The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการดำเนินงานประจำปี65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by toeiwarakorn.39, 2023-08-06 03:11:56

แผนการดำเนินงานประจำปี65

แผนการดำเนินงานประจำปี65

แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -2-


แผนปฏิบัติการประจ าปี แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง --3ก--


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -4- ค ำน ำ แผนปฏิบัติราชการประจ าปี 2565 ของโรงเรียนอนุบาลคลองขลุง ฉบับนี้ จัดท าขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียน ตามแนวทาง การจัดการ ศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช 2544 และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2545 แนวทางการจัดการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แนวทางการ จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนอนุบาลคลองขลุง พุทธศักราช 2552 และแนวนโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียน โดยค านึงถึงเป้าหมายสูงสุดของการปฏิรูป การศึกษา คือ ยกระดับมาตรฐานคุณภาพของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาชาติ และบังเกิด ความพึงพอใจของชุมชน ท้องถิ่น สร้างผลผลิต คือ นักเรียนให้มีมาตรฐานในทุกระดับชั้น ให้เป็นคน เก่ง คนดี มีความสุข เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เพื่อจะเป็นก าลังส าคัญในการพัฒนาประเทศชาติสืบไป โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง พฤษภาคม 2565 แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -ข


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -5- สำรบัญ แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -ค หน้ำ บันทึกการให้ความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ ค าน า ก ข สารบัญ ค ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 บทน า ทิศทางการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1 31 ส่วนที่ 3 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 47 ส่วนที่ 4 แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจ าปีการศึกษา 51 การอนุมัติการใช้เงินงบประมาณตามรายละเอียดโครงการ โครงการของสถานศึกษา - โครงการพัฒนางานวิชาการ - โครงการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 61 65 - โครงการส่งเสริมศักยภาพและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร - โครงการห้องสมุดก้าวไกลไปสู่โลกโซเชียล - โครงการพัฒนาคุณภาพปฐมวัย - โครงการพัฒนาห้องเรียนคุณภาพ - โครงการศึกษาและเรียนรู้นอกสถานศึกษา - โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาและ โสตทัศนูปกรณ์ - โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา - โครงการพัฒนาระบบการเงิน การบัญชี และงานพัสดุ - โครงการสาธารณปโภค - โครงการพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม - โครงการวันส าคัญ - โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - โครงการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ และประชาสัมพันธ์ 69 73 77 80 83 87 90 93 97 100 103 107 111 117


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -6- - โครงการโรงเรียนสีขาว 120 ส่วนที่ 5 การก ากับ ติดตาม ประเมินและรายงาน 124 ภาคผนวก - แบบประเมินโครงการตามแผนปฏิบัติการ - ค าสั่งแต่งตั้งคณะท างานจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีการศึกษา 132 135 แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -ง


ส่วนที่ 1 บทน ำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 หมวด 2 มาตรา 10 ได้กล่าวถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานไว้ว่า การศึกษาต้องจัดให้ บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาส าหรับบุคคลซางมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซางไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิ และโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2565) กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2579) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.2563-2565) ซึ่งได้รับความส าคัญต่อการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานต่อประชากรวัยเรียนให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ 1. บทบำทหน้ำที่ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำน 1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 2) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา 38 (กรรมการสถานศึกษา) มาตรา 39 (อ านาจหน้าที่ผู้บริหาสถานศึกษา) 3) กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในส านักงานเขต พื้นที่การศึกษ า พ .ศ. 2547 (ออกต าม ม .34 วรรคสี่ ของ พ ระราชบัญ ญั ติก ารบ ริห าร กระทรวงศึกษาธิการ) 4) กฎกระทรวงก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอ านาจการบริหารและจัด การศึกษา (ออกตาม ม.39 วรรคสอง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542) 5) ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารจัดการและขอบเขตการ ปฏิบัติหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2546 (ออก ตาม ม.35 พระราชบัญญัติการบริหารกระทรวงศึกษาธิการ) 6) กฎกระทรวงก าหนดจ านวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์วิธีการสรรหา กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546 7) ระเบียบกฎหมายอื่น ๆ 2. บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาตามเจตนารมณ์ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 1) จัดท านโยบายแผนพัฒนาการศึกษาด้านวิชาการ บุคคล งบประมาณ บริหารทั่วไป


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -2- 2) จัดตั้ง/รับผิดชอบการใช้จ่ายงบประมาณ 3) พัฒนาหลักสูตร /จัดการเรียนการสอน 4) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ แนวปฏิบัติ 5) ก ากับ ติดตามประเมินผลตามแผนงานโครงการ 6) ระดมทรัพยากร ปกครอง ดูแลบ ารุงรักษาทรัพย์สินฯ 7) จัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 8) ส่งเสริมความเข้มแข็งชุมชน สร้างความสัมพันธ์ 2. สภำพทั่วไปของสถำนศึกษำ โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง ตั้งอยู่เลขที่ 1008 หมู่ 2 เขตเทศบาลต าบลท่ามะเขือ ต าบล ท่ามะเขือ อ าเภอคลองขลุง จังหวัดก าแพงเพชร รหัสไปรษณีย์62120 โทรศัพท์และโทรสาร 0-5586-3499 e-mail……-… website Anubankk.net เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย (อนุบาลปีที่ 1) ถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) มีเขตพื้นที่บริการ ได้แก่ 1) ระดับก่อนประถม และระดับประถมศึกษา เขตเทศบาลต าบลท่ามะเขือ หมู่ 1 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านเกาะหมู ) หมู่ 2 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านบ่อหว้า ) หมู่ 6 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านดงประดา ) 2) ระดับมัธยมศึกษา หมู่ 1 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านเกาะหมู ) หมู่ 2 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านบ่อหว้า ) หมู่ 3 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านโนนมะกอก ) หมู่ 4 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านหนองจอก ) หมู่ 5 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านวังน้ าแดง ) หมู่ 6 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านดงประดา ) หมู่ 7 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านอู่ส าเภา ) หมู่ 8 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านคลองพัฒนา ) หมู่ 9 ต. ท่ามะเขือ ( บ้านหนองจอก ) ผู้บริหำร นายทรงศักดิ์ เงินเมือง ต าแหน่งผู้อ านวยการโรงเรียนอนุบาลคลองขลุง ด ารงต าแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 จนถึงปัจจุบันเวลา…-…ปี……8.…เดือน ประวัติโดยย่อของโรงเรียน โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง ตั้งอยู่เลขที่ 1008 เทศบาลต าบลท่ามะเขือ ต าบลท่า มะเขือ อ าเภอคลองขลุง จังหวัดก าแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ 62120 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 โดยแยกจากโรงเรียนวัดสามัคคีธรรม ใช้ชื่อว่า “โรงเรียนวัดสามัคคีธรรม 2” เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียน บ้านท่ามะเขือ” เปิดท าการสอน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พ.ศ. 2512 ได้รับการอนุมัติให้เปิดสอน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -3- พ.ศ. 2521 ใช้หลักสูตรพุทธศักราช 2521 เปิดท าการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 พ.ศ. 2523 โอนไปสังกัดส านักงานการประถมศึกษาอ าเภอคลองขลุง ส านักงาน การประถมศึกษาจังหวัดก าแพงเพชร ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้รับการอนุมัติให้เปิดสอน ตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2539 ได้รับคัดเลือกเข้าโครงการ “โรงเรียนปฏิรูปการศึกษา” วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2543 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่ เป็น “โรงเรียนอนุบาล คลองขลุง” ตามค าสั่งของส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดก าแพงเพชร ตามโครงการ “โรงเรียน เครือข่ายสหวิทยาเขตมหามงคล” โรงเรียนอนุบาลประจ าอ าเภอ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องใน วโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมายุครบ 6 รอบ (72 พรรษา) เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2544 ได้รับอนุมัติให้เข้าร่วมโครงการ “School Net” ตามความร่วมมือของ NECTEC กับกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2545 ได้เข้าร่วมเครือข่าย ซีมีโอ ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือด้านความเสมอ ภาคและคุณภาพการศึกษาระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ได้เข้าร่วมเป็นโรงเรียนเครือข่ายโครงการ “ระบบดี โรงเรียนมีคุณภาพ” (ToPSTAR) ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาก าแพงเพชร เขต 2 พ.ศ. 2549 ได้เข้าร่วมเป็นโรงเรียนในเครือข่าย โรงเรียนส่งเสริมรักการอ่าน กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ประจ าอ าเภอคลองขลุง พ.ศ. 2550 ได้เป็นโรงเรียนแกนน าส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน พ.ศ. 2551 ได้เป็นโรงเรียนต้นแบบส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน, โรงเรียนแกนน าจัดการเรียน ร่วม, โรงเรียนต้นแบบการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้, โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พ.ศ. 2552 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง เป็นโรงเรียนในฝันรุ่นที่ 3 โรงเรียนดีประจ าอ าเภอ พ.ศ. 2556 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง เป็นโรงเรียนแกนน าเศรษฐกิจพอเพียง พ.ศ. 2561 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง เป็นโรงเรียนคุณธรรม ช่วยกันสร้างคนดีให้บ้านเมือง พ.ศ. 2563 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง เป็นโรงเรียนสถานศึกษาปลอดภัย ปรัชญำของโรงเรียน นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา แปลว่า แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี ค ำขวัญของโรงเรียน “รู้เวลา รู้หน้าที่ มีวินัย น้ าใจงาม ความสามัคคี” อัตลักษณ์ของโรงเรียน “ยิ้ม ไหว้ ทักทาย แต่งกายเรียบร้อย” เอกลักษณ์ของโรงเรียน “มีสุนทรียภาพด้านนาฏศิลป์ ดนตรี และกีฬา”


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -4- สัญญลักษณ์ของโรงเรียน “ดอกบัว” ตราสัญลักษณ์โรงเรียนอนุบาลเป็นรูปอักษร อ สามเหลี่ยม มีดอกบัวอยู่กลางอักษร อักษรย่อของโรงเรียน “อ.บ.ข.” สีประจ ำโรงเรียน “สีฟ้า” ตรำสัญลักษณ์โรงเรียนอนุบำลคลองขลุง 2.2 ข้อมูลจ ำนวนนักเรียน ห้องเรียน งบประมำณที่ได้รับจัดสรร ตำงรำงที่ 1 แสดงจ านวนนักเรียนจ าแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน รวมทั้งสิ้น 260 คน (ข้อมูล ณ 17 พฤษภาคม 2565) ชั้น ทั้งหมด ชำย หญิง รวม อนุบาล 1 5 1 6 อนุบาล 2 5 2 7 อนุบาล 3 2 4 6 รวมระดับอนุบำล 12 7 19 ประถมศึกษาปีที่ 1 9 13 22 ประถมศึกษาปีที่ 2 6 9 15 ประถมศึกษาปีที่ 3 13 8 21 ประถมศึกษาปีที่ 4 12 19 31 ประถมศึกษาปีที่ 5 13 15 28


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -5- ชั้น ทั้งหมด ชำย หญิง รวม ประถมศึกษาปีที่ 6 11 10 21 รวมระดับประถม 64 74 138 มัธยมศึกษาปีที่ 1 23 12 35 มัธยมศึกษาปีที่ 2 21 14 35 มัธยมศึกษาปีที่ 3 21 12 33 รวมมัธยม 65 38 103 รวมทั้งหมด 141 119 260 3.ข้อมูลผู้บริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ตำรำงที่ 2 แสดงจ านวนข้าราชการครูและบุคลาการทางการศึกษาโรงเรียนอนุบาล คลองขลุง ปีการศึกษา 2565 จ าแนกตามต าแหน่ง ต ำแหน่ง จ ำนวน รวม ชำย หญิง ผู้อ านวยการสถานศึกษา 1 - 1 ครูช านาญการพิเศษ 3 3 ครูช านาญการ 1 5 6 ครู 1 - 1 ครูผู้ช่วย 1 1 2 ครูอัตราจ้าง (นอกงบประมาณ) 1 2 3 ครูธุรการ - - - แม่บ้าน (พนักงานจ้างเหมา) - 1 1 รวม 5 12 17 ตำรำงที่ 3 แสดงจ านวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจ าแนกตามระดับวุฒิสูงสุด และกลุ่มสาระการเรียนรู้/งานที่ปฏิบัติหน้าที่ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้/งำน ระดับวุฒิสูงสุด ปริญญำ เอก ปริญญำโท ปริญญำตรี รวม ฝ่ายบริหาร (ผอ.) - 1 - 1 กลุ่มสาระฯ ภาษาไทย - 1 2 3 กลุ่มสาระฯ คณิตศาสตร์ - - 1 1


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -6- กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 1 1 2 กลุ่มสาระฯ สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม 1 - - 1 กลุ่มสาระฯ สุขศึกษาและพลศึกษา - - 2 2 กลุ่มสาระฯ ศิลปะ - - 2 2 กลุ่มสาระฯ การงานอาชีพ - 1 - 1 กลุ่มสาระฯ ภาษาต่างประเทศ - - 1 1 การประถมศึกษา - - 1 1 ปฐมวัย - 1 - 1 รวม 1 5 10 16 งบประมำณที่ได้รับจัดสรร (70 % แรกที่ได้รับแล้ว คงเหลืออีก 30 %) งบประมำณทั้งสิ้น .....465,390.00...... บำท แบ่งเป็น 1 เงินอุดหนุนรายหัว .....141,400.00...... บาท 2 เงินอุดหนุนอื่น (ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนนักเรียนยากจน) - บาท 3 งบด าเนินงานตามตามนโยบายการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 3.1 ค่าหนังสือเรียน ......148,305.......บาท 3.2 ค่าอุปกรณ์การเรียน .......37,835......…บาท 3.3 ค่าเครื่องแบบนักเรียน .......76,200......…บาท 3.4 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน .......61,650......…บาท งบประมำณที่ได้รับจัดสรร (30 % ที่คำดว่ำจะได้รับอีก .......141,250.........บำท)


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 2.3 จ ำนวนผู้บริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำแยกต ผู้บริหาร จ านวน 1 คน ครู จ านวน 16 คน นักภ ที่ ชื่อ - สกุล เลขประจ ำตัว ประชำชน ต ำแหน่ง 1 นายทรงศักดิ์ เงินเมือง 3620501055397 ผอ.ผอ.ช 2 นางนภาพร แพรพันธ์ 3630100754511 ครู ค 3 นายนวพล สุขศิริ 3620400374144 ครูผู้ช่วย 4 น.ส.เพียนเนตร นิ่มช้ า 562010015522 ครู ครูช 5 นางพิชชาภา ศรีสุข 3620500453941 ครู ค 6 นางศศิธร วันค า 3620500775710 ครู ครูช 7 นายสายันต์ นาควังไทร 3620500635047 ครู 8 น.ส.มารินทร์ ประชาชน 3601101250118 ครู ค 9 นางปรานี พูลพันธ์ชู 3649800214479 ครู ค 10 นายคมสัน สุวรรณนุช 3620100857816 ครู ค


โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -7- ตำมวุฒิทำงกำรศึกษำ ภารภารโรง จ านวน.......-......คน อื่นๆ..................... จ านวน....-.... คน วิทยฐำนะ เลขที่ ต ำแหน่ง วุฒิ กศ. ( ย่อ ) วิชำเอก วดป.เกิด วันเริ่ม รับรำชกำร ช านาญการพิเศษ 3179 กศ.ม. การบริหารการศึกษา 28 เม.ย.2507 14 พ.ค.2525 ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อ านวยการ โรงเรียนอนุบาล คลองขลุง 1 พฤศจิกายน 2564 รูช านาญการ 1633 ค.ม. การบริหารการศึกษา 12 มิ.ย.2512 1 ธ.ค. 2535 - 2424 ทล.บ. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 20 มี.ค.2519 24 ก.ค. 2563 ช านาญการพิเศษ 2437 ค.บ. นาฏศิลป์ 8 ก.ค.2515 28 ก.ย.2555 (24 มี.ค. 2565) รูช านาญการ 2495 ค.บ. ภาษาอังกฤษ 24 พ.ย.2504 4 พ.ค.2541 ช านาญการพิเศษ 2679 วท.ม. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมฯ 27 ส.ค. 2509 23 ส.ค.2536 - 2798 วท.บ. คณิตศาสตร์ 13 ต.ค.2511 21 ธ.ค. 2558 รูช านาญการ 3190 วท.ม. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมฯ 23 มี.ค.2507 26 มิ.ย.2533 รูช านาญการ 3194 ค.ม. หลักสูตรและการสอน 4 พ.ค.2514 7 มิ.ย.2542 ครูช านาญการ 3199 ค.บ. ดนตรีศึกษา 1 ต.ค.2522 10 มิ.ย.2554 (1ต.ค.2564)


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 ที่ ชื่อ - สกุล เลขประจ ำตัว ประชำชน ต ำแหน่ง 11 นางพิศมัย แก้วเจริญผล 3639900071009 ครู ครูช 12 น.ส.อริสา องอาจกิจ 1600100299205 ครูผู้ช่วย 13 น.ส.จีระภา พึ่งกริม 3640600311405 ครู ค


โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -8- วิทยฐำนะ เลขที่ ต ำแหน่ง วุฒิ กศ. ( ย่อ ) วิชำเอก วดป.เกิด วันเริ่ม รับรำชกำร ช านาญการพิเศษ 3210 ค.ม. การบริหารการศึกษา 20 ก.ย.2505 11 ก.ค.2527 - 3669 วท.บ. วท.ม. เคมี 28 พ.ย.2531 24 ก.ค. 2563 รูช านาญการ 5160 ศศ.ม. ภาษาไทย 2 มี.ค.2514 1 ก.ค. 2537


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -9- 2.4 อำคำรเรียนและอำคำรประกอบ โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง ประกอบไปด้วยอาคารเรียนและอาคารประกอบ ดังนี้ ล ำดับ รำยกำร จ ำนวน อำคำรเรียน 1. อาคารเรียน แบบ สปช. 105/29 ขนาด 2/8 1 หลัง 2. อาคารเรียน แบบ สปช. 2/28 ขนาด 3/18 1 หลัง 3. อาคารเรียน แบบ สปช. 2/28 ขนาด 3/15 1 หลัง ห้องเรียน 5. ห้องเรียนระดับก่อนประถม 2 ห้อง 6. ห้องเรียนประถมศึกษา 6 ห้อง 7. ห้องเรียนมัธยมศึกษา 3 ห้อง 8. ห้องวิทยาศาสตร์ 1 ห้อง 9. ห้องปฏิบัติการทางภาษา 1 ห้อง 10. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1 ห้อง 11. ห้องสมุด 1 ห้อง 12. ห้องปฏิบัติการทางด้านนาฏศิลป์ 1 ห้อง 13. ห้องปฏิบัติการทางด้านดนตรี 1 ห้อง 14. ห้องปฏิบัติการสื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 ห้อง อาคารประกอบ 12. อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช.205/26 1 หลัง 13. อาคารจริยธรรม แบบสร้างเอง 1 หลัง 14. อาคารงานอาชีพ – สหกรณ์ 1 หลัง 15. ศาลาประดิษฐานพระพุทธรูป 1 หลัง 16. ส้วม แบบ สปช.602/26 ขนาด 10 ที่นั่ง 1 หลัง 17. ส้วม แบบ สปช.601/26 ขนาด 4 ที่นั่ง 1 หลัง 19. ศาลาทรงแปดเหลี่ยม แบบสร้างเอง 1 หลัง สนามกีฬา 19 สนามวอลเลย์บอล 1 สนาม 20 สนามตะกร้อ 1 สนาม 21 สนามบาสเกตบอล 1 สนาม สนามกีฬา 22 สนามอเนกประสงค์ 1 สนาม 23 สนามเด็กเล่น 1 สนาม


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -10- 2.5 สภำพชุมชนโดยรวม 1) สภาพชุมชนรอบโรงเรียน (บอกลักษณะภูมิประเทศรอบๆโรงเรียน) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นสังคมชนบทกึ่งเมือง มีประชากร ประมาณ 4,000 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดสันติวนาราม วัดสามัคคีธรรม วัดวังคล้าย สถานีอนามัยต าบลท่ามะเขือ ตลาดสดเทศบาลต าบลท่ามะเขือ สวนกล้วยไม้ ไร่อ้อย อาชีพหลักของชุมชน คือ รับจ้าง ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ การท าบุญตักบาตร งานวันส าคัญทางศาสนา ตักบาตรเทโว งานประเพณี ลอยกระทง งานประเพณีสงกรานต์ งานประเพณีงานงิ้วเจ้าพ่อปู่ด า (ตลาดเหนือ) งานงิ้วเจ้าพ่อเสือ (ตลาดใต้) ในชุมชนตลาดท่ามะเขือ 2) ข้อมูลผู้ปกครอง ระดับการศึกษา ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาตอนต้น อาชีพหลัก คือ รับจ้าง ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 20,000-30,000 บาท จ านวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว 5 คน 2.6 สภำพปัจจุบัน ปัญหำ และควำมต้องกำร 1) สภาพปัจจุบัน (น ามาจากผล SWOT จากแผนปฏิบัติการ 4 ปี) โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง บริหารงานแบบกระจายอ านาจให้ผู้เกี่ยวข้องทุกคนได้มี ส่วนร่วมในการบริหารงานด้านต่าง ๆ โดยให้บุคลากรในโรงเรียน เป็นกรอบในการด าเนินงาน ตามที่ โครงการก าหนดเป็นแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน ประจ าปีงบประมาณ 2562-2565 อีกทั้งเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และครอบคลุมภารกิจในการจัดการศึกษา และเพื่อให้เกิดความ ชัดเจนในการรายงานผล การจัดการศึกษา โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง จึงด าเนินงานตามแผนปฏิบัติ ราชการประจ าปีที่ก าหนดไว้ 2) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการศึกษา (สรุปปัญหาที่พบจากปีการศึกษาที่ผ่านมาเป็นความเรียง แยกตามภารกิจงาน) ➢ งำนบริหำรงำนวิชำกำร กำรด ำเนินงำน 1. จัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563 ในทุกระดับชั้น และมีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรฯ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ในชั้นปีที่ 6 ของระดับประถมศึกษา และชั้นปีที่ 3 ของระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2. บริหารหลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2552 ได้แก่ การใช้หลักสูตร การประเมินผลและพัฒนาหลักสูตร 3. ครูจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 4. มีการก ากับติดตามและด าเนินการนิเทศภายใน 5. มีการด าเนินการวัดและประเมินผลการศึกษาอย่างมีคุณภาพ 6. ด าเนินการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -11- 7. ส่งนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานอื่น ๆ จัดขึ้น 8. รับการประเมินคุณภาพการศึกษาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนชั้น ป.3 ชั้น ป.6 และ ชั้น ม. 3 และด าเนินงานตามแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ปัญหำและอุปสรรค 1. การจัดการศึกษ าตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษ าขั้นพื้น ฐาน พุทธศักราช 2551 ในด้านประสิทธิภาพของการวัดผล ประเมินผลและการจัดท าเอกสารต่าง ๆ เอกสารหลักสูตร ยังไม่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน และไม่สอดคล้องกับการปรับปรุงหลักสูตรในปี ปัจจุบัน อีกทั้งความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของบุคลากรในการจัดท าเอกสารต่าง ๆ 2. แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา 3. การด าเนินการนิเทศภายใน ยังไม่มีปฏิทินการด าเนินงานที่ชัดเจน และ เครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศมีประสิทธิภาพน้อย 4. ครูยังมีความเข้าใจในวิธีการการวัดและประเมินผลตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คลาดเคลื่อน 5. แผนการด าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ยังไม่ชัดเจน 6. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาด้านผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักเรียน ชั้น ป. 3 ,ป. 6 และ ม. 3 ยังไม่เป็นที่น่าพอใจในบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ และบางรายวิชา ข้อเสนอแนะ 1. จัดอบรมครูเกี่ยวกับวิธีการวัดผลประเมินผลการศึกษาตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และการจัดท าเอกสารต่างๆ 2. จัดท าเอกสารหลักสูตรให้เพียงพอกับชั้นเรียนและบุคลากรในสังกัด 3. จัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแนวนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด 4. พัฒนาและให้ครูจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญให้มากขึ้น 5. จัดท าเครื่องมือนิเทศภายในให้มีประสิทธิภาพและหลากหลายมากขึ้น 6. จัดท าแผนการประกันคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 7. เร่งรัดจัดให้ครูจัดการเรียนรู้ เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการศึกษา ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้น ป. 3 , ป.6 และ ม. 3 มากยิ่งขึ้น ➢ งำนบริหำรงำนงบประมำณ กำรด ำเนินงำน 1. ด าเนินงานงบประมาณ ตามระเบียบว่าด้วยการเงินและพัสดุ ฉบับปรับปรุงตลอดจนแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานต้นสังกัด 2. ด าเนินงานตามรูปแบบการบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลงาน (PBB) 3. จัดท าระบบการจัดท าเอกสารและการจัดเก็บงานการเงินและพัสดุ ให้เป็นปัจจุบันและถูกต้องเป็นระเบียบ 4. จัดท าระบบควบคุมภายใน 5. ด าเนินการตรวจสอบภายใน


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -12- 6. ระดมทุนเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาจากชุมชน ท้องถิ่นและหน่วยงาน อื่นๆ ปัญหำและอุปสรรค 1. บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านงบประมาณไม่เพียงพอกับภาระงาน 2. บุคลากรที่ปฏิบัติงานมีชั่วโมงสอนมากไม่มีเวลาปฏิบัติงานพิเศษ 3. บุคลากรยังขาดความรู้ ความเข้าใจการด าเนินงานตามรูปแบบ การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลงาน (PBB) 4. การจัดท าระบบควบคุมภายในยังขาดประสิทธิภาพ 5. การด าเนินการตรวจสอบภายในยังขาดประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ 1. มอบหมายงานให้บุคลากรปฏิบัติงานงบประมาณมากยิ่งขึ้น โดยความ สมัครใจ 2. พัฒนาความรู้ ความสามารถบุคลากรในการปฏิบัติงานงบประมาณ ให้มากยิ่งขึ้น 3. พัฒนาระบบเอกสาร สารสนเทศงานงบประมาณโดยใช้เทคโนโลยี ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. มีการวางแผนและพัฒนาระบบควบคุมภายในให้มีประสิทธิภาพ 5. มีการวางแผนและพัฒนาระบบการตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิภาพ ➢ งำนบริหำรงำนบุคคล กำรด ำเนินงำน 1. มอบหม ายงานให้ปฏิบัติต าม ความ รู้ ความ ส าม ารถและต าม ความเหมาะสม 5. ส่งเสริมให้บุคลากรเข้ารับการอบรม ประชุมสัมมน าเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 3. จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในสถานศึกษา 4. ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรมีความก้าวหน้าในวิชาชีพ หรือได้รับ รางวัลเกี่ยวกับวิชาชีพจัดกิจกรรมเพื่อสร้างขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากร ปัญหำและอุปสรรค 1. การมอบหมายงานบางงาน ไม่สามารถมอบหมาย ได้สะดวก 2. ผู้รับผิดชอบงานบางงานมีชั่วโมงสอนมาก ไม่มีเวลาในการท างานพิเศษ 3. บุคลากรบางคนยังปฏิบัติงานไม่เต็มก าลังความสามารถอันเนื่องจาก ภาระงานมาก 4. ขาดขวัญและก าลังใจในการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการท างาน 5. การเข้ารับการประเมินผลงานทางวิชาการ หรือเข้าร่วมกิจกรรมทาง วิชาการมีน้อย ข้อเสนอแนะ 1. จัดหาบุคลากรที่มีความสมัครใจปฏิบัติงาน และส่งเสริมให้มีการ พัฒนางาน


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -13- 2. กระจายงานให้บุคลากรปฏิบัติอย่างทั่วถึง 3. พัฒนาส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ มีประสบการณ์ใน การปฏิบัติงาน 4. จัดกิจกรรมให้บุคลากรได้สร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และเป็นการ สร้างขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน เช่น โครงการทัศนศึกษา โครงการสังสรรค์วันปีใหม่ 5. สร้างความตระหนักและส่งเสริมให้ครูเข้าร่วมการประเมินผลงานทาง วิชาการหรือร่วมกิจกรรมทางวิชาการให้มากขึ้น ➢ งำนบริหำรงำนทั่วไป กำรด ำเนินงำน 1. ด าเนินงานตามภาระหน้าที่ของการบริหารงานทั่วไปตามระเบียบว่าด้วย การบริหารงานตามโครงสร้างโรงเรียนเป็นนิติบุคคล 2. มอบหมายงานให้บุคลากรปฏิบัติงานตามความรู้ความสามารถ 3. จัดระบบข้อมูลข่าวสาร เป็นปัจจุบัน เพื่อการเผยแพร่การบริหารงาน ของสถานศึกษาให้กับชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบตามก าหนด 4. ส่งเสริมสนับสนุน การบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณการ บริหารงานบุคคล ให้ด าเนินงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 5. ด าเนินการทางด้านข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยต่อเหตุการณ์ปัจจุบันได้อย่าง รวดเร็ว และสะดวกต่อการสืบค้นข้อมูล ปัญหำและอุปสรรค 1. โรงเรียนขาดบุคลากรสนับสนุนทางการจัดการศึกษา ตามโครงการคืน ครูให้นักเรียน (เจ้าหน้าที่ธุรการโรงเรียน) 2. บุคลากรในการด าเนินงาน มีภาระหน้าที่งานที่ได้รับมอบหมายมาก และ ภาระงานและเวลาในการด าเนินการสอนมาก ท าให้ปฏิบัติหน้าที่นี้ได้ไม่ดีเท่าที่ควร 2. ภาระงานของบุคลากรบางคนซ้ าซ้อน ท าให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติงาน การท างานล่าช้าไม่ทันเวลาที่ทางหน่วยเหนือก าหนด ข้อเสนอแนะ 1. ควรกระจายการปฏิบัติงานให้ทั่วถึง ตามก าลังอัตราที่มีอยู่ 2. บุคลากรที่ได้รับมอบหมาย ควรปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มก าลังสามารถ สรุปโดยภำพรวมของปัญหำและอุปสรรคในกำรจัดกำรศึกษำในปีกำรศึกษำที่ผ่ำนมำ ปัญหาและอุปสรรค์ในภาพรวม พื้นที่บริเวณโรงเรียนไม่พอเพียงต่อการสร้างแหล่ง การเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้หลากหลาย เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา นักเรียนส่วนใหญ่ เป็นนักเรียนที่ขาดโอกาสทางการศึกษา มีปัญหาครอบครัว สถานที่ออกก าลังกายมีไม่เพียงต่อการ ออกก าลังกาย เสริมสร้างสมรรถภาพทางร่างกาย ต่อการพัฒนาการของนักเรียน


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -14- 2.7 แหล่งเรียนรู้และกำรใช้ ล ำดับ รำยกำรแหล่งกำรเรียนรู้ภำยใน สถิติกำรเข้ำใช้บริกำร 1 ห้องสมุด 1,025 2 ห้องคอมพิวเตอร์ 1200 3 ห้องโสตทัศนูปกรณ์ 700 4 ห้องวิทยาศาสตร์ 1000 5 ห้องสื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 600 6 ห้องดนตรี 600 7 ห้องนาฏศิลป์ 1200 7 สนามเด็กเล่น 1200 8 เรือนเพาะช า 1200 9 ห้องจริยธรรม 400 10 ห้องประชาธิปไตย 400 11 ห้องพยาบาล 1000 12 ต้นไม้ค าคม 1200 ล ำดับ รำยกำรแหล่งกำรเรียนรู้ภำยนอก สถิติกำรเข้ำใช้บริกำร 1 วัดสันติวนาราม 60 2 วัดสามัคคีธรรม 40 3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลท่ามะเขือ 65 4 ศูนย์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน วัดสันติวนาราม 40 5 อุทยานประวัติศาสตร์มรดกโลกก าแพงเพชร 4 6 พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ จ.ก าแพงเพชร 4 7 ตลาดสดเทศบาลต าบลท่ามะเขือ 70 8 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 2 15 9 ศาลเจ้าพ่อปู่ด า 50 10 ส านักสงฆ์ บ้านดงประดา 5 11 โรงพยาบาลคลองขลุง 12 12 ศูนย์วิทยาศาสตร์การเรียนรู้เกาะเสือ อ าเภอโกสัมพีนคร จังหวัดก าแพงเพชร 1 ปรำชญ์ชำวบ้ำน/ภูมิปัญญำท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ ครู นักเรียน ในปีการศึกษาที่ผ่านมา 1. ผศ.เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา ให้ความรู้เรื่อง ระบ าชากังราว สถิติการให้ ความรู้ จ านวน 10 ครั้ง / ปี 2. พระสุพิน สุมโน ให้ความรู้เรื่อง ธรรมศึกษา จ านวน 1000 ครั้ง/ปี


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -15- 3. ดต.จารึก รอบุญ ให้ความรู้เรื่อง ยาเสพติด สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จ านวน 60 ครั้ง/ปี 4. นางรัตติกาล ประเสริฐพงศรี ให้ความรู้เรื่อง ท้องไม่พร้อม สถิติการให้ความรู้ใน โรงเรียนแห่งนี้ จ านวน 4 ครั้งต่อปี 5. นางละมัย บัวสุด ให้ความรู้เรื่อง การป้องกันตนเองจากไวรัสโคโรน่า (Covid-19) สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จ านวน 6 ครั้งต่อปี 6. นายเทิดเกียรติ ศรีทรัพย์ ให้ความรู้เรื่อง ไข้เลือดออก และโรคปากเท้าเปื่อย สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จ านวน 4 ครั้งต่อปี 7. นางสาวยลดา หมื่นเทพ ให้ความรู้เรื่อง เหา สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จ านวน 6 ครั้งต่อปี 8. นางสาวศิริวรรณ ประวะเสนัง ให้ความรู้เรื่อง สุขภาพฟันและการรักษาฟันให้ สะอาด สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จ านวน 6 ครั้งต่อปี 9. พนักงานบริษัท ทีเคซี มอเตอร์ไซต์ จ ากัด ให้ความรู้เรื่อง ขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้าง วินัยจราจร สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จ านวน 2 ครั้ง/ปี 10. พนักงานบริษัท ฮอนด์ด้า จ ากัด ให้ความรู้เรื่อง การขับขี่ปลอดภัย สถิติการให้ ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จ านวน 2 ครั้ง/ปี 11. ชมรมแอโรบิคบ้านท่ามะเขือ ให้ความรู้เรื่อง การออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียน 2 ครั้ง/ปี 2.8 วิธีกำรบริหำรจัดกำร (ระบบโครงสร้ำงกำรบริหำร) แผนภูมิกำรบริหำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนอนุบำลคลงอขลุง ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มงานบริหารงานวิชาการ - งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - งานพัฒนากระบวนการเรียนรู้ - งานวัดผล ประเมินผลฯ - งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา - งานพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีฯ - งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ - งานนิเทศการศึกษา - งานแนะแนวการศึกษา - งานพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา - งานส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน - งานประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับ สถานศึกษาอื่น - งานประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา - งานส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่ บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถานบันอื่นที่จัดการศึกษา กลุ่มบริหารงานบุคคล - งานวางแผนอัตราก าลังและก าหนดต าแหน่ง - งานสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง - งานเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ราชการ - งานวินัยและการรักษาวินัย - งานทะเบียนประวัติข้าราชการและลูกจ้าง


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -16- 1.9 ผลกำรด ำเนินงำน / โครงกำรในรอบปีที่ผ่ำนมำ กำรบริหำรงำนวิชำกำร ที่ ชื่องำน/ โครงกำร/ กิจกรรม วัตถุประสงค์/เป้ำหมำย วิธีด ำเนินกำร (ย่อๆ) ตัวบ่งชี้ควำมส ำเร็จ (จ ำนวน/ร้อยละ) 1. โครงการ ปรับปรุงและ พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน 1. เพื่อพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาของโรงเรียนอนุบาล คลองขลุง ให้สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. เพื่อพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาของโรงเรียนอนุบาล คลองขลุง ให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงปัจจุบันสู่ประชาคม อาเซียน 1. จัดท าโครงการ 2. ประชุมชี้แจงโครงการ 3. อนุมัติโครงการ 4. ด าเนินงานตาม โครงการ 5. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงาน 6. สรุปผลการด าเนินงาน และรายงานผล ครูผู้สอนร้อยละ 100 มีความรู้ตรงกับสาระ การเรียนรู้ที่ได้รับ มอบหมาย ครูผู้สอนร้อยละ 100 มีความสามารถ ในการจัดกิจกรรมการ สอนตามหลักสูตร สถานศึกษาและใช้ เอกสารประกอบ หลักสูตรในการบันทึก ผลการเรียนรู้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม 2. วัดและ ประเมินผลและ การเทียบโอน ผลการเรียน 1. เพื่อจัดหาเครื่องมือส าหรับ การจัดท าเอกสารเพื่อ ประกอบการวัดผลประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรียน 2. เพื่อจัดท าเอกสารการวัดผล ประเมินผลให้เป็นไปตาม ระเบียบการวัดผลประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อย่างถูกต้อง 1. จัดหาเครื่องมือส าหรับ การจัดท าเอกสารเพื่อ ประกอบการวัดผล ประเมินผลและการเทียบ โอนผลการเรียน 2. จัดหาเอกสารการ วัดผลประเมินผล 3. ด าเนินการลงข้อมูล Schoolmis ให้ทันกับเวลาท ี่ทาง สพป. และสพฐ.ก าหนด นักเรียนร้อยละ 100 ที่ได้รับการบริการ เกี่ยวกับเอกสาร เพื่อ ประกอบการวัดผล ประเมินผลและการ เทียบโอนผลการเรียน คณะครูและนักเรียน ร้อยละ 100 ได้รับ เอกสารประกอบการ วัดผลประเมินผล


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -17- ที่ ชื่องำน/ โครงกำร/ กิจกรรม วัตถุประสงค์/เป้ำหมำย วิธีด ำเนินกำร (ย่อๆ) ตัวบ่งชี้ควำมส ำเร็จ (จ ำนวน/ร้อยละ) 3. โครงการประกัน คุณภาพภายใน สถานศึกษา 1. เพื่อให้ผู้บริหารครูผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องในการจัด การศึกษา ได้ตระหนักเห็น ความส าคัญและ ร่วมกัน รับผิดชอบการจัดการศึกษา เพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ 2. เพื่อจัดระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาให้มีคุณภาพเป็นที่ ยอมรับของ ประชาชน ชุมชน และท้องถิ่น 3. เพื่อให้หน่วยงานและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาสามารถ รับทราบผลการ ด าเนินงาน จัดการศึกษาและเข้ามามีส่วน ร่วมรับผิดชอบในการจัด การศึกษามากยิ่งขึ้น 4. เพื่อจัดระบบควบคุณ คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ตามมาตรฐานที่สถานศึกษา ก าหนด 1. เสนอขออนุมัติ โครงการ 2. ประชุมวางแผน 3. การพัฒนางานตาม มาตรฐานการศึกษา โรงเรียน และมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. การประเมินคุณภาพ ภายในโดยต้นสังกัดการ ประเมินคุณภาพภายใน โดยต้นสังกัด โดยใช้ มาตรฐานการศึกษา ภายในของ กระทรวงศึกษาธิการ จ านวน 15 มาตรฐาน โดย สพป.กพ.เขต 2 5. การปรับปรุงแก้ไข ระบบการประกันคุณภาพ ภายใน 6. การจัดท ารายงาน ประจ าปีการศึกษา รายงาน สมศ. ร้อยละ 100 โรงเรียนมีระบบ ประกันคุณภาพ ภายใน (มาตรฐานที่ 12) โรงเรียน ด าเนินงานระบบ ประกันคุณภาพ ภายในตาม กฎกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. 25532 ชุมชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในระบบ ประกันคุณภาพ ภายใน 4. โครงการระบบ ดูแลช่วยเหลือ นักเรียน 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับ การดูแลช่วยเหลือและส่งเสริม พัฒนาเต็มศักยภาพ เป็นคนที่ สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา 1. กิจกรรมจัดเตรียมวัสดุ เพื่อคัดกรอง นักเรียนรายบุคคล 2. ถ่ายเอกสารแบบคัด กรองรายบุคคล ๓. รายงานสรุปผล โครงการ - นักเรียนร้อยละ 85 สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มศักยภาพ และ สามารถด าเนินชีวิตใน สังคมได้อย่างเป็นสุข 5. โครงการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ยาเสพติดใน สถานศึกษา 1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพ พลานามัยสมบูรณ์ไม่ติด ยาเสพติด 2. เพื่อป้องกันการแพร่ยา เสพติดเข้ามาในโรงเรียน 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ วางแผนงาน 3. ด าเนินการตาม ร้อยละ 90 นักเรียน มีสุขภาพร่างกาย แข็งแรงสมบูรณ์ นักเรียนไม่ยุ่งเกี่ยวกับ ยาเสพติดทุกประเภท


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -18- 3. เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา ต้านยาเสพติด 4. เพื่อปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการโรงเรียนสีขาว เฉลิมพระเกียรติปลอดยาเสพติด 5. เพื่อรณรงค์ต่อต้านยาเสพ ติดอย่างต่อเนื่อง 6. สนองตอบนโยบายรัฐบาล เกี่ยวกับยาเสพติด กิจกรรม 4. สรุปรายงานโครงการ นักเรียนรู้จักใช้เวลา ว่างให้เกิดประโยชน์ นักเรียนตั้งใจเรียน และมุ่งมั่นใน การศึกษาหาความรู้ 6. โครงการ โรงเรียนแกนน า จัดการเรียนร่วม 1. เพื่อมุ่งเน้นการศึกษาแบบ การเรียนร่วม โดยยึดหลัก พื้นฐานว่าเด็กทุกคนร่วมกันโดยไม่ ค านึงถึงอุปสรรคหรือความ แตกต่างที่อาจมี 2. เพื่อมุ่งจัดการเรียนการสอน ที่ยึดหลักการบูรณาการ และยึด เด็กเป็นศูนย์กลาง 3. เพื่อให้การศึกษาแบบเรียน ร่วม เป็นวิธีการที่มีประสิทธิผล ที่สุดส าหรับสร้างความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันระหว่างเด็กที่ มีความต้องการพิเศษกับเด็กปกติ 1. การเตรียมการ 2. การจัดเตรียมบุคลากร เพื่อเสริมการจัดการเรียน ร่วมให้ประสบผลส าเร็จ 3. การเตรียมผู้ปกครอง 4. การคัดแยกคัดกรอง เด็ก 5. การจัดท าแผนเฉพาะ บุคคล (IEP) 6. การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน 7. ประเมินผล โรงเรียนอนุบาล คลองขลุง มีบุคลากร ที่มีความรู้และทักษะ ในการจัดการเรียน ร่วม สามารถสร้าง และพัฒนาเครือข่าย ความร่วมมือในการ จัดการเรียนร่วม ระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 7 โครงการ ส่งเสริม สุนทรีย ทางนาฏศิลป์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมนาฏศิลป์ในแขนงต่างๆ ที่นักเรียนสนใจ 2. เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังความ สามัคคีในหมู่คณะ 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ วางแผนงาน 3. อบรมตามกิจกรรมใน โครงการที่ก าหนดไว้ นักเรียนทุกระดับชั้น เข้าร่วมกิจกรรม นาฏศิลป์ตามความ สนใจร้อยละ 85 นักเรียนทุกระดับชั้น 8 โครงการ ส่งเสริมนิสัย รักการอ่านและ พัฒนาห้องสมุด 1. เพื่อให้นักเรียนสนใจใน การอ่าน เห็นความส าคัญและ ความจ าเป็นของการอ่าน 2. เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังนิสัย รักการอ่าน อ่านต่อเนื่องจนเป็น นิสัย สามารถพัฒนาการอ่าน วิเคราะห์ สังเคราะห์ เรื่องที่อ่าน ได้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ วางแผนงาน 3. จัดกิจกรรมพัฒนา ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน 4. ก ากับติดตาม ประเมินผลการด าเนิน นักเรียนทุกระดับชั้น เข้าร่วมกิจกรรม ส่งเสริมนิสัยรัก การอ่านร้อยละ 85 นักเรียนทุกระดับชั้นมี พัฒนาการอ่านที่ดีขึ้น มีอุปนิสัยรัก การอ่าน น าการอ่าน


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -19- เกิดการฝ่ารู้ใฝ่เรียนตลอดชีวิต 3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีการ อ่านได้ดีและอ่านได้เร็ว 4. เพื่อให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดี ต่อการอ่านและมีวิจารณญาณ ในการอ่าน 5. เพื่อให้นักเรียนรู้จักใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์สามารถน า การอ่านไปใช้ประโยชน์ เกิดความเข้าใจเรื่องต่างๆดีขึ้น 6. เพื่อสร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนรู้ที่ จูงใจให้นักเรียนรักการอ่าน โครงการ 5. ประเมินผล/ รายงานผล ไปใช้ในการเพิ่มพูน ความรู้แสวงหา ความ รู้อยู่เสมอและหา ความบันเทิง เป็นกิจวัตรประจ าวัน 9 โครงการกิจกรรม สัปดาห์รณรงค์ การใช้ภาษาไทย เนื่องในวัน ภาษาไทย แห่งชาติ 1. เพื่อสนองพระราชด าริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดชมหาราช 2. เพื่อให้นักเรียน ครูและ ผู้ปกครองเห็นความส าคัญของ ภาษาไทยซึ่งเป็นภาษาประจ าชาติ 3. เพื่อฝึกทักษะทางด้านภาษา ให้กับนักเรียน 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ วางแผนงาน 3. ด าเนินการตามกิจกรรม 4. สรุปรายงานโครงการ คณะครูและนักเรียน ร้อยละ 95 เข้าร่วม โครงการนักเรียนทุกคน ได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ 10. โครงการงาน พัฒนาการเรียน การสอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 1. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ทาง วิทยาศาสตร์ 2. เพื่อเตรียมความพร้อมการ แข่งขันกิจกรรมงาน ศิลปหัตถกรรม - กิจกรรมฝึกทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ - กิจกรรมเตรียมความ พร้อมก่อนสอบ NT, O-net - กิจกรรมส าหรับการ แข่งขันกิจกรรมงาน ศิลปหัตถกรรม นักเรียนทุกระดับชั้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสาระวิทยาศาสตร์ สูงกว่าเกณฑ์ที่ สถานศึกษาร้อยละ 60 และเขตพื้นที่การศึกษา ร้อยละ 70 ตามที่ ก าหนดไว้ 11 โครงการกิจกรรม ภาษาอังกฤษ CHISTMAS’S DAY 1. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ใน รูปแบบกิจกรรมให้มีหลากหลาย ระดับชั้นประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา 2. นักเรียนฝึกทักษะทาง ภาษาอังกฤษเรียนรู้และท าให้ ผู้เรียนได้รู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ วัฒนธรรมเรื่องราวและวัฒนธรรม 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ วางแผนงาน 3. ด าเนินการตามกิจกรรม 4. สรุปรายงานโครงการ นักเรียนร้อยละ 70 มีทักษะทางภาษา อังกฤษทางการเรียนรู้ ในระดับคุณภาพดีขึ้น ไป นักเรียนมีทักษะ เข้าใจเกี่ยวกับวันส าคัญ และความเข้าใจ เกี่ยวกับวัฒนธรรม


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -20- อันหลากหลายของประชาคมโลก 3. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อ วิชาภาษาอังกฤษการเรียนรู้ เรื่องราวและวัฒนธรรม อันหลากหลายของ ประชาคมโลก นักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมสามารถ วัดผลได้จากสภาพจริง ตรงตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการเรียนรู้ ตามกลุ่มสาระการ เรียนรู้ต่างประเทศ 12 โครงการพัฒนา ความสามารถ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และ คิดสร้างสรรค์ 1. เพื่อให้นักเรียนสามารถ วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุป ความคิดรวบยอด คิดอย่างเป็น ระบบ และมีการคิดแบบองค์ รวม 2. เพื่อให้นักเรียนสามารถ คาดการณ์ ก าหนดเป้าหมาย และแนวทางการตัดสินใจได้ 3. เพื่อให้นักเรียนสามารถ ประเมินและเลือกแนวทาง การตัดสิน และแก้ไขปัญหา อย่างมีสติ 4. เพื่อให้นักเรียนสามารถมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มอง โลกในแง่ดี มีจินตนาการ 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ 3. จัดกิจกรรมตาม โครงการพัฒนา ความสามารถคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มี วิจารณญาณ และคิด สร้างสรรค์ 4. ประเมินผลการ ด าเนินงานจัดกิจกรรม 5. รายงานผลการ ด าเนินงาน ผู้เรียนร้อยละ 95 เข้าร่วมกิจกรรมของ โครงการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่าง สร้างสรรค์ สามารถ คิดวิเคราะห์ มี วิจารณญาณมี ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมี วิสัยทัศน์ 13 โครงการ พัฒนาการเรียน การสอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ 1. เพื่อให้นักเรียนมีวัสดุอุปกรณ์ ในการผลิตชิ้นงาน และ ปฏิบัติงานได้ถูกต้อง 2. เพื่อให้ครูมีวัสดุในการจัดการ สอน การสอบ และจัดเตรียม เอกสารต่างๆ 1. จัดท าหลักสูตร/ แผนการจัดการเรียนรู้ 2. จัดซื้อวัสดุฝึก สอน สอบ 3. ซ่อมแซมครุภัณฑ์ (คอมพิวเตอร์) นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการ ท างาน การสร้าง ชิ้นงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีวัสดุ ใช้ฝึก สอน สอบ อย่างเพียงพอและ เหมาะสมกับจ านวน นักเรียนที่สอนเป็น อย่างดี


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -21- ที่ ชื่องำน/ โครงกำร/ กิจกรรม วัตถุประสงค์/เป้ำหมำย วิธีด ำเนินกำร (ย่อๆ) ตัวบ่งชี้ควำมส ำเร็จ (จ ำนวน/ร้อยละ) 14 โครงการส่งเสริม สุขภาวะผู้เรียน 1. เพื่อให้นักเรียนพัฒนาสุขภาพ อนามัยและการเรียนรู้ของนักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการดูแล ช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนาเต็ม ศักยภาพ เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา 3. เพื่อให้โรงเรียนมีระบบดูแล ช่วยเหลือ โดยมีกรรมการ วิธีการ เครื่องมือที่มีคุณภาพและมี มาตรฐาน สามารถตรวจสอบได้ 4. เพื่อให้โรงเรียนมีแนวทาง แก้ปัญหาปัญหายาเสพติดใน สถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ 3. ประชาสัมพันธ์กิจกรรม - ก าหนดการ 4. ก าหนดปฏิทินเวลาการ จัดกิจกรรม 5. จัดกิจกรรมตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ 5 กิจกรรม 6. สรุปผลการด าเนินงาน จัดกิจกรรม นักเรียน ครูและ บุคลากรในโรงเรียน ร้อยละ 95 มีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีผลงานและมี ความชื่นชมผลงาน ทั้งกิจกรรมศิลปะและ กิจกรรมกีฬา 15. โครงการ อนุบาลคลอง ขลุงรวมใจ ยิ้ม ไหว้ ทักทาย แต่งกาย เรียบร้อย 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนฝึก ปฏิบัติมารยาทในการไหว้ให้ ถูกต้อง 2. เพื่อสร้างจิตส านึก ในการ รักษามรดกวัฒนธรรมของชาติ ไทยต่อไป 3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทาง วัฒนธรรมในด้านมารยาทไทย เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนแต่งกาย เรียบร้อยตามระเบียบของ โรงเรียน 1. ประชุมคณะกรรมการ ปรึกษาหารือเพื่อจัดท า กิจกรรมตามโครงการ 2. ขออนุมัติการจัด กิจกรรม 3. ด าเนินงานตาม กิจกรรม 4. ประเมินและสรุปผล การด าเนินงาน 5. รายงานผลการ ด าเนินงานต่อผู้บริหารฯ


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -22- ที่ ชื่องำน/ โครงกำร/ กิจกรรม วัตถุประสงค์/เป้ำหมำย วิธีด ำเนินกำร (ย่อๆ) ตัวบ่งชี้ควำมส ำเร็จ (จ ำนวน/ร้อยละ) 16.โครงการบริหาร จัดการศึกษาใน โรงเรียน 1. เพื่อสร้างคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. เพื่อส่งเสริมการบริหารงาน วิชาการและการจัดการ 3. เพื่อใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1. อบรมและศึกษา ปฏิบัติ ด้วยตนเองให้มีคุณธรรม จริยธรรม 2. อบรมและศึกษาด้วย ตนเองด้านวิชาการเมื่อมี โอกาส 3. จัดการบริหารโดยคณะ บริหาร - บริหารงานงบประมาณ - พัฒนาธุรการ -พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศ -การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา -ค่าสาธารณูปโภคฯลฯ 4. ประเมินผลการปฏิบัติงาน และสรุปผลโครงการ ปฏิบัติงาน และสรุปผล โครงการ ผู้บริหารและคณะครู ทุกคนมีคุณธรรม จริยธรรมและปฏิบัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และพัฒนาวิชาการ สามารถบริหารงาน วิชาการและจัดการได้ดี สามารถระดมทรัพยากร ที่มีอยู่ให้เกิด ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 17. โครงการสานส์ สัมพันธ์ชุมชน 1. เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ ชุมชนอันจะเป็นการช่วยพัฒนา สังคมอีกทางหนึ่ง 2. เพื่อให้ส่งเสริมการอยู่ ร่วมกันและการช่วยเหลือเกื้อกูล กันในสังคม 3. เพื่อให้มีส่วนสนับสนุน การปฏิบัติงานของหน่วยงาน ราชการอื่นๆ 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมชี้แจงกิจกรรม 3. ด าเนินกิจกรรม 4. ติดตามประเมินผล 5. สรุปประเมินผล การด าเนินกิจกรรม 6. ประเมินผล การปฏิบัติงาน และ สรุปผลโครงการ 7. รายงานผล การด าเนินโครงการ ร้อยละ 75 โรงเรียนสร้างความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ระหว่างบ้าน โรงเรียน ชุมชน ประเมิน ความต้องการของ ผู้ปกครองและ ประชาชน เพื่อหาทาง ตอบสนอง โรงเรียน และชุมชนบริหาร ร่วมมือกันพัฒนา การศึกษา 18. โครงการพัฒนา ศักยภาพ การเรียนรู้ 1. ผู้เรียนมีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเฉลี่ยตามเกณฑ์ 2. ผู้เรียนมีผลการทดสอบรวบ ยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ 1. ประชุมชี้แจง กรรมการด าเนินการ และ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมแก่ ครูและนักเรียน 2. ด าเนินกิจกรรมตาม - ผู้เรียนระดับปฐมวัย ร้อยละ 70 มี พัฒนาการในทุก ๆ ด้าน อยู่ในคุณภาพ ระดับดีขึ้นไป


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -23- ปฏิทินการด าเนินกิจกรรม ในโครงการ 3. ก ากับติดตาม ประเมินผลการด าเนิน โครงการ 4. สรุปรายงานผลการ ด าเนินโครงการ - ผู้เรียน ระดับประถมศึกษา มีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้ อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 70 - ผู้เรียนระดับ มัธยมศึกษามีระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 70 19 โครงการพัฒนา เว็บไซต์โรงเรียน 1. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ ระบบสารสนเทศและผลงานของ โรงเรียนต่อสาธารณชน 2. เพื่อเป็นการพัฒนาระบบการ สื่อสารทางอิเลคทรอนิคส์ที่ กว้างไกล รวดเร็วและประหยัด งบประมาณ 1. เสนอโครงการเพื่อขอ อนุมัติ 2. ส ารวจสภาพปัจจุบัน ปัญหาความต้องการ 3. ประชุมชี้แจงและแต่งตั้ง คณะท างานรับผิดชอบ 4. วางแผนการจัดท า แผนการพัฒนาเว็บไซต์ของ โรงเรียน 5. ด าเนินการตามแผนงาน 6. สรุปผลและประเมินผล โรงเรียนมีเว็บไซต์ เพื่อประชาสัมพันธ์ ที่มีประสิทธิภาพ และเป็นปัจจุบัน ผู้รับบริการตลอดจนครู ผู้ปกครอง และนักเรียน มีความพึงพอใจ ร้อยละ 100


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -24- ที่ ชื่องำน/ โครงกำร/ กิจกรรม วัตถุประสงค์/เป้ำหมำย วิธีด ำเนินกำร (ย่อๆ) ตัวบ่งชี้ควำมส ำเร็จ (จ ำนวน/ร้อยละ) 20 โครงการ คุณธรรมน า ความรู้ก้าวสู่ ยุวทูตความดี 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย มี ความรับผิดชอบ และปฏิบัติตน ตามหลักธรรมเบื้องต้นของศาสนา ที่ตนนับถือได้ถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์ สุจริตจนเป็นนิสัย 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความกตัญญู กตเวทีต่อผู้ที่มีพระคุณ 4. เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มี ความเมตตากรุณาเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ และเสียสละเพื่อส่วนรวม 5. เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่ประหยัด รู้จักใช้ทรัพย์สิ่งของส่วนตนและ ส่วนรวมอย่างคุ้มค่า 6. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความภูมิใจ ความเป็นไทย เห็นคุณค่า ภูมิปัญญาไทย นิยมไทยและด ารง ไว้ซึ่งความเป็นไทย 1. ขออนุมัติโครงการ และ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมคณะกรรมการ วางแผนงาน 3. จัดกิจกรรมโครงการ คุณธรรมน าความรู้ 4. ประเมินผล/รายงานผล นักเรียนโรงเรียน อนุบาลคลองขลุง ร้อยละ 90 มีคุณธรรมจริยธรรม 21 โครงการ สภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการจัด การเรียนรู้ 1. เพื่อให้นักเรียนมี สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้ 2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพ อนามัยที่แข็งแรง 3. เพื่อให้นักเรียนมีแหล่งการ เรียนรู้ที่หลากหลายในโรงเรียน 1. ขออนุมัติโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. ประชุมชี้แจงกิจกรรม 3. ด าเนินกิจกรรม 4. ติดตามประเมินผล 5. สรุปประเมินผล การด าเนินกิจกรรม 6. ประเมินผล การปฏิบัติงาน และ สรุปผลโครงการ 7. รายงานผลโครงการ สภาพแวดล้อมใน โรงเรียน ร้อยละ 95 มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้ดี และมีแหล่ง การเรียนรู้ในโรงเรียน มากขึ้น


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -25- 1.10 รำงวัลที่สถำนศึกษำได้รับในรอบปีกำรศึกษำที่ผ่ำนมำ ประเภท ระดับรำงวัล/ชื่อรำงวัลที่ได้รับ หน่วยงำนที่มอบรำงวัล สถำนศึกษำ โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง - รางวัลสถานศึกษาปลอดภัย - โรงเรียน RTA - รางวัลที่ 3 จากการประเมิน ระดับชาติ O-net ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 2 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 2 นักเรียน (ระบุชื่อ) เด็กหญิงพรรวินท์ กุลมาลา เหรียญเงินระดับภาคเหนือ การแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ ระดับชั้นมัธยม 1-3 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 2


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -26- 1.11 ผลด ำเนินงำนด้ำนกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศึกษำในรอบปี ที่ผ่ำนมำ ในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมาโรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาด้วยตนเอง ดังนี้ มำตรฐำนกำรศึกษำระดับปฐมวัย มำตรฐำน/ประเด็นกำรประเมิน ผลกำรประเมิน 1 2 3 4 5 ก ำลัง พัฒนำ ปำน กลำง ดี ดี เลิศ ยอด เยี่ยม มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของเด็ก 1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ แสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะ การคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 2.2 จัดครูให้พอเพียงกับชั้นเรียน 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัด ประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อ เพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและและสื่อ การเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -27- มำตรฐำน/ประเด็นกำรประเมิน ผลกำรประเมิน มำตรฐำน/ประเด็นกำรประเมิน 1 2 3 4 5 ก ำลัง พัฒนำ ปำน กลำง ดี ดี เลิศ ยอด เยี่ยม มำตรฐำนที่ 3 กำรจัดประสบกำรณ์ที่เน้นเด็กเป็นส ำคญ 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุก ด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและ ปฏิบัติอย่างมีความสุข 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน าผล การประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงจัด ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก สรุปผลกำรประเมินทุกมำตรฐำน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม สรุปผลกำรประเมินคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน มำตรฐำน/ประเด็นกำรประเมิน ผลกำรประเมิน 1 2 3 4 5 ก ำลัง พัฒนำ ปำน กลำง ดี ดี เลิศ ยอด เยี่ยม มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของผู้เรียน ดีเลิศ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดค านวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -28- ผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกสถำนศึกษำของโรงเรียน (รอบที่ 3) กำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม 1. ระดับกำรศึกษำปฐมวัย มำตรฐำนกำรศึกษำระดับปฐมวัย เพื่อกำรประเมินคุณภำพภำยนอก ระดับคุณภำพ ต้อง ปรับปรุง เร่งด่วน ต้อง ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐำน ตัวบ่งชี้ที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 5 เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในชั้นต่อไป ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดประสบการณ์ เรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและ การพัฒนาสถานศึกษา ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 8 ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพ ภายใน ✓ กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน /วิสัยทัศน์/พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ ส่งผล สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา ✓ กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการด าเนินการโครงการพิเศษเพื่อ ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษา เพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา ✓


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -29- ผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำมระดับกำรศึกษำปฐมวัย โรงเรียนมีผลการประเมินระดับคุณภาพ ........ดี.......... โดยมีค่าเฉลี่ย....๘๙.๖๓..... คะแนน. ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ รับรอง ไม่รับรอง 2. ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน : ประถมและมัธยมศึกษำ มำตรฐำนกำรศึกษำระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน เพื่อกำรประเมินคุณภำพภำยนอก ระดับคุณภำพ ต้อง ปรับปรุง เร่งด่วน ต้อง ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐำน ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม ทีพึงประสงค์ ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ท าเป็น ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการ พัฒนาสถานศึกษา ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน โดยสถานศึกษาและต้นสังกัด ✓ กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง สถานศึกษา ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่น ที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา ✓ กลุ่มตัวบ่งชี้มำตรกำรส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการด าเนินการโครงการพิเศษเพื่อ ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ✓ ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษา เพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา ✓


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -30- ผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสองระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน โรงเรียนมีผลการประเมินระดับคุณภาพ ....ระดับ...ดี... โดยมีค่าเฉลี่ย....๘๓.๘๑..คะแนน ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ รับรอง ไม่รับรอง


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -31- ส่วนที่ 2 ทิศทำงกำรพัฒนำกำรศึกษำปฐมวัยและกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 1. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติสาระส าคัญ เกี่ยวกับการศึกษาขั้นพื้นฐานไว้ใน มาตรา 54 รัฐต้องด าเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็น เวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องด าเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตาม วรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและ สนับสนุนให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการด าเนินการด้วย รัฐต้องด าเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ด าเนินการ ก ากับ ส่งเสริม และ สนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วย การศึกษาแห่งชาติซึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดท าแผนการศึกษาแห่งชาติ และการ ด าเนินการและตรวจสอบการด าเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถ เชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตนและมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการด าเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ ประชาชนได้รับการศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องด าเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความ เหลื่อมล้ าในการศึกษาและเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรร งบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้า กองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าว อย่างน้อยต้องก าหนดให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นอิสระและก าหนด ให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว 2. พระบรมรำโชบำยด้ำนกำรศึกษำในพระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธิบดีศรีสินทรมหำวชิรำลงกรณ มหิศรภูมิพลรำชวรำงกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยำมินทรำธิเบศรรำชวโรดม บรมนำถบพิตร พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว กำรศึกษำต้องมุ่งสร้ำงพื้นฐำนให้แก่ผู้เรียน 4 ด้ำน คือ 1. ทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง ได้แก่ 1.1 ความรู้ ความเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง 1.2 ยึดมั่นในศาสนา


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -32- 1.3 มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ 1.4 มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน 2. มีพื้นฐำนชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม 2.1 รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด – ชอบ / ชั่ว – ดี 2.2 ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบ สิ่งที่ดีงาม 2.3 ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว 2.4 ช่วยกันสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง 3. มีงำนท ำ – มีอำชีพ 3.1 ก ารเลี้ยงดูลูกห ลานในค รอบครัว ห รือก ารฝึกฝนอบ รม ในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็กและเยาวชนรักงาน สู้งาน ท างานจนส าเร็จ 3.2 การฝึกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมี จุดมุ่งหมายให้ผู้เรียน ท างานเป็นและมีงานท าในที่สุด 3.3 ต้องสนับสนุนผู้ส าเร็จหลักสูตรมีอาชีพ มีงานท าจนสามารถเลี้ยง ตัวเองและครอบครัว 4. เป็นพลเมืองดี 4.1การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าที่ของทุกคน 4.2 ครอบครัว – สถานศึกษาและสถานประกอบการต้อง ส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสหน้าที่เป็น พลเมืองดี 4.3 การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะท าเพื่อ บ้านเมืองได้ก็ต้องท า” เช่น งานอาสาสมัคร งานบ าเพ็ญประโยชน์ งานสาธารณ กุศลให้ท าด้วยความมีน้ าใจและความเอื้ออาทร 3. กรอบยุทธศำสตร์ชำติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี รัฐบาลได้ก าหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และ ยุทธศาสตร์ในการด าเนินงานไว้ ดังนี้ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นคติพจน์ประจ าชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ยุทธศำสตร์ชำติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) มี 6 ยุทธศาสตร์ในการด าเนินงานด้านต่าง ๆ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเสมอภาค ทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -33- สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐ 4. แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ของสังคม (All for Education) อีกทั้งยึดต ามเป้ าหม ายก ารพัฒ น าที่ ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) โดยน ายุทธศาสตร์ ชาติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคิดส าคัญ ในการจัดท าแผนการศึกษาแห่งชาติ วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด ดังนี้ วิสัยทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ด ารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” พันธกิจ 1. พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่คนไทยทุกคนเข้าถึงโอกาส ในการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความเสมอภาคด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาที่สอดคล้องและ รองรับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาคุณภาพชองคนไทยให้เป็นผู้มีความรู้ คุณลักษณะ และทักษะการ เรียนรู้ไนศตวรรษที่ 21 สามารถพัฒนาศักยภาพและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 3. สร้างความมั่นคงแก่ประเทศชาติ โดยสร้างสังคมไทยให้เป็นลังคมแห่งการ เรียนรู้ และสังคม คุณธรรม จริยธรรมที่คนไทยทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างปลอดภัย สงบสุข และพอเพียง 4. พัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย เพื่อการ ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่การเป็นประเทศในโลกที่หนึ่ง และลดความเหลื่อมล ้า ในสังคมด้วยการเพิ่มผลิตภาพของก าลังแรงงาน (productivity) ให้มีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนาประเทศพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่เป็นพลวัตชองโลก ศตวรรษที่ 21 ภายใต้ยุคเศรษฐกิจและสังคม 4.0


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -34- วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและ ยุทธศาสตร์ชาติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกก าลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจ พอเพียง 4. เพื่อน าประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล ้า ภายในประเทศ เป้ำหมำยด้ำนผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) เป้ำหมำยของกำรจัดกำรศึกษำ 5 ประกำร ดังนี้ 1. ประซากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) มีตัวชี้วัดที่ส าคัญ เซ่น ประชากรกลุ่มอายุ 6 - 14 ปี ทุกคนได้เข้าเรียนในระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่าที่รัฐต้องจัดให้ฟรี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้เรียน พิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมทุกคน และประชากร วัยแรงงานมีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เป็นต้น 2. ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม (Equity) มีตัวชี้วัดที่ส าคัญ เซ่น ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการศึกษา 15 ปี เป็นต้น


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -35- 3. ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถ เต็มตามศักยภาพ (Quality) มีตัวชี้วัดที่ส าคัญ เช่น นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น และคะแนน เฉลี่ย ผลการทดสอบโครงก ารป ระเมิน ผล นักเรียน ร่วมกับน าน าซ าติ (Programme for International student Assessment: PISA) ของนักเรียน อายุ 15 ปีสูงขึ้น เป็นต้น 4. ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษา ที่คุ้มค่าและบรรลุ เป้าหมาย (Efficiency) มีตัวชี้วัดที่ส าคัญ เช่น ร้อยละซองสถานศึกษาขนาดเล็ก ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณภาพภายนอกลดลง มีระบบการบริหารงานบุคคล ครู และบุคลากร ทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน รวมทั้งมีกลไกส่งเสริมให้ทุกภาคส่วน สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษา เป็นต้น 5. ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัต และบริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ตัวชี้วัดที่ส าคัญ เซ่น อันดับความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ ด้านการศึกษาดีขึ้น สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาสูงขึ้นเมื่อเทียบกับผู้เรียนสามัญศึกษา และ จ านวน สถาบันอุดมศึกษาที่ติดอันดับ 200 อันดับแรกซองโลกเพิ่มขึ้น เป็นต้น ยุทธศำสตร์ เป้ำหมำย และตัวชี้วัด ยุทธศำสตร์ที่ 1 :การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มีเป้าหมาย ดังนี้ 1.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.2 คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่พิเศษ ได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 1.3 คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคาม ในชีวิตรูปแบบใหม่ ยุทธศำสตร์ที่ 2 : การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัยและนวัตกรรรม เพื่อ สร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ มีเป้าหมาย ดังนี้ 2.1 ก าลังคนมีทักษะที่ส าคัญจ าเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความ ต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มี ความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 2.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้าง ผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยุทธศำสตร์ที่ 3 : การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้ มีเป้าหมาย ดังนี้ 3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานชองพลเมืองไทย และ ทักษะและคุณลักษณะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -36- 3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตาม มาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตาม ศักยภาพ 3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการ เรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน 3.4 แหล่งเรียนรู้ สื่อต าราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้ มีคุณภาพและมาตรฐาน และประซาซนสามารถเข้าถึงไดโดยไม่จ ากัดเวลาและ สถานที่ 3 .5 ระบ บ แล ะก ลไก ก าร วัด ก ารติดต าม แล ะป ร ะเมิน ผล มีประสิทธิภาพ 3.6 ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้ มาตรฐานระดับสากล 3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนา สมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศำสตร์ที่ 4 : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียม ทางการศึกษามีเป้าหมาย ดังนี้ 4.1 ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึง การศึกษาที่มีคุณภาพ 4.2 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ส าหรับคนทุกช่วงวัย 4.3 ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตาม ประเมิน และรายงานผล ยุทธศำสตร์ที่ 5 : การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมมีเป้าหมาย ดังนี้ 5.1 คนทุกช่วงวัย มีจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 5.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการน าแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 5.3 การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริม คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศำสตร์ที่ 6 : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา มีเป้าหมาย ดังนี้ 6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษา มีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -37- 6.2 ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 6.3 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนอง ความต้องการของประซาซนและพื้นที่ 6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษา รองรับลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการก าลัง แรงงานของประเทศ 6 .5 ระบบบ ริห ารงานบุคคลของครู อ าจารย์ และบุคลาก ร ทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้างขวัญก าลังใจและส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้ อย่างเต็มตามศักยภาพ 5. นโยบำยรัฐบำล เพื่อเป็นการตระหนักถึงความส าคัญของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕8๐) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ ช่วงตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัย เรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึง การส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ และพหุปัญญา ของมนุษย์ที่หลากหลาย และประเด็นอื่นที่เกี่ยวข้อง นโยบำยกำรจัดกำรศึกษำทั้ง ๑๒ ข้อ ดังนี้ ข้อ ๑ การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย ข้อ ๒ พัฒนาครูให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล ข้อ ๓ ปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัล ส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจ าวัน ข้อ ๔ ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระ คล่องตัว การกระจายอ านาจ โดยใช้จังหวัดเป็นฐาน ข้อ ๕ ปรับระบบการประเมินผล ประกันคุณภาพ การทดสอบวัดความรู้และทักษะที่จ าเป็น ข้อ 6 จัดสรรและกระจายทรัพยากรให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย ระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วน ข้อ ๗ น ากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน ข้อ 8 พัฒนาเด็กปฐมวัย ข้อ 9 การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ข้อ ๑๐ การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทย ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการศึกษา ข้อ ๑๑ การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ข้อ ๑๒ จัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิต


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -38- 6. นโยบำยและจุดเน้นกระทรวงศึกษำธิกำร ด้วยกระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความส าคัญยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพมนุษย์การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ ที่หลากหลาย และประเด็นอื่นที่เกี่ยวข้อง อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 7. แผนปฏิบัติรำชกำรระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศึกษำธิกำร วิสัยทัศน์ “ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพพร้อม ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับทุกประเภทตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติและเทียบเท่าระดับสากล 2. สร้างความเสมอภาคและลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา 3. ผลิต พัฒนา และสร้างเสริมศักยภาพก าลังคนให้มีความพร้อมรองรับการพัฒนาประเทศ 4. วิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ 5. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล เป้ำประสงค์รวม 1. ผู้เรียนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ ชาติและส่งเสริมทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 2. ประชาชนทุกช่วงวัยและกลุ่มเป้าหมายมีโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึงเสมอภาค 3. ก าลังคนได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ 4. ผลงานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี องค์ความรู้ และสิ่งประดิษฐ์ สามารถน าไปใช้ ประโยชน์หรือต่อยอดเชิงพาณิชย์ 5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลโดยการมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -39- แผนปฏิบัติรำชกำร แผนปฏิบัติรำชกำร เรื่องที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและ ประเทศชาติ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและปลูกจิตส านึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับความมั่นคง และรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงรูปแบบใหม่ แผนปฏิบัติรำชกำร เรื่องที่ 2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัยและ นวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ก าลังคนมีทักษะ สมรรถนะ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนาประเทศ และผลงานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี องค์ความรู้ และสิ่งประดิษฐ์ สามารถน าไปใช้ประโยชน์หรือต่อยอดเชิงพาณิชย์ แผนปฏิบัติรำชกำร เรื่องที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้าง สังคมแห่ง การเรียนรู้ ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของชาติ และมาตรฐานสากล มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ และมีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีสมรรถนะสูงสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติรำชกำร เรื่องที่ 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความ เท่าเทียมทางการศึกษา ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้รับโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึง เสมอภาคและเหมาะสมกับช่วงวัย แผนปฏิบัติรำชกำร เรื่องที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหาร จัดการศึกษา ระบบบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล ทันสมัย สนับสนุน การจัดการศึกษาที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและการพัฒนาประเทศ 8. นโยบำยส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 – 2565 ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษาก าหนดให้มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัย ให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะ ที่ดี สมวัยทุกด้านโดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาที่มี คุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จ าเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ ท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมทั้งเป็น พลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้น พื้นฐานให้เป็น “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการสถานศึกษาอย่างมี ประสิทธิภาพ จึงก าหนดนโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -40- 9. แผนพัฒนำกำรศึกษำจังหวัดก ำแพงเพชร (พ.ศ. 2563 – 2565) วิสัยทัศน์“คนก าแพงเพชรมีคุณภาพและคุณธรรม ด ารงชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” คติพจน์“คนก าแพง แกร่งทั้งคุณภาพและคุณธรรม” คนก ำแพง หมายถึง ผู้เรียนในจังหวัดก าแพงเพชร แกร่งคุณภำพ หมายถึง ความเข้มแข็งด้านร่างกาย ความสามารถด้านความรู้ ความเข้าใจและทักษะการอ่าน การเขียน การคิดค านวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา การสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ น าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ และ เหมาะสมตามวัย และการแสดงออกถึงความเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตนเองที่สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 แกร่งคุณธรรม หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความเป็นพลเมืองดี มีวินัย มีจิตอาสา มีความรู้ ความเข้าใจต่อบ้านเมือง มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และมั่นคง ในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ด ารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. จัดการศึกษาเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. พัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค และลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา 5. จัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6. พัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ประเด็นยุทธศำสตร์ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับให้เป็นไปตามมาตรฐาน การศึกษา ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และลดความเหลื่อมล้ าทาง การศึกษา ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา เป้ำประสงค์ 1. ผู้เรียนยึดมั่นในสถาบัน ชาติ ศาสน า พระมหากษัตริย์ และระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมตามหลักศาสนา


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -41- 3. ผู้เรียนมีทักษะชีวิตเพื่อป้องกันภัยจากยาเสพติด อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์และโรคอุบัติใหม่ 4. ผู้เรียนมีศักยภาพ และสมรรถนะในการแข่งขันสูงขึ้น 5. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีทักษะอาชีพและการมีงานท า 6. ผู้เรียนมีความสามารถสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ 7. ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะส าคัญในศตวรรษที่ 21 และมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา 8. ผู้เรียนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึงและ มีคุณภาพ 9. ผู้เรียนมีคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสามารถด ารงชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 10. หน่วยงานการศึกษามีระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ 11. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 1 กำรจัดกำรศึกษำเพื่อควำมมั่นคงของสังคมและประเทศชำติ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสังคม และประเทศชาติ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อปลูกฝังผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาทักษะชีวิตเพื่อป้องกันภัยจากยาเสพติด อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์ และโรคอุบัติใหม่ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 2 กำรจัดกำรศึกษำเพื่อสร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน กลยุทธ์ที่ 1 สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันตามศักยภาพของผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีทักษะอาชีพและการมีงานท า กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 3 กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำทุกระดับให้เป็นไปตำมมำตรฐำน กำรศึกษำ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะส าคัญในศตวรรษที่ 21 และมี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ของโลกศตวรรษที่ 21 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาการวัดและประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 4 กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค และลดควำมเหลื่อมล้ ำ ทำงกำรศึกษำ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมประชากรทุกช่วงวัยให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเหมาะสม และทั่วถึง กลยุทธ์ที่ 2 สนับสนุนผู้เรียนให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ


แผนปฏิบัติการประจ าปี 2565 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง -42- ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 5 กำรจัดกำรศึกษำเพื่อสร้ำงเสริมคุณภำพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะและพฤติกรรมที่ พึง ประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 6 กำรพัฒนำประสิทธิภำพของระบบบริหำรจัดกำรศึกษำ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชีพ 10. ทิศทำงกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำก ำแพงเพชร เขต 2 วิสัยทัศน์ “องค์กรบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัด การศึกษาปฐมวัยและการศึกษาภาคบังคับให้เป็นไปตามมาตรฐาน” พันธกิจ 1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒. จัดการศึกษาให้ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษาได้รับการ ดูแลความ ปลอดภัยจากภัยพิบัติ ภัยคุกคามทุกรูปแบบ เพื่อรองรับวิถีชีวิตใหม่ 3. พัฒน าศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและ คุณลักษณะในศตวรรษที่ ๒๑ ๔. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถสู่ความเป็นเลิศ เพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขัน 5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ มีสมรรถนะ ด้านภาษาและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 6. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการ ทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ๗. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals:SDGs) ๘. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาลในการจัด การศึกษาและจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)


Click to View FlipBook Version