The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถอดบทเรียน ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pop Sataporn, 2020-02-21 04:06:44

ถอดบทเรียน ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงาน

ถอดบทเรียน ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงาน

ถอดบทเรยี น ศูนยส์ ุขภาพดวี ยั ทำ�งาน (Wellness Center) 101

นำ� เสนอ

“ตกผลกึ บทเรยี น และแนวทางการปรบั ปรง
การด�ำเนินงานศนู ยส์ ขุ ภาพดวี ัยทำ� งาน”

กลุม่ ที่ 1 : ผูจ้ ัดการศูนยส์ ขุ ภาพดี วัยท�ำงาน 102 ถอดบทเรยี น ศนู ยส์ ุขภาพดีวยั ท�ำ งาน (Wellness Center)

รูปแบบการบริหารจัดการศนู ย์ฯ แนวทางการปรับปรุงการด�ำเนนิ งาน/ ขอ้ คิดเห็นเพิม่ เติม
ที่เหมาะสมกบั บรบิ ท รพ.และพืน้ ที่ ขอ้ เสนอแนะ

ลกั ษณะการบรหิ ารจดั การศนู ยฯ์ แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ สรุปสาระส�ำคัญของการบริการจัดการศูนย์สุขภาพ
ดังน้ี ดวี ยั ทำ� งาน มดี งั น้ี
1. การบริหารจัดการศูนย์ฯ ชัดเจน และเป็น 1. ก�ำหนดเป้าหมาย ภารกิจ และตัวชี้วัดการ ■ แกนน�ำหลักรับผิดชอบการด�ำเนินงานศูนย์
ทางการ ด�ำเนนิ งานศนู ย์ฯให้ชดั เจนพร้อมทั้งมีแผนการ สุขภาพดวี ยั ท�ำงาน สว่ นใหญ่เป็นกลุ่มงานอาชวี
- มีการแต่งต้ังคณะกรรมการท�ำงาน ที่มาจาก ด�ำเนนิ งานท้งั ในระยะส้นั และระยะยาว อนามัย และกลุ่มงานอาชีวเวชกรรมเนื่องจาก
สหสาขา วิชาชีพ ชัดเจน 2. สงิ่ ทต่ี ้องทำ� งานรว่ มกับกลมุ่ งานอน่ื ๆ มีภารหน้าท่ีหลักเดิมที่ท�ำหน้าที่ให้บริการตรวจ
- มีกระบวนการด�ำเนินงานร่วมกันระหว่าง - การจดั ทำ� โปรแกรม หรอื Package การสง่ เสรมิ สุขภาพเจา้ หน้าท่ี รพ. และโรงงาน
สหสาขา วชิ าชพี โดยมแี กนนำ� หลกั มาจากกลมุ่ สขุ ภาพ ■ Core team ส่วนใหญ่เป็นพยาบาลวิชาชีพ
อาชีวอนามยั กลมุ่ สขุ ศึกษา กล่มุ งานส่งเสรมิ - การ setting ทีมท�ำงานผเู้ ชย่ี วชาญแต่ละดา้ น/ ชำ� นาญการ (ผจู้ ดั การศนู ยฯ์ ) ทำ� หนา้ ทปี่ ระสานงาน
สุขภาพ สาขา โดยมคี ณะกรรมการท�ำงาน ซ่งึ มวี ธิ ีการจัดหาที่
- ใช้ต้นทุนบคุ ลากร งบประมาณ อปุ กรณ์ ท่มี อี ยู่ 3. แนวทางท่ีจะต้องอาศัยระดับผู้บริหาร รพ./ หลากหลายโดยส่วนใหญ่ดึงผู้เกี่ยวข้องและมี
ในโรงพยาบาลในการด�ำเนินงานเป็นหลัก กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ช่วย ความสนใจเข้ารว่ มเป็นทมี และคณะกรรมการ
และมีรายได้จากการบริการผ่านโปรแกรมให้ ดำ� เนินการ มดี ังนี้ ■ การกอ่ ตงั้ ศนู ยฯ์ เกดิ ขนึ้ ภายใตค้ วามเหน็ ชอบของ
บรกิ ารดูแลสุขภาพ - นโยบายทช่ี ดั เจนทง้ั ในระดบั รพ. และกระทรวง ผูบ้ รหิ าร
2. การบริหารจดั การศูนย์ ไม่เปน็ ทางการผา่ นการ - พฒั นาศนู ยฯ์ ใหบ้ รกิ ารแบบ One Stop Service ■ การจัดสรรบุคลากรรับผิดชอบการด�ำเนินงาน
รับค�ำสงั่ จากผบู้ ริหาร รพ./สถานบนั - การพัฒนาศักยภาพ/ความเช่ียวชาญเฉพาะ ศนู ย์ฯ ยังคงมกี ำ� ลังคนตามภารกิจท่มี ีอยู่เดมิ
- ยังไม่มีการจัดตงั้ /แต่งตงั้ คณะกรรมการชดั เจน ด้าน/เฉพาะพื้นท่ี เช่น เวชกร วิทยาศาสตร์ ■ การบริหารจัดการ ส่วนใหญ่เป็นเชิงรับมากกว่า
การกฬี า การใหค้ ำ� ปรกึ ษา (consoling) เปน็ ตน้ เชงิ รกุ โดยเนน้ การให้บริการแต่บุคลากรภายใน
รพ. เปน็ หลัก

กลุ่มที่ 1 : ผูจ้ ัดการศนู ยส์ ขุ ภาพดี วัยทำ� งาน

รปู แบบการบรหิ ารจดั การศูนยฯ์ แนวทางการปรับปรงุ การด�ำเนินงาน/ ข้อคดิ เห็นเพ่มิ เติม
ท่ีเหมาะสมกับบริบท รพ.และพนื้ ที่ ข้อเสนอแนะ

- การบรู ณาการการใหบ้ รกิ ารกบั งาน/การบรกิ าร - พ้ืนท่ีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมของเครือข่าย ถอดบทเรยี น ศูนยส์ ขุ ภาพดวี ยั ท�ำ งาน (Wellness Center) 103
ที่มีการด�ำเนินการด้านส่งเสริมสุขภาพอยู่เดิม “เว็บไซต”์ เพ่อื แลกเปลี่ยนความรู้ เทคนิคการ
ใน รพ. ผ่านการตรวจประเมินและส่งต่อการ ทำ� งาน เผยแพรก่ ระบวนการท�ำงาน
รกั ษาเพอื่ ให้มีสุขภาพดี
- การทำ� งานร่วมกนั ระหวา่ งสหสาขาวิชาชพี
- ใชต้ น้ ทนุ บุคลากร งบประมาณ อปุ กรณ์ ทม่ี อี ยู่
ในโรงพยาบาลในการดำ� เนินงาน

กลุม่ ท่ี 2 : ผ้จู ัดการศนู ยส์ ขุ ภาพดี วยั ท�ำงาน (โรงพยาบาลชมุ ชน) 104 ถอดบทเรยี น ศนู ยส์ ุขภาพดีวยั ท�ำ งาน (Wellness Center)

รปู แบบการบริหารจดั การศนู ย์ฯ แนวทางการปรับปรุงการด�ำเนินงาน/ ข้อคิดเหน็ เพม่ิ เติม
ทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ท รพ.และพ้นื ท่ี ขอ้ เสนอแนะ

ลกั ษณะการบรหิ ารจดั การศนู ยฯ์ แบง่ เปน็ 3 ลกั ษณะ สรุปสาระส�ำคัญของการบริการจัดการศูนย์สุขภาพ
ดงั นี้ ดวี ยั ท�ำงาน มดี งั น้ี
1. การบริหารจัดการศูนย์ฯ ที่มีผู้รับผิดชอบ 1. เพิ่มโปรแกรมการบริการ และเพ่ิมกลุ่มผู้รับ ■ แกนน�ำหลักรับผิดชอบการด�ำเนินงานศูนย์
โดยเฉพาะ บริการ สุขภาพดีวัยท�ำงาน ส่วนใหญเ่ ป็นกลุม่ งานอาชีว
- มกี ารแต่งตงั้ คณะกรรมการทำ� งานโดยเฉพาะ - ขยายพื้นท่ีใหบ้ ริการ อนามัย และกลุ่มงานอาชีวเวชกรรมเน่ืองจาก
- ใช้ต้นทนุ บุคลากร สถานที่ อปุ กรณ์ ท่มี ีอยใู่ น - ข ย า ย รู ป แ บ บ จ า ก ก า ร บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ มีภารหน้าที่หลักเดิมที่ท�ำหน้าท่ีให้บริการตรวจ
โรงพยาบาล ในการด�ำเนินงานเป็นหลกั และ แก่เจ้าหน้าที่ รพ. ไปยงั บคุ คลท่ัวไป สุขภาพเจา้ หน้าท่ี รพ. และโรงงาน
ต่อยอดพัฒนาเพิ่มเติม 2. สรา้ งต้นแบบในผู้นำ� ระดบั ตา่ งๆ ■ Core team ส่วนใหญ่เป็นพยาบาลวิชาชีพ
2. การบริหารจัดการศูนย์ โดยคณะท�ำงานจาก - หากผู้น�ำท้องถ่ินมีส่วนร่วม เป็นต้นแบบ จะ ช�ำนาญการ (ผูจ้ ัดการศนู ย์ฯ)
ตัวแทนสหวชิ าชพี ท�ำให้งานพัฒนาไปได้ง่ายข้ึน เป็นที่ยอมรับ ■ คณะท�ำงานมาจากคนท่ีเก่ียวข้องและคนที่
- ไดร้ บั นโยบายมาจาก ผอ.ใหจ้ ัดตั้งศูนย์ และนา่ สนใจ สนใจ
- มีผรู้ บั ผิดชอบหลัก 1 คน 3. จัดหาเครอ่ื งมือใหมๆ่ ■ หากผู้บรหิ ารเหน็ ความส�ำคญั จะทำ� ให้ไปได้เรว็
- สรา้ งทมี งานจากตวั แทนสหวชิ าชพี เชน่ แพทย์ - อุปกรณ์ที่หลากหลายและมีความทันสมัยช่วย ■ แพ็คเกจการให้บริการมักเป็นแพ็คเกจรายย่อย
พยาบาล ทนั ตาภบิ าล นกั โภขนาการ นกั กายภาพ ดึงดูดความสนใจผรู้ บั บรกิ ารได้ดีมากขนึ้ เพอ่ื หารายได้เข้า รพ.
นักวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา 1. มีการจัดกิจกรรมตามปัญหาของแต่ละกลุ่ม ■ การบริหารจัดการ มีทั้งท่ีเป็นเชิงรับและเชิงรุก
- มีนโยบายมาจากผอู้ �ำนวยการ เพ่อื สร้างแรงดงึ ดูดใจ โดยมกี ารใหบ้ ริการแต่บคุ ลากรภายใน รพ. เพ่ือ
- รพ.เรม่ิ ดำ� เนนิ ใหม่ ไมม่ กี ารตน้ ทนุ เดมิ ของคลนิ กิ - การมีแพ็คเก็จท่ีตอบโจทย์ปัญหาของคนได้จะ สร้างต้นแบบและขยายไปยังเครือข่าย รวมถึง
สุขภาพดี/ขาดปัจจัยด้านทรัพยากรบุคคล ทำ� ให้น่าสนใจ บุคคลทัว่ ไป
อุปกรณ์ งบประมาณ - เดิมมแี พค็ เก็จรายยอ่ ย เชน่ ตรวจฟนั ตรวจ
กระดกู แผนไทย

กลมุ่ ท่ี 2 : ผู้จัดการศนู ย์สุขภาพดี วัยท�ำงาน (โรงพยาบาลชุมชน)

รปู แบบการบริหารจดั การศูนยฯ์ แนวทางการปรับปรุงการด�ำเนินงาน/ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม
ทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ท รพ.และพ้ืนที่ ข้อเสนอแนะ

- เตรยี มด�ำเนินงานจากทรัพยากรเดิมที่มี 2. เพมิ่ ศักยภาพของบุคลกร ■ หากปลดล็อกเรื่องการเบิกจ่ายจากสิทธิอื่นๆ
3. การบริหารจัดการศูนย์ โดยมีผู้รับผิดชอบหลัก 3. ขอการสนับสนุนงบประมาณในด้านสถานที่ เชน่ ประกนั สงั คม ทน่ี อกเหนอื จากสทิ ธขิ า้ ราชการ
เป็นผู้น�ำเสนอโครงการการจัดตั้งศูนย์ให้อยู่ใน อุปกรณ์ และบคุ ลากร จะท�ำให้สามารถหารายไดเ้ ขา้ รพ.ได้
แผนยทุ ธศาสตร์ของ รพ. ■ รพ.ชุมชนมีปัญหาเร่ืองการไม่สามารถเบิกจ่าย
- ผู้รับผดิ ชอบน�ำเสนอ ผอ.โดยผ่านการเสนอให้ ในการตรวจคดั กรองความเสย่ี ง เนือ่ งจากเกณฑ์
เขา้ แผนยทุ ธศาสตร์ รพ. ไม่ให้ รพ.ลูกขา่ ยเบิกจา่ ย ทำ� ใหม้ ปี ญั หาระบบท่ี
- ส�ำรวจทรัพยากรท่มี ีอยูเ่ ดมิ เพ่อื น�ำทรพั ยากร ไมส่ ามารถคียเ์ บิกได้
ท่ีมีมาใช้ ถอดบทเรยี น ศูนยส์ ขุ ภาพดวี ยั ท�ำ งาน (Wellness Center) 105

กลุ่มท่ี 3 : เทคนิคบริการ A 106 ถอดบทเรยี น ศนู ยส์ ุขภาพดีวยั ท�ำ งาน (Wellness Center)

วิธี/เทคนิคการจัดบริการของศนู ย์ แนวทางการปรับปรุงการจัดบรกิ าร/ ข้อคดิ เหน็ เพมิ่ เติม
ข้อเสนอแนะ

■ ในกรณีทมี่ คี วามพร้อมและจัด Package จะจดั
บริการท่ีครบวงจร (One stop service) ให้
บรกิ ารครบในจุดเดยี วโดย มกี ระบวนการ ดังนี้ 1. มีนโยบายที่ชัดเจนผู้บริหารโรงพยาบาลให้การ
- ค้นหา/คัดกรองผ่านการตรวจสุขภาพ หรือ สนับสนุน
การทดสอบสมรรถนะทางกาย (ขึ้นอยู่กับ 2. ความพรอ้ มของเครอ่ื งมอื (ขนึ้ อยู่กับความพร้อม
ความพรอ้ มของแต่ละสถานพยาบาล) ของแต่ละโรงพยาบาล) เช่น เคร่ืองมือในการ
- หลงั จากประเมนิ สขุ ภาพแลว้ คดั แยกกลมุ่ ผปู้ ว่ ย ตรวจสุขภาพ ไมจ่ ำ� เปน็ ต้องมีเครื่องมือราคาแพง
ออกเป็น กลมุ่ ปกตใิ หค้ �ำแนะนำ� การปฏิบตั ิตวั แต่สามารถใช้ในการตรวจสุขภาพเบ้ืองต้นได้
กลมุ่ เสีย่ งแนะนำ� เบอื้ งต้นสง่ ต่อเข้าPackage/ ครอบคลุม
Program กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. การสนับสนุนจากผู้เช่ียวชาญโดยให้ขอความ
ไม่ทันแล้ว ต้องส่งไปรักษาควบคู่กับการปรับ ร่วมมือภายในโรงพยาบาลก่อน เครือข่ายใน
เปลี่ยนพฤตกิ รรม โรงพยาบาลสำ� คญั แลว้ ขยบั ประสานความรว่ มมอื
- ขั้นตอนการส่งต่อเข้า Package/Program นอกโรงพยาบาล เชน่ โรงเรียน องคก์ รปกครอง
สำ� หรบั กลมุ่ เสยี่ งจะพจิ ารณาตามปญั หาสขุ ภาพ สว่ นทอ้ งถิ่น สถานพยาบาลอนื่ ๆ (ท�ำเครอื ข่าย
เช่น การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ, ในโรงพยาบาลให้เข้มแข็งกอ่ น)
ออฟฟศิ ซินโดรม, ลดน�ำ้ หนกั -กระชับสดั สว่ น 4. มีสถานท่ีและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ
เป็นตน้ กลุ่มปว่ ยจะถกู สง่ ต่อรกั ษาตามอาการ เหมาะสม โดยผบู้ รหิ ารโรงพยาบาลใหก้ ารสนบั สนนุ
และปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมควบคไู่ ปด้วย

กล่มุ ที่ 3 : เทคนคิ บริการ A

วธิ ี/เทคนคิ การจัดบริการของศูนย์ แนวทางการปรบั ปรงุ การจัดบริการ/ ขอ้ คิดเหน็ เพ่มิ เตมิ
ขอ้ เสนอแนะ

ตวั อย่าง Program การปรบั เปล่ียนพฤติกรรม 5. การสนับสนุนการใช้แอพพลิเคช่ันติดตาม ถอดบทเรยี น ศูนยส์ ขุ ภาพดวี ยั ท�ำ งาน (Wellness Center) 107
สขุ ภาพ ของโรงพยาบาลทพั ทนั จะตอ้ งเขา้ Program ประเมินอาการผู้ป่วย
ทั้งหมด 6 คร้ัง มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 1,550 บาท มี
กระบวนการ คือ 1. ค้นหาตัวตน 2. แนะน�ำการ
รับประทานอาหาร 3. แนะน�ำการออกก�ำลังกาย
4. การหาแรงจงู ใจ 5. การตัง้ เปา้ หมาย และ 6. การ
ตดิ ตาม
ข้ันตอนการประเมนิ และติดตามผล
■ กรณีท่ียังไม่พร้อมแต่มีการจัดบริการตรวจ
สขุ ภาพประจำ� ป/ี การทดสอบสมรรถนะทางกาย
เช่น แรงบีบมือ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ
ความจปุ อดเปน็ ตน้ เพอื่ เปน็ การประเมนิ สขุ ภาพ
เบอ้ื งตน้ ว่าสุขภาพเป็นอย่างไร กระตนุ้ ให้คนมา
สนใจ-ใส่ใจเร่ืองสุขภาพ โดยจะท�ำการประเมิน
และให้ค�ำปรึกษารายบคุ คล
■ จัดโปรแกรมให้เหมาะสมของแต่ละบุคคล
โดยพิจารณาจากปญั หาด้านสขุ ภาพ เช่น การ
ควบคุมอาหารและการออกก�ำลังกายควบคู่กัน
เปน็ ตน้

กลุ่มท่ี 3 : เทคนคิ บรกิ าร A แนวทางการปรบั ปรุงการจดั บรกิ าร/ ข้อคดิ เหน็ เพมิ่ เตมิ 108 ถอดบทเรยี น ศนู ยส์ ุขภาพดีวยั ท�ำ งาน (Wellness Center)
ข้อเสนอแนะ
วิธี/เทคนิคการจัดบรกิ ารของศูนย์
■ การประเมนิ ตดิ ตามและใหค้ ำ� ปรกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ทั้งน้ีความถ่ีการติดตามขึ้นอยู่กับปัญหาสุขภาพ
และความสามารถในการจัดการตนเองเช่น
เดือนละครั้งสามเดือนคร้ัง ซึ่งการติดตามเป็น
ปัจจัยส�ำคัญท่ีจะท�ำให้ผู้รับบริการสามารถปรับ
เปลีย่ นพฤติกรรมไดส้ ำ� เรจ็
■ ผู้จัดบริการต้องมีความใส่ใจในการให้บริการ
มีเทคนิคสร้างจูงใจและให้ก�ำลังใจผู้รับบริการ
เพ่ือสร้างแรงกระตุ้นน�ำมาสู่การปรับเปล่ียน
พฤตกิ รรม
■ ในกรณีกลุ่มเป้าหมายคือเจ้าหน้าท่ีจะการ
ทำ� งานเชงิ รกุ โดยให้บริการตรวจสุขภาพถงึ ท่ี
■ ความพร้อมของสถานท่ีและการจัดบรรยากาศ
ให้ผอ่ นคลาย
■ ใช้แรงสนับสนุนในครอบครวั สงั คม เพือ่ น มีการ
แลกเปลย่ี น พูดคยุ ผ่าน Line group

กลุม่ ท่ี 4 : เทคนคิ บริการ B

วธิ ี/เทคนคิ การจัดบริการของศูนย์ แนวทางการปรบั ปรงุ การจัดบริการ/ ข้อคิดเห็นเพมิ่ เตมิ
ขอ้ เสนอแนะ

1. Model การท�ำงานท่ีมีคุณภาพ คือการจัด ■ ควรจัดให้มีการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้การ ถอดบทเรยี น ศูนยส์ ขุ ภาพดวี ยั ท�ำ งาน (Wellness Center) 109
Package และการจัดโครงการ สำ� หรับผู้เขา้ รบั การ ดำ� เนินงานของศูนย์
บริการ โดย Package แบ่งเปน็ 2 รปู แบบ คอื ■ ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา
1.1 แบบสำ� หรับสง่ เสริมสุขภาพ เหมาะส�ำหรบั ■ การประชาสมั พันธ์และการตลาดเพอ่ื สขุ ภาพ
ผทู้ ร่ี กั ษาสขุ ภาพ ปอ้ งกนั ความเสยี่ งจากการเกดิ ปญั หา ■ ความรู้ด้านโภชนาการ
สขุ ภาพ เปน็ การใหบ้ รกิ ารรายบคุ คล ลกุ คา้ สว่ นใหญ่ ■ ส่งเสริมใหม้ ีบคุ ลากรประจำ� ศนู ยเ์ พ่มิ
เกดิ ขนึ้ จากความสมคั รใจ และสามารถเลอื ก รปู แบบ ■ พัฒนาหรือจัดท�ำหลักสูตรนักการตลาดเพื่อ
ตามความต้องการของตนเอง ลักษณะของการจัด สขุ ภาพเบอ้ื งตน้
Package จะมีโปรแกรมเฉพาะตามบริบทของสถาน ■ ส่งเสริมให้มีอุปกรณีการออกก�ำลังกายท่ีได้
ดูแล มีท้ังโปรแกรมการออกก�ำลังกาย โปรแกรม มาตรฐานเพิม่ ข้ึน
ดูแลสัดส่วน โปรแกรมลดน�้ำหนักเป็นต้น ภายใน ■ ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริหารองค์กร
โปรแกรมทงั้ การใหค้ ำ� ปรึกษา และการมีเทรนเนอร์ เห็นความส�ำคัญการจัดตั้งและการด�ำเนินงาน
ดูแลการออกก�ำลังกาย ลูกค้าที่เข้ารับบริการมีท้ัง ของศนู ย์
กลมุ่ เจา้ หนา้ ทแี่ ละประชาชนทวั่ ไปทเ่ี ขา้ มาใชบ้ รกิ าร
ฟติ เนสของศูนย์ และลกู คา้ ที่มาจากการเข้าไปตรวจ
สขุ ภาพในสถานประกอบการของโรงพยาบาล

กลุ่มท่ี 4 : เทคนิคบรกิ าร B แนวทางการปรับปรุงการจัดบริการ/ ขอ้ คดิ เหน็ เพิม่ เติม 110 ถอดบทเรยี น ศนู ยส์ ุขภาพดีวยั ท�ำ งาน (Wellness Center)
ข้อเสนอแนะ
วธิ ี/เทคนคิ การจดั บรกิ ารของศูนย์
1.2 Package สำ� หรบั การรักษาเปน็ Package
ท่ีมุ่งให้บริการแก่ผู้ที่ประสบปัญหาความเจ็บป่วย
แล้ว ซึ่งเปน็ ทางเลอื กหนึง่ สำ� หรบั การรกั ษาควบคู่ไป
กับการดแู ลของหมอและพยาบาล ผใู้ ช้ Package
แบบนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยท่ีส่งต่อมาจากหมอและ
พยาบาล และผปู้ ว่ ยทเี่ ขา้ มาขอคำ� แนะนำ� ในการดแู ล
ตนเองจากอาการป่วยซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยจาก
อาการออฟฟติ ซนิ โดม และผู้ป่วยทีต่ อ้ งได้รบั การทำ�
กายภาพบ�ำบดั การจดั Package ในกลุม่ นส้ี ว่ นใหญ่
จะมกี ารปรึกษาเคสร่วมระหวา่ งแพทย์ พยาบาลกบั
ศูนย์ วา่ ผปู้ ว่ ยควรใช้ Package ในการดแู ลรปู แบบ
ใด ซงึ่ การให้บรกิ ารมกั เปน็ Package ผสมระหว่าง
หนว่ ยงานตา่ งๆ ของโรงพยาบาล เช่น งานแพทย์
แผนไทย งานโภชนาการ งานกายภาพบำ� บดั เปน็ ตน้
■ ขอ้ ดขี องการจดั Package คือ ผู้เข้าบรกิ าร
สามารถเลือกรับบริการได้ตามความสนใจ
และสามารถเลือกค่าใช้จ่ายได้ตามความ
สะดวกของตนเอง เห็นบริการและก�ำหนด
การรบั บริการอย่างชัดเจน

กลุ่มท่ี 4 : เทคนิคบริการ B แนวทางการปรับปรงุ การจัดบริการ/ ข้อคิดเห็นเพ่ิมเตมิ
ขอ้ เสนอแนะ
วธิ ี/เทคนิคการจดั บริการของศูนย์
■ ขอ้ จำ� กัดของการบริการแบบ Package คือ ถอดบทเรยี น ศูนยส์ ขุ ภาพดวี ยั ท�ำ งาน (Wellness Center) 111
การใหบ้ รกิ ารขาดความยดื หยนุ่ การรบั บรกิ าร
ตามรปู แบบท่ีจดั ไว้ให้ ถ้าตอ้ งการเพิ่มเตมิ จะ
ตอ้ งเลอื ก Package อนื่ ๆ เสรมิ บางหนว่ ยงาน
ท่ีอุปกรณ์ฟิตเนสไม่พร้อม ไม่สามารถท�ำ
Package ทีห่ ลากหลายได้
2. การจัดบริการแบบโครงการ เป็นการจัดบริการ
ภายใต้โครงการของโรงพยาบาล เป็นการท�ำงาน
บูรณาการร่วมกันของศูนย์และหน่วยงานต่างๆ
ของโรงพยาบาล มีท้ังการให้บริการแก่เจา้ หนา้ ทใี่ น
โรงพยาบาล และหน่วยงานอื่นๆ ท้ังในส่วนของ
ผ้ปู ระกอบการภาครฐั และเอกชน
การให้บริการแบบโครงการถือได้ว่าเป็นการ
ใหบ้ รกิ ารแบบเชงิ รกุ มคี วามชดั เจนในเปา้ หมายของ
การด�ำเนินโครงการ ระบุผู้เข้าร่วมและผู้มีส่วน
เก่ียวข้องในการด�ำเนินโครงการได้อย่างชัดเจน
การจดั บรกิ ารแบบโครงการสามารถขอความรว่ มมอื
ในการด�ำเนินงานจากหน่วยงานได้อย่างหลากหลาย
ช ่ ว ย ใ ห ้ ผู ้ ด� ำ เ นิ น ง า น ล ด ภ า ร ะ ใ น ก า ร ติ ด ต า ม

กลมุ่ ท่ี 4 : เทคนคิ บริการ B แนวทางการปรบั ปรุงการจัดบรกิ าร/ ข้อคิดเห็นเพิม่ เตมิ 112 ถอดบทเรยี น ศนู ยส์ ุขภาพดีวยั ท�ำ งาน (Wellness Center)
ขอ้ เสนอแนะ
วธิ /ี เทคนิคการจัดบริการของศูนย์
ประชาสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมโครงการ นอกจากน้ันการ
ให้บริการแบบโครงการสามารถจัดท�ำโครงการที่
ตอบสนองนโยบายของทางโรงพยาบาลและหนว่ ยงาน
ที่เก่ียวข้องได้ ท�ำให้ไม่เพ่ิมภาระการท�ำงานของ
เจา้ หน้าท่ี ตวั อย่างเชน่ โครงการลด แลกไข่ เป็น
โครงการสง่ เสรมิ สุขภาพของวยั ท�ำงาน ท่ีตอบโจทย์
การส่งเสริมสขุ ภาพของเจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาล ตาม
นโยบายของผบู้ รหิ ารและหนว่ ยงาน ซงึ่ เจา้ หนา้ ทข่ี อง
โรงพยาบาลทีต้องเข้ารับการตรวจโรคประจ�ำปีจะ
ต้องเข้าร่วมโครงการรักษาสุขภาพและลดน้�ำหนัก
ตนเอง ผ่านกิจกรรมขงโครงการ
ขอ้ ดขี องการดำ� เนนิ งานโครงการ คอื มตี วั ชว้ี ดั
เป้าหมาย ในการด�ำเนินกิจกรรมท่ีชัดเจน สร้าง
วัฒนธรรมการออกก�ำลังกายและการดูแลรักษา
สุขภาพในองคก์ รได้
ขอ้ จำ� กัดการดำ� เนินงาน คอื งบประมาณและ
กลไกในการขับเคลื่อนโครงการให้ด�ำเนินการอย่าง
ต่อเนือ่ งและมอี ิมแพค็ ตอ่ ไป

กล่มุ ท่ี 5 : เทคนิคบรกิ าร C

วิธี/เทคนคิ การจัดบรกิ ารของศูนย์ แนวทางการปรับปรงุ การจัดบรกิ าร/ ขอ้ คิดเห็นเพ่มิ เตมิ
ขอ้ เสนอแนะ
■ เทคนิคการจดั การศนู ย์ มี 2 เรื่องหลักท่ีต้องให้ ■ มีบุคลากรที่เช่ียวชาญ เช่น มีนักวิทยาศาสตร์ มีการยกตัวอย่างการให้บริการของโรงพยาบาล
ความสำ� คัญ การกีฬาคอยแนะน�ำวิธีใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ทัพทนั ทีเ่ ป็นระบบ ดงั น้ี
1. เสนอการจดั การในรปู แบบทมี งาน ทปี่ ระกอบ ต่างๆ (สร้างความมั่นใจให้ผู้รับบริการว่าออก 1) ตรวจสุขภาพประจ�ำปี แบ่งออกเปน็ รายทมี และ
ไปด้วย แพทย์ นักกายภาพ พยาบาล ก�ำลังกายแล้วจะไม่ได้รับอาการบาดเจ็บหรือ รายเดี่ยว
นักวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า นกั โภชนาการ ทนั ตแพทย์ ออกกำ� ลังกายแล้วได้ผลตามความตอ้ งการ) 2) คดั กรองโดยทีมตรวจสขุ ภาพจดั ใหม้ ีการท�ำแบบ
แพทยแ์ ผนไทย นกั ประชาสมั พนั ธ/์ นกั การตลาด ■ หากไม่สามารถจัดหาผู้เชี่ยวชาญได้หรือการจ้าง สอบถาม วัดความดัน/น�้ำหนัก/ส่วนสงู ทดสอบ
นกั จิตเวช ผู้เช่ยี วชาญเรือ่ งไอที และเภสัชกร งานมีค่าใช้จ่ายสูง อาจส่งเจ้าหน้าท่ีในสังกัดตน สมรรถภาพ และ In body
(กรณที จ่ี �ำเปน็ ตอ้ งใช้)หากบคุ ลากรทกี่ ลา่ วมา ไปอบรมเพิ่มเติมความรู้ให้เกิดความเช่ียวชาญ 3) เข้าห้องให้ค�ำปรึกษา โดยมีพยาบาลวิชาชีพ
ข้างต้นไม่สามารถมารวมกลุ่มเป็นทีมงานได้ ตอ่ ไป นกั วิทยฯ์ นกั กายภาพ อน่ื ๆ คอยใหบ้ รกิ าร
ครบถ้วน อย่างน้อยที่สุดควรจะมี แพทย์ ■ มีงบประมาณท่ีเพียงพอต่อการพัฒนาสถานที่ 4) แยกผ้รู บั บริการได้เป็น ถอดบทเรยี น ศูนยส์ ขุ ภาพดวี ยั ท�ำ งาน (Wellness Center) 113
นักวิทยาศาสตร์ พยาบาล และนักโภชนาการ มเี ครื่องมอื เคร่อื งใชท้ ่ไี ด้มาตรฐาน (ไม่ก่อให้เกิด 4.1 กรณีปกติ สง่ กลบั และตดิ ตามการคัดกรอง
1) เสนอรูปแบบการใหบ้ ริการ อาการบาดเจ็บจากการใช้เครอ่ื งมือทช่ี ำ� รุด) และ ใหม่ ทุกๆ 1 ปี
- แบ่งกลุ่มผู้รับบริการออกเป็นสองกลุ่ม เจา้ หนา้ ทตี่ ้องพรอ้ มทีจ่ ะให้บรกิ าร 4.2 กรณมี คี วามเสยี่ ง สง่ ไปยงั ผเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะ
คือ กลุ่มผู้ป่วย และกลมุ่ อ่ืนๆ ■ สถานทแี่ ละเวลาทใี่ หบ้ รกิ ารตอ้ งเออ้ื ตอ่ การเขา้ ถงึ ทาง
- ควรดำ� เนนิ การแบบOneStopService บริการไดจ้ ริง 4.3 กรณปี ว่ ย เขา้ รบั การรักษาตามระบบตอ่ ไป
และหน่วยงานท่ีให้บริการต้องเชื่อมโยง ■ จากแนวคิดการจัดบริการโดยโรงพยาบาล
การท�ำงานเข้าไวด้ ้วยกัน น�ำร่อง ควรขยายบริการต่อไปยังโรงพยาบาล
■ เทคนคิ ในการให้บรกิ าร ประจ�ำอ�ำเภอ เพ่ือส่งสุขภาพดีไปให้ทุกคนได้
1) สร้างบรรยากาศและแรงจูงใจในการ ทั่วถึงมากยง่ิ ขึน้
สง่ เสรมิ การสรา้ งสขุ ภาพทดี่ ี เชน่ เจา้ หนา้ ท่ี
ผู้ให้บริการสามารถแต่งชุดกีฬามา
ท�ำงานได้
2) นโยบายของผู้บริหารในการส่งเสริม
การดูแลสุขภาพ

กลุ่มที่ 5 : เทคนคิ บริการ C แนวทางการปรับปรุงการจดั บริการ/ ข้อคิดเหน็ เพิม่ เติม 114 ถอดบทเรยี น ศนู ยส์ ุขภาพดีวยั ท�ำ งาน (Wellness Center)
ขอ้ เสนอแนะ
วธิ /ี เทคนิคการจดั บรกิ ารของศนู ย์
3) มีเครื่องไม้เครื่องมือที่พร้อมส�ำหรับ
ใชง้ าน หรอื สามารถสร้างเคร่อื งมือเพ่อื
ช่วยในการออกก�ำลังได้เองจากวัสดุท่ี
หาไดง้ า่ ยในทอ้ งตลาด
4) มีการประชาสัมพันธ์ที่ครบถ้วนและ
ตอ่ เนือ่ ง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การแนะนำ�
Package ที่ครอบคลมุ มีการอธิบาย
อย่างชัดเจนว่าการตรวจในแต่ละครั้ง
ผู้รับบริการจะได้อะไร มีการดูแลหลัง
การเข้ารับบริการ สรา้ งกระแสใหม้ ีการ
พูดถึง Package อย่างเป็นการทั่วไป
ทงั้ แบบปากตอ่ ปาก เสนอผา่ นเจา้ หนา้ ที่
อสม. หรือสื่อออนไลน์ตา่ งๆ ทั้งเฟสบ๊คุ
ยทู ปู เป็นต้น
5) โปรแกรมที่ให้บริการต้องมีความหลาก
หลาย ตอบโจทย์ความต้องการของ
ผรู้ บั บริการอยา่ งครบถ้วน
6) มกี จิ กรรมสง่ เสรมิ หรอื สรา้ งแรงจงู ใจใหเ้ ขา้
รับบรกิ ารเพม่ิ เตมิ เช่น กิจกรรมแลกไข่
7) ในกรณีการใช้ห้องออกก�ำลังกาย อาจ
ก�ำหนดให้ญาติเข้ารับบริการได้โดยไม่
เสียคา่ ใชจ้ ่ายแต่อยา่ งใด

ถอดบทเรยี น ศนู ย์สขุ ภาพดีวยั ท�ำ งาน (Wellness Center) 115

สรุป

จากรปู แบบการบรหิ ารจดั การศูนย์ตามท่ไี ดม้ กี ารนำ� เสนอมา แสดงให้เหน็ อย่าง
ชัดเจนว่า เป็นเรื่องที่ท�ำได้และไม่ยากเกินไป อย่างไรก็ดี การบริหารจัดการต้องมีความ
ชัดเจนต่อเนื่อง และสร้างแรงจูงใจให้ผู้รับบริการเห็นว่าเป็นเรื่องท่ีใกล้ตัว รวมท้ังมีการ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านรว่ มดว้ ยเสมอ นอกจากน้ยี งั มขี ้อเสนอแนะทคี่ วรน�ำมาพจิ ารณา
ดังต่อไปนี้
1. ควรเพม่ิ ความหลากหลายของ Package ใหม้ ากขนึ้ เชน่ สำ� หรบั กลมุ่ คนทำ� งาน
ทมี่ ปี ญั หา Office Syndrome คนอ้วน เป็นต้น ส�ำคญั คอื ต้องมผี ู้รบั ผดิ ชอบและบริหาร
จัดการให้เกิดความต่อเน่อื ง
2. การประชาสมั พันธ์ ควรเพิ่มช่องทางผา่ นสื่อออนไลน์ต่างๆ แอปพลเิ คช่ัน ที่
เข้าถงึ และเข้าใจงา่ ย
3. เชญิ ชวนให้เขียนเกรด็ เลก็ ๆ เพ่ือนำ� ไปเผยแพร่ให้กวา้ งขวางขึน้ โดยทางศนู ย์
จะเปน็ สอ่ื กลางในการเผยแพรใ่ ห้
เป้าหมายของการท�ำงานหรอื มมุ มองทม่ี ีตอ่ งานนใี้ นอนาคต
1. ความต้องการท่ีจะให้ทุกอ�ำเภอหรือท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการสร้างศูนย์ให้
ครอบคลุมย่ิงขึน้ โดยเห็นว่ากิจกรรมบางอย่างไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งท�ำในโรงพยาบาลเทา่ นัน้ อาจ
ขยายงานออกไปโดยใช้สถานที่อ่ืนได้ เหตุผลท่ีเร่ิมต้นที่โรงพยาบาลเพราะเป็นผู้เช่ือมต่อ
และเป็นสัญลกั ษณส์ �ำหรบั การส่งเสริมสขุ ภาพดใี ห้เกดิ ข้ึนได้
2. มีแนวโน้มจะขยายกลุ่มท่ีจะท�ำ เช่น ประชาชนท่ัวไป หรือกลุ่มอาชีพอ่ืน
นอกเหนอื จากบุคลากรในโรงพยาบาล
3. มกี ารอัพเดทขา่ วสารและข้อมลู สำ� คัญในเว็บไซต์

116 ถอดบทเรยี น ศูนย์สขุ ภาพดวี ยั ท�ำ งาน (Wellness Center)

จากบทเรียนที่สกัดจากประสบการณ์ของบุคลากรสุขภาพในโรงพยาบาลที่น�ำ
แนวคดิ การจดั ตงั้ ศนู ยส์ ขุ ภาพดสี กู่ ารปฏบิ ตั ิ เพอื่ ใหเ้ ปน็ จดุ บรกิ ารสำ� หรบั ประชาชนวยั ทำ� งาน
ท่ียังไม่ป่วยอย่างต่อเนื่องเพ่ือดูแลสุขภาพให้แข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดีตามวัย สามารถ
สรปุ ได้ถงึ หลักสำ� คัญในการด�ำเนนิ งานจดั ต้ังศูนย์สขุ ภาพดีดงั นี้
1. การบรหิ ารจดั การศนู ยส์ ขุ ภาพดีวัยทำ� งาน ได้กำ� หนดรูปแบบการด�ำเนนิ งาน
และบรหิ ารจัดการเปน็ ลักษณะทีเ่ ป็นองค์รวม มงุ่ เนน้ การทำ� งานทง้ั เชงิ รุกและเชิงรับ เปน็
หนว่ ยให้บรกิ ารผสมผสานทุกด้าน สามารถสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนอยากมาใชบ้ รกิ ารท่ี
สะดวกไดท้ ้ังในและนอกเวลาราชการ มีทั้งท่ีเป็นลักษณะจดั บรกิ ารในสถานพยาบาล และ
ลกั ษณะท่เี ปน็ ชดุ บรกิ ารคลินิก และให้มีการจดั ต้ังคณะท�ำงานฯ และการจัดหางบประมาณ
ในการด�ำเนนิ การ สว่ นใหญง่ บท่ีน�ำมาใชไ้ ด้มาจากเงินบำ� รุงโรงพยาบาล งบ Non-UC
2. Core team มีหวั หนา้ กลุม่ งานบริการทางการแพทย์ เปน็ หวั หนา้ ทมี เพื่อเป็น
แกนหลกั รบั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ งานศนู ยฯ์ และสรา้ งทมี ทำ� งาน ประกอบดว้ ย นกั วทิ ยาศาสตร์
การกฬี า แพทย์ นักวชิ าการสาธารณสุข นักกายภาพบ�ำบัด นักการแพทยแ์ ผนไทย นกั -
โภชนาการ นกั จติ วทิ ยา และบูรณาการและการมีส่วนร่วมกบั คลนิ ิกอ่ืนๆ ในโรงงพยาบาล
และภาคท้องถิ่น เพอ่ื ให้เกิดความเชื่อมโยงและงา่ ยตอ่ การดำ� เนนิ งาน
3. การจดั บรกิ ารหรอื ใหบ้ ริการศูนย์ สว่ นใหญ่มาจากการตรวจสขุ ภาพประจ�ำปี
และจ�ำแนกกลุ่มเป้าหมาย เช่น กลุ่มเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล กลุ่มสถานประกอบการ/
โรงงาน กลุ่มปกติ กลุม่ เส่ยี ง กลุม่ ปว่ ย เป็นต้น และจัด Package ส่งเสรมิ สุขภาพใหเ้ ปน็
ท่ีน่าสนใจ รับบริการอย่างต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมการสอนโยคะ แอโรบิก โปรแกรมลด
น�้ำหนัก เป็นต้น รวมถึงการสร้างเทคนิคเครือข่ายลงพื้นที่ชุมชน โรงงาน ซึ่งเป็นการ
ดำ� เนนิ งานเชิงรุก

ถอดบทเรียน ศูนย์สุขภาพดวี ัยทำ�งาน (Wellness Center) 117

ภาคผนวก

รายช่ือกล่มุ ที่ 1 : กลุ่มผ้จู ดั การศนู ย์สขุ ภาพดวี ัยท�ำงาน รพศ./รพท. ประกอบดว้ ย

ผูบ้ นั ทกึ กลมุ่ ยอ่ ย นางสาวรัตนติกา เพชรทองมา

1. นางอารยี ์ รามโกมุท พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการ
สถาบันบ�ำราศนราดูร
2. น.ส.เดอื นเพญ็ บญุ เปรม พยาบาลวชิ าชีพช�ำนาญการ
สถาบันราชประชาสมาสยั
3. น.ส.ศภุ ลกั ษณ์ ราตรีพรทิพย ์ นกั วชิ าการสาธารณสุข รพ.อุตรดิตถ์
4. น.ส.อรพนิ กจิ ลิขติ พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการพิเศษ
รพ.พทุ ธชนิ ราช พิษณโุ ลก
5. น.ส.สิรลิ กั ษณ์ บุญประกอบ พยาบาลวชิ าชีพชำ� นาญการพเิ ศษ
รพ.หนองคาย
6. นางระวกี ุล องึ้ สวัสด์ ิ พยาบาลวชิ าชีพชำ� นาญการ
รพ.พุทธโสธร
7. นางสายฝน วิจิตรจนิ ดา นักวชิ าการสาธารณสขุ รพ.พุทธโสธร
8. น.ส.กนั ยารัตน์ เกตรามฤทธ ิ์ พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการ รพ.สมุทรสาคร
9. นางปิ่นปลิ นั ยน์ พรหมสวุ รรณ พยาบาลวิชาชพี ชำ� นาญการ รพ.พระนัง่ เกล้า
10. นางดารารตั น์ พวงเกษม พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการ รพ.พระนัง่ เกล้า

118 ถอดบทเรียน ศูนย์สุขภาพดีวยั ทำ�งาน (Wellness Center)

รายชอ่ื กลุ่มท่ี 2 : กลมุ่ ผจู้ ดั การศนู ย์สขุ ภาพดีวัยทำ� งาน โรงพยาบาลชมุ ชน ประกอบด้วย
ผ้บู นั ทกึ กลุ่มยอ่ ย นางสาวปวีณา รงุ่ เครอื
1. นางลาวลั ย์ ประสงคด์ ี พยาบาลวชิ าชีพชำ� นาญการ รพ.ทัพทนั
2. น.ส.สุนันทา เหมรตั น ์ นายแพทย์ปฏบิ ตั ิการ รพ.บางเลน
3. นางกรรณิกา กลัดเกลา้ พยาบาลวิชาชพี ชำ� นาญการ รพ.นภาลัย
4. น.ส.ศชุ ญา แก้วสกลุ ทอง พยาบาลวิชาชพี ชำ� นาญการ รพ.ชัยบรุ ี
5. นางบษุ ยา อดุ มสุวรรณกุล พยาบาลวิชาชพี ชำ� นาญการ รพ.กาญจนดิษฐ์
6. นางวีระนนั ท์ ศิลปะระเสรฐิ พยาบาลวิชาชพี ชำ� นาญการ รพ.พนมสารคาม
7. นางสินลี กั ษณ์ จิรสตั ย์สนุ ทร นวก.สธ.ชำ� นาญการพิเศษ รพ.กาญจนดษิ ฐ์

รายชือ่ กลุม่ ท่ี 3 : เทคนิคบริการ A

ผู้บันทกึ กลมุ่ ย่อย นางสาวลัดดา วิไลศรี

1. นายเกียรติศกั ดิ์ แหลมจริง นักโภชนาการ สถาบันบำ� ราศนราดรู
2. น.ส.วิภารตั น์ ลวดเจริญ นักโภชนาการปฏิบตั กิ าร สถาบนั ราชประชาสมาสยั
3. น.ส.เจนจิรา ทัศนราพันธ ์ พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ัติการ รพ.อตุ รดิตถ์
4. นางวชิราภรณ์ ศรภี ักดี นกั โภชนาการ รพ.หนองคาย
5. น.ส.จติ ราภรณ์ ธฎั อนันต ์ พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการ รพ.สมุทรสาคร
6. วา่ ท่ี ร.ต.ธนันพัชร อัมรนันท ์ นกั วิชาการสาธารณสุข รพ.ทพั ทัน
7. นางสรุ สิ า เกาะกลาง พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการ รพ.ชยั บรุ ี

ถอดบทเรียน ศนู ยส์ ขุ ภาพดวี ัยท�ำ งาน (Wellness Center) 119

รายชอ่ื กลุม่ ที่ 4 : เทคนิคบรกิ าร B

1. นายอทิ ธภิ าสร์ วาเยน็ นกั กายภาพบำ� บดั ปฏบิ ัติการ สถาบันบ�ำราศนราดรู
2. นายวรชาติ ถัดหลาย พยาบาลวิชาชพี ชำ� นาญการ สถาบนั ราชประชาสมาสยั
3. นางจิรวรรณ โปรดบ�ำรงุ นกั กายภาพบำ� บดั ช�ำนาญการพเิ ศษ
รพ.พทุ ธชนิ ราช พษิ ณุโลก
4. น.ส.กญั ญาภทั ร จนั ทรห์ อม นักวชิ าการสาธารณสขุ รพ.สมุทรสาคร
5. นายวรวุฒิ ศรีบรรเทา นกั วิชาการสาธารณสุข รพ.บางเลน
6. นางสนุ ทร นอ้ ยกาศวนะ พยาบาลวิชาชพี ชำ� นาญการ รพ.นภาลยั
7. น.ส.อรนชุ บวั พรหม นกั วิชาการสาธารณสุข รพ.บางเลน
8. น.ส.ธษั กร ยืนยง พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการ รพ.พนมสารคาม
9. นางบษุ บา อดุ มสวุ รรณกลุ พยาบาลวชิ าชีพ รพ.กาญจนดิษฐ์


รายชอื่ กลุ่มท่ี 5 : เทคนคิ บริการ C

ผ้บู ันทกึ กลุม่ ย่อย นางสาวนฤมล ขณะรตั น์

1. น.ส.สุกัญญา เทย่ี วค�ำดี พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการ
สถาบันราชประชาสมาสัย
2. น.ส.วภิ าวดี ศรมี า เภสชั กรช�ำนาญการ
รพ.พทุ ธชินราช พิษณโุ ลก
3. นางชุลีพร สิงห์ประเสริฐ พยาบาลวชิ าชีพชำ� นาญการ รพ.หนองคาย
4. น.ส.เบญจา พุ่มแจง้ ผ้ชู ว่ ยพนักงานสขุ ศึกษา รพ.ทัพทัน
5. น.ส.สุกญั ญา เป็งพาวร นกั วชิ าการสาธารณสุข รพ.บางเลน
6. นางณัฐวรรณ เลก็ เจริญ นกั กายภาพบำ� บดั ชำ� นาญการ รพ.นภาลัย
7. นายดรุ ยิ างค์ วาสนา นกั วชิ าการสาธารณสขุ รพ.กาญจนดิษฐ์
8. นายวริ ฬุ วเิ ศษกลุ นกั วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา รพ.พนมสารคาม




Click to View FlipBook Version