The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๐๐๐๑๓๖ ภาษาบาลี(Pali)-๗

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thammajare59, 2022-06-02 01:01:21

๐๐๐๑๓๖ ภาษาบาลี(Pali)-๗

๐๐๐๑๓๖ ภาษาบาลี(Pali)-๗

องค์ประกอบของนามศัพท์ (วภิ ัตต-ิ การแจกนามศัพท์ตามหน้าท่ี) ต่อ

⚫ หน้าทแ่ี ละวธิ ีการใช้ ปฐมาวภิ ัตติ

⚫ เป็ นประธาน ในประโยคกตั ตุวาจก แปลว่า อ. (อนั ว่า....)

⚫ สพพฺ ทาน ธมฺมทาน ชินาต.ิ อ.ธรรมทาน ยอ่ มชนะ ซ่ึงทานท้งั ปวง.

⚫ เป็ นประธาน ในประโยคกมั มวาจก แปลว่า อ. (อนั ว่า....)

⚫ วนิ โย พทุ ฺเธน ปญฺญตฺโต. อ.พระวนิ ยั อนั พระพทุ ธเจา้ บญั ญตั ิแลว้ .

⚫ ธมฺโม พทุ ฺเธน เทสิโต. อ.พระธรรม อนั พระพทุ ธเจา้ แสดงแลว้ .

⚫ เป็ นประธาน ในประโยคเหตุกตั ตุวาจก แปลว่า อ. (อนั ว่า....)
⚫ วสิ าขา ถปติโน ปุพฺพาราม กาเรติ. อ.นางวสิ าขา ยงั นายช่าง ท. ยอ่ มใหส้ ร้าง ซ่ึงวดั ปุพพาราม.

⚫ เป็ นประธาน ในประโยคเหตุกมั มวาจก แปลว่า อ. (อนั ว่า....) ยงั นายช่าง ท.

⚫ วสิ าขาย ถปตโิ น ปุพฺพาราโม การาปิ ยตฺถ. อ.วดั ปุพพาราม อนั นางวสิ าขา
ใหส้ ร้างแลว้ .

องค์ประกอบของนามศัพท์ (วภิ ัตต-ิ การแจกนามศัพท์ตามหน้าท่ี) ต่อ

⚫ หน้าท่ีและวธิ ีการใช้ ทุติยาวภิ ัตติ

⚫ เป็ นกรรม แปลว่า ซ่ึง....
⚫ สทฺโธ ทาน เทต.ิ อ.บุคคล ผมู้ ีศรัทธา ยอ่ มถวาย ซ่ึงทาน.
⚫ เป็ นทไี่ ปถงึ แปลว่า สู่....
⚫ อริยสาวกา วหิ าร คจฺฉนฺต.ิ อ.อริยสาวก ท. ยอ่ มไป สู่วหิ าร.
⚫ เป็ นผู้ถูกใช้ให้ทา แปลว่า ยงั ....
⚫ สามิโก สูท โอทน ปาเจต.ิ อ.เจา้ นาย ยงั พอ่ ครัว ใหห้ ุงอยู่ ซ่ึงขา้ วสุก.
⚫ บอกระยะทางและเวลา แปลว่า สิ้น..., ตลอด...
⚫ ภกิ ฺขู เตมาส วสฺส อปุ วสนฺต.ิ อ.ภิกษุ ท. ยอ่ มเขา้ จาํ ซ่ึงพรรษา ตลอดไตรมาส.
⚫ ระบุถงึ คนทพี่ ูดด้วย แปลว่า กะ, เฉพาะ..

องค์ประกอบของนามศัพท์ (วภิ ัตต-ิ การแจกนามศัพท์ตามหน้าที่) ต่อ

⚫ หน้าทแ่ี ละวธิ ีการใช้ตตยิ าวภิ ตั ติ

⚫ เป็ นวตั ถุเคร่ืองมือในการทา แปลว่า ด้วย...
⚫ ถปติ ผรสุนา รุกฺข ฉินฺทต.ิ อ.ช่างไม้ ยอ่ มตดั ซ่ึงตน้ ไม้ ดว้ ยขวาน.
⚫ เป็ นเครื่องกาหนดกริ ิยา แปลว่า โดย..., ตาม..., ข้าง...
⚫ ปณฺฑติ า ธมฺเมน อฏฺ ฏ วนิ ิจฺฉินนฺต.ิ อ.บณั ฑิต ท. ยอ่ มวนิ ิจฉยั ซ่ึงคดี โดยธรรม.
⚫ เป็ นกตั ตุการกคือผู้ทา แปลว่า อนั ...
⚫ สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม. อ.พระธรรม อนั พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ตรัสไวด้ ีแลว้ .
⚫ เป็ นเคร่ืองแสดงเหตุผล แปลว่า เพราะ....
⚫ สตฺตา กลุ สกมฺมสฺมา สุข วนิ ฺทนฺต.ิ อ.สตั ว์ ท. ยอ่ มประสบ ซ่ึงความสุข เพราะกศุ ล

กรรม.

บทที่ ๖
การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี

⚫ นามนามปุงลงิ ค์
⚫ ในปุงลิงค์ มี ๕ การันต์ คือ อ, อิ, อี, อุ, อู
⚫ อ การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอยา่ ง ปุริส (บุรุษ)
⚫ อิ การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอยา่ ง มุนิ (ผรู้ ู้)
⚫ อี การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอยา่ ง เสฏฺฐี (เศรษฐี)
⚫ อุ การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอยา่ ง ครุ (ครู)
⚫ อู การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอยา่ ง วญิ ฺญู (ผรู้ ู้วิเศษ)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ จาก ตวั อย่างท่ี 1 จะเห็นวา่ คาํ นามคือ ปรุ ิส (บุรุษ) เมื่อนาํ ไปประกอบกบั วภิ ตั ติแลว้ จะ
มีรูปเปลี่ยนแปลงไปหลายรูป แต่ละรูปกจ็ ะมีความหมายแตกต่างกนั ดว้ ย อยา่ งน้ีเรียกวา่
การแจกวภิ ตั ติ เพ่ือความเขา้ ใจท่ีชดั เจนข้ึน ดูคาํ อธิบายการประกอบวภิ ตั ติต่อไปน้ี

⚫ เม่ือประกอบดว้ ยปฐมาวภิ ตั ติ แปลวา่ อันว่า (อ.) ทาํ หนา้ ที่เป็นประธานในประโยค เช่น

⚫ ปรุ ิโส อนั วา่ บุรุษ (อ.บุรุษ)

⚫ ปุริสา อนั วา่ บุรุษท้งั หลาย (อ.บุรุษ ท.)

⚫ ตวั อย่างประโยค

⚫ อาจริโย กเถติ อ.อาจารย์ ยอ่ มกล่าว

⚫ อาจริยา กเถนฺติ อ.อาจารย์ ท. ยอ่ มกล่าว

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ เม่ือประกอบดว้ ยทุตยิ าวภิ ัตติ แปลวา่ ซ่ึง, สู่, ยงั , สิ้น, ตลอด, กะ
ทาํ หนา้ ท่ีเป็นกรรม เช่น

⚫ ปุริส (ซ่ึงบุรุษ, สู่บุรุษ, ยงั บุรุษ, สิ้นบุรุษ ฯลฯ)
⚫ ปุริเส (ซ่ึงบุรุษ ท., สู่บุรุษ ท., ยงั บุรุษ ท. ฯลฯ)
⚫ ตวั อย่างประโยค
⚫ อาจริโย สิสฺสํ กเถติ อ.อาจารย์ ยอ่ มกล่าว กะศิษย์
⚫ อาจริยา สิสฺเส กเถนฺติ อ.อาจารย์ ท. ยอ่ มกล่าว กะศิษย์ ท.

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ เม่ือประกอบดว้ ยตตยิ าวภิ ัตติ แปลวา่ ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี
ทาํ หนา้ ท่ีเป็นเคร่ืองมือ เช่น

⚫ ปุริเสน (ดว้ ยบุรุษ, โดยบุรุษ, ตามบุรุษ ฯลฯ)
⚫ ปุริเสหิ, ปุริเสภิ (ดว้ ยบุรุษ ท., โดยบุรุษ ท. ฯลฯ)
⚫ ตวั อย่างประโยค
⚫ อาจริโย สิสฺเสน สทฺธึ กเถติ อ.อาจารย์ ยอ่ มกล่าว กบั ดว้ ยศิษย์
⚫ อาจริยา สิสฺเสหิ สทฺธึ วสนฺติ อ.อาจารย์ ท. ยอ่ มอยู่ กบั ดว้ ยศิษย์ ท.
⚫ ขอ้ สงั เกต: ตติยาวภิ ตั ติ มกั ใชค้ ูก่ บั อพั ยยศพั ท์ “สทฺธึ” (กบั , พร้อม,

พร้อมดว้ ย)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ เมื่อประกอบดว้ ยจตุตถวี ภิ ตั ติ แปลวา่ แก่, เพื่อ, ต่อ ทาํ หนา้ ที่เป็น
ผรู้ ับผลการกระทาํ เช่น

⚫ ปุริสสฺส, ปุริสาย, ปุริสตฺถ (แก่บุรุษ, เพอื่ บุรุษ, ต่อบุรุษ)

⚫ ปุริสาน (แก่บุรุษ ท., เพือ่ บุรุษ ท.ฯลฯ)

⚫ ตัวอย่างประโยค

⚫ ยาจโก โอทนสฺส ยาจติ อ.ขอทาน ยอ่ มขอ เพื่อขา้ วสุก

⚫ วาณิโช ยาจกานํ เทติ อ.พอ่ คา้ ยอ่ มให้ แก่ขอทาน ท.

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ เม่ือประกอบดว้ ยปัญจมวี ภิ ตั ติ แปลวา่ แต่, จาก, กว่า, เหตุ ทาํ
หนา้ ท่ีเป็นแดนหรือเหตุของการกระทาํ เช่น

⚫ ปุริสสฺมา, ปุริสมฺหา, ปุริสา (แต่บุรุษ, จากบรุ ุษ ฯลฯ)

⚫ ปุริเสหิ, ปุริเสภิ (แต่บุรุษ ท., จากบรุ ุษ ท. ฯลฯ)

⚫ ตัวอย่างประโยค

⚫ ปุตฺโต คามสฺมา คจฺฉติ อ.ลูกชาย ยอ่ มไป จากหมู่บา้ น

⚫ สิสฺสา อาจริเยหิ ยาจนฺติ อ.ศิษย์ ท. ยอ่ มขอ จากอาจารย์ ท.

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ เม่ือประกอบดว้ ยฉัฏฐีวภิ ตั ติ แปลวา่ แห่ง, ของ, เม่ือ ทาํ หนา้ ท่ีเป็นเจา้ ของ
เช่น

⚫ ปุริสสฺส (แห่งบุรุษ, ของบุรุษ, เม่ือบุรุษ)
⚫ ปุริสาน (แห่งบุรุษ ท., ของบุรุษ ท., เม่ือบุรุษ ท.)
⚫ ตวั อย่างประโยค
⚫ พทุ ฺธสฺส สาวโก ปสฺสติ อ.สาวก ของพระพทุ ธเจา้ ยอ่ มเห็น
⚫ วาณิชานํ ปุตฺตํ ปสฺสามิ อ.ขา้ พเจา้ ยอ่ มเห็น ซ่ึงลูกชาย ของพอ่ คา้ ท.
⚫ ขอ้ สงั เกต: ฉฏั ฐีวิภตั ติ แสดงความเป็นเจา้ ของ มกั จะวางไวห้ นา้ คาํ ที่มนั ขยาย

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ เม่ือประกอบดว้ ยสัตตมีวภิ ัตติ แปลวา่ ใน, ใกล้, ท่ี, คร้ันเมื่อ, ในเพราะ,
เหนือ, บน ทาํ หนา้ ที่เป็นสถานที่ทาํ เช่น

⚫ ปุริสสฺมึ, ปุริสมฺหิ, ปุริเส (ในบุรุษ, ใกลบ้ ุรุษ, ที่บุรุษ ฯลฯ)
⚫ ปุริเสสุ (ในบุรุษ ท., ใกลบ้ ุรุษ ท., ที่บุรุษ ท. ฯลฯ)
⚫ ตัวอย่างประโยค
⚫ วานรา รุกฺเข วสนฺติ อ.ลิง ท. ยอ่ มอยู่ บนตน้ ไม้
⚫ วาณิโช คาเมสุ ชีวติ อ.พอ่ คา้ ยอ่ มเป็นอยู่ ในหมู่บา้ น ท.

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ เม่ือประกอบดว้ ยอาลปนวภิ ตั ติ แปลวา่ แน่ะ, ดกู ่อน, ข้าแต่ ทาํ หนา้ ท่ีเป็น
คาํ ทกั ทาย เช่น

⚫ ปุริส (แน่ะบุรุษ, ดูก่อนบุรุษ, ขา้ แต่บุรุษ)

⚫ ปุริสา (แน่ะบุรุษ ท., ดูก่อนบุรุษ ท., ขา้ แต่บุรุษ ท.)

⚫ ตวั อย่างประโยค

⚫ วาณิช, ยาจโก ยาจติ ดูก่อนพอ่ คา้ , อ.ขอทาน ยอ่ มขอ

⚫ อาจริยา, พทุ ฺโธ ธมฺมํ เทเสติ ขา้ แต่อาจารย์ ท., อ.พระพทุ ธเจา้
ยอ่ มแสดง ซ่ึงธรรม

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

ศัพท์แจกตาม อ การันต์ ในปุงลงิ ค์

⚫ ขตฺติย (กษตั ริย)์ คาม (หมู่บา้ น) โจร (โจร)
⚫ ปพฺพต (ภูเขา)
⚫ ยาจก (ขอทาน) ปุตฺต (ลูกชาย, บุตร) พทุ ฺธ (พระพทุ ธเจา้ )
⚫ วาณิช (พอ่ คา้ )
⚫ สคฺค (สวรรค)์ รุกฺข (ตน้ ไม)้ โลก (โลก)
⚫ สูท (พอ่ ครัว)
⚫ หตฺถ (มือ) วานร (ลิง) สกณุ (นก)
⚫ โอทน (ขา้ วสุก)
⚫ นร (คน) สาวก (สาวก) สิสฺส (ศิษย)์

สหายก (เพ่อื น) สามิก (สามี)

อากาส (อากาศ) อาจริย (อาจารย)์

อาวาส (วดั ) ทารก (เดก็ ชาย)

มาตุล (ลงุ ) ธมฺม (พระธรรม)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ อิ การันต์ (ปุงลงิ ค์) มุนิ (ผู้รู้)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศพั ทแ์ จกตาม อิ การันต์ ในปุงลงิ ค์

⚫ กวิ (กว)ี คิริ (ภเู ขา) ชลธิ (ทะเล)
⚫ ญาติ (ญาติ) นิธิ (ขมุ ทรัพย)์ ปติ (สามี, นาย)
⚫ ปาณิ (ฝ่ ามือ) มณิ (แกว้ มณี) วหี ิ (ขา้ วเปลือก)
⚫ สารถิ (คนขบั รถ) อคฺคิ (ไฟ) อริ (ขา้ ศึก)
⚫ อหิ (งู) อิสิ (ฤาษี)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อี การันต์ ในปุงลงิ ค์ เสฏฺ ฐี (เศรษฐี)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อี การันต์ ในปุงลงิ ค์

⚫ กรี (ชา้ ง) ปาปการี (คนทาํ บาป) มนฺตี (คนมีความคิด)
⚫ สุขี (คนมีความสุข) มาลี (คนทาํ ดอกไม)้ ตปสี (คนมีตบะ)
⚫ สสี (พระจนั ทร์) เมธาวี (คนมีปัญญา) หตฺถี (ชา้ งพลาย)
⚫ ภาณี (คนช่างพดู ) ทณฺ ฑี (คนมีไมเ้ ทา้ ) สารถี (คนขบั รถ)
⚫ สิขี (นกยงู ) ปกฺขี (นก) ทีฆชีวี (คนมีอายยุ นื )

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อุ การันต์ ในปุงลงิ ค์ ภิกฺขุ (ภิกษุ, ผู้ขอ)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อุ การันต์ ในปุงลงิ ค์

⚫ ครุ (ครู) ตรุ (ไม)้ พนฺธุ (พวกพอ้ ง)
⚫ พาหุ (แขน) สตฺตุ (ศตั รู) เหตุ (เหตุ)
⚫ ริปุ (ขา้ ศึก) ปสุ (สตั วเ์ ล้ียง) ผรสุ (ขวาน)
⚫ พพฺพุ (แมว, เสือปลา) เวฬุ (ไมไ้ ผ)่ เสตุ (สะพาน)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อู การันต์ ในปุงลงิ ค์ วญิ ฺญู (ผู้รู้,วญิ ญูชน)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อู การันต์ ในปุงลงิ ค์

⚫ กตญฺญู (ผรู้ ู้บุญคุณ) ปารคู (ผถู้ ึงฝั่ง) เวทคู (ผถู้ ึงพระเวท)
⚫ สยมฺภู (ผเู้ ป็นเอง)
⚫ มตฺตญฺญู(ผรู้ ู้ประมาณ) อทฺธคู (ผเู้ ดินทาง) อภิภู (ผเู้ ป็นยง่ิ )

สพฺพญฺญู (ผรู้ ู้ทุกอยา่ ง)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ นามนามอติ ถลี งิ ค์
⚫ ในอิตถีลิงค์ มี ๕ การันต์ คือ อา, อิ, อี, อุ, อู
⚫ อา การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกอยา่ ง กญฺญา (สาวนอ้ ย)
⚫ อิ การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกอยา่ ง รตฺติ (ราตรี)
⚫ อี การันตใ์ นอิตถีลิงค์ แจกอยา่ ง นารี (นาง)
⚫ อุ การันตใ์ นอิตถีลิงค์ แจกอยา่ ง รชฺชุ (เชือก)
⚫ อู การันตใ์ นอิตถีลิงค์ แจกอยา่ ง วธู (หญิงสาว)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อา การันต์ ในอติ ถลี งิ ค์ กญญฺ า (สาวน้อย)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อา การันต์ ในอติ ถีลงิ ค์

⚫ ฉายา (เงา) ตารา (ดาว) ถวกิ า (ถุง)

⚫ ทาริกา (เดก็ หญิง) ธารา (ธารน้าํ ) นาวา (เรือ)

⚫ ปญฺญา (ปัญญา) พาหา (แขน) ภริยา (ภรรยา)

⚫ มาลา (พวงดอกไม)้ วิชฺชา (ความรู้) สภา (สภา)

⚫ สาลา (ศาลา) หนุกา (คาง) อจฺฉรา (นางอปั สร)

⚫ อุปาสิกา (อุบาสิกา) ปาฐสาลา (โรงเรียน) ปาลิภาสา (ภาษาบาลี)

⚫ ย้าํ กนั อีกรอบ อา การันต์ มีแคอ่ ิตถีลิงคอ์ ยา่ งเดียว แลว้ กเ็ ป็นคาํ ศพั ทส์ ่วนใหญ่
ในอิตถีลิงคด์ ว้ ยนะ

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อิ การันต์ ในอติ ถลี งิ ค์ รตฺติ (ราตรี, กลางคืน)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อิ การันต์ ในอติ ถีลงิ ค์

⚫ กิตฺติ (เกียรติ) ขนฺติ (ความอดทน) คณฺฑิ (ระฆงั )
⚫ ฉวิ (ผวิ ) ชลฺลิ (สะเกด็ ไม)้
⚫ ตนฺติ (เสน้ ดา้ ย) มติ (ความรู้) ชาติ (กาํ เนิด)
⚫ วติ (ร้ัว) อีติ (จญั ไร)
⚫ อมู ิ (คล่ืน) รตฺติ (กลางคืน, ราตรี) ยฏฺฐิ (ไมเ้ ทา้ )
อุกฺขลิ (หมอ้ ขา้ ว)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อี การันต์ ในอติ ถีลงิ ค์ อติ ฺถี (ผู้หญงิ )

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อี การันต์ ในอติ ถีลงิ ค์

⚫ กมุ ารี (เดก็ หญิง) ภาคิณี (นอ้ งสาว) นารี (หญิงสาว)
⚫ ธานี (เมือง) วาปี (สระน้าํ ) ปฐวี (แผน่ ดิน)
⚫ นที (แม่น้าํ ) วชี นี (พดั ) สิมพลี (ตน้ งิ้ว)
⚫ ราชินี (พระราชินี) กกุ ฺกฏุ ี (แม่ไก่) กทลี (ตน้ กลว้ ย)
⚫ เทวี (พระเทว)ี พฺราหมณี (พราหมณี) โปกฺขรณี (สระโบกขรณี)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อุ การันต์ ในอติ ถลี งิ ค์ เธนุ (แม่โคนม)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อุ การันต์ ในอติ ถลี งิ ค์

⚫ กจฺฉุ (โรคหิด) กเรณุ (ชา้ งตวั เมีย) กาสุ (หลุม)
⚫ รชฺชุ (เชือก) ยาคุ (ขา้ วตม้ ) วชิ ฺชุ (สายฟ้า)
⚫ อุรุ (ทราย) ลาวุ (น้าํ เตา้ ) ธาตุ (ธาตุ)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อู การันต์ ในอติ ถลี งิ ค์ วธู (หญิงสาว)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อู การันต์ ในอติ ถลี งิ ค์

⚫ ภู (แผน่ ดิน) ชมฺพู (ไมห้ วา้ ) จมู (เสนา, กองทพั )
⚫ วริ ู (เถาวลั ย)์ สรพู (ตุก๊ แก) สินฺธู (แม่น้าํ สินธู)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ นามนามนปุงสกลงิ ค์

⚫ ในนปุงสกลิงค์ มี ๓ การันต์ คือ อ, อิ, อุ

⚫ อ การันต์ ในนปุงสกลิงค์ แจกอยา่ ง กลุ (ตระกลู )
⚫ อิ การันต์ ในนปุงสกลิงค์ แจกอยา่ ง อกฺขิ (นยั นต์ า)
⚫ อุ การันต์ ในนปุงสกลิงค์ แจกอยา่ ง วตฺถุ (พสั ดุ)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อ การันต์ ในนปุงสกลงิ ค์ กลุ (ตระกลู )

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อ การันต์ ในนปุงสกลงิ ค์

⚫ กมล (ดอกบวั ) กมฺม (งาน, กรรม) ฆร (เรือน)

⚫ จกฺก (ลอ้ , จกั ร) ชล (น้าํ ) ธน (ทรัพย)์

⚫ นคร (เมือง) ปุปฺผ (ดอกไม)้ ผล (ผลไม)้

⚫ พล (กาํ ลงั , พล) ภตฺต (ขา้ วสวย) มชฺช (น้าํ เมา)

⚫ ทุกฺข (ทกุ ข)์ วตฺถ (ผา้ ) สกฏ (เกวยี น)

⚫ สีล (ศีล) สุข (ความสุข) ปณฺณ (ใบไม,้ หนงั สือ)

ย้าํ !!! วา่ อ การันต์ มี 2 ลิงคเ์ ท่าน้นั คือปุงลิงค์ (เพศชาย) กบั นุปงสกลิงค์ (เพศกลาง)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อิ การันต์ ในนปุงสกลงิ ค์ อกฺขิ (นัยน์ตา)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อิ การันต์ ในนปุงสกลงิ ค์

⚫ ทธิ (นมส้ม) สปฺปิ (เนยใส) อจฺจิ (เปลวไฟ)

⚫ อฏฺฐิ (กระดูก) อกฺขิ (นยั นต์ า)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ วธิ ีแจก อุ การันต์ ในนปุงสกลงิ ค์ วตฺถุ (วตั ถุ, สิ่งของ)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ศัพท์แจกตาม อุ การันต์ ในนปุงสกลงิ ค์

⚫ จกฺขุ (นยั นต์ า) ธนุ (ธนู) มธุ (น้าํ ผ้งึ )
⚫ อมฺพุ (น้าํ ) อสฺสุ (น้าํ ตา) อายุ (อาย)ุ
⚫ วสุ (ทรัพย)์ สชฺฌุ (เงิน) มสฺสุ (หนวด)
⚫ ชตุ (ยาง, ข้ีผ้งึ ) วปุ (กาย) ทารุ (ฟื น)

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

อ การนั ต ์ ในปุงลงิ ค ์ เมอื่ ลงวภิ ตั ตนิ ามแลว้ มกี าร
เปลยี่ นแปลง ดงั นี้

วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ

ป. อ+สิ = โอ อ+โย = อา

ทุ. อ+อํ = อํ อ+โย = เอ

ต. อ+นา = เอน อ+หิ = เอหิ, เอภิ

จตุ. อ+ส = อสฺส, อาย, อตฺถํ อ+นํ = อานํ

ปญ อ+สฺมา = อสฺมา, อมฺหา, อา อ+หิ = เอหิ, เอภิ

ฉ. อ+ส = อสฺส อ+นํ = อานํ

ส. อ+สฺมึ = อสฺมึ, อมฺหิ, เอ อ+สุ = เอสุ

อา. อ+สิ =อ อ+โย = อา

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

วภิ ตั ติ เอกวจนะ ดูตวั อย่าง คาแปล
ป. ปุริโส อ. (อนั วา่ ...)
ทุ. ปุริสํ พหุวจนะ ซ่ึง, สู่, ยงั , สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ
ปุริสา
ปุริเส

ต. ปุริเสน ปุริเสหิ, ปุริเสภิ ดว้ ย, โดย, อนั , ตาม, เพราะ, มี
จตุ. ปุริสสฺส, ปุริสาย, ปุริสตฺถํ ปุริสานํ แก่, เพอื่ , ต่อ
ปญ ปุริสสฺมา, ปุริสมฺหา, ปุริสา ปุริเสหิ, ปุริเสภิ แต่, จาก, กวา่ , เหตุ
ฉ. ปุริสสฺส ปุริสานํ แห่ง, ของ, เมื่อ
ส. ปุริสสฺมึ, ปุริสมฺหิ, ปุริเส ปุริเสสุ ใน, ใกล,้ ที่, คร้ันเม่ือ, ในเพราะ
อา. ปุริส ปุริสา แน่ะ, ดูก่อน, ขา้ แต่

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

ลาดบั เอกวจนะ วธิ ลี งวภิ ตั ติ

ลาดบั เอกวจนะ วธิ ีลงวภิ ัตติ

ป. ปุริโส ลง สิ แลว้ แปลง สิ เป็น โอ

ทุ. ปุริสํ ลง อํ คง อํ ไว้

ต. ปุริเสน ลง นา แปลง นา เป็น เอน

จตุ. ปุริสสฺส, ปุริสาย, ปุริสตฺถํ ลง สฺ อาคม, แปลง ส เป็น อาย, อตฺถํ

ปญ ปุริสสฺมา, ปุริสมฺหา, ปุริสา ลง สฺมา คง สฺมา ไว้ แปลง สฺมา เป็น มฺหา, อา

ฉ. ปุริสสฺส ลง สฺ อาคม

ส. ปุริสสฺมึ, ปุริสมฺหิ, ปุริเส ลง สฺมึ คง สฺมึ ไว้ แปลง สฺมึ เป็น มฺหิ, เอ

อา ปุริส ลง สิ ลบ สิ

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

ลาดบั พหุวจนะ วธิ ลี งวภิ ตั ติ

ลาดบั เอกวจนะ วธิ ีลงวภิ ตั ติ

ป. ปุริสา ลง โย แลว้ แปลง โย เป็น อา

ทุ. ปุริเส ลง โย แปลง โย เป็น เอ

ต. ปุริเสหิ ปุริเสภิ แปลง อ เป็น เอ, ลง หิ คง หิ ไว,้ แปลง หิ เป็น ภิ

จตุ. ปุริสานํ แปลง อ เป็น อา, ลง นํ คง นํ ไว้

ปญ ปุริเสหิ ปุริเสภิ แปลง อ เป็น เอ, ลง หิ คง หิ ไว,้ แปลง หิ เป็น ภิ

ฉ. ปุริสานํ แปลง อ เป็น อา, ลง นํ คง นํ ไว้

ส. ปุริเสสุ แปลง อ เป็น เอ, ลง สุ คง สุ ไว้

อา ปุริสา แปลง โย เป็น อา

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

⚫ ตวั อย่างประโยคภาษาบาลี การใช้ ปุริส (บุรุษ)

๑.เอโก ปุริโส ติฏฺฐติ. อ.บุรุษ คนหน่ึง ยอ่ มยนื .

๒.เทฺว ปุริสา ติฏฺฐนฺติ. อ.บุรุษ ท. ๒ ยอ่ มยนื .

๓. อหํ เอกํ ปุริสํ ปสฺสามิ. อ.เรา ยอ่ มเห็น ซ่ึงบุรุษ คนหน่ึง.

๔.อหํ เทฺว ปุริเส ปสฺสามิ. อ.เรา ยอ่ มเห็น ซ่ึงบุรุษ ท. ๒.

๕.เอเกน ปุริเสน กมฺมํ กริยเต. อ.การงาน อนั บุรุษ คนหน่ึง ทาํ อย.ู่

๖. ทฺวหี ิ ปุริเสหิ กมฺมํ กริยเต. อ.การงาน อนั บุรุษ ท. ๒ ทาํ อย.ู่

๗.เอกสฺส ปุริสสฺส ภตฺตํ เทมิ. อ.เรา ยอ่ มให้ ซ่ึงขา้ วสวย แก่บุรุษ คนหน่ึง.

๘.ทฺวนิ ฺนํ ปุริสานํ ภตฺตํ เทมิ. อ.เรา ยอ่ มให้ ซ่ึงขา้ วสวย แก่บุรุษ ท. ๒

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

ตัวอย่างประโยคภาษาบาลี การใช้ ปุริส (บุรุษ)

๙. เอกสฺมา ปุริสสฺมา สิปฺปํ อธิยามิ. อ.เรา ยอ่ มเรียน ซ่ึงศิลปะ จากบุรุษ คนหน่ึง.
๑๐. ทฺวหี ิ ปุริเสหิ สิปฺปํ อธิยามิ. อ.เรา ยอ่ มเรียน ซ่ึงศิลปะ จากบุรุษ ท. ๒.
๑๑. เอกสฺส ปุริสสฺส ปุตฺโต ชายติ. อ.บุตรชาย ของบุรุษ คนหน่ึง ยอ่ มเกิด.
๑๒.ทฺวนี ฺนํ ปุริสานํ ปุตฺตา ชายนฺติ. อ.บุตรชาย ท. ของบุรุษ ท. ๒ ยอ่ มเกิด.
๑๓.ตสฺมึ ปุริสสฺมึ โกโธ มม นตฺถิ. อ.ความโกรธ ในบุรุษ น้นั ยอ่ มไม่มี แก่เรา.
๑๔.ทฺวสี ุ ปุริเสสุ เอโก ปุริโส มริ. ในบรุ ุษ ท. ๒ หนา อ.บุรุษ คนหน่ึง ยอ่ มตาย.
๑๕.โภ ปุริส ตฺวํ อาคจฺฉาหิ. แน่ะบุรุษ ผเู้ จริญ อ.ท่าน จงมา.
๑๖.โภนฺตา ปุริสา ตุมฺเห อาคจฺฉถ. แน่ะบุรุษ ท. ผเู้ จริญ อ.ท่าน ท. จงมา.

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

วธิ ีเรียงคาํ ในภาษาบาลีไม่เหมือนภาษาไทย ใหเ้ รียงตวั ขยายอยหู่ นา้ ตวั ที่

ถูกขยาย เช่น คาํ ไทยวา่ “สาวกของพระพทุ ธเจา้ ” ในวลีน้ี คาํ ขยาย คือ “ของ
พระพทุ ธเจา้ ” คาํ หลกั คือ “สาวก” ภาษาบาลีจะเรียงคาํ หลกั ไวห้ ลงั เรียงคาํ
ขยายไวห้ นา้ โดยเรียงเป็น “พทุ ฺธสฺส สาวโก” ใหเ้ ทียบเคียงใชต้ ามน้ี

ไทย อ.บุตร ของเศรษฐี บาลี เสฏฺฐิสฺส ปุตฺโต.
ไทย อ.นก บนตน้ ไม้ บาลี รุกฺเข สกโุ ณ.
ไทย อ.ดอกไม้ ในป่ า
บาลี วเน ปุปฺผ.ํ

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

บทขยาย คือ บทท่ีทาํ ใหค้ าํ หลกั มีความหมายกวา้ งขวางชดั เจนข้ึน ทาํ ให้
นาม ที่ถูกขยายวเิ ศษข้ึน แตกต่างจากบทนามท่ีไม่ไดถ้ ูกขยาย บทขยายใน
ภาษา บาลีมี ๒ แบบ คือ

๑) แบบที่เป็นนามนาม เป็นทุติยา – สตั ตมีวภิ ตั ติ
๒) แบบท่ีเป็นคุณนาม มีลิงค์ วจนะ วภิ ตั ติ เหมือนนาม ท่ีตนขยาย
คาํ ขยายท่ีเป็นคุณนาม เวลาแปลใหใ้ ส่คาํ วา่ ผ.ู้ .., มี..., อนั ..., ตวั ...
นาํ หนา้ คุณนามน้นั ๆ ดงั น้นั คาํ วา่ ผ.ู้ .., มี..., อนั ..., ตวั ... จึงเป็นเคร่ือง
แสดงลกั ษณะ ของคาํ คุณนามในทางภาษาไทย

การันต์ในลงิ ค์ และวธิ ีเรียงคาในภาษาบาลี(ต่อ)

คาหลกั และคาขยาย
คาหลกั (ประธาน) หมายถึง คาํ ท่ีเป็นใจความสาํ คญั ของวลี เป็นศูนยก์ ลางของ

ความหมายท่ีเป็นฐานใหค้ าํ อ่ืนขยายออกไป หากขาดคาํ หลกั แลว้ คาํ ขยายจะไม่มี
ประโยชน์ใดๆ เพราะเน้ือความจะขาดความเชื่อมโยง จนไม่สามารถปะติดปะต่อ
ความหมายได้

คาหลกั จะเป็ นนามนาม คุณนาม หรือกริ ิยากไ็ ด้ เช่น คาํ วา่ วเน แปลวา่ ในป่ า
แต่ไม่รู้วา่ อะไรอยใู่ นป่ า ใจความไม่สมบูรณ์ เมื่อเติมคาํ วา่ ปปุ ฺผ เขา้ ไป เป็น วเน ปปุ ฺผ
แปลวา่ อ.ดอกไม้ ในป่ า

คาขยาย หมายถึง คาํ ที่ทาํ ใหค้ าํ หลกั มีความหมายพเิ ศษข้ึน ทาํ ใหค้ าํ หลกั มีความ
สมบูรณ์มากกวา่ เดิม ทาํ ใหค้ าํ หลกั มีรายละเอียดชดั เจนยงิ่ ข้ึนวา่ ทาํ อะไร ทาํ เพอ่ื ใคร เป็น
ของใคร อยทู่ ่ีไหน เป็นตน้


Click to View FlipBook Version