๔๒
ò.õ ਌Ò˹ŒÒ·èÕ õ ¤¹ (Pentagon Agents) »ÃСͺ´ÇŒ Â
๒.๕.๑ หวั หนา ชดุ ตดิ ตาม (Detail Leader) DL
๒.๕.๒ รองหวั หนาชดุ ติดตาม (Shift Leader) SL
๒.๕.๓ เจาหนา ท่ีปฏบิ ัตกิ าร (Right Rear) RR
๒.๕.๔ เจาหนาทีป่ ฏิบตั กิ าร (Left Rear) LR
๒.๕.๕ เจาหนาท่ีปฏบิ ตั กิ าร (Agent) A
à¨ÒŒ ˹ŒÒ·èÕ õ ¤¹ (Pentagon Agents)
หัวหนาชุดสวนลว งหนา
รองหวั หนา ชดุ ติดตาม (Shift Leader) SL
เจาหนา ทป่ี ฏบิ ัติการ (Left Rear) LR เจา หนา ทปี่ ฏบิ ตั ิการ (Right Rear) RR
บุคคลสาํ คัญ
รองหวั หนา ชดุ ตดิ ตาม (Shift Leader) SL หวั หนาชุดติดตาม (Detail Leader) DL
๔๓
ò.ö ਌Ò˹Ҍ ·èÕ õ ¤¹ (Pentagon Agents) »ÃСͺ´ÇŒ Â
๒.๖.๑ หวั หนาชดุ ตดิ ตาม (Detail Leader) DL
๒.๖.๒ รองหวั หนา ชุดตดิ ตาม (Shift Leader) SL
๒.๖.๓ เจาหนาท่ปี ฏบิ ัติการ (Right Rear) RR
๒.๖.๔ เจา หนาท่ีปฏิบัตกิ าร (Left Rear) LR
๒.๖.๕ เจา หนา ท่ีปฏบิ ตั กิ าร (Agent) A
๒.๖.๖ เจาหนาที่ปฏิบัติการ (Agent) A รูปขบวนนี้ใชในกรณีท่ีมีฝูงชน
หนาแนนมากหรือบางคร้ังจําเปนตองพาบุคคลสําคัญฝาวงลอมของฝูงชน ซ่ึงสามารถทําวงลอม
เพ่ือปองกันบุคคลสําคัญ โดยปรับรูปขบวนวงลอมใหเล็กลงจนเกือบชิดกัน แลวใชมือซายจับเข็มขัด
หรือจับมือในลักษณะมัดขาวตม พาบุคคลสําคัญไปยังท่ีหมาย โดยหัวหนาชุดติดตามเปนผูกําหนด
ทศิ ทาง
à¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õè ö ¤¹ (Hexagon Agents)
หวั หนา ชุดสว นลว งหนา (Advance Teams)
เจาหนาที่ปฏบิ ตั ิการ (Agent) A
เจา หนา ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร (Left Rear) LR เจา หนาท่ปี ฏบิ ัติการ (Right Rear) RR
บุคคลสําคญั
รองหวั หนาชุดติดตาม (Shift Leader) SL หวั หนา ชดุ ตดิ ตาม (Detail Leader) DL
หัวหนาเจาหนา ทป่ี ฏิบตั ิการ (Agent) A
๔๔
Â·Ø ¸ÇÔ¸Õ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åสํา¤ÞÑ
ñ. ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂã¹¢³Ðà´Ô¹·Ò§´ŒÇÂà·ÒŒ
เนอ่ื งจากในบางโอกาสบคุ คลสาํ คญั จะตอ งเดนิ ทางไปยงั สถานทตี่ า งๆ ดว ยการเดนิ เทา
ซ่ึงในการนี้เปนจุดลอแหลมตออันตรายอยางมาก จึงจําเปนจะตองมีรูปแบบและวิธีการรักษา
ความปลอดภัยที่รัดกุมและมีประสิทธิภาพ ในท่ีนี้จะกลาวเฉพาะการรักษาความปลอดภัยของ
ชดุ ตดิ ตามบุคคลสาํ คญั เทานน้ั
รูปแบบและการวางตัวเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย จะตองนํามาดัดแปลง
ใหเ ขา กบั สถานการณ แมจ ะยดึ รปู แบบการฝก มาเปน มาตรฐานในการปฏบิ ตั ิ แตข ณะเดยี วกนั เจา หนา ที่
รักษาความปลอดภัยจะตองปรับตําแหนงของตนเม่ือจําเปน ดังนั้นการทํางานเปนชุด การฝกฝน
อยา งมีประสิทธภิ าพ จะทาํ ใหเกดิ ผลสาํ เร็จในการปฏิบตั ิ ท้ังนี้เจาหนา ทจี่ ะตอ งทราบในเรื่องตอ ไปนี้
- เสน ทางทต่ี อ งใช
- กาํ หนดการตาง ๆ
- ขอมูลตา ง ๆ เกี่ยวกบั บคุ คลสาํ คญั
- อปุ นิสัยของเพ่อื นรวมงาน
การคุมกันบุคคลสําคัญ เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยจะตองสามารถจําแนกวา
จุดใดนาจะเปนจุดคับขันที่จะกอใหเกิดอันตรายตอบุคคลสําคัญได เพื่อจะจัดเจาหนาที่รักษา
ความปลอดภัยใหคอยคุมกัน ทั้งน้ีตองระมัดระวังมิใหเอิกเกริกจนเกินไปและมิใหประชาชนทราบ
หรอื ผดิ ปกติ
ความตองการของบุคคลสําคัญ เจาหนาที่รักษาความปลอดภัยตองศึกษาประวัติ
และความตองการของบุคคลสําคัญโดยละเอียด เพื่อประโยชนในการวางกําลังของเจาหนาท่ีท้ังแบบ
เปดเผยและแบบปกปด และใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยทุกคนพึงระลึกอยูเสมอวา “ÍѹμÃÒÂ
ÍÒ¨à¡Ô´¢Ö鹡ºÑ º¤Ø ¤Åสาํ ¤ÑÞä´μŒ ÅÍ´àÇÅÒ·§Ñé ÍغμÑ ÔàËμØËÃÍ× â´Âà¨μ¹Ò”
¡ÒÃãªกŒ ําÅ§Ñ à¾èÍ× ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺ¤Ø ¤Åสาํ ¤ÑÞ มีไดห ลายกรณี ดงั น้ี
ñ.ñ àÁÍè× ãªกŒ ําÅѧÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ñ ¤¹
การใช รปภ. ๑ คน จะใชในกรณีที่บุคคลสําคัญอยูในท่ีซึ่งมีความปลอดภัย
อยูแลวในงานหรือบุคคลสําคัญน้ันมีความเส่ียงตอการถูกทํารายตํ่า รปภ. ควรยืนอยูทางดานขวา
หรอื ดา นที่ รปภ. ถนดั ในการใชอ าวธุ เมอ่ื มเี หตกุ ารณข นึ้ รปภ. จะใชอ าวธุ โดยไมเ ปน อนั ตรายตอ บคุ คล
สําคัญ ลักษณะการยืน ตองยืนเยื้องทางมือขางท่ีถนัดและอยูในระยะมือเอื้อมถึง กรณีมือประสาน
ดานหนา ใหวางมือถนดั อยูด านใน มือไมถนัดทบั ดา นนอก เพ่ือพรอมในการใชม อื ปองกันและใชอ าวธุ
๔๕
รปู ท่ี ๑ เจาหนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ๑ คน ในสถานการณปกติ
รปู ท่ี ๒ การใชกาํ ลังรกั ษาความปลอดภยั ๑ คน ในสถานการณพ ิเศษ
๔๖
- เมื่อเกิดเหตุการณ รปภ. เขาประชิดบุคคลสําคัญ ใชลําตัวกําบังบุคคลสําคัญ
ในทิศทางท่ีถูกประทุษราย พรอมกับใชมือขางหน่ึงจับที่บริเวณลําคอ (หรือคอเส้ือ) ของบุคคลสําคัญ
แลวกดใหโนมตัวใหต่ํา สวนมือขางหนึ่งจับที่เข็มขัดหรือขอบกางเกงนําพาบุคคลสําคัญหนีทิศทาง
ตรงขา มกับทศิ ทางทีถ่ ูกประทุษรา ย
- อาจใชอาวุธตอบโตผ ปู ระทษุ รา ย
รูปท่ี ๓ ก. การปฏบิ ตั เิ มื่อภัยคุกคามสูง รปู ที่ ๓ ข. การปฏิบตั ิเม่อื เกดิ เหตกุ ารณ
รปู ท่ี ๔ กรณใี ชอ าวธุ ตอบโตค นรายทางทศิ ๑๒ นาฬกา
๔๗
¢ŒÍ¾Ô¨ÒóҡÒû¯ÔºÑμÔ㹡ÒäŒØÁ¤Ãͧº¤Ø ¤Åสํา¤Ñޢͧ ûÀ.»ÃÐจําμÑÇ
๑. กรณไี มม ี รปภ. ชว ยในการคมุ กนั หรอื มเี พยี ง รปภ.ประจาํ ตวั เพยี งคนเดยี วใหพ จิ ารณา
การใชอาวุธตอบโตภัยคุกคามตามระดับของภัยคุกคามพรอมกับนําตัวเขากําบังแลวพาบุคคลสําคัญ
ออกจากพืน้ ท่ี โดยสามารถทาํ การตอบโตภัยคกุ คามไดทุกทศิ ทาง (รปู ท่ี ๑๔)
๒. กรณี รปภ. ตั้งแต ๒ คนขึ้นไป ให รปภ.ประจําตัวพิจารณาระดับของภัยคุกคาม
ในการปฏบิ ัติกับบคุ คลสาํ คญั
๒.๑ กรณมี ที กี่ าํ บงั หรอื ภยั คกุ คามสงู เชน ระเบดิ หรอื อาวธุ ปน ใหก ดศรี ษะบคุ คลสาํ คญั
หลบภยั คกุ คามน้ันแลว ปฏบิ ตั ิในขนั้ ตอนอนื่ ตอไป (รูปที่ ๓ ก.)
๒.๒ กรณีไมมีที่กําบังหรือภัยคุกคามต่ําและเปนอันตราย ควรพิจารณาใชมือวาง
กดลงบนไหลบ คุ คลสาํ คัญ (รปู ที่ ๓ ข.) แลวนําออกจากพนื้ ท่ี
๒.๓ กรณีภัยคุกคามระดบั ต่ําหรอื อาจไมเ ปนอันตรายตอ ชวี ิต เชน การถกู ขวา งปา
ส่ิงของ รปภ.ประจาํ ตัวตอ งเขากําบังแลว รับพาบคุ คลสาํ คญั ออกจากพนื้ ทโ่ี ดยไมตอ งกดศีรษะหรอื ไหล
แตอ ยา งใด
ñ.ò àÁ×Íè ãªกŒ ําÅѧÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ò ¤¹ ให
รปภ. คนท่ี ๑ ยนื อยดู านหนา บคุ คลสําคญั รับผิดชอบพื้นทมี่ ุมมองดานหนา
๑๘๐ องศา
รปภ. คนที่ ๒ (หัวหนาชุด) ซ่ึงมีหนาท่ีรับผิดชอบบุคคลสําคัญ จะยืนอยู
ดานหลังบุคคลสําคญั รบั ผิดชอบพ้ืนที่รอบตวั ๓๖๐ องศา
รูปท่ี ๕ การใชกาํ ลงั รักษาความปลอดภยั ๒ คน รูปท่ี ๖ การใชก าํ ลังรักษาความปลอดภัย ๒ คน
ในสถานการณท ่วั ไป ในสถานการณพ ิเศษ
๔๘
- ปฏบิ ตั เิ มอ่ื เกดิ เหตุใหรปภ.ทเี่ หน็ คนรา ยกอ นตะโกนบอกทศิ ทางของคนรา ยรปภ.
รับผิดชอบบุคคลสําคญั เขา ประชดิ ตัวบุคคลสาํ คญั โดยใชตัวกาํ บงั และทําแบบลักษณะท่ี ๑ สวน รปภ.
ท่เี หลอื เนนใชอ าวุธยงิ ตอ สกู บั คนรา ย พรอมกับถอยหลังตดิ ตามบคุ คลสาํ คัญไป ตอบโตพ ลางรน ถอย
รูปที่ ๗ การปฏบิ ัตเิ ม่ือเกิดเหตปุ ระทษุ รา ย
ในสถานการณทั่วไปของ รปภ. ๒ คน
รูปที่ ๘ การปฏบิ ัตเิ มือ่ เกิดเหตกุ ารณ
ในสถานการณพเิ ศษ
๔๙
ñ.ó àÁÍè× ãªกŒ ําÅ§Ñ ÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ó ¤¹
การรักษาความปลอดภัยแบบนีเ้ รยี กวา ÃÙ»·Ã§ÅÁÔè การเดนิ จะตองเดินเกาะกลุม
- รปภ.สว นหนา รบั ผดิ ชอบพ้นื ท่ดี า นหนา ๑๘๐ องศา
- รปภ.รบั ผดิ ชอบบคุ คลสาํ คัญ (หวั หนาชดุ )
- รปภ.สว นหลงั รับผดิ ชอบพนื้ ทีร่ อบตวั ๓๖๐ องศา
รปู ที่ ๙ การใชกาํ ลังรกั ษาความปลอดภยั ๓ คน รปู ที่ ๑๐ การใชก ําลังรกั ษาความปลอดภยั ๓ คน
ในสถานการณท วั่ ไป ในสถานการณพ เิ ศษ
- การปฏบิ ตั เิ มอื่ เกดิ เหตุ ให รปภ.คนทเ่ี หน็ เหตกุ ารณก อ น ตะโกนบอกทศิ ทาง
ของคนรา ย รปภ. ๑ คน ทาํ การตอ ตา นคนรา ย ทรี่ บั ผดิ ชอบบคุ คลสาํ คญั ทาํ ลกั ษณะเดยี วกบั แบบ ๑, ๒
โดยนําบุคคลสําคัญออกจากพื้นท่ีเกิดเหตุ และ รปภ. อีกหน่ึงคนที่เหลือ ใชอาวุธเบิกทางนําบุคคลสําคัญ
และ รปภ.รบั ผิดชอบออกจากพื้นท่ี
๕๐
รปู ท่ี ๑๑ การปฏิบตั เิ ม่อื เกิดเหตุประทุษรา ย
๕๑
รปู ที่ ๑๒ การปฏบิ ัติเมื่อเกดิ เหตกุ ารณในสถานการณพเิ ศษ
ñ.ô àÁèÍ× ãªกŒ าํ Å§Ñ ÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ô ¤¹
- รปภ.สว นหนา รบั ผิดชอบพื้นที่ดานหนา ๑๘๐ องศา
- รปภ.รบั ผิดชอบบคุ คลสําคัญ (หวั หนา ชดุ )
- รปภ.หลังซา ย รับผิดชอบพ้ืนท่ีดา นหลงั ซา ย ๑๘๐ องศา
- รปภ.หลงั ขวา รบั ผดิ ชอบพ้นื ทดี่ า นหลังขวา ๑๘๐ องศา
รูปที่ ๑๓ การใชก ําลงั รกั ษาความปลอดภัย ๔ คน
๕๒
๑.๔.๑ การปฏิบตั เิ มอ่ื เกิดภยั คุกคามบุคคลสาํ คญั ในสถานการณท ่ัวไป
- รปภ.ท่ีเห็นภัยคุกคามกอน ตะโกนบอกทิศทางของคนราย เชน
คนรา ย ๑๒ นาฬก า พรอ มกับตอตา นภัยคุกคาม
- รปภ.ที่อยูตรงขามภัยคุกคาม ใชอาวุธปนเบิกทาง และนํามือขาง
ไมถ นดั จูงมอื บุคคลสําคญั นําออกจากพ้นื ท่ี
- รปภ.ประจาํ ตวั บคุ คลสาํ คญั และ รปภ.ทเ่ี หลอื ใชล าํ ตวั เขา บงั บคุ คล
สําคัญใหป ลอดภัย โดยสามารถใชอ าวุธตอบโตไ ดด ว ย
รูปท่ี ๑๔ การตอบโตเ หตุประทุษรายในสถานการณพิเศษ
๑.๔.๒ การปฏบิ ัติเมื่อเกิดภัยคกุ คามบุคคลสาํ คัญในสถานการณพิเศษ
- ให รปภ.ทเี่ ห็นภยั คกุ คาม กอ นตะโกนบอกทิศทางของคนรา ย
- รปภ.ทอี่ ยดู า นทศิ ทางตรงขา มกบั ภยั คกุ คาม เบกิ ทางใหบ คุ คลสาํ คญั
- รปภ.ประจําตัวบุคคลสําคัญ ทําหนาท่ีคุมครองบุคคลสําคัญ
ออกจากพน้ื ท่ีเกดิ เหตุไปยงั ท่ปี ลอดภยั หรอื ทางทิศตรงขามกบั ภัยคุกคาม
- รปภ.ท่ีเหลือ ทําการตอตานภัยคุกคามและถอยตามบุคคล
สําคญั ไป
๕๓
รปู ท่ี ๑๕ การใชก ําลงั รักษาความปลอดภยั ๔ คน
๕๔
ñ.õ àÁè×Í㪌กาํ ÅÑ§Ã¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ õ ¤¹
- รปภ.สวนหนา รับผิดชอบพนื้ ทีด่ านหนา ๑๘๐ องศา
- รปภ.ดานซา ย รับผิดชอบพ้ืนทดี่ า นหนาซา ย ๑๘๐ องศา
- รปภ.ดา นขวา รับผดิ ชอบพน้ื ทด่ี านหนาขวา ๑๘๐ องศา
- รปภ.รบั ผดิ ชอบบุคคลสําคญั (หวั หนาชดุ )
- รปภ.ดา นหลังสุด รบั ผิดชอบพน้ื ทโ่ี ดยรอบ ๓๖๐ องศา
รูปที่ ๑๖ การใชเ จา หนาทีร่ กั ษาความปลอดภยั จํานวน ๕ คน ในสถานการณท ว่ั ไป
๑.๕.๑ การปฏบิ ัติเมื่อเกิดภัยคกุ คามในสถานการณท ั่วไป
- รปภ.ทเี่ ห็นภัยคกุ คาม ตะโกนบอกทศิ ทางภยั คุกคาม
- รปภ.ท่อี ยใู กลภ ยั คกุ คาม ทําการตอ ตาน
- รปภ.ประจาํ ตัวบคุ คลสาํ คัญ คุมครองบุคคลสาํ คัญ
- รปภ.ที่อยูตรงขามกับภัยคุกคาม จับมือบุคคลสําคัญเบิกทาง
นาํ บคุ คลสาํ คัญออกไปในทศิ ทางท่ปี ลอดภัย
- รปภ.ทเี่ หลือ เขา ปอ งบคุ คลสาํ คญั โดยโอบลอมบุคคลสาํ คัญไว
๕๕
รปู ที่ ๑๗ การตอ ตานภัยคุกคามของ รปภ. ๕ คน
ในสถานการณท ่ัวไป
รปู ท่ี ๑๘ การใชก าํ ลังรกั ษาความปลอดภัย ๕ คน
๕๖
๑.๕.๒ การปฏบิ ตั เิ มอื่ เกดิ ภยั คกุ คามในสถานการณพ เิ ศษ ใหป ฏบิ ตั ิ
เหมือนกบั รปภ. ๔ คน โดยเพิ่ม รปภ.ตอตาน เมื่อเกิดเหตอุ กี ๑ คน
รปู ที่ ๑๙ การปฏิบตั เิ ม่อื เกดิ ภยั คกุ คามในสถานการณพิเศษ
๕๗
ò. ÃÙ»¢ºÇ¹¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂã¹âÍ¡ÒÊ͹×è æ
LR LR ADV
P ºØ¤¤Åสํา¤ÞÑ SL
SL DL ËÑÇ˹Ҍ ªØ´μÔ´μÒÁ
SL ÃͧËÑÇ˹Ҍ ªØ´μ´Ô μÒÁ P
P ADV ËÇÑ Ë¹ÒŒ ª´Ø ʋǹŋǧ˹ŒÒ DL
DL RR, L, R, A ਌Ò˹ŒÒ·Õ軯ºÔ μÑ Ô¡ÒÃ
RR RR
AA
รปู ที่ ๒๐ การรักษาความปลอดภัยในขณะบุคคลสําคญั เดินขน้ึ – ลงบันได
ò.ñ ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂã¹¢³ÐºØ¤¤Åสํา¤ÞÑ à´Ô¹¢Öé¹-ŧº¹Ñ ä´
ในกรณที ี่บคุ คลสําคญั จะตองเคล่อื นท่โี ดยการใชบ นั ไดนั้น มกี ารวางกําลงั ดังนี้
๒.๑.๑ เจาหนาที่ชุดสวนลวงหนาหรือชุดประจําสถานท่ีวางกําลังอยู
ดา นบนหรอื ดา นลา งกอ นทบ่ี คุ คลสาํ คญั จะขนึ้ หรอื ลง โดยกนั ผทู จี่ ะใชบ นั ไดไวก อ นเพอ่ื ความปลอดภยั
ของบุคคลสาํ คญั
๒.๑.๒ เจาหนาท่ีชุดติดตาม ๑ คน เดินนําบุคคลสําคัญหรือลงบันไดกอน
หัวหนาชดุ ตดิ ตามเดนิ อยูใกลบุคคลสาํ คัญทางดานหลงั เสมอ
๒.๑.๓ เจา หนา ทชี่ ดุ ตดิ ตามทเี่ หลอื เดนิ ตามบคุ คลสาํ คญั พรอ มกบั ใหก ารรกั ษา
ความปลอดภัยรอบตัว
๒.๑.๔ ในขณะทบ่ี คุ คลสาํ คญั ขึน้ หรือลงบันได ตองแนใจวาไมม ีผอู ่ืนใชบ นั ได
เดินสวนทางได แตบางครั้งอาจมีความจําเปนตองยอมใหผูอ่ืนใชบันไดรวมดวย กรณีนี้จะตองจัด
เจาหนา ทสี่ วนลวงหนา หรอื ชุดตดิ ตามอยูใ นบนั ไดเล่อื นปะปนกับประชาชนในชว งขาลงหรือขาขน้ึ
๕๘
ò.ò ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ã¹¢³Ð·Õèº¤Ø ¤Åสาํ ¤ÑÞà¢ŒÒ – ÍÍ¡¨Ò¡Å¿Ô μ
LR LR ADV
P º¤Ø ¤Åสาํ ¤ÑÞ SL
SL DL ËÑÇ˹Ҍ ªØ´μÔ´μÒÁ
SL ÃͧËÇÑ Ë¹ÒŒ ªØ´μÔ´μÒÁ P
P ADV ËÑÇ˹Ҍ ª´Ø ÊÇ‹ ¹Å‹Ç§Ë¹ÒŒ DL
DL RR, L, R, A à¨ÒŒ ˹ŒÒ·è»Õ ¯ºÔ Ñμ¡Ô ÒÃ
RR RR
AA
รปู ท่ี ๒๑ บคุ คลสาํ คญั เขา – ออกจากลฟิ ต
๒.๒.๑ กรณีจัดลฟิ ตไวเ ฉพาะสาํ หรับบุคคลสําคัญ ปฏิบัตดิ ังนี้
๑) การเขาลิฟต
๑.๑) หวั หนา ชดุ สว นลว งหนา เดนิ นาํ บคุ คลสาํ คญั พรอ มรปู ขบวน
ไปยงั ลฟิ ต โดยมเี จาหนาท่ชี ุดสว นลว งหนาเปด ลฟิ ตร ออยู
๑.๒) หัวหนาชุดสวนลวงหนาเปดทางใหเจาหนาท่ีชุดติดตาม
๑ คน เขา ลฟิ ตไ ปกอ นเพอ่ื ควบคุมแผงบังคับ
๑.๓) บุคคลสําคัญ หัวหนาชุดติดตาม เขาไปในลิฟตพรอมกับ
ชดุ ติดตามอกี ๑ คน โดยหวั หนาชุดตดิ ตามยืนบงั บคุ คลสาํ คญั ไว
๑.๔) หัวหนาชุดสวนลวงหนาจะเขาลิฟตเปนคนสุดทาย
พรอ มกบั ยืนบังดา นหนา บุคคลสําคัญตรงบริเวณประตูลฟิ ต
๒) การออกลิฟต
เมื่อลิฟตถึงชั้นที่ตองการ จะมีเจาหนาท่ีชุดสวนลวงหนา หรือ
ชุดประจําสถานท่ีคอยอยูดานนอกลิฟตเพ่ือใหความปลอดภัย การปฏิบัติใหกลับกันกับการเขาลิฟต
คือ หัวหนาชุดสวนลวงหนาออกจากลิฟตกอนเปนคนแรก ตามดวยชุดติดตาม ๑ คน บุคคลสําคัญ
หัวหนาชุดติดตาม และชุดติดตามที่เหลือ สวนรองหัวหนาชุดติดตามซึ่งอยูนอกลิฟตน้ันจะคอยแกไข
ปญ หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายนอก กรณลี ฟิ ตไ มส ามารถบรรจชุ ดุ ปฏบิ ตั กิ ารไดท งั้ หมด อยา งนอ ยทส่ี ดุ หวั หนา ชดุ
ติดตามและหวั หนาชุดสวนลว งหนาจะตอ งอยูในลิฟตก ับบคุ คลสาํ คญั
๕๙
๒.๒.๒ กรณีการใชลิฟตร วมกับบคุ คลอ่นื
รูปที่ ๒๒ บุคคลสาํ คญั ใชลฟิ ตรว มกับผูอื่น
การปฏิบัติเหมือนกับการใชลิฟตที่จัดไวโดยเฉพาะ แตใหแบงลิฟตออกเปน
๒ สวน โดยมีเจาหนา ทีก่ ้นั ระหวางบคุ คลสําคัญกบั บคุ คลอ่นื ทใี่ ชลฟิ ตใ นขณะนั้น
๒.๓ การรกั ษาความปลอดภัยบคุ คลสําคัญเมอ่ื กลา วปราศรัยบนเวที
รูปท่ี ๒๓ การรักษาความปลอดภยั บุคคลสําคัญเม่ือกลา วปราศรยั บนเวที
๖๐
ในโอกาสที่บุคคลสําคัญตองขึ้นไปกลาวคําปราศรัยหรือแถลงขาวบนเวที
เจาหนา ทรี่ กั ษาความปลอดภยั จะตองวางกาํ ลังตามจดุ ตา ง ๆ ภายในสถานที่นัน้ โดยการวางแผนของ
ชดุ สํารวจลวงหนา และการเตรียมการของชุดสว นลวงหนา เปนผูก าํ หนดจดุ การวางกําลงั ดงั น้ี
๒.๓.๑ ขณะบุคคลสาํ คญั ขึ้นบนเวที หวั หนาชดุ ติดตามจะตองอยบู นเวทดี ว ย
โดยอยบู รเิ วณดา นหลังบคุ คลสําคญั พรอ มจะเอาตวั เขาบงั เม่ือเกิดเหตุการณ
๒.๓.๒ ภายในหอ งตองมกี ารวางกําลงั ตามจุดตา ง ๆ ดงั นี้
๑) ทางเขา – ทางออก หรอื ทางข้นึ – ทางลงเวที
๒) บริเวณดานหลงั เวทที ีม่ คี นเขา – ออก
๓) บรเิ วณดา นหนา เวที
๔) บรเิ วณเมนสวิตช ทีค่ วบคมุ แสง เสียง เคร่ืองฉายภาพ
๕) ภายในกลมุ ผสู ื่อขาวและผรู บั ฟง
๒.๓.๓ สํารวจเสนทางออกฉุกเฉินแลวใหทีมเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย
ทราบ
ò.ô ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂàÁÍè× º¤Ø ¤Åสํา¤ÞÑ à´¹Ô μÒÁá¹ÇÃÇÑé
A
DL P SL ADV
RR
รปู ท่ี ๒๔ การรักษาความปลอดภัยเม่อื บคุ คลสาํ คัญเดนิ ตามแนวรว้ั
ลักษณะในการรักษาความปลอดภัยน้ี จะใชในกรณีที่บุคคลสําคัญเย่ียมเยียนประชาชน
ซึ่งในพนื้ ท่ที ก่ี ําหนดโดยมเี ชอื ก รั้ว หรือเจาหนาท่ีตํารวจคอยกน้ั มใิ หล้ําเขตซงึ่ บางครง้ั อาจมผี ไู มห วงั ดี
ตอบุคคลสําคัญโดยการจับมือแนนไมยอมปลอย กรณีน้ีเจาหนาท่ีอาจใชวิธีการหักนิ้วหัวแมมือได
ฉะนั้นเจาหนาที่ท่ีอยูในรูปขบวนตองสังเกตดูมือผูคนในฝูงชนเปนพิเศษ ในการวางกําลังเจาหนาที่
จะเปนดงั น้ี
๖๑
๒.๔.๑ ใหหัวหนาชุดติดตามและรองหัวหนาชุดฯ อยูในตําแหนงหลังขวา
และหลังซา ยติดกับบคุ คลสําคญั ตลอดเวลา
๒.๔.๒ หวั หนา ชดุ สวนลว งหนาเดนิ นําบคุ คลสําคญั ไปในเสน ทางที่กาํ หนด
๒.๔.๓ เจาหนาทป่ี ฏิบัติการหลังขวาและหลงั ซาย เดนิ ปะปนอยูในแถวทส่ี อง
ของฝงู ชน โดยเคลอื่ นขนานไปกบั บคุ คลสาํ คญั ตลอดเวลา ผทู จี่ ะทาํ รา ยบคุ คลสาํ คญั มกั จะอยใู นบรเิ วณ
แถวที่สอง ถามกี ารใชอ าวุธเจา หนา ท่ีแถวสองจะสามารถหยุดยั้งได
ó. ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺ¹Ã¶Â¹μ
การเคลอื่ นทข่ี องบคุ คลสาํ คญั ทตี่ อ งมกี ารคมุ กนั อารกั ขา สว นใหญเ คลอ่ื นจากจดุ หนงึ่
ไปยังอีกจุดหน่ึงโดยทางรถยนตหรือพาหนะแบบใดแบบหนึ่ง ในอดีตที่ผานมาความพยายามในการ
ลอบสังหารหรือลักพาตัวเปนการกระทําในขณะท่ีบุคคลสําคัญกําลังเดินทางจึงเปนส่ิงสําคัญท่ีจะตอง
เรยี นรแู ละฝก ปฏบิ ตั กิ ระบวนการขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั กิ าร รปภ. เพอ่ื ปอ งปราม ปอ งกนั และรบั มอื กบั
การโจมตีจากผูไมประสงคดีตอบุคคลสําคัญในการศึกษาวิธีการตาง ๆ ที่จะใชรักษาความปลอดภัย
แกบุคคลสําคัญในขณะทีเ่ ขาผนู น้ั กําลงั เดนิ ทางโดยรถยนต
ยทุ ธวธิ เี หลา นเ้ี ปน พน้ื ฐาน สามารถนาํ ไปดดั แปลงใหใ ชไ ดก บั ยานพาหนะทกุ รปู แบบ
และปรบั ใหเขากับสถานการณเ ฉพาะทีเ่ กดิ ขน้ึ รปู แบบขบวนรถยนต
ó.ñ ö ñ ¤Ñ¹ ซึ่งเปนบุคคลสําคัญที่มีความสําคัญนอย มีความเสี่ยงตอการถูก
ทาํ รายตํ่า ในรถจะมคี นขบั และ จนท.รปภ.บุคคลสําคัญ
รูปที่ ๒๕ รูปแบบขบวนรถยนต ๑ คัน
ภายในรถประกอบดว ย
- พลขับรถบุคคลสําคญั
- จนท.รปภ.บคุ คลสําคัญ (นง่ั หนาคูกบั พลขับ)
- บุคคลสาํ คญั
๖๒
ó.ò ¢ºÇ¹Ã¶ ò คนั ซ่งึ บคุ คลผูม คี วามสาํ คญั มากขึ้นมาอกี และมีอัตราการเสี่ยง
ระดับปานกลาง
รปู ที่ ๒๖ รูปแบบขบวนรถยนต ๒ คนั
öº¤Ø ¤Åสาํ ¤ÑÞ ภายในรถจะประกอบไปดว ย
- พลขบั รถบคุ คลสาํ คญั ซงึ่ ควรจะเปน จนท.รปภ. ในทมี รกั ษาความปลอดภยั
ท่มี ีเทคนคิ ในการขบั รถไดด ี
- จนท.รปภ.ประจาํ ตวั บคุ คลสาํ คญั หรอื AIC(AGENTINCHART)หรอื ปจต.
หรอื DL (DETAIL LEADER) ซง่ึ มหี นา ทป่ี กปอ งชวี ติ บคุ คลสาํ คญั เมอื่ มภี ยั คกุ คามเกดิ ขนึ้ กบั บคุ คล
สําคัญ มีหนาที่ใหคําปรึกษากับบุคคลสําคัญเกี่ยวกับเรื่องการรักษาความปลอดภัยคอยปด - เปด,
ปลดลอ็ ก – ปด ลอ็ ก ประตรู ถบุคคลสําคัญใหแ กบุคคลสาํ คญั
- บุคคลสําคัญ
öμ´Ô μÒÁ ภายในรถจะประกอบไปดวย
- พลขับรถตดิ ตามจะเปน จนท.รปภ. ในทมี รักษาความปลอดภยั มเี ทคนิคในการ
ขับรถไดดี และประสานงานการปฏิบัติเก่ียวกับการขับรถกับพลขับรถบุคคลสําคัญไดดี (รูเทคนิค
การขบั รถซง่ึ กันและกัน)
- หวั หนา ชดุ หรอื SL (SHIP LEADER) หรือหมายเลข ๑ จะนั่งคดู านหนา
กบั พลขับ มีหนา ท่คี วบคมุ การปฏิบตั ขิ องทีมปฏบิ ัติ สงั่ การในการลงรถ วงิ่ ประกบรถ และการใชอาวุธ
แกท มี ปฏบิ ตั ิ
- จนท.รปภ. จํานวน ๔ คน
ó.ó ¢ºÇ¹Ã¶ ó ¤¹Ñ สําหรับบุคคลที่รูจักกันดี และมรี ะดับการเส่ยี งภัยสูงตองการ
ความสะดวกรวดเรว็ ในการเดินทาง
รปู ที่ ๒๗ รูปแบบขบวนรถยนต ๓ คนั
๖๓
öนํา ควรจะเปนรถตํารวจทางหลวง เพื่อประสานการปฏิบัติกับตํารวจ
ทางหลวงทอ งท่ที ีข่ บวนรถบคุ คลสาํ คัญผาน ภายในรถประกอบไปดวย
- พลขบั รถนาํ
- จนท.รปภ. ของทมี รปภ. คอยประสานการปฏบิ ตั กิ บั ทมี รปภ.ใหญ รายงาน
การจราจรและสิง่ ผดิ สังเกตใหหัวหนาชดุ ทราบ
öºØ¤¤Åสํา¤ÑÞ ภายในรถจะประกอบไปดว ย
- พลขบั รถบคุ คลสาํ คญั ซง่ึ ควรจะเปน จนท.รปภ. ในทมี รกั ษาความปลอดภยั
มีเทคนคิ ในการขบั รถไดด ี
- จนท.รปภ.ประจําตวั บุคคลสําคญั (AIC หรอื DL) หรือ ปจต. ซ่งึ มหี นา ที่
ปกปอ งชวี ติ บคุ คลสาํ คญั เมอ่ื มภี ยั คกุ คามเกดิ ขนึ้ กบั บคุ คลสาํ คญั มหี นา ทใี่ หค าํ ปรกึ ษากบั บคุ คลสาํ คญั
เก่ียวกับเร่ืองการรักษาความปลอดภัย คอยปด-เปด, ปลดล็อก-ปดล็อก ประตูรถบุคคลสําคัญ
ใหแกบ คุ คลสําคัญ
- บุคคลสาํ คญั
öμÔ´μÒÁ ภายในรถจะประกอบไปดว ย
- พลขับรถติดตาม จะเปน จนท.รปภ. ในทีมรักษาความปลอดภัยมีเทคนิค
ในการขบั รถไดด ี และประสานงานการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การขบั รถกบั พลขบั รถบคุ คลสาํ คญั ไดด ี (รเู ทคนคิ
การขับรถซึ่งกันและกัน)
- หวั หนา ชดุ (SL) หรอื หมายเลข ๑ จะนงั่ คดู า นหนา กบั พลขบั มหี นา ทคี่ วบคมุ
การปฏิบตั ขิ องทีมปฏิบัติ ส่งั การในการลงรถ วิ่งประกบรถ และการใชอาวุธแกท ีมปฏิบัติ
- จนท.รปภ. จาํ นวน ๔ คน
ó.ô û٠¢ºÇ¹ÂÒ¹¾Ò˹зèÕÁ¤Õ ÇÒÁàÊÂèÕ §μ‹ÍÀÑÂÊÙ§ จะประกอบไปดวย
รปู ท่ี ๒๘ รปู แบบขบวนยานพาหนะที่มคี วามเส่ยี งภัยสูง
öนํา ควรจะเปนรถตํารวจทางหลวง เพื่อประสานการปฏิบัติกับตํารวจ
ทางหลวงทอ งทที่ ีข่ บวนรถบคุ คลสาํ คญั ผา น ภายในรถจะประกอบไปดวย
- พลขบั รถนํา
- จนท.รปภ. ของทมี รปภ. คอยประสานการปฏบิ ตั กิ บั ทมี รปภ.ใหญ รายงาน
การจราจรและสิ่งผดิ สังเกตใหห วั หนาชดุ ทราบ
๖๔
öº¤Ø ¤Åสาํ ¤ÞÑ ภายในรถจะประกอบไปดว ย
- พลขบั รถบคุ คลสาํ คญั ซงึ่ ควรจะเปน จนท.รปภ. ในทมี รกั ษาความปลอดภยั
มีเทคนิคในการขับรถไดด ี
- จนท.รปภ.ประจําตัวบุคคลสาํ คญั (AIC หรอื DL) หรอื ปจต. ซ่งึ มหี นา ที่
ปกปอ งชวี ติ บคุ คลสาํ คญั เมอ่ื มภี ยั คกุ คามเกดิ ขน้ึ กบั บคุ คลสาํ คญั มหี นา ทใ่ี หค าํ ปรกึ ษากบั บคุ คลสาํ คญั
เก่ียวกับเร่ืองการรักษาความปลอดภัย คอยปด-เปด, ปลดล็อก-ปดล็อก ประตูรถบุคคลสําคัญใหแก
บคุ คลสําคัญ
- บคุ คลสําคัญ
öμÔ´μÒÁ ภายในรถจะประกอบไปดว ย
- พลขับรถติดตาม จะเปน จนท.รปภ. ในทีมรักษาความปลอดภัยมีเทคนิค
ในการขบั รถไดด ี และประสานงานการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การขบั รถกบั พลขบั รถบคุ คลสาํ คญั ไดด ี (รเู ทคนคิ
การขบั รถซง่ึ กนั และกัน)
- หวั หนา ชดุ (SL) หรอื หมายเลข ๑ จะนง่ั คดู า นหนา กบั พลขบั มหี นา ทคี่ วบคมุ
การปฏิบัตขิ องทมี ปฏิบตั ิ สั่งการในการลงรถ ว่งิ ประกบรถ และการใชอ าวุธแกทมี ปฏบิ ตั ิ
- จนท.รปภ. จาํ นวน ๔ คน
öμ‹ÍμŒÒ¹¡ÒëÁ‹Ø â¨ÁμÕ (สนับสนุนทางยุทธการ) ภายในรถประกอบไปดว ย
- พลขับรถตอตานการซุมโจมตี จะเปนเจาหนาที่ในทีมปฏิบัติการพิเศษ
มเี ทคนคิ การขับรถไดดี
- ชุดปฏบิ ตั ิการพเิ ศษ จํานวน ๕ คน หรือมากกวา แลวแตภ ารกิจหรอื การจดั
ของหนวย มีความสามารถในการใชอาวุธไดดี มียุทธวิธีในการตอตานการซุมโจมตีดี อาวุธที่ใชมีขีด
ความสามารถในการทําลายลา งสูง และมคี วามคลองตวั ในการปฏบิ ตั ิ ควรเปนรถตู
ö¨¡Ñ ÃÂҹ¹μ เปน รถวง่ิ ประกบบคุ คลสาํ คญั ในพนื้ ทท่ี มี่ กี ารจราจรหนาแนน
และในบางโอกาสเมอื่ เกดิ ภยั คกุ คามบคุ คลสาํ คญั ในพน้ื ทที่ มี่ กี ารจราจรหนาแนน สามารถเปน รถนาํ พา
บุคคลสําคญั ออกจากพ้ืนทีไ่ ดรวดเร็ว อาวธุ ท่ีใชเ ปนอาวุธทซี่ อ นพรางไดด ีมคี วามคลอ งตัวในการใช
ó.õ ¢ºÇ¹Ã¶àμçÁÂÈÍ‹ҧ໚¹·Ò§¡Òà สาํ หรับผมู ีชอื่ เสยี งมาก ประมุข หรือผูนาํ
ของประเทศมีภยั คกุ คามสูง ประกอบดวย (ไมแนนอน)
๓.๕.๑ รถเบกิ ทาง ซงึ่ จะเดนิ ทางลว งหนา ขบวนรถ ๔-๕ นาที เพอื่ ตรวจเสน ทาง
ในดา นความปลอดภยั และสภาพการจราจร ในรถควรมี จนท.รปภ. ๑ คน และ จนท.กาํ จดั ระเบดิ ๑ คน
๓.๕.๒ รถนําของตํารวจ ใชเพ่ือควบคุมการจราจรและชวยนําทางขบวน
รถนั้นไปบนเสนทางควรเปนรถตํารวจทางหลวง เพ่ืองายตอการติดตอประสานงานกับตํารวจทองท่ี
มี จนท.รปภ. นงั่ มาดว ย ๑ คน เพอ่ื ชว ยในการควบคุมขบวนรถและตดิ ตอกับทีม รปภ.
๖๕
๓.๕.๓ รถนาํ ทมี รปภ. จะมี จนท.รปภ. นง่ั มาในรถ ทกุ ตาํ แหนง ทาํ หนา ทเี่ ปน
รถกันภัยดานหนารถบุคคลสําคัญ ใชเปนเครื่องกีดขวางถาจําเปนและอาจใหเปนรถสํารองรถบุคคล
สําคญั
๓.๕.๔ รถบุคคลสําคัญ จะมีพลขับที่เปน จนท.รปภ. และหัวหนาทีม
รปภ. (ผใู หคําปรึกษาและปกปองชวี ติ บคุ คลสําคัญ, รปภ.ประจาํ ตวั )
๓.๕.๕ รถติดตามของ รปภ. ในรถคันนี้จะมพี ลขบั เปน รปภ. มีหวั หนากะ (๑)
นงั่ มาเบาะหนา คกู บั คนขับ เบาะหลงั จะมี จนท.รปภ. น่ังมาดว ย ๓ คน
๓.๕.๖ รถคณะ จนท. และผูชวยของบุคคลสําคัญ ใชสําหรับขนสงผูชวย
หรอื สามีหรือภรรยาบุคคลสําคญั
๓.๕.๗ รถตํารวจปดทายขบวน ใชควบคุมการจราจรและปดทายขบวน
ถามกี าํ ลัง รปภ. พอ ก็ควรใหน ่งั ไปกบั รถคันนี้ดว ย ๑ คน
๓.๕.๘ รถจักรยานยนต ใชเพ่ือเดินทางลวงหนาขบวนรถบุคคลสําคัญ
เพอื่ คอยดกั ควบคมุ การจราจรตามแยกตา ง ๆ ใชค มุ กนั บคุ คลสาํ คญั โดยการขข่ี นาบขา งรถบคุ คลสาํ คญั
และบางทอี าจใชเ ปนรถท่พี าบคุ คลสาํ คัญหนอี อกจากพื้นทซ่ี ง่ึ ถูกโจมตีได
๓.๕.๙ รถพยาบาล ใชเม่ือบุคคลสําคัญหรือบุคคลในคณะเกิดเจ็บปวย
กะทนั หนั หรือใชเ ปน รถสาํ รองพาบคุ คลสําคญั หนอี อกจากพ้นื ท่หี รือใชเปนรถนาํ พาทมี รปภ. หนี
รปู ท่ี ๒๙ ขบวนรถเตม็ ยศอยางเปน ทางการ
ó.ö à·¤¹Ô¤ã¹¡ÒÃà¤Å×è͹μÇÑ º¹·ŒÍ§¶¹¹
๓.๖.๑ ปกปอ ง พาหนี และเอาตวั เขากน้ั ระวังภยั ทกี่ าํ ลงั คกุ คาม
- คนขบั ของรถทกุ คนั จะใชเ สน ทางหลกั หรอื รองทไี่ ดเ ลอื กไวก อ นออก
เดนิ ทาง (ตอ งรเู สนทางหลกั และรอง)
๖๖
- คนขับรถทุกคันจะตองรเู มื่อเกดิ เหตุการณ แลวจะนําบคุ คลสําคญั
ไปหลบซอ นทีใ่ ด รวมท้ังจดุ ออกฉกุ เฉินจากเสนทางดว ย
- รถทุกคันตองมีวิทยุส่ือสารสามารถติดตอกันไดตลอดเวลา
ความรับผิดชอบของคนขบั
- คนขับรถบุคคลสําคัญตองตระหนักในความรับผิดชอบของตน
ตอรถติดตาม (การเล้ียวตองแอบเขาดานในเพื่อเปดทางใหรถติดตามเคลื่อนเขามาขวางทางให
ตองนึกเสมอวาตนเองขับรถ ๒ คัน ในเวลาเดียวกันคือแนใจมีท่ีพอสําหรับรถ ๒ คัน ในคันที่จะเขา
หรือจะผานกอนที่จะเล้ียวเขาหรือผานจุดใด การเคล่ือนตัวตองนิ่มนวลหรือหลีกเล่ียงการหยุด
โดยกะทนั หัน)
- คนขบั รถตาม การขับตอ งคาํ นึงถึงรถบคุ คลสาํ คัญ เชน การนํารถ
เขา ขวางในขณะทรี่ ถบคุ คลสําคัญจะออกเดนิ ทางหรอื จะถงึ ที่หมาย นํารถเขา ขวางก้นั รถตา ง ๆ ใหรถ
บคุ คลสาํ คัญเคลอื่ นไดต ามตอ งการ
๓.๖.๒ เมอื่ ถงึ ทางแยกหรอื พ้ืนท่อี ันตราย
รถบุคคลสําคัญจะเคลื่อนไปที่ดานตรงขามของทางแยก รถติดตาม
จะเคลอ่ื นตวั เขา ขวางระหวางทางแยกกับรถบคุ คลสาํ คัญ เมอื่ ผา นทางแยกหรอื พ้ืนท่ีอนั ตราย และจะ
กลบั เขา รูปขบวนเดมิ
รปู ที่ ๓๐ เทคนคิ การเคลอ่ื นผานทางแยก
๖๗
๓.๖.๓ เมื่อถนนมีชอ งทางเดนิ รถหลายชอ งทาง
- เมอื่ รถบคุ คลสาํ คญั อยเู ลนขวา รถตดิ ตามควรครอ มอยรู ะหวา งเลน
กลางกับเลนขวา ดังรปู
รปู ที่ ๓๑ เทคนคิ การเคลือ่ นทีบ่ นถนนมชี องทางเดินรถหลายชอ งทาง
เมื่อถนนมีชองทางเดินรถหลายชองทาง รถบุคคลสําคัญอยูเลนขวา รถติดตาม
ควรครอมอยรู ะหวา งเลนกลางกับเลนขวา ดงั รปู
๓.๖.๔ รถหยุดทามกลางการจราจร
- รถตดิ ตามจอดอยดู า นหลงั รถบคุ คลสาํ คญั เลก็ นอ ยโดยจอดขวางไมใ ห
รถดา นหลงั ขน้ึ มาเทยี บรถบคุ คลสาํ คญั ได และสามารถเคลอื่ นตวั ออกจากพน้ื ทน่ี น้ั ไดเ มอื่ มเี หตกุ ารณข น้ึ
รูปท่ี ๓๒ เทคนคิ การเคลื่อนทเี่ ม่ือรถหยุดทา มกลาง
๖๘
๓.๖.๕ การเล้ียวที่สแี่ ยก
- รถบคุ คลสาํ คญั จะวง่ิ เขา มมุ ดา นในของการเลย้ี วเพอื่ ปอ งกนั อนั ตราย
ท่ีอาจเกิดข้นึ ได
- รถตดิ ตามจะวง่ิ ประกบคกู บั รถบคุ คลสาํ คญั ทางดา นนอกเพอื่ ปอ งกนั
อันตรายจากรถทอ่ี าจวงิ่ มาจากทางแยกได
- ในการเลยี้ วของรถทัง้ ๒ จะรักษาจุดของการอยดู านใน/ดานนอก
เชน นเี้ สมอ
- เมอ่ื เลยี้ วเรยี บรอยก็จะกลบั เขา รปู ขบวนตามเดิม
รูปท่ี ๓๓ เทคนิคการเคล่อื นท่ี การเลี้ยวทส่ี แ่ี ยก
ó.÷ àÁèÍ× ¶§Ö ·ÕèËÁÒ (¡ÒÃŧö)
- กอนถงึ หมายประมาณ ๔-๕ นาที รองหวั หนา (๑) จะวิทยแุ จง สวนลว งหนา
ในพ้ืนท่ีทราบ เพื่อใหสวนลวงหนาแจงใหทราบวามีใครมาตอนรับ และจะมีการหยุดทักทายหรือไม
รวมถึงสถานการณในพื้นท่ีเวลานั้นกอนถึงที่หมายอีก ๑ นาที รองหัวหนา (๑) จะแจงสวนลวงหนา
อกี ครงั้ โดยทง้ั จนท.รปภ.ประจาํ ตวั และพลขบั บคุ คลสาํ คญั จะเฝา ฟง และรบั ขา วสารขอ มลู ตลอดเวลา
หากมีขอสงสยั หรอื บุคคลสําคญั ตองการขอ มลู เพิม่ เติมกจ็ ะสอบถามผานรองหวั หนา (๑)
- พลขับรถบุคคลสําคัญนํารถเขาจอดตรงบริเวณที่สวนลวงหนาช้ีใหจอด
โดยใหกนั ชนหนารถอยตู รงมอื ที่สวนลว งหนาใหสัญญาณ
๖๙
รปู ที่ ๓๔ การเขา ทห่ี มาย
- เมื่อรถบุคคลสําคัญจอดเขาที่ สวนลวงหนาจะเคลื่อนที่เขาบังประตู
(หากไมม เี จาหนา ทีเ่ ปด ประตูในกรณีมพี ิธกี าร) หันหนา ออกเพ่อื สามารถตรวจการดานขา งตัวรถ
รปู ท่ี ๓๕ สวนลวงหนาเขา บงั ประตู
๗๐
รปู ที่ ๓๖ การลงรถ และการจอดรถ
- ในขณะเดียวกันรถติดตามจะหยุดหลังรถบุคคลสําคัญ โดยจอดเฉียง
ทํามมุ ประมาณ ๔๕ องศา หนั หนาไปทางเลนทีว่ าง หัวหนา ชดุ (๑) สง่ั จนท.รปภ.(๒), (๔) เขาประจาํ ท่ี
จนท.รปภ. จะลงทางดานซายและขวา โดยทั้งสองนายจะไปยืนในตําแหนงประตูหลังของรถบุคคล
สําคญั จนท.รปภ.(๒) จะออกไปยนื ในตําแหนงประตูหลังซาย หนั หนาออกจากรถ สวน จนท.รปภ.(๔)
ดานขวาของรถบคุ คลสําคญั หวั หนา ออกจากรถ เชน กัน
- หัวหนาชดุ (๑) จะตาม จนท.รปภ.(๒) ออกมา และเดินไปทางดา นซา ยของ
รถบคุ คลสําคญั ไปแตะตวั จนท.รปภ. ทย่ี ืนอยแู ลวใหไปท่ีประตหู นา ซาย หวั หนาชุด (๑) จะมายนื แทน
โดยหันหนา ออกจากตวั รถ จนท.รปภ.(๓) กจ็ ะปฏิบตั เิ ชน เดยี วกนั กับหวั หนาชดุ (๑) แตจ ะรบั ผิดชอบ
ประตูหลงั ขวารถบุคคลสําคัญ
๗๑
รูปที่ ๓๗ การลงรถและการจอดรถ
๓.๗.๑ การยนื ในตําแหนงเม่อื ถึงหมาย
- เมอื่ พน้ื ที่ปลอดภยั แลว หัวหนาชดุ (๑) สงสญั ญาณให จนท.รปภ.
ประจําตัวทราบ (โดยการเคาะประตูแลวยกหัวน้ิวโปงข้ึนหรือวิทยุบอกเมื่อ จนท.รปภ.ประจําตัว
ลงมาจากรถ (ปด ประต)ู โดยใหห วั หนา ชดุ ขยบั ตวั มาทางดา นหลงั ของรถเลก็ นอ ย (บงั มมุ เมอื่ เปด ประต)ู
ยงั ยนื อยใู นลกั ษณะเดิมหรือหนั หนา ออก (เฉยี งเลก็ นอ ยเพื่อบงั มมุ ขณะบุคคลสาํ คญั ลงจากรถ)
๗๒
รปู ที่ ๓๘ การยืนในตําแหนง เม่อื ถงึ ท่ีหมาย
- เมอื่ บคุ คลสาํ คัญลงจากรถแลว สว นลวงหนาท่ีชใ้ี หร ถจอดจะทําหนา ท่เี ดิน
นาํ ทางไปยงั ทหี่ มาย จนท.รปภ.ประจาํ ตวั จะเดนิ ตามหลงั บคุ คลสาํ คญั จนท.รปภ. ทอ่ี ยปู ระตหู นา ซา ย
จะเดินตามสว นลว งหนา เปน รปภ.หนา
- จนท.รปภ.(๓) ที่อยูประตูหนาขวาจะเดินออมหนารถจะมาอยูในตําแหนง
ขา งขวามือของบุคคลสําคัญ (ระวังขวา)
- จนท.รปภ.(๔) ท่ีอยูประตูหลังขวาจะเดินออมหลังรถจะมาอยูในตําแหนง
ขางซา ยมือของบุคคลสําคญั (ระวังซา ย)
- หัวหนา ชดุ (๑) จะเดนิ ตามหลงั ทาํ หนา ที่ระวงั หลังใหรูปขบวน
๗๓
รปู ท่ี ๓๙ การยืนในตําแหนง
- ประตรู ถบคุ คลสาํ คญั ยงั คงเปด อยตู ลอดเสมอเมอ่ื บคุ คลสาํ คญั อยบู รเิ วณนนั้
พรอ มท่จี ะหนีออกจากพนื้ ท่เี ม่อื เกดิ เหตุการณ
- พลขับจะอยูเฝารถตลอดเวลาจนกวาจะมีคนมาเปล่ียนผลัดหรือมีการจัด
จนท.ในพื้นที่มารกั ษาความปลอดภยั ขบวนรถ
- พลขับจะเปนผูปดประตูและเฝาฟงวิทยุส่ือสารเพื่อติดตามสถานการณ
หรือเปน แมข ายการสือ่ สารในพ้ืนทน่ี นั้ ๆ ตลอดเวลา
๗๔
รปู ท่ี ๔๐ การลงรถเขา สูท ห่ี มาย
๓.๗.๒ การออกเดินทาง (การขึน้ รถ)
- หัวหนาชุด (๑) จะวิทยุบอกพลขับใหพรอมท่ีจะออกเดินทาง
สว นลว งหนา ทท่ี าํ หนา ทนี่ าํ ทางจะเดนิ มาเปด ประตู แลว เดนิ กลบั ออกมายนื หา งจากประตพู อประมาณ
หนั หนา มาทางรูปขบวน รปภ.
- จนท.รปภ.ในตําแหนงเดินนําหนา จะเดินมายืนในตําแหนงประตู
หลังซา ย (บงั มุมขณะที่ประตเู ปด ) หนั หนา เยอื้ งมาทางหลงั รถ
- จนท.รปภ.ในตาํ แหนง เดินขางซา ย จะเดนิ ออมหนารถมายนื อยใู น
ตาํ แหนงประตหู นาขวา
- จนท.รปภ.ในตาํ แหนง เดินขางขวา จะเดินออ มหลังรถมายนื อยูใ น
ตาํ แหนง ประตหู ลงั ขวา
๗๕
รปู ท่ี ๔๑ กอ นขน้ึ รถ
- หัวหนาชุด (๑) จะเดินตามบุคคลสําคัญมายืนในตําแหนงประตู
หนา ซาย (ปด มมุ บานพับประตูขณะเปด) ซ่งึ เปน จดุ ออ นของรถกนั กระสุน
๗๖
รูปที่ ๔๒ บคุ คลสําคัญขึ้นรถ
- จนท.รปภ.ประจําตัว จะเดินมาจับยึดประตูใหบุคคลสําคัญแทน
จากสวนลวงหนา เม่ือบุคคลสําคัญขึ้นนั่งบนรถเรียบรอยแลว จนท.รปภ.ประจําตัวจะปดประตูให
บุคคลสําคัญ จากน้ัน จนท.รปภ.ประจําตัว จึงจะเปดประตูหนาซายเพื่อเขาไปน่ังในตําแหนงของตน
พรอมทั้งตรวจความเรียบรอยแลวจึงส่ังใหพลขับล็อกประตู ซึ่งในขณะนั้นนอกตัวรถหัวหนาชุด
พรอมพวกจะอยใู นตาํ แหนง คุมกันประตูรถท้งั ๔ บาน
รปู ที่ ๔๓ บคุ คลสาํ คญั ข้ึนรถเรยี บรอย
๗๗
รูปท่ี ๔๔ รปภ.ประจําตวั ขนึ้ รถ
- จากนั้นหัวหนาชุดจะใหสัญญาณ พรอมท้ังเคล่ือนตัวมาชนไหล
ของ จนท.รปภ.(๒) ใหทาํ การถอนตวั เพ่ือไปขน้ึ รถตดิ ตาม ในสว นของ จนท.รปภ.ดา นขวาของตัวรถก็
จะปฏบิ ัติในลกั ษณะเชน เดยี วกนั เมอ่ื หวั หนาชุด (๑) และ จนท.รปภ.(๔) เขา มาคมุ กนั ประตูหลังทัง้ สอง
ดานแลว สวนลวงหนาก็จะเคล่ือนตัวตามมาชนไหลหัวหนาชุด เพื่อเขาอยูในตําแหนงท่ีตองคุมกัน
ประตูหลังซายจนกวาขบวนรถจะเคล่ือนท่ีออกจากที่หมายไป ระหวางน้ันหัวหนาชุด (๑) และ
จนท.รปภ.(๔) จะเคล่ือนท่ีกลบั ไปทีร่ ถติดตาม และนัง่ ประจาํ ตําแหนง
รปู ที่ ๔๕ การขนึ้ รถของ รปภ.
๗๘
เคล่อื นท่อี อกจากทีห่ มาย รปู ที่ ๔๖ รปภ. ข้นึ รถ
- หัวหนาชุดจะเปนผูส่ังการใหตรวจความพรอม และส่ังใหรถนํา
รูปที่ ๔๗ การนํารถออกจากที่หมาย
๗๙
ó.ø ¡ÒÃǧÔè »ÃСºÃ¶º¤Ø ¤Åสาํ ¤ÑÞ
เราจะใชวิธีนี้เม่ือรถบุคคลสําคัญว่ิงในความเร็วตํ่าอยางชา ๆ ในหมูฝูงชน
ทคี่ อ นขางหนาแนน หรือในขบวนแหเ ปนทางการ
เร่ิมจาก จนท.รปภ.ประจําตัวบุคคลสําคัญ รองขอ จนท.รปภ.ในรถติดตาม
ใหอ อกวงิ่ ตามประกบรถบุคคลสําคญั คาํ ขอ คือ “๒๐๐ เมตร ฝงู ชนหนาแนนขอกําลังสนับสนนุ ดว ย”
ÃͧËÇÑ Ë¹ŒÒªØ´ (ñ) ¨ÐÍÍ¡คําÊè§Ñ ¡Ñº ¨¹·.ûÀ.ã¹Ã¶
คําÊèѧáá คือ “¾ÃŒÍÁ” ให จนท.รปภ.หลังซาย-หลังขวา และตัวหัวหนา
ชดุ (๑) เอง เปด ประตอู อกมายืนขา งรถในลักษณะพรอมที่จะออกจากรถ*
คาํ ÊÑè§Ê͹ คอื “ไป” (GO)
- หัวหนาชุด (๑) เอง ก็จะโดดลงจากรถ และว่ิงไปยังรถบุคคลสําคัญ
ว่ิงประกอบที่ประตูหลังซายซ่ึงบุคคลสําคัญนั่งอยู จนท.รปภ.(๒) ก็จะโดดลงจากรถพรอมกับหัวหนา
ชดุ (๑) แลวออกว่งิ ไปยังรถบคุ คลสําคญั ว่ิงแซงหัวหนา ชดุ (๑) ไปว่งิ ประกบรถบริเวณประตูหนา ซาย
- จนท.รปภ.(๔), (๓) ตามลําดับ และคนน่งั หลงั กลางกจ็ ะโดดลงรถพรอ มกัน
ประตูหลงั ขวาวิ่งไปประกบรถบุคคลสาํ คัญทางประตูขวาทงั้ ประตูหนา-หลงั
คําÊÑ觷èÕÊÒÁ เมื่อจะเลิกวิ่งและจะกลับขึ้นรถ หัวหนาชุด (๑) จะออกคําส่ัง
“àμÃÕÂÁ¡ÅѺà¢ÒŒ ·èÕ” พรอ มกบั หวั หนา ชดุ (๑) ยกมือซายเสมอไหล จนท.รปภ. จะผอ นฝเทา ในการว่ิง
ใหช า ลงจนรถตดิ ตามขนึ้ มาทนั ตน พรอ มเปด ประตรู ถแลว โดดขนึ้ มายนื ในลกั ษณะ “พรอ ม” พรอ มทจี่ ะ
ออกไปปฏิบัติอีกเม่ือพลขับเห็นหัวหนาชุด (๑) ยกมือซายใหเรงเคร่ืองเพื่อใหรถเขาเทียบ จนท.รปภ.
ไดเ ร็วเพอ่ื จะวงิ่ ติดตามรถบคุ คลสาํ คญั ไดเรว็
คาํ ÊÑ§è ·èÕÊèÕ หวั หนา ชุด (๑) จะออกคาํ ส่งั วา “à¢ÒŒ ·èÕ” จนท.รปภ. ทั้งหมดจะกลบั
เขา ท่ีพรอมปด ประตแู ลว บอกวา “เรียบรอย” เพือ่ ใหพ ลขับเพ่มิ ความเรว็ ตามรถบคุ คลสาํ คัญไป
ó.ù ¡ÒÃà»ÅÕè¹ö¡Ã³äÕ Á‹ÁÕÀÂÑ ¤¡Ø ¤ÒÁ
ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิเมื่อรถขบวน VIP เสีย ไมม ภี ัยคกุ คาม ดังนี้
- หัวหนาชุด รปภ.แจงใหนํารถสํารองข้ึนมาเปลี่ยนทางดานขวาของรถ
บคุ คลสําคัญ ตามรปู ท่ี ๔๘
- หวั หนา ชดุ รปภ. ลงรถมาเปด ประตหู ลงั ดา นซา ยรถสาํ รองไวแ ลว กลบั มาเปด
ประตูรถบคุ คลสําคัญ ตามรปู ที่ ๔๘
- จนท.รปภ. ทค่ี มุ กนั ทางดา นซา ยรถบคุ คลสาํ คญั เคลอ่ื นทม่ี าคมุ กนั รถสาํ รอง
ทางดานขวา ตามรูปที่ ๔๙
- จนท.รปภ. ทท่ี าํ หนา ทคี่ มุ กนั ทางดา นขวารถบคุ คลสาํ คญั เคลอ่ื นทมี่ าคมุ กนั
ทางดา นซา ยรถสํารอง ตามรปู ท่ี ๔๙
- หัวหนาชุด รปภ. ข้ึนรถสํารองหนาซาย สั่งขบวนรถเคล่ือนท่ีตอไป
ตามรูปที่ ๔๙
๘๐
รปู ที่ ๔๘ การเปล่ยี นรถกรณีไมมีภัยคุกคาม
รูปท่ี ๔๙ การเปลีย่ นรถกรณไี มม ีภยั คุกคาม
๘๑
ó.ñð ¡ÒÃà»ÅÂÕè ¹Ã¶ ¡Ã³ÕÁÕÀÂÑ ¤Ø¡¤ÒÁ ¶¡Ù «ØÁ‹ â¨ÁμÕ
ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ เมื่อขบวนรถถูกซมุ โจมตี รถบคุ คลสําคัญเสียหายไมส ามารถว่งิ ไปได
- หัวหนาชุด รปภ. แจงทางวิทยุมีภัยคุกคามถูกซุมโจมตีทางดานซาย
รถไมสามารถวิ่งไปได ใหรถ รปภ.ขึ้นมาเปล่ียนทางดานขวา เม่ือรถ รปภ. มาเทียบรถบุคคลสําคัญ
ทางดา นขวา จนท.รปภ.ทีน่ ง่ั หนาซา ยลงจากรถ เคลอื่ นท่ีมายิงตอบโตทางดานหนารถบคุ คลสําคัญ
- จนท.รปภ.ที่นั่งทางดานหลังซาย ลงจากรถมาเปดประตูรถบุคคลสําคัญ
ทางประตหู ลงั ดานขวา แลว เคล่อื นทมี่ ายงิ ตอบโตทางทา ยรถบคุ คลสําคญั
- จนท.รปภ.ท่ีนัง่ หลังทางขวาลงจากรถเคลอื่ นที่มาคมุ กัน ทางทายรถ รปภ.
- จนท.ชดุ รปภ. นาํ บคุ คลสาํ คญั ไปขน้ึ รถ รปภ.พรอ มกบั รอ งตะโกน “บคุ คล
สาํ คญั ขน้ึ รถเรยี บรอ ย” จนท.รปภ.ทย่ี งิ ตอบโตก ลบั ขนึ้ รถ สว นทเี่ หลอื ใหไ ปขน้ึ รถในขบวนคนั อน่ื ตดิ ตาม
รถ รปภ.ไป
รปู ท่ี ๕๐ การเปลีย่ นรถ กรณีมีภยั คุกคาม ถกู ซมุ โจมตี
๘๒
μ͹·èÕ ö : ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂã¹Ê¶Ò¹¡Òó¾àÔ ÈÉ
ñ. ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åã¹áËŧ‹ ªØÁª¹Ë¹Òṋ¹ (μÅÒ´)
๑.๑ ¢ŒÍ¾§Ö μÃÐ˹¡Ñ
๑.๑.๑ พ้ืนที่ชุมชนหนาแนนหรือตลาดเปนที่สัญจรของประชาชน
เปนจํานวนมาก ซ่ึงถือวาเปนปจจัยเก้ือกูลของฝายตรงขามในการแฝงตัว และเปนขอจํากัดของฝาย
เจาหนาที่ในการใชอ าวธุ ตอบโตก ารปฏิบตั ขิ องฝา ยตรงขา ม
๑.๑.๒ เปาหมายท่ีฝายตรงขามตองการกระทํา มิไดมีขอบเขตอยูแตเพียง
บุคคลที่ไดรับความคุมครอง หากแตตัวเจาหนาที่ท่ีปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัยก็เปนเปาหมาย
หรือ “เหย่ือ” ทีฝ่ า ยตรงขามโจมตีทนั ทถี า มีโอกาส
๑.๑.๓ วธิ ีการลดความสญู เสยี ในกรณีน้ีไดผ ลท่สี ุด กค็ ือ หลีกเล่ยี งการเขา ไป
ในชุมชนหนาแนน หรอื ตลาด หรือถาเขาไปก็ตองนอ ยครั้งที่สดุ และแตละครั้งตองใชเวลานอ ยท่สี ุด
๑.๑.๔ หากฝายเจาหนาท่ีมีความพรอมในการระมัดระวังและการตอบโต
มากเทาใดโอกาสในการปฏิบัติของฝา ยตรงขา มก็จะนอยลงตามลาํ ดับเชนกนั
๑.๒ ËÅ¡Ñ ¡ÒÃสํา¤ÞÑ
๑.๒.๑ ตองมีการหาขาวสารขอมูลเก่ียวกับพื้นที่ปฏิบัติการ ทั้งในดาน
ภูมปิ ระเทศ เสนทาง สภาพทางสงั คม รวมไปจนถึงแนวโนม การปฏิบตั ขิ องภยั คกุ คามหรอื การปฏบิ ัติ
ของฝา ยตรงขา ม ขา วสารเหลา นจี้ ะนาํ ไปสกู ารวางแผนทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั ควรมกี ารตง้ั สมมตุ ฐิ าน
การปฏิบัติของฝา ยตรงขา ม เพื่อกาํ หนดแผนระวังปอ งกนั และตอบโต
๑.๒.๒ การเขา สพู นื้ ทท่ี กุ ครงั้ ตอ งมกี ารวางแผน กาํ หนดหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
ใหแ กช ดุ ปฏบิ ตั กิ าร และผเู ปน บคุ คลทส่ี าํ คญั (VIP ในทน่ี ห้ี มายถงึ ผไู ดร บั มอบหมายใหเ ปน ผซู อ้ื สงิ่ ของ)
มีการซักซอมทําความเขาใจรวมกันอยางชัดเจน โดยการวางแผนตองครอบคลุมท้ังในกรณีการปฏิบัติ
เปนไปดว ยความเรยี บรอยและในกรณที ต่ี องเผชญิ สถานการณร นุ แรง
๑.๒.๓ การใชกําลังที่เหนือกวาโดยเด็ดขาด ทําการปดลอมพื้นท่ีเปาหมาย
โดยการแสดงกําลังอยางเปดเผยนาจะเปนวิธีการหน่ึงท่ีนํามาใชไดผล แตหากมีขอจํากัดในการปฏิบัติ
เชนนี้ก็จําเปนจะตองม่ันใจวามีกําลังสวนอ่ืน ๆ ท่ีนอกเหนือจากชุดปฏิบัติการทําการปดลอม
พื้นทส่ี าํ คัญทคี่ าดวา ฝายตรงขา มจะใชใ นการหลบหนีหรอื ถอนตัวหลังการปฏบิ ัตติ อ เจาหนาที่
๑.๒.๔ ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารทกุ นายตอ งมคี วามพรอ มในการใชอ าวธุ ตอบโตฝ า ยตรงขา ม
ในทันที แตท้ังนี้ก็ตองเปนไปดวยความระมัดระวังเปนพิเศษ เพ่ือปองกันการสูญเสียท่ีอาจจะเกิดขึ้น
กับประชาชนท่วั ไป
๑.๒.๕ ชุดปฏิบัติการทุกนายตองยึดมั่นในการปฏิบัติงานตามหนาท่ีท่ีไดรับ
มอบหมายตามขัน้ ตอนทก่ี ําหนดไว และตองมน่ั ใจไดว าทุกยา งกาวของชดุ ปฏบิ ตั ิการและบคุ คลสาํ คญั
อยูในความคมุ ครองซงึ่ กันและกนั
๘๓
๑.๓ á¹Ç·Ò§¡Òû¯ÔºÑμÔ
๑.๓.๑ ชดุ ปฏิบตั กิ าร ๖ นาย (ไมร วมบคุ คลสําคญั ) มีแนวทางการปฏบิ ัติ ดงั นี้
- หมายเลข ๕, ๖ เฝารถยนต โดยแบงพ้ืนท่ีตรวจการเฝาระวัง
คนละ ๑๘๐ องศา
- หมายเลข ๑, ๒, ๓, ๔ ปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัย
บุคคลสาํ คัญ (VIP)
- หมายเลข ๑,๒ มีทิศทางเคลื่อนท่ีไปในทางเดียวกันในขณะท่ี
หมายเลข ๓, ๔ หนั หนามาทาง VIP เพ่ือคุม ครอง VIP และหมายเลข ๑,๒ ในขณะทีห่ มายเลข ๑, ๒
กท็ าํ การคมุ กันใหห มายเลข ๓, ๔ เชน กัน ในขณะหมายเลข ๑, ๒ และ VIP เดินผา นจุดของหมายเลข
๓, ๔ หมายเลข ๓,๔ จะยังคงมองตรวจการไปยังทิศทางเดิม เพ่ือคอยระวังหลังใหหมายเลข ๑,๒
และ VIP
- เม่อื หมายเลข ๑, ๒ และ VIP เคลื่อนท่ีมาไดร ะยะหนึ่งตามสมควร
ก็ใหหยุด แลวใหสัญญาณหมายเลข ๓, ๔ หันหลังกลับเคล่ือนที่มาใหความคุมครองดานหลัง VIP
และหมายเลข ๑, ๒ ในขณะท่ีหมายเลข ๑, ๒ ก็หันหนาเขาหา VIP พรอมกับใหความคุมกัน
หมายเลข ๓, ๔ ไปพรอมกนั
๘๔
àÊŒ¹·Ò§¡ÒÃà¤ÅèÍ× ¹·Õèลํา´Ñº·Õè ñ
àÊŒ¹·Ò§¡ÒÃà¤ÅÍè× ¹·ลèÕ าํ ´ºÑ ·Õè ò
·ÈÔ ·Ò§¡ÒÃ椄 à¡μ¡Òó/ÃÐÇѧ
รปู ท่ี ๕๑ การเคล่อื นที่โดยใชช ดุ ปฏบิ ตั ิการ ๖ คน
๘๕
- การเคล่ือนที่จะเปนไปตามลําดับข้ันตอนโดยตอเนื่องเม่ือ VIP
จาํ เปน ตอ งหยดุ เพอ่ื ซอื้ ของ การระวงั ปอ งกนั กย็ งั คงยดึ ถอื หลกั การเดยี วกนั กบั การเคลอ่ื นทค่ี อื สามารถ
ใหความคุมกันซ่ึงกันและกันไดโดยตอเนื่อง (ตรวจการเห็นความเคลื่อนไหวดานหลังของชุดปฏิบัติ
ทกุ นายและ VIP)
- ในการเคลื่อนที่กลับ ก็ปฏิบัติเปนขั้น ๆ ในรูปแบบเดียวกัน
แตพ งึ ใชค วามระมดั ระวงั เปน พเิ ศษขณะจะขน้ึ รถ ทง้ั นเ้ี พราะเปน สถานการณบ งั คบั ทที่ าํ ใหช ดุ ปฏบิ ตั กิ าร
ทัง้ หมดรวมท้งั VIP มารวมตัวกันเปนกลุมกอ น อาจเปนเปาหมายใหญทเี่ ปดโอกาสการโจมตีใหฝ า ย
ตรงขามได ดังน้ันในขั้นตอนนี้จึงตองดําเนินการดวยความรวดเร็ว และชุดปฏิบัติการตองพรอมท้ังใน
การตรวจการและตอบโตการโจมตีของฝา ยตรงขา ม
๑.๓.๒ ชุดปฏิบตั ิการ ๕ นาย (ไมรวม VIP) มีแนวทางการปฏบิ ัติ ดงั น้ี
- หมายเลข ๔, ๕ เฝา รถยนต โดยแบง พนื้ ทต่ี รวจการเฝา ระวงั คนละ
๑๘๐ องศา
- หมายเลข ๑, ๒, ๓ ปฏิบตั หิ นา ท่รี กั ษาความปลอดภัย VIP
- หมายเลข ๑ และ VIP เคลอ่ื นทผี่ า นหมายเลข ๒, ๓ ซง่ึ ยนื หนั หนา
เพอื่ คมุ กนั ดา นหลงั ใหห มายเลข ๑ และ VIP โดยในขณะเคลอ่ื นทผ่ี า นหมายเลข ๒, ๓ จะยงั คงหนั หนา
ไปในทิศทางเดิม
- หมายเลข ๑ และ VIP ผานไปไดระยะหน่ึง จึงหยุดใหสัญญาณ
หมายเลข ๒, ๓ หนั หนา และเคลือ่ นทีเ่ ขาหา VIP โดยหมายเลข ๑ ใหค วามคมุ กนั ในขณะทห่ี มายเลข
๒, ๓ กใ็ หค วามคมุ กนั หมายเลข ๑ และ VIP ไดเ ชนกัน
- การหยุด ปฏิบตั ิเชน เดียวกัน
- การเคล่อื นท่กี ลบั ปฏิบัติเชนเดยี วกัน
͹Öè§ หากชุดปฏิบัติการจําเปนตองมีมากขึ้นหรือนอยลงตาม
สถานการณ ก็สามารถปรับประยุกตแนวทางการปฏิบัติตามขอ ๑.๓.๑ และ ๑.๓.๒ ไปใชได
ตามความจาํ เปน
๘๖
àʹŒ ·Ò§¡ÒÃà¤Åè×͹·Õèลํา´ºÑ ·Õè ñ
àʹŒ ·Ò§¡ÒÃà¤Å×Íè ¹·ลèÕ ํา´Ñº·èÕ ò
·ÔÈ·Ò§¡ÒÃÊѧà¡μ¡Òó/ ÃÐÇѧ»Í‡ §¡¹Ñ
รปู ท่ี ๕๒ การเคล่อื นที่โดยใชชุดปฏิบัติการ ๕ คน
๘๗
º··èÕ õ
¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ àÍ¡ÊÒÃ
¤ÇÒÁÁ§Ø‹ ËÁÒÂ
การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับเอกสาร มีความมุงหมายเพ่ือกําหนดนโยบาย
และวิธีการในการพิทักษรักษาความลับของทางราชการ ซ่ึงจะตองปฏิบัติตอเอกสารลับชั้นตางๆ
ทุกข้นั ตอนของการดาํ เนินกรรมวธิ ี ทง้ั นเ้ี พอื่ ใหเ ปน มาตรฐานเดียวกนั
“ส่ิงทเี่ ปน ความลับของทางราชการ” หมายความถงึ เอกสาร บรภิ ัณฑ ยทุ ธภณั ฑ ท่สี งวน
และส่ิงอื่น ๆ ในทํานองน้ี ตลอดจนขาวสารท่ีถือวาเปนความลับของทางราชการซ่ึงสงถึงกันดวย
คาํ พูดหรอื ดว ยวธิ กี ารอื่นใด
“เอกสาร” หมายความถึง ขาวสารที่บนั ทึกไวใ นแบบใด ๆ รวมท้งั สิ่งท่ีพิมพ เขียน วาด
ระบายสี แถบบันทกึ ภาพถา ย ฟลม และส่ิงอื่น ๆ ในทาํ นองน้ี
“บริภัณฑ” หมายความถึง เครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องกล สิ่งอุปกรณและส่ิงอ่ืนๆ
ในทํานองน้ี
“ยุทธภัณฑ” หมายความถึง ส่ิงของทั้งหลายที่ใชประจํากายหรือประจําหนวยกําลังถือ
อาวุธของทางราชการ เชน ทหาร ตํารวจ เปน ตน ไดแ ก เครอ่ื งนงุ หม เครอ่ื งมือ เครื่องใช ยานพาหนะ
อาวุธ และสิ่งอนื่ ๆ ในทํานองน้ี
“ท่ีสงวน” หมายความถึง สิ่งปลูกสรางทุกชนิดสําหรับการปองกันประเทศและสิ่งท่ีเปน
สาธารณปู โภคท่สี าํ คญั (ตามมาตรา ๓ ขอพระราชบัญญตั คิ ุมครองความลบั ในราชการ พ.ศ.๒๔๘๓)
“การจํากัดใหทราบเทาที่จําเปน” หมายความถึง หลักการท่ีใชพิจารณาในการใหสิทธิ์
เขาถึงส่งิ ท่ีเปนความลับของทางราชการแกบ ุคคลผูจาํ เปนตองทราบ เพ่อื ปฏบิ ัติภารกจิ ใหล ลุ ว งไป
“การเขาถึง” หมายความถึง การที่บุคคลมีอํานาจหนาท่ีหรือไดรับอนุญาตจาก
ผูบังคับบัญชาใหไดทราบ ครอบครอง ดําเนินการ หรือเก็บรักษาสิ่งที่เปนความลับของทางราชการ
รวมทง้ั การทไี่ ดร บั อนญุ าตใหอ ยใู นทซี่ ง่ึ นา จะไดท ราบเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกบั สงิ่ ทเ่ี ปน ความลบั ของทางราชการ
นนั้ ดวย
“การร่ัวไหล” หมายความถึง สิ่งที่เปนความลับของทางราชการไดถูกครอบครอง
หรือไดทราบโดยบุคคลผูไมมีอาํ นาจหนาที่
ÃÐàºÕºÇÒ‹ ´ŒÇ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡Òà ¾.È.òõôô
¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÃ
ºÃÔº·¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÅѺμÒÁÃÐàºÕºÇÒ‹ ´ŒÇ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁÅÑºÏ ¾.È.òõôô
เปนไปตามหลักการขอบเขตเจตนารมณของ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของราชการ
พ.ศ.๒๕๔๐ คือ ใหส ทิ ธปิ ระชาชนเขาถงึ ขอมลู ขาวสารของราชการ ยกเวน ขอมูลขาวสารทไ่ี มเ ปดเผย
๘๘
(เปดเผยเปนหลัก ปกปดเปนขอยกเวน) ฉะน้ัน การรักษาความลับตามระเบียบฉบับนี้ จึงเปนการ
ปฏิบัติตอขอมูลขาวสารท่ีไดรับการยกเวนและเปนไปตามหลักการท่ีวา “หากจําเปนตองปดใหสนิท
เสรจ็ ภารกจิ อาจตองเปดเผย” นอกจากน้ีหลกั การสาํ คญั ของ พ.ร.บ.ดงั กลา ว กําหนดใหตองคมุ ครอง
ขอมูลขาวสารสวนบุคคล (หามเปดเผยกอนไดรับอนุญาตจากเจาตัว/เปนความลับ) กําหนดกรอบ
ประเภทขอ มลู ขา วสารทส่ี ามารถสงั่ ใหเ ปน ขอ มลู ขา วสารลบั ไวอ ยา งแนช ดั (มาตรา ๑๔ และ ๑๕ เทา นน้ั )
และกําหนดการเปนเอกสารประวัติศาสตรไวดวย กลาวคือ ขอมูลขาวสารลับตามมาตรา ๑๔ มีอายุ
๗๕ ป สวนตามมาตรา ๑๕ มอี ายุ ๒๐ ป เมื่อพนกําหนดจะเปน เอกสารปกติ อยา งไรกด็ ีหนวยงาน
เจา ของเรอื่ งจะขอตออายหุ รอื จดั เก็บไวเ องกไ็ ด
¤ÇÒÁËÁÒ “การรักษาความลับ” เปนมาตรการปองกันผูไมมีอํานาจหนาที่เก่ียวของ
เขาถึงขอ มูลขา วสารลบั ของทางราชการ หรอื ไมใหข อ มลู ขา วสารลบั ถกู เปดเผยกอ นเวลาสมควร
¢ŒÍÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒÃÅѺ (เชิงคุณสมบัติ) หมายถึง ขอมูลขาวสารตามมาตรา ๑๔ หรือ ๑๕
ท่ีมีคําสั่งไมเปดเผยและอยูในความครอบครองของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนเรื่องเกี่ยวกับ
การดําเนินงานของรัฐหรือเก่ียวกับเอกชน ซ่ึงกําหนดใหมีช้ันความลับเปนช้ันลับ ชั้นลับมาก
หรือชนั้ ลับทส่ี ดุ โดยคาํ นึงถึงการปฏบิ ตั หิ นาท่ีของหนว ยงานของรัฐและประโยชนข องรัฐประกอบกัน
¢ÍŒ ÁÙÅ¢Ò‹ ÇÊÒÃÅѺ (เชิงความหมาย) ขอ มลู ขาวสารของราชการตามมาตรา ๑๔ หรือ ๑๕
ท่ีมีความสําคัญ ซ่ึงหากเปดเผยท้ังหมดหรือเพียงบางสวนอาจกอใหเกิดความเสียหายตอประโยชน
แหง รฐั อยางรายแรงหรอื อยา งรา ยแรงทส่ี ดุ
ËÅ¡Ñ ¤´Ô (concept) การรกั ษาความลบั ของทางราชการทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ จะตอ งดาํ เนนิ การ
๓ ประการ กลาวคอื
๑) สั่งขอมลู ขาวสาร ใหเปน ขอ มูลขา วสารลบั ชัน้ ใดชั้นหน่งึ (ลบั /ลบั มาก/ลับที่สุด)
๒) ปอ งกนั ผไู มม อี าํ นาจหนา ทเ่ี กย่ี วขอ งเขา ถงึ ขอ มลู ขา วสารลบั (โดยปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ
การรกั ษาความลบั กําหนด)
๓) ปองกันไมใหผูมีอํานาจหนาท่ีเขาถึงขอมูลขาวสารลับ เปดเผยขอมูลขาวสารลับ
โดยการข้ึนทะเบียนความไววางใจและสรางจติ สํานึก รปภ.
Ç¸Ô Õ´íÒà¹¹Ô ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÃ
๑) ผเู ขาถึงชนั้ ความลับตอ งไวใ จได และจํากัดวงผูเขาถึงเทาท่ีจาํ เปน (need to Know)
๒) ปฏิบัตติ ามระเบียบการรกั ษาความลับ (ระเบียบฯ ๒๕๔๔) โดยเครงครัด
ÇÔ¸»Õ ¯ÔºμÑ ·Ô สÕè าํ ¤ÑÞ·Õèกาํ ˹´äÇŒã¹ÃÐàºÂÕ º¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁźÑ
๑) ผูเขาถึงช้ันความลับตองไดรับอนุญาตจากหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูไดรับ
มอบอํานาจใหทาํ การแทนจากหัวหนา หนว ยงานของรฐั
๒) ขอ มลู ขา วสารทสี่ ง่ั ใหเ ปน ขอ มลู ขา วสารลบั ได ตอ งเปน ขอ มลู ขา วสารตามมาตรา ๑๔
หรอื มาตรา ๑๕ ของ พ.ร.บ.ขอ มลู ขา วสารฯ ๒๕๔๐ เทา นัน้
๘๙
๓) ชั้นความลบั มี ๓ ชน้ั คือ ชัน้ ลับที่สดุ ชน้ั ลับมาก และช้นั ลับ
๔) เม่ือส่ังใหเปนขอมูลขาวสารลับแลว ตองใหเหตุผลประกอบชั้นความลับ โดยให
สอดคลอ งกับมาตรา ๑๔ หรอื มาตรา ๑๕ ของ พ.ร.บ.ขอมูลขา วสารฯ ดวย
๕) ตอ งแสดงชื่อหนว ยงานเจา ของเรือ่ ง คมุ จํานวนชดุ คุมจํานวนหนา ไวท ม่ี มุ ขวาของ
เอกสารทกุ หนา
๖) ตอ งบนั ทกึ การจดั ทาํ และแจกจา ยในทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั แยกออกเอกสารปกติ
ตามระเบยี บงานสารบรรณ ไดแ ก ทะเบยี นรบั (ทขล.๑) ทะเบยี นสง (ทขล.๒) และทะเบยี นควบคมุ ขอ มลู
ขา วสารลับ (ทขล.๓)
๗) ตอ งบันทกึ จํานวนการจัดทาํ ขน้ึ ทงั้ หมดใน ทขล.๓
๘) ตอ งแตง ตงั้ นายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั จาํ นวน ๑ คน และผชู ว ยนายทะเบยี นขอ มลู
ขาวสารลับอยางนอย ๑ คน ประจําหนวยงานสารบรรณกลางหรือกองกลาง และในหนวยงานยอย
ทกุ หนว ย การรบั -สง ขอ มลู ขา วสารลบั ตอ งกระทาํ ผา นนายทะเบยี นฯ หรอื ผชู ว ยนายทะเบยี นฯ เทา นนั้
๙) การสงขอมูลขาวสารลับภายในหนวยงานเดียวกัน ตองใชใบปดทับเอกสารตามชั้น
ความลบั ตามแบบท่ีกาํ หนด กรณีสงออกนอกหนว ยตอ งจัดสงโดย เจา หนา ท่นี าํ สาร บรรจุซองทึบแสง
๒ ชนั้ แสดงชน้ั ความลบั บนซองชน้ั ใน ซองชน้ั นอกไมต อ งแสดงชน้ั ความลบั นายทะเบยี นฯ หรอื ผชู ว ยฯ
ลงลายมอื ชอื่ ๒ แหง ทรี่ อยปดผนึกซองช้นั นอก ดา นซา ย/ขวาของจดุ ก่ึงกลาง
๑๐) กรณีสงออกนอกหนวย ใหแนบใบตอบรับไปดวย เม่ือหนวยรับไดรับเอกสารแลว
ใหรีบสงคืนกลับ ใหเจาของเร่ืองเก็บใบตอบรับน้ีไวจนกวาจะไดรับเอกสารคืน หรือเมื่อปรากฏ
การเปล่ียนแปลงใด ๆ เกิดขึน้
๑๑) การสงขอมูลขาวสารลับไปตางประเทศผานทางถุงเมลการทูตหรือเจาหนาท่ีการทูต
ถือไปเองหรอื สงทางอเิ ลก็ ทรอนิกส
๑๒) ตอ งเก็บขอมูลขา วสารลบั ไวใ นทีป่ ลอดภยั
๑๓) ตองตรวจสอบขอมูลขาวสารลับทุก ๖ เดือนเปนอยางนอย โดยมีวัตถุประสงค
๑) ความมีอยูจรงิ ๒) ความถูกตองในการปฏิบตั ิ ๓) กรณหี มดความจําเปน ใชประโยชน ใหขออนุมัติ
ทําลาย สง คนื เจาของเรอ่ื งหรอื สง ใหสํานักหอจดหมายเหตุ กรมศลิ ปากร แลวแตก รณี
๑๔) ตองจัดทําแผนปฏิบัติในเวลาฉุกเฉิน ประกอบดวย แผนเคล่ือนยาย เก็บรักษา
และทาํ ลาย
๑๕) การทําลายขอมูลขาวสารลับ ตองขออนุมัติหัวหนาหนวยงานของรัฐ หรือ
ผูไดรับอํานาจจากหัวหนาหนวยงานของรัฐ จัดสงรายการขอมูลขาวสารลับที่จะทําลายใหสํานัก
หอจดหมายเหตุพิจารณาเก็บไวเปนเอกสารประวัติศาสตร รายการใดที่สํานักหอจดหมายตองการ
ใหยกเลิกช้ันความลับกอนสงไป สวนท่ีเหลือใหดําเนินการทําลายในรูปคณะกรรมการ บันทึกในแบบ
ทขล.๓ และแบบทําลาย (เก็บรกั ษาไว ๑ ป)
๙๐
๑๖) หนว ยงานสามารถกาํ หนดวธิ ปี ฏบิ ตั เิ พม่ิ เตมิ ได กรณที ม่ี คี วามยงุ ยากโดยไมเ หมาะสม
กส็ ามารถกาํ หนดวธิ ปี ฏบิ ตั เิ องได แตต อ งมปี ระสทิ ธภิ าพเทา กนั หรอื ดกี วา โดยออกเปน ระเบยี บภายใน
ประกาศหรือคําส่ังโดยหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูที่ไดรับมอบอํานาจ อยางไรก็ดีหากเกิด
ความเสยี หายข้นึ ผูท่ตี องรับผิดชอบคอื หัวหนาหนวยงานของรัฐ
ñ. ¼ÙÁŒ อÕ าํ ¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·Õè¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ªÍº
ระเบยี บทง้ั สอบฉบบั ไดก าํ หนดตวั ผมู อี าํ นาจหนา ทรี่ บั ผดิ ชอบการปฏบิ ตั ไิ วโ ดยแนช ดั
คือ หวั หนาหนว ยงานของรฐั แตส ามารถมอบอํานาจได แตก็ไมพ น ความรบั ผดิ ชอบไปไดต ามหลกั การ
มอบอํานาจ หากเกิดความเสียหายข้ึน ท้ังนี้ สาระสาํ คญั ของแตล ะฉบับกาํ หนดไว ดังนี้
๑.๑ ระเบียบวาดวยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๔
ขอ ๗ ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั มหี นา ทรี่ กั ษาขอ มลู ขา วสารลบั ในหนว ยงาน
ของตน และอาจมอบหมายหนาท่ีดังกลาวไดตามความจําเปน ใหผูใตบังคับบัญชาหรือแกราชการ
สวนภูมภิ าค กรณที ี่สามารถมอบอาํ นาจไดต ามกฎหมาย
ผูมีหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ตองรักษาขอมูลขาวสารลับใหปลอดภัย การให
บคุ คลใดเขาถึงขอ มูลขาวสารลบั หรือการเปดเผยขอมูลขาวสารลับแกผ ูใด ตองกระทําโดยระมดั ระวัง
ในกรณีจําเปน ใหกําหนดเงื่อนไขในการปฏิบัติใหเหมาะสมแกกรณี โดยคํานึงถึงการรักษาความลับ
และประสิทธภิ าพในการดําเนินการตามระเบียบน้ี
๑.๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
พ.ศ.๒๕๕๒
ขอ ๘ ใหหัวหนาหนวยงานรัฐ มีหนาที่ในการรักษาความปลอดภัย
ในหนวยงานของตนในกรณีท่ีหนวยงานของรัฐ ไดมอบหมายหรือทําสัญญาจางใหเอกชนดําเนินการ
อยางหน่ึงอยางใด ซึ่งเกี่ยวของกับการรักษาความปลอดภัย ใหผูไดรับมอบหมายหรือผูเปนคูสัญญา
ซ่งึ เปน เอกชนดังกลา ว มีหนาที่ตองปฏิบัตใิ นการรักษาความปลอดภัยแหงชาติตามระเบียบน้ดี วย
ขอ ๑๒ เพ่ือใหการรักษาความปลอดภัยเกิดประสิทธิผล ใหองคการรักษา
ความปลอดภยั ทกุ ฝา ยประสานการปฏบิ ตั แิ ละประชมุ รว มกนั เพอื่ ดาํ เนนิ การจดั ใหม หี ลกั เกณฑ วธิ กี าร
และคําแนะนําการปฏิบตั ิตามระเบยี บนี้ รวมทง้ั การอบรมบคุ คลทเี่ กยี่ วขอ งตามความจําเปน
ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐนําหลักเกณฑ วิธีการ และคําแนะนํา
ตามวรรคหนง่ึ ไปวางแผนกาํ หนดวธิ ปี ฏบิ ตั ิ โดยประสานมาตรการรกั ษาความปลอดภยั และมาตรการ
ที่เกี่ยวของเขาดวยกัน พรอมท้ังสอดสองและตรวจสอบมาตรการท่ีกําหนดไวตามระยะเวลาที่ระบุ
ไวในแผน ทั้งน้ีวิธีปฏิบัติที่กําหนดนั้นจะตองไมเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติหนาที่ตามปกติ
และตอ งคํานึงถงึ ประโยชนข องทางราชการเปน สาํ คัญ
๙๑
ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงต้ังเจาหนาท่ีควบคุมการรักษา
ความปลอดภัย และเจา หนาทผี่ ูชวยไดตามความจาํ เปน
ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั มหี นา รบั ผดิ ชอบการจดั อบรมใหเ จา หนา ที่
ของรัฐไดทราบโดยละเอียดถึงความจําเปนและมาตรการของการรักษาความปลอดภัย และตองจัด
ใหมีการอบรมเพิ่มเติมโดยอยูภายใตการควบคุมของเจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัย หรือ
ผบู งั คับบัญชาตามโอกาสอันสมควร
๒. หนวยงานท่เี ปนองคก ารรักษาความปลอดภัย
๒.๑ สาํ นกั ขา วกรองแหง ชาติ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี เปน องคก ารรกั ษาความปลอดภยั
ฝายพลเรือน มีหนาท่ีใหคําแนะนําชวยเหลือในเร่ืองของการรักษาความปลอดภัยแกสวนราชการ
ฝายพลเรือนและกํากับดูแลตรวจสอบ พรอมท้ังพิจารณาแกไขขอบกพรองเพื่อใหระบบการรักษา
ความปลอดภัยไดผลสมบูรณอยูเสมอ ท้ังนี้ใหสวนราชการและองคการฝายพลเรือนใหความรวมมือ
และปฏิบัตติ ามคําแนะนาํ ของสํานกั ขาวกรองแหงชาติ
๒.๒ ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
เปนองคการรักษาความปลอดภัยฝายทหาร มีหนาที่ใหคําแนะนําชวยเหลือในเรื่องการรักษาความ
ปลอดภัยแกสวนราชการฝายทหารและกํากับดูแลตรวจสอบ พรอมท้ังพิจารณาแกไขขอบกพรอง
เพอ่ื ใหร ะบบการรกั ษาความปลอดภยั ไดผ ลสมบรู ณอ ยเู สมอ ทง้ั นใี้ หส ว นราชการและองคก ารฝา ยทหาร
ใหความรวมมือและปฏบิ ัตติ ามคาํ แนะนาํ ของศูนยรักษาความปลอดภัย
๒.๓ กองบัญชาการตํารวจสันติบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ เปนองคการ
รักษาความปลอดภัยฝายตํารวจ มีหนาที่ใหคําแนะนําชวยเหลือในเรื่องการรักษาความปลอดภัยแก
สวนราชการฝายตํารวจและกํากับดูแลตรวจสอบ พรอมทั้งพิจารณาแกไขขอบกพรองเพ่ือให
ระบบการรักษาความปลอดภัยไดผลสมบูรณอยูเสมอ ท้ังน้ีใหสวนราชการและองคกรฝายตํารวจ
ใหค วามรว มมอื และปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนาํ ของกองบญั ชาการตาํ รวจสนั ตบิ าล สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
๓. ชนั้ ความลับ
๓.๑ ช้ันความลับของทางราชการแบงออกเปน ๓ ชน้ั คอื
๓.๑.๑ ลับทส่ี ุด ในภาษาองั กฤษใหใ ชวา TOP SECRET
๓.๑.๒ ลบั มาก ในภาษาองั กฤษใหใชวา SECRET
๓.๑.๓ ลบั ในภาษาองั กฤษใหใ ชวา CONFIDENTIAL
๓.๒ ลับที่สดุ
ลบั ทส่ี ุด ไดแ ก ความลบั ท่ีมีความสาํ คัญทีส่ ดุ เก่ยี วกบั ขา วสาร วัตถุ หรือบุคคล
ซึ่งถาหากความลบั ดังกลาวทง้ั หมดหรือเพียงบางสวนรัว่ ไหลไปถงึ บุคคลผไู มม หี นา ทไ่ี ดท ราบ จะทาํ ให
เกิดความเสียหายหรือเปนภยันตรายตอความม่ันคง ความปลอดภัย หรือความสงบเรียบรอยของ
ประเทศชาตหิ รอื พนั ธมิตรอยางรา ยแรงท่ีสดุ