The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัย_ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานวิจัย_ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึ

รายงานวิจัย_ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึ

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 93

สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)

1. การบรหิ ารจัดการ
ดา้ นบุคลากร
1. โรงเรยี นไดม้ อบหมายงานตามคาสั่ง โดยครวู ชิ าการแตล่ ะระดับชั้นทาการปรบั ตารางสอน

ให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีการเนน้ ใน
4 กลุ่มสาระวิชาหลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ นอกเหนือจาก
4 กลมุ่ สาระน้ี ทางโรงเรยี นดาเนินการจดั การเรียนการสอนโดยเนน้ แบบบรู ณาการ

2. โรงเรียนมีนักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนใน 5 วิชาเอก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ และดนตรี มาฝึกงาน

ดา้ นงบประมาณ
โรงเรียนสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดทาใบงานให้กับคณะครู โดยทาการจัดต้ังงบประมาณ
ในแผนปฏบิ ัติงานประจาปีของโรงเรยี น
ด้านทรัพยากร
- โรงเรียนสนับสนุนสื่อการเรียนการสอนใหก้ ับคณะครู โดยการจัดอบรมการใช้สอื่ การเรยี น
การสอนออนไลน์ เชน่ Google Meet, Zoom, โปรแกรมการตัดตอ่ คลิปวิดโี อ CANVA โดยมีวิทยากร
เป็นครคู อมพวิ เตอร์ในโรงเรยี นให้ความรู้กบั คณะครใู นโรงเรียน
ด้านการดาเนนิ งาน
1. โรงเรียนมีการกากับติดตามการเรียนการสอนออนไลน์โดยครูจัดต้ังไลน์กลุ่มในแต่ละ
ระดับชั้น เมื่อทาการจัดการเรียนการสอนตามตาราง คณะครูในแต่ละระดับช้ันจะดาเนินการนาเสนอ
การจัดการเรียนการสอนในกลุ่มไลน์ของโรงเรียน เพ่ือรายงานข้อมูลให้กับผู้อานวยการโรงเรียนและ
หัวหน้าวชิ าการรบั ทราบ
2. ผู้อานวยการโรงเรียนจะอยู่ในกลุ่มไลน์ห้องเรียนทุกห้องเรียน เพ่ือดาเนินการติดตาม
การนเิ ทศการสอนของคณะครแู ละนกั เรียน
3. โรงเรียนจัดให้มีการ PLC ในแต่ละระดับช้ันเป็นระยะโดยทีมงานวิชาการจะทาการนัด
หมายคุณครู

วจิ ยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 94

2. การจดั การเรยี นรู้
ระดบั ปฐมวยั โรงเรียนดาเนินการจัดการเรยี นการสอนแบบ On Hand โดยดาเนินการ ดังน้ี
1. ทกุ วนั จันทร์ จะดาเนินการรับ - สง่ ใบงานใหก้ ับนักเรยี นทโี่ รงเรยี น
2. ติดตอ่ ประสานและสอบถามความคืบหน้ากบั ผู้ปกครองเป็นระยะ
ระดบั ประถมศึกษา โรงเรยี นดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand และ Online

โดยดาเนนิ การ ดังนี้
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3
1. จดั การเรียนการสอนแบบ On Hand เป็นหลกั
2. รบั - ส่ง ใบงานสปั ดาห์ละ 1 ครั้ง
3. มีการจัดการสอน Online และอธิบายใบงานให้กับนักเรียนเพ่ิมเติมในช่วงเย็นหลังจาก

ผู้ปกครองเลิกงาน เวลาประมาณ 18.00 น. และ 19.00 น.
4. การมอบงาน ในเร่ืองของการอ่าน ดาเนินการโดยให้ผู้ปกครองอัดคลิปนักเรียนอ่าน

สง่ ให้กับครปู ระจาช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6
1. จดั การเรียนการสอนแบบ On Hand และ Online
2. รับ - ส่งใบงานสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยจะนัดหมายให้นักเรียนมารับในแต่ละช่วงเพื่อลด

การแออดั ของนกั เรยี นและผปู้ กครอง
3. การจดั การเรียนการสอนแบบ Online ทางโรงเรยี นมีนักศึกษาฝึกประสบการณ์เข้ามาฝึก

การสอนในโรงเรยี น โดยโรงเรยี นใหน้ ักศึกษาร่วมจดั การเรยี นการสอนอยู่กบั ครูประจาชั้น ซึง่ นักศึกษา
จะดาเนินการจัดเตรียมวัสดุ สื่อ และอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนให้กับคณะครู ตามตารางที่
ฝา่ ยวชิ าการไดก้ าหนดในแตล่ ะวนั

4. ทุกวันท่ีมีการจัดการเรียนการสอนคุณครูจะดาเนินการถ่ายภาพส่งรายงานในกลุ่มไลน์
ของโรงเรียน

5. กลุ่มวิชาอ่ืนนอกเหนือจาก 5 วิชาหลัก ทางโรงเรียนจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
เชน่ กลุ่มสาระการงานอาชีพ คุณครจู ะให้นกั เรยี นอัดคลิปส่งครู

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จดั การเรยี นการสอนแบบ On Hand และ Online
1. การจดั การเรยี นแบบ On Hand นดั รบั - สง่ ใบงานสปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้
2. การจัดการเรียนการสอนแบบ Online ใน 4 วิชาหลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โดยมคี รูและนักศึกษาฝึกประสบการณส์ อน สอนตามตารางท่ีทางฝ่าย
วิชาการจัดไว้

วจิ ยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 95

3. กรณีท่ีนักเรียนไม่เข้าใจเน้ือหา มีการสอบถามข้อมูลเพ่ิมเติมผ่านกลุ่มไลน์ห้องเรียนของ
แตล่ ะระดบั ช้ัน

3. การดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น
1. โรงเรียนมีการติดตาม โดยการสอบถามเรื่องการทางานจากกลุ่มไลน์ กรณีท่ีนักเรียนไม่

มีไลน์จะดาเนินการโดยมีการนัดหมายนักเรียนเป็นรายบุคคล ท้ังน้ีทางโรงเรียนได้รักษามาตรการ
การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสุข

2. นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา เด็กไม่ค่อยเข้าเรียนออนไลน์ ครูดาเนินการติดตามจากใบ
งานและตดิ ตอ่ กับผูป้ กครองโดยตรง เพื่อแจ้งใหผ้ ู้ปกครองรบั ทราบ

3. โรงเรียนไดม้ อบทนุ การศกึ ษาให้นักเรยี น โดยการระดมทนุ จากคณะกรรมการสถานศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐาน ผู้ปกครอง ครู งบประมาณ 40,000 บาท

4. โรงเรียนนัดผปู้ กครองรบั เงนิ อาหารกลางวัน และนม เดือนละ 1 ครั้ง
5. โรงเรียนปฏบิ ัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข มีการวัดอุณหภมู ิ ล้างมือด้วยเจล
แอลกอฮอลแ์ ละสวมหนา้ กากอนามยั ก่อนเขา้ โรงเรียนทุกคร้งั

วจิ ยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 96

1.3.1.4 โรงเรยี นวดั อรัญญกิ
ขนาดสถานศกึ ษา ( ) เล็ก ( ✓ ) กลาง ( ) ใหญ่ ( ) ใหญ่พเิ ศษ
รปู แบบการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ระดับปฐมวัย  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online
ระดับประถมศึกษา  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online
ระดับมธั ยมศึกษา  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online

วดิ ีทศั น์ข้อมลู พ้นื ฐานโรงเรียนวดั อรญั ญิก

ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง
เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรยี นวัดอรัญญกิ

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 97

สภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19)

1. การบริหารจัดการ
ด้านบุคลากร
1. โรงเรยี นไดม้ อบหมายงานตามคาส่ัง โดยครวู ชิ าการแต่ละระดับชนั้ ทาการปรบั ตารางสอน

ให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีการเน้น
ใน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษาฯ
นอกเหนอื จาก 5 กลุ่มสาระนี้ ทางโรงเรียนดาเนินการจดั การเรยี นการสอนโดยเนน้ แบบบรู ณาการ

2. โรงเรียนมีนักศึกษาฝึกประสบการณ์สอนใน 4 วิชาเอก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ มาฝึกงาน

ด้านงบประมาณ
โรงเรียนสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดทาใบงานให้กับคณะครู โดยทาการจัดต้ังงบประมาณ
ในแผนปฏิบัติงานประจาปขี องโรงเรยี น
ดา้ นทรัพยากร
- โรงเรียนสนับสนุนส่ือการเรียนการสอนใหก้ ับคณะครู โดยการจัดอบรมการใช้สอ่ื การเรยี น
การสอนออนไลน์ เชน่ Google Meet, Zoom โปรแกรมการตดั ตอ่ คลิปวดิ โี อ CANVA, Kine Master
โดยมวี ทิ ยากรเป็นครูคอมพวิ เตอร์ในโรงเรยี นใหค้ วามรกู้ ับคณะครูในโรงเรยี น
ด้านการดาเนนิ งาน
1. โรงเรียนมีการกากับติดตามการเรียนการสอนออนไลน์โดยครูจัดตั้งไลน์กลุ่มในแต่ละ
ระดับช้ัน เมื่อทาการจัดการเรียนการสอนตามตาราง คณะครูในแต่ละระดับช้ันจะดาเนินการนาเสนอ
การจัดการเรียนการสอนในกลุ่มไลน์ของโรงเรียน เพ่ือรายงานข้อมูลให้กับผู้อานวยการโรงเรียนและ
หวั หน้าวิชาการรบั ทราบ
2. ผู้อานวยการโรงเรียนจะอยู่ในกลุ่มไลน์ห้องเรียนทุกห้องเรียนเพ่ือดาเนินการติดตามการ
นิเทศการสอนของคณะครแู ละนักเรียน
3. โรงเรียนจัดให้มีการ PLC ในแต่ละระดับช้ันเป็นระยะโดยทีมงานวิชาการจะทาการนัด
หมายคุณครู

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 98

2. การจัดการเรยี นรู้
ระดับปฐมวัย โรงเรียนดาเนินการจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand โดยดาเนินการ

ดงั นี้
1. ทกุ วันจันทร์ จะดาเนินการรบั - ส่ง ใบงานให้กบั นกั เรยี นที่โรงเรยี น
2. ตดิ ตอ่ ประสานและสอบถามความคบื หน้ากบั ผู้ปกครองเปน็ ระยะ

ระดบั ประถมศกึ ษา โรงเรียนดาเนินการจดั การเรยี นการสอนแบบ On Hand และ Online
โดยดาเนนิ การ ดงั นี้

ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3
1. จดั การเรียนการสอนแบบ On Hand เปน็ หลัก
2. รบั - ส่ง ใบงานสปั ดาห์ละ 1 ครัง้
3. มีการจัดการสอน Online และอธิบายใบงานให้กับนักเรียนเพิ่มเติมในช่วงเย็นหลังจาก
ผปู้ กครองเลิกงาน เวลาประมาณ 18.00 น. และ 19.00 น.
4. การมอบงาน ในเร่ืองของการอ่าน ดาเนินการโดยให้ผู้ปกครองอัดคลิปนักเรียนอ่านส่ง
ใหก้ ับครูประจาชั้น
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6
1. จดั การเรียนการสอนแบบ On Hand และ Online
2. รับ - ส่ง ใบงานสัปดาห์ละ 1 คร้ัง โดยจะนัดหมายให้นักเรียนมารับในแต่ละช่วงเพื่อลด
การแออัดของนักเรยี นและผู้ปกครอง
3. การจัดการเรียนการสอนแบบ Online ทางโรงเรียนมีนักศึกษาฝึกประสบการณ์เข้ามา
ฝึกการสอนในโรงเรียน โดยโรงเรียนให้นักศึกษาร่วมจัดการเรียนการสอน โดยให้อยู่กับครูประจาช้ัน
ซึ่งนักศึกษาจะดาเนินการจัดเตรียมวัสดุ สื่อ และอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนให้กับคณะครู
ตามตารางท่ฝี ่ายวชิ าการไดก้ าหนดในแตล่ ะวนั
4. ทุกวันท่ีมีการจัดการเรียนการสอนคุณครูจะดาเนินการถ่ายภาพส่งรายงานในกลุ่มไลน์
ของโรงเรียน
5. กลุ่มวิชาอื่นนอกเหนือจาก 5 วิชาหลัก ทางโรงเรียนจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
เช่น กลมุ่ สาระการงานอาชีพ คณุ ครจู ะใหน้ กั เรยี นอัดคลปิ ส่งครู

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 99

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จดั การเรียนการสอนแบบ On Hand และ Online
1. การจัดการเรียนแบบ On Hand นดั รับ - ส่ง ใบงานสัปดาห์ละ 1 คร้ัง
2. การจัดการเรียนการสอนแบบ Online ใน 6 วิชาหลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สงั คมศกึ ษา และวทิ ยาการคานวณ โดยมีครูและนักศึกษาฝึกประสบการณ์
สอน สอนตามตารางท่ที างฝา่ ยวชิ าการจัดไว้
3. กรณีที่นักเรียนไม่เข้าใจเน้ือหา มีการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมผ่านกลุ่มไลน์ห้องเรียนของ
แต่ละระดับชนั้

3. การดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น
1. โรงเรียนมีการติดตาม โดยการสอบถามเรื่องการทางานจากกลุ่มไลน์ กรณีที่นักเรียนไม่

มีไลน์จะดาเนินการโดยมีการนัดหมายนักเรียนเป็นรายบุคคล ทั้งนี้ทางโรงเรียนได้รักษามาตรการ
การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสุข

2. นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา เด็กไม่ค่อยเข้าเรียนออนไลน์ ครูดาเนินการติดตามจาก
ใบงาน และติดตอ่ กับผูป้ กครองโดยตรง เพือ่ แจง้ ใหผ้ ู้ปกครองรบั ทราบ

3. โรงเรยี นนดั ผู้ปกครองรับเงินอาหารกลางวัน และนม เดือนละ 1 ครั้ง
4. โรงเรียนปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข มีการวัดอุณหภมู ิ ล้างมือด้วยเจล
แอลกอฮอล์ และสวมหน้ากากอนามัยกอ่ นเข้าโรงเรยี นทุกครงั้

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 100

1.3.1.5 โรงเรยี นวัดบึงพระ(เหรียญ จนั่ อนุสรณ์)
ขนาดสถานศึกษา ( ) เลก็ ( ✓) กลาง ( ) ใหญ่ ( ) ใหญพ่ เิ ศษ
รปู แบบการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ระดับปฐมวัย  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online
ระดบั ประถมศึกษา  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online
ระดบั มัธยมศกึ ษา  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online

การจัดการเรียนรู้ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)

สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID -19)

1. การบริหารจดั การ
ในภาพรวมเน้นการการมีส่วนร่วมและชุมชนขับเคล่ือน จัดสรรสนับสนุนงบประมาณ

การจดั ซ้ือวัสดอุ ุปกรณใ์ นการจัดการเรียนการสอนในรปแบบตา่ ง ๆ จดั อบรมความรดู้ ้าน ICT ใน
การจัดทาคลิปวิดีโอการสอน การประชุมด้วยรูปแบบต่าง ๆ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีความ
สอดคลอ้ งกับสถานการณ์โควดิ เนน้ ความปลอดภัยและปรบั ภูมิทัศน์ใหน้ ่าอยู่ น่าเรียน เครอื ข่ายชุมชน
กรรมการสถานศึกษาและบุคลากรโรงเรียน ร่วมแสดงความคิดเห็นในการทาแบบสารวจความคิดเห็น
ของผู้ปกครอง เพ่ือประกอบการขอพิจารณาเปิดเรียนแบบ On-site ถ้าไม่สามารถเปิดได้ หารูปแบบ
การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้เกิดการเรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ พัฒนารูปแบบการนิเทศให้
เหมาะสมตามสถานภาพมีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ทากิจกรรมในรปู แบบกิจกรรม PLC เพื่อทราบปัญหา
ในการจัดการเรยี นการสอนและหาแนวทางร่วมแกป้ ัญหา

วจิ ยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 101

2. การจัดการเรยี นรู้
สนับสนุนครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนท่ีมีความหลากหลาย เพ่ือกระตุ้นความสนใจให้

ผู้เรียนอยากเรียนรู้ ในรูปแบบต่าง ๆ เพิ่มเติมตรงการทาคู่มือการวัดผลประเมินผล ให้สร้างเกณฑ์ใน
การประเมนิ นกั เรยี นมคี วามสอดคลอ้ งกับสถานการณ์โควิด-19

ระดับปฐมวัย จัดการเรียนการสอนท่ีมีพัฒนาผู้เรียน แจกใบงานสัปดาห์ละ 1 ครั้ง บันทึก
คลิปวิดีโอการสอนตามหน่วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้ มีการออนไลน์เพ่ือให้ผู้เรียน ได้แลกเปลี่ยน
เรยี นรซู้ ่งึ กันและกัน

ระดับประถมศึกษา จัดการเรียนการสอนที่เน้นวิชาหลัก ได้แก่ วิชาวิทยาศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ วิชาภาษาไทย เสริมรายวิชาท่ีผ่อนคลายลดภาวะผู้เรียน เช่น
วิชาสุขศึกษาและพลศกึ ษา การจัดการเรียนการสอนรปู แบบ Live สด วชิ าคณติ ศาสตรร์ ะดับ ชน้ั
ประถมศึกษาปีท่ี 6 นักเรียนให้ความสนใจ ต่ืนเต้นสนุกสนาน มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ระดบั มัธยมศกึ ษา มีรปู แบบการจดั กจิ กรรมท่ีมีความหลากหลายผสมผสานกัน จดั การเรียน
การสอนตามตารางวิชา และมีนโยบายสง่ เสริมพฒั นาทกั ษะดจิ ิตอลกา้ วสพู่ ลเมืองในศตวรรษที่ 21

3. การดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
สนบั สนุนทุนการศกึ ษาสาหรับนกั เรียนยากจน อาหารกลางวัน รบั เงนิ ค่าอาหารกลางวันโดย

จัดในรูปแบบการกระจาย มมี าตรการการป้องกัน และครปู ระจาชั้นติดตามผู้เรียน คอยดูแลนกั เรียนใน
สถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) เพ่ือใหร้ ขู้ ้อมลู ปัญหาของ
ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง

การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนภายใต้สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID -19) โรงเรยี นวดั บึงพระ (เหรยี ญ จน่ั อนุสรณ์) เพอื่ มุ่งเน้นสมรรถนะผ้เู รียน

โรงเรียนวัดบึงพระ (เหรียญ จ่ัน อนุสรณ์) ได้จัดการเรียนการสอน เพื่อมุ่งให้เกิดสมรรถนะ
ผู้เรียน ซ่ึงเป็นตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยมีแนวทางในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน ดงั น้ี

1. การเรียนรเู้ กิดข้นึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เทา่ เทียมกัน การเรยี นรนู้ าการศกึ ษา โรงเรยี นอาจหยุดได้
แต่การเรียนร้หู ยดุ ไม่ได้

2. การเรียนรูเ้ กิดข้ึนได้ทกุ ที่ ทกุ เวลา ไม่จากัดเฉพาะในชั้นเรยี น
3. การเรยี นรูข้ ้ึนอยกู่ บั สภาพบรบิ ท ความเหมาะสม และความปลอดภัยของพ้นื ที่

วจิ ยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 102

โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะหลักที่จาเป็นสาหรับการทางาน การแก้ปัญหา และ
การดารงชวี ติ ดังน้ี

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ขน้ั ตอนในการดาเนนิ งาน
1. สารวจความพรอ้ มของนักเรยี นในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน

2. ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยให้ครูแต่ละคนวิเคราะห์
ความพร้อมของเด็กและครผู ู้สอนสามารถตัดสินใจในการเลือกหรือใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ให้เหมาะสมกบั ผเู้ รยี นและครู เพ่อื กาหนดรปู แบบการสอนในแตล่ ะวนั โดย Concept คือ จัดการเรยี น
การสอนทห่ี ลากหลาย

3. ศกึ ษาคมู่ ือการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในชว่ งสถานการณ์ COVID-19
4. ศกึ ษาคมู่ อื การวดั ผลประเมินในช่วงสถานการณ์ COVID-19
5. ครูจัดทากาหนดการสอน
6. การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

6.1 สารวจความพร้อมของนักเรยี น
6.2 แบ่งการจัดกจิ กรรมการเรียนตามความพร้อมของนกั เรียน
- ช่องทาง Online โดยใช้ App Zoom, Line Meeting และคลิปการสอน (YouTube,
สสวท, DLTV) เปน็ ต้น
- ชอ่ งทาง Offline เชน่ หนงั สือเรียน หนังสอื แบบฝึกหดั ใบงาน

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 103

6.3 จดั กลุ่มนักเรยี นออกเปน็ 3 กลุ่ม ดงั น้ี
6.3.1 เรยี น Online
6.3.2 เรยี นจากคลปิ การสอน (YouTube, สสวท, DLTV)
6.3.3 ศึกษาด้วยตนเองจาก หนังสือแบบเรียน และทาแบบฝึกหัด หรือ ใบความรู้/

ใบงาน
6.4 ตดิ ตอ่ สอบถามระหวา่ งครกู ับนกั เรยี นผา่ นชอ่ งทาง Line หรือโทรศพั ท์
6.5 การวัดผลประเมินผล ไม่ยึดตามตัวชี้วัดแต่เน้นประเมินสมรรถนะของผู้เรียน

โดยบูรณาการจากการทางานของนักเรียน และวัดผลประเมินผลตามสภาพของนักเรียนแต่ละคน
มหี ลกั ในการวัดผลดังนี้

6.5.1 วัดและประเมินผลผู้เรียนด้วยวิธีการและรูปแบบที่หลากหลายผสมผสานกัน
ไป เช่น การสงั เกต การตรวจผลงาน และการประเมินผลงาน เป็นต้น

6.5.2 การทดสอบ โดยผ่านระบบการสอบออนไลน์ โปรแกรมสาเรจ็ รูป เปน็ ต้น
6.5.3 ประสานขอความร่วมมือจากผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมิน
ผ้เู รียน
6.5.4 ตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียน เพื่อประเมินและตรวจสอบความรู้ความสามารถ
ของผู้เรยี น
6.5.5 จัดทาตารางนัดหมายผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เพ่ือทากิจกรรมการเรียน
การสอนควบค่กู ับการวัดและประเมนิ ผล
7. คณะครูร่วมกัน PLC เกี่ยวปัญหาและอุปสรรค ผ่าน App Zoom, Line Meeting ทุก ๆ
สิน้ เดอื น จากการประชมุ เก่ียวกับปัญหาและอปุ สรรคพบวา่
7.1 เรียน Online
7.1.1 สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ตไมด่ ี
7.1.2 อปุ กรณ์ เชน่ โทรศัพท์ มขี นาดเลก็ ภาพและเสียงไมช่ ดั เจน
7.1.3 Application ที่ใชส้ อน มกี ารกาหนดเวลาเขา้ ใชง้ าน
7.1.4 นกั เรยี นบางคนไม่มี Wi-Fi ตอ้ งใช้สญั ญาณจากเครือขา่ ยโทรศัพท์มือถือ
7.2 เรียนจากคลปิ การสอน (YouTube, สสวท, DLTV)
7.2.1 สัญญาณอินเทอรเ์ น็ตไม่ดี
7.2.2 อุปกรณ์ เช่น โทรศพั ท์ มีขนาดเลก็ ภาพและเสยี งไม่ชัดเจน
7.2.3 นักเรียนบางคนไม่มี Wi-Fi ต้องใช้สัญญาณจากเครือขา่ ยโทรศัพท์มือถือ
7.2.4 ไม่สามารถโตต้ อบและสอบถามครูผสู้ อนได้
7.3 ศกึ ษาดว้ ยตนเองจากหนงั สอื แบบเรียน และทาแบบฝึกหดั หรอื ใบความร/ู้ ใบงาน

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 104

7.3.1 ไมม่ เี ครื่องมือสอ่ื สาร
7.3.2 ไม่สามารถสอบถามครูผสู้ อนได้
8. นาประเด็นปัญหาที่พบมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรอบ
ถดั ไป

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 105

1.3.1.6 โรงเรยี นบา้ นปลกั แรด
ขนาดสถานศกึ ษา ( ) เลก็ ( ✓) กลาง ( ) ใหญ่ ( ) ใหญ่พิเศษ
รูปแบบการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ระดับปฐมวยั  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online
ระดับประถมศึกษา  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online
ระดบั มัธยมตน้  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online
ระดบั มัธยมปลาย  On Site  On Air  On Demand  On Hand  Online

โรงเรียนบ้านปลักแรด เป็นโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษาขนาดกลาง ที่จัดการเรียน
การสอนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 - 6 และระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 6 ได้ดาเนินการ
จัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย
จดั การสอนเปน็ 3 รูปแบบ คอื Online, On Hand และ On Demand

ท้งั นใี้ นการจัดการเรียนการสอน 3 รปู แบบดงั กกลา่ ว โรงเรยี นบ้านปลักแรดไดด้ าเนินการให้
คณะครูในโรงเรียนปรับแผนการสอนใหเ้ ข้ากับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ผ่านกระบวนการ PLC เพื่อให้ครูได้ออกแบบการเรียนรู้ใหเ้ ข้ากับสถานการณ์ เหมาะสม
กับนักเรียน และมีกิจกรรมท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถนามาบูรณาการกับกลุ่มสาระ
ตา่ ง ๆ ได้ โดยมีตวั อยา่ งของครทู ี่ไดน้ าเสนอแผนจดั การเรียนรผู้ า่ น กจิ กรรม Open House ดงั นี้

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 106

แผนการจัดประสบการณแ์ บบ Active Learning

เรอื่ ง หนูนอ้ ยพฒั นากลา้ มเนอื้ มือเตรียมพร้อมหดั ขดี เขียน ระดับชนั้ อนบุ าล 2

ครูผสู้ อน นางสาวศักดิศ์ รี ภ่แู ส

.......................................................................................................................................................

สาเหตุ

เด็กชั้นอนุบาล 2 จับดินสอขีดเขียนลากเส้นตามรอยประไม่ได้ กล้ามเน้ือมือไม่แข็งแรง หยิบ

จับขดี เขียนไมค่ ลอ่ งแคลว่ ลากเสน้ ไม่มีนา้ หนักท่ีชดั เจน ลากไมต่ รงกบั รอยประ ไม่ตอ่ เนื่อง

จึงได้ทาการพูดคุยปรึกษาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกันกับครูในระดับอนุบาล โดยใช้กระบวนการ

PLC ตามโดยได้ดาเนนิ การตามข้ันตอนตอ่ ไปน้ี

วงรอบท่ี 1 วงรอบที่ 2 วงรอบท่ี 3

วิธีการ กิจกรรมตัดกระดาษตาม กิจกรรมตัดประกระดาษ กิจกรรมร้อยสร้อยคอ

แกป้ ญั หา ลายเส้น เส้นตรง เส้นซิก รูปผลไม้ตามจา น ว น จากหลอดกาแฟ

(Plan) แซก เส้นโค้ง ตวั เลข

วธิ ีการ เดก็ ใชก้ รรไกรไมเ่ ป็น บาง เดก็ ใช้กรรไกรตัด ฝีกให้กล้ามเนื้อมือกับตา

แก้ปญั หา คนตัดไม่ตรงเส้น ตัดยังไม่ กระดาษไม่ตรงเส้น ตัด สัมพันธ์กัน โดยให้เด็ก

(Do) ต่อเน่ืองเป็นเส้นยาว ตัด เส้นโคง้ ตามรอยไม่ได้ ทา ร้อยสร้อยจาก หล อด

กระดาษขาดเป็นช้ินๆ ตัด ให้เป็นเหลี่ยมไม่สวยงาม กาแฟ

หลายแผ่นเด็กเบื่อ จึงหา หาวิธีฝึกให้กล้ามเน้ือมือ

วิธีการท่ีหลากหลายมา กับตาสัมพนั ธก์ ัน

แก้ปญั หา

ผลท่ีได้จากการ เด็กใช้กรรไกรตัดกระดาษ เดก็ ใชก้ รรไกรตัด เ ด็ ก ร้ อ ย ส ร้ อ ย ค อ จ า ก

แกป้ ัญหา (Do) ตามเส้นตรง เส้นโค้ง เส้น กระดาษ ตามรูปผลไม้ ห ล อ ด ก า แ ฟ ช่ ว ย ให้

ซิกแซกได้ กล้ามเน้ือมือ กลา้ มเนือ้ มอื แข็งแรงขึ้น กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับ

เริ่มแข็งแรง ตา ทาให้ขีดเขียนได้ตรง

รอยประ เขียนตัวอักษร

ไมก่ ลบั ด้าน

การสะท้อนผล เด็กบางคนยังตัดกระดาษ เด็กตัดกระดาษเส้นไม่ เด็กร้อยสร้อยคอได้จน

การแก้ปญั หา เป็นเสน้ ตรงไม่ได้ มอื ตาไม่ ต่อเนื่อง มือกับตาไม่ สาเร็จ ส่งผลให้มือกับตา

(See) ประสานสัมพันธ์กัน เด็ก สมั พันธ์กนั สัมพันธ์กัน ทาให้เด็กขีด

เบื่อเมื่อทาหลาย ๆ แผ่น เขียนตรงเส้นรอยประ

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 107

แผนจดั การเรยี นรู้
รายวชิ าคณติ ศาสตร์ รหสั วิชา ค 21101 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
หนว่ ยท่ี 1 จานวนเต็ม เวลา 14 ช่ัวโมง เรอ่ื ง การบวกและการลบจานวนเต็ม เวลา 4

ชวั่ โมง ครูผู้สอน นางสาวสิรินาถ บุญนวน
.......................................................................................................................................................

ครูจัดการเรียนการสอนแบบ Online โดยใช้ Google Meet, แอปพลิเคชัน Livework
sheet, Power Point และคลิปจาก YouTube เป็นเคร่ืองมือและสื่อการเรียนรู้ในการจัดการเรียน
การสอน ในการจัดทาแผนจัดการเรียนรู้คุณครูได้ปรับแผนการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการ
PLC ดงั น้ี

1. การ PLC รอบท่ี 1 สาเหตุ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูเน้นการสอนใน
หนังสอื เรียนมากกว่าการใหเ้ ดก็ ได้เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง และการลงมอื ปฏบิ ัติ

จากการวิพากย์ใน รอบที่ 1 จาก Area Team โดยคณะศึกษานิเทศก์ จากสานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ได้ให้ข้อเสนอแนะในการปรับแผนให้สามารถนามาสอน
ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ได้ด้วย เช่น นาคลิปวิดีโอมาใช้เป็นส่ือในการจัดการเรียนรู้ ทาใบความรู้
เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเอง และอัดคลิปการสอนให้นักเรียนได้เรียนรู้ที่บ้าน
เปน็ ต้น

2. การ PLC รอบที่ 2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ
ออนไลน์ โดยใช้ Google Meet ซ่งึ จะเนน้ สื่อการสอนเปน็ วิดโี อ และ Power Point เพ่อื กระตุ้นความ
สนใจให้กบั นกั เรยี น และไดป้ รบั การเรยี นร้โู ดยใหน้ กั เรยี นไดเ้ รียนรู้ดว้ ยตนเอง

ปัญหาที่พบในการจัดการเรียนการสอน คือ นักเรียนมีปัญหาด้านการเข้าเรียนออนไลน์
และการทาใบงานแบบออนไลน์ ทาให้นักเรียนบางคนไม่สามารถเข้าเรียนได้ เน่ืองจากยังไม่เข้าใจและ
มีปัญหาด้านอินเตอร์เน็ต โดยครูคู่บัดด้ี ได้เสนอแนะให้ปรับใบงานให้มีความหลากหลายและหลาย
ชอ่ งทาง เพื่อใหน้ กั เรียนเข้าถึง พร้อมกบั กระตุน้ ความสนใจนักเรยี น

3. การ PLC รอบที่ 3 มอบหมายงานให้ผู้เรียนทาหลากหลายช่องทาง เพ่ือให้ผู้เรียนเข้าถึง
ใบงาน และดึงดูดใจตอ่ ผ้เู รียน โดยครผู สู้ อนใช้แอปพลเิ คชนั Live worksheet ในการทาใบงาน

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 108

สรปุ กระบวนการ PLC แผนจดั การเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ โดยครูสริ นิ าถ บุญนวน

CIPPA Model PLC วงรอบท่ี 1 PLC วงรอบท่ี 2 PLC วงรอบท่ี 3
ขน้ั ท่ี 1 -
การทบทวน * ทบทวนความรเู้ ดมิ จาก * ดคู ลิปวดี โิ อ เรือ่ งจานวนเต็ม -
ความรู้เดมิ -
ขั้นท่ี 2 การถาม - ตอบ * ถาม – ตอบ จากคลิปวดี ีโอ
การแสวงหา -
ความรใู้ หม่ * ครูยกตัวอย่าง * ใหน้ ักเรยี นยกตวั อย่าง -
-
ขั้นที่ 3 * ครูให้นักเรียนจบั คเู่ พ่ือ * ให้นักเรยี นดูสื่อการสอนท่ี
การศกึ ษาทา
ความเข้าใจ ศกึ ษาเน้ือหาในหนังสอื ครเู ตรยี มมา และช่วยกัน
ขอ้ มูล/ความรู้
ใหม่ และ เรียน และแลกเปลยี่ น แสดงความคิดเห็น
เชอื่ มโยงความรู้
ใหมก่ บั ความรู้ เรียนร้กู ับคู่ของตนเอง
เดิม
ขนั้ ที่ 4 * ครูใช้คาถามเก่ียวกบั การ * ครูยกตัวอย่างการบวก
การแลกเปลีย่ น
ความรคู้ วาม บวกจานวนเตม็ จานวนเต็ม
เขา้ ใจกลุ่ม
ขน้ั ที่ 5 * ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาใน * ดคู ลปิ VDO และร่วมกนั
การสรปุ และจดั
ระเบียบความรู้ หนงั สือเรยี น อธบิ าย
ขั้นท่ี 6
การปฏบิ ตั ิ และ/ * จบั กลมุ่ กลุม่ ละ 4 คน * ดคู ลปิ VDO และถามตอบ
หรอื การแสดง
ผลงาน ใหศ้ กึ ษาหาความรใู้ น กันระหวา่ งดูคลิป

หนังสอื เรยี น * สุ่มถาม และช่วยกันตอบ

* ครสู ุ่มถาม

* ครสู รุปเกีย่ วกบั หลักการ * ใช้วธิ กี ารต้งั คาถาม และ

บวกและลบจานวนเต็ม ตอบคาถาม

* ครใู หน้ ักเรียนจบั คู่ทา * ครูใหน้ กั เรียนดสู ัญลกั ษณ์
กจิ กรรมในหนังสือเรยี น และอธิบายข้อตกลง
* นักเรยี นลงมือทากิจกรรม
และเปลีย่ นเรยี นรูก้ ัน

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 109

CIPPA Model PLC วงรอบท่ี 1 PLC วงรอบท่ี 2 PLC วงรอบท่ี 3
ข้นั ที่ 7 การ * มอบหมายงานใหท้ า * ให้ผู้เรยี นทาใบงานแบบมี * มอบหมายงานให้
ประยกุ ตใ์ ช้ แบบฝกึ หดั จากหนังสือ ชวี ิต จาก Program ผู้เรยี นทา
ความรู้ เรยี น Liveworksheets หลากหลายช่องทาง
เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเข้าถึง
ใบงาน และดึงดูดใจ
ตอ่ ผ้เู รยี น

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 110

แผนจัดการเรียนรู้
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 16101 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
หนว่ ยที่ 2 การแยกสาร เวลา 10 ชั่วโมง เรือ่ ง การแยกสารเนอ้ื ผสม เวลา 4 ชัว่ โมง

ครูผสู้ อน นายประสิทธิ์ ไชยกาล

กิจกรรม วงรอบท่ี 1 วงรอบที่ 2 วงรอบท่ี 3
SLC
1) รูปแบบของการจดั การเรยี นร้โู ดย 1) รปู แบบของการจดั การ 1) จดั การเรยี นการสอนแบบ On
สาเหตุ ใช้กระบวนการเรยี นร้แู บบสบื เสาะ เรียนการรทู้ ่ไี ม่สามารถจดั Hand, Online โดยใชแ้ อปพรเิ คชน่ั
(PLAN) 2) ลกั ษณะการเขียนแผนแบบราย กิจกรรมแบบ On Site Meet
ชว่ั โมง 2) นกั เรียนไมส่ ามารเขา้ เรียนใน
วธิ กี าร 3) การตรวจสอบความรูข้ องผเู้ รียน 1) จดั การเรยี นการสอนแบบ ระบบออนไลน์ไดค้ รบทุกคน
แก้ปัญหา 4) การวดั และประเมนิ ผล On Hand, Online โดยใช้ 3. นักเรยี นมีปญั หาในการนาผล
(PLAN) 5) ยงั ไม่มสามารถจดั กิจกรรมการ แอปพลเิ คชัน่ Meet การทดลองทค่ี ้นพบไปเชือ่ มโยงกบั
เรียนการสอนแบบ on site 2) ปรบั แผนการจดั กจิ กรรม การเขยี นรายงานสรุปผลการ
(ขอ้ เสนอแนะ เน่อื งจากมสภาวะการพร่ระบาดของ การเรยี นรู้ให้สามารถใช้การ ทดลอง
จาก PLC) โรงโควด-19 สอนแบบ Online ไดแ้ ก่ 4) การวดั ประเมนิ ผล
1) ควรระบุรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 1) จัดการเรียนการสอนแบบ On
โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ - เตรยี มใบงาน ใบกิจกรรม Hand, Online โดยใช้แอปพรเิ คชน่ั
สืบเสาะ(Inquiry 5Es) - เตรียมวัสดอุ ปุ กรณท์ ่ีใช้ Meet
2) ปรับรปู แบบแผนการเรยี นการ ในการทดลอง 2) ปรบั แผนการจดั กจิ กรรมการ
เรยี นรเู้ ป็นแบบแผนรายหนว่ ยการ เรยี นรู้ใหส้ ามารถใชก้ ารสอนแบบ
เรยี นรู้(แผนรวม) Online ได้แก่
3) ควรทบทวนความร้เู ดมิ ของผูเ้ รยี น
ได้แก่ความหมายของสารหรอื สสาร - เตรียมใบงาน ใบกจิ กรรม
สถานะของสาร - เตรยี มวัสดุอุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการ
4) ควรออกแบบการวดั ประเมนิ ผล ทดลอง
โดยใชก้ ารทดสอบภาคปฏิบตั คิ วบคู่ 3) ใช้การสื่อสารตดิ ตอ่ ละกระตุน้
ไปกบั การทดสอบโดยใชบ้ บทดสอบ เร้าพลังความสนใจอยากเรียนรู้
5)ออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี น 4) การใช้คาถามเพ่ือเชอ่ื มโยงไปสู่
การสอนให้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ การสรุปบทเรียน
การระบาดของโรคโควดิ -19 5) ควรใช้การทดสอบภาคปฏิบตั ิ
ควบคไู่ ปกบั แบบทดสอบ และแบบ
ประเมินผลงานการสบื คน้ ข้อมูล
เปน็ เครื่องมอื ในการวดั ประเมินผล

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 111

กจิ กรรม SLC วงรอบที่ 1 วงรอบท่ี 2 วงรอบท่ี 3
การสะทอ้ นผลการ -
แกป้ ญั หา(SEE) 1) ใชก้ ารสอ่ื สารตดิ ตอ่ ละกระตุ้น

(ข้อเสนอแนะจาก เร้าพลงั ความสนใจอยากเรยี นรู้
การสงั เกตชน้ั เรียน)
2) ใหก้ าลังใจและเสรมแรงใหก้ าร

ช่นื ชมผลงานที่ประสบผลสาเรจ็ ละ

นามาเป้นตัวอย่างใหก้ บั นักเรยี น

คนอนื่ ๆ

3) ครใู ห้คานะนาขณะนกั เรยี นทา

การทดลองผา่ นทางออนไลน์

4) การใชค้ าถามเพือ่ เชอื่ มโยงไปสู่

การสรุปบทเรยี น

ประเด็นทน่ี าไป - 1) สร้างแรงจูงใจเพือ่ ให้นกั เรียน
พัฒนาในวงรอบ
ตอ่ ไป(SEE) เข้าเรยี นไดค้ รบทุกคน

2) จัดแสดงผลงานและนาเสนอใน

รูปแบบของการบนั ทกึ คลิปวดี ิโอ

3) การปรบั ปรุงการใช้คาถามให้

นกั เรยี นสามารถเชือ่ มโยงไปสู่การ

สรุปผลการทดลอง

นวัตกรรม/ 1) ปรับแผนการสอนจากราย 1) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 1) จัดกิจกรรมการเรียนการ

เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้นาไป ชว่ั โมงให้เป็นแผนแบบราย แบบ Online โดยใชแ้ อปพริเคชั่น สอนแบบ Online โดยใช้

พัฒนา/แกไ้ ข หนว่ ยการเรยี นร้(ู แผนรวม) โดย Meet แอปพริเคชั่น Meet

ใช้เวลาในการจดั การเรยี นการ 2) จดั แสดงผลงานของนกั เรยี น 2) จัดแสดงผลงานของ

สอนรวม 8 ชัว่ โมง และใหน้ ักเรียนบนั ทึกคลิปวดี โิ อ นกั เรยี นและให้นักเรียนบนั ทกึ

2) ใช้รปู แบบกระบวนการ การทดลอง คลปิ วดี โิ อการทดลอง

จัดการเรียนรแู้ บบสบื เสาะ 3) การปรับปรงุ ข้อคาถามหลงั การ 3) การปรับปรงุ ขอ้ คาถามหลงั

(Inquiry) 5Es ทดลองเพ่ือให้นักเรยี นสามารถ การทดลองเพ่อื ใหน้ ักเรยี น

3) ใชก้ ารทดสอบภาคปฏบิ ตั ิ เชื่อมโยงไปสกู่ ารเขยี นสรุปผลการ สามารถเช่อื มโยงไปส่กู าร

ควบคไู่ ปกับแบบทดสอบ และ ทดลอง เขียนสรปุ ผลการทดลอง

แบบประเมนิ ผลงานการสืบคน้

ข้อมลู เป็นเคร่ืองมือในการวัด

ประเมินผล

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 112

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาแนวทางการจดั การศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 มีสถานศึกษาในสังกัด จานวน

113 โรงเรียน ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 4 รูปแบบ ประกอบด้วย Online, On Hand,
On Demand และ On Air ดงั นี้

รปู แบบการจดั การเรียนการสอน จานวนโรงเรยี น (ท้ังหมด 113 คน) รอ้ ยละ
Online 65 57.52
On Hand 111 98.23
On Demand 29 88.50
On Air 42 37.17

2.1 ระดบั ปฐมวยั
1. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสารวจข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาและความพร้อม

ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ สาหรับเด็กปฐมวัยในภาวะวิกฤต COVID – 19 ของครู และ
สถานศึกษาระดับปฐมวัยสารวจความพร้อมของผู้ปกครองในการใช้เครื่องมือ/ส่ือออนไลน์ และ
ความพร้อมทจ่ี ะเรียนร้รู ว่ มกันกับเดก็ ปฐมวยั

2. แนวทางการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บ้านอย่างเหมาะสมตามความ
พร้อมและความแตกต่างของแต่ละครอบครัว โดยอาศัยการมีส่วนร่วมระหว่างสถานศึกษา ครู และ
ผู้ปกครอง ซึ่งสามารถดาเนินการได้ใน 3 ลักษณะ ดงั นี้

2.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online) เหมาะใช้
สาหรับครอบครัวท่ีมีความพร้อมด้านคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์สมาร์ทโฟนและสัญญาณอินเทอร์เน็ต
โดยครูจัดทาคู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตารางการจัดกิจกรรมแต่ละวัน รายละเอียด
การจัดกิจกรรม จัดการเรียนการสอนหรือเล่านิทานผ่านคลิป ส่งให้กับผู้ปกครองเป็นระยะแต่ละ
สัปดาห์ หรือตามระยะเวลาทเี่ หมาะสม โดยมกี ารติดตามผลใหผ้ ู้ปกครองถา่ ยรูปภาพช้นิ งานหรอื บันทึก
วิดีโอการทากิจกรรมของเด็กส่งให้ครูทางไลน์กลุ่ม และอาจมีการกาหนดวันพบปะครูและเพื่อนร่วม
ห้องผ่านระบบแอปพลิเคชันซูม Zoom, Microsoft Teams, Google Meet, Line ฯลฯ เพ่ือส่งเสริม
พฒั นาการดา้ นสังคมของเด็กปฐมวยั

2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบโทรทัศน์/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (On Air/
On Demand) เหมาะใช้สาหรับผ้ปู กครองที่มีความพร้อมด้านโทรทศั นส์ ามารถรับส่ืออิเล็กทรอนิกส์ได้
โดยให้สถานศึกษา จัดการเรียนการสอนผ่านดาวเทียม (DLTV) จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์การจัดกิจกรรม

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 113

การเรียนรู้ คู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีบ้าน หรือคู่มือการเรียนรู้ผ่านดาวเ ทียม
(DLTV) ส่งไปให้ผู้ปกครองท่ีบ้านหรือผู้ปกครองมารับที่สถานศึกษาเพ่ือให้เด็กนาไปใช้ทากิจกรรม
การเรียนรทู้ ีบ่ ้านเป็นระยะ แต่ละสปั ดาห์ หรือ ตามระยะเวลาทเ่ี หมาะสม

2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการนาส่งเอกสารที่บ้าน (On Hand) เหมาะใช้
สาหรับครอบครวั ท่ีไมม่ คี วามพรอ้ มดา้ นเทคโนโลยีหรือสญั ญาณอินเทอร์เน็ต โดยสถานศึกษาใหค้ รูออก
เยี่ยมบ้านของเด็ก เพื่อจัดส่งคู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตารางการจัดกิจกรรมแต่ละ
วัน รายละเอียดการจัดกิจกรรม จดั ชุดสอ่ื วัสดุอุปกรณ์การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ และสร้างความเข้าใจ
หรือชี้แจงให้กับผู้ปกครองในการใช้คู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีบ้าน เพ่ือให้
ผู้ปกครองสามารถ จัดกจิ กรรมใหก้ บั เดก็ ได้อยา่ งถูกต้อง และบรรลุตามวัตถุประสงค์

3. สถานศึกษาดาเนินการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช 2560 โดยมีการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยด้วยการลงมือกระทาบูรณาการผ่าน
การเล่น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยด้วยการส่งเอกสารที่บ้าน (On Hand) จึงมีความ
เหมาะสมที่สุด แต่บางกิจกรรมสามารถใช้หรือบูรณาการร่วมกันในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online) หรือผ่านระบบโทรทัศน์/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (On Air/
On Demand) ตามความเหมาะสมและความพร้อมของผ้ปู กครอง

4. สถานศึกษาติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีบ้านของผู้ปกครองจากไลน์กลุ่ม
ผู้ปกครอง หรือจากการออกเยี่ยมบ้านเด็ก เพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรู้ รับฟังปัญหาอุปสรรคจากผู้ปกครอง
และปรบั ปรุงการดาเนนิ งานให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งข้นึ

5. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษากากับดูแลให้สถานศึกษา ให้ดาเนินการตามแนว
ทางการจัดการเรียนการสอนและสง่ เสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือส่งเสริมและประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
และรายงานให้สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาทราบเปน็ ระยะ

2.2 ระดับประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา
1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสารวจข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษาและความพร้อม

ด้านสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของครู และ
สถานศึกษา สารวจความพร้อมของผู้ปกครองในการใช้เครื่องมือ/สื่อออนไลน์ และความพร้อมท่ีจะ
เรียนรูร้ ่วมกนั กบั นกั เรียน

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 114

2. แนวทางการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บ้านอย่างเหมาะสมตามความ
พร้อมและความแตกต่างของแต่ละครอบครัว โดยอาศัยการมีส่วนร่วมระหว่างสถานศึกษา ครู และ
ผู้ปกครอง ซึง่ สามารถดาเนินการได้ใน 3 ลกั ษณะ ดังน้ี

2.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online) เหมาะใช้
สาหรับครอบครัวที่มีความพร้อมด้านคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์สมาร์ทโฟนและสัญญาณอินเทอร์เน็ต
โดยครูจัดทาคู่มือหรือแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ตารางการเรียนในแต่ละวัน รายละเอียดการ
จัดกิจกรรม จัดการเรียนการสอน ส่งให้กับผู้ปกครองเป็นระยะแต่ละสัปดาห์ หรือตามระยะเวลา
ท่เี หมาะสม โดยมกี ารติดตามผลให้ผปู้ กครองถา่ ยรูปภาพชนิ้ งานหรือบันทึกวิดีโอการเรยี นของนักเรียน
ส่งให้ครูทางไลน์กลุ่ม และอาจมีการกาหนดวันพบปะครูและเพ่ือนร่วมห้องผ่านระบบแอปพลิเคชัน
Zoom, Microsoft Teams, Google Meet , Line ฯลฯ

2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบโทรทัศน์/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (On Air/
On Demand) เหมาะใช้สาหรับผู้ปกครองท่ีมีความพร้อมด้านโทรทศั น์สามารถรับสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้
โดยให้สถานศึกษา จัดการเรียนการสอนผ่านดาวเทียม (DLTV) จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ คู่มือหรือ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีบ้าน หรือคู่มือการเรียนรู้ผ่านดาวเทียม
(DLTV) ส่งไปให้ผู้ปกครองท่ีบ้านหรือผู้ปกครองมารับท่ีสถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนนาไปใช้ใน
การเรียนรู้ท่ีบ้านเปน็ ระยะแต่ละสัปดาห์ หรอื ตามระยะเวลาทเี่ หมาะสม

2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการนาส่งเอกสารที่บ้าน (On Hand) เหมาะใช้
สาหรบั ครอบครัวท่ีไมม่ ีความพรอ้ มดา้ นเทคโนโลยีหรือสัญญาณอินเทอร์เน็ต โดยสถานศกึ ษาให้ครูออก
เยี่ยมบ้านของเด็ก เพื่อจัดส่งคู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตารางเรียนแต่ละวัน
รายละเอยี ดการจดั กิจกรรม จดั ชุดสอื่ วสั ดอุ ุปกรณ์การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และสรา้ งความเข้าใจหรือ
ชี้แจงให้กับผู้ปกครองในการใช้คู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีบ้าน เพื่อให้ผู้ปกครอง
สามารถ จดั กจิ กรรมใหก้ ับนักเรียนได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์

3. สถานศึกษาดาเนินการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แต่บางกิจกรรมสามารถใช้หรือบูรณาการร่วมกันในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online) หรือผ่านระบบโทรทัศน์/ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (On Air/
On Demand) ตามความเหมาะสมและความพร้อมของผปู้ กครอง

4. ครูจัดรูปแบบกิจกรรมเสริมทักษะชีวติ และเสริมสร้างทักษะอาชีพที่ผู้เรียนสามารถ
ฝึกปฏิบัติได้ที่บ้าน พร้อมท้ังกิจกรรมที่เสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ควบคู่
การติดตามความสนใจและความต้องการในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน เช่น ระดับมัธยมศึกษา และ
ระดับอุดมศึกษา

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 115

5. สถานศึกษาติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บ้านของผู้ปกครองจากไลน์กลุ่ม
ผู้ปกครอง หรือจากการออกเย่ียมบ้านเด็ก เพ่ือแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ รับฟังปัญหาอุปสรรคจากผู้ปกครอง
และปรับปรุงการดาเนินงานใหม้ ีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้

6. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากากับดูแลให้สถานศึกษา ให้ดาเนินการตามแนว
ทางการจัดการเรียนการสอนและสง่ เสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ และรายงานให้สานักงานเขต
พนื้ ทกี่ ารศกึ ษาทราบเปน็ ระยะ

2.3 ระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ได้ตระหนักถึงความสาคัญของ
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID -19) เพอ่ื เปน็ การสร้างความเชอ่ื มนั่ ใหก้ ับผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี โดยมแี นวทางส่งเสริมสถานศึกษา
ในสังกัดตามประเดน็ ดังน้ี

1. การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา
ขบั เคล่อื นให้สถานศึกษาในสังกดั จัดทาและใช้หลักสูตรสถานศึกษา และมีการประเมิน
การใช้หลักสูตรสถานศึกษาทุกปีการศึกษา เพื่อนาผลการประเมินมาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
นอกจากนย้ี ังจดั ทาแผนขบั เคล่ือนการจัดทาสาระการเรยี นร้ทู ้องถิน่ ตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา
2. การพฒั นาการจดั การเรียนรู้
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างความตระหนักให้ครูผู้สอนเห็นความสาคัญของ
การพัฒนาตนเองเพ่ือนามาจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนโดยการศึกษาหาความรู้ด้านเทคนิคการสอน เช่น
การอบรมออนไลน์ เป็นต้น ท้ังนี้ สานักงานเขตพ้ืนท่ีได้จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้สามารถจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และมีกระบวนการ
การนิเทศ ระดับช้ันเรียน ห้องเรียน เพ่ือครูสามารถจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดศักยภาพสูงสุด
เกิดทักษะในอนาคต ตามบริบทของสังคม ชุมชน โรงเรยี น และตนเอง
3. การจดั การเรยี นการสอน
ส่งเสริมพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ให้สามารถออกแบบและจัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) ทั้งนี้ในช่วงท่ีมีการแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ได้จัดทาแนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ฉุกเฉิน ภายใต้
โครงการเปล่ยี นบา้ นเป็นหอ้ งเรยี น เปล่ยี นผปู้ กครองเป็นครู

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 116

4. การวดั และประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน
ส่งเสริมสถานศึกษาในสังกัด ให้มีการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามสภาพ
จริงในช่วงการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้วิธีการวัดและประเมินผล
ท่ีหลากหลาย จากภาระงาน ช้ินงาน และทักษะท่ีเกิดจาการเรียนรู้ ลดการทดสอบด้วยแบบทดสอบ
หรือการทดสอบออนไลน์ ซ่ึงจะเปน็ การวัดประเมินผลแค่เพียงด้านความรู้ ความจาเทา่ นน้ั
5. การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายใน
ส่งเสริมให้สถานศึกษาบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน โดยการศึกษาบริบท
ความพร้อมของครู ความต้องการของผู้เรียนและผู้ปกครองในการจัดการศึกษาในช่วงการแพร่ระบาด
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้มาตรฐานการศึกษา 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้าน
การบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านคุณภาพผู้เรียน เป็นตัวชี้วัดเพื่อควบคุม
คุณภาพในการจัดการศกึ ษา ทง้ั นีค้ วรเชอื่ มโยงให้ครอบคลมุ ตามประเดน็ ดงั นี้
ด้านการบรหิ ารจัดการ โรงเรยี นกาหนดรูปแบบการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียน
ในสถานการณ์ COVID-19 ในรูปแบบ 5 On ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา พัฒนาครูและ
บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในการเทคโนโลยี ความรู้พื้นฐานในการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์
COVID-19 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้
ด้านการจัดการเรียนการสอน ออกแบบและจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ
ปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ได้ ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอ้ือ
ต่อการเรียนรู้ มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
หลากหลายตามสภาพจริง เน้นการวัดประเมินผลจากการปฏิบัติ จากภาระงานช้ินงาน และนาผลมา
พัฒนาผู้เรียน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัด
การเรียนรู้
ด้านคุณภาพผู้เรียน แม้สถานศึกษาจะไม่สามารถเปิดเรียน On Site ได้ แต่ใน
การจัดการเรียนในสถานการณ์ COVID-19 ยังต้องมุ่งเน้นทักษะ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และ
สมรรถนะ โดยการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพ่ือให้นักเรียนได้ใช้ทักษะการบริหาร
จัดการตนเอง และทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองให้มากที่สุด และการจัดการเรียนรู้น้ันควรมี
การเชื่อมกับการเรียนการสอนโดย “ผู้ปกครองช่วยสอน” ซ่ึงเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการจัด
การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งดีเยีย่ ม

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 117

ตอนท่ี 3 ผลการจดั ทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค
ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

จากการร่วมกันวิเคราะห์ภาพอนาคต โดยผู้ทรงคุณวุฒิสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 พบว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) มีแนวโน้มที่จะส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนในระยะยาว ทาให้ไม่สามารถจัดการ
เรียนการสอน ในห้องเรียน (On Site) ได้ตามปกติ ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรับ
สถานการณ์ดังกล่าว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 จึงได้
จัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) มีสาระดังนี้

1. การพัฒนาระบบและกลไกส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

1.1 รฐั ควรพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานเพื่อสนบั สนนุ การใช้เทคโนโลยีเพ่ือการจัดการเรียน
การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น เครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ให้ครอบคลุมพื้นท่โี รงเรียนทกุ แหง่ อย่างทวั่ ถงึ มีประสทิ ธภิ าพ และไม่เสียค่าใชจ้ ่าย

1.2 รัฐ/หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดสรรอุปกรณ์ และ/หรือคลื่นความถ่ีเพ่ือให้โรงเรียน
สามารถใชท้ ีวเี พือ่ การศกึ ษาได้

1.3 หน่วยงานต้นสังกัด/หน่วยงานระดับพ้ืนที่ควรสนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์
สอ่ื อปุ กรณ์ เทคโนโลยีทางการเรยี นการสอนเพ่ือสนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียน รวมทั้งจัดระบบการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างมีประสิทธิภาพ

1.4 หน่วยงานต้นสังกัด ควรสนับสนุนจัดทาแผนและนโยบาย ด้านการจัดการเรียนรู้
แบบผสมผสาน ทงั้ ในหอ้ งและนอกหอ้ งตามความต้องการของผูป้ กครองและนักเรียน ดงั นี้

1) กาหนดรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ 6 ON ไดแ้ ก่ On Site, On Air, Online, On
Demand, On Hand และ Blended เพ่ือให้โรงเรียนเลือกใช้ตามบริบท

2) กาหนดแนวทางระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ด้านการบริหารจัดการ ด้าน
การจดั การเรียนรู้ และด้านการชว่ ยเหลือนกั เรยี น

3) จัดหา Software / คอมพิวเตอร์ยืมเรียน-ยืมสอน/บุคลากรท่ีรับผิดชอบ
โดยตรง/ คลินกิ ICT เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานทั้งระดับเขตพ้นื ที่ และระดับสถานศึกษา

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 118

4) ควรพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการ
เรียนการสอนในสถานการณ์วิกฤติ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ให้ครอบคลุมพ้ืนที่
สถานศึกษาทุกแหง่ อยา่ งทวั่ ถึงและไม่เสียคา่ ใช้จา่ ย

5) มีความยืดหยุ่นเร่ืองระเบียบด้านการเงินและพัสดุ เพื่อเอื้อต่อสถานศึกษาให้
สามารถจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์โควิดไดเ้ หมาะสมตามบรบิ ท

1.5 หน่วยงานต้นสังกัดควรประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ ในการบูรณาการข้อมูล
ที่จาเป็น และจัดทาเป็นฐานข้อมูลกลางเพื่อลดภาระของโรงเรียนที่มีภาระงานเพ่ิมมากข้ึนอยู่แล้ว
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

1.6 หน่วยงานต้นสังกัดควรส่งเสริมให้สถานศึกษามีการดาเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย
การสนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดสร้างความม่ันใจแก่ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บรรลุตาม
มาตรฐานการศึกษาครอบคลุม 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียน
การสอน และด้านคณุ ภาพผู้เรยี น เปน็ ตวั ชี้วัดเพ่อื ควบคุมคุณภาพในการจดั การศกึ ษา

1.7 หน่วยงานต้นสังกัดควรสนับสนุนด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา สนับสนุน/จัดหา
คอมพวิ เตอรย์ ืมเรียน คอมพิวเตอร์ยืมสอน อนิ เตอร์เนต็ เพื่อการศกึ ษา ต้องสนับสนนุ ทงั้ ทโี่ รงเรียนและ
ท่ีบ้านนักเรียน Software เพื่อการศึกษา ที่ไม่มีข้อจากัด เช่น Software ของ สพฐ. สามารถให้ครู/
นกั เรียนมีสทิ ธกิ ารเขา้ ใช้งาน คอมพิวเตอร์เชา่ เพ่ือการบริหารจัดการ ปรับระบบของเขตพ้ืนที่/โรงเรียน
โดยการสนับสนุน Software เพอ่ื การศกึ ษา จดั เจ้าหน้าที่เพ่อื คลินิก ICT

2. การสนับสนุนช่วยเหลือให้สถานศึกษาดาเนินการจดั การเรียนรู้ได้ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

2.1 หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดสรรงบประมาณและสนับสนุนทรัพยากรการจัด
การเรียนรู้ให้เพียงพอเหมาะสมกับบริบทความต้องการจาเป็นของโรงเรียนให้ครอบคลุมถึงกลุ่มท่ีมี
ความต้องการเป็นพิเศษ เช่น กลุ่มเด็กพิเศษ หรือกลุ่มเด็กด้อยโอกาส เพ่ือลดความเหลื่อมล้าใน
การเขา้ ถงึ การศึกษา

2.2 หน่วยงานต้นสังกัดควรมีการคานวณค่าใช้จ่ายรายหัวของนักเรียน และค่าใช้จ่าย
เพ่ิมเติมของผู้ปกครองของนักเรียน ซึ่งจาเป็นต้องมีการเรียนรู้โดยการใช้ Online, On Air เพ่ือจะ
สามารถจดั สรรงบประมาณให้เพยี งพอและสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการแทจ้ รงิ

2.3 หน่วยงานต้นสังกัดควรมอบหมายหน่วยงานระดับพ้ืนท่ีให้มีบทบาทหลักใน
การสนับสนุน อานวยความสะดวก และร่วมแก้ปัญหาต่าง ๆ กับโรงเรียนให้จัดการเรียนรู้ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ได้

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 119

2.4 หน่วยงานต้นสังกัดควรมีนโยบายเสริมสร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียนสามารถ
บริหารจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้
ตามบรบิ ทของตนเอง โดยใหบ้ ทบาทในการตัดสนิ ใจ

2.5 หน่วยงานต้นสังกัด/หน่วยงานระดับพ้ืนท่ีจัดทีมงานช่วยเหลือเชิงเทคนิคให้กับ
โรงเรียน เพอ่ื ชว่ ยให้นกั เรยี นสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่างเทา่ เทยี มกัน

2.6 หน่วยงานต้นสังกดั สง่ เสรมิ สถานศกึ ษาให้เชือ่ มโยงการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กับการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ
การสอนแบบบรู ณาการเพ่ือเน้นสมรรถนะผเู้ รียน เปลยี่ นวิชาการเปน็ วชิ าชีวติ และวชิ าชีพ

3. การจดั หลักสูตร การจดั การเรยี นรู้ และการวัดประเมินผลในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

3.1 หน่วยงานต้นสังกัดควรปรับหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรท่ีมีความยืดหยุ่นปรับ
โครงสร้างเวลาเรียน ปรับลดเนื้อหาให้กระชับ และบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เชือ่ มโยงการจดั การเรียนรู้
ในสถานการณโ์ ควิดกับการจดั การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ

3.2 หน่วยงานต้นสงั กัดหรือหน่วยงานระดับพ้ืนที่ควรส่งเสรมิ สนับสนุนการรวบรวมสือ่
นวัตกรรม และเทคโนโลยีเป็นศูนย์ส่ือ นวัตกรรมการเรียนการสอนท่ีครูสามารถนามาเผยแพร่ และ
นาไปแลกเปล่ยี นและแบง่ ปันกันใชใ้ นการจดั การเรียนรไู้ ด้อย่างกว้างขวางตามบรบิ ทของโรงเรยี น

3.3 หน่วยงานต้นสังกัดกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
ให้มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับวิธีการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง เน้นการใช้ผลงาน และ
การประเมินผลระหว่างเรียนเปน็ สาคัญ

3.4 เปิดโอกาสใหผ้ บู้ รหิ ารมอี านาจในการบริหารแบบยืดหยนุ่ เพ่ือแก้ปญั หา Learning
lost เช่น การชะลอการตัดสินผลการเรียนรายภาคเรียน เพ่ือขยายเวลาและเติมเต็มสร้างการเรียนรู้
เพม่ิ เตมิ ให้แก่นักเรยี น

4. การพัฒนาและส่งเสรมิ ศักยภาพครูสาหรบั การจดั การเรียนรู้ในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

4.1 สถาบันผลิตครูควรมุ่งเน้นการผลิตครูให้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่
และการจดั การเรียนรใู้ นยุคดจิ ิทลั และมคี วามเป็นสากล

4.2 หน่วยงานต้นสังกัดควรมีมาตรการในการพัฒนาครูให้มีสมรรถนะในการจัด
การเรียนรู้ ในการใช้สือ่ เทคโนโลยใี นยุคดจิ ิทลั ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

วจิ ยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 120

4.3 หน่วยงานในระดับพื้นที่ และสถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเองให้มี
สมรรถนะ ในการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) และต้องเสรมิ สร้างเจตคตติ ่อการเรียนรแู้ บบพ่งึ พาตนเอง

5. การสนบั สนนุ ช่วยเหลือนักเรียนและผปู้ กครองเพอื่ การเรียนรูข้ องนักเรยี นในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

5.1 โรงเรียนชี้แจงทาความเข้าใจกับผู้ปกครองในการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และจัดทาคู่มือการเรียนและ
การปฏิบัติตนสาหรับนักเรียน และผู้ปกครอง เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

5.2 โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนมีวินัยในการเรียนรู้ด้วยตนเอง เสริมสร้างเจตคติต่อ
การเรียนรู้แบบพึ่งพาตนเอง และนักเรียนมีอิสระทางความคิด สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ได้
ดว้ ยตนเอง

5.3 โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนมีความฉลาดรู้ในการใช้ส่ือเทคโนโลยี ( Digital
Literacy) เพ่ือการแสวงหาความรู้ให้เกิดประสิทธิภาพ โดยการสอนให้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้
และการเขา้ ถงึ สอ่ื เทคโนโลยี รวมท้ังสทิ ธแิ ละความปลอดภยั ในการใชส้ ื่อเทคโนโลยี

บทที่ 5
สรุปผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

การวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ครั้งน้ี
ผวู้ ิจัยนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ตามลาดับ ดงั นี้

สรุปผลการวจิ ยั

ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะตา่ ง ๆ

1.1 ขอ้ มลู พื้นฐานของสถานศกึ ษา จาแนกตามขนาดและประเภทของสถานศกึ ษา

1) จานวนโรงเรยี นจาแนกตามขนาด

ขนาดโรงเรยี น จานวนโรงเรียน ร้อยละ

ขนาดเลก็ 62 54.86

ขนาดกลาง 49 43.36

ขนาดใหญ่ 1 0.89

ขนาดใหญ่พิเศษ 1 0.89

รวม 113 100.00

2) โรงเรยี นคณุ ภาพ ระดับประถมศึกษา จานวน 1 โรงเรยี น คือ โรงเรยี นบ้านปลกั แรด หมู่ 1
ตาบลปลักแรด อาเภอบางระกา จังหวัดพิษณโุ ลก

3) โรงเรียนท่ีใช้พ้ืนที่เป็นสถานท่ีกักตัว จานวน 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านบางแก้ว และ
โรงเรยี นบ้านบางแกว้

4) โรงเรียนที่ใช้พื้นที่เป็นสถานท่ีพักคอย จานวน 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนนิคมบางระกา 2
(ราษฎรบ์ ารงุ ) , โรงเรียนวดั ดงโคกขาม , โรงเรียนบา้ นปลกั แรด , โรงเรยี นวดั บ้านไร่

5) โรงเรียนท่ีจัดบรรเทาสถานการณ์ฯ ด้านอื่น ๆ เช่น ปลูกสมุนไพรทางเลือก ผลิต
แอลกอฮอล์ จิตอาสา อื่น ๆ เป็นต้น จานวน 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนวัดบ้านดง และ โรงเรียน
วดั สมอแข (พณิ พลราษฎร์บารุง)

วิจัยข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 122

1.2 ผลการวิเคราะห์บริบท (SWOT) ของสถานศึกษา
1.2.1 ดา้ นการบรหิ ารจัดการ
จดุ แข็ง (Strengths)
โรงเรยี นมรี ะบบการบริหารจดั การอย่างเปน็ ระบบ มกี ารวางแผนแนวทางการจดั การเรียน

การสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดฯ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษาให้เหมาะสม
ตามความต้องการและบริบท มีการติดตาม ตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง โดยนา
ข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคมาปรบั ปรงุ แนวทางการดาเนินงานเป็นระยะ ๆ ส่งเสริม สนับสนุน และ
พัฒนาบคุ ลากรใหม้ กี ารพัฒนาตนเอง ดา้ นการจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั บรบิ ท

จดุ อ่อน (Weaknesses)
โรงเรียนขาดงบประมาณและทรัพยากรสนับสนุนด้านการจัดการเรียนรู้ ขาดความต่อเนื่อง
ในการพัฒนาระบบให้มปี ระสิทธิภาพ
โอกาส (Opportunities)
ชุมชน รอบโรงเรียนมีส่วนร่วมในการป้องกัน และดูแลให้ประชาชนปฏิบัติตนตามมาตรการ
ป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ตลอดจนสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา
อุปสรรค (Threats)
นโยบายไมเ่ ปน็ เอกภาพ ขาดความต่อเนอ่ื ง ทาให้เกิดการทางานทซ่ี า้ ซ้อน
1.2.2 ด้านการจัดการเรยี นรู้
จุดแข็ง (Strengths)
มี กา ร ส า ร ว จ แ ห ล่ ง กา ร เ รี ย น รู้ ที่ เ กี่ย ว ข้อง กับ กา ร พั ฒ น า คุณภ า พ ภ า ย ใ น แ ล ะภ า ย น อ ก
สถานศึกษา จัดทาทะเบียนแหล่งเรียนรู้และรวบรวมแหล่งเรยี นรผู้ ่านระบบออนไลน์ นาส่ือเทคโนโลยี
มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ตลอดจนมีการประสานความร่วมมือวางแผนกับหน่วยงานและ
สถานศกึ ษาอ่ืน
จดุ ออ่ น (Weaknesses)
ครู นักเรยี นและผู้ปกครองบางสว่ นขาดทกั ษะการใช้งานเทคโนโลยี ขาดความพร้อมดา้ น
อุปกรณ์ในการเรยี นออนไลน์
โอกาส (Opportunities)
องคก์ ร และ หน่วยงานภาคเอกชนเปิดการอบรม การใช้เทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการ
สอนทหี่ ลากหลาย

วิจยั ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 123

อุปสรรค (Threats)
นโยบายดา้ นการวดั และประเมินผลไมแ่ น่นอน สง่ ผลต่อการตัดสนิ ใจดาเนินงานและการเรียน
ของนักเรยี น
1.2.3 ดา้ นการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
จดุ แขง็ (Strengths)
ครมู ขี ้อมูลพืน้ ฐานนักเรยี นทุกคน และดาเนนิ การติดตามนกั เรียนทง้ั ดา้ นการเรียนและการ
สง่ ใบงาน
จดุ ออ่ น (Weaknesses)
นักเรียนบางส่วนติดตามผู้ปกครองไปต่างจังหวัดเพื่อทางาน แล้วไม่สามารถกลับเข้ามา
ภายในจงั หวดั ได้ ทาให้การแจกใบงานหรือเงินเยียวยาชว่ ยเหลอื มีปญั หา
โอกาส (Opportunities)
ชุมชน ท้องถิ่นพร้อมสนับสนุน ช่วยเหลือในกรณีท่ีผู้เรียนต้องการความช่วยเหลืออย่าง
เร่งดว่ น
อปุ สรรค (Threats)
นโยบายการเยยี วยาช่วยเหลอื นกั เรียนล่าช้า ไมแ่ น่นอน และมีหลายข้นั ตอน อีกทัง้ เปน็ การ
แกป้ ญั หาในระยะสั้นๆ

ตอนที่ 2 ผลการศกึ ษาแนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรยี นลกั ษณะต่าง ๆ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 มีสถานศึกษาจานวน 113

โรงเรียน ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 4 รูปแบบ ได้แก่ Online, On Hand, On Demand
และ On Air ดงั นี้

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน จานวนโรงเรียน รอ้ ยละ
ท้ังหมด 113โรงเรียน
Online 57.52
On Hand 65 98.23
On Demand 111 88.50
On Air 29 37.17
42

วิจัยข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 124

ระดับปฐมวัย
การออกแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เหมาะสมตามความพร้อมและความแตกต่างของแต่ละ
ครอบครัว โดยอาศยั การมสี ว่ นรว่ มระหว่างสถานศึกษา ครู และผปู้ กครอง ซึ่งสามารถดาเนินการได้ใน
3 ลักษณะ ดังนี้
1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ Online โดยครูจัดทา ตารางการจัดกิจกรรมแต่ละวัน
จัดการเรียนการสอนหรือเล่านิทานผ่านคลิป ส่งให้กับผู้ปกครองเป็นระยะแต่ละสัปดาห์ มีการติดตาม
ผลโดยให้ผู้ปกครองถ่ายภาพชนิ้ งานหรือบันทึกวดิ ีโอการทากิจกรรมของเด็กสง่ ใหค้ รูทางไลน์กลุม่ และ
อาจมีการกาหนดวันพบปะครูและเพ่ือนร่วมห้องผ่านระบบZoom, Microsoft Teams, Google
Meet , Line เพ่อื ส่งเสรมิ พัฒนาการด้านสังคมของเด็กปฐมวัย
2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ On Air และOn Demand โดยจัดการเรียนการสอน
ผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) จดั หาสื่อวัสดอุ ปุ กรณ์ และใบงาน ส่งไปให้ผู้ปกครองท่ีบ้านหรือผู้ปกครองมารับ
ที่สถานศึกษาเพ่ือให้เด็กนาไปใช้ทากิจกรรมการเรียนรู้ท่ีบ้านในแต่ละสัปดาห์ หรือ ตามระยะเวลาท่ี
เหมาะสม
3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการนาส่งเอกสารที่บ้าน On Hand โดยสถานศึกษาให้ครู
ออกเยีย่ มบา้ นของเด็ก เพือ่ จัดสง่ ค่มู ือหรอื ตารางการจัดกิจกรรมแตล่ ะวนั รายละเอียดการจดั กิจกรรม
และสร้างความเขา้ ใจหรือชีแ้ จงใหก้ ับผู้ปกครอง เพ่อื ใหผ้ ูป้ กครองสามารถจดั กจิ กรรมให้กับเด็กได้อย่าง
ถกู ต้อง และบรรลตุ ามวัตถุประสงค์
ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา
การออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรอู้ ยา่ งเหมาะสมตามความพร้อมและความแตกตา่ ง
ของแต่ละครอบครัว อาศัยการมีสว่ นร่วมระหว่างสถานศึกษา ครู และผปู้ กครอง มีการดาเนินการใน 3
ลกั ษณะ ดงั นี้
1) การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้รปู แบบ Online โดยครจู ัดทาค่มู ือหรือแนวทางการจัดกจิ กรรม
การเรยี นรู้ และจดั การเรียนการสอน ส่งใหก้ บั ผู้ปกครองเป็นระยะแตล่ ะสปั ดาห์ หรือตามระยะเวลาท่ี
เหมาะสม โดยมีการติดตามผลใหผ้ ปู้ กครองถา่ ยรูปภาพช้ินงานหรอื บันทึกวดิ ีโอการเรียนของนักเรยี น
ส่งใหค้ รทู างไลน์กล่มุ และอาจมกี ารกาหนดวนั พบปะครูและเพ่ือนร่วมหอ้ งผา่ นระบบแอปพลิเคชนั ซูม
Zoom, Microsoft Teams, Google Meet , Line ฯลฯ
2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ On Air และ On Demand โดยให้สถานศึกษา จัดการ
เรยี นการสอนผ่านดาวเทยี ม DLTV จดั หาสอื่ วัสดุอุปกรณ์และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งไป
ให้ผู้ปกครองท่ีบ้านหรือผู้ปกครองมารับที่สถานศึกษาเพ่ือให้นักเรียนนาไปใช้ในการเรียนรู้ที่บ้านเป็น
ระยะ แต่ละสปั ดาห์ หรอื ตามระยะเวลาที่เหมาะสม

วจิ ัยขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 125

3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการนาส่งเอกสารท่ีบ้าน On Hand โดยสถานศึกษาให้ครู
ออกเยี่ยมบ้านของเด็ก เพื่อจัดส่งคู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายละเอียดการจัด
กิจกรรม และสร้างความเข้าใจหรือช้ีแจงให้กับผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถ จัดกิจกรรมให้กับ
นกั เรียนได้อย่างถกู ต้อง และบรรลตุ ามวัตถุประสงค์

ตอนที่ 3 ผลการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา

จากการวิเคราะห์ภาพอนาคต พบว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
มีแนวโน้มท่ีจะส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนในระยะยาว ทาใหไ้ มส่ ามารถจัดการเรียน การสอนใน
ห้องเรียน (On Site ) ได้ตามปกติ ดังน้ัน เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ดังกล่าว
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 จึงได้จัดทาข้อเสนอเชิง
นโยบายการจัดการศึกษาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ดงั นี้

1. การพัฒนาระบบและกลไกสง่ เสริมสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ของสถานศึกษาในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

1.1 รัฐควรพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการจัดการเรียนการ
สอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น เครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ใหค้ รอบคลุมพืน้ ที่โรงเรียนทกุ แห่งอยา่ งท่ัวถงึ มีประสิทธภิ าพ และไม่เสยี คา่ ใช้จ่าย

1.2 รัฐ/หน่วยงานต้นสงั กัดควรจดั สรรอุปกรณ์ และ/หรือคล่นื ความถี่เพ่ือให้โรงเรียน สามารถ
ใชท้ วี ีเพื่อการศกึ ษาได้

1.3 หน่วยงานต้นสังกัด/หน่วยงานระดับพื้นที่ควรสนับสนุนให้มีการจัดต้ังศูนย์ สื่อ อุปกรณ์
เทคโนโลยีทางการเรียนการสอนเพ่ือสนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการเ รียนการสอนของโรงเรียน
รวมท้ังจัดระบบการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างมปี ระสิทธิภาพ

1.4 หน่วยงานต้นสังกัด ควรสนับสนุนจัดทาแผนและนโยบาย ด้านการจัดการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน ท้งั ในห้องและนอกห้องตามความตอ้ งการของผ้ปู กครองและนักเรยี น ดังน้ี

1) กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 6 ON ได้แก่ On Site, On Air, Online,
On Demand, On Hand และ Blended เพ่ือใหโ้ รงเรยี นเลอื กใชต้ ามบริบท

2) กาหนดแนวทางระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการ
เรียนรู้ และดา้ นการช่วยเหลือนกั เรียน

วิจัยข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 126

3) จัดหา Software / คอมพิวเตอร์ยืมเรียน-ยืมสอน/บุคลากรท่ีรับผิดชอบโดยตรง/
คลนิ ิก ICT เพื่อสนบั สนนุ การดาเนนิ งานท้งั ระดับเขตพ้นื ที่ และระดบั สถานศกึ ษา

4) ควรพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนในสถานการณ์วิกฤติ

5) มีความยืดหยุ่นเรื่องระเบียบด้านการเงินและพัสดุ เพ่ือเอื้อต่อสถานศึกษาให้สามารถ
จดั การเรียนการสอนในสถานการณ์โควิดไดเ้ หมาะสมตามบรบิ ท

1.5 หน่วยงานต้นสังกัดควรประสานงานกับหน่วยงานอื่น ในการบูรณาการข้อมูลท่ีจาเป็น
และจัดทาเปน็ ฐานขอ้ มูลกลาง

1.6 หน่วยงานต้นสังกัดควรส่งเสริมให้สถานศึกษามีการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสนับสนุน
สถานศกึ ษาในสงั กดั สรา้ งความมนั่ ใจแก่ผู้ปกครอง และผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย

1.7 หน่วยงานต้นสังกัดควรสนับสนุนด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา สนับสนุน/จัดหา
คอมพิวเตอรย์ ืมเรยี น คอมพวิ เตอร์ยืมสอน อินเตอรเ์ น็ตเพื่อการศกึ ษา ตอ้ งสนับสนุนทัง้ ทโี่ รงเรยี นและ
ท่ีบ้านนักเรียน Software เพื่อการศึกษา ท่ีไม่มีข้อจากัด เช่น Software ของ สพฐ. สามารถให้ครู/
นักเรียนมีสิทธิการเข้าใช้งาน คอมพิวเตอร์เช่าเพ่ือการบริหารจัดการ ปรับระบบของเขตพื้นท่ี /
โรงเรียน โดยการสนบั สนุน Software เพอ่ื การศึกษา จัดเจ้าหน้าท่เี พื่อคลนิ ิก ICT

2. การสนับสนุนช่วยเหลือให้สถานศึกษาดาเนินการจัดการเรียนรู้ได้ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

2.1 หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดสรรงบประมาณและสนับสนุนทรัพยากรการจัดการเรียนรู้ให้
เพียงพอเหมาะสมกับบริบทความต้องการจาเป็นของโรงเรียนให้ครอบคลุมถึงกลุ่มที่มีความต้องการ
เป็นพิเศษ เชน่ กลุ่มเดก็ พิเศษ หรือกลมุ่ เด็กด้อยโอกาส เพอ่ื ลดความเหลื่อมลา้ ในการเขา้ ถงึ การศกึ ษา

2.2 หน่วยงานต้นสังกัดควรมีการคานวณค่าใช้จา่ ยรายหัวของนักเรียน และค่าใช้จ่ายเพ่ิมเติม
ของผู้ปกครองของนักเรียน ซ่ึงจาเป็นต้องมีการเรียนรู้แบบOnline เพื่อจะสามารถจัดสรรงบประมาณ
ใหเ้ พียงพอและสอดคลอ้ งกบั ความต้องการแท้จริง

2.3 หน่วยงานต้นสังกัดควรมอบหมายหน่วยงานระดับพื้นที่ให้มีบทบาทหลักในการสนบั สนนุ
อานวยความสะดวก และร่วมแก้ปัญหาต่าง ๆ กับโรงเรียนให้จัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ได้

2.4 หน่วยงานต้นสังกัดควรมีนโยบายเสริมสร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียนสามารถบริหารจัด
การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ตาม
บรบิ ทของตนเอง โดยใหบ้ ทบาทในการตัดสนิ ใจ

วิจัยขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 127

2.5 หน่วยงานต้นสังกัด/หน่วยงานระดับพ้ืนที่จัดทีมงานช่วยเหลือเชิงเทคนิคให้กับโรงเรียน
เพื่อช่วยใหน้ กั เรยี นสามารถเข้าถึงการเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างเท่าเทยี มกัน

2.6 หน่วยงานต้นสังกัดส่งเสริมสถานศึกษาให้เช่ือมโยงการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์โควิด
กับการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ การสอนแบบบูรณาการเพื่อเน้นสมรรถนะผู้เรียน เปล่ียนวิชาการ
เปน็ วิชาชีวติ และวิชาชพี

3. การจดั หลกั สูตร การจัดการเรยี นรู้ และการวดั ประเมนิ ผลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

3.1 หน่วยงานต้นสังกัดควรปรับหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่น ปรับโครงสร้างเวลาเรียน ปรับ
ลดเนื้อหาให้กระชับ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เชื่อมโยงการจัดการเรียนรู้ ในสถานการณ์โควิดกับ
การจัดการเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ

3.2 หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานระดับพ้ืนที่ควรส่งเสริมสนับสนุน รวบรวมส่ือ
นวัตกรรม และเทคโนโลยี เป็นศูนย์สื่อ นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้
และเผยแพร่ผลงานอย่างกว้างขวาง

3.3 หน่วยงานต้นสังกัดกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ ให้มี
ความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับวธิ ีการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเนน้ การประเมินตามสภาพจริง เนน้ การใช้ผลงาน และการประเมินผล
ระหว่างเรียนเปน็ สาคญั

3.4 เปิดโอกาสให้ผู้บริหารมีอานาจในการบริหารแบบยืดหยุ่น เพื่อแก้ปัญหา Learning lost
เช่น การชะลอการตัดสนิ ผลการเรยี นรายภาคเรยี น เพอื่ ขยายเวลาและเตมิ เต็มสรา้ งการเรยี นรู้เพ่ิมเติม
ใหแ้ กน่ กั เรยี น

4. การพฒั นาและส่งเสริมศักยภาพครูสาหรบั การจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

4.1 สถาบันผลิตครูควรมุ่งเน้นการผลิตครูให้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่และการ
จดั การเรยี นรู้ในยุคดิจิทัลและมคี วามเปน็ สากล

4.2 หน่วยงานต้นสังกัดควรมีมาตรการในการพัฒนาครใู ห้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ ใน
การใชส้ ่ือ เทคโนโลยีในยุคดิจทิ ลั ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

4.3 หนว่ ยงานในระดับพ้นื ที่ และสถานศึกษาควรส่งเสรมิ ให้ครูพัฒนาตนเองให้มสี มรรถนะ ใน
การจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และ
ต้องเสริมสร้างเจตคติตอ่ การเรยี นรูแ้ บบพึ่งพาตนเอง

5. การสนับสนนุ ชว่ ยเหลอื นักเรยี นและผปู้ กครองเพื่อการเรยี นรูข้ องนกั เรยี นในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วจิ ยั ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 128

5.1 โรงเรียนชี้แจงทาความเข้าใจกับผู้ปกครองในการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และจัดทาคู่มือการเรียนและการปฏิบัติตน
สาหรับนักเรียน และผู้ปกครอง เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

5.2 โรงเรียนส่งเสรมิ ให้นักเรยี นมีวนิ ยั ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง เสรมิ สรา้ งเจตคติต่อการเรียนรู้
แบบพึ่งพาตนเอง และนักเรียนมอี ิสระทางความคดิ สามารถออกแบบการจัดการเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง

5.3 โรงเรียนส่งเสริมใหน้ ักเรียนมีความฉลาดรู้ในการใช้สื่อเทคโนโลยี (Digital Literacy) เพื่อ
การแสวงหาความรใู้ ห้เกิดประสิทธิภาพ โดยการสอนใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจในการใชแ้ ละการเข้าถึงสื่อ
เทคโนโลยี รวมทงั้ สิทธแิ ละความปลอดภยั ในการใช้สื่อเทคโนโลยี

อภปิ รายผล
จากผลการวิจัยเร่ือง วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19

สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 พบประเด็นที่น่าสนใจนามาอภปิ ราย ดงั นี้
1. ประเดน็ การอภิปรายเกีย่ วกบั แนวทางการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นลกั ษณะต่าง ๆ
จากผลการวจิ ัย พบว่า สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต1 มสี ถานศึกษา

จานวน 113 โรงเรียน ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 4 รูปแบบ ประกอบด้วย Online,
On Hand, On Demand, On Air และ Blended (แบบผสมผสาน) ซ่ึงเป็นไปตามแนวทางของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารที่ได้มปี ระกาศปรับการเปิดภาคเรียน จากวนั ที่วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2563 มาเป็น
วันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 ทาให้สถานศึกษาทุกแห่งท่ัวประเทศ ไม่สามารถเปิดการเรียนการสอนได้
ตามปกติ ซ่ึงการตัดสินใจเช่นน้ีเป็นไปตามแนวทางที่หลายประเทศก็ดาเนินการปิดการเรียนการสอน
ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโรครุนแรง เช่น ในหลาย ๆ มณฑลของประเทศแคนาดา (People for
Education, 2020) และประเทศสิงคโปร์ ซ่ึงมีนโยบายชัดเจนใหม้ ีการจัดการเรียนการสอนท่ีบ้านเป็น
หลักในรูปแบบ Home Based Learning (HBL) (Ministry of Education, Singapore, 2020)
ในขณะท่ีบางประเทศ เช่น ประเทศฟินแลนด์ ไม่ได้มีนโยบายให้ปิดสถานศึกษาแต่มีเพียงแนะนาให้
สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนทางไกล โดยพยายามกาหนดแนวปฏิบัติเพ่ือป้องกันการติดเชื้ออย่าง
รัดกุม (Finnish National Agency for Education, 2020) นอกจากน้ัน กระทรวงศึกษาธิการยังมี
นโยบายการจัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ท่ีเป็นหลักคิดสู่การปฏิบัติว่า
“การเรียนรู้นาการศึกษา โรงเรียนอาจหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้”และใช้การเรียนการสอน
ทางไกล โดยใชท้ รพั ยากรท่มี ีอยู่ให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2563) ซง่ึ
สถานศึกษาในสังกัดอื่น ๆ ที่จัดการศึกษาขึ้นพื้นฐานก็มีแนวทางที่สอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการ
เช่นกัน แนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบผสมผสานหลายรูปแบบในช่วงก่อนเปิดภาค

วจิ ัยข้อเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 129

เรียน ทั้งท่ีเป็นรูปแบบการสอนออนไลน์ การใช้โทรทัศน์ผ่านทาง DLTV จากผลการวิจัย พบว่า
สถานศึกษาของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ส่วนใหญ่ใช้รูปแบบ
ผสมผสานกับการเย่ียมบ้านและให้ใบงานได้บ้าง แต่ในสภาพที่เป็นจริงของสถานศึกษาในประเทศไทย
จะพบว่ามีสถานศึกษาขนาดเล็กและอยู่ในพื้นที่ห่างไกลจานวนมาก ท่ีไม่สามารถใช้การจัดการเรียน
การสอนผา่ นการใชเ้ ทคโนโลยีได้ หลายแห่ง มีปญั หาในเร่อื งเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ และหลายแหง่ ไมท่ ีวี
ท่ีสามารถรับสัญญาณจาก DLTV ได้ ผู้ปกครองและนักเรียนยังขาดทักษะในการใช้เทคโนโลยี ปัญหา
ดังกล่าวน้ีเป็นอุปสรรคสาคัญสาหรับการจัดการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งทาให้ครูส่วนใหญ่ใช้รูปแบบ
การเย่ียมบ้าน และนาใบงานไปให้นักเรียน และทาให้นักเรียนต้องเรียนรู้ที่บ้านด้วยตนเอง ทั้งนี้ ครูจะ
มีโอกาสไปพบนักเรียนได้เพียงสัปดาหล์ ะ 1 วัน สาหรับปัญหาการขาดเทคโนโลยีในการเรียนการสอน
ทั้งในส่วนของครูและนักเรียน รวมท้ังปัญหาผู้ปกครองและนักเรียนยงั ขาดทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีน้ี
สอดคล้องกับสภาพการณ์ของบางประเทศ เช่น ประเทศญ่ีปุ่น ก็พบว่า ครู ผู้เรียน รวมถึงประชากร
ของญี่ปุ่นยังมีทักษะการใช้เทคโนโลยีในระดับต่า โรงเรียนรัฐบาลของญ่ีปุ่นยังขาดความพร้อมในการ
จัดการด้านเทคโนโลยี เช่นกัน (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2563 : 28) ดังนั้น อุปสรรค
ทางด้านความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีของทั้งสถานศึกษา นักเรียนและผู้ปกครองอาจจะทาให้
นักเรียนเสียโอกาสในการเรียนรู้ได้ และเป็นภาระให้ผู้ปกครอง แต่อย่างไรก็ตามสาหรับประเทศไทย
สถานศึกษาขนาดเล็กหลายแห่งที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนทางไกล โดยใช้เทคโนโลยีทาง
ออนไลน์และออนแอร์ได้ จึงมีแนวทางท่ีหน่วยงานต้นสังกัด กาหนดสถานศึกษาจัดให้มีการเย่ียมบ้าน
ไปสอนและให้คาแนะนา นาใบงานไปให้นักเรียน ซึ่งเป็นรูปแบบท่ีครูและผู้บริหารออกเยี่ยมบ้านและ
พบผู้ปกครอง และในช่วงเวลาก่อนเปิดภาคเรียน จะเห็นภาพครูในพ้ืนที่ห่างไกลออกเยี่ยมบ้าน นาใบ
งานใหม่ไปให้ เก็บใบงานเดิมมาตรวจ สอนหนังสือ และพบปะผู้ปกครอง หรือสถานศึกษาบางแห่งใช้
วิธีนดั หมายที่ศาลาประชาคม ขอ้ ค้นพบจากงานวจิ ัย พบวา่ ทงั้ ผูป้ กครองและครสู ะทอ้ นวา่ เกดิ ผลดีต่อ
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครองและชุมชน เพราะได้มีโอกาสพบ แลกเปล่ียนเรียนรู้
และทาความเข้าใจกันมากขึ้น ขณะท่ีสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมือง
มีการใช้การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบออนไลน์ และออนแอร์ได้มากกว่า เน่ืองจากมีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
และมีความพร้อมในด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ มากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลการวิจัย ยังพบว่า
รฐั ไมไ่ ดใ้ ห้การสนับสนุนอย่างจริงจังในเร่ืองทรัพยากรท่ีจะสนบั สนนุ ในช่วงสถานการณ์วิกฤตนิ ้ี ดงั เสียง
สะท้อนจากผู้บริหารท่านหน่ึงว่า “ถ้าเป็นไปได้ ควรสนับสนุนงบประมาณ เช่น กล่องทีวีดิจิทัล ให้ทุก
บ้านมี ราคาถูกได้ไหม รัฐบาลอุดหนุนส่วนหน่ึง ให้ผู้ปกครองนักเรียนจ่ายส่วนหนึ่ง พบกันเกินครึ่งทาง
ช่วยลดปัญหาได้เยอะ ลดความเหลื่อมลา้ ดว้ ย” ดังน้ัน หากหน่วยงานต้นสังกัดให้การสนับสนุนในเร่ือง
ดังกล่าวอย่างจริงจังก็จะทาให้สอดคล้องกับนโยบายที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนดพื้นฐานการ
ดาเนินการไว้ 6 แนวทาง และแนวทางที่ 4 ระบุว่า “ตัดสินใจในนโยบายต่าง ๆ บนพื้นฐานของการ

วิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 130

สารวจความต้องการ ทั้งจากนักเรียน ครูและโรงเรียน โดยคานึงถึงการจัดการเรียนการสอนที่มี
ประสิทธิภาพสูงสุดเป็นที่ตั้ง และกระทรวงศึกษาธิการ จะสนับสนุนเคร่ืองมือและอุปกรณ์ตามความ
เหมาะสมของแต่ละพื้นท”่ี

2. ประเด็นการอภิปรายเก่ียวกับประเด็นการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และการวัด
ประเมินผลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จาก
ผลการวิจัย พบว่า หน่วยงานต้นสังกัดควรปรับหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่น ปรับโครงสร้างเวลาเรียน
ปรับลดเน้ือหาให้กระชับ จัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการ เช่ือมโยงการจัดการเรยี นรู้ ในสถานการณ์โควิด
กบั การจัดการเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะ กาหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ ใหม้ ี
ความยืดหยุ่นและสอดคลอ้ งกับวิธีการจัดการเรยี นร้ใู นสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเนน้ การประเมินตามสภาพจริง เนน้ การใช้ผลงาน และการประเมินผล
ระหวา่ งเรยี นเป็นสาคญั ซึ่งจากขอ้ มูลท่ีพบจากงานวิจยั ของ มาเรียม นลิ พนั ธุ์ และคณะ (2563) พบว่า
การเรียนรทู้ ่ีเปน็ ท่นี ิยมของสถานศึกษาในยุค COVID-19 คอื การเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ แตก่ ม็ ปี ัญหา
ในบางมิติ ในด้านของความเหล่ือมล้าดิจิทัล (digital divide) โดยเฉพาะอย่างย่ิงยังพบปัญหาในด้าน
ทักษะความรู้ของครูและผู้ปกครองในการช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึง Lichtenstein et al.,
1994) ได้ให้ความสาคัญกับการเตรียมการจัดการเรียนการสอนในระดับห้องเรียนท่ีจะรับมือกับ
สถานการณ์วิกฤติ คือ การท่ีครูสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและความไว้วางใจซึ่งกันและกันกับนักเรียน
การให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสมแก่นักเรียน การปรับหลักสูตรท่ีเน้นเนื้อหาท่ีจาเป็น การจัดการ
ความเครียด รวมไปถึงการส่งเสริมความปลอดภัยให้กับนักเรียน ทั้งความปลอดภัยภายในโรงเรียน
ภายนอกโรงเรียน และการให้ความรู้เกี่ยวกับสุขอนามัยท่ีดี รวมท้ังการส่งเสริมความไว้วางใจและการ
สนับสนุนจากชุมชน และผู้ปกครองเพื่อเตรียมพร้อมกับการรับมือในสถานการณ์วิกฤติ และจาก
การศึกษาการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์วิกฤติของสาธารณรัฐประชาชนจีน (United Nations
Educational, Scientific and Cultural Organization,2020) พบว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ให้
ความสาคัญกับการจัดการเรียนการสอนโดยการสื่อสารระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองในการให้
คาแนะนา แนวทางการจัดการเรียนการสอน และการสนับสนุนให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการ
เรียนรู้ โดยการผนวกการเล่นกับการให้ความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่บ้าน การกิจกรรมแสดง
ความคิดเห็นทางวิชาชีพ เช่น การสัมมนา เพ่ือจะได้นาความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ส่ือสารกับ
ผู้ปกครองในการจัดการเรียนรู้ให้กับบุตรหลานที่บ้าน รวมทั้งกิจกรรมการรวบรวมแนวความคิดและ
กรณีตัวอย่าง แนวคิดที่สามารถก่อให้เกิดการเรียนรู้แก่เด็กได้เป็นอย่างดีจากผู้ปกครอง (Best
Practices) เช่น การทดลองทางวิทยาศาสตร์ การสร้างสรรค์ การอ่าน และกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมี
ลักษณะเฉพาะ เพื่อนามาจัดพิมพ์เผยแพร่ให้ข้อมูลแก่ผู้ปกครองอื่น ๆ ในการดูแลการจัดการเรียน
การสอนที่บา้ นของนกั เรยี น ในขณะที่ การจัดการเรยี นการสอนในสถานการณว์ กิ ฤติของสถานศกึ ษา

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 131

ของมณฑล Manitoba ประเทศแคนาดาท่ีตอบสนองการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19
(People for Education, 2020) ได้ให้ความสาคัญกับการสนับสนุนการจัดคลินิกให้คาปรึกษา การ
จัดทาแผนการเรียนรู้เพื่อการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน และจัดให้มีการบริการทางด้านจิต
บาบัด รวมทัง้ สถานศึกษาของมณฑล Prince Edward Island ได้ให้ความสาคญั กบั การจดั หาท่ีปรึกษา
และนักจิตวิทยาของสถานศึกษาในการให้บริการให้คาปรึกษากับนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือใน
ด้านการจดั การเรียนการสอน ซ่ึงการจดั การศกึ ษาของต่างประเทศไดใ้ หแ้ นวคิดในการจัดการเรียนการ
สอนในสถานการณ์วิกฤติไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

3. ประเดน็ การอภปิ รายเกย่ี วกบั ข้อเสนอเชิงนโยบาย
3.1 จากข้อเสนอเชิงนโยบายของการวิจัยด้านการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา พบว่า หน่วยงาน
ต้นสังกัด ควรสนับสนุนจัดทาแผนและนโยบาย ด้านการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ท้ังในห้องและ
นอกห้องตามความต้องการของผู้ปกครองและนักเรียน สะท้อนให้เห็นว่า ในช่วงสถานการณ์วิกฤติโค
วดิ -19 การประกาศใช้นโยบายและการส่ือสารนโยบายเกีย่ วกบั การเรยี นการสอน และการสอื่ สารสร้าง
ความเขา้ ใจยังมีปัญหาในเชิงการปฏบิ ัติ ดงั ผลงานวจิ ยั ท่ีบง่ ชี้วา่ “นโยบายของรฐั บาลและหนว่ ยงานต้น
สังกัดไม่เหมาะสมกับบริบทกับทุกบริบท ทาให้การปฏิบัติตามนโยบายบางเรื่องไม่สามารถปฏิบัติได้
นโยบายไมช่ ดั เจน และในบางสังกัดมีความล่าช้า”
และผลการวจิ ัยบง่ บอกความต้องการว่า “รัฐ/หน่วยงานต้นสงั กดั ควรมีนโยบาย และมาตรการรองรบั
การจัดการศึกษาในสถานการณ์วิกฤติท่ีชัดเจน และประกาศนโยบายการจัดการเรียนรู้ให้ทันต่อ
สถานการณ์และควรส่ือสารนโยบายที่เร่งด่วนสู่ผู้ปฏิบัติและประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลให้รวดเร็ว
ด้วยวิธีการส่ือสารตามช่องทางต่าง ๆ ที่หลากหลาย รวมท้ังควรมีนโยบาย แผนและมาตรการรองรับ
การจัดการศึกษาในสถานการณ์วิกฤติท่ีชัดเจน โดยควรมีแผนในการจัดการเรียนรู้ในวิถีใหม่ (New
Normal Learning)” ซ่ึงมีความสอดคล้องผลการศึกษาของคณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา เร่ือง
“ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วน ว่าด้วยการบรหิ ารการศึกษาในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคไรนา 2019 (COVID-19) ท่ีเหมาะสมกับสังคมไทย ซึ่งได้เสนอมาตรการเร่งด่วนให้
กระทรวงศึกษาธิการ “ ควรกาหนดนโยบายการจัดการศึกษาภายหลังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19) ให้มีความชัดเจน ให้อิสระแก่สถานศึกษาในการพิจารณาดาเนินการ
โดยกระทรวงศึกษาธิการควรปรับบทบาทเป็นหน่วยงานกลางท่ีทาหน้าที่ให้คาแนะนาและสนับสนุน
การดาเนินงานหน่วยงานระดับพ้ืนท่ีและสถานศึกษา” (สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2563) และ
สอดคล้องกับผลการศึกษาติดตามสภาพและความเคลื่อนไหว รวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในสถานการณ์วิกฤติโควิด-19 ของสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา โดยมี
ข้อเสนอแนะทสี่ าคัญคือ 1) หน่วยงานระดับนโยบายจนถงึ ระดบั ปฏิบัติควรมีแผนสารองและมาตรการ

วจิ ัยขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 132

จัดการเรียนการสอนเพื่อรองรับการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในรอบ 2
หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 2) นโยบายควรมีหลากหลายและตอบโจทย์ความ
ต้องการในแต่ละบริบทพ้ืนที่ และควรมีการส่ือสารนโยบายอย่างชัดเจนในแง่ของการดาเนินการ การ
ปฏิบัติและบทบาทของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง 3) กระทรวงศึกษาธิการควรปรับเปล่ียนบทบาทเป็น
ผู้สนับสนุน โดยผลักดันให้หน่วยงานในระดับพื้นที่เป็นผู้ดาเนินการหลัก และอานวยความสะดวกให้
ผเู้ รียนสามารถเขา้ ถงึ การเรยี นการสอน (สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2563)

3.2 จากขอ้ เสนอเชงิ นโยบายของการวิจยั ด้านการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พบว่า ควรมีการพัฒนา
ระบบและกลไกสง่ เสริมสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ของสถานศึกษาในสถานการณว์ กิ ฤติ สะทอ้ นใหเ้ ห็น
ว่า ในช่วงสถานการณ์วกิ ฤติโควิด-19 การจดั การศึกษาของสถานศึกษายังมจี ดุ อ่อนและมีปัญหาในการ
ดาเนินงานเพราะยังขาดระบบและกลไกส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ
ดังผลการวิจัยครั้งนี้ที่บ่งชี้ว่า “คุณภาพการจัดการเรียนรู้ในช่วงสถานการณ์โควิดลดลง ซึ่งเป็นผลจาก
ความไม่พร้อมของโรงเรียน ขาดแคลนสื่อ อุปกรณ์ ฯลฯ และจากผลการวิจัยคร้ังน้ีได้บ่งบอกถึงความ
ต้องการว่า “รัฐบาลควรให้ความสาคัญและติดตั้งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมท่ัวถึง ควรจัดทีวี
เพื่อการศึกษาเป็นทวี ฟี รี จดั การ Free WiFi หนว่ ยงานต้นสังกดั ในระดับพน้ื ท่ีควรมกี ารจัดตง้ั หน่วยงาน
กลางหรือศูนย์ประสานงานสถานการณ์ในวิกฤติเพื่อสื่อสาร ประสานงานกับสถานศึกษาอย่างรวดเร็ว
และรัฐ/หน่วยงานต้นสังกัดควรสนับสนุนงบประมาณ และสื่อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้
ในสถานการณ์วิกฤติ” ซ่งึ มคี วามสอดคล้องผลการศึกษาของคณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒสิ ภา เร่อื ง
“ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วน ว่าด้วยการบรหิ ารการศึกษาในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัสโคไรนา 2019 (COVID-19) ที่เหมาะสมกับสังคมไทย โดยเสนอให้กระทรวงศึกษาธิการ
“ควรติดต้ังและเพ่ิมศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตประชารัฐให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีต่าง ๆ มากข้ึน เพราะบาง
ครอบครัวไม่มีความสามารถในการจ่ายค่าอินเทอร์เน็ตให้แก่ผู้เรียนได้ จะสามารถใช้บริการของ
ศูนย์บริการฯ ดังกล่าว และติดตามข่าวสารและเข้าถึงส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ได้” (สานักงาน
เลขาธกิ ารวุฒสิ ภา, 2563) ซึง่ จากผลการวิจัยดังกลา่ วสะท้อนอย่างชัดเจนว่า เป็นสภาพปัญหาของการ
ขาดระบบและกลไกในการส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ท่มี ีประสิทธภิ าพ และบ่งชีถ้ งึ ความสาคัญ
ของการมีระบบและกลไกส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสถานการณ์วิกฤติ
ซึ่งในประเด็นดังกลา่ ว หากได้มีการสนบั สนุนส่งเสรมิ จะสามารถชว่ ยลดปัญหาความเหลื่อมล้าของกลุ่ม
เด็กท่ีด้อยโอกาสทางการศึกษาได้ เพราะจะทาให้กลุ่มเหล่านี้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาทัดเทียมกับเด็ก
ทั่วไป โดยผลจากการศึกษาของ UNICEF (2563) พบว่า ผลกระทบของโควิด-19 เด็ก 8 ใน 10 คน มี
ความวิตกกังวลเก่ียวกับปัญหาการเงิน การพัฒนาระบบกลไกสนับสนุนในการจัดการเรียนรู้ก็จะช่วย
เพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ดังน้ันเพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี

วจิ ยั ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณุโลก เขต 1 133

ประสิทธิภาพในสถานการณ์วิกฤติที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต จึงได้มีข้อเสนอเชิงนโยบาย “การพัฒนา
ระบบและกลไก ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสถานการณ์วิกฤติ”เพ่ือให้
หนว่ ยงานท่มี ีอานาจในการตัดสนิ ใจ/หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องได้พิจารณาศึกษา วางแผนพัฒนาระบบและ
กลไกสง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการเรยี นรขู้ องสถานศึกษาในสถานการณว์ ิกฤติ

ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้
1.กระทรวงศึกษาธิการ/หน่วยงานต้นสังกัด ควรใช้สารสนเทศจากผลการวิจัยครั้งน้ี

ประกอบการตดั สินใจในการวางแผนดาเนนิ การในส่วนทเ่ี กย่ี วข้องกบั บทบาท และอานาจหน้าท่ี
ของหน่วยงาน โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์จากข้อเสนอเชิงนโยบาย เพ่ือให้การจัดการเรียนรูอ้ ย่างเปน็
ระบบ มีความชัดเจน ทันต่อสถานการณ์วิกฤติ สามารถปรับดาเนินการได้ตามบริบทของสถานศึกษา
และควรสื่อสารนโยบายและแนวทางการปฏิบัตทิ ช่ี ัดเจนด้วยวธิ กี ารและช่องทางที่หลากหลาย

2. รฐั /กระทรวงศกึ ษาธิการ/หนว่ ยงานต้นสังกดั ควรใช้ประโยชน์จากผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอ
เชิงนโยบายนี้ เพื่อประกอบการตัดสินใจวางแผนดาเนินการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์
วิกฤติ อาทิ 1) ควรพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการจัดการเรียนการ
สอนในสถานการณ์วิกฤติ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ให้ครอบคลุมพ้ืนที่สถานศึกษาทุก
แห่งอย่างท่ัวถึงและไม่เสียค่าใช้จ่าย 2) ควรจัดสรรอุปกรณ์ และ/หรือคล่ืนความถี่เพื่อให้สถานศึกษา
สามารถใช้ทีวีเพื่อการศึกษาได้ 3) ควรสนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์ส่ือ อุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการ
เรยี นการสอน เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือการจดั การเรยี นการสอนของสถานศึกษา

3. หน่วยงานต้นสังกัด/หน่วยงานระดับพื้นที่ ควรใช้ประโยชน์จากผลการวิจัยและข้อเสนอเชิง
นโยบาย อาทิ 1) ควรจัดสรรงบประมาณและสนับสนุนทรัพยากรการจัดการเรียนรู้ให้เพียงพอ
เหมาะสมกับบริบทความต้องการจาเป็นของสถานศึกษา 2) ควรคานวณคา่ ใช้จ่ายรายหัวของนักเรียน
ซ่ึงจาเป็นต้องมีการเรียนรู้โดยการใช้ออนไลน์ ออนแอร์ เพ่ือจะสามารถจัดสรรงบประมาณให้
สอดคล้องกับความต้องการแท้จริง 3) ควรส่งเสริมสนับสนุน และร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนา
หลักสูตรเพ่ือรองรับสถานการณ์วิกฤติให้ครอบคลุมกลุ่มที่มีความต้องการเป็นพิเศษ และ4) ควรมี
นโยบายเสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการศึกษาในสถานการณ์วิกฤติได้
ตามบรบิ ทของตนเอง

4. หนว่ ยงานตน้ สังกดั /หนว่ ยงานในระดับพื้นที่/สถานศกึ ษา ควรใชป้ ระโยชนจ์ ากผลการวจิ ยั
และข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อประกอบการตัดสินใจวางแผนดาเนินการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ใน
สถานการณ์วิกฤติ อาทิ 1) ควรปรับการจัดการเรียนการสอนเป็นฐานสมรรถนะท่ีมีความยืดหยุ่น
ปรับโครงสร้างเวลาเรียน สามารถบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับสถานการณ์วิกฤติ

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 134

2) ควรส่งเสริมสนับสนุนการรวบรวมส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเป็นศูนย์สื่อ นวัตกรรมการเรียน
การสอน 3) ควรมีมาตรการส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานระดับพ้ืนที่และสถานศึกษาร่วมกัน
ในการจัดการเรียนรู้ทางไกล (Distance Education) ควบคู่กับการจัดการเรียนในชั้นเรียน
และ 4) ควรกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ให้มีความหยืดหยุ่นและ
สอดคล้องกับวิธีการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณ์วกิ ฤติ และร่วมกันสร้างเครื่องมือวัดและประเมนิ ผลที่
มีความหลากหลาย เหมาะสม

ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาวิจยั ในครง้ั ตอ่ ไป
1. หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานระดับพื้นท่ี หรือสถานศึกษา ควรมีการวิจัยติดตามผลการ
จัดการเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษาในถานการณโ์ ควิด-19 อยา่ งตอ่ เน่ือง เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู สารนเทศประกอบ
การตดั สินใจส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
2. หนว่ ยงานตน้ สังกดั หน่วยงานระดบั พื้นที่ ควรศึกษาวจิ ยั เพอื่ พฒั นารูปแบบเครอื ขา่ ย
ความรว่ มมือในการจดั การเรยี นร้ใู นสถานการณ์วกิ ฤติ
3. หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานระดับพ้ืนท่ี สถานศึกษา ควรมีการศึกษาวิจัยถอดบทเรียน
การจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสถานการณ์โควิด-19 เพ่ือพัฒนาเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้
ในสถานการณ์วกิ ฤติท่อี าจเกิดข้นึ ในอนาคต

บรรณานุกรม

กวนิ เกียรติ นนท์พละ. (2563). รายงานการพจิ ารณาการศกึ ษา เรื่อง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
เร่งดว่ น ว่าด้วยการบรหิ ารจัดการศึกษาในชว่ งสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอื้
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ท่เี หมาะสมกบั สังคมไทย. กรงุ เทพมหานคร :
สานกั กรรมาธิการ.

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2563). การเตรียมความพร้อมของกระทรวงศกึ ษาธิการกอ่ นเปิดภาคเรยี น.
[ออนไลน์]. สบื คน้ จาก https://moe360.blog/2020/05/08/, [2564, กนั ยายน 3].

กาญจนา คณุ ารกั ษ์. (2559). พืน้ ฐานการพฒั นาหลกั สูตร. นครปฐม : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2563). การวจิ ยั เชิงนโยบายแบบมสี ่วนรว่ ม Participatory Policy

Research. เอกสารการบรรยาย หลักสตู รศกึ ษาศาสตรดุษฎบี ัณฑิตสาขาวชิ าการบริหาร
การศึกษามหาวิทยาลัยมหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย.
โชษิตา ศิรมิ ัน่ . (2563). การจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning. (พมิ พ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพมหานคร :
ทริปเฟลิ้ เอ็ดดูเคช่นั .
ทิศนา แขมมณ.ี (2560). สมรรถนะของครไู ทยในศตวรรษที่ 21 : ปรับการเปล่ียนสมรรถนะ.
วารสารสถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์
ทบั ทิมทอง กอบวั แกว้ . (2563). รูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้วยกระบวนการจัดการความรู้
ของนกั ศกึ ษาวชิ าชีพครู. มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา. วารสารครศุ าสตร์.
ภูมศิ รัณย์ ทองเล่ยี มนาค. (2563). ‘โรคใหม่’ สร้าง ‘โลกแหง่ การเรยี นรู้ใหม่’: อนาคตการศึกษาไทย
ยุคหลงั COVID-19. [ออนไลน์]. สบื ค้นจาก : https://www.the101.world/future-of-thai-
education-after- covid19 , [2564, กันยายน 2].
วนั เพญ็ พุทธานนท์. (2563). New Normal การศกึ ษาไทยกบั 4 รูปแบบใหมก่ ารเรยี นร.ู้ [ออนไลน์].
สืบคน้ จาก : http://journalrec.mbu.ac.th/images/pdf/journal4-2/29p320-325.go.th
[2564, กนั ยายน 1].
พร้มิ เพรา วราพันธพ์ ิพิธ. (2559). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อความเปน็ เลิศของสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
สังกดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ . วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ . สาขาวิชาบริหาร
การศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ , ขอนแก่น.
วิชยั ประสทิ ธว์ ุฒเิ วชช์. (2552). การพัฒนาหลักสตู รสานตอ่ ทีท่ ้องถ่ิน. กรุงเทพมหานคร:
เลฟิ แอนด์ลิพเพรส.
ประกาศิต อานภุ าพแสนยากร. (2562). การจัดการเรียนรู้. มหาวิทยาลัยราชภัฏ
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม.

วจิ ยั ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 135

ประภาพรรณ เอี่ยมสภุ าษติ . (2560). แนวคิดและรปู แบบเก่ียวกับการสอน ในเอกสารการสอน
ชุดวชิ าวทิ ยาการการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 2. นนทบุรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.

ประเสริฐ บุญเรอื ง. (2563). แนวทางการบรหิ ารการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019. [ออนไลน]์ . สบื ค้นจาก : http://www.spm7.go.th,
[2564, กนั ยายน 2].

ปยิ ะวรรณ ปานโต. (2564). พลกิ วกิ ฤตเปน็ โอกาส “โคช้ หนา้ งาน”ครูพัฒนาการศกึ ษาไทย.
กรงุ เทพมหานคร : TDRI.

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์. (2562). คมู่ อื การจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ.
ปทุมธาน:ี ศูนย์เรยี นร้กู ารผลิตและจัดการธุรกจิ สิง่ พมิ พด์ จิ ิตอล.

มาเรียม นลิ พนั ธุ์ และคณะ. (2563). การพัฒนารปู แบบผสมผสานในยุค New Normal เพื่อส่งเสรมิ
สมรรถนะการออกแบบการจัดการเรียนรตู้ ามแนวคิดการเรียนรูเ้ ชิงรกุ ของนกั ศึกษาครู.
[ออนไลน]์ . สบื ค้นจาก : http://www.spm7.go.th, [2564, กันยายน 2].

วิโรจน์ สารรตั นะ. (2560). การวิจยั เชงิ นโยบายแบบมีส่วนร่วม Participatory Policy Research.
เอกสารการบรรยาย หลักสตู รศึกษาศาสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย.

ศิตา ประสานสุข. (2563). ผลกระทบของ COVID-19 ต่อระบบการศกึ ษาของโลกและประเทศ
ไทยในมมุ มองทางเศรษฐศาสตร์. [ออนไลน]์ . สบื ค้นจาก
https://thaipublica.org/2020/04/19-economists- with-covid-19-15,
[2564, กนั ยายน 3].

สวุ ทิ ย์ มูลคา. (2559). การศึกษาและความเป็นครไู ทย. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์
สวุ มิ ล มธรุ ส. (2563). แนวคดิ ทฤษฎีและรปู แบบการบริหารการเปล่ยี นแปลงในสถานศึกษา

ขั้นพ้นื ฐาน. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชากระบวนการเปลีย่ นแปลงและนวตั กรรม
ในองค์การทางการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร : คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
เสาวณี จันทะพงษ์ และทศพล ตอ้ งหุ้ย. (2020). แนวทางการบริหารการจัดการศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019. [ออนไลน]์ . สืบค้นจาก :
http://www.spm7.go.th. [2564, กนั ยายน 3].
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2563). รูปแบบการจดั การเรียนรู้สาหรับนกั เรยี น ระดบั การศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานทไี่ ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์ COVID – 19. กรุงเทพมหานคร:
สานักมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรียนรู.้

วิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 136

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน. (2563). นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ข้นั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2563. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก :
http://www.mathayom9.go.th. [2564, กันยายน 1].

วทิ ยา วาโย. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของไวรสั
COVID-19 : แนวคิดและการประยกุ ต์ใชจ้ ัดการเรียนการสอน. วารสารศนู ยอ์ นามยั ท่ี 9 :
วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสงิ่ แวดลอ้ ม

องค์การทนุ เพือ่ เดก็ แหง่ สหประชาชาติ. (2563). ความพรอ้ มในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ภายใตส้ ถานการณ์ระบาดไวรัส Covid-19. วารสารศาสตรก์ ารศึกษาและการพัฒนามนุษย์.

อัมพร พนิ ะสา. (2563). รายงานเรยี นออนไลน์ยคุ โควิด-19: วิกฤติหรอื โอกาสการศกึ ษาไทย.
กรงุ เทพมหานคร: สานกั มาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นร.ู้

อานาจ ชนะวงศ์. (2562). ความพรอ้ มในการเรยี นร้อู อนไลนข์ องนักศึกษาระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร ทา่ มกลางการระบาดของไวรสั โควดิ -19. วารสารวชิ าการ
มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพธนบุรี

Calder & McCollum. (2016). Research Methodology in Social Sciences. 3rd ed. Bangkok:
House of Kermits.

Di Pietro, G., Biagi, F., Costa P., Karpinski, Z., and Mazza, J. (2020). The likely impact of
COVID-19 on education: Reflections based on the existing literature and
Recent international datasets. A Technical report by the Joint Research Centre
(JRC).

Finnish National Agency for Education. (2020). Principles of preventive psychiatry.
New York: Basic Books.

Hall, M. R. (2012). Corporate philanthropy and corporate community relations:
Measuring relationship-building results. Journal of Public Relations Research.

Hough,J.B. and Duncan, C.F. (2012). School leadership during a pandemic: Navigating
tensions. Journal of Professional Capital and Community.

Ministry of Education, Singapore. (2020). School and institutes of higher learning to
shift to full home-based learning; preschools and student care centre to
suspend general services. Retrieved from
https://planipolis.iiep.unesco.org/en/2020/schools-and-institutes-higher-
learningshift-full-home-based-learning-preschools-and-student

วิจัยข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 137

Morrison, P & Khan, C (2017). Dealing with traumatic incidents in the workplace.
Coolum Beach, Queensland: Gull Publishing.

Ritchie, D. & Hoffman, H.A. (2017). Teaching description and analysis. Addison-Westlu.
Taylor,W. (2014). International crisis as a situational variable. in Rosenau, J.N. (Ed.),

International Politics and Foreign Policy: A Reader in Research and Theory,
New York: Free Press.
United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (2020). China ECE
policy response to COVID-19. Retrieved from
https://planipolis.iiep.unesco.org/en/2020/china-ece-policy-response-covid-19-
6865.
Williamson, E. G. (1950). A concept of counseling. Occupations, 29, 182-189
Worathan, T.R. (2015). Crisis management in international business: Keys to effective
decision making. Leadership & Organization Development Journal.

ภาคผนวก

วจิ ยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พษิ ณโุ ลก เขต 1 139

ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรมการดาเนินงานของโรงเรียนทโี่ ดดเด่น

โรงเรยี นอนบุ าลพิษณโุ ลก

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 140

วจิ ัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์ COVID-19 สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 141


Click to View FlipBook Version