The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติหน้าที่รักษาความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยสถานที่ การรักษาความปลอดภัย บุคคล การรักษาความปลอดภัยเอกสาร ระเบียบปฏิบัติและขั้นตอนเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยสถานที่ บุคคล และเอกสาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Book23 การรักษาความปลอดภัย

คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติหน้าที่รักษาความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยสถานที่ การรักษาความปลอดภัย บุคคล การรักษาความปลอดภัยเอกสาร ระเบียบปฏิบัติและขั้นตอนเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยสถานที่ บุคคล และเอกสาร

วชิ า ปป. (CP) ๒๑๔๐๓

การรักษาความปลอดภยั

ตาํ ÃÒàÃÂÕ ¹

ËÅÑ¡ÊÙμà ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊÔºตําÃǨ

ÇÔªÒ »».(CP)òñôðó ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

เอกสารน้ี “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมใิ หผหู นง่ึ ผูใ ดเผยแพร คดั ลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนท่ีไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÑÞªÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨá˧‹ ªÒμÔ
¾.È.òõöñ



คํานาํ

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพ่ือเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ท่ีเขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตํารวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สาํ นึกในการใหบ รกิ ารเพ่อื บาํ บดั ทุกขบาํ รงุ สขุ ของประชาชนเปนสําคัญ

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝก อบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบญั ชาการศกึ ษา ศนู ยฝ ก อบรมตาํ รวจภธู รภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตําราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซง่ึ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจี่ าํ เปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพ่ี งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส าํ หรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยา งแทจ รงิ และมีความพรอ มในการเขา สูประชาคมอาเซียน

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ท่ีไดรวมกันระดมความคิด
ใหคําปรึกษา คําแนะนํา ประสบการณท่ีเปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทําใหการจัดทําตําราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางยิ่งวาตําราเรียนชุดนี้คงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเ ปนคมู อื การปฏบิ ัตงิ าน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทําใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อม่ันศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอยา งแทจรงิ

พลตํารวจโท ( รอย อิงคไพโรจน )
ผูบ ญั ชาการศึกษา



ÊÒúÞÑ Ë¹ÒŒ

ÇªÔ Ò ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ñ

º··èÕ ñ ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ๑
- วตั ถปุ ระสงค ๑
- บทนํา ๒
- การบริหารจัดการดานการรักษาความปลอดภยั ๒
- การจดั ทาํ แผนการรกั ษาความปลอดภยั ๓
- หนวยงานท่เี ปนองคก ารรกั ษาความปลอดภยั
- มาตรฐานการรกั ษาความปลอดภัย õ

º··Õè ò ¤³Ø ÊÁºμÑ Ô¢Í§¼ÙŒ»¯ºÔ μÑ Ô˹ŒÒ·Õè¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ
- วตั ถุประสงค ๗
- การจดั และโครงสรา งชุดปฏิบัติการรักษาความปลอดภยั
(Organization of Protective Detail) ññ
๑๑
º··Õè ó ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂʶҹ·Õè ๑๔
- วัตถุประสงค ๑๕
- มาตรการการรักษาความปลอดภัยสถานท่สี าํ คัญ ๑๙
- ขัน้ ตอนการรักษาความปลอดภยั สถานที่
- การตรวจสอบการสํารวจลวงหนา และการตรวจคนเสร็จสิ้น òó
๒๓
º··èÕ ô ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺ¤Ø ¤Å ๒๓
- วตั ถปุ ระสงค ๒๓
- ประเภทบุคคลสาํ คญั ๒๖
- สาเหตขุ องการประทุษราย (Causes of Assassination)
- การสํารวจลวงหนา และการตรวจจับ

- กรรมวิธีดําเนินการของผูประทษุ ราย ˹Ҍ
- ขน้ั ตอนการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคญั ตามสถานที่ตา ง ๆ
- ยุทธวิธกี ารรักษาความปลอดภยั บคุ คลสําคัญ ๓๕
๓๗
º··èÕ õ ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ àÍ¡ÊÒà ๔๔
- ความมุงหมาย
- ระเบยี บวาดว ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๔ ø÷
๘๗
ÀÒ¤¼¹Ç¡ ๘๗
- พระราชบัญญัตขิ อ มูลขา วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
- ระเบียบวา ดวยการรักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ๑๐๑
- ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดว ยการรักษาความปลอดภยั แหง ชาติ ๑๑๕
พ.ศ. ๒๕๕๒
๑๒๘

ÇÔªÒ »».(CP) òñôðó
¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ

¤³Ð¼Œ¨Ù Ñ´ทาํ

ñ. ¾Å.μ.·.ÃÍ ÍÔ§¤ä¾â蹏 ¼ºª.È. ·»Õè Ã¡Ö ÉÒ
ò. ¾Å.μ.μ.ÈáÄɳ á¡ÇŒ ¼Å¡Ö Ãͧ ¼ºª.È. ·èÕ»Ã¡Ö ÉÒ
ó. ¾.μ.·.ªÅÒ¾¹Ñ ¸Ø ·Í§á¼‹¹ ÍÒ¨ÒÏ (ʺ ó)ȽÃ.À.ô
ô. ¾.μ.·.¡Ôμμ¾Ô §È ä¾àÁÍ× § Ãͧ ¼¡¡.ÊÊ.ÊÀ.äÁŒàÃÕ§
¨Ç.¹¤ÃÈÃ¸Õ ÃÃÁÃÒª
õ. Ã.μ.·.¸¹Ç²Ñ ¹ ¾ÃÁ¢Ñ¹μÕ ÍÒ¨ÒÏ (ʺ ñ) ȽÃ.À.ñ
ó. ¾.μ.·.ªÅÒ¾¹Ñ ¸Ø ·Í§á¼¹‹ ÍÒ¨ÒÏ (ʺ ó) ȽÃ.À.ô
ô. ¾.μ.·.¡Ôμμ¾Ô §È ä¾àÁ×ͧ Ãͧ ¼¡¡.ÊÊ.ÊÀ.äÁŒàÃÕ§
ÍÒ¨ÒÏ (ʺ ó) ¡Í¨.ȽÃ.À.ø
õ. Ã.μ.Í.¸¹ÇѲ¹ ¾ÃÁ¢Ñ¹μÕ ÍÒ¨ÒÏ (ʺ ñ) ¡Í¨.ȽÃ.À.ñ





º··èÕ ñ

¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤

เพอื่ กาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การรกั ษาความปลอดภยั หนว ยงานของรฐั ใหเ ปน ไป
ในแนวทางเดียวกนั ดงั นี้

๑. มีความรูความเขาใจในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยและความจําเปนท่ีตองจัดทํา
ระบบการรกั ษาความปลอดภยั

๒. ดําเนินการและปฏิบัติตามคําแนะนําของมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย
ท่ีกาํ หนดไว

๓. ควบคุม กํากับ และดูแลระบบการรักษาความปลอดภัย ตลอดจนทบทวนปรับปรุง
ใหเหมาะสมกบั สถานการณและสงิ่ แวดลอมใหมปี ระสทิ ธภิ าพอยูเ สมอ

º·นาํ

ประเทศไทยตอ งเผชญิ กบั ความเปลย่ี นแปลงจากภยั คกุ คามหลายรปู แบบ ทง้ั ภยั ธรรมชาติ
ภยั ทีเ่ กิดจากการกระทาํ ของมนษุ ยโ ดยทางตรงและทางออม ซง่ึ สรา งความเสยี หายตอชวี ิต ทรพั ยสนิ
ของประชาชน หนวยงานของรัฐ และสงผลกระทบตอการปฏิบัติหนาท่ีราชการ รวมทั้งทรัพยสิน
ของทางราชการ แมห นว ยงานของรฐั หลายแหง ไดก าํ หนดกลยทุ ธใ นการปอ งกนั แลว แตป ญ หาดงั กลา ว
ยงั ไมหมดไป ซึ่งอาจเกิดขนึ้ ใหมไดอ ีกโดยมเี หตปุ จ จัยสถานการณแวดลอ มแตกตา งกนั ไป

เพื่อใหการดําเนินการรักษาความปลอดภัยอยางเปนระบบและไดมาตรฐาน นับเปน
กลยุทธท่ีสําคัญอยางยิ่งท่ีจะชวยปองกันภัยคุกคามและบรรเทาความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนไดอยางมี
ประสิทธิผล เพื่อเปนการตอบสนองตอหลักการรักษาความปลอดภัย สํานักขาวกรองแหงชาติ
สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ในฐานะองคก ารรกั ษาความปลอดภยั ฝา ยพลเรอื น จงึ กาํ หนดมาตรฐานการรกั ษา
ความปลอดภยั ขน้ึ เพอ่ื ใหห นว ยงานของรฐั ฝา ยพลเรอื น นาํ ไปเปน แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการวางมาตรการ
การรกั ษาความปลอดภยั ข้นั พ้ืนฐานในหนวยงานของรฐั ตอ ไป

¡ÒúÃÔËÒè´Ñ ¡ÒôŒÒ¹¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

๑. หวั หนา หนว ยงานของรฐั มหี นา ทรี่ บั ผดิ ชอบและจดั ใหม รี ะบบการรกั ษาความปลอดภยั
ในหนว ยงานของตน

๒. หวั หนา หนว ยงานของรฐั อาจมอบอาํ นาจหนา ทใ่ี หแ กผ ใู ตบ งั คบั บญั ชาใหป ฏบิ ตั หิ นา ที่
เจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัย เพ่ือทําหนาที่ดําเนินการควบคุม กํากับ ดูแล ตลอดจน



ใหค าํ ปรกึ ษาเกย่ี วกบั การรกั ษาความปลอดภยั ดา นบคุ คล ขอ มลู ขา วสารลบั และสถานทขี่ องหนว ยงานนน้ั ๆ
โดยมีคาํ สัง่ แตง ตั้งเปนลายลกั ษณอกั ษรและรับรองความไววางใจใหเ ขา ถึงช้ันความลบั

๓. หนว ยงานของรฐั มหี นา ทรี่ บั ผดิ ชอบจดั การอบรมเจา หนา ทข่ี องหนว ยงานใหท ราบถงึ
ความจําเปนและมาตรการของการรักษาความปลอดภัย รวมทั้งจัดใหมีการอบรมและทบทวน
เพ่ิมเตมิ อยูเสมอตามหวงระยะเวลาทเ่ี หมาะสม

๔. กรณีหนวยงานของรัฐมอบหมายหรือทําสัญญาจางใหภาคเอกชนดําเนินการ
อยางหนึ่งอยางใดซ่ึงเก่ียวกับการรักษาความปลอดภัย ใหภาคเอกชนนั้นถือปฏิบัติตามมาตรฐาน
การรกั ษาความปลอดภัยนีด้ ว ย

¡Òè´Ñ ทําá¼¹¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

หนวยงานของรัฐตองจัดทําแผนการปฏิบัติดานการรักษาความปลอดภัยทั้งในเวลาปกติ
และเวลาฉุกเฉิน เพ่ือพิทักษรักษาและคุมครองปองกันสิ่งท่ีเปนความลับของทางราชการ เจาหนาที่
ของรัฐ หนวยงานของรัฐ และทรัพยสินมีคาของแผนดินใหพนจากการโจรกรรม การบอนทําลาย
การจารกรรม และการกอวินาศกรรม หรือการกระทําอื่นใดที่มีผลกระทบตอความมั่นคงและ
ผลประโยชนแหงรัฐ แผนการรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพจําเปนตองดําเนินการเกี่ยวกับ
การรักษาความปลอดภัยดานบุคคล ขอมูลขาวสารลับ และสถานท่ีใหสอดคลองกับความสําคัญ
ของหนวยงานและสภาพแวดลอมของแตละสวนราชการ โดยตองมีการปรับปรุงทบทวนแกไข
ใหเ หมาะสมอยเู สมอและสอดคลอ งกบั มตคิ ณะกรรมการนโยบายรกั ษาความปลอดภยั แหง ชาติ (กรช.)
เมอ่ื ๑ กนั ยายน ๒๕๕๓ ใหห นว ยงานของรฐั เครง ครดั ในการตรวจสอบและจดั ระเบยี บการควบคมุ การ
รกั ษาความปลอดภยั ใหเ ปน ไปตามระเบยี บการรกั ษาความปลอดภยั ทกี่ าํ หนด แลว สง ใหอ งคก ารรกั ษา
ความปลอดภยั

˹‹Ç§ҹ·èÕ໚¹Í§¤¡ ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

๑. สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เปนองคการรักษาความปลอดภัย
ฝายพลเรอื น

๒. ศนู ยร กั ษาความปลอดภยั กองบญั ชาการกองทพั ไทย กระทรวงกลาโหม เปน องคก าร
รักษาความปลอดภัยฝายทหาร

๓. กองบัญชาการตํารวจสันติบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ เปนองคการรักษา
ความปลอดภัยฝายตํารวจ



สาํ ¹Ñ¡¢Ò‹ Ç¡Ãͧá˧‹ ªÒμÔ
ในฐานะองคการรักษาความปลอดภัยฝายพลเรือน ไดจัดทํามาตรฐานการรักษา
ความปลอดภัยสําหรับหนวยงานของรัฐในสังกัดฝายพลเรือน เพ่ือเปนบรรทัดฐานในการกําหนด
มาตรการการรักษาความปลอดภัยใหเหมาะสม สอดคลองกับสภาพแวดลอม ภารกิจหนาที่
ความสําคัญ และความจําเปน ของแตล ะหนว ยงาน

ÁÒμðҹ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

หมายถงึ ระดบั ทค่ี วรจะเปน ของมาตรการตา งๆ ทกี่ าํ หนดขนึ้ เพอ่ื ใหห นว ยงานของรฐั นาํ ไป
เปนแนวทางปฏิบัติ เพ่ือพิทักษรักษาบุคคล ขอมูลขาวสารลับ และสถานที่ ใหพนจากการโจรกรรม
การจารกรรม การบอนทําลาย การกอวินาศกรรม และการกอการราย รวมถึงการลดความเสียหาย
ทีอ่ าจจะเกิดขน้ึ จากการละเมิดการรักษาความปลอดภยั

ÁÒμðҹ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ กํา˹´á¹Ç·Ò§»¯ºÔ ÑμäÔ ÇŒ õ ´ŒÒ¹ ¤×Í
๑. มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล หมายถึง มาตรการท่ีกําหนดข้ึน
เมื่อหนวยงานนําไปเปนแนวปฏิบัติสามารถสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและเชื่อแนวา
เปนบคุ คลทีไ่ มเปนภยั ตอ ความม่ันคงเขา มาปฏบิ ัตหิ นา ทใ่ี นหนว ยงาน
๒. มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับ หมายถึง มาตรการ
ท่ีกําหนดขึ้นเมื่อหนวยงานนําไปเปนแนวปฏิบัติจะทําใหคุมครองขอมูลขาวสารลับไมใหสูญหาย
ถกู ทําลาย เปล่ียนแปลง หรอื รว่ั ไหลไปสบู ุคคลทีไ่ มเ กีย่ วขอ งได
๓. มาตรฐานการรักษาความปลอดภยั เกย่ี วกับสถานที่ หมายถึง มาตรการท่ีกาํ หนดขึ้น
เม่ือหนวยงานนําไปเปนแนวปฏิบัติจะทําใหพิทักษรักษาอาคาร สถานท่ี วัสดุอุปกรณ ตลอดจน
เจา หนา ทแ่ี ละขอมูลขา วใหรอดพนจากภัยอนั ตราย
๔. มาตรฐานการรกั ษาความปลอดภยั เกย่ี วกบั ขอ มลู ขา วสารลบั ทางระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
หมายถึง มาตรการท่ีกําหนดขึ้นเมื่อหนวยงานนําไปปฏิบัติจะคุมครองขอมูลขาวสารลับท่ีอยูในระบบ
อิเลก็ ทรอนกิ ส ใหพน จากการสญู หาย ถูกทําลาย เปลยี่ นแปลง หรอื รัว่ ไหลได
๕. มาตรฐานการรกั ษาความปลอดภยั ในการประชมุ ลบั หมายถงึ มาตรการทก่ี าํ หนดขนึ้
หนว ยงานนาํ ไปปฏบิ ตั จิ ะพทิ กั ษร กั ษาสง่ิ ทเ่ี ปน ความลบั ในการประชมุ ไมใ หร วั่ ไหล รวมถงึ คมุ ครองบคุ คล





º··èÕ ò

¤³Ø ÊÁºμÑ ¢Ô ͧ¼Œ»Ù ¯ÔºÑμÔ˹Ҍ ·¡èÕ ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤

เพอื่ ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจรถู งึ คณุ สมบตั ขิ องผปู ฏบิ ตั หิ นา ทก่ี ารรกั ษาความปลอดภยั ทดี่ ี
รูหลักนิยมการปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ การรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ
การรักษาความปลอดภัยเอกสาร รวมถึงการจัดและโครงสรางของชุดปฏิบัติการรักษาความปลอดภัย
(Organization of Protective Detail)

¤Ø³ÊÁºÑμԢͧ¼ÙŒ»¯ÔºμÑ Ô˹ŒÒ·Õ¡è ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ

๑. มีความจงรักภักดี ซ่ือสัตย และไวใจได ซ่ึงถือวาสําคัญท่ีสุด ตองมีการตรวจสอบ
กอนจะรับมาปฏบิ ัตหิ นา ท่ี

๒. จิตใจมั่นคง สุขภาพจิตดี ไมหว่ันไหวงาย มิฉะนั้นอาจตกเปนเคร่ืองมือ
ของฝายตรงขาม

๓. สขุ ภาพสมบรู ณ รา งกายแขง็ แรงตอ สภาพงานทอี่ าจตอ งตรากตราํ ตลอด ๒๔ ชวั่ โมง
อีกทัง้ ตอ งมีเชาวน ไหวพริบและตน่ื ตัว พรอ มท่จี ะปฏิบัติการโตตอบฝายตรงขา มโดยฉบั พลัน

๔. มีวินัย อดทน เสียสละ และไมประมาท สามารถปฏิบัติการไดทุกพื้นที่แมตนเอง
จะไมช อบ

๕. หไู วและสายตาดีเปนเลศิ มีประสาทสัมผัสทีด่ เี ยีย่ ม โดยเฉพาะสญั ชาตญาณทรี่ ับรู
ตอภยั อนั ตรายทจี่ ะเกดิ ขนึ้

๖. ไมเ ปน โรคสรุ าเรอื้ รังหรือติดยาเสพติด
๗. มมี นษุ ยสัมพันธ สามารถปฏิบัติงานรว มกับผูอน่ื ไดเปนอยางดี
๘. มีความกลา หาญ พรอ มทจี่ ะเส่ยี งตอ อันตรายเพอ่ื ปองกันบุคคลสําคญั ดว ยชวี ติ แต
ทงั้ นต้ี อ งเปน คนทสี่ ขุ มุ รอบคอบ รวู า ควรจะทาํ อยา งไรในเวลาฉกุ เฉนิ มฉิ ะนนั้ อาจจะทาํ ใหบ คุ คลสาํ คญั
เสียชวี ิตได
๙. เขาใจการปฐมพยาบาลขั้นตนและสามารถรักษาโรคประจาํ ตัวของบุคคลสาํ คัญได
๑๐. มีความรูในเร่ืองเคร่ืองมือสื่อสาร เครื่องดับเพลิง การคนหาและเก็บกูวัตถุระเบิด
การใชเ ครอ่ื งมอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส
๑๑. มคี วามรเู ก่ยี วกบั มารยาทสงั คม ระเบยี บปฏิบตั ทิ างพิธีการตาง ๆ ท้งั ของไทย และ
ตา งประเทศ เพ่ือจะวางตัวไดเหมาะสมกับสถานการณน้ัน ๆ



ËÅÑ¡¹ÔÂÁ¡Òû¯ÔºμÑ ãÔ ¹¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺؤ¤Åสาํ ¤ÞÑ

๑. มรี ปู แบบการอารกั ขาบุคคลสาํ คญั
๒. มงุ ประสานการปฏิบัติ เจา หนา ที่รกั ษาความปลอดภยั ประสานการปฏบิ ตั ิกบั หนว ย
งานอน่ื ทเี่ กยี่ วของ เชน เจาหนาท่ที าํ เนยี บรฐั บาล ตาํ รวจทอ งท่ี เจาของสถานที่ เปน ตน
๓. เครง ครดั ตอ กาํ หนดการ เจา หนา ทรี่ กั ษาความปลอดภยั ตอ งรกู าํ หนดการของบคุ คล
สาํ คญั ทกุ ขนั้ ตอนวา ทาํ อะไร ทไี่ หน เมื่อไร อยางไร กับใคร
๔. มีการติดตอส่ือสารอยางตอเน่ือง ขณะปฏิบัติหนาท่ีตองมีการติดตอสื่อสาร
กันตลอดระหวา งชุดลว งหนา กับชุดติดตามตวั
๕. ครบเคร่ืองเรื่องยทุ ธวิธี

๕.๑ ตองมีความชํานาญในการใชอ าวธุ
๕.๒ ตอ งมีความชํานาญในศลิ ปะการตอ สปู องกนั ตวั
๕.๓ ตอ งมีความชํานาญยุทธวิธตี ํารวจ
๖. สรา งความสมั พนั ธไมตรรี ะหวางกัน
๖.๑ ชดุ รกั ษาความปลอดภัยตอ งมีความสามัคคีกนั
๖.๒ ตอ งสรา งสมั พันธไมตรกี ับหนว ยอืน่ ทเี่ กีย่ วขอ งกอนและหลงั เสรจ็ ภารกจิ

¢ŒÍ¾§Ö ÃÐÇ§Ñ ã¹¡Òû¯ºÔ Ñμ¢Ô ͧà¨ÒŒ ˹ŒÒ·ÃèÕ Ñ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ º¤Ø ¤Åสํา¤ÑÞ

๑. หา มชักชวนบคุ คลสําคัญสนทนา
๒. เมอ่ื จะเขา พนื้ ทที่ ย่ี งั ไมผ า นการตรวจสอบ เจา หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ตอ งเขา ไป
กอนบุคคลสาํ คญั ประมาณ ๑ ฟุต ลวงหนา
๓. การเขา-ออกจากลิฟต ใหเขาและออกกอนบุคคลสําคัญและตองมีหนาท่ีคอย
กดปุมลิฟต
๔. ไมพ ยายามเขา จบั กุมหรอื ตอ สูพัวพนั กบั ผกู อ การราย แตจะตองรีบนําบคุ คลสําคัญ
ออกจากพน้ื ทีอ่ นั ตรายโดยเรว็
๕. ไมควรทาํ อะไรในลกั ษณะประจาํ จนเปน กิจวตั ร
๖. พาหนะตองมคี นเฝา ตรวจเสน ทางออก เสนทางถอนตัวทุกคร้งั
๗. เมอ่ื เกดิ เหตรุ า ยจะไมต น่ื ตกใจ แตใ หต น่ื ตวั พรอ มทจ่ี ะรบั สถานการณด ว ยความมสี ติ
ตลอดเวลา



¡ÒèѴáÅÐâ¤Ã§ÊÌҧªØ´»¯ÔºÑμÔ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ (Organization of
Protective Detail)

การจัดกําลังของชุดปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยเปนการจัดกําลังจากชุดปฏิบัติการ
ตางๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณที่เกิดขึ้น โดยการรวบรวมขอมูลขาวสารตางๆ ที่มีผล
กระทบตอบุคคลสําคัญ ซ่ึงรูปแบบการจัดสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสมเพื่อใหบรรลุ
ภารกิจไดดที ่ีสดุ

๑. การจัดหนวยและหนาท่ี การจัดกําลังเพื่อปฏิบัติภารกิจในการรักษาความปลอดภัย
บุคคลสาํ คญั จะตอ งจัดใหเ พียงพอตอ การปฏิบัตงิ าน โดยแบง กาํ ลงั ออกเปน สว น ๆ ตามความจาํ เปน
และกําหนดหนาท่ีใหแนนอน เพื่อมิใหกาวกายและสับสนในการปฏิบัติงาน ซึ่งสามารถแบงออกได
ดงั นี้

๑.๑ กองอํานวยการรกั ษาความปลอดภัย (Command Post) มีหนาทดี่ งั นี้
๑.๑.๑ อํานวยการและควบคมุ การปฏบิ ตั ิการรักษาความปลอดภัย
๑.๑.๒ วางแผน ส่ังการ ประสานการปฏิบัติกับหนวยตาง ๆ ในระดับ

หนวยเหนือและหนวยรอง
๑.๑.๓ ใหการสนับสนุนดานการขาว กําลังพล และยุทโธปกรณ โดยมี

นายทหารควบคุมการปฏิบัติการเปนผูรับไปปฏิบัติ โดยรับนโยบายจากผูอํานวยการรักษา
ความปลอดภยั

๑.๑.๔ การจัดชุดสนับสนุนตาง ๆ เขาสนับสนุนการปฏิบัติใหกับชุดปฏิบัติ
การรกั ษาความปลอดภัยเม่ือไดรบั การรองขอ

๑.๒ ชุดตรวจคนทางเทคนิค (Exoplosive Ordnance Disposal) มีหนาท่ี
สนับสนุนชุดปฏิบตั ิการตาง ๆ เม่ือไดรับการรอ งขอในเร่ืองที่เกีย่ วกับ

๑.๒.๑ การปฏบิ ัติงานกอ นวาระท่บี ุคคลสําคญั มาถึงไมน อยกวา ๒ ชว่ั โมง
๑.๒.๒ ตรวจสอบความปลอดภยั เกย่ี วกบั สถานที่ ดว ยเครอ่ื งมอื ทางเทคนิค
เกย่ี วกับวตั ถุระเบดิ การลกั ลอบดกั ฟงเสยี ง
๑.๒.๓ ตรวจอปุ กรณถ า ยภาพ ควบคมุ การแจกจา ยบตั ร การลงทะเบยี นของ
ชางภาพส่ือมวลชน
๑.๒.๔ ตรวจอาหาร เครอ่ื งดมื่ หีบหอ ของขวญั รวมทง้ั สง่ิ ของตางๆ ทีม่ อบ
ใหบคุ คลสาํ คัญ
๑.๒.๕ ตรวจคน ยานพาหนะบุคคลสาํ คัญ
๑.๒.๖ ตรวจเสร็จสงมอบพ้ืนท่ีใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยท่ีเก่ียวของ
รับผิดชอบตอ ไป



๑.๓ ชุดสํารวจลวงหนา เจาหนาที่ชุดน้ีเปนชุดที่มีความสําคัญมากในการรักษา
ความปลอดภัยบุคคลสําคัญเน่ืองจากผลการสํารวจในแตละพ้ืนที่ จะนํามาวางแผนการรักษา
ความปลอดภยั และออกคาํ สั่งในการปฏิบตั ภิ ารกจิ ตอ ไป ซึง่ มีหนา ท่ีดังน้ี

๑.๓.๑ เตรียมการปฏิบัติการใหแลวเสร็จกอนวาระงานของบุคคลสําคัญ
ไมน อ ยกวา ๓ วัน

๑.๓.๒ ติดตอประสานงานและรวบรวมขาวสารในพื้นที่ท่ีบุคคลสําคัญ
จะเดินทางไป

๑.๓.๓ สาํ รวจเสน ทาง อาคาร สถานท่ี ทต่ี งั้ กองอาํ นวยการ จดุ วางกาํ ลงั ของ
เจา หนา ท่ีชดุ ประจําท่ี เสน ทางถอนตวั จดุ จอดรถฉุกเฉนิ และพนื้ ทีอ่ นั ตรายตา งๆ โดยทําเปนแผนผงั
รูปรางใหช ัดเจน

๑.๓.๔ เตรียมสถานที่หองพักรับรอง พ้ืนที่ปลอดภัย ณ พื้นท่ีน้ันๆ ใหกับ
บคุ คลสาํ คัญเมอื่ มีความจําเปนตอ งใช

๑.๓.๕ สํารวจเสนทางไปโรงพยาบาล สถานีตํารวจ หนวยทหารใกลเคียง
โดยแจงขอมลู ใหเ จาของสถานทีท่ ราบ

๑.๓.๖ การประกอบกําลังอาจจัดจากเจาหนาท่ีตั้งแต ๓ นายข้ึนไป
ประกอบดวย

- หวั หนา ชดุ สาํ รวจลว งหนา (Lead Advance)
- เจา หนาทป่ี ฏบิ ัติ (Advance Agent)
- พลขับ (Driver)
๑.๔ ชดุ สว นลว งหนา (AdvanceTeams)เปน ชดุ ทดี่ าํ เนนิ การตรวจสอบการปฏบิ ตั กิ าร
ของชดุ สาํ รวจลว งหนา ในดา นการประสานการปฏิบตั งิ านรว มกับชุดตรวจทางเทคนิค มีหนาที่ดังนี้
๑.๔.๑ เริ่มปฏิบัติภารกิจกอนถึงวาระงานของบุคคลสําคัญไมนอยกวา
๒ ชวั่ โมง
๑.๔.๒ สาํ รวจเสน ทางตา ง ๆ จดุ วางกาํ ลงั โดยประสานการวางกาํ ลงั ตามพนื้ ท่ี
หรอื จุดทนี่ าจะเปน อันตรายหรือลอ แหลม
๑.๔.๓ นําบุคคลสําคัญเขาไปยังที่หมาย แจงขอมูลใหชุดติดตอเกี่ยวกับ
สถานการณตาง ๆ ในพื้นท่ีขณะทรี่ ถบุคคลสําคญั กาํ ลงั เคลอื่ นเขาสทู ีห่ มาย
๑.๔.๔ ควบคุมสือ่ มวลชนและประชาชนทีม่ าคอยในพน้ื ทห่ี มาย
๑.๔.๕ การประกอบกําลังจะมีเจา หนาทอี่ ยา งนอ ย ๓ นาย คือ
- หวั หนา ชดุ สวนลวงหนา (Lead Advance)
- เจาหนา ทปี่ ฏิบตั ิ (Advance Agent)
- พลขบั (Driver)



๑.๕ ชดุ ตดิ ตาม (Follow Team) เจา หนา ทช่ี ดุ นมี้ หี นา ทต่ี ดิ ตามรกั ษาความปลอดภยั
ใหกับบุคคลสําคัญโดยใกลชิด ภารกิจหลักคือปองกันมิใหบุคคลสําคัญไดรับอันตรายท่ีจะเกิดข้ึน
ไมว า จะเปน การกระทาํ จากอปุ ท วเหตุ การจงใจ หรอื การกระทาํ ทจ่ี ะทาํ ใหบ คุ คลสาํ คญั เสอ่ื มเสยี ชอ่ื เสยี ง
โดยใชเ ทคนคิ ในการรักษาความปลอดภัยอยางมปี ระสิทธิภาพ มหี นา ท่โี ดยรวมดังน้ี

๑.๕.๑ ใหก ารรกั ษาความปลอดภัยบคุ คลสาํ คญั ตลอด ๒๔ ชว่ั โมง
๑.๕.๒ นาํ บุคคลสาํ คัญไปยงั พื้นท่ปี ลอดภยั เม่อื เกดิ เหตฉุ กุ เฉิน
๑.๕.๓ ดํารงการตดิ ตอส่ือสารกบั ชุดปฏบิ ตั กิ ารทกุ ชดุ
๑.๕.๔ การจดั กําลงั ประกอบดวย

- หัวหนาชดุ ตดิ ตาม (Detail Leader) DL
- รองหัวหนาชุดติดตาม (Shift Leader) SL
- เจา หนา ทปี่ ฏบิ ตั ิการ (Right Rear) RR ปฏบิ ตั ิหนาท่สี ื่อสาร
- เจาหนา ทีป่ ฏบิ ตั กิ าร (Left Rear) LR ปฏบิ ัติหนาท่ีเทคนิค
- พลขับ (Follow Car Driver) FCD
๑.๖ ชดุ ประจาํ สถานที่ (Site Agent) เปน เจา หนา ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารสว นทส่ี ง กาํ ลงั ไปวางไว
ณ สถานที่บุคคลสําคัญจะเดินทางไปเพื่อทําหนาที่เฝาสังเกตการณหรือสะกดรอยตามขบวนรถ
(Counter Surveillance Agent) และบางครั้งอาจทําหนาท่ีเปนเจาหนาท่ีชุดตรวจเสนทาง
(Pilot Car Agent) เพอื่ คอยตรวจการณเ สนทางและพืน้ ทท่ี ี่นา สงสยั และหรือจดั วางเจาหนาที่ประจาํ
จุดคับขันกอนบุคคลสําคัญมาถึง การประกอบกําลังอาจประกอบดวยหัวหนาชุดเจาหนาที่ปฏิบัติการ
และพลขบั
๑.๗ ชุดสนับสนุนทางยุทธวิธี (Counter Assault Teams) ภารกิจหลัก
ของชดุ สนับสนุนทางยทุ ธวธิ คี ือ ทาํ การตอบโตเม่อื เกิดภัยคุกคามหรือมีการลักลอบโจมตบี คุ คลสาํ คญั
ปองกันอันตรายใหกับบุคคลสําคัญในการหลบภัย อาจตองพรอมที่จะเขาตรึงพ้ืนที่เพื่อใหชุดปฏิบัติ
การที่รับผิดชอบนําบุคคลสําคัญหนีออกจากพ้ืนท่ีหรืออาจดําเนินการเพ่ือเบ่ียงเบนความสนใจ
ของฝายตรงขามการจดั กําลงั ตามความเหมาะสม
๑.๘ ชุดเตรียมพรอม (Reinforce Teams) มีหนาที่ทดแทนชุดปฏิบัติการตางๆ
ไดท ุกชดุ เมือ่ ไดรบั การรองขอ การทดแทนอาจจะทัง้ ชุดหรอื เขา เสริมชดุ ปฏบิ ตั ิการตาง ๆ ในบางสวน
๑.๙ ชุดพยาบาลเคล่ือนท่ี ใหการรักษาพยาบาลเบื้องตนแกบุคคลสําคัญและเม่ือ
บคุ คลสาํ คญั บาดเจบ็ นาํ สง โรงพยาบาลทใ่ี กลท สี่ ดุ อาจจดั รถพยาบาลเขา รว มในขบวนเมอื่ เหน็ วา สาํ คญั

๑๐

๑๑

º··Õè ó

¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂʶҹ·Õè

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤

เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจรูมาตรการและข้ันตอนการรักษาความปลอดภัย
สถานท่ีสําคัญ ท่ีสงวน อาคาร สถานที่สวนราชการ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ เจาหนาท่ี และเอกสาร
ในอาคารสถานทด่ี ังกลา วใหพนจากการโจรกรรม การจารกรรม และการกอวนิ าศกรรม หรือเหตุอ่ืนใด
อนั อาจทาํ ใหเ สยี สมรรถภาพในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของสว นราชการได รวมถงึ มที กั ษะในการปฏบิ ตั หิ นา ที่
การรกั ษาความปลอดภยั ดงั กลา วไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ

ËÅÑ¡¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂʶҹ·èÕ

การรักษาความปลอดภัยสถานท่ี เปนมาตรการรักษาความปลอดภัยอันหนึ่งท่ีตอง
นํามาใชเสมอ เพ่ือพิทักษรักษาใหความปลอดภัยแกท่ีสงวน อาคาร และสถานท่ีสวนราชการ
ตลอดจนวัสดุอุปกรณ เจาหนาท่ี และเอกสารในอาคารสถานท่ีดังกลาวใหพนจากการโจรกรรม
การจารกรรม และการกอวินาศกรรม หรือเหตุอื่นใดอันอาจทําใหเสียสมรรถภาพในการปฏิบัติ
ภารกจิ ของสว นราชการได รวมทง้ั ยงั เปน แนวทางใหส ว นราชการดาํ เนนิ มาตรการรกั ษาความปลอดภยั
เก่ียวกับสถานท่ีตามความเหมาะสมกับระดับความสําคัญของสถานที่น้ัน ๆ ตลอดจนชวยเจาหนาที่
รับผิดชอบในการพิทักษรักษาสถานที่และวัตถุตาง ๆ ที่มีคาสูงของชาติ ใหปฏิบัติงานไดอยางมี
ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีมาตรการที่เก่ียวของกับการรักษาความปลอดภัยสถานที่สําคัญอีกสอง
มาตรการท่ีมักจะตองทําควบคูกันไป ไดแก มาตรการจัดระบบจุดเฝาตรวจการรักษาความปลอดภัย
และมาตรการตรวจหบี หอและจดหมายท่สี ง ถงึ บุคคล มาตรการรกั ษาความปลอดภยั เกีย่ วกับสถานที่

¡Òè´Ñ Ãкº¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂà¡èÕÂǡѺʶҹ·Õè

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒
กาํ หนดใหส วนราชการจัดระบบการรกั ษาความปลอดภัยเกยี่ วกับสถานทใ่ี หม ีความเหมาะสม ดังนี้

ñ. การกําหนดพ้ืนท่ีที่มีการรักษาความปลอดภัยพื้นที่ที่มีการรักษาความปลอดภัย
คือ “¾×é¹·Õè·Õèกํา˹´¢Íºà¢μ·èÕṋªÑ´ã¹¡ÒäǺ¤ØÁ¡ÒÃࢌÒáÅÐÍÍ¡” มีความมุงหมายเพ่ือจะพิทักษ
ส่ิงท่ีเปนความลับ บุคคล ทรัพยสิน วัสดุ และส่ิงอุปกรณของทางราชการใหปลอดภัย โดยกําหนด
มาตรการการรกั ษาความปลอดภยั ในแตล ะเขตใหม รี ะดบั แตกตา งกนั ตามความสาํ คญั การกาํ หนดพน้ื ที่
มีการรกั ษาความปลอดภยั พึงปฏิบตั ิดงั ตอไปน้ี

๑.๑ กําหนดใหมี “¾é×¹·Õè¤Çº¤ØÁ” ภายในเขตน้ีตองมีระเบียบการควบคุมบุคคล
และยานพาหนะ เพื่อชว ยกลัน่ กรองเสียชนั้ หนึง่ กอ นทีจ่ ะใหเขาถงึ “พ้นื ที่หวงหาม”

๑.๒ กําหนดใหมี “¾×é¹·èÕËǧˌÒÁ” ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีท่ีมีการพิทักษรักษาส่ิงที่เปน
ความลับ ตลอดจนบุคคลสําคัญ ทรัพยสิน หรือวัสดุท่ีสําคัญของทางราชการ “พ้ืนท่ีหวงหาม” นี้
อาจแยกออกเปน “เขตหวงหามเฉพาะ” กับ “เขตหวงหามเด็ดขาด”

๑๒

“เขตหวงหา มเฉพาะ” เชน ที่เก็บอาวุธ ท่เี ก็บเช้ือเพลงิ สายโทรศพั ททที่ ําการ
ของเจา หนาท่ี และหองปฏบิ ตั ิงานของหวั หนาสวนราชการที่เหน็ สมควร เปนตน

“เขตหวงหามเด็ดขาด” เชน ศูนยปฏิบัติการสื่อสาร หองปฏิบัติการลับ
หองปฏิบัติงานของผูบังคับบัญชาช้ันสูง หองหรือสถานท่ีขณะท่ีใชในการประชุมลับ และหองนิรภัย
เปน ตน

๒. การใชเครื่องกีดขวาง เคร่ืองกีดขวาง คือ “เครื่องมือที่ใชปองกัน ขัดขวาง หรือ
หนว งเหนยี่ วบคุ คลและยานพาหนะทไ่ี มม สี ทิ ธเิ ขา ไปในพนื้ ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ” โดยใชเ ครอื่ งกดี ขวาง
เปนแนวเขตของพื้นที่กอใหเกิดสภาพทางจิตวิทยาและทางวัตถุทําใหไมกลาเขาหรือหนวงเหน่ียว
การลวงลํ้าเพื่อใหยามรักษาการณมีโอกาสตรวจพบ หยุดย้ัง หรือจับกุมได อีกทั้งเปนการประหยัด
จํานวนเจาหนาที่ยามรักษาการณและเปนการบังคับใหบุคคลหรือยานพาหนะท่ีจะผานเขาออก
ตอ งผานเฉพาะตามทางเขาออกท่ีกําหนดให เพ่ือสะดวกในการควบคมุ ตรวจสอบ

๓. การใหแสงสวาง เพื่อปกปองพื้นท่ีที่มีความสําคัญและเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ตรวจสอบพ้ืนท่ีใหสามารถมองเห็นบริเวณร้ัวและเขตหวงหามตาง ๆ รวมท้ังผูท่ีบุกรุกเขามาใน
สถานทไี่ ดอยา งชดั เจนในเวลามืดหรอื ในภาวะแสงนอ ย

๔. การจัดใหมีระบบสัญญาณเตือนภัย เพ่ือตรวจและเตือนใหทราบเมื่อมีการเขาใกล
หรือการลว งลา้ํ เขา มาในพ้นื ทที่ ม่ี กี ารรักษาความปลอดภัย

๕. การควบคมุ บคุ คล เพอื่ ตรวจสอบใหท ราบวา เปน บคุ คลทไ่ี ดร บั อนญุ าตใหผ า นเขา พน้ื ท่ี
ทมี่ กี ารรกั ษาความปลอดภยั พนื้ ทคี่ วบคมุ หรอื พนื้ ทห่ี วงหา ม ในการควบคมุ บคุ คลพงึ ปฏบิ ตั ดิ งั ตอ ไปน้ี

๕.๑ จัดใหมีบัตรผานสําหรับบุคคลภายในเพ่ือใชแสดงวาเปนผูท่ีไดรับอนุญาตให
ผา นเขา ไปในพน้ื ทท่ี มี่ กี ารรกั ษาความปลอดภยั ได การออกแบบบตั รผา นควรมลี กั ษณะมใิ หป ลอมแปลง
ไดงายและควรเปลี่ยนรูปแบบตามหวงระยะเวลาท่ีเห็นสมควรอยางนอยใหมีรายละเอียดแสดงชื่อ
สว นราชการ ชอ่ื รูปถา ย สว นสูง น้ําหนัก ลายนวิ้ มอื ของผูถอื บตั ร ลายมือช่ือผูอ อกบตั ร หมายเลข
ประจําบัตร วันเดือนปที่ออกบัตร วันเดือนปท่ีบัตรหมดอายุ ซ่ึงจะตองควบคุมการจัดทํา
และการจายบัตรโดยกวดขัน จัดใหมีปายแสดงตนสําหรับบุคคลท้ังภายในและภายนอกเพ่ือแสดงวา
เปนบุคคลท่ีไดรับอนุญาตใหเขาไปในพ้ืนท่ีใดได ในฐานะอะไร กอนที่บุคคลดังกลาวจะเขาไปในพ้ืนท่ี
ที่มีการรักษาความปลอดภัยของสวนราชการนั้น ๆ ใหติดปายแสดงตนไวในท่ีท่ีเห็นไดชัด เชน
ทีอ่ กเสอ้ื เปนตน

๕.๒ จัดใหมีการบันทึกหลักฐานสําหรับบุคคลภายนอก เชน ผูมาประชุมติดตอ
หรือเยี่ยม ตลอดจนชางกอสราง ซอมแซม ผูนําสงหรือรับสิ่งของจากสวนราชการหรือหนวยงาน
เปนตน โดยใหมีรายละเอียดคือ วันและเวลาที่ผานเขา ชื่อ สัญชาติ ตําบลท่ีอยู ช่ือสถานที่ทํางาน
ชื่อและหนวยงานของผูรบั การติดตอ หรอื เย่ยี ม เหตผุ ลท่ีมาติดตอหรอื เยีย่ มวนั และเวลาทก่ี ลบั ออกไป
ฯลฯ ในกรณีท่ีมีการกอสราง ซอมแซม หรือรับสงส่ิงของจากสวนราชการหรือหนวยงาน ใหหัวหนา
สว นราชการหรือหนวยงานนน้ั วางมาตรการควบคุมโดยใกลชิดตลอดเวลา

๑๓

๕.๓ จัดใหมีที่พักผูมาติดตอหรือเยี่ยมไวเปนพิเศษตางหาก ไมควรอนุญาตให
ผูมาเยี่ยมเขาไปยังท่ีทํางานนอกจากบุคคลท่ีมาติดตอราชการท่ีเกี่ยวของโดยแทจริง ในการน้ี
ผูรับการเยี่ยมจะตองรับผิดชอบในตัวผูเย่ียมตลอดเวลาต้ังแตรับตัวมาจากเจาหนาที่รักษา
ความปลอดภัยสถานท่ีจนสงตัวคืน สําหรับคนรถของผูมาติดตอหรือเย่ียมหรือผูที่โดยสารมาดวย
คงใหร ออยู ณ บรเิ วณท่จี อดรถ

๖. การควบคุมยานพาหนะ เพ่ือใหทราบวายานพาหนะใดไดรับอนุญาตใหผานเขาใน
พ้ืนที่ท่ีมีการควบคุมและมีบันทึกเปนหลักฐานการเขาและออก การควบคุมยานพาหนะพึงปฏิบัติ
โดยจัดเจา หนาทตี่ รวจสอบยานพาหนะประจาํ อยทู ชี่ อ งทางเขาออกของสถานทีต่ ง้ั ทาํ หนาท่ีดังนี้

๖.๑ ตรวจสอบบุคคลและส่ิงของตาง ๆ บนยานพาหนะ
๖.๒ ควบคุมบรรดายานพาหนะท่ีอนุญาตใหผานเขาไปในสถานที่ต้ังนั้น โดยใหใช
เสน ทางและทจี่ อดทอี่ นญุ าตเทานน้ั
๖.๓ ทําบันทึกหลักฐานยานพาหนะเขาออกโดยระบุถึงวันและเวลาที่ยานพาหนะ
ผานเขาช่ือคนขับและช่ือผูโดยสาร เลขทะเบียนยานพาหนะ ลักษณะและจํานวนสิ่งของท่ีบรรทุก
ยานพาหนะทน่ี าํ เขา และนาํ ออก วตั ถปุ ระสงค และสถานทที่ ย่ี านพาหนะจะเขา ไปตลอดจนวนั และเวลา
ท่ยี านพาหนะผา นออก
๖.๔ จดั ทใ่ี หจ อดรถควรอยหู า งจากตวั อาคารทสี่ าํ คญั และ/หรอื สง่ิ ของทตี่ ดิ เพลงิ งา ย
ประมาณไมน อ ยกวา ๖ เมตร
๗. จดั ใหม เี จาหนาท่รี กั ษาความปลอดภยั สถานที่ ประกอบดว ย
- เจา หนา ที่เวรรักษาความปลอดภัยประจาํ วัน
- นายตรวจเวรรักษาความปลอดภัยประจาํ วนั
- ยามรกั ษาการณแ ละเจา หนา ทอี่ นื่ ๆ เพอื่ ใหก ารรกั ษาความปลอดภยั มปี ระสทิ ธภิ าพ
ยิ่งข้ึน ความมุงหมายในการจัดใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสถานท่ีน้ันเพ่ือใหการรักษา
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะไมวาจะมีเคร่ืองกีดขวางชนิดใดหากไมมี
การเฝา รกั ษาแลว ก็อาจมีการเล็ดลอดเขาไปได
ที่ทําการของเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสถานท่ีควรตั้งอยูในบริเวณท่ีสามารถ
ปฏิบัติหนาท่ีไดสะดวก ภายในที่ตั้งควรมีที่เก็บอาวุธไวดวย สําหรับเคร่ืองมือเคร่ืองใชและเคร่ืองมือ
สื่อสารในท่ีต้ังควรมีเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสถานที่ประจําอยางนอยหนึ่งคนตลอดเวลา
เจา หนา ทรี่ กั ษาความปลอดภยั สถานทคี่ วรไดร บั การฝก อบรมและมคี วามรใู นเรอ่ื งตา งๆ ดงั น้ี การปอ งกนั
การจารกรรมและการกอวินาศกรรมบริเวณสถานท่ีทั้งหมดจุดสําคัญของสถานที่นั้นรวมท้ังท่ีตั้ง
สวิตชไฟฟาท่ีสําคัญๆ เครื่องมือเคร่ืองใชในการดับเพลิง ตลอดจนภยันตรายตางๆ ท่ีอาจเกิดขึ้น
แกสถานท่ีราชการนั้นๆ การติดตอส่ือสารในหนวยรักษาความปลอดภัย วิธีตอสูปองกันตัวตาม
ความเหมาะสม และระบบทใี่ ชสําหรับแสดงตนซงึ่ สถานทนี่ ้ันไดกําหนดไว นอกจากน้ันในขณะปฏบิ ัติหนา ท่ี

๑๔

ถามีอาวุธก็ตองเปนอาวุธที่ถูกตองตามกฎหมายพรอมทั้งมีความรูความสามารถในเร่ืองการใชอาวุธ
เปน อยางดี

๘. การปองกันอัคคีภัย โดยตองวางแผนและกํากับดูแลใหเปนไปตามกฎหมาย
กฎกระทรวงและมตคิ ณะรฐั มนตรี ตลอดจนคาํ สงั่ ของทางราชการทเี่ กยี่ วขอ งเรอ่ื งน้ี หวั หนา สว นราชการ
จะกําหนดมาตรการปองกันอัคคีภัย โดยมีเจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยเปนผูวางแผน
และกํากับดูแลใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการปองกันและระงับอัคคีภัย กฎกระทรวง และมติ
คณะรฐั มนตรี ตลอดจนคาํ สงั่ ของทางราชการตา ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั เรอ่ื งนี้ การจดั เจา หนา ทด่ี บั เพลงิ นน้ั
ในเวลาราชการใหจัดขาราชการเปนเจาหนาที่ดับเพลิง โดยแบงเปนสองกลุม คือ กลุมที่หนึ่งมีหนาที่
ดับเพลิงและอีกกลุมหน่ึงมีหนาที่ขนยายเอกสารและควบคุมรับผิดชอบเอกสารและวัสดุ โดยให
แตละกลุมมีจํานวนเพียงพอสําหรับงานน้ัน ๆ สําหรับนอกเวลาราชการใหเปนหนาที่ของเวรรักษา
ความปลอดภัยประจําวันและยามรกั ษาการณเปนผูรับผิดชอบ

การจัดเตรียมเคร่ืองอุปกรณในการดับเพลิงใหมีสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมติดต้ังไว
และเตรียมเครื่องมือเคร่อื งใชใ นการดบั เพลิงช้นั ตนไวใหพ รอม เชน นํา้ ทราย กระปองนาํ้ เชือก บันได
ขวาน ไมมือเสือ ตลอดจนเคร่ืองดับเพลิงใหเหมาะกับประเภทสื่อท่ีทําใหเกิดเพลิงไหมไวทุกประเภท
หากเปนเครื่องดับเพลิงเคมีใหติดตั้งไวในท่ีหยิบฉวยใชงานไดงายและมีจํานวนเพียงพอ โดยหมั่น
ตรวจสอบใหอยูในสภาพที่ใชการไดอยูเสมอและแจงใหทุกคนรูแหลงน้ําสําหรับใชดับเพลิงท่ีใกลที่สุด
ท่ีต้ังและหมายเลขโทรศัพทของหนวยดับเพลิงท่ีติดตอไดสะดวกและรวดเร็วที่สุด นอกจากน้ันตองมี
การฝกอบรมเจาหนาท่ีใหมีความระมัดระวังเพื่อปองกันอัคคีภัยและฝกซอมใหมีความรูความชํานาญ
ในการดบั เพลงิ ชน้ั ตน เจา หนา ทค่ี วรมคี วามรใู นเรอ่ื งตา งๆ เหลา นี้ คอื ประเภทของไฟ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช
ในการดบั เพลงิ การตดิ ตอ สอื่ สาร การคมนาคม แผนผงั อาคาร บรเิ วณโดยรอบทตี่ งั้ หมายเลขโทรศพั ท
ของหนว ยดับเพลิง และแผนการดับเพลงิ ของสวนราชการ

ÁÒμáÒáÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ Ê¶Ò¹·สèÕ ํา¤ÑÞ

มาตรการจัดระบบจุดเฝาตรวจการรักษาความปลอดภัย จุดเฝาตรวจการรักษา
ความปลอดภัย คอื พ้ืนท่ีทีไ่ ดกําหนดความรบั ผดิ ชอบขนึ้ เปน สว นหน่งึ ในงานการรักษาความปลอดภัย
ซึ่งอาจจะอยกู ับทีห่ รอื เคลื่อนท่ี แบบของการเฝาตรวจมี ๓ ประเภท คอื

๑. จุดตรวจ เปนจุดที่ควบคุมการผานเขาออกของบุคคลและสิ่งของ สวนใหญจะอยูท่ี
ชองทางเขาออกของพื้นท่ีควบคุม หนาที่ของจุดตรวจมีไวเพ่ือควบคุมชองทางเขาออกตามปกติ
จะกําหนดใหมีชองทางเดียวและเปนจุดท่ีต้ังคงท่ี รวมทั้งปองกันผูไมมีหนาที่หรือสิ่งของ เชน
กระเปาเดินทาง กระเปาเอกสาร ฯลฯ เขาไปในพ้ืนท่ีหวงหาม รวมไปถึงการตรวจสอบกล่ันกรอง
ผูท ีม่ ีหนา ท่ี และผทู ไ่ี ดร บั อนญุ าตเขา ไปในพืน้ ทเี่ หลา น้นั อีกดว ย

๑๕

๒. การลาดตระเวน เปนการเฝาตรวจโดยปกติจะเคลื่อนที่ตลอดเวลาเพื่อตรวจตรา
พ้ืนท่ีที่รับผิดชอบโดยใกลชิดและสังเกตบุคคลสิ่งของในพื้นท่ี หนาที่ของการลาดตระเวนมีไว
เพ่ือสังเกตการณหรือลาดตระเวนในพื้นที่ที่กําหนด สังเกตการณดูความเคล่ือนไหวของบุคคล
และสิ่งของในพ้ืนท่ีท่ีไดรับมอบหมายและรายงานขาวสารที่มีประโยชนตอการรักษาความปลอดภัย
ท้ังหมดตอกองอํานวยการ

๓. ภารกิจพิเศษ เปนการปฏิบัติงานเฉพาะหนาที่ซ่ึงไมเกี่ยวกับจุดตรวจและการ
ลาดตระเวน เชน การรักษาความปลอดภัยสัมภาระ ขับรถบุคคลสําคัญ ขับรถสํารองติดตามขบวน
ประจํากองอาํ นวยการรกั ษาความปลอดภยั ตอ ตานพลแมน ปน เปนตน

¢éѹμ͹¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ Ê¶Ò¹·Õè

¡ÒÃสําÃǨŋǧ˹ŒÒáÅÐμÃǨ¤¹Œ
๑. การสํารวจลวงหนา เม่ือบุคคลสําคัญตองเดินทางออกจากท่ีพักหรือที่ทํางาน
เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยมีหนาท่ีตองรับผิดชอบความปลอดภัยของบุคคลสําคัญมิใหเกิด
ภยนั ตรายใดๆ ขนึ้ ทงั้ ในระหวา งเดนิ ทาง การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ จนกระทง่ั เดนิ ทางกลบั ดงั นน้ั เพอื่ ความแนใ จ
จงึ จาํ เปน อยา งยงิ่ จะตอ งสง เจา หนา ทไี่ ปยงั สถานทที่ บ่ี คุ คลสาํ คญั จะไปเปน การลว งหนา เพอื่ ดาํ เนนิ การ
ทางดานการรกั ษาความปลอดภยั และเตรียมการในเรอ่ื งท่จี าํ เปนอื่นๆ
๒. ชุดสวนลวงหนา เปนสวนหน่ึงของชุดรักษาความปลอดภัย มีหัวหนาชุดลวงหนา
เปน ผรู บั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัติภารกจิ โดยเปนผูตรวจสอบผลการปฏิบัติของชดุ สาํ รวจลวงหนาท้งั หมด
ในพ้ืนท่ีชุดลว งหนา น้ีจะตอ งไปถงึ ทีห่ มายกอนทบ่ี ุคคลสาํ คัญจะไปถงึ อยา งนอ ย ๒ ช่ัวโมง โดยทีต่ อ ง
แนใจวา พ้ืนทน่ี ้นั ๆ ปลอดภัยกอนที่จะใหช ุดปฏิบัติการติดตามและบคุ คลสาํ คัญเขามาในพื้นท่นี นั้
๓. ขอพิจารณาในการจัดวางกําลังชุดสวนลวงหนา เจาหนาที่ชุดสวนลวงหนาจะตอง
พิจารณาถงึ

๓.๑ ทราบกาํ หนดเวลาทเี่ จา หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ประจาํ สถานทต่ี อ งวางกาํ ลงั
ตามจุดตางๆ ท่กี าํ หนดไว เพอื่ รกั ษาความปลอดภัยสถานทีน่ นั้ ๆ

๓.๒ กาํ หนดใหท มี เกบ็ กรู ะเบิดมาทําการตรวจสอบท่หี มายตา งๆ ในพน้ื ที่
๓.๓ การควบคมุ ฝงู ชน สอ่ื มวลชน
๓.๔ จัดเจาหนาท่ีตรวจสอบบัตรเชิญของแขกหรือบัตรแสดงตนของสื่อมวลชน
กอ นเขา ไปในพน้ื ท่ี
๓.๕ มคี วามจาํ เปน จะตองใชเ คร่ืองมือตรวจคนโลหะหรือซุมตรวจโลหะหรอื ไม
๓.๖ มีแผนสําหรบั หลบหนีฉกุ เฉินโดยทาง ฮ. หรอื ไม ถา มีใชส ถานที่ใด มีท่สี าํ หรับ
จอด ฮ.หรือไม นักบินเคยลงท่จี ุดน้ันหรอื ไม

๑๖

๔. การตรวจสอบพนื้ ฐานของเจา หนา ทช่ี ุดสว นลวงหนา
๔.๑ พบและประสานงานกับเจาหนาที่ของพื้นที่น้ันๆ หรือพบกับเจาหนาที่รักษา

ความปลอดภัยในพ้ืนที่นั้นๆ ประสานขั้นตอนตางๆ ท่ีบุคคลสําคัญจะตองปฏิบัติต้ังแตมาถึงจนกลับ
ซ่ึงมหี ัวขอ ตาง ๆ ดงั น้ี

๔.๑.๑ มีภยั คกุ คามใด ๆ ในการมาเยอื นคร้งั นบ้ี า งหรือไม
๔.๑.๒ มีสือ่ มวลชนรว มดว ยหรอื ไม
๔.๑.๓ ในพืน้ ท่ีนีม้ สี ่ิงใดทีอ่ าจเปนภัยตอ บคุ คลสาํ คญั ได
๔.๒ กําหนดเสนทางมายังพ้ืนท่ีและกําหนดจุดวางกําลังของเจาหนาที่รักษา
ความปลอดภยั ประจําสถานที่
๔.๓ จัดทําแผนเผชิญเหตุที่นาจะเกิดขึ้นตั้งแตลงจากรถเขามาทักทายการปฏิบัติ
ตามกาํ หนดการจนกระท่งั กลบั ออกจากพนื้ ทน่ี ้นั
๔.๔ กาํ หนดจดุ จอดของรถขบวนเมอื่ มาถงึ รวมทงั้ ทจี่ อดคอยของขบวนรถทง้ั หมด
๔.๕ กาํ หนดหอ งรบั รอง หอ งทป่ี ลอดภยั ของบคุ คลสาํ คญั และตอ งทราบหมายเลข
โทรศพั ทของทอ งทน่ี ัน้ ดวย
๔.๖ สํารองหอ งนํ้าวามีอยูท ใ่ี ดบาง เปนหอ งนํ้ารวมหรอื ไม
๔.๗ จดุ สาํ หรบั จอดรถฉกุ เฉนิ และเสน ทางทจ่ี ะพาบคุ คลสาํ คญั ไปยงั รถฉกุ เฉนิ อยา ง
ปลอดภยั
๔.๘ จัดเจาหนาที่ในการล็อกลิฟตไวสําหรับบุคคลสําคัญและเสนทางท่ีจะไปยัง
บนั ไดสํารองสาํ หรับขึ้นลงวาอยูท ีใ่ ด
๔.๙ ตรวจสอบเร่ืองเคร่อื งมือดับเพลงิ ในสถานทน่ี น้ั
๔.๑๐ จัดใหม กี ารตรวจสอบสถานทโี่ ดยชุดตรวจคนวตั ถรุ ะเบิด
๕. การสาํ รวจสถานทข่ี น้ั ตน
๕.๑ บรเิ วณท่ขี บวนรถมาถึงพ้ืนท่ีเปน อยา งไร
๕.๒ ขบวนรถจะจอด ณ ท่ีใด
๕.๓ ใครเปน เจา หนา ทท่ี จ่ี ะตอ งรบั ขบวนรถและปอ งกนั รกั ษาความปลอดภยั บคุ คล
สาํ คญั และคณะในระหวา งการเยือนในพน้ื ที่นนั้
๕.๔ เสนทางทใี่ ชใ นการเดนิ เขา สูต ัวอาคารคอื เสนทางใด
๕.๕ การข้ึนลฟิ ตข้ึนไดค รงั้ ละกคี่ น
๕.๖ การตรวจสอบคร้งั แรกกอนใชจ ะตองติดตอ กบั ใคร
๕.๗ หอ งนา้ํ ท่ีใกลทีส่ ดุ สําหรบั บคุ คลสาํ คัญจะใชได
๕.๘ โทรศพั ทท ใี่ กลทส่ี ดุ ทบี่ ุคคลสําคญั จะใชได
๕.๙ หองทใ่ี กลที่สุดทบี่ คุ คลสําคญั จะใชประชุมลบั ไดอ ยทู ี่ไหน

๑๗

๕.๑๐ หอ งนาํ้ สตรที ่ีใกลท ส่ี ดุ สําหรบั สตรีทีร่ ว มคณะเดินทาง
๕.๑๑ เครอื่ งมอื ดับเพลงิ ที่ใกลทส่ี ดุ อยทู ่ีไหน เปนแบบอะไร
๕.๑๒ สถานดี บั เพลงิ ทใ่ี กลท ่สี ุดอยทู ่ีไหน หมายเลขโทรศัพทอ ะไร
๕.๑๓ อาคารน้ัน ๆ มรี ะบบเตือนอคั คภี ยั หรือไม
๕.๑๔ โรงพยาบาลทใ่ี กลทีส่ ุดอยูที่ไหน หมายเลขโทรศพั ทอะไร
๕.๑๕ สถานีตํารวจทใี่ กลท ่ีสุดอยทู ่ีไหน หมายเลขโทรศพั ทอ ะไร
๕.๑๖ เสนทางออกท่ีเปนเสน ทางหลักและเสนทางรองเปนอยางไร
๕.๑๗ เวลาในการเยอื นรวมถงึ การปราศรยั นานเทา ใด
๖. การตรวจคน การคนหา และการตรวจสอบเปนมาตรการสวนหน่ึงของการระวังปองกัน
และรักษาความปลอดภยั ซึง่ เปน ส่ิงสําคัญท่จี ะตองปฏบิ ตั ิเปน อนั ดับแรกกอนการปฏบิ ตั ิอน่ื ๆ การจัด
ลาํ ดบั ขน้ั ตอนในการคน หาและตรวจสอบจะตอ งจดั ใหม ขี น้ึ เพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั เิ ปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และเพ่อื ใหแ นใจไดว ามกี ารตรวจสอบทกุ พ้ืนทีม่ ิไดล ะทง้ิ พน้ื ที่ใดพ้นื ทีห่ น่งึ
๖.๑ การจัดชุดตรวจคน ชุดตรวจคนท่ีเหมาะสมเปนส่ิงสําคัญมากของการปฏิบัติ
การตรวจคน ประกอบดวย

๖.๑.๑ หัวหนาชุด เปนผูรับผิดชอบในการตรวจคน ซ่ึงโดยปกติแลวไมตอง
ทาํ หนา ทใี่ นการตรวจคน เอง เพยี งแตท าํ การแบง มอบพนื้ ทตี่ รวจและรบั ผดิ ชอบกาํ กบั ดแู ลการปฏบิ ตั งิ าน
ของเจาหนาท่ีภายในชุด โดยจะอยู ณ พื้นที่ซึ่งสามารถสังเกตการณปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตรวจ
ไดอยางใกลชิด เมื่อเจาหนาท่ีตรวจพบสิ่งที่นาสงสัย ใหหัวหนาชุดส่ังคนอื่นหยุดตรวจในขณะที่ผูพบ
กาํ ลงั ตรวจสอบ เมอ่ื ทราบแนแ ลว วา ทพี่ บไมม อี นั ตรายกใ็ หด าํ เนนิ การตรวจตอ ไป แตถ า ยงั ไมแ นใ จใหน าํ
เจาหนาที่ท้ังหมดออกจากพ้ืนที่นั้น โดยรองขอเจาหนาท่ีเก็บกูวัตถุระเบิดมาทําการชวยเหลือ
เมอ่ื เจาหนาทีช่ ุดนที้ ํางานเสรจ็ เรียบรอยแลว เจาหนาทตี่ รวจกจ็ ะเขาทําการตรวจตอ ไป

๖.๑.๒ เจาหนาท่ีประจําชุด เจาหนาที่แตละคนใหปฏิบัติการตรวจในพื้นที่
ทไ่ี ดร บั มอบหมายและตอ งไมเ ปลยี่ นพน้ื ที่ นอกจากจะไดร บั คาํ สง่ั โดยตรงจากหวั หนา ชดุ ความมงุ หมาย
เพอื่ มใิ หเ จา หนา ทท่ี กุ นายตอ งทาํ การตรวจโดยรอบหอ ง หลกี เลย่ี งการตรวจซาํ้ ซอ นกบั คนอน่ื หรอื หลง
พื้นที่ท่ียังไมไดรับการตรวจอันเนื่องจากการตรวจที่ซํ้าซอนกัน อีกประการหน่ึงจะทําใหภายในหองมี
เจา หนา ท่เี กินความจาํ เปน และเปน การยงุ ยากในการควบคุมสงั เกตการณข องหวั หนาชดุ

๖.๒ กฎทวั่ ไปของการปฏิบัตกิ ารตรวจสอบ
๖.๒.๑ สํารวจหาขอมูลลวงหนาเทาที่จะทําไดวาบุคคลสําคัญจะเขาไป

สถานท่ใี ดแนนอนโดยเฉพาะอยา งยิ่งในบรเิ วณทส่ี าธารณะ
๖.๒.๒ ถาเปนไปไดพยายามสํารวจหาสถานท่ีรับรองสํารอง เพื่อสามารถ

ท่ีจะเปลีย่ นแปลงไดถ าสถานท่ีรับรองจริงไมเ หมาะสมหรอื มอี นั ตราย

๑๘

๖.๒.๓ ชแ้ี จงผแู ทนของบรษิ ทั หา งรา น หรอื หมคู ณะ ทไ่ี ดจ ดั เตรยี มหอ งรบั รอง
ไวใหกบั บุคคลสําคัญใหนาํ สิง่ ของท่ีไมจําเปน ทุกอยางออกจากหองรบั รองไปไวทอ่ี ่ืน เชน

- ตองไมมีส่ิงของใด ๆ ในโตะและตูที่มีล้ินชัก และลิ้นชักตองเปด
ทิง้ ไว ลิ้นชักเกบ็ เอกสารและส่ิงที่ไมจ าํ เปน อืน่ ๆ ควรนาํ ออกจากหอง

- จะตองใหเปดไฟทุกดวง เคร่ืองปรับอากาศทุกตัว และเครื่องใช
ไฟฟา อนื่ ๆ ไวแ ละสิง่ ทปี่ กปด ใหเ ปดออกไว

- ท่ีนอนควรเปด ผาปทู น่ี อนออก และเฟอรน ิเจอรก็ควรถอดปลอก
ออกดวย พรอ มทงั้ ใหเลื่อนเฟอรน เิ จอรเหลานีใ้ หหางจากกาํ แพง

- หนงั สือ หีบ รูปปน แกะสลกั ฯลฯ ควรจะนาํ ออกจากหอ ง
- จะตองทําใหงายและรวดเร็วในการเคล่ือนยายสิ่งของออกจาก
หองทั้งหมด และเพ่มิ เตมิ สงิ่ ที่ตองการหลงั จากตรวจความปลอดภยั เรยี บรอยแลว
๖.๒.๔ ในพนื้ ทห่ี น่ึง ๆ จะตองไดร บั การตรวจสอบการรกั ษาความปลอดภัย
เสมอ อาจกระทําดวยสายตาหรือเครือ่ งมือเทคนิคก็ได
๖.๓ การคนหาวัตถุระเบิดตามสถานที่ตาง ๆ ในขณะท่ีเวลาและสถานการณ
อํานวยให การคนหาวัตถรุ ะเบดิ ควรจะไดก ระทาํ ขนึ้ ในทุกๆ พื้นทีก่ อนท่ีบุคคลสําคญั จะเดินทางมาถงึ
ถามีเวลาไมมากนักจะทําการตรวจคนเฉพาะพ้ืนที่ที่บุคคลสําคัญจะพํานักและแบงเวลาไปทําการ
ตรวจพน้ื ทใ่ี กลเ คยี งที่พํานักของบคุ คลสาํ คัญ การแบงเวลาน้ีจาํ เปน ตอ งจดั แบงใหต ามความเหมาะสม
เน่ืองจากผูลอบวางระเบิดเปนผูมีความชํานาญในการวางอยางลึกซึ้ง ดังน้ันเจาหนาท่ีตองมีเวลามาก
พอสมควรที่ตอ งทาํ การตรวจใหไดอยางละเอียด และขณะที่ทําการตรวจคนนนั้ เจา หนา ที่ตอ งคาํ นึงถึง
การรักษาความปลอดภยั ใหต วั เองดว ย
๖.๔ การตรวจคนโรงแรมหรือท่ีพักอ่ืน ๆ การตรวจคนภายในหองพักของโรงแรม
อาจตองประกอบดวยเครื่องมือเครื่องใชจํานวนมากและการท่ีจะเลือกเครื่องมือใดน้ันตองขึ้นอยู
กับขนาดลักษณะรูปรางของหอง ตลอดจนเคร่ืองประดับและสวนประกอบตาง ๆ ภายในหอง
สง่ิ ทส่ี าํ คญั ที่สุด ในเบ้อื งตนคือตอ งดาํ เนินการคน หาอยา งมีระเบียบแบบแผน ตรวจคนอยา งละเอยี ด
ทกุ ซอกทุกมมุ ไมต รวจเฉพาะจดุ ท่ีนาสงสยั เทานัน้
๖.๕ อาคารที่ทํางานและอาคารที่สาธารณะอื่นๆ นอกจากตรวจเสนทางเดิน
และสาํ รวจทว่ั ๆ ไปภายในตกึ ตามปกตแิ ลว ทสี่ าธารณะตา งๆ กต็ อ งทาํ การตรวจดว ย ซงึ่ สถานทเ่ี หลา น้ี
ก็ใหค วามสนใจของผลู อบวางระเบิดเชนกัน เนอ่ื งจากมีโอกาสอยางมากที่จะไมไดรับการตรวจคน เลย
นอกจากน้ันการตรวจคนควรจะตรวจหองพักผอน บันได หองน้ํา หองท่ีใชประโยชนอื่นๆ ตู
หองควบคุมไฟฟา หองควบคุมโทรศัพท หองควบคุมพลังงานตางๆ เปนตน ลิฟตโดยปกติ
มกั มปี ญ หาและตอ งใหค วามสนใจเปน พเิ ศษ โดยเรมิ่ ทาํ การตรวจทหี่ อ งควบคมุ การทาํ งานของมอเตอร
การเคลื่อนไหวของตัวลิฟต ตรวจภายในหองลิฟตหลังคา ดานขาง พื้นและระบบการเคล่ือนไหว
ของตัวลฟิ ตจะตอ งมคี วามปลอดภยั ท่สี ดุ เทา ท่จี ะทําได

๑๙

๖.๖ เสนทางขบวนรถยนตกอนที่บุคคลสําคัญจะผานเสนทางที่กําหนดไวควรจะมี
การสํารวจเสนทางเหลาน้ันกอน เพราะตามเสนทางนั้นอาจมีการวางระเบิดได สําหรับเสนทางท่ี
บคุ คลสาํ คญั จะผา นจะตอ งมมี าตรการรกั ษาความปลอดภยั อยา งสงู ทกุ จดุ บนถนนจะตอ งไมม สี งิ่ กดี ขวาง
อยา งนอ ย ๑๕ นาที กอ นทบี่ ุคคลสําคญั จะไปถงึ

๖.๗ สนามกอลฟ การตรวจคนระเบิดสนามกอลฟตามปกติจะปฏิบัติเชนเดียวกับ
การสํารวจในตัวอาคารอื่น ๆ กอนที่บุคคลสําคัญจะเดินทางมาถึง พ้ืนที่ทุกตารางน้ิวที่บุคคลสําคัญ
จะตองผานในชวงระยะเวลาหน่ึงจะตอ งมกี ารตรวจกอน

๖.๘ สถานท่ีอ่ืนๆ อีกหลายแหงที่บุคคลสําคัญจะตองเดินทางไป ซึ่งสามารถ
คาดการณไวว าเหตกุ ารณร า ยจะเกดิ ข้นึ เมื่อใด ชดุ ตรวจคน ตองไปปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ามกระบวนการตา งๆ
เพ่ือเตรียมไวสําหรับเหตุการณท่ีอาจจะเกิดขึ้น อยางไรก็ตามการตรวจคนน้ันควรจะคลุมถึงทุกพื้นท่ี
ซึ่งบุคคลสําคัญพํานักอยูรวมท้ังสถานท่ีใกลเคียงโดยรอบ ทั้งนี้ตองพิจารณาถึงความเหมาะสม
และเวลาที่เอื้ออํานวยดวยเทคนิคในการตรวจคนและตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับ
สถานทอ่ี ยา ใชเจาหนาท่รี กั ษาความปลอดภัยชุดอน่ื ๆ เพราะการตรวจคนจาํ เปน อยางยงิ่ ทจี่ ะตองใช
เจาหนาท่ีทางเทคนิคโดยเฉพาะ ซ่ึงจะตองเปนผูมีความเชี่ยวชาญทางดานเทคนิคเปนพิเศษ
นอกเหนอื ไปจากเจา หนาที่รักษาความปลอดภยั อ่นื

¡ÒÃμÃǨÊͺ¡ÒÃสาํ ÃǨŋǧ˹ŒÒáÅСÒÃμÃǨ¤¹Œ àÊÃç¨ÊéÔ¹

๑. การตรวจสอบความปลอดภัยในหองพัก
๒. กอนเขาหองที่จะทําการตรวจคน หัวหนาชุดจะตองแบงหองออกเปนสวนๆ
และมอบหมายความรับผดิ ชอบใหก ับเจาหนา ทีป่ ฏิบัติงานในแตล ะสว นนน้ั
๓. การปฏิบัติท่ตี อ งเริ่มตั้งแตป ระตูและเดินสาํ รวจรอบๆ หอง
๔. ใหแบงแตละสวนนั้นออกเปนสวนยอยๆ อีกครั้งหน่งึ เชน สวนท่ีเหนือหรือตํ่ากวา
ระดับไหล เพดาน และพ้นื หอง อาจจะแบง เปน ๒, ๓ หรือ ๔ สว นกไ็ ดต ามความจําเปน การทาํ วิธีนี้
เพอ่ื ทีจ่ ะใหเ จา หนา ทีแ่ ตล ะคนไดตรวจเปนไปตามลําดบั ข้ันตอนและหวั หนาชดุ จะสงั เกตไดง าย
๕. เม่ือไดทําการตรวจสอบและพิสูจนความปลอดภัยแลว เฟอรนิเจอรควรจะพิงไวกับ
ขางฝาหรือตัง้ กลับหัว เพื่อแสดงใหเ หน็ วา ไดทาํ การตรวจแลว
๖. ตรวจสอบเทา แขน ทกี่ นั ฝนุ ที่นงั่ พนักพงิ ฯลฯ ของเฟอรน เิ จอรท ุกชิน้ การตรวจนี้
ไมเพียงตรวจวัตถุระเบิดหรือเครื่องดักฟงทางเสียงเทานั้น แตจะตองตรวจสิ่งที่เปนเข็มที่แทงทะลุ
เครอ่ื งเรอื นหรอื สปรงิ ทเี่ สยี ดว ย
๗. ส่ิงของทุกอยางภายในหองจะตองทําการเคล่ือนยายในระหวางทําการตรวจคน
เพอื่ ใหแ นใ จวา ไมม สี ายไฟทน่ี อกเหนอื จากความจาํ เปน ฯลฯ ซงึ่ อาจตอ ระหวา งเฟอรน เิ จอรก บั พนื้ หอ ง
๘. อยาเคล่ือนยายสิ่งของใด ๆ จนกวาจะไดตรวจสอบโดยรอบเพ่ือทําเครื่องหมาย
ของท่นี า จะมีปญ หาเสียกอน

๒๐

๙. ตรวจคนสิ่งของท่ีนา จะมีปญ หา เชน
๙.๑ ตะเขบ็ ผาคลุมเฟอรนิเจอร ลวดสปริง เตียงนอนหรอื ที่นอนมีชายชาํ รุด
๙.๒ มีรอยซอมหรอื ทาสใี หมทบี่ รเิ วณฝาผนงั หรอื พน้ื หอ ง ฯลฯ
๙.๓ มีเคร่อื งหมายแสดงวา ไดร บั การซอมแซมหรือมีสิง่ ของทดแทนของเดิม
๙.๔ พ้ืนทีม่ หี ลมุ หรอื พรมถูกเคลือ่ นยายใหม
๙.๕ เฟอรน เิ จอรเปยกช้นื หรือมีรอยดางหรอื มกี ล่ินเหมน็

๑๐. อยา ตรวจขา มพ้ืนท่ีใด ๆ ใหตรวจสอบทกุ อยา งทพี่ บเหน็
๑๑. ไฟทุกดวง เครื่องปรับอากาศ โทรศัพท ฯลฯ ควรจะไดผานการตรวจอยางถี่ถวน
และจะตองแนใจวาเม่อื เปด สวติ ชไ ฟแลว จะไมม อี ันตรายใด ๆ เกิดขึน้
๑๒. ตะปคู วบตามรอยตอ ของขอบประตหู นา ตา งชาํ รดุ หรอื ไม ทาํ การตรวจสอบและซอ ม
ทันทเี มื่อชํารดุ
๑๓. รอยตอตามผนังหองวาตรวจสอบวิธีการเปดไฟหรือใชตะเกียงเพื่อทดสอบตาม
มุมหองวามีแสงไฟลอดหรือไม ถามีการแสดงวามีการชํารุด ซึ่งการตรวจดวยวิธีน้ีจะดีกวาการตรวจ
ดว ยตาเปลา
๑๔. ถอดแผงไฟตาง ๆ ออกเพื่อตรวจเชค็ ดานหลัง
๑๕. ตรวจสอบผาขนสตั วใ นโซฟา โดยใชน้วิ มือกดตามสวนตา ง ๆ
๑๖. ตรวจสอบเครอื่ งตกแตง ผา มา น โดยใชปลายนิว้ กดเบา ๆ และดึงออกจากผนงั แลว
ตรวจดา นหลงั
๑๗. เปดล้ินชักและประตูทั้งหมด โดยบางกรณีอาจเปดล้ินชักดวยเชือกซ่ึงข้ึนอยูกับ
เหตุการณ
๑๘. ตรวจสอบรูปถายและกรอบรปู เพ่อื หาชอ งหรอื รตู างๆ ทงั้ หมด
๑๙. เพ่ือความสะดวกสบายอาจใชเ ครื่องตรวจคนโลหะสาํ หรบั เฟอรนเิ จอรและฝาผนัง
๒๐. ชองระบายอากาศ ทางเดิน จะตอ งตรวจจุดที่จะผา นไปประตหู อ ง
๒๑. กญุ แจและเครือ่ งกลไก จะตองตรวจอยางระมัดระวงั
๒๒. พรมทช่ี าํ รดุ แลว ทงิ้ หรอื สงิ่ ใดๆ ทอี่ าจเปน อนั ตรายตอ บคุ คลสาํ คญั ไดร บั บาดเจบ็ ได
ควรจะนาํ ไปไวท ่อี น่ื หรือตองตรวจสอบความปลอดภัยเปน อยา งดี
๒๓. กอนที่จะทําการตรวจในพ้ืนที่หรือหองใดๆ จะตองยึดถือหลักความปลอดภัย
และพยายามตรวจคนวามอี ะไรทพี่ อจะกันอันตรายทอ่ี าจถงึ แกช ีวติ ได เม่ือพบใหน ําไปไวท ที่ ปี่ ลอดภัย
สูงสดุ ของพืน้ ทนี่ ้นั ตัวอยางเชน นาํ แผนยางไปไวท ีอ่ า งอาบนา้ํ เปนตน
๒๔. การตรวจสอบเครอ่ื งดกั ฟง ทางเสยี ง ถา เวลาอาํ นวยและสถานการณบ บี บงั คบั ควรตอ ง
ปองกันการลักลอบดักฟงทางเสียงของฝายตรงขามในพื้นที่นั้นๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงถาบุคคลสําคัญ
จะตอ งพกั อยใู นพนื้ ทนี่ น้ั ในบางเวลาและบางครงั้ จะใชเ ปน ทปี่ ระชมุ ลบั เจา หนา ทเ่ี ทคนคิ จะตอ งตรวจเชค็
ดวยเคร่ืองมอื ปอ งกนั การลอบฟงอยางละเอยี ด อยางไรกต็ ามชดุ ระวงั ปอ งกนั ควรจะตอ งทาํ การตรวจ
อีกครั้งหน่งึ เพื่อความแนใ จตามภารกจิ ของตน

๒๑

(¼§Ñ ÀÒ¾·èÕ ñ)

๒๒

(¼§Ñ ÀÒ¾·èÕ ò)

๒๓

º··èÕ ô

¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Å

ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤

เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจรูประเภทบุคคลและมีทักษะสามารถปฏิบัติการรักษา
ความปลอดภัยบคุ คลไดอยางมีประสิทธภิ าพ

กรณบี คุ คลสาํ คญั จะตอ งเดนิ ทางออกจากทพี่ กั หรอื ทที่ าํ งาน เจา หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั
จะตอ งรบั ผดิ ชอบความปลอดภยั ของบคุ คลมใิ หเ กดิ ภยนั ตรายใด ๆ ขนึ้ ทง้ั ในระหวา งเดนิ ทาง การปฏบิ ตั ิ
ภารกจิ จนกระทงั่ เดนิ ทางกลบั ดงั นน้ั เพอื่ ความแนใ จจงึ จาํ เปน อยา งยง่ิ จะตอ งสง เจา หนา ทไ่ี ปยงั สถานที่
ที่บุคคลสาํ คญั จะไปเปน การลวงหนา เพ่อื ดําเนนิ การทางดานการรักษาความปลอดภัยและเตรยี มการ
ในเรอื่ งท่ีจําเปนอนื่ ๆ

μ͹·èÕ ñ »ÃÐàÀ·º¤Ø ¤Åสํา¤ÑÞ
บุคคลสําคัญตามคูมือน้ี คือ บุคคลท่ีมีความสําคัญยิ่งในทางราชการ ซึ่งตองใหความ
คมุ ครองใหเหมาะสมกับฐานะ สถานที่ และเวลา อนั ไดแก
๑. พระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท ผูสําเร็จราชการแทนพระองค
พระบรมวงศานวุ งศ ผแู ทนพระองค และพระราชอาคนั ตกุ ะ
๒. ประธานองคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานรฐั สภา และประธานศาลฎีกา
๓. สมเด็จพระสงั ฆราช และผนู าํ ทางศาสนาอื่น
๔. ประมุขรัฐตางประเทศ ผูนํารัฐบาลตางประเทศ เลขาธิการองคการสหประชาชาติ
แขกของรฐั บาล และหัวหนา คณะทูตตา งประเทศประจาํ ประเทศไทย
๕. บุคคลสาํ คญั ทางทหารตามทกี่ ระทรวงกลาโหมกาํ หนด
๖. บคุ คลอ่ืนทเี่ ดนิ ทางเยอื นประเทศไทย และหัวหนาสว นราชการท่ีเกี่ยวขอ งรองขอ
๗. บคุ คลสําคัญตามคาํ สง่ั ของนายกรัฐมนตรี

μ͹·Õè ò ÊÒàËμآͧ¡ÒûÃзÉØ ÃŒÒ (Causes of Assassination)
ñ. ÊÒàËμ·Ø Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ (Political Causes)

๑.๑ เกิดจากกลุมคนท่ีคลั่งอุดมการณ มีความตองการที่จะเปล่ียนแปลง
การปกครองใหมหรือเปลี่ยนรัฐบาลใหม กลุมคนเหลานี้มักจะใชวิธีการประทุษราย เพื่อใหบรรลุ
เปาหมายท่ตี องการ

๑.๒ บุคคลสําคัญที่เปรียบเสมือนตัวแทนของรัฐบาล มักจะตกเปนเปาหมายของ
ผปู ระทษุ รายเพราะเชอื่ วาเปนสาเหตขุ องการบบี คั้น การกดข่ตี า ง ๆ

๒๔

๑.๓ ผปู ระทษุ รา ยทหี่ วงั จะลม ลา งรฐั บาลทมี่ อี ยู เพอ่ื จดั ตง้ั รฐั บาลใหมข น้ึ กม็ กั จะเปน
สาเหตหุ นง่ึ ท่ีทําใหเกดิ การประทุษรายข้นึ เปน สวนใหญ

ตัวอยา ง : การลอบสงั หารประธานาธบิ ดี Augusto Pinochet แหง ประเทศชลิ ี
เมื่อวันท่ี ๗ กันยายน ๑๙๘๖ ในขณะที่กําลังเตรียมตัวจะกลาวคําปราศรัยในการหาเสียงสําหรับ
การเลือกต้ังประธานาธบิ ดคี ร้ังตอ ไป

: การลอบสังหารประธานาธิบดี Ranasighe Premadasa
แหงประเทศศรีลังกา เม่ือวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๑๙๙๓ โดยผูที่ทําการสังหารไดนําระเบิดติดตัวไว
และไดร ะเบิดข้ึน มผี ูเสียชวี ิต ๒๓ คน บาดเจ็บ ๒๖ คน (สวนมากเปนเจาหนา ที่รกั ษาความปลอดภัย
ของประธานาธบิ ดที ีเ่ สยี ชวี ิต)

ò. ÊÒàËμãØ ¹·Ò§àÈÃÉ°¡¨Ô (Economics Causes) ในกรณที ่ฝี ายตรงขา มมคี วามคิด
วาบุคคลท่ีเปนเปาหมายของตน เปนสาเหตุของสภาวะทางเศรษฐกิจตกต่ํา ทําใหเกิดผลกระทบตอ
ประเทศชาติ ตอ กลุม คนใดกลุมคนหน่ึง

ตัวอยาง : ความพยายามลอบสังหารอดีตรัฐมนตรีตางประเทศ George Shultz
เมอื่ วันท่ี ๘ สิงหาคม ๑๙๘๘ ในโบลเิ วีย เนอ่ื งจากแผนการในการกําจัดยาเสพตดิ ของรัฐมนตรผี นู ี้

ó. ÊÒàËμ·Ø Ò§´ŒÒ¹ÍØ´Á¡Òó (Ideological Causes)
๓.๑ สาเหตุอันเนื่องมาจากความเช่ือทางศาสนาหรือสังคมฝายตรงขามคิดวา

ถา ตนเองสามารถเปลยี่ นระบบทม่ี อี ยขู ณะนน้ั ได โดยการประทษุ รา ยบคุ คลสาํ คญั ทางศาสนา จะทาํ ให
มกี ารเปลยี่ นแปลงทางศาสนาได

๓.๒ การพิพาทระหวางกลุมเช้ือชาติและเผาพันธุ ก็อาจเปนตนเหตุของ
การประทษุ รายไดเน่อื งจากการตอ สกู ันระหวา งกลมุ เพ่อื แยง ชงิ อาํ นาจกนั

ตัวอยาง : ประธานาธิบดี อันวา ซาดัด ถูกลอบสังหาร เพราะการโคนกลุม
ชาวอิสลามหวั รุนแรงในอียปิ ต เมือ่ ๖ ตลุ าคม ๑๙๘๑ ขณะชมพธิ สี วนสนามเพอื่ แสดงแสนยานภุ าพ
เนื่องในวนั ครบรอบ ๘ ป ของ “The crossing”

ô. ÊÒàËμØ·Ò§´ŒÒ¹¨ÔμÇÔ·ÂÒ (psychological Causes) คือ บุคคลที่ไมสมประกอบ
สตฟิ น เฟอ น การขาดความมนั่ คงทางอารมณห รอื อยากเปน ผทู มี่ ชี อ่ื เสยี งโดง ดงั เปน สาเหตทุ ที่ าํ ใหเ กดิ
การลอบสงั หารเกดิ ข้นึ

ตวั อยาง : การพยายามลอบสงั หารประธานาธบิ ดี Ronald Reagan โดยนาย John
Hinkley Jr”

ตัวอยาง : การลอบสงั หารประธานาธิบดี John F kennedy โดยนาย Lee Harvey
Oswald

õ. ÊÒàËμØ·Ò§´ŒÒ¹Ê‹Ç¹μÑÇ (Personal Causes) เปนความเกลียดชังกันเปน
การสว นตัวอาจเกิดจากความริษยาหรือความโกรธแคน เปน การสว นตัว

๒๕

ตัวอยาง : การลอบสังหาร นายยิตซฮัก ราบิน นายกรัฐมนตรีของอิสราเอล
โดย นายยกิ ลั ป อามีร เพื่อหยุดยง้ั ขบวนการสนั ติภาพตะวันออกกลาง

ö. ÊÒàËμبҡ¡ÒÃä´ÃŒ ºÑ ¨ŒÒ§ (Mercenary Causes) เปนการกระทําการประทษุ ราย
บคุ คลสาํ คญั เพอ่ื ใหไดมาซึ่งเงิน

ตวั อยา ง : การพยายามลอบสังหาร นาย Benito Mussolini ผูลอบสงั หารไดถกู
วาจางดวยเงิน ๕๐,๐๐๐ เหรียญสหรัฐ โดยลัทธิชาตินิยมของรัฐบาลในอิตาลี ซึ่งเขาสามารถสังหาร
ไดส ําเรจ็

÷. ÊÒàËμ¨Ø Ò¡¡Òö١º§Ñ ¤ºÑ ¢‹Ùà¢çÞ (Black Mail Causes) ดว ยวิธีใดกต็ ามทีบ่ คุ คล
ผูน้นั จาํ เปน ที่จะตอ งปฏบิ ตั ติ าม

μ͹·Õè ó ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§ÊÇ‹ ¹ÃÒª¡ÒÃ
๑. สวนราชการเจาของเร่ือง รับผิดชอบจัดใหมีการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ
ภายในขอบเขตและความเหมาะสม โดยดาํ เนนิ การดงั นี้

๑.๑ ขอรับการสนับสนุนการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญตอสวนราชการ
ที่มีหนา ทีใ่ นการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาํ คัญ

๑.๑.๑ สํานกั งานตาํ รวจสนั ติบาล สํานกั งานตาํ รวจแหงชาติ
๑.๑.๒ กรมราชองครักษ
๑.๑.๓ ศนู ยรกั ษาความปลอดภยั กองบญั ชาการทหารสูงสดุ
๑.๑.๔ สํานักขา วกรองแหง ชาติ
๑.๑.๕ สว นราชการทกี่ ระทรวงกลาโหมกําหนด
๑.๒ จัดเจา หนา ท่ีประสานงานการรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสําคัญ
๑.๓ จดั เตรยี มงบประมาณเพอื่ สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของสว นราชการทเ่ี กย่ี วขอ ง
๑.๔ ขอความรวมมือจากบุคคลสําคัญเก่ียวกับขาวสารและการปฏิบัติท่ีเปน
ประโยชนตอการรกั ษาความปลอดภยั
๑.๕ ใหก ารสนบั สนนุ อนื่ ๆ ทจี่ ําเปนเมอื่ ไดรับการรอ งขอ
๒. สวนราชการมีหนาท่ีในการรกั ษาความปลอดภัยบคุ คลสาํ คญั รับผดิ ชอบดําเนนิ การ
ดังนี้
๒.๑ รวบรวมและวิเคราะหขาวสารที่อาจมีผลกระทบกระเทือนตอการรักษา
ความปลอดภัยบุคคลสาํ คัญ โดยประสานงานกบั สว นราชการท่ีเกย่ี วของในดา นการขาวกรองทีจ่ ําเปน
เพอื่ ประเมนิ ภยนั ตรายท่ีอาจเกิดขึ้น
๒.๒ จัดทําแผนและกําหนดมาตรการในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ
ตามความเหมาะสม

๒๖

๒.๓ จัดเจาหนาท่ีชุดอารักขาอาวุธ ยานพาหนะ และส่ิงอุปกรณท่ีใชในการรักษา
ความปลอดภยั บุคคลสําคญั ตามความเหมาะสม

๓. สวนราชการเจา ของพ้ืนที่ ซ่งึ ใหก ารตอนรับบุคคลสาํ คญั รบั ผิดชอบดําเนินการรกั ษา
ความปลอดภัยในเขตพ้ืนท่ีท่รี ับผดิ ชอบ

๔. ใหองคการรักษาความปลอดภัยชวยเหลือ ประสาน และอบรมชี้แจง เก่ียวกับ
มาตรการในการรกั ษาความปลอดภัยบคุ คลสําคัญแกสว นราชการตามที่ไดรบั การรองขอ

μ͹·Õè ô á¹Ç·Ò§¡ÒûÃÐÊÒ¹¡Òû¯ÔºμÑ Ô㹡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åสาํ ¤ÞÑ
๑. การถวายความปลอดภัย ตามพระราชบญั ญัติการถวายความปลอดภยั พ.ศ.๒๕๕๗
๒. การประสานงานระหวางสวนราชการในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ
ตอ งใหมีเอกภาพในการบงั คบั บัญชา โดยยดึ หลกั ปฏบิ ัตดิ งั น้ี

๒.๑ ในกรณที ม่ี หี ลายสว นราชการ ทม่ี หี นา ทใี่ นการรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั
รวมกันใหจัดต้ังกองอํานวยการรวมในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ โดยใหผูอํานวยการ
รวมเปนผรู บั ผิดชอบ มีอาํ นาจหนาท่บี ังคบั บญั ชาในการรักษาความปลอดภยั บุคคลสําคญั

๒.๒ ในระหวางการปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ หากมีเหตุการณ
ฉุกเฉินซึ่งอาจกระทบตอบุคคลสําคัญโดยฉับพลัน ใหหัวหนาชุดอารักขาบุคคลสําคัญน้ันมีอํานาจ
สัง่ การในการปฏบิ ัติเพื่อแกไ ขสถานการณเฉพาะสว นนั้นไดท นั ที

๒.๓ สวนราชการเจาของพ้ืนท่ี ซ่ึงใหการตอนรับบุคคลสําคัญ ประสานการปฏิบัติ
กบั กองอาํ นวยการรวมอยา งใกลชิด

๓. ใหสวนราชการที่เกี่ยวของในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ จัดทํารายงาน
การปฏบิ ตั ิเม่ือเสรจ็ ส้นิ การปฏบิ ตั ิ

¡ÒÃสาํ ÃǨÅÇ‹ §Ë¹ŒÒáÅСÒÃμÃǨ¨ºÑ

μ͹·èÕ ñ ¡ÒÃสาํ ÃǨŋǧ˹ŒÒ
๑. ชุดสวนลวงหนา (Advance Team) เปนสวนหน่ึงของชุดรักษาความปลอดภัย
มีหัวหนาชุดลวงหนาเปนผูรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจ โดยเปนผูตรวจสอบผลการปฏิบัติของ
ชุดสํารวจลวงหนาท้ังหมดในพื้นท่ี ชุดลวงหนานี้จะตองไปถึงที่หมายกอนท่ีบุคคลสําคัญจะไปถึง
อยางนอย ๒ ชั่วโมง โดยท่ีตองแนใจวาพื้นที่นั้นปลอดภัยกอนท่ีจะใหชุดปฏิบัติการติดตามและ
บุคคลสําคญั เขามาในพนื้ ที่นั้น
๒. ขอพิจารณาในการจัดวางกําลังชุดสวนลวงหนา เจาหนาท่ีชุดสวนลวงหนาจะตอง
พิจารณาถึง

๒.๑ ทราบกาํ หนดเวลาทเ่ี จา หนา ทรี่ กั ษาความปลอดภยั ประจาํ สถานทต่ี อ งวางกาํ ลงั
ตามจดุ ตางๆ ท่กี าํ หนดไว เพอ่ื รกั ษาความปลอดภยั สถานทน่ี ัน้ ๆ

๒๗

๒.๒ กําหนดใหทีมเก็บกูวัตถุระเบิด (EOD) มาทําการตรวจสอบท่ีหมายตางๆ
ในพืน้ ที่

๒.๓ การควบคมุ ฝูงชน สื่อมวลชน
๒.๔ จัดเจาหนาที่ตรวจสอบบัตรเชิญของแขกหรือบัตรแสดงตนของสื่อมวลชน
กอ นเขา ไปในพื้นที่
๒.๕ มคี วามจาํ เปน ท่ีจะตองใชเ ครือ่ งมอื คนโลหะหรอื ซุม ตรวจโลหะ (Gate Way)
หรอื ไม
๒.๖ มแี ผนสําหรับหลบหนีฉกุ เฉิน โดยทาง ฮ.หรือไม ถา มีใชสถานท่ีใด มที ส่ี ําหรบั
จอด ฮ. หรอื ไม นักบินเคยลงท่ีจดุ นั้นหรอื ไม
๓. การตรวจสอบพื้นฐานของเจาหนาที่ชุดสวนลว งหนา
๓.๑ พบและประสานงานกบั เจาหนาท่ีของพนื้ ทีน่ ้ัน ๆ หรือพบกบั เจา หนา ทร่ี ักษา
ความปลอดภยั ในพืน้ ทนี่ ้ัน ๆ ประสานข้ันตอนตา ง ๆ ท่บี ุคคลสําคญั จะตอ งปฏิบตั ิต้งั แตม าถงึ จนกลับ
ซ่ึงมหี ัวขอตาง ๆ ดังน้ี

๓.๑.๑ มีภัยคกุ คามใด ๆ ในการมาเยอื นครงั้ นีบ้ า งหรอื ไม
๓.๑.๒ มสี ื่อมวลชนรว มดวยหรอื ไม
๓.๑.๓ ในพน้ื ท่ีน้ีมีสิง่ ใดท่อี าจเปน ภัยตอบคุ คลสาํ คัญได
๔. กําหนดเสนทางมายังพื้นที่น้ัน ๆ และกําหนดจุดวางกําลังของเจาหนาท่ีรักษา
ความปลอดภัยประจาํ สถานท่ี
๕. จัดทําแผนเผชิญเหตุที่นาจะเกิดขึ้น ตั้งแตลงจากรถเขามาทักทายการปฏิบัติตาม
กําหนดการจนกระทั่งกลบั ออกจากพ้ืนทีน่ ัน้
๖. กาํ หนดจดุ จอดของรถขบวนเมือ่ มาถึง รวมทั้งทจ่ี อดคอยของขบวนรถทั้งหมด
๗. กาํ หนดหอ งรบั รอง หอ งทปี่ ลอดภยั ของบคุ คลสาํ คญั และตอ งทราบหมายเลขโทรศพั ท
ของหองท่นี ้ันดว ย
๘. สาํ รวจหอ งนา้ํ วามอี ยทู ่ใี ดบาง เปน หอ งน้ํารวมหรือไม
๙. จุดสําหรับจอดรถฉุกเฉินและเสนทางท่ีจะพาบุคคลสําคัญไปยังรถฉุกเฉิน
อยางปลอดภัย
๑๐. จัดเจาหนาท่ีในการล็อกลิฟตไวสําหรับบุคคลสําคัญ และเสนทางที่จะไปยังบันได
สาํ รอง สําหรับขนึ้ ลงวาอยทู ่ีใด
๑๑. ตรวจสอบเรือ่ งเครือ่ งมอื ดบั เพลิงในสถานทีน่ ั้น
๑๒.จดั ใหก ารตรวจสอบสถานทโ่ี ดยชดุ ตรวจคน วตั ถรุ ะเบดิ ซง่ึ ตอ งรวมถงึ มาตรการในการ
ตรวจหีบหอ ของขวัญและสงิ่ ของท่จี ะมอบใหก ับบคุ คลสาํ คญั ตลอดจนตรวจอปุ กรณถ ายภาพของ
๑๓.เตรยี มมาตรการในเรอื่ งการรักษาความปลอดภยั ของส่ือมวลชน
๑๔.ทาํ การตรวจสอบประวตั ิเจาหนา ท่ี ลกู จาง คนงาน ในสถานทนี่ นั้

๒๘

μ͹·èÕ ò ¡ÒÃสําÃǨʶҹ·Õ袹éÑ μŒ¹
๑. บริเวณที่ขบวนรถมาถึงพืน้ ท่เี ปนอยางไร
๒. ขบวนรถจะจอด ณ ท่ีใด
๓. ใครเปน เจา หนา ทที่ จ่ี ะตอ งรบั ขบวนรถ และปอ งกนั รกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั
และคณะในระหวา งการเยือนในพ้ืนท่นี ั้น
๔. เสน ทางที่ใชใ นการเดินเขาสตู วั อาคารคอื เสนทางใด
๕. การขึน้ ลิฟตข ้นึ ไดครงั้ ละกีค่ น
๖. การตรวจสอบคร้ังแรกกอ นใชจะตองตดิ ตอกับใคร
๗. หองนํา้ ทใ่ี กลท ่สี ุด สาํ หรับบคุ คลสําคัญจะใชไ ด
๘. โทรศัพทท ี่ใกลท สี่ ุดท่ีบุคคลสําคญั จะใชไ ด
๙. หองที่ใกลท สี่ ดุ ที่บคุ คลสําคญั จะใชป ระชมุ ลบั ไดอ ยทู ไี่ หน
๑๐. หอ งน้ําสตรที ใ่ี กลทีส่ ดุ สําหรับสตรีทีร่ วมคณะเดินทาง
๑๑. เครื่องมือดับเพลิงท่ใี กลท่ีสุดอยทู ไ่ี หน เปน แบบอะไร
๑๒. สถานทด่ี บั เพลิงทใ่ี กลท ี่สุดอยทู ไ่ี หน หมายเลขโทรศพั ทอ ะไร
๑๓. อาคารนนั้ ๆ มีระบบเตือนอัคคภี ยั หรือไม
๑๔. โรงพยาบาลทใี่ กลท่ีสดุ อยทู ี่ไหน หมายเลขโทรศัพทอะไร
๑๕. สถานีตํารวจท่ใี กลท่ีสดุ อยทู ีไ่ หน หมายเลขโทรศัพทอะไร
๑๖. เสน ทางออกทเ่ี ปนเสนทางหลกั และเสนทางรองเปน อยางไร
๑๗. เวลาในการเยือนรวมถงึ การปราศรยั นานเทา ใด
μ͹·èÕ ó ¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ
ñ. ¡Ò䌹ËÒáÅСÒÃμÃǨÊͺ เปนมาตรการสวนหนง่ึ ของการระวงั ปองกนั และรกั ษา
ความปลอดภัย ซึ่งเปนส่ิงสําคัญท่ีจะตองปฏิบัติเปนอันดับแรกกอนการปฏิบัติอื่นๆ การจัดลําดับ
ขั้นตอนในการคนหาและตรวจสอบจะตองจัดใหมีข้ึน เพื่อใหการปฏิบัติเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
และเพือ่ ใหแนใ จไดวา การตรวจสอบทกุ พ้นื ทมี่ ิไดละทิ้งพ้ืนท่ใี ดพ้นื ที่หน่งึ
ò. ¡ÒèѴªØ´μÃǨ¤Œ¹ ชุดตรวจคนที่เหมาะสมเปนส่ิงสําคัญมากของการปฏิบัติ
การตรวจคน ประกอบดวย

๒.๑ หัวหนาชุด เปนผูรับผิดชอบในการตรวจคน ซึ่งโดยปกติแลวไมตองทําหนาท่ี
ในการตรวจคนเอง เพียงแตทําการแบงมอบพื้นที่ตรวจและรับผิดชอบกํากับดูแลการปฏิบัติงาน
ของเจาหนาที่ภายในชุด โดยจะอยู ณ พื้นท่ีซ่ึงสามารถสังเกตการณปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีตรวจ
ไดอยางใกลชิด เมื่อเจาหนาที่ตรวจพบสิ่งที่นาสงสัยใหหัวหนาชุดส่ังคนอื่นหยุดตรวจในขณะที่ผูพบ
กําลงั ตรวจสอบ เม่ือทราบแนแลว วา สิง่ ทพี่ บไมมีอนั ตรายกไ็ ดด าํ เนินการตรวจตอ ไป แตถายังไมแนใจ

๒๙

ใหนําเจาหนาที่ท้ังหมดออกจากพ้ืนที่น้ัน โดยรองขอเจาหนาท่ีเก็บกูวัตถุระเบิดมาทําการชวยเหลือ
เมอ่ื เจาหนา ท่ีชดุ น้ีทาํ งานเสรจ็ เรยี บรอ ยแลว เจาหนาท่ีตรวจกจ็ ะเขาทําการตรวจตอ ไป

๒.๒ เจาหนาท่ีประจําชุด เจาหนาที่แตละคนใหปฏิบัติการตรวจในพื้นท่ีท่ีไดรับ
มอบหมายและตอ งไมเ ปลยี่ นพนื้ ทน่ี อกจากจะไดร บั คาํ สงั่ โดยตรงจากหวั หนา ชดุ ความมงุ หมายเพอื่ มใิ ห
เจาหนาท่ีทุกนายตองทําการตรวจโดยรอบหอง หลีกเล่ียงการตรวจซํ้าซอนกับคนอื่น หรือหลงพื้นที่
ยงั ไมไ ดร บั การตรวจอนั เนอื่ งจากการตรวจทซ่ี าํ้ ซอ นกนั อกี ประการหนง่ึ จะทาํ ใหภ ายในหอ งมเี จา หนา ท่ี
เกนิ ความจําเปน และเปนการยุงยากในการควบคุมสงั เกตการณข องหวั หนาชดุ

ó. ¡ÒÃμÃǨÊͺ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ
๓.๑ สํารวจหาขอมูลลวงหนาเทาที่จะทําไดวา บุคคลสําคัญจะเขาไปสถานที่ใด

แนน อนโดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในบริเวณทสี่ าธารณะ
๓.๒ ถาเปนไปไดพยายามสํารวจหาสถานท่ีรับรองสํารอง เพื่อสามารถที่จะ

เปลี่ยนแปลงได ถาสถานทร่ี ับรองจริงไมเ หมาะสมหรือมีอันตราย
๓.๓ ชแ้ี จงผแู ทนของบรษิ ทั หา งรา น หรอื หมคู ณะ ทไี่ ดจ ดั เตรยี มหอ งรบั รองไวใ หก บั

บคุ คลสําคญั ใหน าํ สง่ิ ของท่ไี มจําเปน ทกุ อยา งออกจากหอ งรับรองไปไวท อ่ี ื่น เชน
๓.๓.๑ ตอ งไมมีสง่ิ ของใด ๆ ในโตะ และตทู ่ีมีลิ้นชักและล้นิ ชกั ตอ งเปด ทง้ิ ไว

ลน้ิ ชักเก็บเอกสารและสง่ิ ท่ไี มจาํ เปนอ่ืน ๆ ควรนาํ ออกจากหอง
๓.๓.๒ จะตองใหเปดไฟทุกดวง เคร่ืองปรับอากาศทุกตวั และเครือ่ งใชไ ฟฟา

อื่น ๆ ไวแ ละสิง่ ที่ปกปด ใหเ ปดออกไว
๓.๓.๓ ที่นอนควรเปดผาปูที่นอนออก และเฟอรนิเจอรก็ควรถอดปลอก

ออกดว ยพรอมท้งั ใหเ ลอื่ นเฟอรน ิเจอรเหลานใ้ี หหางจากกาํ แพง
๓.๓.๔ หนงั สือ หบี รูปปนแกะสลัก ฯลฯ ควรจะนาํ ออกจากหอ ง
๓.๓.๕ จะตองทําใหงายและรวดเร็ว ในการเคลื่อนยายสิ่งของออกจากหอง

ทงั้ หมดและเพิม่ เตมิ ส่งิ ท่ีตองการหลงั จากตรวจความปลอดภยั เรียบรอ ยแลว
๓.๔ ในพื้นท่ีหนึ่ง ๆ จะตองไดรับการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยเสมอ

อาจกระทําดวยสายตาหรือเครือ่ งมอื เทคนิคก็ได
ô. ¡Ò䌹ËÒÇμÑ ¶ÃØ ÐàºÔ´μÒÁʶҹ·èÕμÒ‹ § æ
การคน หาวตั ถรุ ะเบดิ ควรจะไดก ระทาํ ขนึ้ ในทกุ ๆ พนื้ ทกี่ อ นทบ่ี คุ คลสาํ คญั จะเดนิ ทาง

มาถึง ถามีเวลาไมมากนักจะทําการตรวจคนเฉพาะพื้นท่ีที่บุคคลสําคัญจะพํานักและแบงเวลา
ไปทําการตรวจพ้ืนท่ีใกลเคียงท่ีพํานักของบุคคลสําคัญ การแบงเวลานี้จําเปนตองจัดแบงใหมีความ
เหมาะสม เนื่องจากผูลอบวางระเบิดเปนผูมีความชํานาญในการวางอยางลึกซ้ึง ดังนั้นเจาหนาท่ี
ตองมีเวลามากพอสมควรท่ีตองทําการตรวจใหไดอยางละเอียด และขณะที่ทําการตรวจคนน้ัน
เจาหนา ที่ตองคาํ นึงถงึ การรกั ษาความปลอดภยั ใหตวั เองดว ย

๓๐

ô.ñ ¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹âçáÃÁËÃÍ× ·Õ¾è Ñ¡Í×è¹ æ การตรวจคน ภายในหองพกั ของโรงแรม
อาจตองประกอบดวยเครื่องมือเคร่ืองใชจํานวนมากและการท่ีจะเลือกเครื่องมือใดน้ันตองข้ึนอยูกับ
ขนาดลักษณะรูปรางของหอ ง ตลอดจนเคร่ืองประดับและสว นประกอบตา ง ๆ ภายในหอ ง ส่ิงท่ีสาํ คัญ
ท่ีสุดในเบ้ืองตนคือ ตองดําเนินการคนหาอยางมีระเบียบแบบแผน ตรวจคนอยางละเอียด
ทุกซอกทุกมุมไมตรวจเฉพาะจดุ ท่นี า สงสยั เทาน้นั

ô.ò ÍÒ¤Ò÷èÕทํา§Ò¹áÅÐÍÒ¤Ò÷ÕèÊÒ¸ÒóÐÍè×¹ æ นอกจากตรวจเสนทางเดิน
และสภาพทวั่ ๆ ไปภายในตกึ ตามปกตแิ ลว ทส่ี าธารณะตา งๆ กต็ อ งทาํ การตรวจดว ย ซงึ่ สถานทเี่ หลา น้ี
ก็ใหค วามสนใจของผูลอบวางระเบดิ เชนกนั เน่อื งจากมโี อกาสอยางมากทจี่ ะไมไดรบั การตรวจคนเลย
นอกจากนั้นการตรวจคนควรจะตรวจหองพักผอน บันได หองน้ํา หองที่ใชประโยชนอ่ืนๆ ตู
หองควบคุมไฟฟา หองควบคุมโทรศัพท หองควบคุมพลังงานตาง ๆ เปนตน ลิฟต โดยปกติมักมี
ปญหาและตองใหความสนใจเปนพิเศษ โดยเริ่มทําการตรวจที่หองควบคุมการทํางานของมอเตอร
การเคลอ่ื นไหวของตวั ลิฟต ตรวจภายในหอ งลิฟต หลงั คา ดานขา ง และพืน้ ระบบการเคล่อื นไหวของ
ตัวลิฟต จะตอ งมีความปลอดภยั ทีส่ ุดเทาทจี่ ะทําได

ô.ó àʹŒ ·Ò§¢ºÇ¹Ã¶Â¹μ กอนทบี่ ุคคลสาํ คัญจะผา นเสน ทางทีก่ ําหนดไว ควรจะ
มกี ารสาํ รวจเสนทางเหลา น้ันอยางนอ ย ๑๕ นาที กอนทบี่ ุคคลสําคัญจะไปถงึ เพราะตามเสน ทางน้ัน
อาจมกี ารวางระเบดิ ได สาํ หรบั เสน ทางท่ีบุคคลสําคัญจะผาน จะตองมีมาตรการรักษาความปลอดภยั
อยางสูงทุกจดุ บนถนนจะตอ งไมมีสิง่ กดี ขวาง

ô.ô ʹÒÁ¡Íŏ¿ การตรวจคนวัตถุระเบิดสนามกอลฟ จะปฏิบัติเชนเดียวกับ
การสํารวจในตัวอาคารอื่น ๆ กอนท่ีบุคคลสําคัญจะเดินทางมาถึง พื้นที่ทุกตารางน้ิวที่บุคคลสําคัญ
จะตองผา นในชว งระยะเวลาหน่ึง จะตอ งมกี ารตรวจกอน

ô.õ ʶҹ·ÕèÍè×¹æ อีกหลายแหงที่บุคคลสําคัญจะตองเดินทางไป ซึ่งสามารถ
คาดการณไ วว า เหตกุ ารณร า ยจะเกดิ ขน้ึ เมอื่ ใด ชดุ ตรวจคน ตอ งไปปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ามกระบวนการตา ง ๆ
เพ่ือเตรียมไวสําหรับเหตุการณท่ีอาจจะเกิดข้ึน อยางไรก็ตามการตรวจคนน้ัน ควรจะคลุมถึงทุกพ้ืนที่
ซึ่งบุคคลสําคัญพํานักอยู รวมท้ังสถานท่ีใกลเคียงโดยรอบ ทั้งน้ีตองพิจารณาถึงความเหมาะสม
และเวลาทเ่ี ออ้ื อํานวยดว ย

μ͹·Õè ô à·¤¹¤Ô 㹡ÒÃμÃǨ¤¹Œ
๑. การตรวจคน และตรวจสอบการรกั ษาความปลอดภยั เกยี่ วกบั สถานที่ อยา ใชเ จา หนา ท่ี
รักษาความปลอดภัยชุดอ่ืนๆ เพราะการตรวจคนจําเปนอยางย่ิงที่จะตองมีเจาหนาท่ีทางเทคนิค
โดยเฉพาะซง่ึ จะตอ งเปน ผมู คี วามเชย่ี วชาญทางดา นเทคนคิ เปน พเิ ศษนอกเหนอื ไปจากเจา หนา ทรี่ กั ษา
ความปลอดภยั อ่ืน

๓๑

๒. การตรวจสอบความปลอดภัยในหองพกั
๒.๑ กอ นเขาหอ งท่ีจะทาํ การตรวจคน หวั หนา ชุดจะตองแบงหอ งออกเปน สว น ๆ

และมอบหมายความรบั ผดิ ชอบใหกับเจาหนาทป่ี ฏบิ ัติงานในแตละสวนนน้ั
๒.๒ การปฏบิ ตั ิทต่ี อ งเริ่มตั้งแตป ระตู และเดินสํารวจรอบๆ หอง
๒.๓ ใหแบงแตละสวนน้ันออกเปนสวนยอยๆ อีกคร้ังหนึ่ง เชน สวนที่เหลือ

หรอื ตา่ํ กวา ระดับไหล เพดาน และพน้ื หอ ง อาจจะแบง เปน ๒, ๓ และ ๔ สวนกไ็ ด ตามความจาํ เปน
การทําวิธีน้ีเพื่อที่จะใหเจาหนาที่แตละคนไดตรวจเปนไปตามลําดับขั้นตอนและหัวหนาชุดจะสังเกต
ไดงาย

๒.๔ เม่อื ไดทาํ การตรวจสอบและพสิ ูจนค วามปลอดภัยแลว เฟอรน เิ จอรควรจะพงิ
ไวก ับขางฝาหรือตั้งกลับหวั เพอ่ื แสดงใหเหน็ วาไดทาํ การตรวจแลว

๒.๕ ตรวจสอบเทาแขน ท่ีกันฝุน ที่น่ัง พนักพิง ฯลฯ ของเฟอรนิเจอรทุกช้ิน
การตรวจนี้ไมเพียงตรวจวัตถุระเบิด หรือเครื่องดักฟงทางเสียงเทาน้ัน แตจะตองตรวจส่ิงที่เปนเข็ม
ทีแ่ ทงทะลเุ ครื่องเรือนหรอื สปริงที่เสียดวย

๒.๖ สง่ิ ของทกุ อยา งภายในหอ งจะตอ งทาํ การเคลอ่ื นยา ยในระหวา งทาํ การตรวจคน
เพอื่ ใหแ นใ จวา ไมม สี ายไฟทนี่ อกเหนอื จากความจาํ เปน ฯลฯ ซง่ึ อาจตอ ระหวา งเฟอรน เิ จอรก บั พนื้ หอ ง

๒.๗ อยา เคลอ่ื นยา ยสง่ิ ของใด ๆ จนกวา จะไดต รวจสอบโดยรอบเพอื่ ทาํ เครอ่ื งหมาย
ของท่นี า จะมีปญหาเสยี กอน

๒.๘ ตรวจคน สง่ิ ของทนี่ า จะมีปญ หา เชน
- ตะเขบ็ ผา คลมุ เฟอรนิเจอร ลวดสปรงิ เตยี งนอน หรือท่นี อนมชี ายชํารดุ
- มีรอยซอ มหรือทาสีใหมท ่บี ริเวณฝาผนังหรือพนื้ หอง ฯลฯ
- มีเครื่องหมายแสดงวาไดร ับการซอ มแซมหรอื มสี ง่ิ ของทดแทนของเดิม
- พน้ื ทีม่ ีหลมุ หรือพรมถูกเคลอื่ นยายใหม
- เฟอรน เิ จอรเ ปย กชื้นหรือมีรอยดา งหรอื มกี ล่นิ เหมน็

๒.๙ อยา ตรวจขามพ้นื ทใี่ ด ๆ ใหต รวจสอบทกุ อยา งที่พบเห็น
๒.๑๐ ไฟทุกดวง เครื่องปรับอากาศ โทรศัพท ฯลฯ ควรจะไดผานการตรวจอยาง
ถ่ีถว นและจะตอ งแนใจวาเมือ่ เปดสวติ ชไ ฟแลวจะไมมอี ันตรายใดๆ เกดิ ขึน้
๒.๑๑ ตะปูควบตามรอยตอของขอบประตูหนาตางชํารุดหรือไม ทําการตรวจสอบ
และซอมทนั ทเี มอ่ื ชํารุด
๒.๑๒ รอยตอ ตามผนังหอ งวา ตรวจสอบวธิ ีการเปด ไฟหรือใชตะเกียง เพื่อทดสอบ
ตามมุมหองวามีแสงไฟลอดหรือไม ถามีแสดงวามีการชํารุด ซึ่งการตรวจดวยวิธีน้ีจะดีกวาการตรวจ
ดวยตาเปลา
๒.๑๓ ถอดแผงไฟตาง ๆ ออกเพอ่ื ตรวจเช็คดานหลัง

๓๒

๒.๑๔ ตรวจสอบผา ขนสตั วใ นโซฟาทงั้ หมด โดยใชนวิ้ มือกดตามสวนตา งๆ
๒.๑๕ ตรวจสอบเครอ่ื งตกแตง ผา มา น โดยใชป ลายนว้ิ กดเบาๆ และดงึ ออกจากผนงั
แลวตรวจดานหลัง
๒.๑๖ เปด ล้ินชกั และประตทู ้งั หมด โดยบางกรณีอาจเปดลิน้ ชกั ดว ยเชือก ซึง่ ขึ้นอยู
กับเหตุการณ
๒.๑๗ ตรวจสอบรูปถา ยและกรอบรปู เพือ่ หาชอ งหรือรตู า งๆ
๒.๑๘ เพ่ือความสะดวกและสบาย อาจใชเคร่ืองตรวจคนโลหะสําหรับเฟอรนิเจอร
และฝาผนังทั้งหมด
๒.๑๙ ชอ งระบายอากาศทางเดนิ ฯลฯ โดยเฉพาะจะตอ งตรวจจดุ ทผ่ี า นเพอื่ ไปเปด
ประตหู อง
๒.๒๐ กุญแจและเครอ่ื งกลไกตอ งทาํ การตรวจอยางระมดั ระวงั
๒.๒๑ พรมทช่ี าํ รดุ ทที่ ง้ิ แลว หรอื สงิ่ ใด ๆ ทอี่ ยใู นหอ งทส่ี ามารถเปน แหลง ทอี่ าจทาํ ให
บคุ คลสาํ คัญไดร บั บาดเจ็บได ควรจะนาํ ไปไวท่อี ื่นหรอื ตองตรวจสอบความปลอดภยั เปนอยา งดี
๒.๒๒ กอ นทจ่ี ะทาํ การตรวจในพนื้ ทหี่ รอื หอ งใด ๆ จะตอ งยดึ ถอื หลกั ความปลอดภยั
และพยายามตรวจคนวา มอี ะไรทีพ่ อจะกันอันตรายทีอ่ าจถึงแกช วี ิตได เม่ือพบใหน าํ ไปไวท ที่ ป่ี ลอดภัย
สูงสดุ ของพน้ื ทีน่ น้ั ตวั อยา งเชน นําแผน ยางไปไวท่ีอา งอาบนา้ํ เปน ตน
๓. การตรวจสอบเครอื่ งลกั ลอบดกั ฟง ทางเสยี ง ถา เวลาอาํ นวยและสถานการณบ บี บงั คบั
ควรตองตรวจสอบการลักลอบดักฟงทางเสียงของฝายตรงขามในพ้ืนท่ีน้ัน ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ถา บคุ คลสาํ คญั จะตอ งพกั อยใู นพน้ื ทนี่ น้ั ในบางเวลาและบางครงั้ จะใชเ ปน ทปี่ ระชมุ ลบั เจา หนา ทเี่ ทคนคิ
จะตองตรวจเช็คดวยเคร่ืองมือปองกันการลอบฟงอยางละเอียด อยางไรก็ตามชุดระวังปองกันควรจะ
ตอ งทําการตรวจอีกครง้ั หนงึ่ เพ่อื ความแนใจตามภารกิจของตน
μ͹·èÕ õ ¡ÒÃÇҧἹ¡Òû¯ÔºÑμ¡Ô ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ º¤Ø ¤Åสํา¤ÞÑ
๑. ในการวางแผนการรักษาความปลอดภยั บุคคลสําคัญนนั้ จาํ เปน อยา งยง่ิ ตอ งถือเปน
ระเบยี บปฏบิ ตั ปิ ระจาํ แผนจาํ เปน ตอ งบรรจรุ ายละเอยี ดตา ง ๆ ทจ่ี ะเปน ตอ งปฏบิ ตั ิ โดยแจกจา ยใหก บั
ฝายอํานวยการหรือหนวยงานที่เก่ียวของไดรับทราบ และเจาหนาท่ีระดับสูงเทานั้นท่ีตองไดรับแผน
สมบูรณ นอกจากนั้นแลว ระดับเจาหนาที่ปฏิบัติการอื่น ๆ ก็ใหทราบเพียงเรื่องใหญ ๆ ของแผน
และทําความเขาใจในการปฏิบัติงานตามหนาที่โดยเฉพาะของแตละบุคคล คําแนะนําตางๆ ตองงาย
ตอการเขาใจและปฏิบัติตามแผนท่ีดีจะตองมีความออนตัว แผนจะมีมากหรือนอยขึ้นอยูกับขนาด
ของภารกจิ ทจ่ี ะตอ งปฏบิ ตั ิ มเี วลาเพยี งพอในการแจกจา ยตลอดจนการซกั ซอ มการปฏบิ ตั ทิ ไี่ ดว างแผนไว
หาทางท่ีจะไปสูความสําเร็จในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญนั้น อยูท่ีการวางแผนอยาง
ละเอียดตอเน่ือง เลือกใชมาตรการอยางรอบคอบพิถีพิถัน การฝกอบรมและการนําเจาหนาที่มาใช
ใหเ กิดประโยชน

๓๓

๒. แนวทางในการวางแผน เปนแนวทางของผูบังคับบัญชาที่ใหเจาหนาที่ท่ีจัดทําแผน
เพ่ือใชในการทําทบทวนประมาณการความมากนอยของแนวทางในการวางแผนจะเปลี่ยนแปลง
หรอื ไมข้ึนอยกู บั

๒.๑ ภารกิจของหนวย ผูบังคับบัญชาสามารถกําหนดกิจเฉพาะตางๆ ที่จะตอง
กระทําเพอ่ื ใหบ รรลภุ ารกิจนัน้ และกาํ หนดกจิ แบงข้ึนตามทต่ี นพิจารณาเห็นเหมาะสม

๒.๒ ปริมาณและความถกู ตองเชอ่ื ถอื ไดของขอมูลขา วสารทีม่ ีอยู
๒.๓ สถานการณในขณะนนั้ รวมทั้งประสบการณที่เคยไดรับ
๒.๔ ความสามารถและความคนุ เคยของหนว ยปฏบิ ตั ทิ มี่ ตี อ ภมู ปิ ระเทศ สงิ่ แวดลอ ม
ของฝายตรงขา ม
๓. ส่งิ ท่ตี องการในการวางแผน
๓.๑ กาํ หนดวนั เวลา สถานทที่ บี่ คุ คลสาํ คญั จะเดนิ ทางไปตลอดจนประเภทของงานพธิ ี
๓.๒ วเิ คราะหสถานการณในพ้นื ทป่ี ฏิบตั งิ าน โดยประมาณการดา นการขาว
๓.๓ เหตกุ ารณท น่ี า สนใจทเี่ คยเกดิ ขนึ้ ในพน้ื ทนี่ นั้ เชน การลอบสงั หารบคุ คลสาํ คญั
บคุ คลวกิ ลจรติ เปนตน
๓.๔ การประสานงานกบั เจา หนา ทที่ หาร ตาํ รวจ ในพน้ื ทที่ บี่ คุ คลสาํ คญั จะเดนิ ทางไป
๓.๕ กองบงั คบั การ (Command Post) สถานทต่ี ง้ั หมายเลขโทรศพั ท นามเรยี กขาน ฯลฯ
๓.๖ สายการบงั คบั บัญชา และการตดิ ตอสอ่ื สาร
๓.๗ แบงมอบหนาที่ใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยที่ปฏิบัติท้ังหมดในแผน
โดยอาจแบงเปน รายบคุ คล เปน ผลดั เปน ชดุ
๓.๘ การแตง กายของเจา หนาท่ใี นแตล ะพนื้ ที่ และในแตละภารกจิ
๓.๙ อาวุธยุทโธปกรณแ ละเครอื่ งมือเคร่ืองใชของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภยั
๓.๑๐ คาใชจ า ยพิเศษทีจ่ าํ เปน ตอ งใช เชน คาเชา รถยนต คายานพาหนะ ฯลฯ
๓.๑๑ ขอหวงใยพเิ ศษในการรกั ษาความปลอดภัย
๔. ขอ พจิ ารณาในการทาํ แผน ความลอ แหลมตอ อนั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ กบั บคุ คลสาํ คญั
จะตอ งนํามาพจิ ารณาในรายละเอียดทกุ ข้ันตอนนับตง้ั แตบ ุคคลสําคัญมาถึง ขณะพบปะกบั ประชาชน
ขณะกลาวสุนทรพจน ขณะน่ังเปนประธาน ขณะใชลิฟต ขณะท่ีอยูตามหางรานและที่โลงแจงในที่
สาธารณะ โดยเฉพาะชว งเวลาท่ีเส่ยี งตอ การถูกทาํ รายมากทีส่ ุด คอื ชว งทบี่ คุ คลสาํ คญั กําลังลงจากรถ
ข้นึ รถ ขณะท่เี ดนิ เขาและออกจากทหี่ มาย อยูทา มกลางกลุม ชน เหลา นีจ้ ะตองเตรยี มการจัดเจา หนา ท่ี
รกั ษาความปลอดภัยยนื ระวังปอ งกนั ใหเหมาะสม
๕. ลกั ษณะของแผน สว นประกอบอนั สาํ คญั ของแผนกค็ อื ตอ งมหี นทางปฏบิ ตั ทิ แี่ นน อน
และใหวิธกี ารปฏบิ ตั ิตามแผนนนั้ ดว ย แผนทีด่ ีจะมีลักษณะดังนี้
๕.๑ ตองสามารถบรรลุภารกจิ
๕.๒ ตอ งอาศัยขอเทจ็ จริงและสมมตฐิ านที่เหมาะสม

๓๔

๕.๓ ตอ งใชอาวธุ ยุทโธปกรณทม่ี อี ยู
๕.๔ ตองมีการจดั ตามความจาํ เปน
๕.๕ ตอ งมคี วามตอเนือ่ ง
๕.๖ ตอ งมกี ารกระจายอํานาจ
๕.๗ ตอ งมีการตดิ ตอกันโดยตรงระหวางเจา หนาท่ีระดับเดียวกนั
๕.๘ ตอ งงาย ออ นตวั และตอ งมีการควบคมุ
๖. ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิในการทาํ แผน
๖.๑ ขนั้ เตรียมการ แบง เปน ๒ ข้ันตอน

๖.๑.๑ การประสานงาน
- ประสานงานเจา หนา ทที่ กุ ฝา ยทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การเตรยี มการตอ นรบั
- จดั สงชดุ ปฏบิ ัติการหาขาวทางลบั
- จัดสงชุดสํารวจลวงหนา เพ่ือสํารวจสถานที่

๖.๑.๒ การวางแผน
- พิจารณาวางแผนใหเหมาะสมกับขาวทไ่ี ดร บั
- จดั ทาํ แผนทแ่ี สดงการวางกาํ ลงั ของเจา หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั

และฝายเกยี่ วของ
- สรุปขาวในพ้ืนที่ ตลอดจนการจัดกําลังเสนอแผนการรักษา

ความปลอดภัยใหบ ุคคลสําคัญทราบลวงหนา
- จดั ทําแผนฉุกเฉินเพือ่ เตรยี มแกไขสถานการณท ี่เกดิ ขึ้น

๖.๒ ข้ันการปฏิบัติการ ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับแผนปฏิบัติงานใหเจาหนาที่
ทกุ สว นกาํ หนดหนา ทแ่ี ตล ะชดุ ปฏบิ ตั งิ าน ทตี่ อ งปฏบิ ตั ใิ นพนื้ ท่ี จดั กาํ ลงั อยา งไร วางกาํ ลงั ในพน้ื ทอี่ ยา งไร

๖.๓ ข้ันตอนวิเคราะหและการรายงานหลังจากเสร็จภารกิจ เปนการรวบรวม
สรุปปญหาอุปสรรคขอขัดของ เพ่ือจะไดดําเนินการแกไขมิใหเกิดเหตุการณเชนน้ันอีก โดยมี
วัตถุประสงค ดังนี้

๖.๓.๑ เพอื่ เปนฐานขา วในการปฏิบตั ิคร้งั ตอไป
๖.๓.๒ เพ่ือเปนแนวทางครั้งตอไป โดยปรับปรุงแกไขขอผิดพลาดที่เกิดขึ้น
มาแลว
๖.๓.๓ เปนประวัติศาสตรของหนวยและชาติ การวิจารณจะไดผลดีท่ีสุด
ควรกระทาํ ใหเ รว็ ทสี่ ดุ ภายหลงั จากเสรจ็ ภารกจิ โดยผรู ว มปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทงั้ หมดมาพรอ มกนั และวจิ ารณ
กนั วา เรอ่ื งตา ง ๆ ทไี่ ดท าํ ไปแลว นนั้ มคี วามเหมาะสมหรอื ไมเ พยี งใด ทงั้ น้ี ใหร วมถงึ การวจิ ารณใ นเรอื่ ง
ไหวพรบิ และเทคนิคในการปฏิบตั ิดวย เพ่อื ใหเปน บทเรยี นในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ คร้ังตอไปใหดีขึ้น

๓๕

¡ÃÃÁÇ¸Ô ดÕ ําà¹Ô¹¡Òâͧ¼ŒÙ»ÃзÉØ ÃŒÒÂ

ฝายตรงขามยอมมีวิธีขัดขวางมิใหบุคคลสําคัญปฏิบัติการอยางใดอยางหน่ึงไดหลายวิธี
ดวยกัน นอกจากการทํารายหรือขัดขวางบุคคลสําคัญโดยตรงแลว ยังอาจกระทําตอสิ่งท่ีมีผลบังคับ
ถงึ บคุ คลสาํ คัญทางออมได เชน กระทําตอครอบครวั บุคคลสาํ คัญ มิตรสหาย ผรู วมงาน หรือผูสนบั สนนุ

๑. วิธีดาํ เนนิ การ
๑.๑ การทํารายรางกาย เพ่อื ใหเ กดิ การบาดเจบ็ ทุพพลภาพ หรอื ถึงกับเสียชวี ติ
๑.๒ การคุกคาม เพ่ือใหเกิดความหวาดกลัวจนจําตองเปล่ียนนโยบาย เชน

ใชบตั รสนเทห  การคุกคามทางส่ือมวลชน หรอื การใชก ารประชมุ ระหวางประเทศเปนเครือ่ งมือ
๑.๓ การขูกรรโชก โดยกระทําตอบุคคลสําคัญโดยตรงหรือตอครอบครัว

เพอื่ ตองการเงนิ ผลทางการเมอื ง หรอื เพอื่ วัตถปุ ระสงคอ ยางอ่นื
๑.๔ การหม่ินประมาทและการทําใหอับอาย ไดแก การทําใหบุคคลสําคัญ

ถกู เยย หยนั อบั อายตอ สาธารณชน เชน การขวา งปาไขเ นา ผลไมเ นา สง่ิ ปฏกิ ลู ตดั สายไฟขณะปราศรยั
เขยี นปายโปสเตอรลอ เลยี น ดาประจาน เปน ตน

๑.๕ การลกั พาตวั เพอื่ ยดึ ไวเ ปน ตวั ประกนั ในการเจรจาตอ รองใหจ าํ เปน ตอ งปฏบิ ตั ิ
ตามเงื่อนไข บังคบั เอาขา วสารจากผูถ กู ลักพา หรอื มใิ หผ ถู ูกลักพาปฏิบัตกิ ารอยา งใดอยา งหนง่ึ ในส่งิ ท่ี
กําลังจะกระทํา

๒. เครอื่ งมอื ในการทาํ รา ย สง่ิ ของทกุ ชนดิ ทฝ่ี า ยตรงขา มนาํ มาใชใ นการประทษุ รา ยบคุ คล
สาํ คญั ยอ มถอื วา เปน อาวุธท้งั ส้นิ ซง่ึ อาจจะเปน เครื่องมือ โดยสภาพมิใชอาวุธแตนาํ มาเปนอาวุธ เชน
กอ นอฐิ ขวดน้ําอัดลม หมึก หรอื มีสภาพเปน อาวุธ เชน มีด ขวาน ดาบ ธนู อาวุธเหลานเ้ี ปน อาวุธทใ่ี ช
ระยะประชิดหรือในระยะใกล ๆ ไมเกิดเสียงดัง ผูประทุษรายที่ใชอาวุธประเภทนี้มักไดแก ผูท่ีอยู
ใกลชิดกับบุคคลสําคัญ บุคคลในท่ีทํางาน หรือบานพักของบุคคลสําคัญ ผูเขาเยี่ยมหรือพบปะกับ
บุคคลสําคัญ ผูท่ีมีความผิดปกติทางจิตเนื่องจากไมมีโอกาสหาอาวุธชนิดอื่นหรือไมทราบวาอาวุธชนิดนั้น
จะเปนภยั เพยี งไร

๒.๑ อาวธุ ระยะใกล
๒.๑.๑ ปนพกและมีด เปนอาวุธท่ีใชกันมากท่ีสุด สําหรับปนพกใชไดผล

ในระยะ ๕-๒๐ เมตร พกตดิ ตัวในลกั ษณะมิดชดิ ระยะหลงั เร่มิ มีการใชว ตั ถุระเบดิ ชนิดฆาตัวตายตาม
ถือเปนการกระทําในระยะใกล การปฏิบัติการในลักษณะน้ีจําเปนตองหาขาวกอน อยางนอยจะไดรู
เสนทางตาง ๆ และตองมีการซมุ ติดตามกอ นจะเรม่ิ ลงมอื สังหาร

๒.๑.๒ อาวุธพิเศษ เปนอาวุธที่คิดคนเพ่ือใหสามารถนํามาเปนอาวุธในการ
ลอบสงั หารระยะใกลได เชน ปนทําเปน กลอ งบุหรี่ หรือทําเปน กลองถา ยรปู ปนยงิ เขม็ ยาพิษ เปน ตน

๒.๒ อาวุธระยะไกล การลอบสังหารจากอาวุธระยะไกล จะมาจากระยะมากกวา
๒๐ ฟุตข้ึนไป โดยใชปนไรเฟลติดกลองเล็ง ซ่ึงพบวาใชกันมากที่สุด ผูใชจะตองมีความรูในการใช
อาวุธและไดรับการฝกฝนมาอยางดี ตองหาขาวลวงหนาเพ่ือรูเสนทางการเดินทางของบุคคลสําคัญ
และเลอื กจดุ ลงมือสังหาร

๓๖

๒.๓ วัตถุระเบิด มีวิธีการหลายอยางไมมีขอบเขตการใช ระเบิดเวลามักพบบอย
โดยศตั รอู าจตง้ั ระเบดิ เวลาตามสถานทท่ี บี่ คุ คลสาํ คญั จะไปปรากฏตวั หรอื ในทพี่ าํ นกั อาศยั ยานพาหนะ
การตงั้ เวลาใหร ะเบดิ มกั กาํ หนดใหอ ยใู นชว งทเ่ี จา หนา ทจี่ ะแกไ ขสถานการณไ ดย ากทส่ี ดุ หรอื อาจกาํ หนด
ใหมกี ารระเบิดข้ึน ๒ คร้ัง โดยใหก ารระเบดิ ครัง้ หลังสงั หารผทู จี่ ะมาชว ยระงับเหตุ

๒.๓.๑ วธิ ีการจุดชนวน
- ลา มสายไฟหรือสายชนวนจากระยะไกล
- บงั คบั การจดุ ระเบดิ จากเครอ่ื งบงั คบั ระยะไกล (Remote Control)
- ผูจดุ ระเบดิ ยอมตายโดยการนําระเบดิ ติดตัว
- ใชวธิ กี ับระเบิด เชน จดหมายระเบิด พัสดุระเบดิ ระเบดิ เวลา หรือ

การฝง กับระเบิด ตามเสน ทางที่ขบวนรถยนตบุคคลสาํ คญั ผา น
๒.๓.๑ วธิ ีการวางระเบดิ
- ผูวางระเบิดเปนผูวางเอง โดยการปลอมตัวเขาไป เล็ดลอดเขาไป

วางในเวลาคํ่าคืนหรอื ชวงปลอดคน หรอื บกุ เขาไปวางโดยใชอาวุธรวมดวย
- ใชวานโดยผูวางระเบิดไมรูตัว โดยมากจะเปนพนักงานบริการ

พนกั งานสงของหรอื บุรุษไปรษณีย ซง่ึ บคุ คลเหลา นี้ไมร วู าสง่ิ ท่นี าํ ไปสง มวี ตั ถุระเบดิ ซกุ ซอ นอยู
- คนของผูวางระเบดิ นําไปวางเองโดยแทรกซมึ เขา ไปในพืน้ ทน่ี นั้ ๆ

๒.๓.๓ กลไกการต้งั เวลาในวตั ถรุ ะเบิด
- กลไกทางเคมี โดยใชป ฏิกริ ิยาตาง ๆ เชน ใชส ารละลายกับวตั ถุ
- กลไกทางเมคานคิ เชน ใชน าฬก า วสั ดกุ ดทบั -เลกิ กด หรอื ลวดสะดดุ
- ใชความกดอากาศ แสง หรอื เสียง
- จดุ ชนวนโดยใชก ารถว งเวลาจากวสั ดุ เชน ใชก า นธปู ทจ่ี ดุ ทง้ิ ไวป ลอ ย

ใหไ ฟลามไปจุดกา นไมขดี ๔-๕ กาน ซึ่งผูกติดไวเพ่ือจดุ ชนวนระเบดิ อีกตอ หน่ึง
๓. การปอ งกนั แตล ะประเภท การระวังปองกันภัยแตล ะประเภททอ่ี าจเกดิ ขน้ึ กบั บคุ คล

สาํ คญั นนั้ ไดแ ก การประทษุ รา ยดว ยวาจา ดว ยการชกตอ ย อาวธุ ประจาํ กาย อาวธุ ประทบั บา และดว ย
วตั ถรุ ะเบดิ การประทษุ รา ยแตล ะประเภทเหลา นี้ จะมมี าตรการตอบโตแ ตกตา งกนั ไปตามสภาพการณ
แตท ส่ี าํ คญั เจา หนา ทรี่ กั ษาปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั ไมม หี นา ทต่ี อ งเขา ตอ สกู บั คนรา ย นอกจากจะกระทาํ
เพื่อระวังปองกันใหเกิดความปลอดภัยแกบุคคลสําคัญและนําบุคคลสําคัญออกจากพ้ืนท่ีอันตราย
โดยเร็วที่สุด ตามแผนเผชิญเหตุที่เตรียมไว และในกรณีที่คนรายเขาประชิดตัวบุคคลสําคัญมาก
ชุดติดตามจะใหเจาหนาที่ท่ีอยูใกลคนรายมากท่ีสุดเขาขัดขวางคนรายดวยความสามารถที่มีอยู
เจา หนา ทท่ี ่เี หลือนาํ บคุ คลสําคญั ออกจากพืน้ ท่อี ันตราย โดยมแี นวทางปฏิบัตกิ ารระวงั ปองกัน มดี ังน้ี

๓.๑ ภัยดวยวาจา เจาหนาที่จะตองไมโตเถียงและอยาปลอยใหบุคคลสําคัญ
ดําเนนิ การใด ๆ ตอ ผกู ลาววาจา เมื่อจาํ เปน ใหก ันตวั บคุ คลสาํ คัญออกไปจากสถานทีน่ น้ั

๓๗

๓.๒ ภัยจากการชกตอย ใหเจาหนาที่ที่อยูใกลคนรายหรืออยูในทิศทางท่ีคนราย
วิ่งเขามาปะทะกับคนรายดวยการตอสูดวยมือเปลา เพื่อปองกันมิใหเขาถึงบุคคลสําคัญ เจาหนาที่
ท่ีเหลือนําบุคคลสําคัญออกหางออกจากพื้นที่น้ัน และเม่ือมีการขวางปาส่ิงของใสบุคคลสําคัญ
ใหเจาหนาทใ่ี ชร างกายเขา บงั

๓.๓ ภยั จากอาวุธประจาํ กาย ใหเ จา หนา ทีร่ กั ษาความปลอดภัยใชรา งกายเขา ขวาง
ระหวางบุคคลสําคัญกับคนรายแลวทําการตอสูดวยวิธีการตางๆ โดยมิใหเสียการกําบัง เจาหนาที่
ท่ีเหลอื พาบคุ คลสําคัญออกจากพน้ื ทท่ี ันที

๓.๔ ภัยจากอาวุธประทับบา ปฏิบตั ิเชนเดียวกบั ภัยจากอาวธุ ประจาํ กาย
๓.๕ ภัยจากวัตถุระเบิด ใหเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยเขาบังบุคคลสําคัญ
แลวจับบุคคลสําคัญนอนราบลงกับพ้ืนพรอมใชรางกายของตนครอมบุคคลสําคัญ จากน้ันนําบุคคล
สาํ คัญออกจากพืน้ ท่ี

¢¹éÑ μ͹¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åสาํ ¤ÞÑ μÒÁʶҹ·Õèμ‹Ò§ æ

¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åสาํ ¤ÑÞ·Ò§º¡
๑. หลกั การรกั ษาความปลอดภยั ในขณะเดนิ ทางดว ยเทา มขี อ พจิ ารณาในการวางตวั และ
จาํ นวนเจา หนาทร่ี กั ษาความปลอดภัยบคุ คลสําคญั ในขณะเดนิ เทา ดงั นี้

๑.๑ ขา วสารทีม่ ผี ลกระทบทีอ่ าจเกิดข้นึ กบั บุคคลสาํ คญั
๑.๒ ประเภทของพิธกี ารท่ีบคุ คลสําคัญตองไปรว มงาน
๑.๓ ความตอ งการในการรกั ษาความปลอดภัยบุคคลสาํ คญั
๑.๔ ลกั ษณะการวางตัวใหเขากบั พธิ กี ารหรือสถานการณน้ัน
๑.๕ การใชรางกายของเจา หนา ท่เี ปน เกราะคุมกันใหกบั บุคคลสําคญั
๑.๖ การรกั ษาภาพพจนของเจา หนา ทีร่ กั ษาความปลอดภัย
๑.๗ การสังเกตการณและเตรียมพรอมทางดานจิตใจของเจาหนาท่ีรักษา
ความปลอดภัย รูปแบบการวางตัว เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ตองนํามาดัดแปลงใหเขากับ
สถานการณแมจะใชรูปแบบที่ไดรับการฝกฝนมาเปนมาตรฐานในการปฏิบัติ แตในขณะเดียวกัน
ก็จะตองสามารถปรับตําแหนงของเจาหนาท่ีไดเมื่อมีความจําเปน โดยถือหลักเพ่ือใหบุคคลสําคัญ
มีความปลอดภัยสูงสุดเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หัวหนาชุดติดตามจะตองนําบุคคลสําคัญออกใหพนจาก
พนื้ ทอี่ นั ตราย และนาํ ไปยงั สถานทป่ี ลอดภยั ซงึ่ ไดจ ดั ทาํ ไวใ นแผน ซงึ่ ในการปฏบิ ตั นิ ห้ี วั หนา ชดุ ตดิ ตาม
จะตองทราบรายละเอียดของพ้ืนที่ปฏิบัติการจากชุดสํารวจลวงหนาและในระหวางเดินทางใกลจะถึง
ที่หมายจะตอ งติดตอกับชดุ สวนลวงหนาเพอ่ื ทราบสถานการณใ นพนื้ ท่อี ยา งตอเน่ือง พ้ืนทรี่ ับผิดชอบ
ของเจา หนา ทรี่ กั ษาความปลอดภยั ในรปู ขบวนเดนิ นจ้ี ะถอื เปน ๓๖๐ องศาตลอดเวลา สาํ หรบั ทศิ ทาง
ที่บุคคลสําคัญเดิน จะถือเปนทิศ ๑๒ นาฬกาเสมอ และขณะอยูในรูปขบวนเดินถาเจาหนาท่ีคนใด
คนหนึ่งตองออกไปจากรูปขบวนเดิน ตําแหนงของเจาหนาที่ตองมีการเปล่ียนแปลงทันทีหรือ
เพือ่ ใหการรกั ษาความปลอดภยั มปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ กลา วโดยสรุปกค็ อื รปู ขบวนตองมีการออ นตวั ได

๓๘

๒. รปู แบบการวางกาํ ลังเจาหนาท่รี กั ษาความปลอดภัย (Agent Composition within
Protective Formations)

ò.ñ ਌Ò˹ŒÒ·èÕ ñ ¤¹ ใชในกรณีเดียว คือ ในโอกาสที่บุคคลสําคัญอยูในพื้นที่
ปลอดภัยและใชเมื่อเดินจากหองหน่ึงไปยังอีกหองหน่ึงในที่พักหรือในพื้นท่ีอ่ืนท่ีมีการรักษา
ความปลอดภัยทดั เทยี มกบั ในทีพ่ ัก โดยมี หัวหนา ชุดติดตามรบั ผิดชอบพ้นื ท่ี ๓๖๐ องศา

à¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õè ñ ¤¹ (One Agent)

หวั หนา ชุดสวนลวงหนา (Advance Teams)
บุคคลสําคัญ
หัวหนา ชดุ ติดตาม (Detail Leader)
ò.ò à¨ÒŒ ˹Ҍ ·èÕ ò ¤¹ (Two Agent) ปกตใิ ชใ นโอกาสทีอ่ ยูภ ายในอาคารทีม่ ี
การรกั ษาความปลอดภัย เชน ทีพ่ กั ชว่ั คราวหรือการไปปรากฏตัวในที่รับแขกสวนตัว ประกอบดวย
๒.๒.๑ หัวหนาชุดตดิ ตาม (Detail Leader) DL
๒.๒.๒ รองหัวหนา ชุดติดตาม (Shift Leader) SL
਌Ò˹Ҍ ·èÕ ò ¤¹ (Two Agent)

หวั หนาชดุ สว นลวงหนา (Advance Teams)
บุคคลสําคญั

๓๙

ò.ó ਌Ò˹ŒÒ·èÕ ó ¤¹ (Three Agent) »ÃСͺ´ŒÇÂ
๒.๓.๑ หัวหนา ชุดตดิ ตาม (Detail Leader) DL
๒.๓.๒ รองหัวหนา ชดุ ติดตาม (Shift Leader) SL
๒.๓.๓ เจาหนา ที่ปฏบิ ัตกิ าร (Left Rear) LR

รูปขบวนนี้แบงออกเปน ๒ แบบ คอื
แบบที่ ๑ ล่ิมแหลมหนา ใชรักษาความปลอดภัยในพ้ืนท่ีซ่ึงประชาชนไมหนาแนน
และใชใ นกรณไี มเ ปน ทางการ เชน ไปชมภาพยนตร ฟง เพลง และอนื่ ๆ เปน การจดั กาํ ลงั ขนาดเลก็ ทสี่ ดุ
ในขณะออกนอกสถานท่ีทีม่ กี ารรกั ษาความปลอดภัยทดี่ ี
แบบท่ี ๒ ล่ิมแหลมหลัง ใชใ นโอกาสทีร่ ับแขกหรอื ปราศรยั
à¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õè ó ¤¹ (Three Agent)
Ẻ·Õè ñ ÅèÔÁáËÅÁ˹Ҍ

หัวหนา ชุดสวนลวงหนา (Advance Teams)

รองหัวหนาชดุ ติดตาม

บุคคลสาํ คญั

เจา หนา ท่ีปฏบิ ัตกิ าร หัวหนาชดุ ตดิ ตาม

à¨ÒŒ ˹Ҍ ·èÕ ó ¤¹ (Three Agent)
Ẻ·Õè ñ ÅèÁÔ áËÅÁËÅѧ

หัวหนา ชุดสวนลวงหนา (Advance Teams)

บคุ คลสาํ คญั
หวั หนา ชุดตดิ ตาม

เจาหนาที่ปฏิบตั ิการ

รองหัวหนา ชดุ ติดตาม

๔๐

ò.ô à¨ÒŒ ˹Ҍ ·èÕ ô ¤¹ (Four Agents) »ÃСͺ´ÇŒ Â
๒.๔.๑ หัวหนา ชดุ ตดิ ตาม (Detail Leader) DL
๒.๔.๒ รองหวั หนาชดุ ตดิ ตาม (Shift Leader) SL
๒.๔.๓ เจาหนา ทป่ี ฏบิ ตั ิการ (Right Rear) RR
๒.๔.๔ เจาหนา ทป่ี ฏิบัติการ (Left Rear) LR

รปู ขบวนนี้แบงออกเปน ๒ รูปแบบ คอื
Ẻ·Õè ñ ẺÊÕèàËÅÕÂè Á¢¹Áໂ¡»Ù¹ (Diamond Formation) เปน รปู ขบวนการ
วางกําลังท่ีใหการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญไดเปนอยางดี กรณีเม่ือจําเปนตองผานฝูงชน
จํานวนมากหรือการใหสัมภาษณสื่อมวลชนและตองการคุมกันอยางหนาแนน ซึ่งสามารถปองกัน
ไดทุกทิศทาง แตบุคคลสําคัญสวนมากมักไมชอบรูปแบบการวางกําลังแบบนี้เนื่องจากไมไดสัมผัส
กับประชาชนอยางใกลช ดิ
à¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õè ô ¤¹ (Four Agent)
แบบท่ี ๑ แบบส่ีเหลี่ยมขนมเปยกปนู (Diamond Formation)

หัวหนา ชุดสวนลว งหนา
เจาหนา ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร (Right Rear) RR
บคุ คลสาํ คญั

หวั หนา ชดุ ตดิ ตาม (Detail Leader) DL
เจา หนา ทปี่ ฏบิ ตั กิ าร (Left Rear) LR

รองหวั หนา ชุด ตดิ ตาม (Shift Leader) SL

๔๑

Ẻ·èÕ ò Ẻ¡ÅÍ‹ §ÊàÕè ËÅÂÕè Á (Box Formation) การวางกาํ ลงั แบบนจ้ี ะใชส ถานการณ
ที่บุคคลสําคัญเดินทางในที่โลงและประชาชนถูกันใหหางออกไป เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยจะมี
๒ นาย ยืนใกลตัวบุคคลสําคัญเพื่อสามารถชวยเหลือไดทันทีเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน ขอเสียอยูท่ี
ความปลอดภัยดานหลังบุคคลสําคัญจะมีนอยลง และโอกาสที่จะสังเกตเห็นภัยลวงหนามีนอย
การวางกําลังแบบน้ีบุคคลสําคัญมักชอบใชเพราะไมมีเจาหนาท่ีเดินบังหนาบังหลัง ซึ่งจะสะดวก
ในการแสดงความเปน กันเองกับประชาชน

à¨ÒŒ ˹Ҍ ·èÕ ô ¤¹ (Four Agent)
Ẻ·èÕ ñ Ẻ¡Å‹Í§ÊèÕàËÅÕèÂÁ (Box Formation)

หัวหนาชดุ สว นลว งหนา

เจา หนา ทป่ี ฏบิ ัตกิ าร เจาหนา ทปี่ ฏิบตั กิ าร (Right Rear) RR
(Left Rear) LR บุคคลสาํ คัญ

รองหัวหนา ชดุ ตดิ ตาม (Shift Leader) SL หวั หนา ชดุ ตดิ ตาม (Detail Leader) DL


Click to View FlipBook Version