The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๐๐๐๑๓๖ ภาษาบาลี(Pali)-๗

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thammajare59, 2022-06-02 01:01:21

๐๐๐๑๓๖ ภาษาบาลี(Pali)-๗

๐๐๐๑๓๖ ภาษาบาลี(Pali)-๗

การศึกษา

๐๐๐๑๓๖ ภาษาบาลี(Pali)

โดย...

ดร.พระครปู ริยตั ิธำรงคณุ
พระมหำศรำวธุ สรำวโุ ธ

อกั ขรวธิ ี

บทท่ี ๑ อกั ษรในภาษาบาลี

หัวข้อทีจ่ ะนาเสนอ

⚫ ความเป็ นมาของภาษาบาลี
⚫อกั ขรวิธี
⚫ วจีวิภาค
⚫หลกั การแต่ง-แปลบาลีเบ้ืองตน้



ความเบื้องต้น

⚫ ความหมายของ “บาลี” (พทุ ฺธวจน)ํ ปาเลตีติ ปาลี (ภาสา)
⚫ การแบ่งภาคแห่งการศึกษาบาลีไวยากรณ์

- ภาคท่ี ๑ อกั ขรวธิ ี วา่ ดว้ ยวธิ ีใชอ้ กั ษร มี ๒ คือ สมญั ญาภิธาน, สนธิ
- ภาคที่ ๒ วจีวภิ าค วา่ ดว้ ยส่วนแห่งคาํ พดู มี ๖ คือ นาม, อพั ยยศพั ท,์

สมาส, ตทั ธิต, อาขยาต, กิตก์
- ภาคที่ ๓ วากยสัมพนั ธ์ วา่ ดว้ ยการก และประพนั ธ์คาํ พดู ใหเ้ นื่องกนั
- ภาคที่ ๔ ฉนั ทลกั ษณ์ วา่ ดว้ ยวธิ ีการแต่งฉนั ท์

อกั ขระทใี่ ช้ในภาษาบาลี

⚫ เสียงกด็ ี ตวั หนงั สือกด็ ี เรียกวา่ “อกั ขระ”
⚫ แปลวา่ ไม่รู้จกั สิ้น และ ไม่เป็นของแขง็
⚫ มี ๒ ประเภท คือ สระ และ พยญั ชนะ รวมท้งั หมด มี ๔๑ ตวั
⚫ สระ ๘ ตวั คือ อ, อา, อิ, อี, อุ, อู, เอ, โอ
⚫ พยญั ชนะ ๓๓ ตวั คือ ก, ข, ค, ฆ, ง, จ, ฉ, ช, ฌ, ญ, ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ณ, ต,

ถ, ท, ธ, น, ป, ผ, พ, ภ, ม, ย, ร, ล, ว, ส, ห, ฬ, อํ

อกั ขระที่ใช้ในภาษาบาลี (ต่อ)

⚫ สระ แปลวา่ เสียง
⚫ มีลกั ษณะ คือ

- ออกเสียงไดต้ ามลาํ พงั ตนเอง
- ทาํ พยญั ชนะใหอ้ อกเสียงได้
⚫ เรียกอีกอยา่ งวา่ “นิสยั ” เพราะเป็นท่ีอาศยั ของพยญั ชนะ

อกั ขระท่ีใชใ้ นภาษาบาลี (ต่อ)

⚫ สระจดั เป็น รัสสะ ทีฆะ ดงั น้ี
- อ, อิ, อุ เป็น รัสสะ มีเสียงส้นั
- อา, อี, อู, เอ, โอ เป็น ทีฆะ มีเสียงยาว
- เอ, โอ ท่ีมี พยญั ชนะสงั โยค อยหู่ ลงั มีเสียงส้นั

เอ, โอ เม่ือมีพยญั ชนะสงั โยคอยหู่ ลงั หลงั (ตวั สะกด) จะเป็นรัสสสระ
เช่น คาํ วา่ อาหุเนยฺโยฺ , โพชฺฌงโคฺ “-เนยฺ-” และ “-โพชฺ-” จดั เขา้ ใน
จาํ พวกรัสสะ การนบั เสียงยาว เสียงส้นั ใหน้ บั ทีละพยางค์

อกั ขระท่ีใชใ้ นภาษาบาลี (ต่อ)

ครุ - ลหุ

- อ, อิ, อุเป็น ลหุ มีเสียงเบา

หมายถึง สระท่ีเป็นรัสสะลว้ นๆ โดยไม่มี ตวั สะกด และไม่มีนิคคหิต เช่น มนุ ิ, มณิ,
สติ, มติ, อิติ, เป็นตน้ การนบั เสียงลหุ ใหน้ บั ทีละพยางค์

- อา, อี, อู, เอ, โอ เป็น ครุ มีเสียงหนกั

⚫ หมายถึง สระท่ีมีเขา้ เกณฑด์ งั ต่อไปน้ี
-สระท่ีเป็นทีฆะ เช่น ปาโป, เทโว, อากาโส เป็นตน้
-สระที่เป็นรัสสะ แต่มีตวั สะกด เช่น ภิกฺขสุ ฺส, อคฺคสฺส เป็นตน้
-สระที่เป็นรัสสะ แต่มีนิคหิต เช่น พทุ ฺธ,ํ ธมฺม,ํ สรณ,ํ อคฺฆํ เป็นตน้
การนบั เสียง ครุ ใหน้ บั ทีละพยางค์

อกั ขระท่ีใชใ้ นภาษาบาลี (ต่อ)

การนบั พยางค์ (นบั ท่ีละตวั )
ตวั อยา่ ง ทุติยมฺปิ
ทุ - ลหุ, ติ - ลหุ, ยมฺ - ครุ, ปิ - ลหุ
ปาณาติปาตา
ปา - ทีฆะ, ณา - ทีฆะ, ติ - รัสสะ, ปา - ทีฆะ, ตา - ทีฆะ

อกั ขระที่ใชใ้ นภาษาบาลี (ต่อ)

⚫ สุทธสระ – สังยุตตสระ
⚫ สุทธสระ คือ สระแท้ เป็นสระท่ีไม่ไดเ้ กิดจากสระหลายตวั ผสมกนั

ไดแ้ ก่
⚫ อ, อา, อิ, อี, อุ, อู
⚫ สังยตุ ตสระ คือสระผสม เป็นสระที่เกิดจากสระ ๒ ตวั ผสมกนั ไดแ้ ก่
⚫ อ กบั อิ ผสมเป็น เอ
⚫ อ กบั อุ ผสมเป็น โอ

อกั ขระท่ีใชใ้ นภาษาบาลี (ต่อ)

⚫ การออกเสียงของสระ

สระมีการออกเสียง ๒ อยา่ ง คือ

⚫ ๑.ออกเสียงเอง โดยไม่ผสมกบั พยญั ชนะ เช่น

⚫ สระ อ ไดแ้ ก่ อสมโณ อ่านวา่ อะ-สะ-มะ-โณ , สระ อา ไดแ้ ก่ อากาโร อ่านวา่ อา-กา-โร

⚫ สระ อิ ไดแ้ ก่ อิณํ อ่านวา่ อิ-ณงั

⚫ สระ อุ ไดแ้ ก่ อุปาสโก อ่านวา่ อุ-ปา-สะ-โก, สระ อู ไดแ้ ก่อูกา อ่านวา่ อู-กา

⚫ สระ เอ ไดแ้ ก่ เอโก อ่านวา่ เอ-โก, สระ โอ ไดแ้ ก่ โอกาโส อ่านวา่ โอ-กา-โส เป็นตน้

⚫ ๒.ออกเสียงผสมกบั พยญั ชนะ เช่น

⚫ ปุริโส (ปฺ+อุ, รฺ+อิ, สฺ+โอ)

⚫ พฺราหฺมโณ (พฺรฺ+อา, หฺมฺ+อ, ณฺ +โอ)

⚫ พฺรหฺมาโน (พฺรฺ+อ, มฺ+อา, นฺ+โอ)

⚫ ทฺวาโร (ทฺวฺ+อา, รฺ+โอ,)

⚫ เทฺว (ทฺว+เอ)

⚫ ภวตวนตราโย (ภฺ+อ, วฺ+อ+ตฺ, วฺ+อ+นฺ, ตฺ+อ, รฺ+อา, ยฺ+โอ) เป็นตน้

อกั ขระที่ใชใ้ นภาษาบาลี (ต่อ)

วณั ณะ คือ การจัดคู่ของสระ

สระในภาษาบาลีน้นั จดั เป็นคู่ๆ ได้ ๓ คู่ คือ
คูท่ ่ี ๑. อ กบั อา เรียกวา่ อ วณั ณะ เพราะเกิดที่คอเหมือนกนั
คู่ที่ ๒. อิ กบั อี เรียกวา่ อิ วณั ณะ เพราะเกิดท่ีเพดานปากเหมือนกนั
คู่ท่ี ๓. อุ กบั อู เรียกวา่ อุ วณั ณะ เพราะเกิดที่ริมฝีปากเหมือนกนั
อ วณั ณะ หมายถึงกลุ่มสระที่ออกเสียงในตาํ แหน่งเดียวกนั กบั สระ อ
อิ วณั ณะ หมายถึงกลุ่มสระที่ออกเสียงในตาํ แหน่งเดียวกนั กบั สระ อิ
อุ วณั ณะ หมายถึงกลุ่มสระท่ีออกเสียงในตาํ แหน่งเดียวกนั กบั สระ อุ

อกั ขระที่ใช้ในภาษาบาลี (ต่อ)

พยญั ชนะ แปลวา่ ทาํ เน้ือความใหป้ รากฏ

เรียกอีกอยา่ งวา่ “นิสิต” เพราะตอ้ งอาศยั สระจึงออกเสียงได้

พยญั ชนะ แบ่งเป็น ๒ ประเภท

- พยญั ชนะ วรรค คือ พยญั ชนะที่จดั เป็นวรรค ๕ วรรค ไดแ้ ก่

๑) ก, ข, ค, ฆ, ง เรียกวา่ ก วรรค

๒) จ, ฉ, ช, ฌ, ญ เรียกวา่ จ วรรค

๓) ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ณ เรียกวา่ ฏ วรรค

๔) ต, ถ, ท, ธ, น เรียกวา่ ต วรรค

๕) ป, ผ, พ, ภ, ม เรียกวา่ ป วรรค

- พยญั ชนะ อวรรค คือ พยญั ชนะท่ีไม่ไดจ้ ดั เป็นวรรคๆ ไดแ้ ก่ ย, ร, ล, ว, ส, ห, ฬ, อํ

อกั ขระท่ใี ช้ในภาษาบาลี (ต่อ)

พยญั ชนะ คือ องั (อ)ํ มีช่ือเรียก ๒ อยา่ ง คือ

๑.ชื่อวา่ นิคคหิต เพราะกดสระ ทาํ ใหอ้ อกเสียงไดไ้ ม่มาก เวลาออก
เสียง ไม่ตอ้ งอา้ ปากกวา้ งนกั

๒.ชื่อวา่ อนุสาร เพราะไปตามสระ คาํ วา่ สระในท่ีน้ี ไดแ้ ก่ รัสส ๓ ตวั
คือ อ, อิ, อุ เท่าน้นั เช่น อห,ํ มุนึ, ภิกฺขุํ เป็นตน้

อกั ขระทีใ่ ช้ในภาษาบาลี (ต่อ)

คาเรียกชื่อสระและพยญั ชนะ
⚫ พยญั ชนะในภาษาบาลีทุกตวั ออกเสียงเองไม่ได้ ตอ้ งอาศยั สระ

จึงออกเสียงได้ ในทางไวยากรณ์ เรียกพยญั ชนะทุกตวั วา่ เป็น “มูคะ”
คือ เป็นใบ้ ส่วน สระ สามารถออกเสียงเองได้
⚫ ดว้ ยเหตุน้ี สระ จึงมีชื่อเรียกอีกอยา่ งหน่ึง วา่ “นิสสัย” เพราะออกเสียง
เองไดต้ ามลาํ พงั ตนเอง
⚫ ส่วนพยญั ชนะ เรียกวา่ “นิสิต” เพราะตอ้ งอาศยั สระ จึงออกเสียงได้



บทที่ ๒ นามศัพท์

⚫ นาม
นาม หมายถึง สรรพสิ่งท้งั มวลท่ีปรากฏข้ึนในโลก จะมีวญิ ญาณหรือไม่มี

วญิ ญาณกต็ าม รวมถึงคุณสมบตั ิของสรรพสิ่งน้นั ๆ ดว้ ย ถา้ มีความหมายท่ีสามารถ
เขา้ ใจได้ ลว้ นเรียกวา่ นามท้งั สิ้น เช่น เมื่อกล่าวคาํ วา่ “ปรุ ิส” กท็ าํ ใหน้ ึกถึงรูปร่าง
ลกั ษณะของผชู้ าย เป็นตน้ หรือเมื่อกล่าว คาํ วา่ “ขุทฺทก” กท็ าํ ใหน้ ึกถึงสรรพส่ิง
ที่มีขนาดเลก็ เป็นตน้
⚫ ศัพท์

ศัพท์ หมายถึง เสียง หรือตวั หนงั สือ ท่ีใชเ้ รียก นาม นามอยา่ งเดียวกนั เม่ือ
อยใู่ นถิ่นที่ต่างกนั หรือใชภ้ าษาต่างกนั จะมีศพั ท์ เรียกต่างกนั ไป

นามศัพท์(ต่อ)

⚫ นามศัพท์ คือ เสียง หรือสาํ เนียง ที่บ่งถึงช่ือของคน สตั ว์ สิ่งของ
สถานที่ และบ่งถึงคุณสมบตั ิของคน สตั วส์ ิ่งของ สถานทเี่ หล่าน้นั
นามศพั ทม์ ี ๓ ประเภท คือ ๑.นามนาม
๒.คุณนาม
๓.สพั พนาม

⚫ ในนามศพั ท์ ๓ จาํ พวกน้ี นามนาม เปรียบเหมือนน้าํ ใสสะอาด
คุณนาม เปรียบสีเขียว สีแดง สีดาํ ที่ผสมลงในน้าํ กลายเป็น
คุณสมบตั ิของน้าํ น้นั ส่วนสพั พนาม คือ คาํ ใชแ้ ทนตวั คนสตั วส์ ่ิงของ

นามศัพท์(ต่อ)

⚫ นามนาม

นามนาม คือ นามท่ีเป็นช่ือของคน สตั ว์ สถานท่ี สิ่งของ ภาวะและอาการ
ต่าง ๆ นามนามแบ่งออกเป็น ๒ คือ

๑.สาธารณนาม คือ นามทวั่ ๆ ไป ไม่เจาะจงคนใดคนหน่ึง หรือส่ิงใดส่ิงหน่ึง
เช่นคาํ วา่ อาจริโย-อาจารย,์ กมุ าโร-เดก็ , ขตฺติโย-กษตั ริย,์ คโณ-หมู่,
โจโร-โจร เป็นตน้

๒.อสาธารณนาม คือ นามท่ีเป็นช่ือเฉพาะของผนู้ ้นั หรือสิ่งน้นั ไม่ทว่ั ไปแก่
ผอู้ ื่น หรือสิ่งอื่น เช่นคาํ วา่ สารีปุตฺโต-พระสารีบุตร, มหาโมคฺคลฺลาโน-
พระมหาโมคคลั ลานะ, อานนฺโท-พระอานนท์ เป็นตน้

นามศัพท์(ต่อ)

⚫ คุณนาม

⚫ คุณนาม คือ นามที่แสดงถึงลกั ษณะ หรือคุณสมบตั ิของนามนาม วา่ สูง-ต่าํ ดาํ -ขาว
ดี-เลว เป็นตน้ คุณนามแบ่ง ๓ ช้นั คือ

๑. ช้ันปกติ แสดงลกั ษณะหรือคุณสมบตั ิของนามนามอยา่ งปกติ เช่นคาํ วา่ ปาโป-เลว,
โกวิโท-ฉลาด, ทกฺโข-ขยนั เป็นตน้

ตวั อยา่ ง กาโฬ นาม ปาโป โหติ. นายดาํ เป็นคนเลว

วชิ โย นาม ครุ โกวโิ ท โหติ. ครูวิชยั เป็นคนฉลาด.

โลหิโต นาม กมุ าโร ทกฺโข โหติ. เดก็ ชายแดงเป็นคนขยนั .

๒. ช้ันวเิ สส แสดงลกั ษณะ หรือคุณสมบตั ิของนามนามยงิ่ หรือหยอ่ นกวา่ ปกติ ใช้
ตร, อยิ , อยิ สิ ฺสก ปัจจยั ต่อทา้ ยคุณนามช้นั ปกติ หรือใช้ อติ-ยงิ่ นาํ หนา้ กไ็ ด้ เช่นคาํ วา่
ปาปตโร-เลวกวา่ , โกวทิ ตโร-ฉลาดกวา่ , ทกฺขตโร-ขยนั กวา่ , อติทกฺโข-ขยนั ยง่ิ

นามศัพท์(ต่อ)

ตวั อย่าง
กาโฬ ชุณฺหสฺมา ปาปตโร โหติ. นายดาํ เป็นคนเลวกวา่ นายขาว
วชิ โย ครุ สพฺเพหิ ครูหิ โกวทิ ตโร โหติ. ครูวชิ ยั เป็นคนฉลาดกวา่ ครูทุกคน.

๓. ช้ันอตวิ เิ สส แสดงลกั ษณะ หรือคุณสมบตั ิของนามนาม ยงิ่ หรือหยอ่ นท่ีสุด ใช้
ตม, อฏิ ฺ ฐ ปัจจยั ต่อทา้ ย คุณนามช้นั ปกติ หรือใช้ อตวิ ยิ - เกนิ เปรียบ นาํ หนา้
เช่น คาํ วา่ ปาปตโม-เลวท่ีสุด, โกวทิ ตโม-ฉลาดที่สุด, ทกฺขตโม-ขยนั ท่ีสุด,
อตวิ ยิ ทกฺโข-ขยนั เกินเปรียบ

ตวั อย่าง
กาโฬ นาม ปาปตโม โหติ. นายดาํ เป็นคนเลวที่สุด
วชิ โย นาม ครุ โกวทิ ตโม โหติ. ครูวชิ ยั เป็นคนฉลาดที่สุด.

นามศัพท์(ต่อ)

⚫ สัพพนาม

สัพพนาม คือ นามท่ีใชแ้ ทนนามนาม ที่ออกช่ือมาคร้ังหน่ึงแลว้ จะกล่าวถึงอีก
แทนที่จะออกช่ือนามนามน้นั ซ้าํ กใ็ ชส้ พั พนาม แทน เพือ่ ไม่ใหซ้าํ ซาก เช่น คาํ วา่
โส-เขา, สา-หล่อน, ต-ํ มนั เป็นตน้

ตวั อย่าง
-โพธิรุกฺโข สาลาย สมีเป รุฬฺหต,ิ ตสฺส ปณฺณา ภูมยิ ปตต.ิ
ตน้ โพธ์ิ งอกอยู่ ใกลศ้ าลา, ใบ ของมนั หล่นอยบู่ นพ้นื .
-เอโก ภกิ ฺขุ สาลาย นิสีทต,ิ ตสฺส อาจาโร ปาสาทโิ ก โหต.ิ
พระภิกษุ รูปหน่ึง นงั่ อยู่ บนศาลา, อาจาระ ของท่าน น่าเลื่อมใส.

นามศัพท์(ต่อ)

สัพพนาม แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑.ปุริสสัพพนาม กบั ๒.วเิ สสนสัพพนาม

๑.ปุริสสัพพนาม หมายถึง สพั พนามที่ใชแ้ ทนคาํ นาม ท่ีกล่าวมาก่อนแลว้

มี ๓ บุรุษ คือ
๑. ต ศพั ท์ (เขา) เรียกวา่ ปฐมบุรุษ ใชแ้ ทนบุคคลท่ีเรากล่าวถึง
๒. ตุมฺห ศพั ท์ (ท่าน) เรียกวา่ มชั ฌมิ บุรุษ ใชแ้ ทนคนท่ีเราพดู ดว้ ย
๓. อมฺห ศพั ท์ (เรา) เรียกวา่ อตุ ตมบุรุษ ใชแ้ ทนตวั เราเอง
ตวั อย่าง
สเจ โส อาคจฺฉติ, อห เตน สทฺธึ คจฺฉามิ. ถา้ เขามา, ฉนั จะไปกบั เขา.

นามศัพท์(ต่อ)

๒.วเิ สสนสัพพนาม หมายถึง คาํ สัพพนามที่ทาํ หนา้ ที่คลา้ ยกบั คาํ คุณนาม คือทาํ
หนา้ ที่ขยายคาํ นามนาม ขยายบทใด มีลิงค์ วจนะ วิภตั ติคลา้ ยนามนามบทน้นั

วเิ สสนสพั พนาม มี ๒ ประเภท คือ
๑. นิยมวเิ สสนสัพพนาม ๒. อนยิ มวเิ สสนสัพพนาม
นิยมวเิ สสนสัพพนาม หมายถึง วเิ สสนสพั พนามท่ีกาํ หนดความแน่นอน
และระยะใกลไ้ กลของนามนาม มี ๔ ศพั ท์ คือ ต (น้นั ), เอต (นน่ั ), อิม (น้ี),
อมุ (โนน้ )
ตัวอย่าง

อย ปรุ ิโส ตสฺมึ เคเห วสต.ิ ชายคนน้ี พกั อยู่ ที่บา้ นหลงั โนน้ .

นามศัพท์(ต่อ)

อนยิ มวเิ สสนสัพพนาม หมายถึง วเิ สสนสัพพนามที่ไม่กาํ หนดนามนามไวอ้ ยา่ ง
เจาะจง วา่ คนโนน้ คนน้ี มี ๑๓ ศพั ท์ คือ

ย (ใด), อญฺญ (อื่น), อญฺญตร (คนใดคนหน่ึง),
อญฺญตม (คนใดคนหน่ึง), ปร (อื่น), อปร (อ่ืนอีก),
กตร (คนไหน), กตม (คนไหน), เอก (คนหน่ึง),
เอกจฺจ (บางคน), อภุ ย (ท้งั สอง), สพพฺ (ท้งั ปวง), กึ (ใคร, อะไร)
ตวั อย่าง

โก เอโส. นนั่ ใคร.
โก นาม เต อปุ ชฺฌาโย. ใครเป็นอุปัชฌายข์ องท่าน.



บทที่ ๓ องค์ประกอบของนามศัพท์ (ลงิ ค์-เพศ)

องค์ประกอบของนามศัพท์ (ลงิ ค์-เพศ)ต่อ

ลงิ ค์ (เพศของศพั ท)์
ลิงค์ คือ เพศของนามศพั ท์ ท่ีแฝงอยใู่ นนามศพั ทท์ ุกบท ทาํ หนา้ ที่เป็น

ตวั กาํ หนดใหเ้ ปล่ียนแปลงวภิ ตั ติ เน่ืองจากนามศพั ทท์ ่ีต่างลิงคก์ นั กจ็ ะมีรูป
วภิ ตั ติแตกต่างกนั ไปดว้ ย
ลงิ ค์มี ๓ ประเภท คือ

๑. ปุงลงิ ค์ ไดแ้ ก่ เพศชาย (ปุริโส) = (สระ โ- )
๒. อติ ถีลงิ ค์ ไดแ้ ก่ เพศหญิง (อิตฺถี)= (สระ อี – อา)
๓. นปุงสกลงิ ค์ ไดแ้ ก่ ไม่ใช่เพศชาย ไม่ใช่เพศหญิง (กลุ )ํ =(อ)ํ

องค์ประกอบของนามศัพท์ (ลงิ ค์-เพศ)ต่อ

การกาหนดลงิ ค์ของนามศัพท์

นามศพั ทท์ ุกคาํ จะตอ้ งมีลิงค์ ก่อนจะนาํ นามศพั ทไ์ ปเปลี่ยนวภิ ตั ติ จะตอ้ งรู้ลิงคข์ องนามศพั ทก์ ่อน
การกาํ หนดรู้ลิงคน์ ้นั ใหใ้ ชห้ ลกั ในการจดั ลิงคข์ องนามศพั ทเ์ ป็นเกณฑ์ วธิ ีการจดั ลิงคม์ ี ๒ อยา่ ง คือ

๑. จดั ตามกาเนิด ๒. จดั ตามสมมติ

การจดั ลงิ ค์ตามกาเนิด คือ นามศพั ทน์ ้นั บ่งความหมายเป็นเพศใด กจ็ ดั ลิงคต์ ามเพศน้นั เช่น
ปุริโส - อ.บุรุษ ความหมาย บ่งวา่ เป็นเพศชาย จดั เป็นปุงลิงค์

นารี - อ.นารี ความหมาย บ่งวา่ เป็นเพศหญิง จดั เป็นอิตถีลิงค์

วตฺถุ - อ.พสั ดุ ความหมาย ไม่บ่งวา่ เป็นเพศใด จดั เป็นนปุงสกลิงค์

การจดั ลงิ ค์ตามสมมติ คือ การจดั เพศตามความนิยมของภาษาหรือกาํ หนดเพศโดยไม่
คาํ นึงถึงเพศท่ีแทจ้ ริงของศพั ท์ แต่สมมติเป็นเพศอ่ืนแทน เช่น

ทาโร - อ.ภรรยา ความหมาย บ่งเป็นเพศหญิง แต่สมมติเป็นปุงลิงค์

มาตุคาโม - อ.หญิง ความหมาย บ่งเป็นเพศหญิง แต่สมมติเป็นปุงลิงค์

เทวตา - อ.เทวดา ความหมาย บ่งเป็นเพศชายกไ็ ด้ เพศหญิงกไ็ ด้ แต่สมมติเป็นอิตถีลิงค์

องค์ประกอบของนามศัพท์ (ลงิ ค์-เพศ)ต่อ









บทที่ ๔ องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทสี่ ุดศัพท์)

การันต์

การันต์ แปลวา่ ที่สุดของศพั ท์ มาจากคาํ วา่ การ+อนฺต หมายถึง สระท่ีผสม
กบั พยญั ชนะตวั สุดทา้ ยของศพั ทแ์ ต่ละศพั ท์ เช่น

⚫ ปรุ ิส มีสระ อ เป็นที่สุดของศพั ท์ เป็น อ การันต์

⚫ มุนิ มีสระ อิ เป็นท่ีสุดของศพั ท์ เป็น อิ การันต์

⚫ กญฺญา มีสระ อา เป็นที่สุดของศพั ท์ เป็น อา การันต์

ในแต่ละลิงค์ ศพั ทท์ ี่มีการันตต์ ่างกนั จะมีวธิ ีการแจกวภิ ตั ติต่างกนั ส่วนศพั ท์
ท่ีมีการันตเ์ หมือนกนั จะมีวธิ ีการแจกวภิ ตั ติเหมือนกนั แมจ้ ะมีการันตเ์ หมือนกนั แต่คน
ละลิงค์ กแ็ จกเหมือนกนั ไม่ได้

นอกจากน้ี การันต์ ยงั เป็นเครื่องกาํ หนดเพศ ของนามศพั ทไ์ ดด้ ว้ ย

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทสี่ ุดศัพท์)ต่อ

การันต์ แบ่งเป็ น ๓ กลุ่ม ตามเพศ คือ
๑.ปงุ ลงิ ค์ มี ๕ การันต์ คือ อ, อ,ิ อ,ี อ,ุ อู
๒.อติ ถีลงิ ค์ มี ๕ การันต์ คือ อา, อ,ิ อ,ี อ,ุ อู
๓.นปุงสกลงิ ค์ มี ๓ การันต์ คือ อ, อ,ิ อุ,
อิ กบั อุ การันต์ เป็นไดท้ ้งั ๓ ลิงค์
อา เป็นอิตถีลิงคอ์ ยา่ งเดียว
อ เป็นได้ ๒ ลิงค์ คือ เป็นปุงลิงค์ กบั นปุงสกลิงค์
อี เป็นได้ ๒ ลิงค์ คือ ปุงลิงค์ กบั อิตถีลิงค์
อู เป็นได้ ๒ ลิงค์ คือ ปุงลิงค์ กบั อิตถีลิงค์

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทส่ี ุดศัพท์)ต่อ

ปุงลงิ ค์

ตวั อย่าง อ การันต์ในปุงลงิ ค์

สุร เทวดา อสุร อสูร นร คน
มนุสฺส มนุษย์
นาค นาค ยกขฺ ยกั ษ์ มาตงฺค ชา้ ง
อจฺฉ หมี
ปิ สาจ ปี ศาจ เปต เปรต

สีห ราชสีห์ พยฺ คฺฆ เสือ

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทส่ี ุดศัพท์)ต่อ

ตัวอย่าง อิ การันต์ในปุงลงิ ค์ ปาณิ มือ คณฺฐิ ปม
โชติ ไฟ กจุ ฺฉิ ทอ้ ง สาลิ ขา้ วสาลี
มุฏฺ ฐิ กาํ มือ โพธิ ตน้ โพธ์ิ ราสิ กอง
พฺยาธิ โรค
สามี สามี กรี ชา้ ง
ตัวอย่าง อี การันต์ในปุงลงิ ค์ สสี ดวงจนั ทร์ ปกขฺ ี นก
หตฺถี ชา้ ง มนฺตี มนตรี มุสลี โจร
สิขี นกยงู
โยคี นกั พรต

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทส่ี ุดศัพท์)ต่อ

ตวั อย่าง อุ การันต์ในปุงลงิ ค์ เกตุ ธง ราหุ ราหู
อจุ ฺฉุ ออ้ ย เวฬุ ไมไ้ ผ่
เสตุ สะพาน มจฺจุ ความตาย สินฺธุ ทะเล
ภาณุ ดวงอาทิตย์ สตฺตุ ศตั รู เหตุ เหตุ
เวณุ ไมไ้ ผ่
พนฺธุ ญาติ อตฺถญฺญู ผรู้ ู้อรรถ ธมฺมญฺญู ผรู้ ู้ธรรม
รตฺตญฺญู ผรู้ ู้ราตรี มตฺตญฺญู ผรู้ ู้ประมาณ
ตัวอย่าง อู การันต์ในปุงลงิ ค์ สยมฺภู ผเู้ ป็นเอง

มคฺคญฺญู ผรู้ ู้ทาง
กาลญฺญู ผรู้ ู้กาล
วทิ ู ผรู้ ู้

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทสี่ ุดศัพท์)ต่อ
อติ ถลี งิ ค์

ตัวอย่าง อา การันต์ในอติ ถีลงิ ค์

สทฺธา ความสทั ธา เมธา ปัญญา วชิ ฺชา ความรู้

จนิ ฺตา ความคิด มนฺตา ความรู้ วณี า พณิ

ตณฺหา ตณั หา เมตฺตา ความเมตตา ภกิ ฺขา อาหาร

ชิวฺหา ลิ้น วาจา วาจา ฉายา เงา

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทส่ี ุดศัพท์)ต่อ

ตัวอย่าง อิ การันต์ในอติ ถลี งิ ค์ กติ ฺติ ชื่อเสียง ตติ ฺติ ความอ่ิม
สนฺติ ความสงบ อทิ ฺธิ ฤทธ์ิ
ปตฺติ ส่วนบุญ ปี ติ ปี ติ ยุวติ หญิงสาว
ขนฺติ ความอดทน
ชาติ การเกิด กทลี ตน้ กลว้ ย ตรุณี หญิงสาว
สขี เพอื่ นหญิง นาคี นางนาค
ตัวอย่าง อี การันต์ในอติ ถลี งิ ค์ ยกฺขี นางยกั ษ์ กกุ ฺกฏุ ี ไก่
หสี นางหงส์ ราชินี ราชินี
วาปี บึง
วารุณี แม่มด
เทวี พระเทวี
กากี แม่กา

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทส่ี ุดศัพท์)ต่อ

ตวั อย่าง อุ การันต์ในอติ ถลี งิ ค์ เธนุ แม่โคนม กาสุ หลมุ
กจฺฉุ โรคหิด กณฺฑุ โรคเกล้ือน
ธาตุ ธาตุ กเรณุ ชา้ งพงั สสฺสุ แม่ยาย
ททฺทุ โรคกลาก
รชฺชุ เชือก

ตวั อย่าง อู การันต์ในอติ ถลี งิ ค์ ชมฺพู ตน้ หวา้ สรภู ตุก๊ แก
สุตนู ผมู้ ีกายงาม จมู กองทพั
วธู หญิงสาว
สรพู แม่น้าํ สรพู
ภู แผน่ ดิน

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทสี่ ุดศัพท์)ต่อ

นปุงสกลงิ ค์

ตวั อย่าง อ การันต์ในนปุงสกลงิ ค์

ปุญฺญ บุญ ปาป บาป ผล ผล
สุข ความสุข
รูป รูป กณฺณ หู สีล ศีล
พล กาํ ลงั
ทาน การให้ ทุกขฺ ความทุกข์

ธน ทรัพย์ มูล ราก

องค์ประกอบของนามศัพท์ (การันต์-สระทส่ี ุดศัพท์)ต่อ

ตวั อย่าง อิ การันต์ในนปุงสกลงิ ค์

อฏฺ ฐิ กระดูก ทธิ นมเปร้ียว วาริ แม่น้าํ
อกขฺ ิ ลูกตา อจฺจิ เปลวไฟ สปฺปิ เนย

ตวั อย่าง อุ การันต์ในนปุงสกลงิ ค์ ทารุ ไม้
หิงฺคุ มหาหิงคุ์
จกฺขุ ตา ธนุ ธนุ ชตุ ยาง

ติปุ ดีบุก มธุ น้าํ ผ้งึ

สิคฺคุ ตน้ มะรุม วตฺถุ พสั ดุ

อมฺพุ น้าํ อสฺสุ น้าํ ตา

บทที่ ๕

องค์ประกอบของนามศัพท์ (วภิ ตั ต-ิ การแจกนามศัพท์ตามหน้าท)่ี

⚫ การสร้างคานามนามด้วยการลงวภิ ตั ตินาม

⚫ วภิ ตั ติ คือ สญั ลกั ษณ์ หรือเครื่องหมายท่ีใชล้ งทา้ ยคาํ นาม เพือ่ บ่งบอกถึงหนา้ ท่ี
สถานภาพ ปริมาณ และความสมั พนั ธ์ของคาํ น้นั ๆ ใหท้ ราบวา่ คาํ น้นั อยใู่ นฐานะอะไร
มีจาํ นวนเท่าไหร่ และเกี่ยวขอ้ งกบั คาํ อ่ืนในประโยคอยา่ งไร

⚫ โบราณาจารย์ ไดน้ ิยามความหมายของคาํ วา่ วภิ ตั ติ ไวว้ า่ “ทช่ี ่ือว่า วภิ ัตติ เพราะ
จาแนกเนื้อความให้รู้ว่าเป็ นกรรม (สิ่งทถ่ี ูกทา) หรือ เป็ นกตั ตา (ผู้ทา) เป็ นต้น และให้
รู้ว่ามสี ่ิงเดยี วหรือมีจานวนมาก”

⚫ ในวภิ ตั ติแต่ละตวั จะมีอรรถ (วธิ ีใช)้ หลายอยา่ ง หากไม่เขา้ ใจอรรถเหล่าน้นั โดย
ถ่องแทแ้ ลว้ อาจทาํ ใหเ้ กิดความยากลาํ บากในการแปล หรืออาจแปลผดิ พลาดคลาดเคลื่อน
ไม่ตรงตามความมุ่งหมายของผแู้ ต่ง ดงั น้นั นอกจากทราบวธิ ีแจกวภิ ตั ติ แต่ละตวั แลว้
ควรศึกษาวธิ ีใชว้ ภิ ตั ติ แต่ละตวั ใหค้ รบถว้ นดว้ ย

*องค์ประกอบของนามศัพท์ (วภิ ตั ต-ิ การแจกนามศัพท์ตามหน้าที่) ต่อ

⚫ วภิ ัตตนิ ามมี ๑๔ ตวั แบ่งออกเป็ น ๗ หมวด ๆ ละ ๒ ตัว โดยจดั เป็ น ฝ่ ายเอกวจนะ ๗ ตวั
และพหุวจนะ ๗ ตวั

⚫ วภิ ตั ตินามเหล่าน้ี เม่ือลงทา้ ยคาํ นามแลว้ คงรูปกม็ ี แปลงรูปกม็ ี ลบทิ้งกม็ ี ข้ึนอยกู่ บั การันต์ และ
ลิงคข์ องคาํ นามน้นั

ลาดับ วชภิื่อตัเรตียนิกาวมภิ ัต๑ต๔ิ ตัว บทบาเอทกห.น้าทข่ี องแพตห่ลุ.ะวภิ ัตติ และคาแปลประจทาวาหภิ นัต้ตาทิ ี่

๑ ปฐมาวภิ ตั ติ สิ โย เป็นกตั ตุการก (เป็นผทู้ าํ ), กมั มการก (ผถู้ ูกทาํ )
๒ ทุติยาวภิ ตั ติ อ โย เป็นกมั มการก (เป็นผถู้ ูกกระทาํ )

๓ ตติยาวภิ ตั ติ นา หิ เป็นกตั ตุการกและกรณการก (เป็นเครื่องมือ)

๔ จตุตถีวภิ ตั ติ ส น เป็นสมั ปทานการก (แสดงความเป็นผรู้ ับ)

๕ ปัญจมีวภิ ตั ติ สฺมา หิ เป็นอปาทานการก (แสดงการแยกออก)

๖ ฉฏั ฐีวภิ ตั ติ ส น เป็นอการก (แสดงความเป็นเจา้ ของ)

๗ สตั ตมีวภิ ตั ติ สฺมึ สุ เป็นอธิกรณการก (แสดงสถานท่ีและเวลา)

๘ อาลปนวภิ ตั ติ สิ โย เป็นอการก (แสดงคาํ ทกั ทาย)

*องค์ประกอบของนามศัพท์ (วภิ ัตต-ิ การแจกนามศัพท์ตามหน้าท)่ี ต่อ

ลาดบั เอก. คาแปลประจาวภิ ัตติ พหุ. คาแปล
คาแปล
โย .........ท.
ปฐมาวภิ ตั ติ ท่ี ๑ สิ อ. (อนั ว่า) โย .........ท.
ทุตยิ าวภิ ัตติ ที่ ๒ อ ซึ่ง, สู่, ยงั , สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ หิ .........ท.
ตติยาวภิ ัตติ ที่ ๓ นา ด้วย, โดย, อนั , ตาม, เพราะ, มี น .........ท.
จตุตถีวภิ ัตติ ที่ ๔ ส แก่, เพื่อ, ต่อ หิ .........ท.
ปัญจมวี ภิ ตั ติ ท่ี ๕ สฺมา แต่, จาก, กว่า, เหตุ น .........ท.
ฉัฏฐีวภิ ัตติ ท่ี ๖ ส แห่ง, ของ, เมื่อ สุ .........ท.
สัตตมวี ภิ ตั ติ ที่ ๗ สฺมึ ใน, ใกล้, ท,่ี คร้ันเมื่อ, ในเพราะ, เหนือ, บน, ณ
โย .........ท.
อาลปนวภิ ัตติ ที่ ๘ สิ แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่

องค์ประกอบของนามศัพท์ (วภิ ัตต-ิ การแจกนามศัพท์ตามหน้าท่ี) ต่อ

ตวั อย่างการแจก ปุริส (บุรุษ) อ การันต์ ในปุงลงิ ค์ ด้วยวภิ ตั ตนิ ามท้งั ๑๔ ตัว

วภิ ัตติ เอกวจนะ ปุริส+โย พหุวจนะ
ปุริส+โย
ป. ปุริส+สิ =ปุริโส ปุริส+หิ =ปุริสา
ทุ. ปุริส+อ =ปุริส ปุริส+น =ปุริเส
ต. ปุริส+นา =ปุริเสน ปุริส+หิ =ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
จตุ. ปุริส+ส =ปุริสสฺส, ปุริสาย, ปุริสตฺถ ปุริส+น =ปุริสาน
ปญฺ. ปุริส+สฺมา =ปุริสสฺมา, ปุริสมฺหา, ปุริสา ปุริส+สุ =ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
ฉ. ปุริส+ส =ปุริสสฺส ปุริส+โย =ปุริสาน
ส. ปุริส+สฺมึ =ปุริสสฺม,ึ ปุริสมฺหิ, ปุริเส =ปุริเสสุ
อ. ปุริส+สิ =ปุริส =ปุริสา


Click to View FlipBook Version