The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนจัดประสบการณ์ รายวิชาเพิ่มเติม ปฐมวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Talanueaschool, 2022-06-01 23:09:09

แผนจัดประสบการณ์ รายวิชาเพิ่มเติม ปฐมวัย

แผนจัดประสบการณ์ รายวิชาเพิ่มเติม ปฐมวัย

๗. ภาคผนวก

คลิปวดี ีโอ เร่ือง ใช้สงิ่ ของอย่างไร ใหป้ ระหยดั และคมุ้ คา่

https://www.youtube.com/watch?v=๕๒itPpm๖rdk
144 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกันการทุจริต”

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก

หน่วยท่ี ๓ ช่ือหน่วย STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต
แผนการจัดประสบการณ์ที่ ๙ เรอ่ื ง การใช้กระดาษทสี่ อดคลอ้ งกับ STRONG

วันท.่ี ............เดอื น.............................พ.ศ............................
ค�ำ ช้ีแจง: ให้ผู้ประเมินทำ�เครอื่ งหมาย  ในช่องระดับคุณภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเด็นทป่ี ระเมนิ

บอกวธิ กี ารใชก้ ระดาษอย่าง ใชก้ ระดาษ ได้อยา่ งประหยดั
ประหยัดได้
ที่ ช่ือ-สกลุ

๓๒๑๓๒๑

รวม ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉลี่ย (...............................................)





เกณฑ์การประเมิน
บอกวิธกี ารใช้กระดาษอย่างประหยัดได ้
ระดับ ๓ : เดก็ สามารถบอกวิธกี ารใชก้ ระดาษอยา่ งประหยัดไดด้ ้วยตนเอง
ระดบั ๒ : เด็กสามารถบอกวธิ ีการใช้กระดาษอยา่ งประหยดั ไดโ้ ดยมผี ชู้ แ้ี นะ
ระดบั ๑ : เด็กไมส่ ามารถบอกวิธีการใชก้ ระดาษอย่างประหยดั ได้

การใช้กระดาษได้อยา่ งประหยัด
ระดบั ๓ : เด็กสามารถใชก้ ระดาษอย่างประหยัดไดด้ ้วยตนเอง
ระดับ ๒ : เดก็ สามารถใชก้ ระดาษอยา่ งประหยดั ไดโ้ ดยมผี ู้ช้ีแนะ
ระดับ ๑ : เดก็ ไม่สามารถใช้กระดาษอยา่ งประหยัดได้

ระดับปฐมวยั 145

หน่วยที่ ๔

พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม

แผนการจัดประสบการณ์ เวลา ๑ ชวั่ โมง

หน่วยท่ี ๔ ชอื่ หนว่ ย พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม
ชน้ั ปฐมวัย
แผนการจดั ประสบการณท์ ี่ ๑ เรอื่ ง ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง (การแปรงฟนั )

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับพลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคม
๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามหนา้ ท่ีพลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ สามารถดแู ลรักษาฟันไดด้ ว้ ยตนเอง
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
ร่างกายของเราประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งอวัยวะเหล่านี้มีหน้าท่ีแตกต่างกัน เช่น
จมูกใช้หายใจ ปากใช้พูด และรับประทานอาหาร ฟันใช้บดเค้ียวอาหาร เป็นต้น อวัยวะทุกส่วนล้วนมี
ความส�ำ คญั เราจงึ ควรดแู ลรักษาอวัยวะของเราด้วยตนเองอยา่ งถกู วธิ ี
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ )
๑) มที ักษะชีวติ อย่างมีความสขุ
๒) มที กั ษะการคิด การใช้ภาษาสอ่ื สาร
๓.๓ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์/ค่านยิ ม
มวี นิ ยั ความรับผิดชอบ
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจัดประสบการณ์
๑) ครใู หเ้ ดก็ เลน่ เกมภาพตดั ตอ่ รา่ งกายของเรา เมอ่ื ตอ่ เสรจ็ ใหเ้ ดก็ ชว่ ยกนั สงั เกตและทบทวน
วา่ ร่างกายของเราประกอบด้วยอวัยวะใดบา้ ง และมหี น้าท่ีอย่างไร
๒) ครูแนะนำ�เพลง “แปรงฟนั ” ใหเ้ ด็กร้องและท�ำ ท่าประกอบเพลงตามจนิ ตนาการ
๓) ครนู �ำ โมเดลฟนั จ�ำ ลอง หรอื ภาพฟนั จ�ำ ลองมาใหเ้ ดก็ สงั เกต แลว้ สนทนาเกย่ี วกบั ลกั ษณะ
ของฟนั หนา้ ทข่ี องฟนั แลว้ สนทนาแลกเปลย่ี นประสบการณร์ ว่ มกนั โดยถามค�ำ ถามกระตนุ้ ความคดิ ดงั นี้
• ลกั ษณะของฟันเปน็ อยา่ งไรบา้ ง
• ฟนั มหี น้าทีอ่ ะไร
• เด็ก ๆ เคยปวดฟนั หรอื ไม่ เพราะอะไรจึงปวด
146 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การปอ้ งกันการทุจริต”

๔) ครูให้เด็กส่องกระจก แล้วสังเกตฟันของตนเอง จากนั้นให้จับคู่กับเพื่อนผลัดกันสังเกต
ช่องปากและฟนั ของคตู่ นเอง แล้วลองเปรียบเทยี บกันว่าเปน็ อย่างไร เชน่ สขี องปาก ลิ้น ฟนั
๕) ครูใหอ้ าสาสมัครออกมาน�ำ เสนอผลการสงั เกตช่องปากและฟันของตนเองและเพ่อื น
๖) ครูให้เด็กเรียนรู้คำ�ศัพท์เก่ียวกับฟัน และฝึกให้เด็กออกเสียงคำ�ศัพท์ให้ถูกต้อง เช่น
Milk tooth Tooth
๗) ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับฟันว่า มีด้วยกัน ๒ ชุด คือ ฟันนำ้�นมจะเร่ิมข้ึนเม่ืออายุ
๖ เดือน และฟันแท้จะเร่ิมข้ึนเมื่ออายุ ๖ ปี ฟันหน้ามีหน้าท่ีกัด ฉีกอาหาร ส่วนฟันกรามมีหน้าท่ีบด
และเคี้ยวอาหารใหล้ ะเอยี ด ล้ินช่วยในการพดู นอกจากน้ี ฟนั ยงั ช่วยท�ำ ให้รปู ปากและใบหน้ามลี ักษณะ
ได้สดั สว่ นสวยงาม
๘) ครูใหเ้ ดก็ ทดลองแปรงฟนั ดว้ ยตนเอง
๙) ครูและเด็กร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเก่ียวกับหน้าท่ีของฟัน อาหารท่ีดีต่อ
สขุ ภาพฟนั และวธิ กี ารดูแลรักษาฟัน ดงั น้ี
• แปรงฟนั ใหถ้ กู วธิ อี ย่างนอ้ ยวนั ละ ๒ คร้งั
• หลกี เลย่ี งขนมหวาน ลูกอม เพราะอาจทำ�ใหฟ้ นั ผุ
• ไมค่ วรใชฟ้ ันกัดของแข็ง เพราะจะทำ�ใหฟ้ นั แตกและหกั ได้
๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๑) เพลง “แปรงฟัน”
๒) เกมภาพตัดตอ่ รา่ งกายของเรา
๓) โมเดลฟนั จำ�ลองหรอื ภาพฟันจ�ำ ลอง
๔) บตั รคำ�ศัพทเ์ กีย่ วกับฟัน
๕) บตั รภาพเก่ยี วกบั ฟนั
๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมนิ
๑) สังเกตการตอบค�ำ ถาม
๒) สงั เกตพฤตกิ รรมความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองของเด็ก
๕.๒ เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการประเมนิ
๑) แบบสังเกตการตอบคำ�ถาม
๒) แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองของเด็ก
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ
เด็กผา่ นการประเมนิ ระดบั ๒ ขน้ึ ไปถอื วา่ ผา่ น

ระดับปฐมวยั 147

๖. บนั ทกึ หลงั การจดั ประสบการณ์
..................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงช่อื ................................................ ครผู ้สู อน
(...............................................)
๗. ภาคผนวก

เพลง แปรงฟนั
(ไมท่ ราบนามผูแ้ ต่ง)
ตื่นเชา้ เราแปรงฟนั กนิ อาหารแลว้ เราแปรงฟนั
กอ่ นนอนเราแปรงฟนั ฟนั สะอาดให้ขาวเงางาม
แปรงฟันให้ถูกวิธี ดซู ติ ้องแปรงขน้ึ ลง

ภาพฟนั

148 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกันการทจุ ริต”

แบบสงั เกตการตอบคำ�ถามของเดก็

หน่วยที่ ๔ ชอ่ื หนว่ ย พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
แผนการจัดประสบการณ์ที่ ๑ เรอื่ ง ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง (การแปรงฟนั )

วนั ท.ี่ ............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชแ้ี จง : ให้ผปู้ ระเมินทำ�เครื่องหมาย  ในช่องระดับคุณภาพของเด็กในแต่ละประเดน็ ทีป่ ระเมิน

ท่ี ช่อื -สกลุ เด็กสามารถแปรงฟันได้ด้วยตนเอง
๓๒๑

รวม
เฉลยี่


ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑ์การประเมนิ
เด็กสามารถแปรงฟันได้ด้วยตนเอง
ระดับ ๓ : เดก็ สามารถแปรงฟนั ไดด้ ้วยตนเอง
ระดบั ๒ : เด็กสามารถแปรงฟนั ไดด้ ้วยตนเองโดยมีผ้ชู แี้ นะ
ระดบั ๑ : เด็กไม่สามารถแปรงฟนั ได้ดว้ ยตนเอง

ระดับปฐมวัย 149

แผนการจดั ประสบการณ์ เวลา ๑ ช่วั โมง

หนว่ ยท่ี ๔ ชือ่ หนว่ ย พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
ช้ันปฐมวัย
แผนการจดั ประสบการณท์ ่ี ๒ เร่อื ง ความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง (การแตง่ กาย)

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับพลเมอื งและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๑.๒ ปฏิบัตติ นตามหนา้ ท่ีพลเมอื งและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ เดก็ สามารถบอกวิธีการแตง่ กาย (ชว่ ยเหลอื ตนเอง) ได้
๒.๒ เด็กสามารถแตง่ กาย (ชว่ ยเหลอื ตนเอง) ได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
การแต่งกายที่ถกู ต้อง
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)
๑) มที ักษะชวี ิต
๒) มีทกั ษะการคดิ การใช้ภาษาสอื่ สาร
๓.๓ คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์/คา่ นยิ ม
มวี นิ ัย ความรบั ผิดชอบ
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจัดประสบการณ์
๑) ครูนำ�ภาพเด็กท่ีแต่งตัวเรียบร้อยถูกระเบียบกับเด็กที่แต่งตัวไม่เรียบร้อยมาให้เด็กดู
แลว้ ร่วมกนั สนทนา โดยครูใช้ค�ำ ถาม ดังนี้
• ถ้าจะให้เลือก เราอยากเป็นเด็กในภาพใด เพราะเหตุใดถึงเลือกภาพน้ัน (เลือกเด็ก
ภาพท่ี ๑ เพราะแต่งตวั ถกู ระเบยี บของโรงเรยี น แสดงว่าเขาเป็นผูม้ วี ินัยในตนเอง)
• การปลอ่ ยชายเสอ้ื ออกนอกกางเกง เราคดิ วา่ เปน็ การกระท�ำ ทถ่ี กู ตอ้ งหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
(ไม่ถูกต้อง เพราะแต่งกายไม่เรยี บรอ้ ย ผิดระเบียบของโรงเรยี น แสดงว่าเปน็ คนไม่มีวนิ ยั ในตนเอง)
• เราสามารถชว่ ยเหลือตนเองในการใส่เสอ้ื ผา้ เองไดห้ รือไม่ (ใสเ่ องได้)
๒) ใหเ้ ดก็ เลน่ เกมแตง่ กายใหต้ นเอง โดยครชู แี้ จงวธิ กี ารเลน่ วา่ ครจู ะมเี ครอื่ งแตง่ ตวั ใสต่ ะกรา้
มาใหเ้ ดก็ จากนน้ั ใหเ้ ดก็ น�ำ สงิ่ ของเหลา่ นนั้ มาแตง่ กายเอง ใครใสไ่ ดถ้ กู ตอ้ งและเสรจ็ กอ่ น ถอื วา่ เปน็ ผชู้ นะ)
๓) เดก็ และครรู ว่ มกนั สนทนาถงึ การชว่ ยเหลอื ตนเอง เชน่ การแตง่ กาย การรบั ประทานอาหาร
การปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วัน ว่าตนเองต้องรับผิดชอบตนเองให้ได้ ต้องมีวินัยในตนเอง ไม่ปฏิบัติตน
ให้เปน็ ภาระตอ่ ผอู้ น่ื
๔) ครูสรุปการแตง่ กายดว้ ยบทรอ้ งเล่น “การแต่งกาย”
150 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

๔.๒ สอ่ื การเรียนร้/ู แหลง่ การเรียนรู้
๑) ภาพการแต่งกาย
๒) อุปกรณ์เครอื่ งแต่งกาย เชน่ เส้อื ผ้า กางเกง เข็มขดั
๓) บทร้องเล่น “การแตง่ กาย”
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ
๑) สังเกตการตอบคำ�ถาม
๒) สงั เกตการปฏบิ ตั กิ ารแตง่ กายดว้ ยตนเองของเด็ก
๕.๒ เคร่อื งมือที่ใช้ในการประเมนิ
๑) แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถาม
๒) แบบสังเกตการปฏิบัตกิ ารแต่งกายดว้ ยตนเองของเดก็
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เดก็ ผ่านการประเมินระดับ ๒ ขน้ึ ไปถอื ว่าผา่ น
๖. บันทึกหลังการจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงชอื่ ................................................ ครูผู้สอน
(...............................................)

ระดบั ปฐมวยั 151

๗. ภาคผนวก

การแตง่ กายทถ่ี กู ระเบยี บ

การแตง่ กายท่ผี ดิ ระเบยี บ

บทรอ้ งเลน่ (สมบตั ร สืบศกั ดิ์ : เรียบเรยี ง)

เดก็ ดมี ีวินัย ใสเ่ ส้ือกางเกง
ท�ำ ดว้ ยตวั เอง รีบเรง่ เรว็ ไว
อกี ท้งั เขม็ ขัด คาดทับใหด้ ี
ทำ�ได้ตามน้ ี หนูดีแสนเกง่

152 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การป้องกันการทุจรติ ”

แบบสังเกตการตอบค�ำ ถามของเดก็

หนว่ ยที่ ๔ ช่อื หนว่ ย พลเมืองกับความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
แผนการจดั ประสบการณท์ ี่ ๒ เร่อื ง ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง (การแตง่ กาย)

วันที.่ ............เดือน.............................พ.ศ............................
คำ�ชีแ้ จง : ให้ผู้ประเมนิ ท�ำ เครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งระดับคุณภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ทปี่ ระเมนิ

ที่ ชื่อ-สกลุ บอกวิธีการแต่งกาย เด็กสามารถแตง่ กาย
(ชว่ ยเหลือตนเอง) ได้ (ช่วยเหลอื ตนเอง) ได้
๓๒๑ ๓๒๑

รวม ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉลย่ี (...............................................)





เกณฑก์ ารประเมนิ
บอกวิธกี ารแตง่ กาย (ชว่ ยเหลือตนเอง) ได้
ระดับ ๓ : เด็กสามารถบอกวธิ ีการแต่งกาย (ชว่ ยเหลอื ตนเอง) ไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : เด็กสามารถบอกวิธกี ารแต่งกาย (ชว่ ยเหลอื ตนเอง) ได้โดยมผี ชู้ ้แี นะ
ระดับ ๑ : เด็กไมส่ ามารถบอกวธิ ีการแต่งกาย (ชว่ ยเหลือตนเอง) ได้

เด็กสามารถแต่งกาย (ช่วยเหลือตนเอง) ได้
ระดับ ๓ : เด็กสามารถแต่งกาย (ชว่ ยเหลือตนเอง) ได้ด้วยตนเอง
ระดบั ๒ : เดก็ สามารถแต่งกาย (ชว่ ยเหลือตนเอง) ไดโ้ ดยมีผู้ช้ีแนะ
ระดบั ๑ : เด็กไม่สามารถแตง่ กาย (ชว่ ยเหลือตนเอง) ได้

ระดบั ปฐมวัย 153

แผนการจัดประสบการณ์ เวลา ๑ ชวั่ โมง

หน่วยท่ี ๔ ชื่อหนว่ ย พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม
ชั้นปฐมวยั
แผนการจัดประสบการณ์ที่ ๓ เร่ือง ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง (การเรยี น)

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั พลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม
๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม
๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ สามารถบอกขอ้ ควรปฏิบัตใิ นการเรียนในห้องเรยี นได้
๒.๒ สามารถบอกประโยชนข์ องการตง้ั ใจเรียนได้
๒.๓ สามารถบอกสง่ิ ท่ีควรปฏบิ ัติและไม่ควรปฏบิ ตั ิในห้องเรยี นได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
เดก็ ดมี วี นิ ยั ในการเรยี น ตอ้ งรหู้ นา้ ทข่ี องตนเอง เรยี นเลน่ ใหเ้ ปน็ เวลา และเวลาเรยี นตอ้ งตง้ั ใจเรยี น
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด)
๑) มที ักษะชวี ิต
๒) มที ักษะการคิด การใชภ้ าษาส่ือสาร
๓.๓ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค/์ คา่ นิยม
มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจัดประสบการณ์
๑) ครแู ละเดก็ รว่ มกันร้องเพลง “หน้าทข่ี องเด็ก” พร้อมทำ�ท่าทางประกอบเพลง
๒) ครแู ละเด็กรว่ มกนั สนทนาเก่ียวกบั เนอ้ื หาในเพลง ดังนี้
• หน้าทข่ี องเดก็ ดีมอี ะไรบ้าง
• เวลาเรยี นหนังสอื ต้องท�ำ อย่างไร
• เมือ่ อยใู่ นห้องเรียน เราควรปฏบิ ัตติ นอย่างไร
• ส่งิ ทไ่ี มค่ วรปฏบิ ัติ เมื่ออยูใ่ นห้องเรียนได้แก่อะไรบ้าง
๓) ครูนำ�ส่ิงท่ีเด็กบอกมาเขียนเปน็ ข้อตกลงในการปฏิบัติตน เมื่ออย่ใู นห้องเรยี นและใหเ้ ด็ก
ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง ครูสงั เกตการปฏบิ ัติตนตามข้อตกลงของเดก็
๔) ครูอธิบายถึงผลของการต้ังใจเรียนอย่างสม่�ำเสมอ จะท�ำให้เด็กเรียนเก่ง เป็นท่ีรัก
ของทุกคนและครูต้งั ค�ำถามให้เด็กคดิ ตอ่ เชน่ ถา้ เด็ก ๆ ไมต่ ง้ั ใจเรยี นในเวลาเรียน เด็ก ๆ จะเปน็ อย่างไร
๔.๒ ส่อื การเรยี นร้/ู แหล่งการเรียนรู้
เพลง “หนา้ ทีข่ องเด็ก”
154 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทุจรติ ”

๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
๑) สังเกตการตอบค�ำ ถาม
๒) สังเกตพฤตกิ รรมการต้งั ใจเรียน
๕.๒ เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบสังเกตการตอบคำ�ถาม
๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการตงั้ ใจเรียน
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เดก็ ผ่านการประเมินระดบั ๒ ข้นึ ไปถือว่าผา่ น
๖. บนั ทกึ หลังการจดั ประสบการณ์
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)
๗. ภาคผนวก

เพลง หน้าท่ขี องเด็ก (ไม่ทราบนามผ้แู ตง่ )

หนูเลก็ เด็กทัง้ หลาย อยา่ นอนตนื่ สาย
เป็นเดก็ เกียจคร้าน ต่นื เช้าจะไดเ้ บกิ บาน
สดชน่ื ส�ำ ราญสมองแจม่ ใส ตน่ื เช้าล้างหนา้ สฟี ัน
รบี เร่งเร็วพลันแต่งตัวทันใด รบั ประทานอาหารเร็วไว
เสรจ็ แลว้ จะได ้ รบี ไปโรงเรียน

ระดบั ปฐมวยั 155

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมและการตอบคำ�ถามของเดก็

หน่วยท่ี ๔ ช่อื หน่วย พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
แผนการจดั ประสบการณท์ ่ี ๓ เรอ่ื ง ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง (การเรียน)

วันที่.............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชแี้ จง : ให้ผู้ประเมนิ ท�ำ เคร่อื งหมาย  ในช่องระดับคณุ ภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ท่ีประเมิน

เดก็ สามารถบอกสิ่งทค่ี วรปฏิบตั ิ การปฏิบตั ติ นตามขอ้ ตกลง
และไมค่ วรปฏิบตั ใิ นห้องเรียนได้ ในหอ้ งเรียน
ที่ ช่อื -สกุล

๓๒๑๓๒๑

รวม
เฉลยี่

ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑ์การประเมิน
เด็กสามารถบอกสง่ิ ทคี่ วรปฏิบตั ิและไม่ควรปฏบิ ตั ิในห้องเรยี นได้
ระดับ ๓ : เดก็ สามารถบอกสง่ิ ที่ควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัตใิ นห้องเรยี นได้ดว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : เดก็ สามารถบอกสิง่ ทคี่ วรปฏิบตั ิและไมค่ วรปฏบิ ตั ิในห้องเรียนไดโ้ ดยมผี ชู้ ้ีแนะ
ระดับ ๑ : เด็กไมส่ ามารถบอกส่งิ ท่คี วรปฏิบัตแิ ละไมค่ วรปฏบิ ตั ใิ นหอ้ งเรียนได้

การปฏบิ ัตติ นตามข้อตกลงในห้องเรยี น
ระดบั ๓ : เดก็ ปฏบิ ัติตนตามขอ้ ตกลงในห้องเรียนได้ดว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : เด็กปฏบิ ตั ิตนตามข้อตกลงในห้องเรียนไดโ้ ดยตอ้ งมผี ชู้ ีแ้ นะ
ระดบั ๑ : เดก็ ไมส่ ามารถปฏบิ ัติตนตามข้อตกลงในห้องเรยี นได้

156 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจรติ ”

แผนการจัดประสบการณ์ เวลา ๑ ชว่ั โมง

หนว่ ยท่ี ๔ ช่อื หนว่ ย พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบต่อสังคม
ชน้ั ปฐมวยั
แผนการจดั ประสบการณท์ ี่ ๔ เรื่อง ความรบั ผิดชอบต่อสังคม (การตรงต่อเวลา)

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับพลเมอื งและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๑.๒ ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ทีพ่ ลเมอื งและมคี วามรับผิดชอบต่อสังคม
๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ เดก็ สามารถบอกพฤตกิ รรมทแี่ สดงถงึ การตรงตอ่ เวลาได้
๒.๒ เด็กประพฤติและปฏิบตั ิตนเปน็ ผทู้ ีต่ รงต่อเวลาได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การตรงต่อเวลา เช่น ความมีวินัยในการตรงต่อเวลาในการทำ�กิจกรรมต่างๆ ทุก ๆ เร่ือง
การเข้านอนและต่นื นอนเปน็ เวลา การไปโรงเรยี นให้ตรงตอ่ เวลาและสามารถปฏบิ ตั ิตนได้ตามกฎเกณฑ์
ของสังคม และไมท่ �ำ ให้ผู้อนื่ เดอื ดรอ้ น
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ )
๑) มที ักษะชวี ติ และอยรู่ ่วมกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
๒) มที กั ษะการคิด การใชภ้ าษาสอ่ื สาร
๓.๓ คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์/คา่ นยิ ม
มีวินัย
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขัน้ ตอนการจัดประสบการณ์
๑) ครูเลา่ นทิ าน เรอ่ื ง “เมอ่ื หมนู ้อยไมต่ รงตอ่ เวลา”
๒) ใหเ้ ด็กแสดงความคิดเหน็ โดยครูใช้ค�ำ ถาม ดังน้ี
• หมนู อ้ ยเป็นคนอยา่ งไร (ขยัน/ขเ้ี กยี จ)
• การไม่ตรงตอ่ เวลาของหมนู ้อยท�ำ ให้พลาดโอกาสอะไร (ไม่ไดก้ ระปกุ ออมสิน)
• กระท�ำ ของหมูนอ้ ยในเร่ืองนสี้ ง่ ผลอย่างไร (ท�ำ ใหโ้ ดนลงโทษ)
• การทค่ี รใู หห้ มนู อ้ ยรดนำ�้ ตน้ ไม้ เดก็ เหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (เหน็ ดว้ ยเพราะหมนู อ้ ย
ท�ำส่งิ ทผ่ี ิด คอื ไปขโมยกระปุกออมสนิ ของเพือ่ น)
๔) ครูมอบหมายให้เด็กวาดภาพระบายสี นิทาน เรื่อง “เมื่อหมูน้อยไม่ตรงต่อเวลา”
โดยก�ำ หนดเวลาให้ (ครูสงั เกตวา่ เด็กท�ำ งานเสร็จ และสง่ ครตู รงเวลาทกี่ ำ�หนดหรอื ไม่)
๕) ครใู ห้เด็กร้องเพลงตรงต่อเวลาและท�ำ ท่าประกอบ

ระดับปฐมวัย 157

๖) เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงโทษของการเป็นคนไม่การตรงต่อเวลา และเน้นย้�ำให้เด็ก
เป็นคนตรงตอ่ เวลา
๔.๒ ส่อื การเรียนรู้/แหล่งการเรยี นรู้
๑) เพลง “ตรงตอ่ เวลา”
๒) นทิ าน เรอ่ื ง “เม่อื หมูน้อยไม่ตรงต่อเวลา”
๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมิน
๑) สงั เกตการตอบคำ�ถาม
๒) สังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติตนในการเปน็ คนตรงตอ่ เวลาของเด็ก
๕.๒ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ
๑) แบบสังเกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
๒) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติตนในการเปน็ คนตรงต่อเวลาของเด็ก
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เด็กผ่านการประเมนิ ระดบั ๒ ขึ้นไปถือวา่ ผา่ น
๖. บนั ทกึ หลังการจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชื่อ ................................................ ครูผ้สู อน
(...............................................)

158 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกนั การทจุ ริต”

๗. ภาคผนวก

ตรงตอ่ เวลา เพลง “ตรงตอ่ เวลา ”
พวกเราตอ้ งมาใหต้ รงเวลา
ตรงตรงตรงเวลา พวกเราต้องมาใหต้ รงเวลา
เราเกดิ มาเป็นคน ต้องหม่นั ฝึกตนใหต้ รงเวลา
วันคนื ไม่คอยท่า วันเวลาไมเ่ คยคอยใคร
วนั เวลาไมเ่ คยคอยใคร
(*ซ้ำ� อกี รอบ)

นทิ าน “หมูนอ้ ยไมต่ รงตอ่ เวลา”

ในป่ากวา้ งน้นั มีสัตวน์ อ้ ยใหญ่ ตา่ งรว่ มใจ ร่วมรักษา ด้วยว่าถูกปลูกฝังรว่ มกันมา หากวา่
มปี ญั หาจกั ชว่ ยกนั แตว่ า่ มเี จา้ หมอู ยตู่ วั หนงึ่ เปน็ หมซู งึ่ แสนขเ้ี กยี จ ไมข่ ยนั บา้ นอยหู่ า่ งโรงเรยี นเพยี งรวั้ กน้ั
แต่ว่ามาสายทุกวัน เร่ืองการบ้านก็พอกไว้ไม่ทำ�ส่ง วันหนึ่งครูบอกว่าถ้าใครนำ�เงินมาฝากในวันพรุ่งน้ี
จะได้กระปุกออมสินรูปกระต่ายคนละ ๑ ใบ เพ่ือไว้สำ�หรับให้เด็กหยอดเงินตัวเองไว้ในห้องเรียน
พอถงึ วันฝากหมนู ้อยไม่ไดน้ ำ�เงินมาฝาก จงึ ไมไ่ ด้กระปกุ ออมสิน
วนั ตอ่ มาหมนู อ้ ยน�ำเงนิ มาฝากครู และขอกระปกุ ออมสนิ ครบู อกวา่ หมนู อ้ ยฝากไมต่ รงเวลา
จึงไม่ได้กระปุกออมสิน ต่อมามีกระปุกออมสินของเพื่อนในห้องหายไป ๑ ใบ และพบว่าหมูน้อย
มีกระปุกออมสิน ครูจึงเรียกมาถามว่า เอากระปุกออมสินมาจากไหน หมูน้อยบอกครูว่าของผม
แต่ครจู �ำได้ว่าหมนู อ้ ยไมไ่ ดฝ้ ากเงินจงึ ไมไ่ ดก้ ระปุก ครวู า่ ตกั เตอื นหมนู ้อยวา่ การไมต่ รงต่อเวลาท�ำใหเ้ กิด
ผลเสียหายต่อตนเองและผู้อื่น และการลักขโมยเป็นสิ่งไม่ดีถือเป็นการไม่ซื่อสัตย์ท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน
และถกู ลงโทษได้ และครสู งั่ ใหห้ มนู อ้ ยลดนำ้� ตน้ ไม้ ๕ วนั ดงั นน้ั จงึ อยากฝากไวใ้ หแ้ งค่ ดิ วา่ เรอ่ื งการไมต่ รง
ต่อเวลาท�ำให้พลาดโอกาสดี ๆ ไปได้

ระดับปฐมวัย 159

แบบสงั เกตพฤติกรรมและการตอบคำ�ถามของเด็ก

หนว่ ยที่ ๔ ช่อื หนว่ ย พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
แผนการจัดประสบการณท์ ่ี ๔ เร่ือง ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม (การตรงตอ่ เวลา)

วันที่.............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชแ้ี จง : ใหผ้ ปู้ ระเมนิ ทำ�เคร่อื งหมาย  ในชอ่ งระดบั คุณภาพของเด็กในแตล่ ะประเดน็ ทป่ี ระเมนิ

เดก็ สามารถบอกพฤติกรรม เดก็ ประพฤตแิ ละปฏบิ ัตติ น
ทแ่ี สดงถึงการตรงตอ่ เวลาได้ เปน็ ผู้ที่ตรงต่อเวลา
ที่ ชื่อ-สกลุ

๓๒๑๓๒๑

รวม ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉลี่ย (...............................................)





เกณฑ์การประเมิน
เดก็ สามารถบอกพฤตกิ รรมท่แี สดงถงึ การตรงตอ่ เวลาได้
ระดบั ๓ : เดก็ สามารถบอกพฤติกรรมท่แี สดงถึงการตรงตอ่ เวลาไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : เดก็ สามารถบอกพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการตรงต่อเวลาไดโ้ ดยมผี ้ชู ีแ้ นะ
ระดับ ๑ : เด็กไม่สามารถบอกพฤตกิ รรมทแ่ี สดงถงึ การตรงต่อเวลาได้

เด็กประพฤตแิ ละปฏิบัตติ นเปน็ ผ้ทู ี่ตรงตอ่ เวลา
ระดับ ๓ : เดก็ ประพฤตแิ ละปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้ท่ตี รงตอ่ เวลาได้ด้วยตนเอง
ระดับ ๒ : เด็กประพฤติและปฏิบัติตนเป็นผู้ที่ตรงตอ่ เวลาไดโ้ ดยมผี ชู้ ้แี นะ
ระดบั ๑ : เด็กไมส่ ามารถประพฤตแิ ละปฏบิ ัติตนเป็นผู้ท่ีตรงตอ่ เวลาได้

160 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การป้องกนั การทุจริต”

แผนการจดั ประสบการณ์
หน่วยท่ี ๔ ชื่อหน่วย พลเมืองกับความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
ชัน้ ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๕ เรอื่ ง ความรับผิดชอบต่อสังคม เวลา ๑ ชวั่ โมง
(การทำ�ความสะอาดในห้องเรียน)

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับพลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามหน้าที่พลเมอื งและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสงั คม
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ ปฏิบัติตนในการรกั ษาความสะอาดหอ้ งเรยี น
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ความเขา้ ใจเกย่ี วกับการท�ำ ความสะอาด
๒) มีความรู้เกย่ี วกับอปุ กรณท์ �ำ ความสะอาด
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ )
๑) มีทักษะชีวติ และอยรู่ ่วมกับผ้อู ่ืนได้อย่างมคี วามสุข
๒) มีทกั ษะการคิด การใชภ้ าษาสอื่ สาร
๓.๓ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค/์ ค่านิยม
มีวนิ ยั ความรับผิดชอบ
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ขนั้ ตอนการจดั ประสบการณ์
๑) เด็กและครูรว่ มกนั รอ้ งเพลง “อย่าทง้ิ ”
๒) เด็กและครูร่วมกันสนทนากันถึงเน้ือหาในเพลง “อย่าท้ิง” เด็กและครูร่วมกันสนทนา
เกยี่ วกบั เน้ือหาของเพลง โดยครใู ชค้ ำ�ถาม ดังน้ี
• เพลงท่เี ราร้องไปเมือ่ สักครู่น้ีเปน็ เพลงเก่ียวกบั อะไร
• คนที่ท้ิงขยะ ไม่ลงถัง เป็นคนเช่นไรและห้องเรียนของจะเป็นอย่างไร ถ้าเราท้ิงขยะ
ไมล่ งถงั ชแ้ี นะให้เดก็ ท่องจำ�เปน็ คำ�คล้องจองวา่ “ขยะน่าชงั ท้ิงลงถังสะอาดตา”
๓) ครูและเด็กพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดว่าการท่ีห้องสกปรกเกิดจาก
อะไร และควรทำ�อย่างไรเม่อื ไดร้ ับมอบหมายใหท้ ำ�ความสะอาดแล้วเด็กไม่ปฏบิ ัติ จะเกิดผลอยา่ งไร
๔) ใหเ้ ด็กช่วยกนั บอกชื่ออุปกรณ์ท�ำ ความสะอาดหอ้ งเรียนว่ามีอะไรบ้าง (เช่น ไม้กวาดแขง็
ไมก้ วาดอ่อน ฯ) แต่ละชนิดใช้อย่างไร โดยขออาสาสมคั รเดก็ สาธิตการใชอ้ ุปกรณ์ทำ�ความสะอาด และ
การจดั เกบ็ อุปกรณ์ท�ำ ความสะอาดให้ถกู ท่แี ละถูกต้อง ไม่ท้ิงเกล่ือนกลาด ไมน่ ำ�อปุ กรณท์ �ำ ความสะอาด
ของหอ้ งเรียนกลบั บา้ น

ระดับปฐมวยั 161

๕) ครูและเด็กร่วมกันสรุปวินัยในการใช้อุปกรณ์ว่า หากใช้ไม่ถูกต้องและไม่เก็บให้ถูกท่ี
ของอาจจะหาย หรือชำ�รุด เมื่อถึงเวลาทำ�ความสะอาดทำ�ให้ไม่มีของใช้ส่งผลให้เกิดปัญหาตามมา เช่น
ห้องเรียนสกปรก ขโมยอุปกรณ์จากห้องอื่นมาทำ�ความสะอาด ทำ�ให้ผู้อ่ืนเดือดร้อนเป็นต้น และให้เด็ก
ท่องข้อปฏบิ ตั เิ ปน็ ค�ำ คลอ้ งจองว่า “เก็บใหถ้ กู ท่ี ดดู มี รี ะเบียบ” “หยิบก็งา่ ย หายกร็ ู้ ดูกง็ ามตา”
๖) เด็กแสดงบทบาทสมมตเิ กี่ยวกบั
• การใชอ้ ปุ กรณท์ �ำ ความสะอาดใหถ้ กู ตอ้ งกบั ลกั ษณะงาน (ครสู งั เกตพฤตกิ รรมระหวา่ ง
แสดงบทบาทสมมต)ิ
• การเก็บอปุ กรณใ์ ห้ถกู ต้อง และถูกที่ เชน่ ไมก้ วาด ถงั นำ�้ ไมถ้ ู (ครสู ังเกตพฤติกรรม
ระหวา่ งแสดงบทบาทสมมติ)
๔.๒ ส่อื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๑) เพลง “อยา่ ทง้ิ ”
๒) อปุ กรณท์ ำ�ความสะอาด เช่น ไม้กวาด ถงั ขยะ ไมถ้ ูพื้น ฯลฯ
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
สงั เกตพฤติกรรมการมีวนิ ยั ของเดก็ ในการรักษาความสะอาดห้องเรยี น
๕.๒ เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการประเมิน
แบบสงั เกตพฤติกรรมการมวี ินัยของเด็กในการรักษาความสะอาดหอ้ งเรยี น
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมิน
เดก็ ผ่านการประเมินระดบั ๒ ขึน้ ไปถือวา่ ผา่ น
๖. บนั ทึกหลงั การจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ................................................ ครผู สู้ อน
(...............................................)

162 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต”

๗. ภาคผนวก

เพลง อยา่ ท้งิ

อยา่ ทง้ิ อย่าท้งิ
ทิง้ แลว้ มนั สกปรก
อยา่ ทงิ้ ใหม้ นั รก
ต้องเกบ็ ต้องเก็บ

ระดับปฐมวัย 163

แบบสงั เกตพฤติกรรมเด็ก ด้านการมีวนิ ยั ในการรกั ษาความสะอาด

หน่วยที่ ๔ ชอ่ื หนว่ ย พลเมืองกบั ความรับผิดชอบตอ่ สังคม
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๕ เร่ือง ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม (การท�ำ ความสะอาดในห้องเรียน)

วันที.่ ............เดือน.............................พ.ศ............................
คำ�ชี้แจง : ให้ผู้ประเมนิ ท�ำ เครือ่ งหมาย  ในชอ่ งระดบั คุณภาพของเด็กในแตล่ ะประเดน็ ทีป่ ระเมิน

ท่ี ชื่อ-สกุล พฤติกรรมเดก็ ดา้ นความมวี นิ ยั
ในการรักษาความสะอาด

๓๒๑

รวม
เฉลย่ี


ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑก์ ารประเมิน
พฤติกรรมเด็กด้านความมวี ินยั ในการรกั ษาความสะอาด
ระดบั ๓ : เด็กสามารถใช้และเก็บอุปกรณ์ได้ถูกต้องกับงานและถูกที่ มีวินัยในการรักษา
ความสะอาดไดด้ ้วยตนเอง
ระดบั ๒ : เด็กสามารถใช้และเก็บอุปกรณ์ได้ถูกต้องกับงานและถูกท่ี มีวินัยในการรักษา
ความสะอาดโดยมีผู้ชแี้ นะ
ระดบั ๑ : เด็กไมม่ ีวนิ ัยในการใช้ การเก็บอปุ กรณแ์ ละการรักษาความสะอาด

164 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

ภาคผนวก

คำ�สงั่ คณะกรรมการ ป.ป.ช.

ท่ี ๖๔๖/๒๕๖๐
เรือ่ ง แต่งตง้ั คณะอนุกรรมการจัดท�ำ หลักสตู ร หรอื ชุดการเรียนรู้และสอื่ ประกอบการเรยี นรู้

ดา้ นการป้องกนั การทจุ รติ

--------------------------------

ด้วย คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมครัง้ ที่ ๘๕๕-๒๖/๒๕๖๐ เมื่อวันท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๐
ไดม้ มี ตเิ ห็นชอบให้แต่งต้ังคณะอนกุ รรมการจดั ทำ�หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรูแ้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้
ด้านการป้องกันการทุจริต เพ่ือดำ�เนินการจัดทำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้
ด้านการป้องกันการทุจริต สำ�หรับใช้เป็นเนื้อหามาตรฐานกลางให้สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้องนำ�ไปพิจารณาปรับใช้ในการเรียนการสอนให้กับกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกระดับชั้นเรียน
เพื่อปลูกฝังจิตสำ�นึกในการแยกแยะประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง
และสรา้ งพฤตกิ รรมทไี่ มย่ อมรบั และไมท่ นตอ่ การทจุ รติ อนั เปน็ การด�ำ เนนิ งานตามยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ย
การปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ “สร้างสงั คม
ไม่ทนต่อการทุจริต” กลยุทธ์ที่ ๑ ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยต้ังแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่าง
ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม และกลยทุ ธท์ ี่ ๓ ประยกุ ตห์ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เปน็ เครอื่ งมอื ต้านทจุ ริต
ฉะนนั้ อาศยั อ�ำ นาจตามมาตรา ๑๙(๑๖)แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ จึงขอแต่งต้ัง
คณะอนกุ รรมการจดั ท�ำ หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ
โดยมีองคป์ ระกอบ ดังน้ี
๑. รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธีรานวุ ฒั ศริ ิ ประธานอนุกรรมการ
๒. รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ
(นายประหยดั พวงจำ�ปา)
๓. ผู้ชว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนุกรรมการ
(นายกิตติ ลิ้มพงษ)์
๔. ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ
(นายอุทิศ บัวศร)ี

166 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

๕. ผู้อำ�นวยการส�ำ นักป้องกนั การทุจรติ ภาคการเมือง อนุกรรมการ
๖. ผู้อำ�นวยการส�ำ นักปอ้ งกันการทจุ ริตภาครัฐวสิ าหกิจ อนุกรรมการ
และธรุ กจิ เอกชน อนุกรรมการ
๗. ผู้อำ�นวยการสำ�นกั ปอ้ งกนั การทจุ รติ ภาคประชาสงั คม อนกุ รรมการ
และการพัฒนาเครอื ข่าย อนุกรรมการ
๘. ผู้แทนส�ำ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร อนุกรรมการ
(ด้านการสร้างหลักสตู รและสื่อการเรยี นร้)ู อนกุ รรมการ
๙. ผู้แทนสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน อนกุ รรมการ
(ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและสื่อการเรียนรู้) อนุกรรมการ
๑๐. ผู้แทนสำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
(ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและสื่อการเรียนร)ู้ อนุกรรมการ
๑๑. ผแู้ ทนส�ำ นักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา อนุกรรมการ
(ดา้ นการสรา้ งหลกั สูตรและสือ่ การเรียนรู้) อนุกรรมการ
๑๒. ผแู้ ทนส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา อนกุ รรมการ
(ด้านการสรา้ งหลกั สูตรและสอ่ื การเรียนร)ู้
๑๓. ผู้แทนสำ�นกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและ อนุกรรมการ
การศึกษาตามอัธยาศยั
(ดา้ นการสรา้ งหลกั สูตรและสื่อการเรยี นร)ู้ อนุกรรมการ
๑๔. ผแู้ ทนส�ำ นักงานลูกเสือแหง่ ชาต ิ
(ดา้ นการสร้างหลกั สตู รและสือ่ การเรยี นร)ู้
๑๕. ผู้แทนที่ประชมุ อธิการบดแี ห่งประเทศไทย
(ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและส่อื การเรียนร้)ู
๑๖. ผแู้ ทนทีป่ ระชุมอธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ
(ด้านการสร้างหลักสตู รและสื่อการเรยี นรู้)
๑๗. ผ้แู ทนคณะกรรมการอธิการบดีมหาวทิ ยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล
(ดา้ นการสรา้ งหลกั สตู รและสอ่ื การเรยี นร)ู้
๑๘. ผู้แทนสถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ
กองบญั ชาการกองทพั ไทย
(ดา้ นการสร้างหลกั สูตรและสอ่ื การเรยี นร)ู้
๑๙. ผู้แทนกรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก
(ด้านการสร้างหลกั สูตรและสื่อการเรียนร)ู้

ระดบั ปฐมวยั 167

๒๐. ผ้แู ทนกรมยุทธศึกษาทหารเรอื อนุกรรมการ
(ด้านการสรา้ งหลกั สตู รและสอ่ื การเรียนรู)้
๒๑. ผู้แทนกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ อนกุ รรมการ
(ดา้ นการสรา้ งหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้)
๒๒. ผ้แู ทนกองบัญชาการศกึ ษา ส�ำ นักงานต�ำ รวจแห่งชาต ิ อนกุ รรมการ
(ด้านการสร้างหลักสูตรและสื่อการเรยี นรู้)
๒๓. พลโท ดร.ชยั ฤกษ์ แกว้ พรหมมาลย ์ อนุกรรมการ
๒๔. นายเสฏฐนนั ท์ อังกูรภาสวิชญ ์ อนกุ รรมการ
๒๕. นายสุเทพ พรหมวาศ อนกุ รรมการ
๒๖. ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั ป้องกันการทจุ ริตภาครฐั อนุกรรมการและเลขานกุ าร
๒๗. นายสมพจน์ แพ่งประสิทธิ์ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
๒๘. นางสาวกัลยา สวนโพธิ ์ ผชู้ ่วยเลขานุการ
๒๙. นายสราวุฒิ เศรษฐกร ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๓๐. นายกาญจนบ์ ัณฑติ สนนชุ ผู้ช่วยเลขานกุ าร
๓๑. นายเทอดภูมิ ทศั นพิมล ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๓๒. นายธนวฒั น์ มะแม้น ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร
โดยคณะอนุกรรมการฯ มอี ำ�นาจหน้าทด่ี ังน้ี
๑. ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้
และส่อื ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกันการทุจรติ
๒. ก�ำ หนดแนวทางและขอบเขตในการจดั ท�ำ หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้
ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ ตามกรอบยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ ๓
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ “สร้างสงั คมไม่ทนต่อการทจุ รติ ”
๓. พิจารณายกร่างและจัดทำ�เน้ือหาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้
ด้านการป้องกันการทุจริต โดยกำ�หนดโครงสร้างหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์ของ
รายวิชา เน้ือหาสาระ จัดระเบียบ/ลำ�ดับของเนื้อหาสาระ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้งอ่ืน ๆ
ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
๔. พิจารณาให้ความเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดทำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบ
การเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต เพื่อให้มีเนื้อหาที่ครอบคลุมและสมบูรณ์ พร้อมทั้งนำ�เสนอ
คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ ทัง้ นี้ ใหด้ �ำ เนนิ การแลว้ เสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๖๐

168 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกันการทุจริต”

๕. กำ�หนดแผนหรือแนวทางการนำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้
ด้านการป้องกนั การทจุ รติ ไปใชใ้ นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๖. ดำ�เนนิ การอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย
ทง้ั นี้ ต้ังแต่บัดนเ้ี ปน็ ตน้ ไป
สงั่ ณ วนั ที่ ๒๖ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐
พลต�ำ รวจเอก
(วชั รพล ประสารราชกิจ)
ประธานกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ

ระดับปฐมวยั 169

รายช่อื คณะทำ�งาน
จัดท�ำ หลักสตู ร หรือชดุ การเรียนรู้ และสอ่ื ประกอบการเรียนรู้

ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจรติ กลมุ่ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
--------------------------------

ท่ปี รึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
๑. นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
๒. นางสาวอุษณีย์ ธโนศวรรย ์ ผอู้ �ำ นวยการสำ�นักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา
๓. นายสุรศักด์ิ อนิ ศรไี กร ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม
๔. นายอทุ ิศ บัวศร ี การทจุ ริตแหง่ ชาติ


คณะท�ำ งาน ครู โรงเรยี นอนบุ าลเสาไห้ สพป.สระบุรี เขต ๑
กลุม่ ท่ี ๑ หลักสตู รปฐมวัย ครู โรงเรียนอนบุ าลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๔
๑. นางธารณี พรมหนู ครู โรงเรียนอนบุ าลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๔
๒. นางสมบัตร สืบศักด์ ิ ครู โรงเรียนอนบุ าลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๔
๓. นางสาวนภสั สร ภิรมย์รกั ษ์ ครู โรงเรยี นวัดเก้าช่ัง สพป.สงิ ห์บรุ ี
๔. นางสาวลักขณา โคบุตร ครู โรงเรียนวัดระนาม สพป.สิงหบ์ รุ ี
๕. นางสมใจ จีนเท่ห์ ครู โรงเรียนวดั บา้ นป้องนอ้ ย สพป.ราชบุรี เขต ๒
๖. นางสาวกชกร จีนเทห ์ ครู โรงเรยี นอนบุ าลเดมิ บางนางบวช (วดั ทา่ ชา้ ง)
๗. นางสพุ ิกา ต้นสอน สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต ๓
๘. นายพฒั นา พวงมาลี ครู โรงเรยี นวดั บอ่ กรุ “ครุ ุประชาสรรค”์
สพป.สุพรรณบุรี เขต ๓
๙. นางสุภคั ษร พรอุดมประเสรฐิ ครู โรงเรยี นวัดบ่อกรุ “คุรปุ ระชาสรรค”์
สพป.สุพรรณบรุ ี เขต ๓
๑๐. นางฐติ ิพร ศรแี จม่ ครู โรงเรียนวัดน้�ำพุ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๓

๑๑. นางอารียว์ รรณ เขม็ เงิน

170 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

กลมุ่ ที่ ๒ หลักสูตรประถมศึกษาตอนต้น ครู โรงเรยี นชลประทานอนเุ คราะห์
๑. นางสาวสภุ สั สร สภุ าพ สพป.พระนครศรอี ยธุ ยา เขต ๑
ครู โรงเรยี นชลประทานอนเุ คราะห์
๒. นางสาวกนกนพ วรฏั ธร สพป.พระนครศรอี ยุธยา เขต ๑
ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นวดั ทงุ่ คอก (สวุ รรณสาธกุ จิ )
๓. นางอารี พวงวรนิ ทร์ สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต ๒
ครู โรงเรียนวดั ทงุ่ คอก (สุวรรณสาธกุ จิ )
๔. นางละเอียด สะอง้ิ ทอง สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต ๒
ครู โรงเรยี นอนบุ าลวัดอา่ งทอง สพป.อา่ งทอง
๕. นางสาวเรณู กุศลวงษ์ ครู โรงเรียนบา้ นนาดา สพป.นราธวิ าส เขต ๑
๖. นางสจุ ิรา อาบู ครู โรงเรียนเมอื งนราธิวาส สพป.นราธิวาส เขต ๑
๗. นางสาววิไลวรรณ ทองไหม ครู โรงเรียนบา้ นมะนงั กาหยี สพป.นราธวิ าส เขต ๑
๘. นางสาวนิตยา อาหมาด ครู โรงเรียนบา้ นบือเจา๊ ะ สพป.นราธวิ าส เขต ๑
๙. นางสาวกสั มานี มามะ ครู โรงเรียนบา้ นโคกพนอม สพป.นราธิวาส เขต ๑
๑๐. นางสาวนสิ รนิ เทพลักษณ์ ครู โรงเรยี นบา้ นฮแู ตยอื ลอ สพป.นราธิวาส เขต ๑
๑๑. นายยกู ฟิ ลี มาหะ ครู โรงเรยี นบา้ นยอื สาแม สพป.นราธิวาส เขต ๑
๑๒. นางสาวซาฮาเราะ เจะยิ

กล่มุ ที่ ๓ หลกั สตู รประถมศกึ ษาตอนปลาย ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นวัดนางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต ๒
๑. นายกิตตพิ งศ์ ศรัทธาวาณิชย์ ครู โรงเรยี นวดั สมถะ (สมถวทิ ยาคาร) สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๒. นางพรทพิ ย์ อ่ิมศิลป ์ ครู โรงเรยี นวดั นางแก้ว สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๓. นางอจั ฉราวดี บญุ โต ครู โรงเรยี นวัดนางแกว้ สพป.ราชบุรี เขต ๒
๔. นางสาวศิรเิ พญ็ จันทร์ทอง ครู โรงเรียนวดั นางแก้ว สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๕. นางสาวเสาวรส แสนแซว ครู โรงเรียนวัดนางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๖. นางสมพร ค�ำ นชุ ครู โรงเรียนบา้ นกูวา สพป.นราธิวาส เขต ๑
๗. นางรสุ นานี ยะโก๊ะ ครู โรงเรยี นบ้านยะหอ สพป.นราธิวาส เขต ๑
๘. นางซเี ตาะห์ นมิ ะ ครู โรงเรียนสายน�้ำทพิ ย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร
๙. นางสนุ ทรี ทองชติ ร ์ ครู โรงเรยี นสายนำ้� ทิพย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร
๑๐. นางสาวพชิ ญดา ไชยดี ครู โรงเรยี นสายน�้ำทิพย์ สพป.กรุงเทพมหานคร
๑๑. นางสาวศศิธร ค�ำนึง ครู โรงเรียนสายน�้ำทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร
๑๒. นางสาวณชิ นนั ทน์ สวุ รรณาภยั

ระดับปฐมวัย 171

กลุ่มที่ ๔ หลักสูตรมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ครู โรงเรียนวดั นางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต ๒
๑. นางสาวสุธรี า ศิริพริ ณุ
๒. นางสลติ ตา มะโนวัฒนา ครู โรงเรยี นวัดนางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๓. นางทวิ าพร อุณยเกียรติ ครู โรงเรยี นวัดดอนกระเบ้อื ง สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๔. นางสาววรรณดี ศรอี นิ สวสั ดิ์ ครู โรงเรยี นชมุ ชนวดั บ้านเลอื ก สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๕. นางสาวฉวีวรรณ หอธรรมกุล ครู โรงเรยี นบา้ นลาดวิถี สพป.ประจวบครี ขี ันธ์ เขต ๒
๖. นางสาวชนาธิป เทยี นวรรณ ครู โรงเรียนบ้านตะพานหิน (ประชาสามคั คี)
สพป.ชัยนาท
๗. นายวทิ ยา ศริ ดิ ำ�รง ครู โรงเรยี นบ้านไพรนกยงู (วันชยั ประชาสรรค)์
สพป.ชยั นาท
๘. นางสาวขจร สังขป์ ระเสรฐิ ครู โรงเรยี นบา้ นหนองต่อ สพป.ชยั นาท
๙. นายเมธา สรุ ะจติ ร ครู โรงเรียนวัดบางปูน สพป.สงิ ห์บุรี
๑๐. นายนพรัตน์ บญุ อน้ ครู โรงเรยี นบ้านบอ่ กะปุง สพป.นครสวรรค์ เขต ๒
๑๑. นางสาวบษุ ยพรรณ พรหมวาทย์ จนั ทรา ครู โรงเรยี นสุรศักดิม์ นตรี สพม. เขต ๒
๑๒. นางสาวลักษิกา มกี ศุ ล ครู โรงเรยี นสาคลีวทิ ยา สพม. เขต ๓

กล่มุ ท่ี ๕ หลกั สตู รมัธยมศึกษาตอนปลาย
๑. นายภธู ร จนั ทะหงษ์ ปณุ ยจรสั ธ�ำ รง ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ วจิ ยั และพฒั นาองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้สนก.
๒. นายจกั รพงษ์ วงค์อ้าย นกั วชิ าการศึกษา สนก.
๓. นายฐาปณัฐ อดุ มศร ี นกั วิชาการศกึ ษา สนก.
๔. นายศุภกร มรกต ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ราชบุรี เขต ๒
๕. นายสพลกติ ต์ิ สังข์ทพิ ย์ ครู โรงเรยี นตากฟา้ วิชาประสทิ ธ์ิ ชว่ ยราชการ สนก.
๖. นางสาวพรรณราย ธนสตั ยส์ ถติ ย ์ ครู โรงเรยี นเสาไห้ “วมิ ลวิทยานุกลู ” สพม. เขต ๔
๗. นายวรินทร ตนั ติรัตน์ ครู โรงเรยี นหนองแคสรกจิ วทิ ยา สพม. เขต ๔
๘. นางเยาวลักษณ์ หงสห์ ริ ัญเรอื ง ครู โรงเรยี นสายน�ำ้ ผง้ึ ในพระอุปถัมภ์ สพม. เขต ๒
๙. นางสาวขวัญวภิ า ภู่แส ครู โรงเรียนอินทรบ์ ุรี สพม. เขต ๕
๑๐. นายธรรมสรณ์ สุศิร ิ ครู โรงเรยี นอนิ ทร์บรุ ี สพม. เขต ๕
๑๑. นางสาววิภา ทวีวงศ์ ครู โรงเรยี นชมุ ชนวดั ใหญโ่ พหัก สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๑๒. นางสาวดวงจันทร์ บัวเบา ครู โรงเรยี นชมุ ชนวดั ใหญโ่ พหกั สพป.ราชบุรี เขต ๒

172 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

คณะท�ำ งานสว่ นกลาง ข้าราชการบำ�นาญ กระทรวงศึกษาธิการ
๑. นายไชยวฒั น์ สคุ นั ธวภิ ตั ิ ขา้ ราชการบำ�นาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร
๒. นางสาธพุ ร สุคันธวิภัต ิ ขา้ ราชการบ�ำ นาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๓. นางสาวสรรเสรญิ สุวรรณ ์ ข้าราชการบำ�นาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร
๔. นางสุณิสาห์ ม่วงคราม เจ้าพนักงานธุรการช�ำ นาญงาน สนก.
๕. นางสุจติ รา พิชัย นักจัดการงานทัว่ ไป สนก.
๖. นางสาวณัฐรดา เนตรสวา่ ง นักจัดการงานท่ัวไป สนก.
๗. นางสาวมณฑาทิพย์ ศิริสมุ ทุม พนักงานบันทึกขอ้ มลู สนก.
๘. นางสาวศรัญญา โชต ิ เจ้าหนา้ ทบี่ ริหารทวั่ ไป สนก.
๙. นายสหัสพล ษรบัณฑิต เจา้ หน้าท่บี รหิ ารทวั่ ไป สนก.
๑๐. นายภูริตะ ปราศกาเมศ เจา้ หนา้ ทบ่ี ริหารทั่วไป สนก.
๑๑. นางสาวอรอุมา เสือเฒา่

ระดับปฐมวยั 173

รายชื่อคณะบรรณาธกิ ารกิจ

หลกั สตู ร หรอื ชุดการเรียนรู้และสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้

ด้านการป้องกันการทจุ รติ กล่มุ การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

--------------------------------

ที่ปรกึ ษา

๑. นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

๒. นางสาวอุษณยี ์ ธโนศวรรย์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

๓. นายสรุ ศักดิ์ อนิ ศรไี กร ผ้อู ำ�นวยการส�ำ นักพัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา

๔. นายอุทิศ บัวศร ี ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม

การทจุ รติ แหง่ ชาติ

คณะท�ำ งาน ขา้ ราชการบ�ำ นาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๑. นางสาวสรรเสรญิ สุวรรณ ์ ข้าราชการบำ�นาญ กระทรวงศึกษาธิการ
๒. นางจำ�นงค์ ศรมี งั กร ศึกษานเิ ทศก์ ศึกษาธิการจงั หวดั ชัยนาท
๓. นายธนบดพี ิพัฒน์ ด�ำ นลิ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.พษิ ณุโลก เขต ๓
๔. นางณฐั พร พ่วงเฟ่ือง ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ราชบุรี เขต ๒
๕. นายศุภกร มรกต ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.อดุ รธานี เขต ๑
๖. นายวนิ ัย อสุณี ณ อยุธยา ศกึ ษานิเทศก์ สพป.มหาสารคาม เขต ๓
๗. นายณฐั พล คุ้มวงศ์ ศึกษานิเทศก์ สพป.นนทบรุ ี เขต ๒
๘. นางเพญ็ จา เสมอเหมอื น ศกึ ษานิเทศก์ สพม. เขต ๑๗
๙. นางบงั อร ควรประสงค ์ ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นสายน�้ำ ทพิ ย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร
๑๐. นางนิรมล บวั เนียม ผู้อ�ำ นวยการโรงเรียนบา้ นหนองปลาตอง
๑๑. นายวชิรเมษฐ์ บำ�รุงผดงุ วทิ ย์ (ประชาวิทยาคาร) สพป. สกลนคร เขต ๑


174 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

๑๒. นายไกรสร พมิ พป์ ระชา ผู้อ�ำ นวยการโรงเรียนบา้ นแบง สพป.หนองคาย เขต ๒
๑๓. นายธนกฤติ พรมบตุ ร ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นบา้ นโคกเฟอื ง สพป.บรุ รี มั ย์ เขต ๓
๑๔. นายบุณยพงศ์ โพธิวัฒนธ์ นัต ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นบางมดวทิ ยา
“สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ”์ สพม. เขต ๑
๑๕. นางนันทนา ชมชน่ื ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นผกั ไห่ “สทุ ธาประมขุ ” สพม. เขต ๓
๑๖. นางสาวปิยนชุ เปยี่ มวิรยิ วงศ์ ผู้อ�ำ นวยการโรงเรยี นบา้ นรับร่อ สพป.ชมุ พร เขต ๑
๑๗. นางทพิ าภรณ์ หญตี ศรีค�ำ ผ้อู ำ�นวยการโรงเรยี นบ้านหนิ กบ สพป.ชมุ พร เขต ๑
๑๘. นางสุจติ รา จรรยา ครู โรงเรียนอนุบาลลพบุรี สพป.ลพบรุ ี
๑๙. นางสาวภัณฑลิ า บ้านดา่ น ครู โรงเรยี นคชิ ฌกฏู วทิ ยา สพม. เขต ๑๗
๒๐. นางสวุ รรณี ศักด์ชิ ัยสมบูรณ ์ ครู โรงเรียนวดั บางปูน สพป.สิงห์บรุ ี
๒๑. นางลัดดา ค�ำ วจิ ติ ร ครู โรงเรยี นวัดโบสถ์ สพป.สิงหบ์ รุ ี
๒๒. นางสาวชัญญานุช รตั นวชิ ัย ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ”์
สพม. เขต ๑
๒๓. นางสาวอรสา อษิ ฐเจริญ ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์”
สพม. เขต ๑
๒๔. นางสาวรัตนากร ศรคี ุณ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถมั ภ”์
สพม. เขต ๑
๒๕. นางสาวกญั ญาพชั ร หม่มู ่วง ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ”์
สพม. เขต ๑
๒๖. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถมั ภ”์
สพม. เขต ๑
๒๗. นางสาวณัฐทติ า รกั ษา ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ”์
สพม. เขต ๑
๒๘. นางสาวเบญจวรรณ ศริ หิ ตั ถ์ ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ์”
สพม. เขต ๑

ระดบั ปฐมวยั 175

๒๙. นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ์”

สพม. เขต ๑

๓๐. นางสาวสวุ รรณี สมประเสรฐิ ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถมั ภ์”

สพม. เขต ๑

๓๑. นายบรบิ ูรณ์ พรหมสวา่ ง ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ”์

สพม. เขต ๑

๓๒. นางนติ ยา ภริ มย์กจิ นกั ทรัพยากรบุคคล สพร.

๓๓. นายภธู ร จนั ทะหงษ์ ปณุ ยจรสั ธ�ำ รง ผู้อำ�นวยการกลมุ่ บริหารทัว่ ไป สนก.

๓๔. นายจักรพงษ์ วงคอ์ ้าย นกั วชิ าการศกึ ษา สนก.

๓๕. นายสพลกติ ติ์ สงั ข์ทพิ ย ์ ครู โรงเรียนตากฟา้ วชิ าประสทิ ธิ์ ช่วยราชการ สนก.

๓๖. นายฐาปณัฐ อุดมศร ี นักวชิ าการศกึ ษา สนก.

๓๗. นางสจุ ิตรา พชิ ัย เจ้าพนักงานธุรการ สนก.

๓๘. นางสาวณฐั รดา เนตรสว่าง นกั จดั การงานท่วั ไป สนก.

๓๙. นางสาวศรญั ญา โชติ พนกั งานบันทกึ ข้อมูล สนก.

๔๐. นายสหสั พล ษรบัณฑิต เจา้ หนา้ ท่บี รหิ ารทัว่ ไป สนก.

๔๑. นางสาวอรอุมา เสอื เฒ่า เจ้าหนา้ ที่บรหิ ารท่วั ไป สนก.

176 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกนั การทจุ รติ ”

รายช่ือคณะผ้ปู ระสานงาน

การจดั ท�ำ หลักสูตร หรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละส่ือประกอบการเรยี นรู้

ด้านการปอ้ งกันการทุจริต กลุม่ การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

สำ�นักงาน ป.ป.ช.

--------------------------------

ทีป่ รึกษา

๑. นายวรวิทย์ สุขบุญ เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

๒. นายประหยดั พวงจำ�ปา รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

๓. นายกิตติ ลม้ิ พงษ์ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

๔. นายอุทิศ บวั ศร ี ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

๕. นางสาวจนิ ตนา พลอยภทั รภญิ โญ ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั ปอ้ งกนั การทจุ รติ ภาครัฐ

คณะผูป้ ระสานงาน เจ้าพนักงานป้องกนั การทจุ ริตเชย่ี วชาญ
๑. นายสมพจน์ แพง่ ประสิทธิ์ เจา้ พนักงานปอ้ งกันการทจุ รติ ช�ำ นาญการ
๒. นายสราวฒุ ิ เศรษฐกร เจา้ พนักงานป้องกันการทจุ ริตชำ�นาญการ
๓. นายธนวฒั น์ มะแม้น เจา้ พนกั งานป้องกนั การทุจรติ ปฏิบตั ิการ
๔. นายณฐั พงศ์ มณีจกั ร์ นกั ศกึ ษาฝกึ งาน มหาวิยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
๕. นางสาวจดิ าภา แสงหิรัญ นักศกึ ษาฝกึ งาน มหาวิยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม
๖. นางสาววัลภา บุญช ู

ระดบั ปฐมวัย 177


Click to View FlipBook Version