานอาชีพสู่การเป็นผู้ประกอบการที่มี คุณธรรมตามว ิถีอิสลาม • การบร ิหารสถานศึกษา 4 G Model • สะเอะ 3 G มีสุข บ้านอัยเยอร์เวง นวัตกรรุ่นเยาว์นําพาเทคโนโลยีสร้างอาชีพดีสังคม พหุวัฒนธรรม • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน • การจัดการเร ียนรู้Active Learning • บันได 5 ขัน้ เพื ่อพัฒนาการอ่าน และการเขียน บ้านศร ีท่านํ้า นักวิทยาศาสตร์น้อย แพทย์แผนไทย ร่วมสร้างสังคม สุขภาพดีและสร้างสรรค์การสื ่อสาร • การบร ิหารสถานศึกษา STN AL Model • การจัดการเร ียนรู้STN AL อนุบาลเบตง (สุภาพอนุสรณ์) พัฒนาผู้เร ียนให้มีความเป็นเลิศทางว ิชาการ สื่อสาร หลายภาษา ลํ้ า ห น้ า ท า ง ค ว า ม คิ ด ผู ก มิ ตร ด้ ว ย สามวัฒนธรรม น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เทียบเคียงมาตรฐานสากล รักและภูมิใจ ในความเป็นไทย เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้าน ร่างกาย ความรู้คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็น พลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตร ิย์ทรงเป็นประมุข การบร ิหารสถานศึกษา TAEWER Model นิคมสร้างตนเองธารโต 5 นั กรู้ กา รคิ ด มีจิตรักษ์ท้องถิ่น สื่อสารพหุภาษา สร้างสรรค์นวัตกร • การบร ิหารสถานศึกษา NICOM 5 Model • บูรณการการเร ียนรู้ จากท้องถิน่ บ้านปะเด็ง โรงเร ียนสืบสานภูมิปัญญา อนุรักษ์ธรรมชาติสํานึกรักษ์ บ้านเกิด เชื ่อมโยงเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์สู่นวัตกรน้อย การจัดการเร ียนรู้แบบไร้ขีดจํากัด (Dynamic Learning)


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 113 โรงเร ียน School Concept นวัตกรรมการศึกษา บ้านด่านสันติราษฎร์ ผปู้ ระกอบการนอ้ยรกัษ์ถนิ่ยดึมนั่วถิพีทุธ สอื่สารสภี่าษา สู่พลเมืองแห่งศตวรรษที ่ 21 • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้เกมเป็นฐาน • การสอนแบบระดมสมอง • การสอนแบบบทบาทสมมุติ • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน บ้านบาตัน (ฟลอยด์รอสอนุสรณ์) โรงเร ียนบ้านบาตันสร้างคุณภาพการเร ียนรู้เพื่อสร้าง นวัตกรผู้ประกอบการน้อย ตามวิถีอิสลามในสังคม แห่งความสุข • การบร ิหารสถานศึกษา BATAN Model • การจัดการเรยีนรู้4 ขัน้ Triple P Plus Model บ้านตะโละหะลอ ต้นกล้าแห่งความพอเพียง ตามว ิถีอิสลามสู่สากลโลก • การจัดการเร ียนรู้ Active Learning • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บ้านบาโงยซิแน รกั(ษ์)บาโงยซิแน มีทักษะอาชีพ นําภูมิปญัญาท้องถิน่สู่สากล • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บูรณาการภูมิปญัญาท้องถิน่ บ้านบัวทอง โรงเร ียนแห่งการเร ียนรู้คู่พหุภาษา คิดสร้างสรรค์ สู่ทักษะอาชีพท้องถิ่นที่พอเพียงและยั่งยืนในสังคม แห่งความสุข • การบร ิหารสถานศึกษา BBT • การจัดการเร ียนรู้แบบ PLAZA Model บ้านยะต๊ะ เด็กยะต๊ะสื่อสารสองภาษา กล้าแสดงออก รัก(ษ์)ถิ่นกําเนิด เกิดทักษะอาชีพ เข้าใจพหุวัฒนธรรม นําวิถีอิสลาม การจัดการเร ียนรู้ 2 P Model (Phbl & PBL) บ้านตาเนาะแมเราะ นวัตกรเชิงชีววิถีการเร ียนรู้สู่อารยเกษตร เน้นฐาน พหุภาษาและแบ่งปันสู่สังคมแห่งความสุข การบร ิหารสถานศึกษา J-Prapat@tanoh Model บ้านจุโป นวัตกรสร้างสรรค์ภาษา พึ่งพาตนเอง เก่งเทคโนโลยี มีทักษะอาชีพ ห่วงแหนบ้านเกิด อยู่ร่วมกับธรรมชาติ ในชุมชนที ่เป็นสุข • การจัดการเร ียนรู้ Active Learning • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน • จุโบโมเดล บันได 5 ขัน้ แก้ปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้


114 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน School Concept นวัตกรรมการศึกษา บ้านปงตา นวัตกรน้อย รอ้ยรกัษ์ถิน่เกิด • การบร ิหารสถานศึกษา 3P2I • บูรณาการการจัดการเร ียนรู้ PTS Model - การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน - การสอนภาษาโดยใช้ท่าทาง - บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ศานติธรรม ส่งเสร ิมว ิถีอิสลาม ผลิตนวัตกร สู่ทักษะอาชีพ • การจัดการเร ียนรู้Active Learning • การจัดการเร ียนรู้แบบ สะเต็มศึกษา • การจัดการเรยีนรแู้บบศึกษาชัน้ เร ียน (Lesson Study) และว ิธี แบบเปิด (Open Approach) • การจัดการเร ียนรู้ ผ่านสถานการณ์จร ิง • การจัดการศึกษาเชิงพื้นที ่ เพื ่อส่งเสร ิมการเร ียนรู้หนังสือ ของนักเร ียนในพื้นที ่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดยะลา (Mula Bahasa) สตร ีอิสลามว ิทยามูลนิธิ สตร ีนักคิดสร้างสรรค์สู่ผลิตภาพ ที ่รับผิดชอบต่อสังคมตามวิถีอิสลาม • สตร ีนักคิด • สตร ีนักสร้างสรรค์ • สตร ีนวัตกร


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 115 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดระยอง โดยคณะอนุกรรมการ ด้านส่งเสร ิมการบร ิหารว ิชาการ ดําเนินการส่งเสร ิม สถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยอง สร้างนวัตกรรมการศึกษาโดยใช้ กรอบหลักสูตรจังหวัดระยอง Rayong MACRO โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เร ียนและงานด้ วย กระบวนการเร ียนรู้ทางชุมชนแห่งการเร ียนรู้ ทางว ิชาชีพ การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะ สําหรับโรงเร ียนนําร่อง การใช้(ร่าง) กรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 อีกทั้ง พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยองได้ร่วมกับศูนย์ว ิทยาศาสตรศึกษา คณะว ิทยาศาสตร์มหาว ิทยาลัยศร ีนคร ินทรว ิโรฒ สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสร ิม ววน. และหน่วย บพท. ศึกษากลไกความร่วมมือในการจัดการศึกษาระดับ จังหวัดและพัฒนานักว ิจัยชุมชน ผ่านกระบวนการว ิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนา นวัตกรรมการเรยีนรู้ที่ส่งเสรมิคุณลักษณะความ เป็นผู้ประกอบการของนักเร ียนในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดระยองร่วมกับสถานศึกษานําร่อง 16 แห่ง คิดค้นและพัฒนาเป็นนวัตกรรมการเร ียนรู้ ไ ด้ แ ก่ (1) หลั กสู ตรรายว ิชา กิ จกรรมชุ มนุ ม “ผู้ประกอบการจากนาข้าว” โรงเร ียนว ิบูลว ิทยา (2) หลักสูตรรายว ิชาบูรณาการ “สืบสานวัฒนธรรม นํ า สู่ อ า ชี พ ห น่ ว ย ก า ร เ ร ีย น รู้ Vegetable Growing Kids” โร งเร ียน อนุบ า ลน าน า ช าติ ตากสินระยอง(3) หลักสูตรรายว ิชาสร้างเสร ิม ประสบการณ์พัฒนาสู่ผู้ประกอบการหน่วยการเร ียนรู้ “สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากยางพารา” โรงเร ียน อนุบาลนานาชาติตากสิน บ้านค่าย (วัดหวายกรอง) (4) หลักสูตรรายว ิชา “ผู้ประกอบการรุ่นจิ๋ว 3 (ผลิตภัณฑ์มะพร้าว)” โรงเร ียนวัดช้างชนศิร ิราษฎร์ บํารุง (5) หลักสูตรรายว ิชาบูรณาการ “ผู้ประกอบ เ ก ษ ต ร อิ น ท ร ีย์” โร งเรียนบ้ า น ส ม า น มิ ต ร (6) หลักสูตรรายว ิชา “ผู้ประกอบการรุ่นจิ๋ว” โรงเร ียนบ้านมาบป่าหวาย (7) หลักสูตรรายว ิชา บู รณาการ “ผู้ ประกอบการ ไพล” โร งเรียน วัดคีร ีภาวนาราม (8) หลักสูตรรายว ิชา โครงงาน บูรณาการ “เถ้าแก่ตัวน้อยแห่งแม่นํ้าคู้” โรงเร ียน นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 8 (9) หลักสูตร รายว ิชา “กินดีอยู่ดีหน่วยนักธุรกิจน้อย คชานุรักษ์” โรงเร ียนบ้านนํ้ากร่อย (10) ห ลั ก สูตรรายว ิชา บูรณาการ “ห้องเร ียนธรรมชาติสู่นักธุรกิจน้อย (การเพาะเห็ดนางฟ้า)” โรงเร ียนบ้านมาบช้างนอน (11) หลักสูตรรายว ิชา กิจกรรมชุมนุม/ลดเวลาเร ียน เพิ่ มเวลารู้ “นักธุรกิจน้อยดอยย่าคาเฟ่” โรงเร ียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศร ีนคร ินทร์ ระยอง (12) หลักสูตรรายว ิชา “ผู้ประกอบการร้านกาแฟ (กาแฟสมุนไพร)” โรงเร ียนเพรักษมาตาว ิทยา (13) หลักสูตรรายว ิชา “นักธุรกิจทุเร ียนยุคใหม่” โรงเร ียนเขาชะเมาว ิทยา (14) หลักสูตรรายว ิชา “นวัตกรรมสร้างอาชีพ” โรงเร ียนวังจันทร์ว ิทยา (15) หลักสูตรรายวชิาเพิม่เติม “ชํานาญนวเกษตร” โรงเร ียนชํานาญสามัคคีว ิทยา และ (16) หลักสูตร รายว ิชา กิจกรรมชุมนุม “นักธุรกิจน้อย: พืชไร้ดิน” โรงเร ียนมกุฎเมืองราชว ิทยาลัย นอก จ ากนี้ สถ านศึกษ านํ าร่ องในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง ยังมีการคิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้


116 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 รายชื่อนวัตกรรมของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา ชุมชนบร ิษัทนํ้าตาลตะวันออก N.T.O Start Up Career บ้านหมอมุ่ย ขนมไทยท้องถิ่ น (Local Thai Dessert) นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 8 เพื่อชีว ิตสร้างโอกาสการเร ียนรู้สู่งานอาชีพ (Water for life) วัดบ้านเก่า ความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมและอาหารพื้นบ้าน (Various History of Culture and food) บ้านพยูน นักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล (Marine esource Conservation) วัดตาขัน นวัตกรเชิงชีวว ิถี (TK Bio - Culture & Innovation) บ้านท่าเสา นักเศรษฐกิจชีวภาพรักษ์สิ่ งแวดล้อม น้อมนําศาสตร์พระราชา วัดท่าเร ือ สร้างสรรค์นวัตกรรมงานอาชีพเชิงธุรกิจ (Creative Innovation & Business) บ้านสมานมิตร โรงเร ียนสมานมิตรสร้างสรรค์เชิงนิเวศ (Samanmit Creative Eco-School) บ้านคลองบางบ่อ สังคมพหุวัฒนธรรมสร้างสรรค์(Creative Multicultural School) บ้านท่าลําบิด โรงเร ียนเกษตรศิลป์ (Art agriculture) วัดถนนกะเพรา โรงเร ียนสร้างสรรค์นวัตกรน้อยสู่สากล (Creative Glocal Innovator School) บ้านนํ้ากร่อย สร้างนักจัดการพลังงานสะอาดสู ่การรักษาสมดุลธรรมชาติ (Bannamgroi School Create Clean Energy Manager to Maintain Natural Balance) วัดสุขไพรวัน ยุวเกษตรสู่นักขายรุ่นเยาว์ (Junior Farm&Marketing) บ้านมาบช้างนอน ห้องเร ียนธรรมชาติ (Natural Classroom) บ้านหนองม่วง โรงเร ียนนักปัญญาประดิษฐ์รุ่นเยาว์ (Young AI School) ระยองว ิทยาคมปากนํ้า Sea Resources for Sustainable Development บ้านค่าย สร้างนวัตกรรมผ่าน PBL เน้นภาษาในการสื่อสาร (Creating Youth Innovators by PBL&CL) วังจันทร์ว ิทยา Dynamic Ecology for Life สุนทรภู่พิทยา แหล่งเรยีนรู้ท้องถิ่ นเพื่อพัฒนาภาษาและเทคโนโลยีสู่การมีอาชีพ (Local Environment for Development of Language and Technology Competency toward occupation opportunity) บ้านฉางกาญจนกุลว ิทยา นวัตกรรมเพื่อชีว ิต (Innovation For Life) อยู่เมืองแกลงว ิทยา เร ียนรู้สามภาษาก้าวหน้าเทคโนโลยีสืบสานภูมิปัญญา มณีวรรณว ิทยา ว ิศวกรน้อย (Engineering by Design) อาร ีย์วัฒนา Creative Sufficiency Society ช้างชนศิร ิราษฎร์บํารุง ชายหาดเพื่อชีว ิต (Beach for life) วัดปลวกเกตุ โรงเรยีนเทคโนโลยีใส่ใจสิ่ งแวดล้อม (Eco AI School)


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 117 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา วัดคีร ีภาวนาราม นักอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่ งแวดล้อม (Resource and Natural Environment Conservator) วัดพลงช้างเผือก นักอนุรักษ์สิ่ งแวดล้อม ขยะสร้างสรรค์(Environment Conservative Creative Waste School) ชุมชนวัดตะเคียนงาม ยุวทูตน้อยท ่องเที ่ยวบูรณาการด้วย “บวร” พอเพียง (Young TK Tourism School integrated With “BOVORN” Sufficiency) วัดเขาน้อย จิตวรรธนะ บ้านเนินสมบูรณ์ รู้กิน รู้ใช้ใส่ใจสุขภาพ (Organic Eat Safe Food) วัดคลองปูน นักเกษตรน้อยคลองปูนสร้างอาชีพ (K.P. Yong Smart Farmer) บ้านชําสมอ นวัตกรนํ้าหมักอินทร ีย์เพื่อการเกษตรที่ดีของชุมชน วัดไตรรัตนาราม อสม. หมอยาน้อยสุขภาพดี (The Youngers For Health) บ้านแก่งหวาย Young เกษตรอินทร ีย์สู่ E - Commerce วัดเขากะโดน เทคโนโลยีสร้างสรรค์นําวัฒนธรรมท้องถิ่ นสู่สากล (KKD Creative Global Technology And Local Culture School) ชํานาญสามัคคีว ิทยา Chamnan Youngsters Innovate Society to Well-Being เพรักษมาตาว ิทยา เรยีนรู้3 ภาษา รักษา สิ่ งแวดล้อม ต่อยอดนวัตกรรมก้าวนําสู่ธุรกิจ มาบตาพุดพันพิทยาคาร ผู้ประกอบการทีใ่ส่ใจ สิง่แวดล้อม (Entrepreneurs with Environmental Care) ชําฆ้อพิทยาคม เกษตรนวว ิถี (New Age Cultivator) อัสสัมชัญระยอง Languages and digital Competencies toward International standard for life and business ว ิบูลว ิทยา ข้าวเพื่อชีว ิต Rice for life กวงฮั้ว นักสื่อสาร 3 ภาษา ก้าวหน้า นวัตกรรมทางธุรกิจ ผูกมิตร สัมพันธ์ไทย-จีน เทศบาลบ้านเพ 1 Young Scientists Academy เทศบาลบ้านเพ 2 Thinking by Hands “สองมือสร้างสรรค์หัตถกรรมศึกษา” นานาชาติตากสินแกลง Young Enterprising Leader ผู้นําทางความคิดแนวใหม่ อนุบาลนานาชาติตากสิน บ้านค่าย (วัดหวายกรอง) SMART KIDS นวัตกรผู้สืบสานวัฒนธรรมก้าวลํ้าในเวทีโลกด้วยภาษา อนุบาลนานาชาติตากสินระยอง Young Leader Disruptor มัธยมตากสินระยอง นวัตกรรมดีมีทักษะ ว ิทยาศาสตร์และสื่อสาร ตอบสนองความต้องการท้องถิ่ น อนุบาลตําบลนิคมพัฒนา นักอนุรักษ์พันธุ์พืชท้องถิ่ น (Conservationist the local plants)


118 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรสีะเกษ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดศร ีสะเกษ ได้ส่งเสร ิม สนับสนุนให้ สถานศึกษาคิดค้นทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้ นวัตกรรมการศึกษา ซึ่งได้ส่งเสร ิมและพัฒนา สถานศึกษา รวมทั้งขยายผลนํานวัตกรรมการศึกษา มาใช้ในการจัดการเร ียนรู้จํานวน 9 ประเภท ได้แก่ (1) นวัตกรรมเชิงระบบ (จิตศึกษา PBL และ PLC) (2) การจัดการเร ียนรู้ โดย ใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning : BBL) (3) การจัดการ เ ร ีย น รู้ แ บ บ มอนเตสซอรี ( Montessori) (4) การจัดการเร ียนรู้แบบองค์รวม (Holistic Learning) (5) นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรยีน ( Lesson Study) แ ล ะ ว ิ ธี ก า ร แ บ บ เ ปิ ด (Open Approach) (6) นวัตกรรมเพาะพันธุ์ ปัญญา (การจัดการเร ียนรู้แบบโครงงานฐานว ิจัย) (7) การจัดการเร ียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) (8) นวัตกรรมการเร ียนรู้บูรณาการ ว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี(SMT) และ (9) นวัตกรรมการสอนคิด Thinking School/นวัตกรรมเชิงพื้นที่ (คิดค้นพัฒนาเอง) นอกจากนี้ได้มีการส่งเสร ิม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ และติดตาม สถานศึกษานําร่อง โดยผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้จัดการ เร ียนการสอนที่มีคุณภาพและเกิดการพัฒนา นวัตกรรมการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยปัจจุบันสถานศึกษานําร่องในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศร ีสะเกษ ยังมีการ คิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรม การศึกษา ดังนี้ รายชื่อนวัตกรรมของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรสีะเกษ โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา บ้านกระถุน นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านสําโรงโคเฒ่า นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา คูซอด นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านหญ้าปล้อง นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านเมืองน้อยหนองมุข นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา อนุบาลยางชุมน้อย (หน่วยคุรุราษฎร์รังสรรค์) นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านรุ่ง นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านหนองหวาย นวัตกรรม Montessori บ้านโนนเพ็ก นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม บ้านร่องสะอาด นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม บ้านโนนคูณ นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการเปิด (Open Approach) บ้านโพนข่า (ว ินิตวิทยาคาร) นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการเปิด (Open Approach) บ้านหนองแก้ว (ราษฎร์ผดุงว ิทยา) นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านหนองไฮ นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านหมัด นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านหนองไผ่ นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านหนองพะแนง นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 119 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา บ้านหนองดุมหนองม่วง นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านซําโพธิ์ นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม บ้านหนองแวง (โสวรรณีว ิทยาคม) นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม ตะดอบวิทยา นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการเปิด (Open Approach) อนุบาลนํ้าเกลี้ยง (เขิน) นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) อนุบาลศร ีสะเกษ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) บ้านจานคูเมือง นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านบกขี้ยาง นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านไทยบวกแต้บวกเตย นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) บ้านโก นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านหนองกก นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านพงสิม นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านอีหนา (รัฐประชานุกูล) นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน เมืองคง (คงคาวิทยา) นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม บ้านโจดม่วง นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านโคก นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านนานวนหนองแคน นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านหนองห้าง นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านอีสร้อย นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านบัวหุ่ง (รัฐราษฎร์สามัคคี) นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม บ้านเสียว นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) ชุมชนบ้านหนองคู นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านคลองเพชรสวาย นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านโนนดัง่ นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านหว้า นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านตะเคียนราม นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านพรหมเจร ิญ นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านธาตุพิทยาคม นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านนิคม 2 (ตชด.สงเคราะห์) นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านอาวอย นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านชําแระกลาง นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา หนองอาร ีพิทยา นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านปร ือคัน นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านนิคม 4 (กรมประชาสงเคราะห์) นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านภูมิศาลา นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน อนุบาลศร ีประชานุกูล นวัตกรรมMontessori บ้านปราสาทเยอ นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา


120 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา อนุบาลไพรบึง นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านห้วยตามอญ นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) ขุขันธ์ว ิทยา นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านเหล็ก นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านแทรง นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านตรางสวาย นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านกระดึ นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านไฮเลิง นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านระกา นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านกระโพธิช์่างหม้อ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านกันจาน นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านปะทาย นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านนาขนวน นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านโนนจิก นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านระโยง นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านจํานันสายเจร ิญ นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านไผ่หนองแคน นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านแดง (รัฐราษฎร์พัฒนา) นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านโนนสูง นวัตกรรม Montessori บ้านสําโรงเกียรติ นวัตกรรม Montessori บ้านขุนหาญ นวัตกรรม Montessori อนุบาลเบจญลักษ์ นวัตกรรม Montessori บ้านดอนข่า นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม บ้านโนนแสนคําหนองศาลาศร ีสะเอาด นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการเปิด (Open Approach) บ้านรุงสมบูรณ์ นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการเปิด (Open Approach) บ้านซํา นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านระหาร นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านหนองบักโทน นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านกระเบาตะหลุงวิทยา นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านสามแยกหินกอง นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านคําสะอาด นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านขะยูง นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านตาเส็ด นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านท่าคล้อ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านบึงมะลู นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านภูเงิน (อินทรสุขศร ีราษฎร์สามัคคี) นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน ศิลาทอง นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านหนองนกเขียน นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 121 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา บ้านกันจด นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านหนองหว้า นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านโนนสําราญ นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม เกษตรประชาตาทวด นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการเปิด (Open Approach) อนุบาลขุนหาญ (สิ) นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านศิวาลัย นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) อนุบาลศร ีรัตนะ นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านโนนแฝก นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านสดํา นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านโนนเยาะ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน นํ้าอ้อมรัฐประชานุสรณ์ นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม บ้านพราน (ประชานุเคราะห์) นวัตกรรมเชิงพื้นที ่หร ือนวัตกรรมที ่คิดค้นพัฒนาเอง บ้านจํานรรจ์ นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านม่วงแยก นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านกุดเสลาหนองขวาง นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านหนองใหญ่ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านหนองบัว นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านพิงพวย (เสียงราษฎร์พัฒนา) นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) บ้านกะมอล (กรป.กลางประชาอุทิศ) นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านสร้างเม็ก นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านหนองรุงพระทะเล นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน โรเงร ียนบ้านหนองคับคา นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านสวนกล้วย นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) บ้านเพ็ก นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน บ้านท่าพระตระกาศ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน กระแชงว ิทยา นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา เบญจประชาสรรค์ นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา คูซอดประชาสรรค์ นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา คลีกลิง้พัฒนาทร นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการเปิด (Open Approach) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศร ีนคร ิทร์ ศร ีสะเกษ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) สตร ีสิร ิเกศ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) กันทรารมณ์ นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) ศร ีรัตนวิทยา นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) บัวเจร ิญว ิทยา นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) ยางชุมน้อยพิทยาคม นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) ลิน้ฟ้าพิทยาคม นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม มัธยมบักดองว ิทยา นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา


122 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา พอกพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา ภูสิงห์ประชมเสร ิมว ิทย์ นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรยีน (Lesson Study) และวิธีการเปิด (Open Approach) ปรางค์กู่ นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) ไผ่งามพิทยาคม นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา สว่างคูณว ิทยา นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) สัมมาสิกขาศีรษะอโศก การศึกษาบุญนิยม ตามปรัชญา “ศีลเด่น เป็นงาน ชาญว ิชา” วัดหลวงว ิทยา นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา เทพสถิตว ิทยาคาร นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน เทศบาล 4 (บ้านโนนสํานักมิตรภาพที ่ 121) นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม เทศบาล 3 (เฉลิมพระเกียรติ72 พรรษา) นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม เทศบาล 6 มิง่เมือง นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม หนองถ่มว ิทยา นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา กุญชรศิรว ิทย์ นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา บ้านเพียนาม นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา ดงรักว ิทยา นวัตกรรมเปลี ่ยนแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศึกษา โนนปูนว ิทยาคม นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา ไพรบึงว ิทยาคม นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา กุดเสลาว ิทยาคม นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม บ้านตระกาศประชาสามัคคี นวัตกรรมการเร ียนรู้อย่างเป็นองค์รวม ขุนหาญวิทยาสรรค์ นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา เมืองแคนวิทยาคม นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา ไพรธรรมคุณว ิทยา นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) ศิลาลาดว ิทยา นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) ราษีไศล นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) บ้านปราสาท นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้บูรณาการว ิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (SMT) บ้านสิร ิขุนหาญ นวัตกรรมการสอนแบบโครงการ (PA) และการเร ียนรู้แบบโครงงานบูรณาการ (PIL) โพธิธ์าตุประชาสรรค์ นวัตกรรมเพาะพันธุ์ปัญญา กระดุมทองวิทยา นวัตกรรมเชิงพื้นที ่หร ือนวัตกรรมที ่คิดค้นพัฒนาเอง พรานว ิบูลว ิทยา นวัตกรรมเชิงพื้นที ่หร ือนวัตกรรมที ่คิดค้นพัฒนาเอง กันทรอมว ิทยาคม นวัตกรรมเชิงพื้นที ่หร ือนวัตกรรมที ่คิดค้นพัฒนาเอง โพธิศ์รสีุวรรณวทิยาคม นวัตกรรมเชิงพื้นที ่หร ือนวัตกรรมที ่คิดค้นพัฒนาเอง บกว ิทยาคม นวัตกรรมเชิงพื้นที ่หร ือนวัตกรรมที ่คิดค้นพัฒนาเอง รม่ โพธิว์ทิยา นวัตกรรมเชิงพื้นที ่หร ือนวัตกรรมที ่คิดค้นพัฒนาเอง


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 123 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสตูล ได้ส่งเสร ิม สนับสนุนให้ สถานศึกษาคิดค้นทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้ นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้(1) การจัดการเร ียนรู้ แบบโครงงานฐานว ิจัย 5 หน่วย 14 ขั้นตอน เป็นการใช้กระบวนการว ิจัยในการจัดการเร ียนรู้ โดย เ ร่ิมจ า ก ให้เด็ก ได้เรยีนรู้เร่อืงใกล้ตัว ในชุ มชน เก็ บข้ อมู ล ทุนชุมชนด้วยเคร่อืงมือ ต่าง ๆ จากนั้นนําสิ่งที่ ค้นพบมาพัฒนาเป็น โจทย์ว ิจัย เพื่อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู้ ที่สามารถแก้ปัญหาหร ือ พัฒนาโรงเร ียนและชุมชนได้(2) การจัดการเร ียนรู้ โดย “ครู 3 เส้า”เป็นการจัดการเร ียนรู้ไม่ได้เป็นหน้าที่ ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่การจัดการเร ียนรู้จะต้อง เป็นหน้าที่ของทุกคนที่อยู่รอบตัวเด็ก พื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสตูลจึงได้พัฒนานวัตกรรมการ จัดการเร ียนรู้โดยใช้ครู3 เส้า ได้แก่ ครูโรงเร ียน ครูชุมชน ครูพ่อแม่ (3) ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ ทางว ิชาชีพ ในการจัดการเร ียนรู้ด้วยกระบวนการ โครงงานฐานว ิจัย เป็นกิจกรรมการเร ียนการสอน ใ น รู ป แ บ บ Active Learning รู ป แ บ บ ห นึ่ ง ที่ครูส่วนใหญ่ไม่มีคว ามชํานาญในขั้นตอน และกระบวนการสอน จึงต้องมีการ PLC ร่วมกัน ทุกสัปดาห์เพื่อสรุปข้อค้นพบจากการจัดการเร ียนรู้ ในสัปดาห์ที่ผ่ านมา ปัญหาอุปสรรคที่พบและ แสวงหา แนวทางแก้ ไขร่ วมกั น โดยมี ที ม โค้ ช ซึ่งประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์นักวจิัยท้องถิ่น และ ทรงคุณวุฒิ(ครูและศึกษานิเทศก์ที่เกษียณอายุ ราชการ) ร่วม PLC กับครู ทุ ก โ ร ง เ ร ีย น สั ป ด า ห์ ละ 1 วัน และ(4) หลักสูตร สิ่งแวดล้อม (Eco School) โรงเร ียนควนโดนว ิทยา ไ ด้ คิ ด ค้ น แ ล ะ พั ฒ น า นวัตกรรมการศึกษาและ ก า ร เ ร ีย น รู้ ห ลั ก สู ต ร สิ่งแวดล้อมศึกษา (Eco School) โดยว ิธีบูรณาการการจัดการเร ียนรู้รายว ิชา ก ารศึกษ าค้นคว้ าแล ะสร้ าง องค์คว ามรู้(IS : Independent Study) ต า ม กร อบ โร งเรียน มาตรฐานสากล (World Class Standard School) จัดการเรยีนรู้โดยครูประจําชั้นในทุกระดับชั้น ส่งเสร ิมให้นักเร ียนเร ียนรู้ผ่านชุมชนเป็นฐาน ปัจจุบันสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาจังหวัดสตูล ยังมีการคิดค้น ทดลอง พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้ รายชื่อนวตักรรมของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวตักรรมการศึกษาจังหวดัสตูล โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา การบร ิหารจัดการ การจัดการเร ียนรู้ การนิเทศภายใน อนุบาลสตูล • อนุบาลสตูลโมเดล • นาjิกาชีว ิต • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่มโดย ใช้กระบวนการ ชุมชน แห่งการเร ียนรู้ (PLC)


124 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา การบร ิหารจัดการ การจัดการเร ียนรู้ การนิเทศภายใน อนุบาลมะนัง • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) บ้านห้วยนํ้าดํา • SMILE Model • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) บ้านเขาจีน • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) บ้านควนเก • KC-DROP KC - Khuan Kay School D - Digital Platform R - RBL O - Organization P - Participate • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) • SQR (Self Quality Report) วัดหน้าเมือง • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) บ้านโกตา • KOTA Model K – Knowledge O - One best T - Team work A - Accountability • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) บ้านบ่อเจ็ดลูก • Bojetluk Model • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC)


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 125 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา การบร ิหารจัดการ การจัดการเร ียนรู้ การนิเทศภายใน บ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์ 2550 • สติ + step Model • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • บัตรคํามหัศจรรย์ (ส่งเสร ิมการอ่าน-เขียน) • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) • POJAI Model (พอใจโมเดล) บ้านทางงอ • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) บ้านตันหยงกาโบยชัยพัฒนา • 3 SMART Buyu Island • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) บ้านมะหงัง • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) อันซอเร ียะห์อัดดีนียะห์ • Application - Smart Ansoriah - Dek Ansoriah • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • ครู 3 เส้า • หลักสูตรสถานศึกษา ฐานสมรรถนะ • I + STEM Education • 9 กิจวัตรความดี • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) อนุบาลวังใหม่ศาสนศาสตร์ • ครู 3 เส้า • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC)


126 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเร ียน นวัตกรรมการศึกษา การบร ิหารจัดการ การจัดการเร ียนรู้ การนิเทศภายใน ควนโดนวิทยา • หลักสูตรสิง่แวดล้อม ศึกษา (Eco School) • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) นิคมพัฒนาผัง 6 • การบร ิหารงานแบบ บูรณาการและ การมีส่วนร่วม ที ่เน้นผู้เร ียนเป็นสําคัญ • การจัดการเร ียนรู้ แบบใช้คําถาม (Question Method) • การจัดการเร ียนรู้ โครงงานฐานว ิจัย • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน • รูปแบบนิเทศแบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเร ียนรู้ (PLC) จงหัว • จงหัว Model • การจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงาน เป็นฐาน • หลักสูตรบูรณาการ โครงงานโดยใช้ ภาษาจีนเป็นฐาน


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 127 2. การลดความเหลื่อมลํ้าในการศึกษา มาตรา 5 วรรคหนึ่ง (2) กําหนดให้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการลดความ เหลื่อมลํ้าในการศึกษา ซึ่งพืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาทัง้ 8 พืน้ที่มีการดําเนินงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังนี้ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) สร้างภาคีเคร ือข่ายความร่วมมือในการ ระดมทรัพยากรและสรรพกําลังเพื่อการจัด การศึกษาที่มีคุณภาพให้แก่ผู้เรยีน ทั้งภาครัฐ และเอกชน เ ช่ น ภ า คีเ คร ือ ข่ า ย ศึ กษ า นิเ ท ศ ก์ จ า ก สํ านั ก ง านศึ กษ า ธิ ก าร จั งหวั ด ก าญ จนบุร ี ภาคีเคร ือข่ายศึกษานิเทศจากสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ภาคีเคร ือข่ายคณาจารย์จากมหาว ิทยาลัย ศิลปากร ภาคีเคร ือข่ายคณาจารย์จากมหาว ิทยาลัย ราชภัฏกาญจนบุร ีQ-COACH จากกองทุนเพื่อความ เสมอภาคทางการศึกษา เพื่อสนับสนุนทั้งด้านความรู้ ว ิธีการสมัยใหม่ งบประมาณ บุคลากร และวัสดุอุปกรณ์ ต่าง ๆ รวมถึงความร่วมมือในการบร ิหารจัดการ และการแก้ปัญหาให้แก่ผู้เร ียน เช่น การส่งเสร ิมการ หารายได้ระหว่างเร ียน การฝึกทักษะพื้นฐานในการ ปร ะกอบอาชีพ การให้ความรู้ จากผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทาง เป็นต้น 2) ส่งเสร ิมให้สถานศึกษามีการนํานวัตกรรม และเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษาให้ผู้เร ียนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมในการคิดค้น นวัตกรรมเพื่อสร้างความเป็นนักนวัตกรให้เกิด กับผู้เร ียน เช่น นวัตกรรม “วงจรพัฒนาบทเร ียน ร่ ว ม กั น ( Lesson Study Cycle : LSC)” นวัตกรรม “การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาแบบระดมพลัง (Mobilize)” นวัตกรรม “9 ก้าวกล้าอ่าน (9 steps to a reader)” นวัตกรรม “การสะกดคําศัพท์ภาษาอังกฤษ (Spelling 7 Steps Cycle) ” และนวัตกรรม “การนิเทศภายใน แบบผสมผสาน (Integrated supervision)” รวมทั้ง การนําระบบ ZOOM และ GOOGLE MEET มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเร ียนรู้เป็นต้น 3) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร สถานคึกษาเพื่อให้สถานศึกษาจัดการเร ียนการสอน สอดคล้องตามบร ิบทของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่ และสอดคล้องกับกรอบหลักสูตรจังหวัด พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ส่งเสร ิมและพัฒนานวัตกรรมทว ิ/พหุภาษา ร่วมกับมูลนิธิภาษาศาสตร์ประยุกต์และองค์การ บร ิหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาการจัดการเร ียน การสอนให้กับผู้เรยีนกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาถิ่น เป็นหลักให้สามารถสื่อสารภาษา ไทย ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีการเสนอปรับปรุงหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการบร ิหารงานบุคคล สําหรับสถานศึกษา นําร่องที่มีการใช้นวัตกรรมทว ิ/พหุภาษาในการ จัดการเร ียนการสอน เนื่องจากขาดแคลนบุคลากร ที่มีความรู้ความเข้าใจในภาษาถิ่ น ซึ่งเป็นส่วนสําคัญ ในการจัดการเร ียนการสอน 2) ส่ งเ ส ร ิม ส นั บ ส นุ น ใ ห้เ กิ ด ก า ร ป รั บ หลักสูตรเพื่อให้สถานศึกษาจัดการเร ียนการสอน สอดคล้องตามบร ิบทของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่ และสอดคล้องกับกรอบหลักสูตรจังหวัด 3) จัดทําข้อเสนอป รับป รุ งหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการบรหิารงานบุคคลสําหรับสถานศึกษา นําร่องที่มีการใช้นวัตกรรมทว ิ/พหุภาษาในการ จัดการเร ียนการสอน เนื่องจากขาดแคลนบุคลากรที่มี ความรู้ความเข้าใจในภาษาถิ่น ซึ่งเป็นส่วนสําคัญ ในการจัดการเร ียนการสอน


128 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) กําหนดยุทธศาสตร์สนับสนุนสถานศึกษา ให้จัดการศึกษาที่เหมาะสมกับบรบิทของพื้นที่ และจัดการศึกษาอย่างมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ พัฒนาหลักสูตรที่มุ่งจัดการเร ียนรู้ภาษาไทยโดยใช้ ชุมชนเป็นฐาน ส่งเสร ิมสมรรถนะการสอนของครู และยกระดับความฉลาดรู้ของผู้เร ียน พัฒนาหลักสูตร การเร ียนรู้ด้วยนวัตกรรมบทเร ียนฐานสมรรถนะ ที่สอดคล้องกับบรบิทวัฒนธรรมท้องถิ่ น (Culturally responsive learning module) เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ ความฉลาดรู้และมีสมรรถนะด้านคณิตศาสตร์และ ว ิทยาศาสตร์สําหรับครูและ ผู้เร ียนระดับ ประถมศึกษา 2) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร เพื่อให้สถานศึกษาจัดการเร ียนการสอนสอดคล้อง ตามบร ิบทของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่และสอดคล้อง กับกรอบหลักสูตรจังหวัด พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร สถานคึกษาเพื่อให้สถานศึกษาจัดการเร ียนการสอน สอดคล้องตามบร ิบทของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่ และสอดคล้องกับกรอบหลักสูตรจังหวัดและเอื้อ ต่อการบร ิหารจัดการและการจัดการเร ียนการสอน ที่มีความแตกต่างของสถานศึกษา รวมทั้งสอดคล้อง กับความต้องการของผู้เร ียนและชุมชน 2) ร่วมกับมห าว ิท ย า ลั ย ส ง ข ล านคร ินทร์ ว ิทยาเขตปัตตานีเพื่อให้สถานศึกษานําร่องที่เป็น กลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมโครงการ “พัฒนาทักษะ การเร ียนรู้ของเด็กบกพร่องในการรับรู้ (LD) และ กลุ่มเด็กสมาธิสั้น (ADHD) ในเขตพื้นที่จังหวัด ปัตตานีโดยเคร ือข่ายความร่วมมือแบบพหุ องค์กร” จํานวน 6 แห่ง โดยมีเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อสร้างหลักประกันว่าทุกคน มีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเร ียนรู้ตลอดชีว ิต พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) เพิ่มโอกาสให้ประชากรวัยเรยีนในพื้นที่ เข้าถึงโอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษาด้วยนวัตกรรม เชิงพื้นที่ที่ โดดเด่นและหลากหลายที่สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสร ิมสนับสนุนความพร้อม ด้านปัจจัยพื้นฐาน แหล่งเร ียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล และจัดสภาพแวดล้อมการศึกษาที่เอื้อต่อการเร ียนรู้ ไร้ขีดจํากัดโดยใช้นวัตกรรมเชิงพื้นที่ 2) ร่วมกับมหาว ิทยาลัยราชภัฏยะลา ดําเนินการ โครงการว ิจัย “สานพลังเคร ือข่ายจัดการศึกษา เชิงพื้นที่เพื่อส่งเสรมิการรู้หนังสือของนักเรยีน ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา ” เพื่อส่งเสร ิมการรู้หนังสือของนักเร ียนในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลาให้สามารถสื่อสาร ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร เพื่อให้สถานศึกษาจัดการเร ียนการสอนสอดคล้อง ตามบร ิบทของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่ และสอดคล้อง กับกรอบหลักสูตรจังหวัด


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 129 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ประกาศแผนยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัด ระยองที่มุ่งจัดการศึกษาสําหรับคนทุกช่วงวัย และทุกระดับที่ตอบโจทย์ระยองเท่าเทียม ทั่วถึง เท่าทัน สมดุล สร้างระยองให้เป็นเมืองน่าอยู่ จัดทํา digital classroom ห้องเรยีนที่เปิดให้บุคลากรทั่วไปเข้าเรยีน อย่างน้อย 4 ห้องเร ียน มีครูอย่างน้อย 22 คน และผู้เร ียน อย่างน้อย 106 คน ในห้องเร ียนดังกล่าว มีสถานศึกษานําร่องทุกรุ่นเข้ามาเร ียนรู้ห้องเร ียน เฉพาะสถ า น ศึ กษ า อ ย่ า ง น้ อ ย 10 ห้ อ งเร ีย น ถูกสร้างขึ้นตามคําร้องขอของสถานศึกษา โดยเนื้อหา เป็น ไปตามความต้องการของสถานศึกษา เช่น การเขียน PA (Performance Agreement) การเขียน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างไรก็ตามห้องเร ียน ดังกล่าวถูกนําไปเชื่อมโยงกับว ิถีชีว ิตการทํางาน ของครูและว ิถีชีว ิตการเร ียนรู้ของนักเร ียน ผลการ รเิร่ มิใช้digital classroom ในสถานการณ์ปัจจุบัน พบว่า บุคลากรในสถานศึกษาเห็นคุณค่าและความจําเป็น ทําให้เกิดการเร ียนรู้อย่างรวดเร็ว และถูกนําไปใช้อย่าง หลากหลายไม่ได้เป็นไปเพื่อการท่องจํา แต่ถูกนําไปใช้ เพื่อการทําได้ทําเป็น และใช้ได้จร ิง 2) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติม จากองค์การบร ิหารส่วนจังหวัดระยอง เพื่อสนับสนุน การดําเนินงานขับเคลื่อนของสถานศึกษานําร่อง และและจากกองทุนไฟฟ้าเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ ด้วยทักษะเทค โน โลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานของสถานศึกษานําร่องและขอสนับสนุน แอพพลิเคชันสําหรับการจัดการเร ียนการสอน เพื่อส่งเสร ิมให้สถานศึกษานําร่องจัดการเร ียน การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร เพื่อให้สถานศึกษาจัดการเร ียนการสอนสอดคล้อง ตามบร ิบทของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่ และสอดคล้อง กับกรอบหลักสูตรจังหวัด 4) ส่งเสร ิมการพัฒนาความฉลาดรู้ด้วยทักษะ เทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับแอพพลิเคชัน StartDEE และสถาบัน RILA เพื่อพัฒนาสมรรถนะความเป็น Digital Learner และลดความเหลื่อมล ํ้ า เช่น การเข้าถึง การถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ การขาด แคลนครูการขาดแคลนสื่อทัศนูปกรณ์การเพิ่ม อิสระและโอกาสในการเร ียนรู้ส่งเสร ิมการเร ียนรู้ เป็นรายบุคคล (Personalize Learning) จากการ ใช้งาน พบว่าโรงเร ียนขนาดเล็กมียอดใช้งานมากกว่า โรงเร ียนขนาดใหญ่ และพบว่าโรงเร ียนขนาดเล็ก นําแอพพลิเคชันไปใช้งานหลากหลาย คือ (1) นักเร ียน ใช้เป็นช่องทางในการพัฒนาตนเองทั้งการพัฒนา ความรู้และการประเมินตนเอง (2) ใช้เป็นสื่อการสอน ในห้องเร ียน ซึ่งพบมากในโรงเร ียนที่ขาดแคลน ครูผู้สอน (3) ใช้เป็นแนวทางในการเตร ียมการสอน กรณีที่ครูต้องรับผิดชอบสอนในว ิชาที่ไม่ตรงกับ ว ิชาเอกที่จบมา (4) ครูนําไปออกแบบการเร ียนการ สอนลักษณะของการเพิ่มเวลาการเรยีนรู้จากใน ห้องเร ียนโดยให้นักเร ียนก่อนเข้าเร ียน เมื่อว ิเคราะห์ พฤติกรรมการใช้งานตามเวลาประกอบกับข้อมูล เชิงคุณภาพ พบว่า (1) นักเร ียนมีการใช้งานอยู่ 2 ช่วง คือ ช่วง 9.00 - 14.00 น. (ใช้เพื่อเร ียนรู้ในห้อง ร่วมกับครูและเรยีนรู้เสรมิจากสิ่งที่ครูสอน) และ ช่วง 18.00 - 19.00 น. (ใช้เพื่อประเมินตนเอง เร ียนรู้ เนื้อหาที่ตนเองสนใจ) (2) วัตถุประสงค์ในการใช้งาน มีความหลากหลาย เช่น ใช้หาความรู้เสร ิมนอก หลักสูตร ใช้ประเมินตนเอง ศึกษาบทเร ียนล่วงหน้า ติวก่อนสอบกลางภาค/ปลายภาค/เข้ามหาว ิทยาลัย 5) จัดทําข้อเสนอร่างหลักเกณฑ์และว ิธีการ คัดเลือกเพื่อบรรจุแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่ง ครูผู้ช่วย กรณีที่มีความจําเป็นหรอืมีเหตุพิเศษอื่น พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง โดยการมี ส่วนร่วมทุกภาคส่วนในพื้นที่ เพื่อสรรหาบุคลากรให้ สอดคล้องกับบร ิบทพื้นที่ เนื่องจากขาดครูสาขา ว ิชาเอกที่มีความจําเป็นในการจัดการเร ียนการสอน จํานวนมาก เพื่อให้สถานศึกษานําร่องเกิดการจัดการ เร ียนการสอนที่มีคุณภาพ


130 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรสีะเกษ มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) สนับสนุนให้สถานศึกษาทุกแห่งเลือกใช้ นวัตกรรมซื้อสื่อ หนังสือ ตําราเรยีน ได้อย่างอิสระ สอดคล้ องกรอบหลั กสูตรศร ีสะเกษ (SISAKET ASTECS) 2) ข้อรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุน เสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) และองค์การบร ิหาร ส่วนจังหวัดศร ีสะเกษ เพื่อดําเนินโครงการยกระดับ การศึกษาให้ได้มาตรฐาน ซึ่งประกอบด้วยการพัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะ การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการ จัดการเร ียนการสอนที่สอดคล้องกับกรอบหลักสูตร จังหวัด จัดค่ายพัฒนาทักษะนักเร ียนสอดคล้องกับ กรอบหลักสูตรจังหวัด และจัดทําระบบข้อมูลพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศร ีสะเกษ 3) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร เพื่อให้สถานศึกษาจัดการเร ียนการสอนสอดคล้อง ตามบร ิบทของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่ และสอดคล้อง กับกรอบหลักสูตรจังหวัด 4) พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถนํานวัตกรรมการศึกษาไปประยุกต์ สําหรับจัดการเร ียนการสอนให้จัดการศึกษาอย่างมี คุณภาพ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติม จากองค์การบร ิหารส่วนจังหวัดสตูล เพื่อพัฒนา ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อรองรับการบันทึก การรายงาน การติดตาม และการช่วยเหลือการจัดการเร ียนรู้ โดยใช้โครงงานฐานว ิจัย พร้อมรองรับหลักสูตร สถ านศึกษ า ฐ านสมรรถน ะ ซึ่งอ ยู่ร ะหว่ างก าร ดําเนินการ 2) ส่งเสร ิมสนับสนุนให้เกิดการปรับหลักสูตร เพื่อให้สถานศึกษาจัดการเร ียนการสอนสอดคล้อง ตามบร ิบทของสถานศึกษาแต่ละพื้นที่ และสอดคล้อง กับกรอบหลักสูตรจังหวัด 3) พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถนํานวัตกรรมการศึกษาไปประยุกต์ ให้เกิดการจัดการเร ียนการสอนให้จัดการศึกษา อย่างมีคุณภาพ อาทิการจัดการเร ียนรู้แบบ Active Learning สู่การพัฒนาสมรรถนะผู้เร ียนในศตวรรษ ที่ 21 การพัฒนาศักยภาพผู้บร ิหารสถานศึกษา เป็นต้น


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 131 3. การกระจายอํานาจและให้ความอิสระแก่หน่วยงานการศึกษา มาตรา 5 วรรคหนึ่ง (2) กําหนดให้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการลดความ เหลือ่มลํา้ในการศึกษา ซึง่พืน้ทีน่วัตกรรมการศึกษาทัง้ 8 พืน้ที่มีการดําเนินงานเพือ่บรรลุวัตถุประสงค์ดังนี้ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) คณะอนุกรรมการคณะอนุกรรมการว ิชาการ งานว ิจัยและนวัตกรรมการศึกษา ดําเนินงานพัฒนา ร ะบบกา รป ร ะกันคุณภาพกา รศึกษาจังหวัด กาญจนบุร ีดําเนินการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาของสถานศึกษานําร่อง ตามประกาศคณะกรรมการ นโยบายพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา เร่อืง หลักเกณฑ์และว ิธีการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาของสถานศึกษานําร่อง พ.ศ. 2564 โดยดําเนินงาน 5 ระยะ ดังนี้1) ยกร่าง มาตรฐานการศึกษาและคู่มือ 2) ประชาพิจารณ์ร่าง มาตรฐานการศึกษา 3) ว ิพากษ์และให้ข้อเสนอแนะ 4) เสนอคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา และ 5) ประกาศใช้ 2) ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ว า ง แ ผ น ก ล ยุ ท ธ์ และการขับเคลื่อนนวัตกรรมการศึกษาร่วมสํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด ดําเนินการปรับยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด กาญจนบุร ีพ.ศ. 2563-2567ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 เพื่อให้สอดคล้องกับบร ิบทมากขึ้น รวมทั้ง ได้มีการส่งเสรมิการพัฒนาบุคลากรใน สถานศึกษานําร่องเพื่อการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เร ียน และจัดทํานิเทศติดตาม และประเมินผลตามแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุร ี 3) ส่งเสร ิมให้สถานศึกษานําร่องนําหลักสูตร แกนกลา งกา รศึกษาขั้นพื้นฐ านไปปรับใช้ และมีอิสระในการเลือกใช้หลักสูตร ซึ่งปัจจุบัน มีสถานศึกษานําร่องมีการปรับและเลือกใช้หลักสูตร ประเภทที่ 1 จํานวน 41 แห่ง และประเภทที่ 3 (ฐานสมรรถนะ) จํานวน 19 แห่งโดยสํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดได้มีการจัดอบรมการว ิเคราะห์ ความสอดคล้องของตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับผลลัพธ์ ก ารเร ียนรู้ ต ามร่ า ง กร อบห ลั ก สูตร ก ารศึ กษ า ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. …. ระดับประถมศึกษา เพื่อเตรยีม ความพร้อมให้สถานศึกษานําร่องก่อนนําไปใช้ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ส่งเสร ิมให้สถานศึกษานําร่องนําหลักสูตร แกนกลา งกา รศึกษาขั้นพื้นฐ านไปปรับใช้ คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ โดยคณะอนุกรรมการว ิชาการ ว ิจัย และประเมินผลพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด เชียงใหม่ พิจารณาให้ความเห็นชอบ จํานวน 11 แห่ง 2) แต่งตั้งคณะทํางานพิจารณากลั่นกรอง เพื่อพิจารณาหลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษา นํ า ร่ องเพื่ อให้นํ า ไปใ ช้ จัดก ารเร ียนก าร ส อนที่ สอดคล้องกับบร ิบทแล ะเป้ าหมายยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด 3) จัดทําข้อเสนอปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การบร ิหารงานบุคคลสําหรับสถานศึกษานําร่อง ที่มีการใช้นวัตกรรมทว ิ/พหุภาษาในการจัดการเร ียน การสอน เนื่องจากขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจในภาษาถิ่น ซึ่งเป็นส่วนสําคัญในการ จัดการเร ียนการสอน 4) สรรหาคณะทํางานประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เร ียนในสถานศึกษานําร่องพื้นที่


132 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 5) สรรหาคณะทํางานประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ 6) ประสานสถาบันว ิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ ไทย (TDRI) เพื่อหาร ือแนวทางการวัดและประเมินผล ในระดับห้องเร ียนและพื้นที่ และการปลดล็อกการ บร ิหารงานบุคล 7) รั บฟั ง ผ ล ก าร ศึ กษ า ส ภ าพ ปัญ ห า กา ร ดํ า เนินก ารแล ะคว ามต้ องก ารคว ามช่ว ยเหลื อ ของสถานศึกษานําร่อง พร้อมทั้งร่วมให้ความเห็น เกี่ยวกับศูนย์ให้คําปร ึกษาฯ และรูปแบบพัฒนา สมรรถนะครูตลอดจนแนวทางในการให้ความร่วมมือ จากทางหน่วยงานทางการศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดนราธิวาส มีการดําเนินการดังนี้ 1) ส่งเสร ิมการจัดกิจกรรม “ห้องปฏิบัติการ การเร ียนรู้(Learning Lab)” เพื่อสร้างความเป็น เจ้าของพื้นที่และพัฒนาผู้นําทางว ิชาการและระบบพี่ เลี้ยง โดยใช้รูปแบบ People and Community Mapping เพื่อพัฒนาผู้บร ิหารสถานศึกษาและครู ในสถานศึกษาให้มีทัศนคติเชิงบวกเกิดการ “เร ียนรู้ ร่ ว ม กั น จ า ก ชุ ม ช นเ ป็ น ฐ า น ใ ห้เ ข้ า ใ จ บ ร ิบ ท สภาพแวดล้อมของโรงเร ียน” เข้าใจการจัดการเร ียนรู้ บนสถานการณ์ของผู้เร ียน และสร้างกลไกส่งเสร ิม ด้านว ิชาการและระบบโค้ชในสถานศึกษานําร่อง โดยเชื่อมโยงกับโครงการว ิจัยย่อย 3 โครงการ คือ หลักสูตรการเร ียนรู้ภาษาไทย หลักสูตรการเร ียนรู้ ว ิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์และหลักสูตรอิสลาม ศึกษา 2) “กิจกรรม Open mind” พัฒนาศักยภาพ ผู้บร ิหารสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ณ อุ ทยานเขตรั กษาพั นธุ์ สั ตว์ ป่ า ฮาลา–บาลา นําฐานทุนระบบนิเวศน์ในชุมชนมาเป็นแหล่งเร ียนรู้ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับผู้อํานวยการ/ผู้แทน ในการ “ปรับเปลี่ยนมุมมองและทัศนคติของ ผู้บร ิหารสถานศึกษา” ให้เร ียนรู้จากธรรมชาติ จากการเดินป่าที่ “ก่อให้เกิดทัศนคติและมุมมอง ที่มีความหมายใหม่มองเห็นการเร่มิต้นของการ เรยีนรู้จากตนเองและสิ่งที่อยู่รอบตนเอง” เร ียนรู้ ถึงกระบวนการที่ทําให้เกิดองค์ความรู้และเชื่อมโยง กับการนําไปใช้ได้จนเกิดคุณค่าในตนเอง 3) ดําเนินการจัดทําแนวทางการประเมินผล สัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เรยีนในสถานศึกษานําร่อง โดยแบ่งเป็น “แนวทางการวัดและประเมินผล สมรรถนะพื้นฐาน” และ “แนวทางการวัดและ ประเมินผลสมรรถนะหลักของผู้เร ียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551” และ “ร่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้พื้นฐาน พ.ศ. ….” 4) พัฒ น า “ ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น คุณ ภ าพ การศึกษาภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา นําร่อง” เชื่อมโยงกับโครงการวจิัย เร่อืง “การพัฒนา กลไกเคร ือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนอย่าง ยั่งยืนเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่ หนุนเสร ิมยุทธศาสตร์การศึกษา สู่การพัฒนา คุณภ าพค รู แ ล ะคุณภ าพผู้เ ร ียนของ จั งหวัด นราธิวาส”


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 133 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ประสานงานทีมว ิจัยคณะศึกษาศาสตร์ ม อ. ว ิท ย าเ ข ตปัต ต า นีใ น ก าร จั ด ก าร ปร ะ ชุ ม เชิงปฏิบัติการโครงการต่าง ๆ อาทิ“โครงการ ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สู่สถานศึกษานําร่อง พื้นที่นวัตกร รมกา รศึกษาจังหวัดปัตตานี” เพื่อสร้างความเข้าใจกรอบหลักสูตรจังหวัด Pattani Heritage และ SMART+I “โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า นวัตกรรมการบร ิหารจัดการสถานศึกษา โดยใช้ OKRs” และ “การนิเทศยกระดับคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดปัตตานี” เพื่อพัฒนาแผนกลยุทธ์ในการ พัฒนานวัตกรรมการบร ิหารจัดการสถานศึกษา โดย ใช้แนวทางการบร ิหารในการยกระดับคุณภาพ สถานศึกษา เพื่อนําไปใช้นสถานศึกษานําร่องพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีทั้ง 32 แห่ง และ “โครงการว ิจัยการพัฒนานวัตกรรมการเร ียนรู้ ของสถานศึกษานําร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดปัตตานีเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ ศึกษาของนักเร ียนโดยใช้ชุมชนการเร ียนรู้ทาง ว ิชาชีพ (PLC) ระยะที่ 2” เพื่อพัฒนาผลการเร ียนรู้ ของผู้เร ียนในพื้นที่และพัฒนาทักษะความเป็นนักนวัต กรให้แก่ครูในโรงเร ียนกลุ่มเป้าหมาย เป็นต้น 2 ) จั ด ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร วางแผน การขับเคลื่อนงานด้านวชิาการของหน่วยงาน ต้นสังกัดสถานศึกษานําร่อง (กรณีเร่งด่วน) เพื่อวาง แผนการดําเนินงานดูแลช่วยเหลือสถานศึกษานําร่อง ให้ ส า ม าร ถ ดํ าเ นิ น ง า น ด้ า นว ิช า ก าร ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ 3) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทํารายงานการ ประเมินตนเองของสถานศึกษานําร่อง เพื่อวางแผน ออกแบบการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษานําร่องร่วมกับผู้รับผิดชอบงาน ประกันคุณภาพการศึกษาแต่ละสังกัด เพื่อให้มี แนวปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน 4) จัดประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทํารายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษานําร่อง เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้า ใจ ในการจัดทํารายงานการ ประเมินตนเอง ทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาปฐมวัย ให้มีแนวปฏิบัติ ไป ในทิศทางเดียวกัน 5) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและ พัฒนาแผนยุทธศาสตร์พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดปัตตานีพ.ศ. 2566 – 2568 เพื่อปรับปรุง ยุทธศาสตร์ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับบร ิบท โดยการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน 6) ส่งเสร ิม ให้สถานศึกษานําหลักสูตร แกนกลา งกา รศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้ โดยปัจจุบันมีหลักสูตรที่คณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานีเห็นชอบแล้ว จํานวน 17 แห่ง และมีสถานศึกษานําร่องเลือกใช้ร่าง กรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. … จํานวน 15 แห่ง


134 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดยะลา มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) คณะอนุกรรมการฝ่ายว ิชาการ ส่งเสร ิม ส นั บ ส นุ น ก า ร จั ด ก า ร เ ร ีย น ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษานําร่อง โดยการดําเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ที่ปรับใช้ในปีการศึกษา 2565 ซึ่งมีสถานศึกษา เข้าร่วมทดลองใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. … จํานวน 26 โรงเร ียน และขอปรับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จํานวน 4 โรงเร ียน 2) สร้างกลไกการบร ิหารจัดการของหน่วยงาน ทางการศึกษาในการขับเคลื่อนการศึกษาสู่การ ปฏิบัติในเชิงบูรณาการที่เป็นระบบครบวงจร รวมถึง ส่งเสร ิมสนับสนุนการพัฒนาสถานศึกษาให้มีระบบ ก ารบร ิห าร จัด ก ารที่มีคุณภ าพม าตร ฐ านด้ว ย นวัตกรรมในการบร ิหารที่เป็นแบบอย่างและสามารถ ขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาอื่น โดยสอดคล้องกับ กรอบหลักสูตรจังหวัด “หลักสูตรจังหวัดยะลา มุ่งสร้างเด็กยะลาให้รัก (ษ์) ยะลาและเป็นพลเมือง ที่เข้มแข็ง โดยใช้ฐานภาษา และการเรยีนรู้ สู่ ก า ร ส ร้ า ง อ า ชี พ ใ น สั ง ค ม แ ห่ ง ค ว า ม สุ ข ” โดยประสานสถาบันอาศรมศิลป์ให้การการสนับสนุน ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร และมหาว ิทยาลัยราชภัฏยะลา ให้การสนับสนุน ทางเทคนิคในการจัดทําสื่อการสอน 3) จัดกิจกรรม Learning Lab (ห้องปฏิบัติการ การเร ียนรู้ทางสังคม) ภายใต้ โครงการศึกษา และพัฒนาระบบกลไกหนุนเสร ิมการพัฒนากรอบ หลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะเพื่อการจัดการ เร ีย นรู้ ฐ า น ส มรร ถ น ะเ ชิ งรุ ก ข อ ง ส ถ า น ศึ กษ า ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา 8 จังหวัด เพื่อค้นหา ศึกษาข้อมูลฐานทุน และความต้องการของสังคมที่มีต่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษา และนํามากําหนดยุทธศาสตร์ แ ล ะเป้ าหม า ยข อ งพื้ นที่ นวั ต กรร ม ก ารศึ กษ า จังหวัดยะลา 4) จัดปร ะชุมก ารเ ร่ ง รั ดกา รดํ าเนินงาน ด้านหลักสูตรตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา พ.ศ. 2562 และยกร่างหลักสูตรจังหวัด ยะลา พ.ศ. 2565 5) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการว ิเคราะห์ทบทวน น วั ต ก ร ร ม ก า ร ศ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ กษ านํ า ร่ อ ง เพื่อจัดเก็บข้อมูล ค่าใช้สอยอื่น ๆ ในการพัฒนา นวัตกรรมการศึกษา 6) ให้ความเห็นชอบมหาว ิทยาลัยราชภัฏยะลา ดําเนินโครงการจัดการศึกษาเพื่อฟ้ืนฟูภาวะ การถดถอยทางการเร ียนรู้สําหรับนักเร ียนยากจน ในพื้นที่นวัตกร รมกา รศึกษา จังหวัดย ะลา โดยมีเป้าหมายสําคัญ คือ นักเร ียนจากครัวเร ือน ยากจนจังหวัดยะลา สามารถเข้าถึงการให้บร ิการ ทางการศึกษาและหลุดพ้นจากภาวะถดถอยทางการ เร ียนรู้นําไปสู่การลดความเหลี่อมลํ้าด้านคุณภาพ การศึกษา โดยมีสถานศึกษาประสงค์เข้าร่วมโครงการ จํานวน 14 แห่ง 7) ให้ความเห็นชอบสถาบันอาศรมศิลป์ร่วมกับ สภาการศึกษา และมูลนิธิสยามกัมมาจล ดําเนินการ พัฒนาเคร่อืงมือวัดผลลัพธ์การเรยีนรู้ของนักเรยีน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ บูรณาการสังคม-ว ิทยาศาสตร์) โดยมีสถานศึกษานําร่องประสงค์เข้าร่วมดําเนินการ จํานวน 4 แห่ง


รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 135 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) ส่ งเ ส ร ิม ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ร่ อ ง ส ร้ า ง นวัตก ร รม โดยใช้กรอบหลักสูตรจังหวัดระยอง (Rayong MARCO) ใ ห้ เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร ฉ บั บ อิ ส ร ะ น อกเหนื อ จ ากก ารปรับใช้หลักสูตรแกนกล า ง ตามมาตรา 20 (4) (ซึ่งอยู่ระหว่างดําเนินการ เนื่องจากต้องให้สถานศึกษานําร่องมีความพร้อม ด้ า น ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ใ ช้ Digital Platform และการสนทนาเชิงสร้างสรรค์และอื่น ๆ) 2) ประชุมวางแผนแลกเปลี่ยนเร ียนรู้กับโค้ช แกนนําในพื้นที่ เพื่อวางแผนการขับเคลื่อนงาน ว ิช า ก า ร ใ น ก า ร อ บ ร ม พั ฒ น า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง สร้างกลไกระบบโค้ชในพื้นที่(Node & Network) ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ทําให้เกิดกลไกการทํางานอย่างเป็นระบบระหว่าง หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษานําร่องที่ต้อง ทํางานร่วมกัน ซึ่งเป็นการลดช่องว่างและทําให้เกิด กัลยาณมิตรที่ดีในการทํางานร่วมกัน 3) จัดทําข้อเสนอร่างหลักเกณฑ์และว ิธีการ คัดเลือกเพื่อบรรจุแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่ง ครูผู้ช่วย กรณีที่มีความจําเป็นหรอืมีเหตุพิเศษอื่น พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง โดยการมี ส่วนร่วมทุกภาคส่วนในพื้นที่ เพื่อสรรหาบุคลากรให้ สอดคล้องกับบร ิบทพื้นที่ เนื่องจากขาดครูสาขาว ิชาเอก ที่มีความจําเป็นในการจัดการเร ียนการสอน จํานวนมาก 4) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะสําหรับสถานศึกษานําร่องใช้ร่าง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. …. เพื่ อส ร้ า ง ค ว า ม รู้ ค ว า มเ ข้ า ใ จ ใ น ก า รพัฒ น า ตามองค์ประกอบของหลักสูตรให้สถานศึกษา สามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้และเสนอ ต่อคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองหลักสูตร ต ามองค์ปร ะกอบหลักสูตร โดยมี โค้ชแกนนํ า (ศึกษานิเทศก์อาจารย์ม.บูรพา ผอ.รร. และครูแกนนํา) ร่วมกับสถาบันอาศรมศิลป์ ให้ความช่วยเหลือ สถานศึกษานําร่องในการพัฒนาหลักสูตร ทั้งระหว่าง และหลังอบรม 5) ส่ งเ ส ร ิม ใ ห้ ส ถ า น ศึ กษ า มี ก า ร ป รั บ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยปจัจุบัน มีหลักสูตรที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา จังหวัดร ะยองเห็นชอบแล้ว จํ านวน 74 หลักสูตร นอกจากนี้มีสถานศึกษานําร่องที่เลือกใช้ หลักสูตรประเภทที่ 4 (หลักสูตรต่างประเทศ) จํานวน 1 หลักสูตร ได้แก่ โรงเร ียนนานาชาติตากสินแกลง เป็นหลักสูตรจากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยจะ นําไปใช้จัดการศึกษาในปีการศึกษา 2566 6) ว ิเคราะห์และรายงานผลการประเมิน และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ของสถานศึกษานําร่อง โดยสํานักงานศึกษาธิการ จั ง ห วั ด ร ะ ย อ ง ร่ ว ม กั บ ห น่ ว ย ง า น ต้ น สั ง กั ด ของสถานศึกษานําร่องทุกสังกัด เพื่อว ิเคราะห์ และสรุปผลรายงานต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง 7) พัฒนากลไกและโครงสร้างการดําเนินงาน เสร ิมแรงสถานศึกษานําร่อง เพื่อร่วมเป็นโค้ชแกน นําในพื้นที่เพื่อขับเคลื่อนงานด้านว ิชาการ เช่น การปรับกระบวนทัศน์การประเมินความก้าวหน้า การอบรมพัฒนาหลักสูตร แลกเปลี่ยนเร ียนรู้การ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน การติดตามการใช้ หลักสูตร การถอดบทเร ียน และประเมินผลการจัด การศึกษาในระดับจังหวัด เป็นต้น 8) ดําเนินโครงการพัฒนารูปแบบการปรับ ก ร ะ บ ว น ทัศ น์ท า ง ก า ร ศึก ษ า แ ล ะ เ พิ่ม ขีด ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ในก าร จัดก ารศึกษ าเชิ งพื้นที่ต ามบร ิบทให้กับ ผู้ บร ิห า ร ส ถ า น ศึ กษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ กษ า นํ า ร่ อ ง และบุคลากรทางการศึกษา


136 รายงานประจําปเีกีย่วกับการจัดการศึกษาในพื้นทีน่วัตกรรมการศึกษา ปีการศึกษา 2565 9) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสถานศึกษานําร่อง รุ่นที่ 3 และ รุ่นที่ 4 เพื่อพัฒนาผู้บร ิหารและคณะ ครูในสถานศึกษานําร่องให้มีความเป็นผู้นําทาง ว ิชาการและมีแนวทางในการดําเนินการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา บูรณาการกรอบหลักสูตร จังหวัดระยอง Rayong MARCO ไปสู่ผลลัพธ์ที่ พึงประสงค์ของการศึกษาชาติและสร้างปณิธาน ในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา 10) ดํ า เ นิ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ฐานสมรรถนะสําหรับโรงเร ียนนําร่องการ ใช้ ร่างกรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. …. ป ร ะ จํ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2565 เพื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ ความเข้าใจในการพัฒนาหลักสูตรตามองค์ประกอบ ของหลักสูตร พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรสีะเกษ มีการดําเนินการ ดังนี้ 1) กํ า ห น ด เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ค น ที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา และเสร ิมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์โดยได้จัดทํา กรอบหลักสูตรศร ีสะเกษ “ศร ีสะเกษ ASTECS” ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เหมาะสมกับบร ิบทของจังหวัด ศร ีสะเกษ ดังนี้ A: Agriculture การส่งเสร ิมและพัฒนาทํา การเกษตรอินทร ีย์ก้าวหน้า S: Sport World Class การส่งเสร ิมให้เป็น จังหวัดกีฬาระดับชัน้นําของประเทศ T: Creative Tourism ก าร ส่ งเ สร ิมแ ล ะ พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ E: Innovation Entrepreneur การส่งเสร ิม การคิดต่อยอด เพื่อการสร้างสรรค์นวัตกรรุ่นใหม่ C: Culture Diversity การนําความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญามาสร้างสรรค์ให้กับ จังหวัด S: Sisaket Spirit จิ ต ว ิญ ญ า ณ ข อ ง ช า ว ศร ีสะเกษ นอกจากนี้ได้กําหนดเป้าหมายการพัฒนา คุณภาพสถานศึกษานําร่องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เพื่อการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ ได้แก่ (1) School Vision – School Concept (2) ผู้บร ิหารเป็นผู้นํา ทางว ิชาการ(3) ปรับหลักสูตรบูรณาการและหลักสูตร ฐานสมรรถนะ(4) ครูเป็นโค้ชอออกแบบการเร ียนรู้ Active Learning (5) ใช้กระบวน PLC เพื่อพัฒนา กร ะบวนก ารเร ียนรู้ (6) สร้ า งสภ าพแวดล้ อม และบรรยากาศที่เอื้อต่อการเร ียนรู้และ (7) ปรับ การประเมินเป็นประเมินตามสภาพจร ิง 2) ส่ งเ ส ร ิม ใ ห้ ส ถ า น ศึ กษ า มี ก า ร ป รั บ ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึก ษ า ขั้น พื้น ฐ า น ซึ่งคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดศร ีสะเกษเห็นชอบแล้ว จํานวน 115 หลักสูตร โดยมีสถานศึกษานําร่องที่เข้าร่วมโครงการว ิจัย ทดลองใช้ร่างกรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. …. จํานวน 66 แห่ง 3) พัฒนาโรงเร ียนแกนนําขยายผลเคร ือข่าย โร งเรียน Node 24 โร งเรียน แ ล ะ โร งเรียน กร ะบวนการ Online PLC Coaching จํ า น ว น 5 โรงเร ียน 4) ลงพื้นที่ติดตามการดําเนินงานวาระ นวัตกรรมการศึกษา โรงเร ียนเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ นวัตกรรมจิตศึกษา PBL และ PLC และร่วมกับ หน่วยงานทที่มีความเชี่ยวชาญ โรงเร ียนแกนนํา ผู้ บ ร ิห า ร ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์ ร่ ว ม กั น Site Visit สถานศึกษานําร่องใช้นวัตกรรมการจัดการเร ียนรู้ โดยใช้สมองเป็นฐาน โดยติดตามในบร ิบทกุญแจ 5 ดอก และกระบวนการจัดการเร ียนรู้BBL


Click to View FlipBook Version