The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วาระการประชุมคณะอนุกรรมการ CG & CSR ครั้งที่ 3 ปี 65 (E-Book)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-05-30 23:20:22

วาระการประชุมคณะอนุกรรมการ CG & CSR ครั้งที่ 3 ปี 65 (E-Book)

วาระการประชุมคณะอนุกรรมการ CG & CSR ครั้งที่ 3 ปี 65 (E-Book)

ระเบยี บวาระการประชุม
คณะอนุกรรมการกากับดูแลกจิ การท่ีดแี ละความรับผิดชอบต่อสังคมของ กปภ.

ครัง้ ท่ี 3/2565
วันพฤหสั บดีท่ี 2 มิถุนายน 2565 เวลา 13.30 น. – 16.30 น.

ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์

----------------------------------------------

วาระท่ี 1 เร่ืองประธานแจ้งให้ท่ปี ระชุมทราบ
วาระท่ี 2
วาระท่ี 3 เร่ืองรับรองรายงานการประชุมครัง้ ท่ี 2/2565
วาระท่ี 4
เร่ืองตดิ ตามผลการดาเนินงานตามมตคิ ณะกรรมการ กปภ. และคณะอนุกรรมการฯ
วาระท่ี 5
เร่ืองเพ่ือพจิ ารณา
วาระท่ี 6 4.1 หลกั เกณฑ์การประเมินกระบวนการปฏบิ ตั ิงานและการจดั การ Enablers ของรัฐวิสาหกิจ

ประจาปี 2565 และแผนการขบั เคลื่อน Core Business Enablers ด้านการกากบั ดแู ลกิจการ
ที่ดีและการนาองค์กร และด้านการม่งุ เน้นผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียและลกู ค้า
4.2 ทบทวนนโยบาย แนวปฏิบตั แิ ละกระบวนการกากบั ดแู ลกิจการที่ดีของ กปภ.
4.3 ทบทวนนโยบายและแนวปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาความยง่ั ยืนของ กปภ.
4.4 ทบทวนนโยบายและแนวปฏิบตั กิ ารเปิดเผยข้อมลู และรายงานผลการดาเนินงาน
ท่ีสาคญั ตามแนวทางการกากบั ดแู ลกิจการที่ดขี อง กปภ.
4.5 รายงานความยงั่ ยืนประจาปี 2564 ของ กปภ.

เร่ืองเพ่ือทราบ
5.1 ผลการดาเนินงานสง่ เสริมการกากบั ดแู ลกิจการท่ีดขี อง กปภ. สะสมไตรมาสท่ี 2/2565
5.2 ผลการดาเนินงานความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและสิง่ แวดล้อมของกปภ.สะสมไตรมาสที่ 2/2565
5.3 ผลการดาเนินงานตามแผนยทุ ธศาสตร์ด้านผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ของ กปภ.

สะสมไตรมาสท่ี 2/2565
5.4 ผลการดาเนินงานตามแผนยทุ ธศาสตร์ด้านลกู ค้าและตลาด สะสมไตรมาสท่ี 2/2565
5.5 ผลการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงานการประเมิน Enabler ด้าน 1 การกากบั ดแู ลที่ดีและ

การนาองค์กรและด้าน 4 การม่งุ เน้นผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียและลกู ค้า สะสมไตรมาสที่ 2/2565

เร่ืองอ่ืนๆ (ถ้ามี)
-------------------------------------------

วาระท่ี 1

เร่ือง ประธานแจ้งให้ท่ปี ระชุมทราบ

วาระท่ี 2

เร่ือง รับรองรายงานการประชุมครัง้ ท่ี 2/2565

วาระท่ี 2

เร่ือง รับรองรายงานการประชุมครัง้ ท่ี 2/2565

ฝ่ ายเลขานุการได้จัดทารายงานการประชุมคณะอนุกรรมการกากับดูแลกิจการท่ีดี
และความรับผิดชอบต่อสงั คมของ กปภ. ครัง้ ท่ี 2/2565 เมื่อวนั ที่ 10 มีนาคม 2565 จานวน 38 หน้า
สง่ ให้คณะอนกุ รรมการฯ พิจารณาเม่ือวนั ท่ี 25 เมษายน 2565 โดยมีอนกุ รรมการขอแก้ไขรายงานการประชมุ
ดงั นี ้

รศ.เอนก ศริ ิพานิชกร ขอแก้ไขข้อความ หน้า 38 ย่อหน้าท่ี 1 บรรทดั สดุ ท้าย เดิม “... เพื่อให้องค์กร
บรรลเุ ป้ าหมาย Carbon Neutral …” แก้ไขเป็น “...เพื่อให้องค์กรบรรลเุ ป้ าหมาย Carbon Neutrality …”

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดรับรองรายงานการประชมุ ครัง้ ที่ 2/2565 ตามที่อนกุ รรมการขอแก้ไข

มตคิ ณะอนุกรรมการ
………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….…………
……………………………………………………………………………………………………………….

วาระท่ี 3

เร่ืองตดิ ตามผลการดาเนินงาน
ตามมตคิ ณะกรรมการ กปภ.และ

คณะอนุกรรมการฯ

วาระท่ี 3

เร่ือง ตดิ ตามผลการดาเนินงานตามมตคิ ณะกรรมการ กปภ. และคณะอนุกรรมการฯ

คณะกรรมการ กปภ. ในการประชมุ ครัง้ ที่ 3/2565 เมื่อวนั ท่ี 29 มีนาคม 2565 มีมติและข้อสงั เกต
โดยคณะอนุกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคมของ กปภ. (CG & CSR)
ได้ดาเนินงานตามมตแิ ละข้อสงั เกต ดงั นี ้

ลาดบั วาระท่นี าเสนอ มต/ิ ข้อสังเกต
คณะกรรมการ กปภ. ครัง้ ท่ี 3/2565 เม่ือวันท่ี 29 มีนาคม 2565

1 กฎบัตรคณะอนุกรรมการ รับทราบกฎบัตรคณะอนุกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคม

กากับดูแลกิจการที่ดีและ ของ กปภ. พ.ศ. 2565

ความรับผิดชอบต่อสังคม

ของ กปภ. พ.ศ. 2565

2 ทบทวนประมวลและคู่มือ รับทราบทบทวนประมวลและคมู่ อื จริยธรรมและจรรยาบรรณของ กปภ.

จริยธรรมและจรรยาบรรณ โดยมีความเห็นและข้อสงั เกต ดงั นี ้

ของ กปภ. ให้ กปภ.จดั กิจกรรมให้พนกั งาน รับรู้ เข้าใจ และตระหนกั เก่ียวกบั จริยธรรมและ

จรรยาบรรณอย่างตอ่ เนื่อง

ดาเนินงานตามมติ/ข้อสงั เกต ดงั นี ้

กปภ. ได้จดั ทาแผนแมบ่ ทส่งเสริมคณุ ธรรม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) และ

แผนปฏิบัติการส่งเสริมคณุ ธรรม ปี งบประมาณ 2565 เพ่ือใช้เป็ นกรอบทิศทาง

ในการขบั เคล่ือนมาตรการสง่ เสริมคณุ ธรรมของ กปภ. โดยม่งุ เน้นการเสริมสร้าง

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของ กปภ. ให้แก่ผ้บู ริหาร

และผ้ปู ฏิบตั ิงาน ผ่านกิจกรรมเสริมสร้างการรับรู้ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกบั ประมวล

และคู่มือจริยธรรมและจรรยาบรรณของ กปภ. โดยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

ประมวลจริยธรรมฯ ในรูปแบบ Infographic ภายใต้ “ชุดความรู้ประมวลจริยธรรม

และจรรยาบรรณของ กปภ.” และ Motion Graphic จานวน 5 เร่ือง ได้แก่ 1) ประมวล

จริยธรรมและจรรยาบรรณของ กปภ. 2) คณุ ธรรมและจริยธรรม 3) ความขดั แย้ง

ทางผลประโยชน์ 4) ระบบคิดฐานสอง และ 5) 5 ให้ด้วยหัวใจบริการ ผ่านช่องทาง

การสอ่ื สารของ กปภ. ได้แก่ เวบ็ ไซต์ แอปพลิเคชนั ไลน์ เฟซบ๊กุ การประชมุ /อบรม/สมั มนา

เป็นต้น นอกจากนี ้กปภ. ได้จดั โครงการอบรมหลกั สตู ร “คณุ ธรรม จริยธรรม และ

ธรรมาภิบาล”

-2-

ลาดบั วาระท่นี าเสนอ มต/ิ ข้อสังเกต
คณะกรรมการ กปภ. ครัง้ ท่ี 3/2565 เม่ือวันท่ี 29 มีนาคม 2565

3 รายงานผลการดาเนินงาน รับทราบรายงานผลการดาเนินงานการกากับดูแลกิจการท่ีดีและความรับผิดชอบต่อ

การกากับดูแลกิจการที่ดี สงั คมของ กปภ. ไตรมาสท่ี 1/2565

และความรับผิดชอบต่อ โดยมคี วามเหน็ และข้อสงั เกต ดงั นี ้

สังคมของ กปภ. ไตรมาส ให้ กปภ.พิจารณาจัดกิจกรรมเนื่องในวันสาคัญ วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 วันเฉลิม

ท่ี 1/2565 พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนุ ทร มหาวชิราลงกรณ

พระวชิรเกล้าเจ้าอย่หู วั

ดาเนินงานตามมติ/ข้อสงั เกต ดงั นี ้

ผู้ว่าการให้ความเห็นชอบ “โครงการรวมพลงั จิตอาสา กปภ. เทิดไท้องค์ราชัน

พระพนั ปี หลวง” เพื่อให้ กปภ.ดาเนินการเนื่องในวนั สาคญั วนั ที่ 28 กรกฎาคม 2565

วันเฉลิ มพ ระ ชน มพร รษาพ ระ บาทส มเด็ จ พ ระ ปร เมนท รรามาธิ บ ดี ศรี สุนท ร

มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้ าเจ้ าอยู่หัวและวันที่ 12 สิงหาคม 2565

วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

พระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง โดยมีวตั ถปุ ระสงค์โครงการเพ่ืออนุรักษ์ฟื น้ ฟูแหล่งนา้

รอบชมุ ชนและให้ประชาชนมแี มน่ า้ ลาคลองที่สะอาด อปุ โภคได้อย่างปลอดภยั

4 ทบทวนแผนปฏิบัติการ รับทราบทบทวนแผนปฏิบัติการความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้ อม

ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแขง็ ให้ชมุ ชนของ กปภ. ปี 2565

และสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้ าง โดยมีความเห็นและข้อสงั เกต ดงั นี ้

ความเข้ มแข็งให้ ชุมชน ให้ กปภ. พิจารณาจัดกิจกรรมให้แก่ลูกค้าของ กปภ.ท่ีฐานะครอบครัวยากจน

ของ กปภ. ปี 2565 เพื่อให้สอดคล้องกบั แนวทางการดาเนินงานของศนู ย์อานวยการขจดั ความยากจนและ

พฒั นาคนทุกช่วงวยั อย่างยง่ั ยืน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ศจพ.)

และนโยบายของรัฐบาลหรือกระทรวงมหาดไทย เพื่อภาพลกั ษณ์ที่ดขี ององค์กร

ดาเนินงานตามมติ/ข้อสงั เกต ดงั นี ้

แผนปฏิบตั กิ ารความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและส่ิงแวดล้อมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง

ให้ชมุ ชนของ กปภ. กาหนดให้จดั “โครงการฝึกอาชีพประปาให้ประชาชน” เพ่ือให้

ประชาชน มีอาชีพและรายได้อย่างยง่ั ยืน สอดคล้องกบั นโยบายรัฐบาล และแนวทาง

การดาเนินงานของ ศจพ. เพ่ือขจดั ความยากจนของประชาชน

-3-

คณะอนกุ รรมการ CG & CSR ในการประชมุ ครัง้ ท่ี 2/2565 เมื่อวนั ท่ี 10 มีนาคม 2565 มีมติ

และข้อสงั เกต โดยฝ่ ายเลขานกุ ารได้ดาเนินงานตามมติและข้อสงั เกต ดงั นี ้

มต/ิ ข้อสังเกต

ลาดับ วาระท่นี าเสนอ คณะอนุกรรมการ CG & CSR ผลการดาเนินงานตามข้อสังเกต

ครัง้ ท่ี 2/2565 วันท่ี 10 มีนาคม 2565

1 กฎบัตรคณะอนุกรรมการ เห็นชอบกฎบัตรคณะอนุกรรมการกากับดูแล ประธานกรรมการกปภ.ลงนามในกฎบตั ร

กากับดูแลกิจการท่ีดีและ กิจการที่ดีและความรับผิดชอบตอ่ สงั คมของ กปภ. คณะอนกุ รรมการกากบั ดแู ลกิจการที่ดี

ความรับผิดชอบต่อสังคม พ.ศ. 2565 และความรับผิดชอบตอ่ สงั คมของ กปภ.

ของ กปภ. พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2565 แล้ว

2 ทบทวนประมวลและคู่มือ เห็นชอบทบทวนประมวลและค่มู ือจริยธรรมและ นาเสนอคณะกรรมการ กปภ.รับทราบ

จริยธรรมและจรรยาบรรณ จรรยาบรรณของ กปภ. ทบทวนประมวลและค่มู ือจริยธรรม

ของ กปภ. และจรรยาบรรณของ กปภ.แล้ว

3 รายงานผลการดาเนินงาน รับทราบรายงานผลการดาเนินงานการกากบั ดแู ล นาเสนอคณะกรรมการ กปภ.รับทราบ

การกากับดูแลกิจการที่ดี กิจการท่ีดีและความรับผิดชอบต่อสงั คมของกปภ. ผลการดาเนินงานการกากบั ดแู ลกิจการ

และความรับผิดชอบต่อ ไตรมาสท่ี 1/2565 ที่ดีและความรั บผิ ดชอบต่อสังคม

สังคมของ กปภ. ไตรมาส ของกปภ. ไตรมาสที่ 1/2565 แล้ว

ท่ี 1/2565

4 ทบทวนแผนปฏิบัติการ เห็นชอบทบทวนแผนปฏิบตั ิการความรับผิดชอบ ฝ่ ายเลขานกุ ารดาเนินการ ดงั นี ้

ความรับผิดชอบต่อสังคม ต่อสังคมและส่ิงแวดล้ อมเพื่อเสริ มสร้ าง 1. กปภ.ได้ ดาเนินการจัดพิธีเปิ ด

แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ความเข้มแข็งให้ชมุ ชนของ กปภ. ปี 2565 โครงการ กปภ.ปลกู ป่ าเพื่อแผ่นดินฯ

เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็ง โดยมีความเหน็ และข้อสงั เกต ดงั นี ้ กิจกรรมปลูกต้นไม้ ประจาปี 2565

ให้ชมุ ชนของ กปภ. ปี 2565 1.กปภ.อาจพิจารณานาพนั ธ์ุไม้ซงึ่ เป็ นสญั ลกั ษณ์ เม่ือวนั จันทร์ท่ี 9 พฤษภาคม 2565

ของ กปภ. มาปลกู ในกิจกรรมปลกู ป่ าเพื่อแผ่นดิน ณ บ้านหัวเลา ต.ป่ าแป๋ อ.แม่แตง

ณ พืน้ ท่ีให้บริการของ กปภ. 234 สาขา เพ่ือสร้าง จ.เชียงใหม่ และที่สถานีผลิตนา้ แม่แฝก

เอกลกั ษณ์ให้แก่หน่วยงาน กปภ.สาขาเชียงใหม่ (พ) โดย กปภ.

ได้คดั เลือกพนั ธ์ุไม้ ได้แก่ นางพญา

เสือโคร่ ง พะยูง แคป่ า คาแสด

มะหาด มะแฟน มะฮอกกานี และ

ราชพฤกษ์ ซึ่งเป็ นต้นไม้ประจาชาติ

ทงั้ นี ้ไมไ่ ด้ปลกู ต้นกลั ปพฤกษ์ ซงึ่ เป็ น

สญั ลักษณ์ของ กปภ. เน่ืองจากสถานี

เพาะกล้าไม้ จ.เชียงใหม่ แจ้งว่าไม่มี

ต้นไม้กลั ปพฤกษ์

-4-

มต/ิ ข้อสังเกต

ลาดับ วาระท่นี าเสนอ คณะอนุกรรมการ CG & CSR ผลการดาเนินงานตามข้อสังเกต

ครัง้ ท่ี 2/2565 วันท่ี 10 มีนาคม 2565

4 ทบทวนแผนปฏิบัติการ 2.ให้ กปภ.คานึงถึงการคัดเลือกพนั ธุ์ไม้ เช่น 2. กปภ.ได้พิจารณาจัดกิจกรรม

ความรับผิดชอบต่อสังคม การผลดั ใบ การแผ่ขยายของรากไม้ เป็ นต้น ในพืน้ ที่ป่ าและพืน้ ท่ีท่ีไม่ใกล้ ชิด

แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ซงึ่ อาจทาลายโครงสร้างส่ิงปลกู สร้าง และอาจ สิ่งปลกู สร้าง
เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็ง กีดขวางสายสญั ญาณส่ือสารตามแนวเสาไฟฟ้ า
ให้ชุมชนของ กปภ. ปี 2565 ทงั้ นี ้เพื่อให้เกิดความยงั่ ยืนและไม่กระทบตอ่

(ตอ่ ) ชมุ ชนโดยรอบในอนาคต

3. กปภ.ควรติดตามประเมินผลการดาเนิน 3.กปภ.กาหนดให้ กปภ.ข.1–10ติดตาม

โครงการอาสาประปาเพื่อปวงชนเพ่ือกาหนด และรายงานผลการดาเนินโครงการอาสา

แนวทางและขยายผลการดาเนินงาน ประปาเพื่อปวงชนเป็ นรายไตรมาส

และประเมินผลการดาเนินโครงการ

ภายหลงั จากเสร็จสนิ ้ โครงการแล้ว

4.ให้ฝ่ ายเลขานกุ ารนาเรียนให้คณะอนกุ รรมการ 4. กปภ.ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ

CG & CSR ได้รับทราบในรายละเอียด MOU โครงการอาสาประปาเพ่ือปวงชน ปี ท่ี 1

โครงการอาสาประปาเพ่ือปวงชน ที่ กปภ.ได้ลงนาม ร่วมกับมูลนิธิราชประชานุเคราะห์

ร่วมกับมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ เพื่อให้ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยมีกรอบ

กปภ. สามารถขบั เคล่ือนการดาเนินโครงการ ความร่วมมือและบทบาทหน้าทีร่วมกัน

ได้ อย่างสอดคล้ องและประสานเช่ือมโยง ดงั นี ้

ตรงตามพนั ธกิจท่ีได้ลงนามร่วมกนั ไว้ กรอบความร่ วมมือ

ทัง้ สองฝ่ ายจะต้องดาเนินงานแบบ

บูรณาการร่วมกัน เพ่ือสร้ างความรู้

ความเข้ าใจ สร้ างความตระหนัก

แ ล ะ จิ ต ส า นึ ก ใ น ก า ร ร้ ู คุณ ค่ า ข อ ง

ทรัพยากรนา้ ตลอดจนสร้ างเครือข่าย

ให้ เด็กและเยาวชนร่ วมกันสอดส่อง

ดูแลทรัพยากรนา้ ของชาติ ทัง้ นี ้

ก า ร ป ฎิ บั ติ แ ล ะ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร

ภายใต้บันทึกความเข้าใจนีจ้ ะต้อง

ไมข่ ดั ตอ่ กฎหมาย ข้อบงั คบั ระเบียบ

คาสงั่ หลกั เกณฑ์ หรือแบบธรรมเนียม

ในการปฎิบตั ิของทงั้ สองฝ่ าย

ลาดับ วาระท่นี าเสนอ -5- ผลการดาเนินงานตามข้อสังเกต

4 ทบทวนแผนปฏิบัติการ มต/ิ ข้อสังเกต รายละเอียดการดาเนินกิจกรรม
ความรับผิดชอบต่อสังคม คณะอนุกรรมการ CG & CSR ตามบันทึกความเข้าใจนีใ้ ห้เป็ นไป
แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม เ พ่ื อ ครัง้ ท่ี 2/2565 วันท่ี 10 มีนาคม 2565 ตามความตกลงกนั ของหน่วยงานทงั้
เสริมสร้ างความเข้ มแข็งให้ สองฝ่ ายที่จะจดั ทาขนึ ้ ภายหลงั
ชุมชนของ กปภ. ปี 2565 บทบาทและหน้าท่ขี องทงั้ สองฝ่ าย
(ตอ่ )
มูลนิ ธิ ราชประชานุเคราะห์
ใ น พ ร ะ บ ร ม ร า ชู ป ถั ม ภ์ แ ล ะ
การประปาส่วนภูมิภาค จะดาเนินงาน
ตามกรอบความร่วมมือ โดยมูลนิธิ
ราชประชานุเคราะห์ฯ จะทาหน้าที่
ประสานงานไปยงั โรงเรียนในมูลนิธิ
ราชประชานุเคราะห์ฯ และโรงเรียน
ที่ได้ รั บการสนับสนุนจากมูลนิธิ
ราชประชานเุ คราะห์ฯ เพ่ือสนบั สนุน
แ ล ะ เ อื อ้ เ ฟื ้อ ส ถ าน ท่ี ใ น ก าร จัด
โครงการ ในสว่ นของการประปาส่วน
ภมู ิภาคจะนาเจ้าหน้าที่เข้าไปดาเนิน
กิจกรรมตามแนวทางของโครงการ
และเป็นผ้รู ับผิดชอบคา่ ใช้จ่ายในการ
จดั ทากิจกรรม (เอกสารแนบ)

5.เพื่อต่อยอดขยายผลการดาเนินโครงการ 5. กปภ.จะดาเนินการทบทวน
ฝึ กอาชีพประ ปา ให้ ประชาชน กปภ.อาจ แผนแมบ่ ทความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
พิจารณาการฝึ กอาชีพช่างประปาท่ีสามารถ และสิ่งแวดล้อมของ กปภ. เพ่ือให้
รองรับทกั ษะฝี มอื ในระดบั ตา่ งประเทศได้ด้วย โครงการฝึ กอาชีพประปาให้ประชาชน

สามารถรองรับทักษะฝี มือในระดับ

ตา่ งประเทศได้ด้วย

-6-

มต/ิ ข้อสังเกต

ลาดับ วาระท่นี าเสนอ คณะอนุกรรมการ CG & CSR ผลการดาเนินงานตามข้อสังเกต

ครัง้ ท่ี 2/2565 วันท่ี 10 มีนาคม 2565

5 ผลการดาเนินงานตามแผน รับทราบผลการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ด้านลกู ค้าและ ด้านลกู ค้าและตลาด ไตรมาสท่ี 1/2565

ตลาด ไตรมาสที่ 1/2565 โดยมคี วามเหน็ และข้อสงั เกต ดงั นี ้

1. กปภ.ควรส่ือสารให้ผู้จดั การ กปภ.สาขาและ 1.กปภ.ได้กาหนดแนวทางการสื่อสาร

ประธานสหภาพแรงงาน กปภ. ได้รับทราบ ภายในองค์กร เพื่อให้พนกั งานภายใน

และสื่อสารต่อไปว่าการดาเนินโครงการต่างๆ องค์กรรับทราบถึงภารกิจของ กปภ.

ของ กปภ. เป็ นไปอย่างถูกต้ องชอบธรรม ผ่านส่ือออนไลน์อย่างต่อเน่ือง ได้แก่

เนื่องจากท่ีผ่านมาพนักงานยังไม่เข้าใจจึงเห็นควร กลุ่มไลน์พนักงาน กปภ. และ Facebook

ให้ กปภ.พิจารณาจดั ทาแนวทางสื่อสารเผยแพร่ กองสื่อสารองค์กร กปภ.

ผลงานของ กปภ.ให้เป็ นที่รับรู้ มากย่ิงขึน้ และ

ดาเนินการสื่อสารภายในองค์กรให้ พนักงาน

รับทราบว่า กปภ.ดาเนินงานด้วยความโปร่งใส

ถกู ต้องตามกฎหมายและเป็นธรรม

2.ตามที่ พลเอก ประยุ ทธ์ จันทร์ โอชา 2. กปภ.มีการขบั เคลื่อน BCG Model

นายกรัฐมนตรี ได้ ประกาศเจตนารมณ์ว่า ระดับองค์กร โดยให้ความสาคญั กับ

ประเทศไทยพร้ อมยกระดบั การแก้ไขปัญหา ทุกขัน้ ตอนในกระบวนการผลิต

ภมู ิอากาศ เพ่ือบรรลเุ ป้ าหมายความเป็ นกลาง นา้ ประปา และได้บูรณาการ BCG

ทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายใน Model มาเป็นสว่ นหนง่ึ ของกระบวนการ

ปี ค.ศ. 2050 นนั้ จึงเห็นควรให้ กปภ.นาเสนอ ทางานท่ีสาคญั โดยคานึงถึงการใช้

คณะอนุกรรมการรับทราบ หาก กปภ. มีแผน ทรัพยากรนา้ อย่างค้มุ คา่ และควบคมุ

การดาเนินงานรวมถงึ คา่ เป้ าหมายองค์กร อาทิ ปริมาณของเสียจากระบบผลิตไม่ให้

การใช้พลงั งานทางเลือก เพื่อลดการใช้พลงั งาน ส่งผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบ

จากฟอสซลิ เป็นต้น ทงั้ นี ้เพื่อให้องค์กรบรรลุ ซง่ึ กปภ.มีการขับเคล่ือนผ่านแผนงาน/

เป้ าหมาย Carbon Neutrality ตามท่ีรัฐบาล โครงการต่างๆ อาทิ โครงการออกแบบ

ได้ประกาศเจตนารมณ์ไว้ ระบบสบู นา้ ย้อนกลบั โครงการบริหาร

จัดการพลังงานไฟฟ้ าด้วยระบบผลิต

ไฟฟ้ าพลงั งานแสงอาทิตย์แบบติดตงั้

บนหลงั คา (Solar Rooftop) โครงการ

บริหารจดั การทรัพยากรนา้ อย่างรู้คณุ ค่า

(Demand Side Management : DSM)

-7-

ข้อเสนอ

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบผลการดาเนินงานตามมติของคณะกรรมการ กปภ.และ
คณะอนกุ รรมการฯ

มตคิ ณะอนุกรรมการ
………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….







วาระท่ี 4

เร่ืองเพ่ือพจิ ารณา

วาระท่ี 4.1

เร่ือง หลักเกณฑ์การประเมินกระบวนการปฏิบัตงิ านและการจัดการ Enablers ของรัฐวิสาหกิจ
ประจาปี 2565 และแผนการขับเคล่ือน Core Business Enablers ด้านการกากับดูแล
กจิ การท่ดี ีและการนาองค์กร และด้านการมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า

เร่ืองเดมิ

สคร. กาหนดให้ทุกรัฐวิสาหกิจนาระบบประเมินกระบวนการปฏิบตั ิงานและการจัดการ
ตามหลกั เกณฑ์ Enabler 8 ด้าน มาใช้ประเมินผลองค์กรในปี 2565 โดยเกณฑ์ประเมินผลด้าน 1 การกากบั
ดแู ลกิจการท่ีดแี ละการนาองค์กร และด้านท่ี.4 การมงุ่ เน้นผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียและลกู ค้าเกี่ยวข้องกบั การกาหนด
นโยบายและแผนงานการกากบั ดแู ลกิจการที่ดี การแสดงความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและสิ่งแวดล้อม รวมถึง
กลมุ่ ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียและลกู ค้าของ กปภ.

การประเมินการกากบั ดแู ลและการนาองค์กรของรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วยหลกั เกณฑ์สาคญั

10 ด้าน ดงั นี ้

หวั ข้อ นา้ หนัก
(ร้ อยละ)
1. บทบาทของภาครัฐ
2. บทบาทของรัฐวิสาหกิจเพื่อการตลาดที่เป็นธรรม 5
3. สิทธิและความเทา่ เทยี มกนั ของผ้ถู อื ห้นุ 10
4. บทบาทของผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี 10
5. การเปิดเผยข้อมลู 10
6. คณะกรรมการ 10
7. การบริหารความเสย่ี งและการควบคมุ ภายใน 17
8. จรรยาบรรณ 8
9. ความยง่ั ยนื และนวตั กรรม 8
10. การตดิ ตามผลการดาเนินงาน 12
10
รวม 100

-2-
สาหรับเกณฑ์การประเมินผลด้าน 4 การม่งุ เน้นผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียและลกู ค้ามีเกณฑ์การประเมิน
ที่เกี่ยวข้องกบั ด้านบริหารจดั การผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย ดงั นี ้

หวั ข้อ นา้ หนัก
(ร้ อยละ)
Module 1 : การมุ่งเน้นผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสีย
1. ยทุ ธศาสตร์ด้านผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี 50
2. วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี 5
3. กระบวนการของการสร้างความสมั พนั ธ์กบั ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี 10
35
Module 2 : การมุ่งเน้นลกู ค้า 50
1. ยทุ ธศาสตร์ด้านลกู ค้าและตลาด 10
2. การจาแนกลกู ค้า 5
3. การรับฟังลกู ค้า 10
4. การพฒั นานวตั กรรมและผลติ ภณั ฑ์และบริการ 10
5. การจดั การความสมั พนั ธ์กบั ลกู ค้า 15
รวม
100

ข้อเทจ็ จริง

กปภ.นาหลักเกณฑ์ Enabler ด้านที่ 1 การกากับดแู ลกิจการท่ีดีและการนาองค์กร และ
หลกั เกณฑ์ ด้านที่.4 การม่งุ เน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลกู ค้า ตามที่ สคร. กาหนดมาจดั ทาแผนการขบั เคลื่อน
Core Business Enablers ด้านการกากบั ดแู ลกิจการท่ีดีและการนาองค์กร และด้านการม่งุ เน้นผ้มู ีสว่ นได้
สว่ นเสยี และลกู ค้า ปี 2565

ข้อพจิ ารณา
เพ่ือพัฒนากระบวนการดาเนินงานของ กปภ. ให้สามารถบรรลุผลลัพธ์ตามหลกั เกณฑ์

Enabler ด้านท่ี 1 การกากบั ดแู ลกิจการท่ีดีและการนาองค์กร และหลกั เกณฑ์ ด้านที่.4 การม่งุ เน้นผ้มู ีสว่ นได้
ส่วนเสียและลกู ค้า จึงเห็นควรนาเรียนคณะอนกุ รรมการกากบั ดแู ลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
ของ กปภ. พิจารณาแผนการขบั เคล่ือน Core Business Enablers ด้านการกากบั ดแู ลกิจการที่ดีและการ
นาองค์กร และด้านการมงุ่ เน้นผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียและลกู ค้า ปี 2565 รายละเอียดดงั เอกสารแนบ

-3-

ข้อเสนอ
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการขบั เคล่ือน Core Business Enablers

ด้านการกากบั ดแู ลกิจการที่ดแี ละการนาองค์กร และด้านการมงุ่ เน้นผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี และลกู ค้า ปี 2565

มตคิ ณะอนุกรรมการ
……………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

ผลการดาํ เนนิ ดา น Core Business Enablers
ของการประปาสวนภูมภิ าค
ประจําปบ ญั ชี 2564

4 มนี าคม 2565

ผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกจิ ผลการดำเนนิ งานดา้ น Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ิภาค (กปภ.) ประจำปบี ญั ชี 2564

Core Business Enablers

ผลการดำเนินงานของการประปาส่วนภูมภิ าค (กปภ.) อยทู่ ่รี ะดบั คะแนน

2.6795

หัวขอ้ ระดับคะแนน
1. การกำกบั ดูแลทีด่ ีและการนำองค์กร (Corporate Governance & Leadership: CG) 3.0312
2. การวางแผนเชิงกลยทุ ธ์ (Strategic Planning: SP) 2.5500
3. การบริหารความเสี่ยง และควบคุมภายใน (Risk Management & Internal Control: RM & IC) 1.9800
4. การมุ่งเนน้ ผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี และลูกค้า (Stakeholder & Customer: SCM) 2.0781
5. การพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology: DT) 2.8749
6. การบริหารทุนมนษุ ย์ (Human Capital Management: HCM) 3.2846
7. การจัดการความรู้และนวตั กรรม (Knowledge Management & Innovation Management: KM & IM) 2.0473
8. การตรวจสอบภายใน (Internal Audit: IA) 3.5898

กราฟสรปุ ผลการประเมนิ

1. การกากับดแู ลทดี่ ีและการนา

องคก์ ร (Corporate

Governance & Leadership:

CG)
5

8. การตรวจสอบภายใน (Internal 4 3.0312 2. การวางแผนเชงิ กลยุทธ์
3 (Strategic Planning: SP)
Audit: IA) 3.5898
2 2.5500

7. การจดั การความรแู้ ละนวัตกรรม 2.0473 1 1.9800 3. การบริหารความเสย่ี ง และ
(Knowledge Management & 2.0781 ควบคมุ ภายใน (Risk
Innovation Management: KM 0
Management & Internal
& IM) Control: RM & IC)

3.2846 2.8749 4. การมงุ่ เน้นผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี
6. การบริหารทนุ มนษุ ย์ (Human และลกู คา้ (Stakeholder &
Capital Management: HCM)
Customer: SCM)

5. การพฒั นาเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
(Digital Technology: DT)

Core Business Enablers

ผลการดำเนนิ งานดา้ น Core Business Enablers
ของการประปาส่วนภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปีบัญชี 2564

สรุปประเด็นขอ้ สังเกต/ข้อเสนอแนะที่สำคญั ของการดำเนินงานดา้ น Core Business Enablers

การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) มีผลการดำเนินงานด้าน Core Business Enablers อยู่ในระดับ Maturity “ระดับ 2”
ซงึ่ หมายถงึ มีระบบกระบวนการ แต่ยงั ไมค่ รบถว้ นในทุกกระบวนการของเกณฑ์การประเมนิ กระบวนการ

โดย Core Business Enablers ที่สำคญั ที่ กปภ. ต้องมงุ่ เน้นการดำเนินการ ไดแ้ ก่

1. ด้านการกำกับดูแลที่ดีและการนำองค์กร ซึ่งมุ่งเน้นบทบาทการกำกับดูแลและการนำองค์กรของคณะกรรมการ
รัฐวิสาหกิจในการขับเคลื่อนให้องค์กรสามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลสำเร็จตามกรอบนโยบาย ภารกิจหน้าที่ ยุทธศาสตร์
หรือแผนงานที่ผู้ถือหุ้นภาครัฐกำหนด ทั้งนี้ การกำหนดนโยบายแนวปฏิบัติ และ/หรือกระบวนการปฏิบัติงานฯ ควรมีการทบทวน
และปรบั ปรุง ในระดบั ขน้ั ตอน/องคป์ ระกอบยอ่ ยหรอื ระบบงานโดยรวม โดยใชผ้ ลประเมินกระบวนการฯ ทผี่ ่านมาเปน็ ข้อมลู พื้นฐาน
ประกอบการพัฒนาได้อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเป็นการผลักดันผลการดำเนินงานในด้านต่างๆ อย่างใกล้ชิด เพื่อให้การขับเคลื่อน
องค์กรเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณะกรรมการและผูบ้ รหิ ารระดับสูงนอกจากต้องมบี ทบาทในการกำหนดนโยบายแล้ว
ยังต้องมีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในการกำหนดทิศทาง และยุทธศาสตร์ขององค์กร และการจัดทำแผนงานต่างๆ ที่สอดคล้อง
กับข้อกำหนดของแตล่ ะ Enablers รวมถึงกำกับตดิ ตามใหผ้ ลการดำเนินงานขององคก์ รเป็นไปตามเป้าหมาย

2. ด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญในการกำหนดทิศทางขององค์กร ทั้งนี้ จะต้องมีการรวบรวมและ
วิเคราะห์ปัจจัยนำเข้าที่มีความครบถ้วน ทันกาล โดยปัจจัยนำเข้าของแผนวิสาหกิจระดับองค์กร จะต้องเป็นฐานข้อมูลที่มีทิศทาง
เดียวกับที่ใช้ในการจัดทำแผนแม่บทด้านต่างๆ และดำเนินการกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับเป้าหมายระยะส้ัน
และระยะยาวตามวิสัยทัศน์ขององคก์ ร จากการวิเคราะห์หาส่ิงที่องค์กรต้องดำเนนิ การเพ่ิม (Gap Analysis) เพื่อนำไปสู่การกำหนด
ยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน และมีการทบทวนระบบงานขององค์กร จากการพิจารณาผลการดำเนินงานตาม SLA (Service Level
Agreement) เพื่อแสดงความมั่นใจในการบรรลุวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ขององค์กร รวมทั้งควรมีการติดตามผลสำเร็จ
ตามแผนปฏิบัติการและการคาดการณ์ผลการดำเนินงานเพื่อปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ ในกรณีที่แนวโน้ มท่ีผลการดำเนินงานไม่เป็นไป
ตามเปา้ หมายทกี่ ำหนด

3. ด้านการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ซึ่งหลังจากมีการกำหนดนโยบายที่บูรณาการในเรื่องการกำกับดูแล
กิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน (GRC: Governance Risk and Compliance) แล้ว ก็ต้องมีการนำไป
ปฏบิ ัตอิ ยา่ งเปน็ รูปธรรม ซ่ึงต้องกำหนดคมู่ อื บทบาทหนา้ ที่ แผนงาน และการวิเคราะหฐ์ านขอ้ มูลที่ตอ้ งบรู ณาการรว่ มกนั โดยเฉพาะ
ข้อมูลด้านบริหารความเสี่ยง และ Compliance อีกทั้งควรมีการทำ Value Creation และ Value Enhancement ที่เชื่อมโยงกับ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ โดยทำการระบุเหตุการณ์ที่เป็นโอกาสของธุรกิจและกำหนด Value Driver เพื่อนำมาวิเคราะห์ถึง
ปัจจัยเสี่ยงของเหตุการณ์ดังกล่าว จากนั้นนำมาเข้ากระบวนการบริหารความเสี่ยง จนสามารถทำให้ระดับความรุนแรงของ
ปัจจัยเสี่ยงลดลง สุดท้ายคือการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรได้ตามเป้าหมาย นอกจากนี้ต้องมีการจัดทำ Risk Correlation Map
ที่ครบถ้วนตามองค์ประกอบที่กำหนดไว้ ซึ่งจะนำไปสู่การจัดทำแผนจัดการความเสี่ยงที่ครอบคลุมทุกสาเหตุได้ รวมทั้งการสร้าง
ความเข้าใจกับหน่วยงานเจ้าของความเสี่ยงที่เป็นสาเหตุ (ทางตรงและทางอ้อม) ที่จะส่งผลต่อปัจจัยเสี่ยงอื่น เพื่อให้ร่วมกันบริหาร
ความเสี่ยงและได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายขององค์กร ทั้งน้ีควรทบทวนการปรับเปลี่ยนแผนการบริหารความเสี่ยง เพื่อรองรับ
สภาพแวดลอ้ มท่เี ปลี่ยนแปลงไป ที่อาจจะสง่ ผลใหก้ ารบริหารความเส่ียงไมส่ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายได้

Core Business Enablers

ผลการดำเนนิ งานด้าน Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปีบัญชี 2564

4. ด้านการมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต้องมีการกำหนด
วัตถุประสงค์ ขอบเขตและกลุม่ ผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียสำคัญ โดยวเิ คราะหท์ ิศทางการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งต้องบูรณาการท้งั ในระดบั
ภาพรวม/ยุทธศาสตร์องค์กรกับ Value Chain ระดับสายงาน/ฝ่ายอย่างเป็นระบบ เช่นเดียวกับการระบุประเด็นความต้องการ
ความคาดหวัง ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งต้องครอบคลุมทุกสายงาน/ฝ่าย เพื่อให้มั่นใจว่าประเด็นความต้องการที่ได้ ครอบคลุม
ประเด็นสำคัญจากการดำเนินงานขององค์กรอย่างแท้จริง นอกจากนี้ ควรนำผลการจำแนกลูกค้าและส่วนตลาดไปใช้ให้ครอบคลมุ
ทั้งการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านลูกค้าและตลาด การพัฒนา/ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการ และกระบวนการทางธุรกิจที่สำคัญ
ตลอดจนผลลัพธ์หรือเป้าประสงค์ทีส่ ำคัญด้านลูกค้าและตลาดของรัฐวิสาหกิจอย่างชัดเจน รวมทั้งนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ใน
การดำเนินงานทั้งในการรับฟังเสียงของลูกค้า การสนับสนุนลูกค้า การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า และกระบวนการจัดการ
ข้อรอ้ งเรยี นอย่างเปน็ ระบบ

5. ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คณะกรรมการ
หรอื ผบู้ ริหารขององค์กรควรให้การยอมรบั และพร้อมสนับสนุนในเรื่องดังกล่าว ใหเ้ หมือนกับส่วนอ่ืนๆทสี่ ำคัญในการดำเนินธุรกจิ ของ
องค์กร โดยต้องคำนึงถึงความสอดคล้องทางด้านยุทธศาสตร์ (Mission, Vision) กับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพ่ือการดำเนินงานทจ่ี ะทำให้องค์กรสามารถบรรลจุ ดุ ประสงคท์ างยทุ ธสาศตร์ได้ รวมถงึ ต้องมกี ารประเมนิ ความเสย่ี งทอ่ี าจจะเกิดขึ้น
จากการนำใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต ในขณะที่มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอ
กับการดำเนินงาน และการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture) เป็นส่วนสำคัญในการ Transform องค์กร
ดังนั้นรส. ควรมีแนวทางการดำเนินงานตามการพัฒนาสถาปตั ยกรรมที่ได้วิเคราะห์ไว้อยา่ งเป็นรูปธรรม ถ่ายทอดมาเป็นแผนแม่บท
(Digital Road Map) และแผนปฎิบัติการ (Action Plan) ประจำปี ที่แสดงแนวทางของการดำเนินงานที่ชัดเจน เพื่อจะบรรลุภาพ
ของสถาปัตยกรรมองค์กรในอนาคต รวมถึงการวางแผนพัฒนาบุคลากรที่จะสามารถไปตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงดังกลา่ วไดอ้ ยา่ ง
มีประสิทธิภาพ และควรมีการกำหนดตวั ชีว้ ัดของการนำใชเ้ ทคโนโลยีในทุกส่วนขององค์กร (Outcome) อย่างเป็นรูปธรรมวดั ผลได้
และมีความทา้ ทาย เพ่ือการพัฒนาและปรบั ปรงุ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง

6. ด้านการบริหารทุนมนุษย์ สำหรับการกำหนดแผนยุทธศาสตร์ HR ควรพิจารณาถึงความเชื่อมโยงกับแผนงานด้านต่างๆ
อย่างครบถ้วน มีการดำเนินงานร่วมกันระหว่างฝ่ายงานที่เกี่ยวข้องและกำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกัน และให้ความสำคัญ
กับการติดตามผลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบเพื่อนำข้อมูลป้อนกลับมาพัฒนายุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
และมีผลการดำเนินงานที่มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น ควรให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
ที่จะต้องมีแนวทางต่างๆ เพื่อสนับสนุนการบริหารอัตรากำลัง เช่น การวิเคราะห์ผลผลิตประสิทธิภาพ (Productivity) และการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในกระบวนการทำงาน (HROD) ทั่วทั้งองค์กร เป็นต้น มีการพัฒนาบุคลากรที่จำเป็นต้องมีการพัฒนาและสร้างทักษะ
(Upskill&Reskill) ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงข้างต้น ตลอดจนควรมุ่งเน้นการกำหนดแนวทางการจัดการการเปลี่ยนแปลง
(Change Management) เพื่อให้บุคลากรมีการรับรู้ เข้าใจ และปฏิบัติจนเกิดเป็นวัฒนธรรมภายในองค์กร รวมถึงควรใหค้ วามสำคญั
กับการยกระดับสายงานดา้ น HR ในการเปน็ หุ้นส่วนทางธรุ กจิ (Strategic Partner) หรอื ท่ปี รกึ ษา (Internal Consultant) ดา้ น HR ของสาย
งานภายในองค์กร เพื่อที่จะสามารถให้คำแนะนำด้าน HR แก่สายงานภายในองค์กรในการพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานให้
มปี ระสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

7. ด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม การจัดการความรู้ต้องมีการเชื่อมโยงการจัดการความรู้กับวิสัยทัศน์ พันธกิจ
ค่านิยมและยุทธศาสตร์ขององค์กร เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านการจัดการความรู้ขององค์กร และผลักดันไปสู่ผลลัพธ์
ตามยุทธศาสตร์ขององค์กร รวมถึงต้องมีการสร้างวัฒนธรรมด้านการจัดการความรู้ และควรมีการประเมินและปรับปรุงวิธีการ

Core Business Enablers

ผลการดำเนนิ งานด้าน Core Business Enablers
ของการประปาส่วนภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปบี ัญชี 2564
ในการสอ่ื สาร การสร้างความเขา้ ใจ และสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของบุคลากร รวมถงึ การสรา้ งแรงจงู ใจให้แกบ่ คุ ลากร สำหรับการจดั การ
นวัตกรรม ต้องมีการวิเคราะห์และกำหนดกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนนวัตกรรมที่เหมาะสมกับองค์กร ทั้งในด้านประเภทนวัตกร รม
(นวัตกรรมผลิตภัณฑ์และบริการ นวัตกรรมกระบวนการ นวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ) และรูปแบบการดำเนินการ (Close Innovation
หรือ Open Innovation) รวมถึงต้องสร้างความเข้าใจให้แก่คณะกรรมการและผู้บริหาร เกี่ยวกับบทบาทในการสนับสนุนให้
เกิดการพฒั นานวัตกรรมในองคก์ ร เช่น บทบาทในการปฏิบัติตนเป็น Role Model การเสริมสร้างบรรยากาศ และสร้างแรงกระตุ้น
จูงใจในการพฒั นานวัตกรรมในองคก์ รอยา่ งต่อเนอ่ื ง
8. ด้านการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบควรมีบทบาทในการสอบทานการดำเนินงานด้าน Enablers รวมถึง
ควรมีความชัดเจนในการแสดงและมอบข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตเชิงนโยบายเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับรัฐวิสาหกิจ หน่วยตรวจสอบ
ภายในควรได้รับการประเมินความเชื่อมั่นต่อความเป็นอิสระจากผู้บริหารและหน่วยรับตรวจ รวมทั้งควรมีแผนพัฒนาผู้ตรวจสอบ
ภายในที่สะท้อนตามแนวทาง Competency Gap รวมถึงมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ตรวจสอบภายในได้รับประกาศนียบัตร
ทางวิชาชีพ หรือประกาศนียบัตรที่เกี่ยวข้อง นอกจากน้ีควรนำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนการปฏิบัติงานตรวจสอบ
และพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการช่วยให้งานตรวจสอบมีประสิทธิภาพ ยกระดับบทบาทการเป็นที่ปรึกษา
ให้แก่ฝ่ายบริหาร (Business Counselor) เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่สำคัญให้องค์กรสามารถปรับเปลี่ยนได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
อีกทั้งควรมีการพัฒนากระบวนการจัดการองค์ความรู้ของหน่วยตรวจสอบภายในที่เป็นระบบและสอดคล้องกับแนวทางที่องค์กร
กำหนด ตลอดจนควรมีการกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กรที่สามารถวัดผลได้ชัดเจนจากการปฏิบัติงานตรวจสอบ
ด้านการให้ความเชื่อมั่นและด้านการให้คำปรึกษา เพื่อทำให้เกิดการเพิ่มมูลค่า ยกระดับกระบวนการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย
ที่กำหนดไว้ รวมถึงปรับปรุงการดำเนินงานขององค์กรในด้านต่างๆ ให้ครอบคลุมการดำเนินการตามเกณฑ์การประเมิน Enablers
และการบรู ณาการรว่ มกันในแต่ละดา้ น

Core Business Enablers

ผลการดำเนนิ งานของรัฐวิสาหกิจ ผลการดำเนนิ งานดา้ น Core Business Enablers
ของการประปาส่วนภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปีบัญชี 2564

Core Business Enablers

ผลการดำเนนิ งานของการประปาสว่ นภมู ิภาค (กปภ.) อยทู่ ่ีระดับคะแนน
ด้าน Core Business Enablers หวั ข้อ “การกำกับดแู ลทีด่ แี ละการนำองคก์ ร” 3.0312

ประเดน็ หลักที่ กปภ. • กปภ. มีการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติ รวมถึงมีการดำเนินการงานตามนโยบายและ
สามารถดำเนนิ การได้ แนวปฏบิ ัตดิ ้านการรายงานผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายและแนวทางการกำกบั ดูแลท่ดี แี ก่ผ้ถู อื หนุ้
ภาครัฐ ที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญ ได้แก่ การรายงานผลการดำเนินงานด้านการเงินและไม่ใช่
การเงิน การรายงานการปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแลที่ดีตามมาตรฐานสากล
และการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บ และขอ้ บังคบั ทเ่ี กี่ยวข้องกบั กิจการ

• กปภ. มีการจัดทำนโยบายและแนวปฏิบัติด้านการบริหารสิทธิของผู้ถือหุ้นทั้งตามกฎหมาย
และข้อบงั คบั อื่นท่เี กยี่ วข้องจามประเด็นสำคญั ครบถว้ น ไดแ้ ก่ นโยบายการป้องกันการใช้ข้อมุล
ภายใน นโยบายการปอ้ งกนั การเกิดรายการเก่ียวโยง และนโยบายการป้องกนั ความขัดแย้งทาง
ผลประโยชน์ รวมถงึ มกี ารกำหนดโครงสรา้ งผ้รู บั ผิดชอบทช่ี ดั เจน

• กปภ. มีการจัดทำนโยบาย คู่มือการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติงานเชิงกลยุททธ์ด้านการแสดง
ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ มในกระบวนการทำงาน (Corporate Social Responsibility
in Process : CSR in Process) ที่มีองค์ประกอบและสาระสำคัญสอดคล้องตามหลักการหรือ
มาตรฐาน ISO 26000 และมีการจัดทำแผนแม่บทระยะยาวและแผนปฏิบัติการประจำปีที่มี
องค์ประกอบสำคัญของแผนที่ชัดเจนและครบถ้วน โดยมีการดำเนินงานตามแผนและรายงาน
ผลการดำเนนิ งานตามแผนให้คณะกรรมการ กปภ. ทราบ เป็นรายไตรมาส

• กปภ. มกี ารจัดทำและและเปิดเผยข้อมลู ผา่ นรายงานประจำปแี ละเว็บไซดข์ ององค์กรทคี่ รบถว้ น

• กปภ. มีการกำหนด Skill Matrix และนำมาใช้ในการคัดเลือกและพัฒนากรรมการ
เป็นรายบุคคล รวมถึงนำไปใช้เป็นส่วนหนึ่งในการกำหนดนโยบาย และแนวทางการสรรหา
กรรมการจากบัญชีรายชื่อของสำนกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ (สคร.)

• คณะกรรมการ กปภ. มีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว
แผนปฏิบัติการประจำปี มีการมอบข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการริเริ่ม
แผนงานโครงการใหม่ๆ รวมถึงพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบแผนยุทธศาสตรร์ ะยะยาว แผนปฏิบัติ
การประจำปี แผนการดำเนินงานประจำปีของระบบตรวจสอบภายใน ระบบบริหารจัดการ
สารสนเทศและดจิ ิทลั และระบบบริหารจัดการทรพั ยากรบคุ คล ได้ก่อนเรมิ่ ปีบญั ชี

• คณะกรรมการ กปภ. จัดให้มีการประเมนิ ผบู้ ริหารสงู สดุ และผบู้ รหิ ารระดบั สงู โดยมกี ารกำหนด
หลักเกณฑท์ ่ชี ดั เจน และนำผลประเมินไปผูกกับระบบแรงจูใจ

CG - 1

ผลการดำเนนิ งานดา้ น Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปีบัญชี 2564

• กปภ. มีการจัดทำนโยบาย คู่มือการกำกับดูแลที่ดี รวมถึงแผนการดำเนินงานด้านการกำกับ
ดแู ลท่ดี รี ะยะยาวและประจำปี ทม่ี สี าระสำคัญ/กรอบการดำเนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกับมาตรฐานท่ี
เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป โดยคณะกรรมการ กปภ. ให้ความเห็นชอบแผนการดำเนินงานระยะ
ยาวและประจำปีได้ก่อนเริ่มปีบัญชี กปภ. มีการแต่งตั้งหน่วยงานด้าน Compliance
ที่มีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบสอดส่องดูแลและกำกับการปฏิบัติงานของ กปภ. ให้เป็นไป
ตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องที่เป็นที่ยอมรับ
โดยท่ัวไป

• คณะกรรมการ กปภ. มกี ารแต่งตัง้ คณะอนกุ รรมการดา้ นการบรหิ ารความเสย่ี งและ การควบคุม
ภายในที่มีกรรมการเข้าร่วมอย่างเป็นทางการ จัดทำกฎบัตรของคณะอนุกรรมการบริหาร
ความเสยี่ ง และการควบคมุ ภายในอยา่ งเป็นลายลักษณ์อักษร

• กปภ. มีการจัดทำคู่มือจริยธรรมจรรยาบรรณที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลทั้งระดับ
คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน โดยมีการเผยแพร่ให้บุคลากรทุกระดับรับรู้และนำไป
ปฏิบัติ นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสร้างบรรยากาศและพฤติกรรมที่ดีตามคู๋มือ
จรยิ ธรรมทั้งในระดบั คณะกรรมการ ผู้บรหิ าร และพนกั งาน อย่างสม่ำเสมอ

• กปภ. มีการจัดทำรายงานการพัฒนาความยั่งยืนขององค์กรที่เป็นไปตามมาตรฐานสากลตาม
หลักการ Global Reporting Initiative และเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มสามารถ
ติดตามการพฒั นาความย่ังยืนของ กปภ. ได้

• คณะกรรมการ กปภ. มีการติดตามผลการดำเนินงานด้านการเงินและไม่ใช่การเงิน
อยา่ งสมำ่ เสมอเปน็ รายไตรมาส โดยมกี ารมอบข้อสงั เกตหรือข้อเสนอแนะเพ่ือพ่ิมประสิทธิภาพ
การดำเนินงานทั้งด้านการเงินและไม่ใช่การเงินของ กปภ. รวมถึงมีการจัดทำรายงาน
ด้านการเงินและไม่ใช่การเงินที่มีองค์ประกอบครบถ้วน ได้แก่ สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง
หรือแสดงผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
และแนวทาแกไ้ ขปญั หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน

ประเดน็ หลกั ที่ กปภ. • กปภ. ขาดการนำนโยบาย แนวปฏิบัติด้านการแข่งขันทางการตลาดที่เป็นธรรม ในประเด็น
ยงั ดำเนนิ การได้ การรับผิดชอบต่อคู่ แข่ งไป ใ ช้จร ิงใน ทา งปฏ ิบัต ิอย ่า งครบ ถ้ วน สมบูรณ์ และเป็ น ร ะ บ บ
ไมส่ มบูรณ์ โดยการกำหนดผู้รับผิดชอบและกระบวนการ/ระบบการบริหารจัดการเพื่อการแข่งขันทาง
การตลาดทเ่ี ปน็ ธรรม

• คณะกรรมการ กปภ. มีการจัดทำแผนเพิ่มประสิทธิภาพการกำกับดูแลกิจการของ
คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ แต่ยังไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนดไว้ คณะกรรมการ
กปภ. ควรมีการติดตามกำกับให้มีการดำเนินการกิจกรรมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการรฐั วิสาหกจิ ท่ไี ดก้ ำหนดไว้

CG - 2

ผลการดำเนนิ งานดา้ น Core Business Enablers
ของการประปาส่วนภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปีบญั ชี 2564

• กปภ. ขาดการแสดงความเชื่อมโยงที่ชัดเจนเพื่อแสดงให้เห็นถึงการนำปจั จัยยัง่ ยืนไปเป็นปัจจัย
นำเข้า (input) สำหรับการจัดทำ/ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปี
อย่างเป็นระบบในเชิงบรู ณาการ

• กปภ. ขาดการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการปฏิบัติงาน โดยใช้
ผลประเมินประบวนการทผี่ า่ นมาเป็นช้อมูลพ้ืนฐานประกอบการพฒั นาได้อยา่ งเปน็ รูปธรรม

ผลการดำเนนิ งานของการประปาสว่ นภมู ภิ าค (กปภ.) อยทู่ ี่ระดับคะแนน
ด้าน Core Business Enablers หวั ขอ้ “การกำกบั ดแู ลทด่ี แี ละการนำองค์กร” 3.0312

สรปุ ประเด็นสำคญั 1. บทบาทของภาครฐั : อยทู่ ี่ระดับ 3.0000

กปภ. มีการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติด้านการรายงานผลการปฏิบัติงานตามนโยบายและ
แนวทางการกำกับดูแลทด่ี ีแก่ผถู้ ือหุ้นภาครฐั และมีการรายงานผลการปฏบิ ัติงานดา้ นการรายงาน
ผลการปฏิบัติงานตามนโยบายและแนวทางการกำกับดูแลที่ดีแก่ผู้ถือหุ้นภาครัฐอย่างเป็นระบบ
ครอบคลุมประเด็นสำคัญ 3 เรื่อง ได้แก่ 1) การรายงานผลการดำเนินงานด้านการเงินและไม่ใช่
การเงิน 2) การรายงานการปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแลที่ดีตามมาตรฐานสากล และ
3) การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คับท่ีเก่ียวขอ้ งกับกจิ การ
อย่างไรก็ตาม กปภ. ควรมีการประเมินคุณภาพการรายงานผล และ/หรือประสิทธิผลของ
กระบวนการรายงานการปฏบิ ตั งิ านตามนโยบายและแนวปฏบิ ัตทิ ีก่ ำหนด

สรปุ ประเดน็ สำคัญ 2. บทบาทของรัฐวิสาหกจิ เพ่ือการตลาดที่เป็นธรรม : อยทู่ ่รี ะดับ 2.8750

กปภ. มีการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติด้านการแข่งขันทางการตลาดที่เป็นธรรมอย่าง
ครบถ้วนตามประเด็นสำคัญ ได้แก่ 1) แนวปฏิบัติในการรับผิดชอบต่อคู่แข่งและเจ้าหน้ี
2) การส่งเสริมการแข่งขันที่เป็นธรรม โดยต่อต้านการผูกขาดและการเลือกปฏิบัติทางการค้า
3) การบริหารจัดการทางการเงินตามเงื่อนไขตลาดที่ครอบคลุม แนวทางการเข้าถึงและจัดหา
เงินทุนอย่างโปร่งใสและเป็นธรรมการจัดทำบัญชีการเงินตามมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ และ

CG - 3

ผลการดำเนนิ งานด้าน Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปบี ัญชี 2564

การแยกบัญชีการเงินเชิงพาณิชย์และเชิงสังคม 4) การกำหนดช่องทางรับข้อร้องเรียนและ
การชดเชย กรณีคู่แข่งและเจ้าหนี้ถูกละเมิดสิทธิตามกฎหมาย 5) การต่อต้านการทุจริตและ
รับสินบนที่จะนำไปสู่การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางการตลาด 6) การจัดซื้อจัดจ้างท่ี
เป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติกับกลุ่มคู่ค้าและผู้ส่งมอบ โดยมีการกำหนดผู้รับผิดชอบในการนำ
นโยบาย แนวปฏบิ ัติ รวมถงึ แนวทางการบริหารจัดการเพ่ือเสรมิ สร้างให้องค์กรเกดิ การแข่งขนั ทาง
การตลาดที่เป็นธรรมไปใช้จริงในทางปฏิบัติ แต่ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามประเด็นสำคัญ
โดยยงั ขาดในประเด็นแนวปฏบิ ตั ิในการรับผดิ ชอบต่อคแู่ ข่ง
อย่างไรก็ตาม กปภ. ควรมีการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบ
การบรหิ ารจดั การเพ่ือการแขง่ ขนั ทางการตลาดทีเ่ ป็นธรรม

สรปุ ประเดน็ สำคัญ 3. สิทธแิ ละความเทา่ เทียมกันของผู้ถือหนุ้ : อยทู่ ีร่ ะดับ 3.0000
สรุปประเด็นสำคญั
กปภ. มีการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติการบริหารจัดการสิทธิของผู้ถือหุ้นทั้งตามกฎหมาย
และ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องที่มีสาระสำคัญครบถ้วนตามประเด็นสำคัญ ได้แก่ 1) นโยบาย
การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน 2) นโยบายการป้องกันการเกิดรายการเกี่ยวโยง 3) นโยบาย
การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและนำนโยบายการป้องกัน
การใช้ข้อมูลภายใน นโยบายการป้องกันการเกิดรายการเกี่ยวโยง และนโยบายการป้องกัน
ความขดั แยง้ ทางผลประโยชนไ์ ปใชจ้ ริงในทางปฏบิ ัติไดอ้ ยา่ งชดั เจน
อย่างไรก็ตาม กปภ. ควรมีการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบ
การบริหารสิทธิของผู้ถือหุ้นทั้งตามกฎหมาย และข้อบังคับอื่นที่เกี่ยวข้องตามกรอบนโยบายฯ
ทกี่ ำหนด

4. บทบาทของผูม้ ีสว่ นได้เสีย : อยทู่ ่รี ะดบั 2.9375

กปภ. มีการกำหนดนโยบายและคู่มือการปฏิบัติงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและ
สิ่งแวดล้อมในกระบวนการทำงาน (Corporate Social Responsibility in Process: CSR in
Process) ที่มีองค์ประกอบและสาระสำคัญสอดคล้องตามหลักการหรือมาตรฐาน ISO 26000
และมกี ารจดั ทำแผนแม่บทระยะยาวและแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีทีม่ ีองค์ประกอบสำคัญของแผน
ทชี่ ัดเจนและครบถ้วน (ได้แก่ ทิศทางระยะยาว ผลผลิต (Output) ผลลพั ธ์ (Outcome) เป้าหมาย
หลัก ความเชื่อมโยงและสอดคล้องระหว่างวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายระยะยาว)
โดยคณะกรรมการ กปภ. พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนแม่บทระยะยาวและแผนปฏิบัติการ
ประจำปีด้านการแสดงความรับผิดชอบตอ่ สังคมและส่ิงแวดล้อมได้ก่อนเริ่มปีบัญชี (เห็นชอบเมื่อ
วันที่ 18 สิงหาคม 2563) โดย กปภ. สามารถดำเนินการได้ตามแผนปฏิบัติการประจำปี
ด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ครบถ้วนร้อยละ 100 และบรรลุตาม
เป้าหมายของแผนปฏิบัติการประจำปีด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่
กำหนด ร้อยละ 100 และมีการติดตามผลการดำเนินงานดา้ นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

CG - 4

ผลการดำเนนิ งานด้าน Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปีบญั ชี 2564

และสิ่งแวดลอ้ ม และสามารถตดิ ตาม รายงานผลการดำเนนิ งานด้านการแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อ
สงั คมและสิ่งแวดล้อมไดอ้ ย่างสม่ำเสมอ โดยมีความถ่ใี นการติดตามและรายงานผลการดำเนนิ งาน
อย่างนอ้ ยเป็นรายไตรมาส (มีการรายงานครบทกุ ไตรมาส)
กปภ. มกี ารกำหนดแนวทางการเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งของชุมชนสำคัญตามความสามารถพิเศษ
ขององค์กรที่เป็นระบบ ผ่านการวิเคราะห์และกำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกชุมชนสำคัญ และ
ระบุรายชื่อชุมชนสำคัญจากหลักเกณฑ์ทีก่ ำหนด กปภ. มีการจัดทำแผนเสริมสร้างความเข้มแขง็
แก่ชุมชนสำคัญ และดำเนินการผ่านการจัดกิจกรรมการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชมุ ชนสำคัญ
อย่างไรก็ตาม กปภ. ควรมีการประเมนิ คุณภาพ และ/หรือประสิทธผิ ลของกระบวนการ/ระบบการ
แสดงความรับผิดชอบตอ่ สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม กระบวนการ/ระบบการติดตามผลการดำเนนิ งาน
ด้านการแสดงความรับผดิ ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดลอ้ ม นอกจากนี้ กปภ. ไม่สามารถดำเนินการ
ได้ตามแผนเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนสำคัญครบถ้วน เนื่องจากมีการยกเลิกบางโครงการ
และในบางกิจกรรมไม่สามารถจัดได้ เช่น การอบรม เป็นต้น นอกจากนี้ ควรมีการปรับปรุง
นโยบาย แนวปฏิบัติ และ/หรือกระบวนการปฏบิ ตั ิงานฯ ในระดับขั้นตอน/องค์ประกอบย่อยหรือ
ระบบงานโดยรวม โดยใช้ผลประเมินกระบวนการฯ ที่ผ่านมาเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการ
พฒั นาได้อยา่ งเป็นรูปธรรม

สรปุ ประเด็นสำคัญ 5. การเปดิ เผยข้อมูล : อยทู่ ่ีระดบั 4.6000

กปภ. มีการเปิดเผยข้อมูลในรายงานประจำปี ทั้งด้านการเงิน และไม่ใช่การเงิน ครบถ้วน 14

ประเด็น ประกอบดว้ ย ด้านการเงิน ไดแ้ ก่ 1) งบการเงิน ได้แก่ งบดลุ งบกำไรขาดทุน งบกระแส

เงินสด และหมายเหตุประกอบงบการเงิน และการแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชี

2) คณะกรรมการฐวิสาหกิจหรือคณะกรรมการตรวจสอบอธิบายถึงความรับผิดชอบของตน

ในการจัดทำรายงานทางการเงิน ด้านที่ไม่ใช่การเงิน ได้แก่ 1) โครงสร้างของกลุ่มธุรกิจ/โครงสร้าง

ผู้ถือหุ้นเพื่อสะท้อนผู้มีอำนาจควบคุมท่ีแท้จริง 2) ประวัติของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ 3) ข้อมูล

ประวัติผู้บริหาร 4) การอธิบายเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน

การเปลย่ี นแปลงท่ีสำคัญ รวมท้งั ปัจจัยท่ีเปน็ สาเหตหุ รือมผี ลตอ่ ฐานะการเงนิ และผลการดำเนินงาน

5) งบการเงินที่ได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชี 6) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ/

คณะกรรมการตรวจสอบต่อรายงานทางการเงิน 7) ความเสี่ยงหลักของการดำเนินธุรกิจ

8) นโยบายและการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ 9) นโนบายและการจ่ายค่าตอบแทนของผู้บริหาร

ระดับสูง 10) จำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ เป็นรายบุคคล

11) การดำเนินงานด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี 12) การดำเนินงานด้านการแสดง

ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมและสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากลอยา่ งน้อยไดแ้ ก่ มาตรฐาน ISO 26000

13) นโยบายและผลการจัดการรายการทเี่ ก่ียวโยงกนั 14) สภาพธุรกิจ แผนงานทางธุรกิจและ

กลยุทธ์ และดำเนินการเผยแพร่รายงานประจำปีภายใน 2 เดอื น หลังจาก สตง. รับรองงบการเงนิ

CG - 5

ผลการดำเนนิ งานด้าน Core Business Enablers
ของการประปาส่วนภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปีบญั ชี 2564

(สตง. รับรองงบ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 และเผยแพร่รายงานประจำปี 2563
วันที่ 18 พฤษภาคม 2564) นอกจากนี้ กปภ. มีการเปิดเผยข้อมูลผ่าน Website ทั้งด้านการเงิน
และมิใช่การเงินที่สำคัญขององค์กร ครบถ้วน 8 ประเด็น ประกอบด้วย 1) การแถลงทิศทาง
นโยบายขององค์กรโดยผู้บริหารสูงสุด 2) นโยบายการกำกับดูแลที่ดี 3) การดำเนินงาน
ตามนโยบายรัฐ 4) แผนงานที่สำคัญ 5) ข้อมูลโครงการลงทุนที่สำคัญ 6) การจัดซื้อจัดจ้าง
7) ผลการดำเนินงานทัง้ การเงนิ และไม่ใช่การเงินท่ีสำคัญ 8) รายงานประจำปี
อย่างไรก็ตาม กปภ. ควรมีการประเมินและปรับปรุงกระบวนการเปิดเผยข้อมูลของรัฐวิสาหกิจ
รวมถึงกระบวนการ/ระบบการเปดิ เผยขอ้ มูล

สรุปประเดน็ สำคัญ 6. คณะกรรมการ : อยทู่ ่รี ะดับ 3.2333

กปภ. มีการกำหนดแนวทางการนำ Skill Matrix มาใช้เพื่อกำหนดทักษะ ความรู้ความสามารถ

และองคป์ ระกอบของคณะกรรมการ รวมถึงใช้ประกอบการพัฒนาคณะกรรมการอย่างเป็นระบบ

นอกจากนี้ ยังนำมาใช้คัดเลือกและพัฒนากรรมการรัฐวิสาหกิจเป็นรายบุคคล เพื่อให้มีทักษะ

ความรู้ความสามารถที่เหมาะสมและครบถ้วน โดยกำหนดเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายและแนว

ทางการสรรหากรรมการจากบัญชรี ายช่ือของสำนกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกิจ (สคร.)

กระทรวงการคลัง และดำเนินการสรรหากรรมการจากบัญชีรายชื่อของ สคร. กระทรวงการคลงั

โดยมีสดั สว่ นกรรมการสอดคล้องตามนโยบายทกี่ ำหนดครบถว้ นสมบูรณ์

กปภ. มีการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกอย่างครบถ้วน เพื่อนำเสนอแก่คณะกรรมการ

กปภ. ใช้ประกอบการพิจารณากำหนดทิศทาง กลยุทธ์ และจัดทำแผนยุทธศาสตรร์ ะยะยาว และ

แผนปฏิบัติการประจำปี มีการจัดทำและดำเนนิ การตามปฏิทินกำหนดการจัดทำแผนยทุ ธศาสตร์

ระยะยาวและแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี โดยคณะกรรมการ กปภ. ให้ความเหน็ ชอบแผนยุทธศาสตร์

ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปี แผนการตรวจสอบภายใน แผนการบริหารจัดการ

สารสนเทศและดิจิทัล และแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลได้ก่อนเริ่มปีบัญชี (แผนยุทธศาสตร์

ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปี เห็นชอบเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2564 แผนตรวจสอบ

ภายใน เห็นชอบเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2563 แผนการบริหารจัดการสารสนเทศและดิจิทัล

และแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล เห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2563 ) และมีส่วนร่วมใน

การติดตามความเพียงพอของระบบตรวจสอบภายใน ระบบบริหารจัดการสารสนเทศและดิจิทลั

และระบบบริหารทรัพยากรบุคคล โดยมีความถี่เป็นรายไตรมาส รวมถึงมีการมอบข้อสังเกตและ

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม พร้อมติดตามผลสำเร็จของการดำเนินงานตามข้อสังเกตเพื่อปรับปรุงและ

เพมิ่ มาตรฐานและความเพยี งพอของระบบงานทงั้ 3 ระบบ

คณะกรรมการ กปภ. จัดให้มีการประเมินผู้บริหารสูงสุดและผู้บริหารระดับสูง โดยมีหลักเกณฑ์

ที่ชัดเจนและเชื่อมโยงกับทิศทางยุทธศาสตร์และเป้าหมายการดำเนินงานขององค์กรอย่าง

เป็นรูปธรรม และนำไปผกู โยงกับการกำหนดคา่ ตอบแทนหรือแรงจูงใจครบถ้วนท้ังระดับผู้บริหาร

สงู สุดและผ้บู รหิ ารระดบั สงู

CG - 6

ผลการดำเนนิ งานด้าน Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปีบัญชี 2564

กปภ. มีการจัดทำแผนปฏิทินกำหนดการประชุมของคณะกรรมการอย่างนอ้ ยเปน็ รายเดอื น (ทุกวัน
อังคารระหว่างวันที่ 20-27 ของเดือน) และแจ้งแก่คณะกรรมการทราบล่วงหน้า เพื่อให้
คณะกรรมการใช้เป็นแนวทางเข้าร่วมประชุมอย่างครบถ้วนและสม่ำเสมอ โดยในปี 2564
คณะกรรมการ กปภ. ให้ความสำคัญและเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
ต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วนและสม่ำเสมอทั้งปี โดยมีคณะกรรมการ/
คณะอนกุ รรมการเข้าร่วมประชุมรอ้ ยละ 80 ขึ้นไปของจำนวนกรรมการ/อนุกรรมการทั้งหมด
กปภ. มีการจัดทำนโยบาย คู่มือการกำกับดูแลที่ดี และมีการจัดทำแผนการดำเนินงานด้านการ
กำกับดูแลที่ดีระยะยาวและประจำปี ที่มีสาระสำคัญ/กรอบการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานทเี่ ป็นที่ยอมรับโดยทว่ั ไป โดยคณะกรรมการ กปภ. ให้ความเหน็ ชอบแผนการดำเนนิ งาน
ระยะยาวและประจำปไี ด้กอ่ นเรม่ิ ปีบัญชี (เห็นชอบเมื่อวนั ที่ 18 สิงหาคม 2562) และมกี ารแตง่ ตั้ง
หน่วยงานด้าน Compliance ที่มีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบสอดส่องดูแลและกำกับ
การปฏิบัติงานของ กปภ. ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐาน
การปฏิบัตงิ านท่เี กีย่ วข้องทเี่ ปน็ ทย่ี อมรับโดยทว่ั ไป
คณะกรรมการ กปภ. จัดให้มีการประเมินตนเองของคณะกรรมการอย่างเป็นระบบ
โดยมกี ารกำหนดรปู แบบการประเมนิ ทง้ั รายบุคคล รายคณะ และรายไขว้ โดยมีความถี่ 1 คร้ัง/ปี
และมีส่วนร่วมพิจารณาและอภิปรายผลประเมินตนเองในที่ประชุมคณะกรรมการ พร้อมทั้งระบุ
ประเดน็ การปรบั ปรุงและ/หรอื เพิ่มประสิทธิภาพการกำกบั ดูแลของคณะกรรมการ
กปภ. ได้จัดเตรียมความพร้อมเพื่อให้กรรมการใหม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มศักยภาพ
โดยจัดให้มีการแจกคู่มือและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับองค์กร การชี้แจงหรือบรรยาย โดยผู้บริหาร
ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ หรือจัดให้มีการอบรม สัมมนา ปฐมนิเทศ และเยี่ยมชมการปฏิบัติงานจรงิ
ขององคก์ ร เปน็ ตน้
แม้ว่า ในปี 2564 กปภ. จะมีการจัดทำปฏิทินกำหนดการประชุมของคณะกรรมการอย่างน้อย
เป็นรายเดือน และมีการจัดส่งวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้าก่อน
วันประชุมอย่างน้อย 7 วัน (ดำเนินการได้ 7.2 วัน) อย่างไรก็ตาม กปภ. ไม่สามารถจัดให้
มีการประชุมได้ตามปฏิทนิ ท่ีกำหนด โดยไม่สามารถประชุมไดร้ ะหว่างเดอื น พฤศจิกายน 2563 –
กุมภาพันธ์ 2564 เนื่องจากคณะกรรมการ กปภ. ไม่ครบองค์ประกอบ (ประธานกรรมการ
ลาออก) รวมถึงมี 1 ครงั้ ท่ี กปภ. นำส่งเอกสารล่วงหน้านอ้ ยกวา่ 3 วนั (จัดส่งลว่ งหน้า 1 วนั )
กปภ. ควรมีการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบการนำ Skill
Matrix มาใช้คัดเลือกและพัฒนาคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ กระบวนการ/ระบบการสรรหา
กรรมการจากบัญชีรายชื่อของ สคร. กระทรวงการคลัง กระบวนการ/ระบบการกำหนดทิศทาง
กลยุทธ์และจัดให้มีแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว และแผนปฏบิ ัติการประจำปี และปรบั ปรุงนโยบาย
แนวปฏบิ ัติ และ/หรือกระบวนการปฏิบตั ิงานฯ ในระดับข้ันตอน/องค์ประกอบย่อยหรือระบบงาน
โดยรวม โดยใช้ผลประเมินกระบวนการฯ ที่ผ่านมาเปน็ ข้อมลู พื้นฐานประกอบการพัฒนาไดอ้ ยา่ ง
เป็นรปู ธรรม

CG - 7

ผลการดำเนนิ งานดา้ น Core Business Enablers
ของการประปาส่วนภมู ิภาค (กปภ.) ประจำปบี ญั ชี 2564

นอกจากนี้ ควรมีการปรับปรุงระยะเวลาและกระบวนการให้ความเห็นชอบแผนการดำเนินงาน
ประจำปีของระบบบริหารจัดการองค์กร ในระดับขั้นตอน/องค์ประกอบย่อยหรือระบบงาน
โดยรวม โดยใช้ผลประเมินกระบวนการฯ ที่ผ่านมาเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนาได้อย่างเป็น
รูปธรรม รวมถึงควรมีการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการติดตาม
ความเพียงพอของระบบบริหารจัดการองค์กร กระบวนการประเมินผลงานและกำหนด
คา่ ตอบแทนของผูบ้ รหิ ารสูงสดุ และผบู้ ริหารระดบั สงู กระบวนการประชุมของคณะกรรมการ และ
ปรับปรุงนโยบาย แนวปฏิบัติ และ/หรือกระบวนการปฏิบัติงานในระดับ ขั้นตอน/องค์ประกอบ
ย่อยหรือระบบงานโดยรวม โดยใช้ผลประเมินกระบวนการที่ผ่านมาเป็นข้อมูลพื้นฐาน
ประกอบการพฒั นาได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม
กปภ. มีการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐานการปฏิบตั งิ านที่เกี่ยวข้อง
อย่างไรก็ตาม ในปี 2564 กปภ. ได้รับแจ้งผลการตรวจสอบกรณีพิเศษจาก สตง. และ ปปช.
โดยปัจจบุ ันเรือ่ งยงั อยู่ระหวา่ งการพิจารณา
กปภ. มีการจัดทำแผนเพิ่มประสิทธิภาพการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการแบบรายคณะ
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพฯ จนบรรลุได้
ตามเปา้ หมายของแผนงานที่กำหนด

สรุปประเดน็ สำคัญ 7. การบริหารความเสยี่ งและการควบคมุ ภายใน : อยทู่ ี่ระดบั 2.5000

คณะกรรมการ กปภ. จัดให้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการด้านการบริหารความเสี่ยงและการ

ควบคุมภายในที่มีกรรมการเข้าร่วมอย่างเป็นทางการ โดยมีการจัดทำกฎบัตรของ

คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และ

นำเสนอให้คณะกรรมการ กปภ. เห็นชอบอย่างเป็นรูปธรรม (เห็นชอบ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน

2564) กปภ. มีการจัดทำแผนการดำเนินงานประจำปีของระบบบริหารความเสี่ยงและควบคุม

ภายใน โดยคณะกรรมการ กปภ. ให้ความเห็นชอบแผนการดำเนนิ งานประจำปีของระบบบริหาร

ความเสี่ยงและควบคุมภายในได้ก่อนเริ่มปีบัญชี (เห็นชอบเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2563)

และมีการดำเนนิ การตดิ ตามผลการบริหารความเสยี่ งและควบคุมภายในท้ังกรณปี กติและเมื่อเกิด

เหคกุ ารณ์พิเศษโดยมคี วามถ่อี ย่างน้อยเปน็ รายไตรมาส

อย่างไรก็ตาม กปภ. ควรมีการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบ

การจัดให้มีคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน กระบวนการ/ระบบ

การให้ความเห็นชอบแผน การดำเนินงานประจำปีของการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน

รวมถึง ควรมีการมอบข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะอย่างมีสาระสำคัญต่อผลการดำเนินงาน

ด้านการบรหิ ารความเสี่ยงขององค์กร

CG - 8

ผลการดำเนนิ งานดา้ น Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ิภาค (กปภ.) ประจำปีบัญชี 2564

สรปุ ประเดน็ สำคญั 8. จรรยาบรรณ : อยทู่ ่ีระดับ 3.0000
สรปุ ประเดน็ สำคญั
กปภ. มกี ารจัดทำคู่มอื จริยธรรมจรรยาบรรณท่ีครบถว้ นท้ังระดับคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนกั งาน
สรุปประเด็นสำคัญ ที่มีกรอบแนวทางการดำเนินงานตามแนวปฏิบัติที่ดที ี่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และดำเนินการเผยแพร่
คู่มือจริยธรรมจรรยาบรรณให้บุคลากรทุกระดับรับรู้และนำไปปฏบิ ัติ โดยระหว่างปีมีการจัดกิจกรรม
เสริมสร้างบรรยากาศและพฤติกรรมที่ดีตามคู่มือจริยธรรมจรรยาบรรณทั้งในระดับคณะกรรมการ
ผบู้ รหิ าร และพนกั งานอย่างสม่ำเสมอท้ังปี
อย่างไรก็ตาม กปภ. ควรมีการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบการจัด
ให้มีและเสรมิ สรา้ งพฤตกิ รรมตามคมู่ ือจรยิ ธรรมจรรยาบรรณในองค์กร

9. ความยัง่ ยืนและนวตั กรรม : อยทู่ ร่ี ะดับ 2.0000

กปภ. มีการจัดทำนโยบายและคู่มือการปฏิบัติงานเพื่อการบริหารจัดการนวัตกรรมอย่างเป็น

ลายลกั ษณอ์ ักษร

กปภ. มกี ารจัดทำนโยบายและคู่มือการปฏิบัติงานเพื่อการพฒั นาความยั่งยนื ของรัฐวสิ าหกิจอย่าง

เป็นลายลักษณอ์ ักษร โดยยึดกรอบการดำเนินงานทีส่ อดคล้องตามมาตรฐาน/แนวปฏิบัติที่เปน็ ที่

ยอมรับทั่วไป เช่น หลักการพัฒนาความยั่งยืนโดยยึดกรอบด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม

เป็นต้น และได้จัดรายงานการพัฒนาความยัง่ ยืนขององค์กรที่เป็นไปตามมาตรฐานสากลที่เป็นท่ี

ยอมรับโดยทัว่ ไป (เป็นไปตามหลักการ Global Reporting Initiative) เพื่อให้ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี

ทกุ กลุ่มสามารถตดิ ตามการพฒั นาความยั่งยนื ของรฐั วสิ าหกิจได้

แม้ว่า กปภ. จะจัดให้มีแผนบริหารจัดการนวัตกรรมระยะยาวและแผนปฏิบัติการประจำปี อย่างไร

ก็ตาม คณะกรรมการไม่สามารถให้ความเห็นชอบได้ทันก่อนเริ่มปีบัญชี (เห็นชอบ เมื่อวันที่ 30

มนี าคม 2564) นอกจากนี้ ยงั ไมช่ ัดเจนถงึ การนำปจั จยั ยั่งยืนไปเปน็ ปจั จยั นำเขา้ (input) สำหรับการ

จัดทำ/ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปีอย่างเป็นระบบในเชิงบูรณา

การ กปภ. ควรมีการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบการจัดทำ

รายงานการพัฒนาความยัง่ ยนื

10. การตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน : อยทู่ ่ีระดับ 3.2500

กปภ. มีการกำหนดแนวทางการติดตามผลการดำเนินงานด้านการเงนิ และไมใ่ ช่การเงิน อยา่ งเป็น

ระบบ และมีการติดตามผลการดำเนินงานด้านการเงินและไม่ใช่การเงินตามภารกิจหลัก

ของ กปภ. อยา่ งครบถว้ น สม่ำเสมอ (ตดิ ตามทกุ เดือน) และมกี ารมอบข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะ

อีกทง้ั ยังมีการติดตามการดำเนินงานตามขอ้ สงั เกตของคณะกรรมการในแต่ละครง้ั ของการประชุม

คณะกรรมการ โดยมีการกำหนดให้เป็นวาระประจำของการประชุมทุกครั้งเป็นการติดตามผล

การดำเนินงานตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ กปภ. มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

ด้านการเงินและด้านไม่ใช่การเงิน นำเสนอคณะกรรมการ กปภ. โดยมีรายละเอียดครอบคลุม

CG - 9

ผลการดำเนนิ งานดา้ น Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ิภาค (กปภ.) ประจำปบี ัญชี 2564
3 ประเด็น ได้แก่ 1) สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงหรือแสดงผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับ
เป้าหมาย 2) ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน3) แนวทางในการแก้ไขปัญหา/อุปสรรคในการ
ดำเนินงาน
กปภ. ควรมีการประเมินคุณภาพ และ/หรือประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบการติดตาม
ผลการดำเนินงานด้านการเงินและไม่ใช่การเงิน และของกระบวนการ/ระบบการจัดทำรายงาน
ผลการดำเนินงานดา้ นการเงินและไมใ่ ช่การเงนิ อยา่ งเป็นรปู ธรรม

CG - 10

ผลการดำเนนิ งานด้าน Core Business Enablers
ของการประปาสว่ นภมู ิภาค (กปภ.) ประจำปบี ญั ชี 2564

กราฟสรปุ ผลการประเมนิ ผลการดำเนินงานของการประปาสว่ นภูมภิ าค (กปภ.) อยู่ท่รี ะดับคะแนน
ด้าน Core Business Enablers 3.0312
หัวข้อ “การกำกับดูแลท่ีดีและการนำองค์กร”

1.บทบาทของภาครฐั 2.บทบาทของรัฐวสิ าหกจิ เพอื่
การตลาดทีเ่ ปน็ ธรรม
5

10.การตดิ ตามผลการดาเนินงาน 4

3.2500 3.0000

3

9.ความย่ังยนื และนวัตกรรม 2.0000 2 2.8750 3.สิทธิและความเทา่ เทียมกนั ของผู้
1 3.0000 ถือหุ้น

0

8.จรรยาบรรณ 3.0000 2.9375 4.บทบาทของผู้มสี ว่ นไดเ้ สีย

2.5000 4.6000

7.การบรหิ ารความเสย่ี งและการ 3.2333 5.การเปดิ เผยข้อมูล
ควบคมุ ภายใน
6.คณะกรรมการ

CG - 11

ผลการดำเนนิ งานด้าน Core Business Enablers
ของการประปาส่วนภมู ภิ าค (กปภ.) ประจำปบี ญั ชี 2564

สรุปขอ้ เสนอแนะด้านการกำกับดูแลทีด่ แี ละการนำองค์กร

1. แม้ว่าในปี 2564 จะมีปัจจัยภายนอก เช่น สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 (Covid-19)
ส่งผลกระทบทำให้ กปภ. ไม่สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมบางประเภท เช่น การจัดอบรม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม กปภ.
ควรมีแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อรองรับสถานการณ์เพื่อให้องค์กรสามารถดำเนินการตามได้บรรลุเป้าหมายตามแผนท่ี
กำหนดไว้

2. กปภ. ควรมีการดำเนินการควบคุม ติดตาม ดูแลและกำกับการปฏิบัติงานของ กปภ. ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ
ขอ้ บงั คับ และมาตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหเ้ กดิ ข้อร้องเรยี นจากหนว่ ยงานภายนอกทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

3. คณะกรรมการ กปภ. มกี ารติดตามผลการดำเนินงานท้ังด้านการเงนิ ไม่ใชก่ ารเงนิ รวมถงึ ผลการดำเนินงานตามระบบรหิ าร
จัดการองค์กรที่สำคัญ ได้แก่ การตรวจสอบภายใน การบริหารจัดการสารสนเทศและดิจิทัล การบริหารทรัพยากรบุคคล
รวมถึงการบริหารความเสี่ยงขององค์กรอย่างสม่ำเสมอ อย่างไรก็ตาม ควรมีการให้ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ
อย่างมีนัยสำคัญ เพื่อผลักดันให้องค์กรดำเนินงานได้บรรลุเป้าหมายตามแผน รวมถึงสามารถนำไปใช้พัฒนารัฐวิสาหกิจ
ตอ่ ไปได้

4. คณะกรรมการ กปภ. ควรเร่งดำเนินการผลักดัน ติดตาม ให้องค์กรสามารถพัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
องค์กรอย่างเป็นระบบ โดยการกำหนดนโยบาย กำกับ ติดตาม และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อให้รัฐวิสาหกิจมีแนวทาง
ในการดำเนินงานอย่างยัง่ ยนื

5. กปภ. ควรให้ความสำคัญกับการกำหนดแนวทางในการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามคู่มือจริยธรรมจรรยาบรรณ
(Code of Conduct) อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรมีพฤติกรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับ
Code of Conduct รวมทั้งควรมีการสำรวจการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมภายหลังจากเผยแพร่คู่มือจริยธรรมจรรยาบรรณ
และจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านจริยธรรม เพื่อให้รัฐวิสาหกิจนำผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ปรับปรุงกิจกรรมให้บุคลากรมี พฤติกรรม
ด้านจริยธรรมทด่ี ี

6. กปภ. ควรมีการประเมินคณุ ภาพ และ/หรอื ประสทิ ธผิ ลของกระบวนการต่างๆ และ/หรือกระบวนการปฏิบัติงาน ในระดับ
ขั้นตอน/องค์ประกอบย่อยหรือระบบงานโดยรวม โดยใช้ผลประเมินกระบวนการที่ผ่านมาเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบ
การพัฒนาไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม

CG - 12




























Click to View FlipBook Version