The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนจัดประสบการณ์ รายวิชาเพิ่มเติม ปฐมวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Talanueaschool, 2022-06-01 23:09:09

แผนจัดประสบการณ์ รายวิชาเพิ่มเติม ปฐมวัย

แผนจัดประสบการณ์ รายวิชาเพิ่มเติม ปฐมวัย

แผนการจัดการเรียนรู

“รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปอ งกนั การทุจรติ ”
ระดับปฐมวยั

สํานักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ
รวมกบั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๖๑

แผนการจดั การเรยี นรู้

“รายวชิ าเพมิ่ เติม การป้องกันการทจุ ริต”
ระดับปฐมวัย

สำ�นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ
รว่ มกับ สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๖๑

แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การป้องกันการทุจรติ ”
ระดับปฐมวยั

พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒
จ�ำ นวนพิมพ์ ๓๒,๘๕๘ เล่ม

ผู้จัดพิมพ์ สำ�นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ
รว่ มกับส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

พิมพท์ ่ี ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำ กัด สาขา ๔
๑๔๕, ๑๔๗ ถ.เล่ยี งเมอื งนนทบรุ ี ต.ตลาดขวัญ อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐
โทร. ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๐๗-๙, ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๓-๔ โทรสาร ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๕
E-mail : [email protected] www.co-opthai.com

ค�ำ นำ�

ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่๓(พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)
ได้กำ�หนดประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ สร้างสังคมทไี่ ม่ทนต่อการทุจรติ ประกอบดว้ ย กลยทุ ธ์ที่ ๑ ปรบั ฐาน
ความคดิ ทกุ ช่วงวัยตั้งแต่ปฐมวยั เป็นตน้ ไปให้สามารถแยกระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม กลยทุ ธท์ ่ี ๒ สง่ เสรมิ ใหม้ รี ะบบและกระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คมเพอื่ ตา้ นทจุ รติ กลยทุ ธท์ ่ี ๓
ประยกุ ตห์ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ เครอ่ื งมอื ตา้ นทจุ รติ และกลยทุ ธท์ ่ี ๔ เสรมิ พลงั การมสี ว่ นรว่ ม
ของชุมชน และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต จากกลยุทธ์ที่ ๑ คณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จึงได้มีคำ�ส่ังแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ
จัดท�ำ หลกั สตู รหรือชุดการเรียนรแู้ ละสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการป้องกันการทจุ รติ ซง่ึ ประกอบด้วย
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการให้การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขึ้น เพ่ือศึกษา วิเคราะห์ และ
รวบรวมข้อมูล กำ�หนดแนวทางและขอบเขตในการจัดทำ�หลักสูตร ยกร่างและจัดทำ�เนื้อหาหลักสูตร
หรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ รวมทั้งพิจารณาให้ความเห็นเพ่ิมเติม กำ�หนดแผน
หรือแนวทางการนำ�หลักสูตรไปใช้ในหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และดำ�เนินการอ่ืนๆ ตามท่ีคณะกรรมการ
ป.ป.ช. มอบหมาย
คณะอนุกรรมการจัดทำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ด้านการ
ปอ้ งกนั การทจุ รติ ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งชดุ หลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา : Anti-Corruption Education ประกอบดว้ ย
๕ หลกั สูตร ดงั น้ี ๑. หลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (รายวิชาเพ่ิมเติม การปอ้ งกันการทุจริต) ๒. หลักสตู ร
อุดมศึกษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with Good Heart”) ๓. หลกั สูตรตามแนวทางรับราชการ
กลุ่มทหารและตำ�รวจ ๔. หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นำ�การเปล่ียนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต
และ ๕. หลักสูตรโค้ชเพ่ือการรู้คิดต้านทุจริต ชุดหลักสูตรดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการนำ�ไปทดลองใช้
เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สำ�หรับการใช้ในกลุ่มเป้าหมายต่อไป นอกจากน้ี
คณะอนกุ รรมการจดั ท�ำ หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรดู้ า้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ
ยงั ไดค้ ดั เลอื กสอ่ื การเรยี นรจู้ ากแหลง่ ตา่ ง ๆ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ รวม ๕๐ ชนิ้ เพอ่ื ใชใ้ นการเรยี นรู้
ซ่งึ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ เม่อื วันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑
โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำ�หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ และให้กระทรวงศึกษาธิการ
เร่งดำ�เนินการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ เพ่ือนำ�หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปปรับใช้ในการจัด
การเรียนการสอนของสถานศึกษา

รายวิชาเพ่ิมเติมการป้องกันการทุจริต สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน จัดทำ�ข้ึน
โดยอนุกรรมการด้านการศึกษา ในคณะอนุกรรมการจัดทำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบ
การเรยี นรู้ ด้านการป้องกันการทจุ รติ และกลุ่มผูท้ รงคุณวุฒิด้านการศกึ ษา สาระการเรยี นรปู้ ระกอบด้วย
(๑) การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม (๒) ความอายและความไมท่ น
ตอ่ การทจุ รติ (๓) STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ (๔) พลเมอื งและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ตอ่ เนอ่ื งกนั
ต้ังแตร่ ะดบั ปฐมวยั ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
คณะกรรมการ ป.ป.ช.หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายวิชาเพ่ิมเติมการป้องกันการทุจริต
สำ�หรับหลักสูตรการศกึ ษา ขัน้ พนื้ ฐาน ในชุดหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษา (Anti-Corruption Education)
จะนำ�เข้าสู่ระบบการศึกษา เพ่ือเป็นกลไกระยะยาวในการปลูกฝังวิธีคิดป้องกันการทุจริตให้แก่ผู้เรียน
อย่างเปน็ อตั โนมัติ เพื่อร่วมกนั สรา้ งประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติตา้ นทจุ ริต
พลตำ�รวจเอก
(วัชรพล ประสารราชกิจ)
ประธานกรรมการ ป.ป.ช.
๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑

สารบัญ



หนา้
โครงสร้างรายวิชา ๑
หนว่ ยท่ี ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๓
หน่วยท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๖๐
หน่วยที่ ๓ STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจรติ ๑๑๑
หนว่ ยท่ี ๔ พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ๑๔๖
ภาคผนวก
• ค�ำ สงั่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ี ๖๔๖/๒๕๖๐ เรื่องแต่งตง้ั คณะกรรมการ ๑๖๖
จดั ท�ำ หลกั สตู ร หรือชดุ การเรยี นรู้และสอื่ ประกอบการเรียนร้แู ละสือ่ ประกอบ
การเรยี นรดู้ ้านการป้องกนั การทจุ ริต
• รายชอื่ คณะทำ�งานจดั ท�ำ หลกั สตู ร หรือชุดการเรยี นรู้และส่อื ประกอบการเรียนร ู้ ๑๗๐
ดา้ นการป้องกนั การทจุ รติ กลมุ่ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
• รายชื่อคณะบรรณาธกิ ารกจิ หลกั สตู ร หรือชดุ การเรียนรู้และสื่อประกอบการเรยี นร ู้ ๑๗๔
ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจริต กล่มุ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
• รายชือ่ คณะผู้ประสานงานการจดั ท�ำ หลักสตู ร หรอื ชุดการเรยี นรูแ้ ละส่อื ประกอบ ๑๗๗
การเรยี นรู้ดา้ นการป้องกันการทจุ ริต กลุม่ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน สำ�นกั งาน ป.ป.ช.



โครงสร้างรายวิชา ระดับปฐมวัย

ล�ำ ดบั หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง จำ�นวน
๑ การคดิ แยกแยะระหว่างผล ชัว่ โมง
ประโยชน์ส่วนตนและผล ๑. ความหมายของของใชส้ ่วนตนและของใชส้ ว่ นรวม ๑๔
ประโยชน์ส่วนรวม ๒. การจำ�แนกของใช้สว่ นตนและของใช้ส่วนรวม
๓. การปฏบิ ตั ติ นในการใช้ของใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ว่ นรวม ๑๒
๒ ความละอายและความไม่ทน
ตอ่ การทุจรติ ๓.๑ ของเลน่
๓.๒ การรับประทานอาหาร
๓.๓ การเข้าแถว
๓.๔ การเก็บของใชส้ ว่ นตน
๓.๕ การทำ�งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
๓.๖ การแบง่ ปัน
๓.๗ การแตง่ กาย
๓.๘ การแปรงฟันและการใช้นำ้�อย่างถกู วิธี
๓.๙ การใช้หอ้ งน�ำ้ อยา่ งถกู วิธี
๔. ความหมายของระบบคิดฐานสอง และระบบคิดฐานสบิ
๕. การแยกแยะระบบคิดฐานสอง และระบบคิดฐานสบิ
๑. ความหมายของความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ
๒. การเก็บของเลน่ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
๓. ความละอายและไมแ่ ยง่ หรือขโมยอาหารเพื่อน
๔. ความละอายและไม่แซงคิวผอู้ ่ืน
๕. การใช้ของใชส้ ่วนตนอยา่ งถกู วธิ ี
๖. ความละอายและไม่แย่ง หรอื ขโมยของใช้ผู้อ่ืน
๗. ความรับผิดชอบต่อการทำ�งานท่ไี ด้รับมอบหมาย
๘. การไมล่ อก หรอื ไมน่ �ำ ผลงานของคนอน่ื มาเปน็ ของตนเอง
๙. ความหมายของการแบง่ ปัน
๑๐. พฤตกิ รรมการแบง่ ปนั และปฏิบัติตน เปน็ ผู้ทมี่ ี
ความละอายและไมท่ นตอ่ การทุจรติ
๑๑. การแตง่ กายดว้ ยตนเองและการไมน่ �ำ เอาเครอ่ื งแตง่ กาย
ของผู้อน่ื มาเปน็ ของตนเอง
๑๒. ความหมายของกิจวัตรประจ�ำ วนั
๑๓. ขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของการปฏิบัติและไม่ปฏิบตั กิ จิ วัตร
ประจ�ำ วนั

ระดบั ปฐมวยั 1

ล�ำ ดับ หน่วยการเรียนรู้ เร่ือง จ�ำ นวน
ชว่ั โมง
๓ STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ ๑. Sufficient : ความหมายของความพอเพียง
๒. Transparent : ความหมายของความโปร่งใส ๙
๓. Realise/Knowledge : ความหมายของความต่นื รู้
และความรู้ ๕
๔. Onward : ความหมายของการมุ่งไปข้างหนา้ ๔๐
๕. Generosity : ความหมายของความเออ้ื อาทร
๖. ความหมายของการตา้ นทจุ รติ
๗. การรบั ประทานอาหารท่ีสอดคลอ้ งกบั STRONG
๘. การชว่ ยเหลือเพอ่ื นทีส่ อดคลอ้ งกับ STRONG
๙. การใชก้ ระดาษทสี่ อดคล้องกบั STRONG

๔ พลเมืองกับความรับผดิ ชอบ ๑. ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง (การแปรงฟัน, การแต่งกาย,
ต่อสงั คม การรับประทานอาหาร)
๒. ความรบั ผิดชอบต่อสังคม (การเก็บขยะ, ท�ำ ความสะอาด
ในหอ้ งเรียน)

รวม

* หมายเหตุ ๑. การจัดประสบการณแ์ ตล่ ะกจิ กรรมจะใชเ้ วลาประมาณ ๒๐ นาที
๒. จำ�นวนเวลาท่ีกำ�หนดไว้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ สถานศึกษาสามารถปรับได้ตาม
ความเหมาะสม แตต่ ้องมีเวลาเรียนท้งั ๔ หนว่ ยการเรยี นรู้ รวม ๔๐ ชวั่ โมง

2 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกันการทุจริต”

หนว่ ยที่ ๑

การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม

แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยท่ี ๑ ชอื่ หน่วย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
ช้นั ปฐมวยั
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ทฤษฎี ความหมายของการขดั กนั ระหวา่ ง เวลา ๑ ชว่ั โมง
ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of Interests)

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม
๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ เด็กสามารถบอกความหมายของของใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ่วนรวมได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ของใชส้ ว่ นตน คอื ของใชท้ ีม่ เี จ้าของเฉพาะ
๒) ของใช้ส่วนรวม คือ ของใช้ที่ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน ทุกคนมีสิทธิ์ใช้ ทุกคน
ต้องชว่ ยกันรักษา
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ )
มที กั ษะการคดิ การใชภ้ าษาสอื่ สาร
๓.๓ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค/์ คา่ นิยม
ม่งุ ม่นั ในการทำ�งาน
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขนั้ ตอนการจัดประสบการณ์
๑) เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “ของใช้” และปรบมือเข้าจังหวะ จากนั้นครูสนทนา
ซักถามเกย่ี วกบั เนอ้ื เพลงโดยถามค�ำ ถาม ดังนี้
• เน้ือเพลงกล่าวถงึ อะไร
• เพลงนีม้ ีของใช้ท้ังหมดก่ีชนิ้ อะไรบา้ ง
๒) ใหเ้ ด็กส�ำ รวจสงิ่ ของเคร่ืองใชท้ ี่เปน็ ของใชส้ ว่ นตนและของใช้ส่วนรวม ภายในหอ้ งเรยี น
๓) ใหเ้ ดก็ วาดภาพจากการส�ำ รวจ จำ�นวน ๒ ภาพ

ระดับปฐมวัย 3

๔) ขออาสาสมคั รเดก็ ออกมาน�ำ เสนอภาพวาดจากการสำ�รวจ โดยให้เด็กบอกวา่ สง่ิ ท่ีวาด
คอื อะไร และสามารถใชร้ ่วมกบั ผ้อู ่ืนไดห้ รือไม่
๕) เด็กและครูรว่ มกนั สนทนาเกยี่ วกบั ของใช้ส่วนตนและของใชส้ ว่ นรวม โดยครใู ช้คำ�ถาม
• ของใชส้ ว่ นตนและของใช้ส่วนรวม เหมอื นกนั หรือไม่ อย่างไร
๖) เด็กและครูร่วมกันอภิปรายสรุป ถึงความแตกต่างระหว่างของใช้ส่วนตนและของใช้
สว่ นรวม ดังน้ี
• ของสว่ นตน คอื ของท่ีมีเจ้าของเฉพาะ
• แตข่ องสว่ นรวม คอื ของทที่ กุ คนเปน็ เจา้ ของรว่ มกนั ทกุ คนมสี ทิ ธใิ์ ช้ ทกุ คนตอ้ งชว่ ยกนั
รกั ษา
๔.๒ สื่อการเรียนร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้
๑) เพลง “ของใช”้
๒) ของใชส้ ่วนตน ไดแ้ ก่ ชาม ชอ้ น แก้วน�้ำ กับของใชส้ ่วนรวม ได้แก่ โตะ๊ เกา้ อี้
๓) กระดาษ/ดนิ สอ/สี
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมนิ
สงั เกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
๕.๒ เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมนิ
แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ
เด็กผ่านการประเมนิ ระดับ ๒ ข้ึนไปถอื ว่าผ่าน
๖. บนั ทกึ หลังการจดั ประสบการณ์
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงช่ือ ................................................ ครผู สู้ อน
(...............................................)

4 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การป้องกนั การทุจรติ ”

๗. ภาคผนวก เพลงของใช้ (ฐะปะนีย์ นาครทรรพ)

ฉนั มชี ามขา้ วใบใหญ่ ชอ้ นส้อมใหมใ่ หม่
ถว้ ยแกว้ กม็ ี ต้ังไว้บนโตะ๊ ตวั นี้
แล้วนั่งเก้าอ้ี กนิ ขา้ วไดเ้ ลย

ระดับปฐมวัย 5

แบบสงั เกตการตอบคำ�ถามของเดก็

หนว่ ยท่ี ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคิดแยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
แผนการจดั ประสบการณท์ ี่ ๑ เรื่อง ความหมายของของใชส้ ่วนตนและของใชส้ ่วนรวม

วนั ท.่ี ............เดอื น...........................................พ.ศ. ...........................
ค�ำ ชีแ้ จง : ใหผ้ ปู้ ระเมนิ ทำ�เครื่องหมาย  ในชอ่ งระดบั คุณภาพของเดก็ ในแต่ละประเด็นที่ประเมิน

บอกความหมายของของใชส้ ว่ นตน
และของใชส้ ว่ นรวมได้
ที่ ชอ่ื -สกลุ

๓๒๑

รวม
เฉลย่ี

ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑ์การประเมนิ
บอกความหมายของของใช้ส่วนตนและของใชส้ ่วนรวมได้
ระดับ ๓ : บอกความหมายของของใช้สว่ นตนและของใช้ส่วนรวมไดด้ ้วยตนเอง
ระดบั ๒ : บอกความหมายของของใช้ส่วนตนและของใชส้ ว่ นรวมไดโ้ ดยมีผชู้ ีแ้ นะ
ระดบั ๑ : ไม่สามารถบอกความหมายของของใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ่วนรวมได้

6 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพิม่ เติม การป้องกันการทุจรติ ”

แผนการจัดประสบการณ์

หน่วยที่ ๑ ชอ่ื หน่วย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
ชน้ั ปฐมวัย
แผนการจดั ประสบการณ์ท่ี ๒ เร่อื ง การจำ�แนกของใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ว่ นรวม เวลา ๑ ช่ัวโมง
๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ เด็กสามารถจำ�แนกของใช้สว่ นตนและของใชส้ ่วนรวมได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ของใชส้ ว่ นตน คอื ของใช้ที่มีเจา้ ของเฉพาะ
๒) ของใชส้ ว่ นรวม คอื ของใชท้ ที่ กุ คนเปน็ เจา้ ของรว่ มกนั ทกุ คนมสี ทิ ธใิ์ ช้ ทกุ คนตอ้ งชว่ ยกนั
รกั ษา
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ )
มที กั ษะการคดิ การใชภ้ าษาส่ือสาร
๓.๓ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์/คา่ นิยม
ใฝ่เรยี นรู้
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขนั้ ตอนการจัดประสบการณ์
๑) เด็กและครูทบทวนความรู้เดิม โดยร่วมกันสนทนาเก่ียวกับความหมายของคำ�ว่า
ของใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ว่ นรวม
๒) ครูใหเ้ ด็กดภู าพของใช้แลว้ ช่วยกนั บอกวา่ มอี ะไรบ้าง
๓) ครใู หน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามวา่ ภาพนคี้ อื อะไร และเปน็ ของใชส้ ว่ นตน หรอื ของใชส้ ว่ นรวม
๔) เดก็ และครรู ว่ มกนั อภปิ รายสรปุ วา่ ภาพใดเปน็ ของใชส้ ว่ นตน และภาพใดเปน็ ของใชส้ ว่ นรวม
๔.๒ สือ่ การเรียนร/ู้ แหล่งการเรียนรู้
ภาพของใช้ ประกอบด้วย กระติกน�้ำ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน โต๊ะ เก้าอี้ โถชักโครก ไม้ล่ืน
หรอื สไลเดอร์ รองเท้า

ระดบั ปฐมวัย 7

๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมิน
สงั เกตการตอบคำ�ถามของเดก็
๕.๒ เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมิน
แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
๕.๓ เกณฑ์การประเมนิ
เด็กผา่ นการประเมิน ระดับ ๒ ขน้ึ ไปถอื ว่าผา่ น
๖. บนั ทกึ หลงั การจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ................................................ ครผู ูส้ อน
(...............................................)
๗. ภาคผนวก
ภาพของใช้

8 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”

แบบสงั เกตการตอบคำ�ถามของเดก็

หนว่ ยที่ ๑ ชอื่ หนว่ ย การคดิ แยกแยะผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
แผนการจดั ประสบการณ์ท่ี ๒ เร่ือง การจำ�แนกของใช้สว่ นตนและของใชส้ ่วนรวม

วันท.ี่ ............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ช้แี จง : ใหผ้ ปู้ ระเมินทำ�เครอื่ งหมาย  ในช่องระดับคณุ ภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ท่ปี ระเมิน

ที่ ช่ือ-สกลุ จ�ำ แนกของใช้สว่ นตน
และของใชส้ ว่ นรวมได้
๓๒๑

รวม
เฉล่ยี


ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑ์การประเมนิ
จำ�แนกของใช้ส่วนตนและของใชส้ ่วนรวมได้
ระดับ ๓ : จำ�แนกของใช้สว่ นตนและของใชส้ ว่ นรวมไดถ้ ูกต้องดว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : จ�ำ แนกของใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ว่ นรวมไดถ้ กู ตอ้ งโดยมผี ู้ชแ้ี นะ
ระดบั ๑ : ไม่สามารถจำ�แนกของใช้ส่วนตนและของใชส้ ่วนรวมได้ครบทุกภาพ

ระดับปฐมวยั 9

แผนการจดั ประสบการณ์
หน่วยที่ ๑ ชอ่ื หน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
ชนั้ ปฐมวยั
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๓ เรื่อง การปฏิบัติตนในการใช้ของใชส้ ่วนตน เวลา ๑ ช่วั โมง
และของใชส้ ่วนรวม (ของเลน่ )

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้
๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ เดก็ สามารถปฏบิ ตั ติ นในการเลน่ ของเลน่ ที่เปน็ ของสว่ นตนกบั ของเลน่ ที่เป็นของส่วนรวมได้
ถกู ต้อง
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ของเล่นส่วนตน คือ ของสำ�หรับเด็กเล่น เพื่อให้สนุกสนานเพลิดเพลินและมีบุคคล
ทเ่ี ปน็ เจ้าของเฉพาะ
๒) ของเล่นส่วนรวม คือ ของสำ�หรับเด็กเล่น เพื่อให้สนุกสนานเพลิดเพลิน โดยทุกคน
เปน็ เจา้ ของรว่ มกัน ทุกคนมีสทิ ธเิ์ ล่น และทุกคนตอ้ งร่วมกันดูแลรกั ษา
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กดิ )
มีทกั ษะการคิด การใชภ้ าษาสอื่ สาร
๓.๓ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์/ค่านิยม
มีวนิ ยั
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจัดประสบการณ์
๑) ครนู �ำ ภาพของเล่นให้เด็กดู แล้วรว่ มกนั สนทนา โดยครใู ชค้ �ำ ถาม ดังน้ี
• ภาพที่ครูน�ำ มาใหด้ ูเป็นภาพเก่ยี วกับอะไร (ภาพของเลน่ )
• ของเล่นท่ีเราเล่นกันอยู่ทุกวันน้ี แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (มี ๒ ประเภท คือ
ของเล่นส่วนตนกับของเลน่ สว่ นรวม)
๒) ให้เด็กชว่ ยกันยกตวั อยา่ ง ของเล่นส่วนตนและของเล่นสว่ นรวม
๓) เดก็ และครรู ว่ มกนั สนทนาถงึ ความหมายของค�ำ วา่ ของเลน่ สว่ นตนและของเลน่ สว่ นรวม

10 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

๔) เด็กและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับวิธีการเล่นของเล่นส่วนตนและของเล่นส่วนรวม
ตามประเดน็ ดงั นี้
• ของเล่นส่วนตน คือ ของสำ�หรับเด็กเล่น เพื่อให้สนุกสนานเพลิดเพลินและมีบุคคล
ที่เป็นเจา้ ของเฉพาะ
• ของเล่นส่วนรวม คือ ของสำ�หรับเด็กเล่น เพื่อให้สนุกสนานเพลิดเพลิน โดยทุกคน
เปน็ เจ้าของร่วมกัน ทกุ คนมสี ทิ ธ์เิ ล่น และทุกคนตอ้ งรว่ มกันดูแลรกั ษา
• เดก็ คดิ วา่ เราควรจะปฏิบตั ติ นอยา่ งไรในการเลน่ ของเลน่ ทเี่ ป็นส่วนรวม (ต้องแบง่ ปัน
กนั เลน่ , เลน่ ดว้ ยความระมดั ระวงั ไมใ่ ชค้ วามรนุ แรง, ใชแ้ ลว้ ตอ้ งเกบ็ เขา้ ทใี่ หเ้ รยี บรอ้ ย, เราทกุ คนตอ้ งชว่ ยกนั
ดแู ลรกั ษาของเล่น)
• เด็กคิดว่าเราควรจะปฏิบัติตนอย่างไรในการเล่นของเล่นท่ีเป็นของส่วนตน (ต้องเล่น
อย่างถกู ต้อง ถูกวธิ ,ี ตอ้ งดแู ลรกั ษา, เล่นแล้วก็ต้องเกบ็ เขา้ ที่ใหเ้ รียบร้อยเหมือนกัน)
๕) เดก็ และครูร่วมกันสรปุ เร่ือง “ของเลน่ ส่วนตนและของเลน่ สว่ นรวม”
๖) เดก็ และครรู ว่ มกนั ร้องเพลง “เล่นแล้วเก็บ”
๔.๒ ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๑) เพลง “เล่นแลว้ เกบ็ ”
๒) ภาพของเล่น
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
สังเกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
๕.๒ เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน
แบบสังเกตการตอบคำ�ถามของเด็ก
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เดก็ ผา่ นการประเมิน ระดับ ๒ ข้ึนไปถือว่าผา่ น
๖. บันทกึ หลงั การจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ................................................ ครูผูส้ อน
(...............................................)

ระดับปฐมวยั 11

๗. ภาคผนวก

เพลง เลน่ แลว้ เกบ็

(เน้อื รอ้ ง/ทำ�นอง ศรนี วล รตั นสวุ รรณ)

เลน่ กนั เล่นกนั ดีด ี ต้องสามัคคเี ราเปน็ เพือ่ นกนั
ของเล่น เราเลน่ ด้วยกัน เม่ือเลิกเลน่ พลัน ช่วยกนั เก็บเอย

12 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกันการทจุ รติ ”

ภาพของเลน่

ระดบั ปฐมวัย 13

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเดก็

หน่วยท่ี ๑ ชือ่ หน่วย การคดิ แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
แผนการจดั ประสบการณท์ ่ี ๓ เรือ่ ง การปฏบิ ัตติ นในการใช้ของใช้สว่ นตนและของใชส้ ่วนรวม (ของเล่น)

วันที.่ ............เดอื น.............................พ.ศ............................
คำ�ช้ีแจง : ใหผ้ ปู้ ระเมินทำ�เครือ่ งหมาย  ในช่องระดับคณุ ภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ท่ปี ระเมนิ

บอกความหมายระหวา่ ง บอกวธิ ีการปฏบิ ตั ติ นในการเลน่
ของเลน่ สว่ นตนและของเลน่ สว่ นรวม ของเลน่ สว่ นตนและของเลน่ สว่ นรวม
ที่ ช่ือ-สกลุ

๓๒๑๓๒๑

รวม ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉล่ีย (...............................................)





เกณฑ์การประเมิน
บอกความหมายระหวา่ งของเลน่ สว่ นตนและของเลน่ ส่วนรวม
ระดบั ๓ : บอกความหมายระหวา่ งของเลน่ สว่ นตนและของเล่นสว่ นรวมได้ด้วยตนเอง
ระดับ ๒ : บอกความหมายระหวา่ งของเลน่ สว่ นตนและของเล่นสว่ นรวมไดโ้ ดยมผี ูช้ แ้ี นะ
ระดับ ๑ : ไมส่ ามารถบอกความหมายระหว่างของเลน่ สว่ นตนและของเล่นสว่ นรวมได้

บอกวิธกี ารปฏบิ ัติตนในการเลน่ ของเล่นส่วนตนและของเลน่ ส่วนรวม
ระดบั ๓ : บอกวิธีการปฏบิ ตั ติ นในการเล่นของเล่นสว่ นตนและของเลน่ ส่วนรวมได้ดว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : บอกวธิ กี ารปฏบิ ตั ิตนในการเลน่ ของเลน่ สว่ นตนและของเล่นสว่ นรวมไดโ้ ดยมีผู้ชแ้ี นะ
ระดับ ๑ : ไม่สามารถบอกวิธกี ารปฏิบัตติ นในการเล่นของเลน่ สว่ นตนและของเล่นสว่ นรวมได้

14 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การป้องกนั การทจุ ริต”

แผนการจัดประสบการณ์
หนว่ ยท่ี ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
ช้ันปฐมวัย
แผนการจดั ประสบการณ์ที่ ๔ เรอื่ ง การปฏบิ ตั ติ นในการใช้ของใช้ส่วนตน เวลา ๑ ช่วั โมง
และของใชส้ ว่ นรวม (การรับประทานอาหาร)

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้
๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ เดก็ สามารถปฏิบัติตนในการรบั ประทานอาหารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
อาหารที่ดีมีประโยชน์จะช่วยทำ�ให้ร่างกายของเราเจริญเติบโตแข็งแรง และมีสุขภาพดี
เราควรรบั ประทานอาหารใหห้ ลากหลายชนดิ เพอ่ื ใหไ้ ดส้ ารอาหารครบถว้ น
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ )
มีทักษะการคิด การใช้ภาษาส่ือสาร
๓.๓ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์/ค่านิยม
๑) มีวินัย
๒) อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจดั ประสบการณ์
๑) ครูใหเ้ ด็กร่วมกนั เลน่ เกม เคลอื่ นไหวร่างกายตามคำ�ส่ัง ดงั นี้
• เคล่อื นไหวร่างกายเดนิ -หยุด ไปรอบ ๆ บรเิ วณโดยไมใ่ หช้ นกนั
• เคลอ่ื นไหวรา่ งกายท�ำ ทา่ รบั ประทานอาหาร เมอ่ื ไดย้ นิ สญั ญาณหยดุ ใหห้ ยดุ อยทู่ า่ นน้ั
โดยครสู ลับเปลยี่ นค�ำ สั่งหมุนเวียนกนั ตามความตอ้ งการ
๒) ครูจัดเตรียมอาหารชนิดต่าง ๆ ไว้ให้เด็กเลือกรับประทาน โดยให้เด็กทุกคนเล่น
บทบาทสมมติเกยี่ วกบั การปฏิบัติตนในการรบั ประทานอาหาร
๓) ครูให้เด็กเล่นโดยใช้สถานการณ์จริง ให้เวลาเด็กรับประทานอาหารสักครู่ เม่ือเด็ก
รับประทานอาหารเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ครสู นทนาซกั ถามเดก็ โดยถามค�ำ ถาม ดังน้ี
• สงิ่ ทเี่ ด็ก ๆ ปฏบิ ัติในการรบั ประทานอาหารมีอะไรบ้าง
• มสี ง่ิ ใดทเี่ ด็ก ๆ คดิ ว่าควรหรอื ไมค่ วรปฏิบัติ

ระดับปฐมวยั 15

๔) ครูอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับการปฏิบัติตนในขณะรับประทานอาหารว่าควรรับประทาน
อาหารให้หมด ไม่เหลือท้ิงและเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย เพ่ือให้เด็กเข้าใจ
และฝกึ ปฏบิ ตั ิให้ถูกตอ้ งในสถานการณจ์ รงิ โดยครคู อยดูแลและแกไ้ ขให้เด็กปฏิบัตติ ามให้ถูกต้อง
๕) ครแู ละเดก็ รว่ มกนั สรปุ วธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นเกย่ี วกบั มารยาทในการรบั ประทานอาหารรว่ มกนั
ครบู ันทึกวิธีปฏบิ ตั ิและตดิ ไวเ้ ปน็ ระเบยี บที่ควรปฏิบตั ิเมอื่ รบั ประทานอาหาร
๔.๒ ส่ือการเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้
๑) เกมเคลือ่ นไหวร่างกายตามคำ�สั่ง
๒) อาหารชนิดตา่ ง ๆ
๓) อปุ กรณใ์ นการรับประทานอาหาร
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมิน
สังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของเด็ก
๕.๒ เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการประเมนิ
แบบสังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรมของเด็ก
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมิน
เด็กผ่านการประเมิน ระดบั ๒ ขน้ึ ไปถอื วา่ ผ่าน
๖. บันทกึ หลงั การจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ................................................ ครูผู้สอน
(...............................................)

16 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การป้องกนั การทจุ รติ ”

๗. ภาคผนวก

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเดก็

หน่วยที่ ๑ ช่ือหนว่ ย การคดิ แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
แผนการจัดประสบการณท์ ่ี ๔ เร่อื ง การปฏิบัติตนในการใช้ของใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ่วนรวม

(การรบั ประทานอาหาร)
วันที.่ ............เดอื น.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชแ้ี จง : ใหผ้ ปู้ ระเมนิ ทำ�เคร่อื งหมาย  ในช่องระดับคณุ ภาพของเด็กในแตล่ ะประเด็นทปี่ ระเมิน

ท่ี ชื่อ-สกุล การปฏิบตั ติ น
ในการรับประทานอาหาร
๓๒๑

รวม
เฉลีย่

ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑ์การประเมนิ
ปฏบิ ัติตนในการรบั ประทานอาหารไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
ระดับ ๓ : ปฏบิ ัตติ นในการรบั ประทานอาหารไดอ้ ย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ระดับ ๒ : ปฏบิ ัตติ นในการรับประทานอาหารได้อย่างถกู ต้องโดยมผี ูช้ ีแ้ นะ
ระดับ ๑ : ไม่สามารถปฏิบัติตนในการรบั ประทานอาหารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

ระดับปฐมวัย 17

แผนการจัดประสบการณ์
หน่วยท่ี ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
ชนั้ ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๕ เร่ือง การปฏบิ ัตติ นในการใช้ของใชส้ ่วนตน เวลา ๑ ชว่ั โมง
และของใช้ส่วนรวม (การเขา้ แถว)

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม
๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ เด็กสามารถบอกการปฏบิ ตั ิตนได้เหมาะสมในขณะเข้าแถว หรือเดินเปน็ แถวได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
การเขา้ แถว เมอ่ื ถงึ เวลาเขา้ แถวตอ้ งรบี มาใหท้ นั เวลา และยนื เขา้ แถวใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย
และเดนิ เป็นแถว ต้องเดนิ ให้เปน็ ระเบยี บไมแ่ ตกแถว หรือแซงออกนอกแถว
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด)
มีทักษะการคดิ การใช้ภาษาสอื่ สาร
๓.๓ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค/์ คา่ นิยม
มวี นิ ัย
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขั้นตอนการจัดประสบการณ์
๑) เด็กและครูรว่ มรอ้ งเพลง “เขา้ แถว”
๒) น�ำ ภาพการเขา้ แถวใหเ้ ดก็ ดู เชน่ ภาพการเขา้ แถวรบั ประทานอาหารกลางวนั การเขา้ แถว
ซื้อของ การเข้าแถวเคารพธงชาติ การเข้าแถวข้ึนรถประจำ�ทาง เป็นต้น แล้วสนทนาเกี่ยวกับภาพ
โดยใชค้ ำ�ถาม ดงั นี้
• ถ้าไปรับประทานอาหารกลางวันกับเพ่ือน ในห้องหลาย ๆ คน จะทำ�อย่างไรถึง
จะไม่วุ่นวาย (เดนิ เปน็ แถว)
• การเข้าแถวเป็นระเบียบส่งผลดีกับตัวเราและเพื่อนคนอื่นอย่างไร (ไม่วุ่นวาย
เปน็ ระเบียบเรยี บร้อย)
• รสู้ กึ อยา่ งไร เมอื่ ยนื เขา้ แถวรอซอื้ ของแลว้ มเี พอื่ นมาแทรกขา้ งหนา้ โดยไมต่ อ่ ทา้ ยแถว
และจะแกไ้ ขอย่างไร (ไม่พอใจ แก้ไขโดยบอกใหเ้ พ่อื นเข้าแถว)

18 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทุจริต”

๓) เด็กดูคลิปนิทาน เร่ือง “ช้างน้อยเข้าแถว” จากน้ันร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเน้ือเร่ือง
โดยใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี
• ทำ�ไมช้างนอ้ ยถงึ ต้องเจ็บตวั (เพราะช้างน้อยไมเ่ ขา้ แถว ไม่มีวินัยในตนเอง)
• จากเหตุการณท์ ีช่ ้างน้อยไมเ่ ขา้ แถว แลว้ ถกู นายพรานยงิ จนบาดเจบ็ น้ัน จะส่งผลเสีย
ตอ่ ใครบา้ ง เพราะเหตใุ ด (๑. ตอ่ ตวั ช้างน้อยเอง เพราะชา้ งนอ้ ยตอ้ งได้รบั บาดเจบ็ , ตอ้ งขาดเรียน ท�ำ ให้
เรยี นไม่ทันเพ่อื น ๒. ตอ่ พอ่ แม่ของชา้ งน้อย เพราะตอ้ งเสยี เวลามาดูแลช้างนอ้ ย ต้องเสียเงินพาช้างนอ้ ย
ไปหาหมอ ตอ้ งขาดงานเพ่ือมาดแู ลช้างน้อย)
๔) เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงการปฏิบัติตนในการเข้าแถวอย่างเป็นระเบียบซึ่งจะส่งผลดี
ต่อตัวเดก็ และคนอ่นื ๆ คือ ไมเ่ กิดความวนุ่ วาย
๔.๒ ส่อื การเรยี นรู/้ แหลง่ การเรียนรู้
๑) เพลง “เข้าแถว”
๒) ภาพการเขา้ แถวรบั ประทานอาหารกลางวนั การเขา้ แถวซอื้ ของ การเขา้ แถวเคารพธงชาติ
การเขา้ แถวขนึ้ รถประจ�ำ ทาง เป็นต้น
๓) คลิปนิทาน เรอ่ื ง “ชา้ งนอ้ ยเข้าแถว”
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
สงั เกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
๕.๒ เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ
แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเดก็
๕.๓ เกณฑ์การประเมนิ
เดก็ ผา่ นการประเมิน ระดับ ๒ ข้ึนไปถอื วา่ ผา่ น
๖. บนั ทกึ หลังการจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ................................................ ครูผู้สอน
(...............................................)

ระดบั ปฐมวยั 19

๗. ภาคผนวก

เพลง เขา้ แถว (ผแู้ ตง่ เตือนใจ ศรีมารตุ )

เขา้ แถว เขา้ แถว อย่าล้�ำแนว ยืนเรยี งกนั
อย่า มวั แชเชือน เดินตาม เพอ่ื นใหท้ นั
ระวงั เดนิ ชนกัน เขา้ แถวกนั วอ่ งไว
เขา้ แถว เขา้ แถว อยา่ ลำ้� แนว ยนื เรยี งกัน
อย่า มวั แชเชอื น เดนิ ตาม เพื่อนให้ทนั
ระวงั เดินชนกัน เขา้ แถวกัน วอ่ งไว

คลิปนทิ าน เรือ่ ง ชา้ งนอ้ ยเข้าแถว

https://www.youtube.com/watch?v=๘kvbO๐y-qho&t=๘s

20 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”

ภาพการเข้าแถว

ระดบั ปฐมวยั 21

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก

หนว่ ยที่ ๑ ชอื่ หน่วย การคดิ แยกแยะผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
แผนการจดั ประสบการณท์ ่ี ๕ เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ติ นในการใชข้ องใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ว่ นรวม (การเขา้ แถว)

วนั ท.่ี ............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชีแ้ จง : ให้ผปู้ ระเมนิ ทำ�เครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งระดับคุณภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ทปี่ ระเมิน

ที่ ชือ่ -สกลุ บอกการปฏบิ ัตติ นไดเ้ หมาะสม
ในขณะเขา้ แถวหรอื เดินเป็นแถว
๓๒๑

รวม ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉล่ยี (...............................................)





เกณฑ์การประเมนิ
บอกการปฏิบตั ิตนได้เหมาะสมในขณะเข้าแถว หรือเดินเปน็ แถว
ระดับ ๓ : บอกการปฏบิ ตั ติ นได้เหมาะสมในขณะเข้าแถว หรือเดนิ เปน็ แถวได้ดว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : บอกการปฏบิ ตั ติ นได้เหมาะสมในขณะเข้าแถว หรือเดนิ เปน็ แถวได้โดยมีผ้ชู ้แี นะ
ระดับ ๑ : ไม่สามารถบอกการปฏิบตั ิตนไดเ้ หมาะสมในขณะเขา้ แถว หรือเดนิ เป็นแถวได้

22 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การปอ้ งกนั การทุจริต”

แผนการจดั ประสบการณ์
หนว่ ยท่ี ๑ ช่ือหน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
ช้นั ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ที่ ๖ เรื่อง การปฏบิ ตั ติ นในการใช้ของใชส้ ว่ นตน เวลา ๑ ชวั่ โมง
และของใชส้ ว่ นรวม(การเก็บของใช้สว่ นตน)

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม
๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ สามารถคดิ แยกแยะผลดี และผลเสยี ของการเกบ็ ของและไมเ่ กบ็ ของใชส้ ว่ นตนไดท้ ม่ี ตี อ่ ตนเอง
และผู้อ่นื
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
ของใช้ส่วนตน คือ สิ่งของท่ีเราต้องใช้เป็นของเฉพาะบุคคล และเม่ือใช้เสร็จแล้วต้องดูแล
รกั ษา เก็บเข้าท่ีใหเ้ ปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ )
มีทกั ษะการคดิ การใช้ภาษาสื่อสาร
๓.๓ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค/์ ค่านิยม
มวี นิ ยั
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ขนั้ ตอนการจัดประสบการณ์
๑) ให้เด็กตอบปรศิ นาคำ�ทายเกยี่ วกบั ของใช้ ดังน้ี
• อะไรเอ่ย กลางวันใช้กันไปทุกมมุ หอ้ ง กลางคืนเชิญนอ้ งไปไว้มุม (ไม้กวาด)
• อะไรเอ่ย ตัวเปน็ ไม้ ไส้เปน็ ดนิ หัวเป็นยาง (ดนิ สอ)
๒) ใหเ้ ด็กดูของใช้ต่างๆ ท่คี รูนำ�มา เช่น แก้วน�้ำ จาน แปรงสีฟัน ชอ้ น ส้อม เปน็ ต้น แลว้ ครู
สนทนากบั เดก็ โดยใชค้ �ำ ถาม ดังนี้
• ของใชเ้ หลา่ นมี้ ีประโยชนอ์ ยา่ งไร (เอาไว้ใสน่ ้�ำ ดม่ื , เอาไว้ใสอ่ าหาร, เอาไวต้ ดั กระดาษ,
เอาไว้ตักอาหาร)
• สิง่ ของทงั้ หมดนี้ เราเรยี กรวมกนั วา่ อะไร (ของใชส้ ว่ นตน)
• ของใช้เหลา่ น้จี ะมีวธิ ีเก็บอย่างไร (เกบ็ ให้เรยี บร้อยเปน็ ระเบียบ)

ระดบั ปฐมวัย 23

๓) ครนู �ำ ภาพการไมเ่ ก็บของใชห้ ลังการใช้งานแลว้ มาให้เด็กดู แลว้ รว่ มกันสนทนาซักถาม
• ภาพน้เี ป็นภาพเกยี่ วกับอะไร (ภาพการไมเ่ ก็บของ, ภาพของใชท้ เ่ี กบ็ ไม่เปน็ ระเบียบ)
• ถ้าเราใชข้ องใช้แล้ว ไม่เกบ็ ใหเ้ รียบร้อย ปล่อยให้วางเกะกะตามทีต่ า่ ง ๆ คดิ วา่ จะเกดิ
ผลกระทบกับใครบ้าง เพราะเหตุใด (๑. เกิดผลกระทบกับตัวเรา จะทำ�ให้เราไม่มีของใช้ในภายหลัง
เพราะมันอาจจะหาย หรือพงั เสียหาย เพราะว่าเราใช้แลว้ ไมเ่ ก็บ ๒. เกิดผลกระทบตอ่ ผูอ้ นื่ เช่น ถา้ เรา
ไม่เกบ็ ของจะทำ�ให้ห้องเรยี นสกปรก ไม่เป็นระเบียบ เพ่อื นๆ ในห้องเรียนกจ็ ะตอ้ งเดือดร้อน ตอ้ งเรียน
ในหอ้ งเรียนท่สี กปรก ไมม่ ีระเบยี บ)
• ถา้ หากเราวางรองเทา้ ทชี่ น้ั ไมเ่ รยี บรอ้ ย จะท�ำ ใหเ้ พอ่ื นๆ ทม่ี าวางทหี ลงั ไดร้ บั ผลอยา่ งไร
(ทำ�ให้เพื่อนไม่มีท่ีวางรองเท้า เพราะว่าเราวางรองเท้าไว้เกะกะเต็มไปหมด, ทำ�ให้เพื่อนเราเดือดร้อน
จากการกระทำ�ของเรา)
๔) เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงการเก็บของใช้ส่วนตนอย่างเป็นระเบียบโดยไม่ให้ผู้อ่ืน
เดอื ดรอ้ น
๔.๒ สื่อการเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้
๑) ปริศนาคำ�ทาย
๒) ของใช้ตา่ ง ๆ เชน่ แก้วนำ้� จาน แปรงสีฟัน ชอ้ น สอ้ ม เปน็ ต้น
๓) ภาพการไมเ่ กบ็ ของให้เป็นระเบียบ
๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
สังเกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
๕.๒ เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการประเมิน
แบบสงั เกตการตอบคำ�ถามของเด็ก
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เดก็ ผา่ นการประเมนิ ระดบั ๒ ขึ้นไปถอื ว่าผ่าน
๖. บนั ทกึ หลังการจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชื่อ ................................................ ครูผ้สู อน
(...............................................)

24 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ ริต”

๗. ภาคผนวก

ภาพการไมเ่ กบ็ ของใหเ้ ป็นระเบียบ

ระดบั ปฐมวยั 25

แบบสังเกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก

หน่วยที่ ๑ ชือ่ หน่วย การคดิ แยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
แผนการจดั ประสบการณท์ ่ี ๖ เรอื่ ง การปฏบิ ตั ิตนในการใช้ของใชส้ ่วนตนและของใชส้ ว่ นรวม

(การเกบ็ ของใชส้ ่วนตน)
วันท.ี่ ............เดอื น.............................พ.ศ............................
คำ�ชแี้ จง : ให้ผู้ประเมนิ ทำ�เคร่อื งหมาย  ในช่องระดับคุณภาพของเด็กในแตล่ ะประเดน็ ทีป่ ระเมิน

ที่ ช่ือ-สกุล บอกผลดี บอกผลเสยี สามารถคดิ แยกแยะ
ของการเก็บของใช้ ของการเก็บของใช้ ผลดแี ละผลเสีย
สว่ นตนใหเ้ ปน็ ระเบยี บ สว่ นตนใหเ้ ปน็ ระเบยี บ ของการเกบ็ ของ
ทมี่ ีตอ่ ตนเองและผ้อู ืน่ ท่ีมีตอ่ ตนเองและผูอ้ ่นื
และไม่เก็บของท่ีมีตอ่
ตนเองและผ้อู ่นื

๓๒๑๓๒๑๓๒๑

รวม ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉล่ยี (...............................................)




26 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกนั การทุจริต”

เกณฑ์การประเมิน
บอกผลดี ของการเก็บของใช้ส่วนตนให้เปน็ ระเบียบที่มีตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน
ระดับ ๓ : บอกผลดี ของการเกบ็ ของใชส้ ว่ นตนใหเ้ ปน็ ระเบยี บทม่ี ตี อ่ ตนเองและผอู้ นื่ ไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : บอกผลดี ของการเกบ็ ของใชส้ ว่ นตนใหเ้ ปน็ ระเบยี บทม่ี ตี อ่ ตนเองและผอู้ น่ื ไดโ้ ดยมผี ชู้ แ้ี นะ
ระดับ ๑ : ไมส่ ามารถบอกผลดี ของการเกบ็ ของใชส้ ว่ นตนใหเ้ ปน็ ระเบยี บทม่ี ตี อ่ ตนเองและผอู้ น่ื ได้
บอกผลเสยี ของการเก็บของใช้สว่ นตนให้เปน็ ระเบียบทมี่ ีตอ่ ตนเองและผอู้ นื่
ระดับ ๓ : บอกผลเสีย ของการไม่เก็บของใช้ส่วนตนให้เป็นระเบียบท่ีมีต่อตนเองและผู้อื่น
ไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : บอกผลเสีย ของการไม่เก็บของใช้ส่วนตนให้เป็นระเบียบท่ีมีต่อตนเองและผู้อื่น
ไดโ้ ดยมีผู้ชแ้ี นะ
ระดับ ๑ : ไมส่ ามารถบอกผลเสยี ของการไมเ่ ก็บของใชส้ ่วนตนให้เป็นระเบยี บทีม่ ีต่อตนเองและ
ผู้อ่ืนได้
สามารถคิดแยกแยะผลดี และผลเสยี ของการเก็บของและไม่เกบ็ ของท่มี ตี ่อตนเองและผ้อู นื่
ระดับ ๓ : สามารถคิดแยกแยะผลดี และผลเสีย ของการเก็บของและไม่เก็บของท่ีมีต่อตนเอง
และผู้อนื่ ไดด้ ้วยตนเอง
ระดับ ๒ : สามารถคิดแยกแยะผลดี และผลเสีย ของการเก็บของและไม่เก็บของท่ีมีต่อตนเอง
และผอู้ ่ืนไดโ้ ดยมผี ชู้ แ้ี นะ
ระดับ ๑ : ไมส่ ามารถคิดแยกแยะผลดี และผลเสีย ของการเก็บของและไม่เก็บของทม่ี ีต่อตนเอง
และผู้อื่นได้

ระดบั ปฐมวยั 27

แผนการจดั ประสบการณ์
หน่วยที่ ๑ ช่อื หนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
ช้นั ปฐมวยั
แผนการจัดประสบการณ์ท่ี ๗ เรอื่ ง การปฏบิ ตั ติ นในการใช้ของใช้สว่ นตน เวลา ๑ ช่ัวโมง
และของใช้ส่วนรวม (การท�ำ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย)

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม
๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ สามารถบอกผลดี ของการมีความรับผิดชอบในการทำ�งานที่ได้รับมอบหมายท่ีมีต่อตนเอง
และผู้อืน่
๒.๒ สามารถบอกผลเสยี ของการไมม่ คี วามรบั ผดิ ชอบในการท�ำ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายทม่ี ตี อ่ ตนเอง
และผ้อู น่ื
๒.๓ สามารถคิดแยกแยะผลดี และผลเสีย ของการมีความรับผิดชอบในการทำ�งานท่ีได้รับ
มอบหมายท่ีมตี ่อตนเองและผู้อ่ืน
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การทำ�งานท่ีได้รับมอบหมาย คือ การท่ีบุคคลหน่ึงได้รับมอบหมายให้ทำ�การสิ่งใด
ตอ้ งรับผดิ ชอบทำ�งานนัน้ ให้บรรลตุ ามเป้าหมายและส�ำ เรจ็ ตามเวลาท่ีก�ำ หนด
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ )
๑) มที ักษะชีวติ อยู่รว่ มกับผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
๒) มที ักษะการคดิ การใชภ้ าษาสอ่ื สาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วัย
๓.๓ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค/์ ค่านยิ ม
มีวนิ ัย
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขั้นตอนการจัดประสบการณ์
๑) ให้เด็กดูคลิปวีดีโอ เร่ือง “ทำ�ไมไม่ส่งการบ้าน” จากน้ันเด็กและครูร่วมกันสนทนา
เกย่ี วกบั เน้ือหาในเร่ือง โดยครูใชค้ �ำ ถาม ดังน้ี
• จากเนอื้ เร่ืองเป็นเรือ่ งเกี่ยวกับอะไร (เด็กไม่ส่งการบา้ น)
• เด็กในเรื่อง ขาดคณุ ธรรมขอ้ ใด (ความรับผิดชอบ)
• ถ้าเราเป็นเด็กคนในคลิปท่ีดู เราจะทำ�อย่างไร (จะรับผิดชอบทำ�การบ้านท่ีครูส่ัง
แล้วเอาส่งครูตามเวลาทคี่ รูนัดหมาย)
28 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การป้องกันการทุจริต”

๒) เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรม หรืองานท่ีได้รับมอบหมายให้ทำ�ที่บ้านและ
ทโ่ี รงเรียน โดยใชค้ �ำ ถาม ดงั นี้
• งานบา้ นทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหท้ �ำ มอี ะไรบา้ ง และท�ำ อยา่ งไรกบั งานบา้ นทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
(๑. กวาดบ้าน ถบู ้าน เลย้ี งน้อง รดนำ้�ต้นไม้ ๒. รบั ผิดชอบท�ำ งานทไ่ี ด้รบั มอบหมายจนเสร็จเรียบรอ้ ย
โดยไม่ต้องรอใหใ้ ครมาบอก)
• กิจกรรม หรืองานท่ีโรงเรียนมอบหมายให้ทำ�มีอะไรบ้าง และทำ�อย่างไรกับกิจกรรม
หรอื งานทไี่ ด้รบั มอบหมาย (๑. เกบ็ ขยะรอบๆ หอ้ งเรียน กวาดหอ้ ง ถหู อ้ ง ๒. รับผดิ ชอบท�ำ งานที่ได้รับ
มอบหมายจนเสร็จเรียบรอ้ ยโดยไม่ต้องรอใหใ้ ครมาบอก)
• ถา้ เราไมท่ �ำ กจิ กรรม หรอื งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายใหเ้ สรจ็ จะเกดิ อะไรขนึ้ (๑. เราจะเปน็
คนไมร่ ับผดิ ชอบ เพอ่ื นๆ คุณครู ก็จะดวู า่ เราขาดความรบั ผดิ ชอบ ไม่ไดร้ ับการยอมรบั )
๓) ให้เด็กดนู ิทานเรอื่ ง “น้องไขเ่ จียว เด็กดีชว่ ยพ่อแม่ทำ�งานบา้ น”
๔) เดก็ และครูรว่ มกนั สนทนากนั ถงึ เนอื้ หาในนิทาน โดยใช้ค�ำ ถาม ดงั นี้
• นอ้ งไขเ่ จยี ว ชว่ ยพอ่ แมท่ �ำงานบา้ นอะไรบา้ ง (กวาดบา้ น ถบู า้ น ซดั เสอื้ ผา้ รดนำ้� ตน้ ไม้
เช็ดโตะ๊ อาหาร)
• การที่เราช่วยเหลือพ่อแม่ทำ�งานบ้าน ช่วยเหลืองานคุณครู และต้ังใจเรียนน้ัน
จะเกดิ ผลดอี ยา่ งไร กับใครบ้าง (๑. เกดิ ผลดกี บั ตวั เราเอง เพราะถา้ เราต้งั ใจเรียนเราก็จะเรยี นหนงั สอื เก่ง
ถ้าเราชว่ ยพ่อแม่ทำ�งานบ้านเราก็จะได้มีโอกาสออกก�ำ ลงั กาย ทำ�ให้ร่างกายเราแขง็ แรง และจะทำ�ให้เรา
ท�ำ งานเป็น ไปท่ไี หนก็จะสามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ ๒. เกิดผลดกี ับผอู้ ืน่ เชน่ พอ่ แม่ และครู เพราะท่าน
จะไดม้ ีภาระในการท�ำ งานลดนอ้ ยลง ทำ�ให้ท่านเหน่อื ยน้อยลง)
๕) เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงผลของความรับผิดชอบการทำ�งานที่ได้รับมอบหมายที่มีต่อ
ตนเองและผอู้ ่นื
๔.๒ ส่ือการเรียนรู/้ แหล่งการเรยี นรู้
๑) คลปิ วีดโี อ เรื่อง “ทำ�ไมไมส่ ง่ การบา้ น”
๒) คลปิ วีดโี อนทิ าน เรือ่ ง “นอ้ งไข่เจยี ว เดก็ ดีช่วยพ่อแมท่ ำ�งานบ้าน”
๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมนิ
สงั เกตการตอบค�ำ ถามของเดก็
๕.๒ เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการประเมิน
แบบสังเกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เดก็ ผา่ นการประเมนิ ระดบั ๒ ขนึ้ ไปถอื วา่ ผ่าน

ระดับปฐมวัย 29

๖. บนั ทึกหลังการจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงช่ือ ................................................ ครผู สู้ อน
(...............................................)

30 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกนั การทุจริต”

๗. ภาคผนวก

วีดโี อ เรอื่ ง ท�ำ ไมไมส่ ง่ การบ้าน

http://youtube.com/watch?v=aoYtKGX๑rIY

น้องไข่เจยี ว เด็กดชี ่วยพอ่ แม่ท�ำ งานบ้าน

http://youtube.com/watch?v=W๘VFhqG๘Nv๐

ระดบั ปฐมวยั 31

แบบสังเกตการตอบค�ำ ถามของเดก็

หนว่ ยที่ ๑ ช่ือหนว่ ย การคดิ แยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
แผนการจดั ประสบการณ์ท่ี ๗ เรือ่ ง การปฏิบตั ิตนในการใชข้ องใช้ส่วนตนและของใช้ส่วนรวม

(การท�ำ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย)
วันที่.............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ช้ีแจง : ใหผ้ ู้ประเมินทำ�เครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งระดับคุณภาพของเดก็ ในแต่ละประเด็นท่ปี ระเมิน

บอกผลดี บอกผลเสยี สามารถคิดแยกแยะ
ของการมคี วามรบั ผดิ ชอบ ของการไมม่ คี วามรบั ผดิ ชอบ ผลดแี ละผลเสียของการ
ในการทำ�งานทไ่ี ดร้ บั ในการทำ�งานทไี่ ดร้ บั มีความรบั ผิดชอบ
มอบหมายที่มตี อ่ ตนเอง มอบหมายที่มตี อ่ ตนเอง ในการท�ำ งานที่ไดร้ ับ
ท่ี ชื่อ-สกลุ และผอู้ ื่น และผู้อื่น มอบหมายที่มีต่อตนเอง

และผ้อู ืน่

๓๒๑๓๒๑๓๒๑

รวม ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉลย่ี (...............................................)




32 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การป้องกนั การทุจริต”

เกณฑก์ ารประเมิน
บอกผลดี ของการมีความรบั ผิดชอบในการทำ�งานท่ไี ด้รับมอบหมายที่มีตอ่ ตนเองและผู้อน่ื
ระดับ ๓ : บอกผลดี ของการมีความรับผิดชอบในการทำ�งานท่ีได้รับมอบหมายท่ีมีต่อตนเอง
และผู้อ่นื ได้ดว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : บอกผลดี ของการมีความรับผิดชอบในการทำ�งานที่ได้รับมอบหมายที่มีต่อตนเอง
และผอู้ น่ื ได้โดยมีผู้ชแ้ี นะ
ระดบั ๑ : ไมส่ ามารถบอกผลดี ของการมคี วามรับผดิ ชอบในการทำ�งานที่ไดร้ บั มอบหมายที่มตี ่อ
ตนเองและผู้อ่นื ได้
บอกผลเสีย ของการไม่มีความรบั ผิดชอบในการท�ำ งานทไ่ี ด้รับมอบหมายท่ีมีต่อตนเองและผู้อ่ืน
ระดบั ๓ : บอกผลเสยี ของการไมม่ คี วามรบั ผดิ ชอบในการท�ำ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายทมี่ ตี อ่ ตนเอง
และผูอ้ ืน่ ไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : บอกผลเสยี ของการไมม่ คี วามรบั ผดิ ชอบในการท�ำ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายทม่ี ตี อ่ ตนเอง
และผูอ้ ่นื ไดโ้ ดยมผี ู้ชแ้ี นะ
ระดบั ๑ : ไมส่ ามารถบอกผลเสยี ของการไมม่ คี วามรบั ผดิ ชอบในการท�ำ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายทม่ี ตี อ่
ตนเองและผู้อืน่ ได้
สามารถคิดแยกแยะผลดี และผลเสีย ของการมีความรับผิดชอบในการทำ�งานท่ีได้รับมอบหมายที่มีต่อ
ตนเองและผอู้ น่ื
ระดับ ๓ : สามารถคดิ แยกแยะผลดี และผลเสยี ของการมีความรบั ผดิ ชอบในการทำ�งานทไ่ี ด้รับ
มอบหมายท่ีมตี ่อตนเองและผอู้ ืน่ ได้ด้วยตนเอง
ระดบั ๒ : สามารถคิดแยกแยะผลดี และผลเสยี ของการมีความรับผิดชอบในการท�ำ งานที่ได้รบั
มอบหมายท่มี ตี อ่ ตนเองและผู้อน่ื ได้โดยมผี ้ชู แี้ นะ
ระดับ ๑ : ไม่สามารถคิดแยกแยะผลดี และผลเสีย ของการมีความรับผิดชอบในการทำ�งาน
ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายที่มีตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื ได้

ระดับปฐมวัย 33

แผนการจดั ประสบการณ์
หนว่ ยที่ ๑ ชื่อหน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
ช้นั ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ท่ี ๘ เรอ่ื ง การปฏิบตั ติ นในการใชข้ องใชส้ ว่ นตน เวลา ๑ ชวั่ โมง
และของใช้ส่วนรวม (การแบ่งปนั )

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ บอกความหมายของการแบง่ ปนั ได้
๒.๒ สามารถคิดแยกแยะประโยชนข์ องการแบ่งปันทีม่ ตี อ่ ตนเองและผู้อน่ื ได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การแบง่ ปัน คอื การแบง่ ปนั ส่ิงท่เี รามี หรอื สงิ่ ท่เี ราสามารถใหแ้ กผ่ ้อู ่นื ได้ และเป็นประโยชน์
กับคนที่ได้รับ การแบ่งปันหรือการให้นั้น หากได้มอบให้ผู้อ่ืนโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนและบริสุทธ์ิใจ
จะทำ�ให้ผู้ที่มอบน้นั ไดร้ ับความสขุ ทีเ่ ป็นความทรงจ�ำ ยาวนาน มิใช่ความสุขเพียงช่วั ครู่
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)
๑) มีทักษะชีวิต และอย่รู ว่ มกับผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างมคี วามสุข
๒) มีทกั ษะการคิด การใชภ้ าษาสื่อสาร และการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกบั วยั
๓.๓ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์/ค่านิยม
ความเอ้อื อาทร
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขนั้ ตอนการจดั ประสบการณ์
๑) เดก็ และครูรว่ มกันร้องเพลง “การแบง่ ปนั ”
๒) เด็กและครรู ว่ มกันสนทนาถงึ เนอื้ หาของเพลง โดยครใู ชค้ �ำ ถาม ดงั นี้
• เพลงทเ่ี ราร่วมรอ้ ง เปน็ เพลงเกยี่ วกับอะไร (การแบง่ ปนั )
• การแบ่งปนั คืออะไร (การท่เี ราให้ส่งิ ของท่เี รามีอยู่กับผอู้ ื่น)
๓) เด็กและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับการแบ่งปัน โดยให้เด็กช่วยกันยกตัวอย่างท่ีตนเอง
เคยมีน�้ำใจแบ่งปนั ต่อผู้อนื่ (ใหเ้ พอ่ื นยมื ดนิ สอ แบ่งขนมใหเ้ พ่อื น เปน็ ตน้ )

34 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

๔) ให้เดก็ ดูนิทาน เรอ่ื ง “หนแู กงส้มมีน้�ำ ใจ” จากนน้ั สนทนาร่วมกนั โดยครูใชค้ ำ�ถาม ดงั น้ี
• การที่หนูนิดแบ่งไอศกรีมให้น้องคร่ึงหนึ่งน้ัน เป็นการกระทำ�ท่ีถูกต้องหรือไม่
เพราะเหตุใด (ถูกต้อง เพราะการที่เรารู้จักแบ่งปนั สิ่งของใหผ้ ูอ้ ืน่ น้ันเปน็ การกระท�ำ ที่ด)ี
• หนูแกงสม้ จะรู้สกึ อย่างไรเม่อื แบ่งไอศกรมี ให้น้อง (รูส้ กึ ภมู ิใจในตนเอง)
• การท่ีหนูนิดเป็นคนท่ีรู้จักแบ่งปัน คิดว่าใครจะได้รับประโยชน์จากการกระทำ�น้ีบ้าง
และได้รับอย่างไร (๑. ตัวของหนูนิดเอง เพราะหนูนิดจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจต่อตนเอง, ทำ�ให้หนู
นิดเป็นที่รักของทุกคน ๒. บุคคลอ่ืนท่ีอยู่รอบข้างหนูนิด เช่น เพื่อนๆ เพราะ บุคคลเหล่านั้นจะได้รับ
ความชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั จากหนนู ดิ ทำ�สังคมน่าอยู่ เปน็ สงั คมแหง่ การแบง่ ปัน)
๕) เดก็ และครรู ว่ มกนั สรปุ ถงึ การมคี วามรแู้ ละประสบการณเ์ รอ่ื งการแบง่ ปนั ท�ำ ใหเ้ หน็ คณุ คา่
ของการแบง่ ปนั ตอ่ ผ้อู ่นื
๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
๑) เพลง “การแบง่ ปนั ”
๒) นิทาน เร่ือง “หนแู กงส้มมนี ำ้�ใจ”
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมิน
สังเกตการตอบคำ�ถามของเด็ก
๕.๒ เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ
แบบสังเกตการตอบคำ�ถามของเดก็
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ
เด็กผ่านการประเมิน ระดับ ๒ ข้นึ ไปถือว่าผ่าน
๖. บนั ทกึ หลังการจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ................................................ ครผู ูส้ อน
(...............................................)

ระดับปฐมวยั 35

๗. ภาคผนวก

เพลง “การแบ่งปนั ”

(ผู้แต่ง บญุ เอื้อ เหล่าชัย ประพันธ)์
การแบ่งปนั ๆ อยู่ร่วมกนั อยา่ งมีความสุข
ยามทุกข์ เดอื ดร้อนใจกาย ก็คลค่ี ลาย กลับกลายเปน็ สุขเอย (ซ้ำ� )

นิทาน เร่ือง หนแู กงสม้ มนี ำ้� ใจ

http://youtube.com/watch?v=UCXaf_cjB๗A

36 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

แบบสังเกตการตอบค�ำ ถามของเดก็

หนว่ ยท่ี ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคดิ แยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
แผนการจดั ประสบการณท์ ่ี ๘ เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ติ นในการใชข้ องใชส้ ว่ นตนและของใชส้ ว่ นรวม (การแบง่ ปนั )

วนั ที.่ ............เดอื น.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชแี้ จง : ใหผ้ ู้ประเมนิ ทำ�เคร่อื งหมาย  ในช่องระดบั คุณภาพของเดก็ ในแต่ละประเดน็ ท่ีประเมิน

ที่ ช่อื -สกุล บอกความหมาย สามารถคิดแยกแยะประโยชน์
ของการแบ่งปนั ได้ ของการแบง่ ปนั ทีม่ ตี ่อตนเอง
๓๒๑
และผู้อืน่ ได้
๓๒๑

รวม ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉลี่ย (...............................................)






ระดบั ปฐมวัย 37

เกณฑก์ ารประเมนิ
บอกความหมายของการแบ่งปนั ได้
ระดบั ๓ : บอกความหมายของการแบ่งปันได้ดว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : บอกความหมายของการแบ่งปนั ได้โดยมีผ้ชู แ้ี นะ
ระดบั ๑ : ไมส่ ามารถบอกความหมายของการแบง่ ปนั ได้
สามารถคิดแยกแยะประโยชน์ของการแบ่งปันทีม่ ตี ่อตนเองและผอู้ ื่นได้
ระดับ ๓ : สามารถคดิ แยกแยะประโยชน์ของการแบง่ ปันทม่ี ตี ่อตนเองและผู้อื่นได้ดว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : สามารถคดิ แยกแยะประโยชนข์ องการแบง่ ปนั ทมี่ ีตอ่ ตนเองและผู้อ่ืนได้โดยมีผู้ชี้แนะ
ระดับ ๑ : ไมส่ ามารถคิดแยกแยะประโยชนข์ องการแบ่งปนั ที่มตี ่อตนเองและผูอ้ ่ืนได้

38 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การปอ้ งกันการทุจริต”

แผนการจดั ประสบการณ์
หนว่ ยที่ ๑ ช่อื หนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
ชนั้ ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณท์ ่ี ๙ เร่อื ง การปฏิบตั ติ นในการใช้ของใชส้ ว่ นตน เวลา ๑ ชั่วโมง
และของใชส้ ว่ นรวม (การแตง่ กาย)

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม
๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ บอกความสำ�คัญของการแตง่ กายด้วยตนเองได้
๒.๒ สามารถคดิ แยกแยะผลดขี องการแตง่ กายด้วยตนเองที่ส่งผลตอ่ ตนเองและผู้อ่ืนได้
๒.๓ สามารถคิดแยกแยะผลเสียของการแตง่ กายดว้ ยตนเองไมไ่ ดท้ ่สี ่งผลตอ่ ตนเองและผูอ้ น่ื ได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
การแต่งกาย หมายถงึ การสวมใส่เสื้อผา้ และเครอื่ งแตง่ กายทเ่ี หมาะสมกบั วัย เพศ ฤดูกาล
โอกาส และสถานท่ี เราควรแตง่ กายดว้ ยเสอ้ื ผา้ ทส่ี ะอาดเรยี บรอ้ ย เพอื่ ใหด้ สู ภุ าพเรยี บรอ้ ย สวยงามนา่ รกั
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ )
๑) มีทักษะชีวติ และอยรู่ ว่ มกบั ผู้อื่นไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
๒) มีทกั ษะการคิด การใชภ้ าษาสือ่ สาร
๓.๓ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์/ค่านิยม
มวี นิ ัย
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ขั้นตอนการจัดประสบการณ์
๑) เด็กและครดู วู ดี ีโอเพลง “คนเกง่ แตง่ ตัวไดเ้ อง”
๒) เด็กและครรู ว่ มกันสนทนา โดยครใู ช้คำ�ถาม ดังน้ี
• จากวดี โี อที่ดนู น้ั เป็นเร่ืองเกย่ี วกบั อะไร (การแต่งกายดว้ ยตนเอง)
๓) เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความสำ�คัญและประโยชน์ของการแต่งกาย
โดยใชค้ ำ�ถาม ดังน้ี
• การทเี่ ราสามารถแตง่ ตวั ไดเ้ องนนั้ ส�ำ คญั หรอื ไม่ อยา่ งไร (ส�ำ คญั เพราะถา้ เราไปอยทู่ อ่ี น่ื
ไมม่ พี อ่ แม่แตง่ ตวั ให้ เราจะไดแ้ ตง่ ตัวเองได)้

ระดบั ปฐมวัย 39

• การทีเ่ ราสามารถแต่งตวั ได้เองน้ัน จะเกิดผลดกี บั ใครบา้ ง เพราะเหตุใด (๑. เกิดผลดี
กับตนเอง เพราะเราจะสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ไม่ต้องรอให้ผู้อ่ืนแต่งตัวให้ ๒. ผลดีกับผู้อ่ืน เช่น
พ่อแม่ หรือครู เพราะพ่อแม่ หรือครู จะได้ลดภาระที่จะมาแต่งตัวให้เรา ทำ�ให้ท่านมีเวลาพักผ่อน
หรอื ไปทำ�อย่างอ่นื มากข้ึน)
๔) ครนู �ำ ภาพการแตง่ กายทเี่ รยี บรอ้ ยถกู ตอ้ งตามกฎระเบยี บของโรงเรยี นมาใหเ้ ดก็ ดู และภาพ
ของเด็กท่ีแต่งกายไม่เรียบร้อยมาให้เด็กสังเกตเปรียบเทียบ พร้อมร่วมสนทนาตอบคำ�ถามแสดง
ความคิดเห็นเก่ยี วกบั ภาพและใชค้ �ำ ถาม ดังนี้
• ถ้าเราแต่งกายไม่ถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงเรียน คิดว่าจะเกิดผลต่อตนเอง
และผอู้ น่ื อยา่ งไร (๑. ตอ่ ตนเอง ก็จะท�ำ ใหผ้ ู้อนื่ มองเราว่าเป็นคนไมม่ ีวินัย ๒. ต่อผอู้ ่ืน (โรงเรยี น) ทำ�ให้
เสยี ชือ่ เสียงของโรงเรียนทมี่ เี ด็กไมม่ วี นิ ัยในเรอ่ื งการแตง่ กาย)
๕) เดก็ และครรู ว่ มกนั สรปุ เกีย่ วกับเร่อื งการแตง่ กาย
๔.๒ สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๑) เพลง “คนเกง่ แต่งตวั ได้เอง”
๒) ภาพการแตง่ กายทถี่ กู ตอ้ งตามกฎระเบยี บของโรงเรยี นและภาพการแตง่ กายผดิ ระเบยี บ
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
สงั เกตการตอบค�ำ ถามของเดก็
๕.๒ เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมิน
แบบสงั เกตการตอบคำ�ถามของเดก็
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมิน
เด็กผ่านการประเมนิ ระดบั ๒ ขึ้นไปถอื ว่าผา่ น
๖. บนั ทกึ หลงั การจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ................................................ ครูผูส้ อน
(...............................................)

40 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจรติ ”

๗. ภาคผนวก

เพลง : คนเกง่ แต่งตัวได้เอง (Official Karaoke)

http://youtube.com/watch?v=๗BeRa๗s๖quI

ระดับปฐมวัย 41

การแตง่ กายชดุ นกั เรียน

การแตง่ กายถกู ตอ้ งตามระเบยี บ

การแต่งกายไม่ถูกต้องตามระเบียบ/ผิดระเบยี บ
42 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก

หนว่ ยท่ี ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคดิ แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
แผนการจัดประสบการณ์ท่ี ๙ เรื่อง การปฏบิ ตั ิตนในการใชข้ องใชส้ ่วนตนและของใชส้ ่วนรวม

(การแต่งกาย)
วันท่.ี ............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชี้แจง : ให้ผปู้ ระเมนิ ทำ�เครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งระดับคุณภาพของเด็กในแต่ละประเดน็ ทป่ี ระเมิน

บอกความสำ�คญั ของ สามารถคิดแยกแยะ สามารถคิดแยกแยะ
การแต่งกาย ผลดีของการแต่งกาย ผลเสยี ของการแตง่ กาย
ด้วยตนเองได้ ด้วยตนเอง ด้วยตนเองไม่ได้
ที่ ชอ่ื -สกุล ท่ีส่งผลตอ่ ตนเอง ทีส่ ง่ ผลตอ่ ตนเอง

และผอู้ ืน่ ได้ และผอู้ ืน่

๓๒๑๓๒๑๓๒๑

รวม ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉลีย่ (...............................................)




ระดับปฐมวยั 43


Click to View FlipBook Version