The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Piyanat NiiNe Moenwong, 2021-09-13 01:11:30

การบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง

การบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีส่วนร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม
จังหวดั พัทลงุ 2

The Garbage Manegement on Participatory
of Bankohthongsom Community, Phatthalung Province

โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม
Bankohthongsom School

สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

(1)

ชื่อวจิ ัย : การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม
จงั หวัดพทั ลุง

ผวู้ จิ ัย : โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม
สงั กัด : สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
ปี : 2564

บทคัดยอ่

การศึกษา เร่ือง การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทอง
สม 2) เพ่ือศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง และ 3) เพ่ือเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้าน
เกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามตัวแปรเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการ
วิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้วิจัยเป็นประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสม จานวน 1,803 คน กลุ่ม
ตวั อยา่ ง กาหนดจากตารางของเครจซ่ีและมอร์แกน จานวน 317 คน เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวม
ข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน และการทดสอบคา่ ที

ผลการวิจัยพบว่า
1) ระดับปัญหาของขยะมูลฝอย โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า
ขาดความสม่าเสมอในการเก็บขนขยะของเทศบาลซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย
รองลงมาคือ ภาชนะรองรับขยะมูลฝอยไม่เพียงพอ อยู่ในระดับน้อย และค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด คือ
ค่าธรรมเนยี มในการจดั การขยะมูลฝอย อย่ใู นระดับน้อย 2) ระดับการมีส่วนรว่ มในการบริหารจัดการ
ขยะมูลฝอยตามความคิดเห็นของประชาชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เรียงลาดับค่าเฉล่ีย
จากมากไปหานอ้ ยได้ดงั นี้ ไดแ้ ก่ ด้านการมสี ่วนร่วมในการปฏบิ ัติอยใู่ นระดับมาก รองลงมาด้านการมี
สว่ นรว่ มในการวางแผน อยู่ในระดับมาก ดา้ นการมีส่วนร่วมในการคิด อยู่ในระดบั ปานกลาง และดา้ น
การมีส่วนร่วมในติดตามและประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง ตามลาดับ และ 3) ประชาชนในชุมชน
บ้านเกาะทองสมที่มีอายุ ระดับการศึกษา และอาชีพที่ต่างกันจะมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบ
มีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลงุ แตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคัญทาง
สถิตทิ ี่ .05

คาสาคัญ : การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ ม

การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

(2)

Research Title : The Garbage Manegement on Participatory

of Bankohthongsom Community, Phatthalung

Province.

Researcher : Bankohthongsom School

Affiliation : Phatthalung. Primary Educational Service Area

Office 2

Year : 2564

Abstract
The study of The garbage manegement on participatory of Bankohthongsom
Community, Phatthalung Province This study aims 1) to study the problem level of garbage
of Bankohthongsom Community, Phatthalung Province. 2) to study the of participation
in garbage manegement of Bankohthongsom Community, Phatthalung Province. and 3)
to compare the garbage manegement on participatory Bankohthongsom Community,
Phatthalung Province according to the variable gender, age , education Level and
occupation. The study is quantitative. The population use in this research were people
in Bankohthongsom Community, Phatthalung Province of 1,803 people. The sample
size was obtained using Krejcie and Morgan’s table of 317 people. Quesionnaires were
used as research tool for data collection.The data were analyzed by content analysis
and the statistics of percentage, mean, standard deviation, T-test and F–test.
The research results revealed that :
1) the problem level of garbage Overall, it was at a low level. When
considering each item, it was found that there was a lack of uniformity in the municipal
garbage collection, which had the highest average. at a low level The second average
is Insufficient storage containers for garbage at a low level and the lowest average is
the garbage management fee. 2) The level of participation in garbage management
according to public opinion Overall, it was at a moderate level. The averages were
arranged in descending order as follows: The aspect of participation in practice was at
a high level. followed by participation in planning at a high level Participation in
thinking moderate and participation in monitoring and evaluation was at a moderate
level, respectively; and 3) People in kohthongsom community with age education level
and occupation are different will have a garbage manegement on participatory of
Bankohthongsom Community, Phatthalung Province, found that the difference was
statistically significant at .05.

Keyword : The garbage manegement on participatory

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

(3)

กติ ตกิ รรมประกาศ

งานวิจัยฉบับน้ีสาเรจ็ สมบรู ณด์ ้วยความกรุณาจากสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา
พัทลุง เขต 2 โดยนายณรงค์ ศรีละมุล ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง
เขต 2 รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 คณะศึกษานิเทศก์
และนายศุภเกียรติ หมื่นวงศ์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเกาะทองสม ที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนา
ช่วยเหลือ และตรวจแก้ไขข้อบกพร่องของงานวิจัย ผู้ศึกษาด้วยความเอาใจใส่อย่างดีย่ิง จึงใคร่
ขอขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสนี้

ขอขอบพระคณุ ผู้เช่ยี วชาญทุกท่าน ที่เสียสละเวลาใหค้ าปรกึ ษาช้แี นะในการจดั ทาเครื่องมือ
ในท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เพื่อการวจิ ัยในครัง้ นี้

ขอขอบพระคุณ ผู้นาท้องถ่ิน ผู้ใหญ่บ้าน คณะครูและบุคลากร ท่ีให้ความร่วมมือในการ
ทดลองใช้เครอ่ื งมอื และให้ข้อมูลเพ่อื การศึกษาวจิ ยั ในครั้งน้ี ขอขอบพระคณุ ไว้ ณ โอกาสนี้

โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม

(4)

สารบัญ

หน้า
บทคดั ย่อภาษาไทย ..................................................................................................................... (1)
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ................................................................................................................ (2)
กิตตกิ รรมประกาศ ...................................................................................................................... (3)
สารบัญ......................................................................................................................................... (4)
สารบัญตาราง............................................................................................................................... (5)
สารบัญภาพ ................................................................................................................................. (7)
บทท่ี
1 บทนา .................................................................................................................................... 1

ความเปน็ มาของปัญหา................................................................................................... 1
คาถามวิจัย...................................................................................................................... 3
วัตถุประสงค์ ................................................................................................................... 3
สมมตฐิ าน ...................................................................................................................... 3
ประโยชน์ของการวิจัย..................................................................................................... 3
ขอบเขตของการวิจยั ....................................................................................................... 4
นิยามศัพทเ์ ฉพาะ............................................................................................................ 5
2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกยี่ วข้อง................................................................................. 7
แนวคิดเกี่ยวกับสงิ่ แวดล้อมและสถานการณ์สง่ิ แวดลอ้ มของประเทศไทย........................ 8
แนวคิดเกีย่ วกับขยะมลู ฝอย ............................................................................................ 16
แนวคิดเก่ยี วกับการบรหิ ารแบบมสี ว่ นร่วม ...................................................................... 33
ข้อมลู ทว่ั ไปชุมชนบ้านเกาะทองสม ................................................................................. 63
งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ......................................................................................................... 73
กรอบแนวคิดทใี่ ช้ในการวจิ ยั ........................................................................................... 81
3 วธิ ีดาเนินการวจิ ัย .................................................................................................................. 82
ประชากร กลุ่มตวั อย่าง วธิ ีการสมุ่ ตัวอย่าง...................................................................... 82
เครอ่ื งมือในการวจิ ัยและการตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ................................................ 83
การเก็บรวบรวมข้อมลู .................................................................................................... 84
การวเิ คราะห์ข้อมูล ......................................................................................................... 85
สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล........................................................................................ 86

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

(5)

สารบัญ (ต่อ)

หน้า
บทที่
4 ผลการวิจัย ........................................................................................................................... 88

ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลทว่ั ไป ............................................................................. 88
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาระดบั ปัญหาของขยะมลู ฝอยของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม.............. 89
ตอนที่ 3 ผลการศกึ ษาระดบั การมสี ว่ นร่วมในการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยในชุมชน ..... 90
ตอนที่ 4 ผลการเปรยี บเทยี บการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีส่วนร่วมของชมุ ชนบ้าน

เกาะทองสมจังหวัดพทั ลงุ จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษาและอาชพี ... 94
5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ...................................................................................... 100

สรุปผลการวจิ ัย............................................................................................................... 101
อภปิ รายผล ................................................................................................................... 103
ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................................... 108
บรรณานกุ รม................................................................................................................................ 110
ภาคผนวก ................................................................................................................................ 116
คณะผวู้ จิ ยั ................................................................................................................................ 134

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

(6)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา้

1 การสังเคราะหอ์ งค์ประกอบของการบรหิ ารแบบมสี ว่ นร่วม.................................................... 43

2 จานวนประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จังหวดั พัทลุง ............................... 83

3 ข้อมลู ทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ...................................................................................... 88

4 ระดบั ปญั หาของขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพทั ลุง.................................. 89

5 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดบั การมสี ว่ นร่วมในการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยของ

ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพทั ลงุ ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมสี ว่ นรว่ ม

ในการคิด.............................................................................................................................. 90

6 ค่าเฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับการมีส่วนรว่ มในการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยของ

ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วม

ในการวางแผน ..................................................................................................................... 91

7 ค่าเฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดับการมีสว่ นร่วมในการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยของ

ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพัทลุง ตามความคิดเหน็ ของประชาชน ด้านการมีส่วนรว่ ม

ในการปฏบิ ัติ ........................................................................................................................ 92

8 คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับการมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยของ

ชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมสี ว่ นรว่ ม

ในการตดิ ตามและประเมนิ ผล............................................................................................... 93

9 คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับการมีส่วนรว่ มในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ

ชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพทั ลงุ .................................................................................. 94

10 ผลการเปรียบเทยี บการบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ่วนร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม

จังหวดั พทั ลงุ จาแนกตามเพศ .............................................................................................. 95

11 จานวน คา่ เฉล่ยี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของ

ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง จาแนกตามอายุ ......................................................... 95

12 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนเพอ่ื เปรยี บเทียบการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีส่วนรว่ ม

ของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวดั พทั ลุง จาแนกตามอายุ................................................... 96

13 ผลความแตกต่างระหวา่ งค่าเฉลยี่ ของคะแนนการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ ม

ของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ จาแนกตามอายุ ทดสอบรายคู่ด้วยวธิ ี Scheffe ... 96

14 จานวน คา่ เฉลยี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของ

ชุมชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพัทลุง จาแนกตามระดบั การศึกษา ....................................... 97

15 ผลการวเิ คราะห์ความแปรปรวนเพ่อื เปรียบเทียบการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ ม

ของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จังหวดั พัทลงุ จาแนกตามระดับการศึกษา................................. 97

16 ผลความแตกตา่ งระหวา่ งค่าเฉลีย่ ของคะแนนการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของ

ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพทั ลงุ จาแนกตามระดบั การศึกษา ทดสอบรายคู่ด้วยวิธี

Scheffe............................................................................................................................... 98

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

(7)

สารบญั ตาราง (ตอ่ )

ตารางท่ี หน้า

17 จานวน ค่าเฉล่ยี ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของ

ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลงุ จาแนกตามอาชพี ...................................................... 98

18 ผลการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนเพอ่ื เปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ น

ร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จงั หวดั พัทลุง จาแนกตามอาชีพ.......................................... 99

16 ผลความแตกตา่ งระหวา่ งค่าเฉล่ียของคะแนนการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วม

ของชุมชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ จาแนกตามอาชีพ ทดสอบรายคดู่ ้วยวิธี Scheffe 99

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

(8)

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หนา้
1 ปรมิ าณขยะมลู ฝอยทีเ่ กิดขึน้ การนากลบั มาใชป้ ระโยชน์ การกาจัดถูกตอ้ งและไม่ถูกต้อง

ตง้ั แต่ป2ี 554 - 2563............................................................................................................ 16
2 กระบวรการวางแผนแบบมสี ่วนร่วม ..................................................................................... 49
3 กระบวนการประเมินผลแบบมสี ่วนร่วม ................................................................................. 56
4 ความสมั พันธ์ของการติดตามงาน การสรปุ บทเรยี นและการประเมนิ ผลแบบมสี ่วนร่วม ......... 57
5 การประเมนิ ผลกอ่ นดาเนินการ.............................................................................................. 58
6 กระบวนการติดตามประเมนิ ผลแบบมสี ่วนรว่ ม .................................................................... 59
7 แผนที่หม่ทู ่ี 1 ชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม.................................................................................... 64
8 แผนท่ีหม่ทู ี่ 10 ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม.................................................................................. 68
9 แผนท่ีหมูท่ ี่ 15 ชุมชนบ้านเกาะทองสม.................................................................................. 71
10 กรอบแนวคิดทใี่ ช้ในการวจิ ัย.................................................................................................. 81

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

บทท่ี 1

บทนา

ความเปน็ มาของปญั หา

ปัญหาขยะมูลฝอยนับวันจะทวีความรุนแรงมากข้ึน เน่ืองจากปริมาณคุณลักษณะขยะ
มลู ฝอยเปลีย่ นแปลงไปด้วยสาเหตตุ ่าง ๆ เช่น การเพม่ิ ข้ึนของจานวนประชากร พฤติกรรมการบริโภค
ที่ต้องการความสะดวกสบาย บรรจุภัณฑ์ท่ีใช้แล้วท้ิง เป็นต้น การจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลัก
วิชาการ ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรวม เช่น กลิ่นรบกวน และน้าเน่าเสีย จากอินทรียส์ ารใน
ขยะเกิดการเน่าเป่ือยเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค เป็นต้น หน่วยงานภาครัฐท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบต้อง
รับภาระในการจัดการขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้นด้วยวิธีที่แตกต่างกัน เช่น การฝังกลบ การใช้เตาเผาการ
กองท้ิงไว้กลางแจ้ง เป็นต้น แต่ละวิธีท่ีกล่าวถึง เป็นการแก้ปัญหาท่ีปลายเหตุและไม่ย่ังยืน เพราะมี
การใช้พื้นท่ีในการกาจัดและมีโอกาสในการก่อมลพิษเกิดข้ึนได้ ดังน้ันแนวทางที่ดีที่สุดสาหรับการ
แก้ปญั หาขยะมูลฝอย คือ การจดั การขยะมลู ฝอยท่ีมปี ระสิทธภิ าพ และแพร่หลายในหลายท้องถิ่น คอื
การจัดการขยะมูลฝอย ณ แหล่งกาเนิดต่าง ๆ เช่น ครัวเรือน โรงเรียน สถานประกอบการ ตลาดสด
เปน็ ต้น

จากสถานการณ์ในปัจจุบัน ปัญหาขยะมูลฝอย ถ้าหากไม่มีการกาจัดขยะมูลฝอยให้ถูกต้อง
และเหมาะสมแล้ว ปัญหาความสกปรกต่าง ๆ ที่เกิดจากขยะมูลฝอยจะต้องเกิดข้ึนอย่างแน่นอน
ขยะมูลฝอยนอกจากมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์แล้ว ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบและ
ก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ทั้งน้ีเน่ืองจาก
1) ขยะมูลฝอยเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนาโรค เช่น แมลงวัน

แมลงสาบ ยุง ฯลฯ และเป็นที่ซุกซ่อนของหนูและสัตว์อื่น ๆ 2) ขยะมูลฝอย ทาให้เกิดมลพิษ มีกล่ิน

เหม็นและก่อให้เกิดความราคาญ 3) ขยะมูลฝอยที่ท้ิงเกล่ือนกลาด ถูกลมพัดกระจัดกระจายไปตกอยู่
ตามพ้ืนทาให้พ้ืนที่บริเวณนั้นสกปรก ขาดความสวยงาม เป็นที่รังเกียจแก่ผู้พบเห็น และผู้ท่ีอาศัย
บริเวณใกลเ้ คียง นอกจากนี้ ขยะมลู ฝอยท่ตี กอย่หู รือถูกทิ้งลงในคูคลอง ทางระบายน้า ขยะจะไปสกัด
กั้นการไหลของน้า ทาให้แหล่งน้าสกปรกและเกิดการเน่าเสีย 4) น้าเสียที่เกิดจากกองขยะมูลฝอย
ทกี่ องทิง้ ไว้ เป็นนา้ เสียท่ีมีความสกปรกสูงมาก ซึง่ มีทง้ั สารอินทรีย์ เช้อื โรค และสารพิษตา่ ง ๆ เจือปน
อยู่ เมื่อน้าเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลไปตามพื้นดินบริเวณใด ก็จะทาให้บริเวณนั้นเกิดความสกปรก
และความเสื่อมโทรมของพ้ืนดินและอาจเปล่ียนสภาพ ทาให้ดินมีคุณสมบัติเป็นดินด่างหรือดินกรด
ได้ ในกรณีท่ีน้าเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลลงสู่แหล่งน้า ก็จะทาให้คุณภาพน้าเสียไป ท้ังนี้ไม่ว่าจะ
เป็นแหล่งน้าผิวดินหรือแหล่งน้าใต้ดินก็ตาม ล้วนเป็นอันตรายต่อ ผู้ใช้น้าและส่ิงท่ีมีชีวิตท่ีอาศัยใน
แหล่งน้า น้าที่สกปรกมากหรือมีสารพิษเจือปนอยู่ ก็อาจทาให้สัตว์น้าตายในเวลาอันสั้น นอกจากนั้น
สิ่งสกปรกต่าง ๆ ท่ีเจือปนในน้า ก็จะส่งผลต่อระบบนิเวศของน้าทาให้สัตว์น้าที่มีค่าบางชนิดสูญพันธุ์
ไป นอกจากนี้นา้ ที่มีส่งิ สกปรกเจือปนย่อมไม่เหมาะแก่การอุปโภคบริโภคแมจ้ ะนาไปปรับปรุงคุณภาพ
แล้วก็ตาม และ 5 ) ขยะมูลฝอยทาให้เกิดมลพิษแก่อากาศ ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้ในเขตชุมชน หรือ

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง 1
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

2

ท่ีกองทิ้งไว้ในแหล่งกาจัดซึ่งไม่มีการฝังกลบ หรือขณะที่ทาการเก็บขนโดยพาหนะ ที่ไม่มีการปกปิด
อย่างมิดชิด ขยะมูลฝอยเหล่านั้นส่งกลิ่นเหม็นน่ารังเกียจออกมา เศษช้ินส่วนของขยะมูลฝอย
จะสามารถปลิวไปในอากาศ ทาให้เกิดความสกปรกแก่บรรยากาศ ซ่ึงมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์และ
ความสกปรกใหก้ ับบริเวณข้างเคียงได้นอกจากน้ีขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้นาน ๆ จะมีกา๊ ซทเี่ กิดจากการ
หมักขึน้ ไดแ้ ก่ กา๊ ซชวี ภาพ ซง่ึ ตดิ ไฟหรอื เกิดระเบิดขน้ึ ได้ และกา๊ ซไขเ่ นา่ (กา๊ ซไฮโดรเจนซลั ไฟด์) ซึ่งมี
กล่ินเหม็นส่งผลตอ่ สุขภาพกายและสุขภาพจติ

ชุมชนบ้านเกาะทองสม เป็นชุมชนท่ีได้รับผลกระทบจากปัญหาขยะมูลฝอย เนื่องจากเป็น
ชุมชนท่ีประชาชนมีความหลากหลายทั้งด้านวัฒนธรรม การศึกษา อาชีพ และวิถีการดาเนินชีวิต
ทาให้ประชาชนในชุมชน มีความตระหนักเกี่ยวกับการดูแลและการจัดการขยะไม่เป็นระบบ ขาดการ
บริหารจัดการท่ีดี ท้ังขยะจากธรรมชาติ ประกอบด้วย ใบไม้ เศษหญ้า และขยะสังเคราะห์ เช่น
กระดาษ ถุงพลาสติก กล่องโฟม ขวดพลาสติก หรืออื่น ๆ และมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน ซึ่งส่งผลกระทบต่อ
สภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมของชุมชน ทาใหส้ ภาพแวดลอ้ มในชมุ ชนไม่สะอาด มีมลพษิ

จากปัญหาของขยะมูลฝอยที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และต่อสุขภาพอนามัยของ
ประชาชนโดยตรงทั้งในชมุ ชน ทาให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีความตระหนักในการบริหารจดั การขยะ
มูลฝอย โดยอาศยั ความรว่ มมือของหนว่ ยงานราชการสว่ นท้องถ่นิ ในการจัดการขยะมลู ฝอย และการ
ปลูกฝงั จติ สานึกในการมีส่วนรว่ มแก่ชมุ ชน โดยการเปดิ โอกาสให้ประชาชนในแตล่ ะชมุ ชนเข้ามามีส่วน
ร่วมในการดาเนินการจัดการขยะ เพ่ือให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้และเกิดจิตสานึกท่ีจะปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย ซ่ึงประชาชนในชุมชน มีอิทธิพลในการกระตุ้นจิตสานึกต่อความ
รับผิดชอบร่วมกัน แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องขยะมูลฝอยชุมชน โดยเร่ิมจากการให้ประชาชนใน
ชุมชนได้เรียนรู้เก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเป็นระบบ เพ่ือรองรับปัญหาขยะมูลฝอยท่ีเพ่ิม
มากขนึ้ ทุกวัน แตก่ ารจัดการขยะมลู ฝอยท่ีครบวงจร มตี ้นทนุ สงู มาก ดงั นัน้ ประชาชนในชมุ ชนจึงควร
มีความตระหนักในการลดปริมาณขยะมูลฝอย มากกว่าการพึ่งพาการกาจัดขยะมูลฝอยชุมชน
จากภาครัฐเพียงฝ่ายเดียว ทาอย่างไรท่ีจะรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนเห็นการเปลี่ยนแปลงใน
เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยชุมชน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต มาร่วมกันคิดหาวิธีการและ
แนวทางในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงความจาเป็นและความเป็นไปได้ในการบริหารจัดการขยะ เพ่ือ
เลือกแนวทางท่ีเป็นรปู ธรรมท่ีดีท่สี ุดและเหมาะสมที่สุด ซึง่ เปน็ กระบวนการทท่ี าใหป้ ระชาชนในชุมชน
เห็นคุณค่า และเกิดจิตสานึกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร่วมด้วยช่วยกันในการจัดการขยะมูลฝอย
ในชมุ ชนทต่ี นเองอาศัยอยใู่ หเ้ หลือนอ้ ยท่สี ดุ

จากสภาพปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการดังกล่าว จึงเป็นประเด็นการศึกษาของ
คณะวิจัยของโรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 สนใจ
ท่ีจะศึกษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม เพื่อนาผลท่ีได้ไป
ใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการบริหารงานการจัดการขยะมูลฝอย แนวทางการส่งเสริมด้านการมี
ส่วนร่วมของประชาชน และสร้างแนวคิดการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยของชุมชนแบบมีส่วนร่วม
ของบ้านเกาะทองสม ในการลดปริมาณขยะมูลฝอยของชุมชน พัฒนาชุมชนให้มีบรรยากาศ
สภาพแวดลอ้ มทด่ี ี สะอาด สวยงาม รม่ ร่ืน มีความปลอดภยั ให้ดีย่งิ ๆ ข้ึนไป

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

3

คาถามของการวิจยั

ในการศกึ ษาการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จงั หวัด
พทั ลงุ เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ ผ้วู ิจยั จึงได้ตง้ั คาถามของการวิจัยไวด้ ังน้ี

1. ปัญหาของขยะมลู ฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลงุ อยู่ในระดับใด
2. การมสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบา้ นเกาะทองสม จังหวัดพทั ลงุ
อยู่ในระดบั ใด
3. การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง
จาแนกตามเพศ อายุ ระดบั การศึกษา และอาชพี แตกต่างกนั หรือไม่

วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย
1. เพ่ือศึกษาระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
2. เพอ่ื ศกึ ษาระดบั การมีสว่ นรว่ มในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบา้ นเกาะทองสม

จังหวดั พัทลุง
3. เพ่ือเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม

จังหวดั พัทลงุ ตามตัวแปรเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชพี

สมมติฐานของการวจิ ัย
ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมท่ีมี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีส่วน

ร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม แตกต่างกนั

ประโยชน์ของการวิจัย

ในการศกึ ษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม จงั หวัด
พทั ลงุ ผู้วิจัยคาดหวังว่าจะมคี วามสาคญั และเป็นประโยชนต์ ่อสาขาวชิ าที่เกีย่ วขอ้ ง ดงั นี้

1. ทาใหท้ ราบถึงระดับการมสี ่วนรว่ มในการคัดแยกขยะมูลฝอยของชุมชนบา้ นเกาะทองสม
2. ทาให้ทราบถงึ ผลการเปรยี บเทยี บการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จงั หวดั พทั ลุง
3. ทาให้ทราบข้อมูลการมีส่วนร่วมของกลุ่มคนเมื่อจาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา
และอาชีพของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม
4. ข้อมูลที่ไดจ้ ากการศึกษา สามารถนาไปใชใ้ นการกาหนดนโยบาย แผนงานในการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม และสามารถนาไปปรับใช้เพ่อื เปน็ แนวทางในการ
บรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยของชมุ ชนอนื่ หรอื หน่วยงานอนื่ ๆ ต่อไป

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

4

ขอบเขตของการวิจยั

ในการศึกษาการบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จงั หวัด
พัทลงุ ผ้วู ิจัยได้กาหนดขอบเขตของการวจิ ัย ดงั น้ี

1. ขอบเขตด้านเน้ือหา
1.1 การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม

2. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
2.1 ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสม จานวน

1,803 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนในชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จังหวดั

พัทลุง กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเทียบหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเครจซี่และมอร์แกน
(Krejcie and Morgan.1970 น. 607-610) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 317 คน โดยผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่ม
ตัวอย่างแบบแบ่งช้ัน (Stratified Random Sampling) ตามขนาดของหมู่บ้าน จากน้ันนามาเทียบ
สัดส่วน แล้วใช้การสุ่มแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับสลาก (Sampling
Without Replacement)

3. ขอบเขตด้านตัวแปรที่ในการวจิ ยั
3.1 ตวั แปรตน้ คอื ขอ้ มูลทั่วไป ได้แก่
3.1.1 เพศ
3.1.1.1 เพศชาย
3.1.1.2 เพศหญิง
3.1.2 อายุ
3.1.2.1 ตา่ กวา่ 30 ปี
3.1.2.2 อายุ 31-45 ปี
3.1.2.3 อายุ 46 ปี ขนึ้ ไป
3.1.3 ระดบั การศกึ ษา
3.1.3.1 ต่ากวา่ ปริญญาตรี
3.1.3.2 ปรญิ ญาตรี
3.1.3.3 สงู กวา่ ปริญญาตรี
3.1.4 อาชีพ
3.1.4.1 เกษตรกร
3.1.4.2 รบั จา้ ง
3.1.4.3 อาชีพส่วนตัว
3.1.4.4 รับราชการ

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

5

3.2 ตัวแปรตาม
การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ
จากตารางสังเคราะห์ ประกอบดว้ ย 4 องค์ประกอบ

1. ดา้ นมสี ่วนรว่ มในการคิด
2. ดา้ นมีส่วนรว่ มในการคิดวางแผน
3. ดา้ นมสี ่วนรว่ มในการปฏิบัติ
4. ดา้ นมีส่วนร่วมในการตดิ ตามและประเมนิ ผล

นิยามศัพท์เฉพาะ

ในการศึกษาการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จังหวดั
พัทลุง ผู้วิจัยได้กาหนดคาศัพท์ที่ต้องการสื่อสารและอธิบายให้ผู้สนใจศึกษาวิจัย ได้เข้าใจความหมาย
ท่ีตรงกนั กับผู้วจิ ัย มีดงั นี้

ชมุ ชน หมายถงึ กลุม่ คนทอี่ าศัยอย่ใู นบริเวณชุมชนบา้ นเกาะทองสม ประกอบด้วย 3 หมู่บ้าน
ได้แก่ หมู่ท่ี 1 (บ้านโคกกรวด) หมู่ท่ี 10 (บ้านโคกแมว) หมู่ที่ 15 (บ้านเกาะทองสมใหม่)
อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง

เทศบาล หมายถึง เทศบาลตาบลโคกม่วงที่มีเขตการปกครองท้องท่ีของอาเภอเขาชัยสน
จังหวัดพัทลุง ประกอบด้วย 15 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ท่ี 5 หมู่ที่ 6 หมู่ท่ี
7 หมทู่ ่ี 8 หมู่ที่ 9 หมู่ท่ี 10 หมทู่ ี่ 11 หมู่ท่ี 12 หมู่ท่ี 13 หมูท่ ี่ 14 และหมูท่ ่ี 15

ขยะมูลฝอย หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก
ภาชนะทใี่ สอ่ าหาร เถ้า มลู สัตว์ซากสตั ว์ หรอื สิ่งอ่ืนใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่เี ลีย้ งสัตว์ เปน็ ของ
เหลือท้ิงจากกระบวนการผลิตและการใช้สอยของมนุษย์สิ่งเหลือใช้ และส่ิงปฏิกูลที่อยู่ในรูปของแข็ง
ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนษุ ย์และสัตว์ทงั้ จากการบรโิ ภคการผลิต การขับถ่าย การดารงชวี ติ และอื่น ๆ
ในชุมชนบา้ นเกาะทองสม

การจัดการขยะ หมายถึง เป็นการดาเนินงานอย่างเป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม
การทิ้ง การเก็บชั่วคราว การรวบรวม การขนถ่ายและการขนส่ง การแปลงรูป และการกาจัดขยะ
มูลฝอย โดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดในทางสุขอนามัย ความสวย การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
การยอมรับของสังคม ซ่ึงในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยปัจจัยหลายด้าน
ประกอบกันได้แก่ การบริการ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านส่ิงแวดล้อม ประสบการณ์ที่เก่ียวกับ
สง่ิ แวดล้อม และวธิ กี ารจัดการขยะมลู ฝอยอยา่ งเหมาะสม

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การบริหารงานท่ีเปิดโอกาสให้ผู้ที่
เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีส่วนเก่ียวข้องในชุมชนบ้านเกาะทองสม ในกระบวนการการตัดสินใจใช้
ความคิดสร้างสรรค์ ความเชี่ยวชาญ ในการบริหารให้บรรลุวัตถุประสงค์ หรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน เกิดการยอมรับได้เป็นหลักการของการ
บริหารงานที่ผลต่อการดาเนินการเชิงวิเคราะห์ ซ่ึงนาไปสู่การตัดสินใจได้ ลดช่องว่างของระบบการ
ส่ือสารในองค์กรและขจดั ปญั หาความขดั แย้ง ซึ่งประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบ

การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

6

1. การมสี ว่ นรว่ มในการคิด หมายถงึ การเปดิ โอกาสให้ประชาชนในชุมชนบา้ นเกาะทองสม
ท่ีมีส่วนร่วมในการคิด การช่ังใจ ไตร่ตรอง และตัดสินใจเลือกทางดาเนินงานที่เห็นว่าดีท่ีสุดทางใด
ทางหนึ่งจากหลาย ๆ ท่เี ขา้ ไปเป็นสว่ นหนง่ึ ของการตัดสินใจในการแสดงความคิดเหน็ การเสนอข้อมูล
ข่าวสารทางเลือกเพ่ือเป็นแนวทางประกอบการตัดสินใจ การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น อันจะ
นาไปสู่การร่วมคิด โดยให้ความสาคัญในการสนทนา เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยนแนวความคิดร่วมกัน
ในการศึกษาค้นคว้าปัญหาและหาสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้นในชุมชน
ตลอดจนความตอ้ งการของชุมชน

2. การมีส่วนร่วมในการวางแผน หมายถึง การเปดิ โอกาสให้ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะ
ทองสมเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการดาเนินงานการบริหารจัดการขยะมูลฝอย การจัดทา
โครงการ กจิ กรรมตา่ ง ๆ การดาเนนิ งานของสถานศึกษา มกี ารกาหนดเป้าหมาย เป้าประสงค์ พันธกจิ
วิสัยทัศน์ แผนงาน ให้บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษาเพื่อที่จะได้ค้นหาแนวทางในวางแผนแก้ปัญหา
ร่วมกนั ตามความต้องการในการจดั การศกึ ษาในสถานศกึ ษาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

3. การมีส่วนรว่ มในการปฏิบตั ิ หมายถงึ การเปดิ โอกาสให้ประชาชนชุมชนบา้ นเกาะทองสม
เข้ามามีส่วนร่วมในการรับผิดชอบในการปฏิบัติงานการจัดการขยะมูลฝอยในชุม ชนตามนโยบาย
แผนงาน โครงการ กจิ กรรม เปา้ หมาย เปา้ ประสงค์ พันธกิจ วิสยั ทัศน์ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทีว่ างไว้ และ
กาหนดกิจกรรมท่ีต้องการปฏิบัติในระดับท่ีเหมาะสม สามารถสร้างโอกาสและมีความเป็นไปได้ที่จะ
จดั การปฏิบัติดว้ ยตนเอง

4. การมีส่วนร่วมในการติดตามผลงานการประเมนิ ผลงาน หมายถึง การเปดิ โอกาสให้
ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยการสรุป
ผลงาน การรายงานผลงาน การหาแนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไขข้อผิดพลาด การนาผลงาน แนวทางใน
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปเป็นแนวทางในการวางแผนดาเนินงานของสถานศึกษา เพื่อให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลสงู สดุ

เกษตรกร หมายถึง อาชีพของประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมท่ีทางานเก่ียวกับ
การเพาะปลกู พืชในสวนและไร่นา ด้านปศสุ ตั วก์ ารเลย้ี งสตั วบ์ นบกในน้า

รับจ้าง หมายถึง หมายถึง อาชีพของประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมท่ีมีลักษณะเป็น
อาชีพที่มีผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการ โดยตัวเองเป็นผู้รบั จ้าง ทางานให้ และได้รับค่าตอบแทนเป็นค่าจา้ ง
หรือเงินเดือน อาชีพรับจ้างประกอบด้วย บุคคล 2 ฝ่าย ซึ่งได้ตกลงว่าจ้างกัน บุคคลฝ่ายแรกเรียกว่า
"นายจา้ ง" หรือผู้วา่ จา้ ง

อาชีพส่วนตัว หมายถึง อาชีพของประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมท่ีดาเนินการด้วย
ตนเอง แต่เพียงผู้เดียวหรือเป็นกลุ่ม เป็นอาชีพท่ีไม่ต้องใช้คนจานวนมาก แต่หากมีความจาเป็นอาจมี
การจ้างคนอ่ืนมาช่วยงานได้ เจ้าของกิจการเป็นผู้ลงทุน และจาหน่ายเอง คิดและตัดสินใจด้วยตนเอง
ทุกเรื่อง ซึ่งเป็นอาชีพในชุมชนบ้านเกาะทองสม เช่น ค้าขาย ขายอาหาร ขายของชา
ซอ่ มรถจักรยานยนต์ เป็นต้น

อาชีพรับราชการ หมายถึง อาชีพของประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมท่ีบุคคลน้ันได้รับ
การบรรจุแต่งต้ังให้รับราชการปฏิบัติหน้าท่ี และรับเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ
ของประเทศไทย สว่ นองคก์ รทบ่ี คุ คลดงั กล่าวปฏบิ ัตงิ านอย่นู ้ันเรยี ก ส่วนราชการ

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง

ใน การศึกษ าการบ ริห ารจัดการขยะ มูลฝอยแบ บ มีส่วน ร่วม ของชุมช น
บ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ผูว้ ิจยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวข้อง ดังน้ี

1. แนวคิดเกี่ยวกบั สิง่ แวดล้อมและสถานการณส์ ิง่ แวดล้อมของประเทศไทย
1.1 ส่ิงแวดล้อม
1.2 ปัญหาส่งิ แวดล้อม

2. แนวคิดเกีย่ วกับขยะมูลฝอย
2.1 กฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การกาจัดขยะมลู ฝอยของประเทศไทย
2.2 ความหมายขยะมูลฝอย
2.3 ประเภทของขยะมูลฝอย
2.4 ลกั ษณะของขยะมูลฝอย
2.5 แหล่งกาเนดิ ของขยะมลู ฝอย
2.6 ปญั หาที่เกดิ จากขยะมูลฝอย
2.7 การจดั การขยะ

3. แนวคดิ เกยี่ วกบั การบริหารแบบมสี ่วนร่วม
3.1 ความหมายของการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม
3.2 ความสาคญั ของการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม
3.3 รปู แบบของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
3.4 ข้ันตอนการบริหารแบบมีส่วนรว่ ม
3.5 ประโยชน์ของการบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ ม
3.6 รูปแบบของการบรหิ ารแบบมสี ว่ นร่วม
3.7 องค์ประกอบของการบริหารแบบมีสว่ นรว่ ม
3.8 แนวคดิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชน

4. ขอ้ มลู ท่ัวไปชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม
5. งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง
6. กรอบแนวคิดท่ีใช้ในการวจิ ัย

7

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

8

1. แนวคิดเก่ยี วกับสิง่ แวดลอ้ มและปญั หาสิ่งแวดล้อม

มนุษย์ย่อมเก่ียวข้องและสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม โดยท่ีสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกาหนดแบบแผน
ชีวิตความเป็นอยู่ท่ีแตกต่างกันในแต่ละพื้นท่ี แต่ขณะเดียวกันมนุษย์ก็เป็นตัวการสาคัญท่ีทาให้
สิง่ แวดล้อมเปลีย่ นแปลงไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งสาเหตุจากการเพิ่มจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว ทาให้
มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมากมีผลให้ความต้องการใช้ทรัพยากรเพ่ิมอย่างรวดเร็วตามไปด้วย
ประกอบกับปัจจุบันได้มีการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตและความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทาให้ทรัพยากรส้ินเปลืองอย่างรวดเร็วและยังส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทาให้
เกิดปัญหามลพิษ (Pollution) ในสงิ่ แวดล้อม

1.1 ความหมายของสิ่งแวดล้อม
ตามพระราชบัญญัติส่งเสรมิ และรักษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ในมาตรา 4
ไดใ้ หค้ วามหมายของคาว่า สิ่งแวดลอ้ ม โดยสากลแลว้ วา่
สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวติ ทั้งที่เกิดข้ึนเอง
ตามธรรมชาติและทมี่ นุษยส์ ร้างขนึ้ ทัง้ ท่ีเปน็ รปู ธรรมและนามธรรม ทั้งทีเ่ ป็นสสารและพลงั งานรวมท้ัง
ท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและท่ีมนุษย์ได้สร้างข้ึน สิ่งแวดล้อมนั้นมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอโดยมนุษย์
เป็นตัวการสาคัญ ท่ีทาให้ส่ิงแวดล้อมนั้น ๆ เปล่ียนแปลง ทั้งน้ีจากการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในการดารงชีวิตและเป็นรากฐานสาคัญของการ
พฒั นา ส่งผลให้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มลดนอ้ ยลง
โสภารัตน์ จาระสมบัติ (2551) ได้สรุปไว้ว่า ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็น
ปัจจัยพ้ืนฐานสาคัญท่ีมนุษย์ได้นามาใช้ในการดารงชีวิต และแสวงหาความสะดวกสบาย ส่งผลให้เกิด
ปัญหาความเส่ือมโทรมของส่ิงแวดล้อม และปัญหามลพิษตามมา สถานการณ์สิ่งแวดลอ้ มในช่วงหลาย
ปีท่ีผ่านมา เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางลบมากข้ึนอย่างชัดเจน ทาให้ในปัจจุบันประเด็นด้าน
สิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นที่ถูกกล่าวถึงมากข้ึน เน่ืองจากมีปรากฎการณ์ที่เป็นความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิด
ขึ้นกับสิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ข้ึนบ่อยครั้ง ทาให้เกิดการ
สูญเสยี ชีวติ และทรัพยส์ ินจานวนมหาศาล
คณะกรรมการวิชาส่ิงแวดล้อมเทคโนโลยีและชีวิตศูนย์วิชาบูรณาการหมวดวิชาศึก ษาทั่วไป
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2553) ให้ความหมายไว้ว่า ส่ิงแวดล้อม หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว
เราเป็นค่านิยามท่ีเข้าใจงา่ ยและใช้กันมานาน วิชาการด้านสิ่งแวดล้อม คานิยามดังกล่าวได้กาหนดให้
ตัวเราเป็นบรรทัดฐานสาหรับการอ้างอิง ดังนั้น ส่ิงใดก็ตามที่มิใช่ตัวเราก็หมายรวมเป็นส่ิงแวดล้อม
และตัวเราในที่นก้ี ม็ ิไดห้ มายถึงเพียงแต่มนุษยเ์ ท่านน้ั “ตวั เรา” เป็นเพียงแค่คาท่ใี ช้สาหรับแทนสิ่งหนึ่ง
สิ่งใด เพื่อเป็นศูนย์กลางในการอ้างอิงถึงส่ิงอ่ืนๆ ที่เป็นส่ิงแวดล้อม ด่ังเช่น ตัวเรา ท่ีหมายถึง แม่น้า
สิ่งแวดล้อมของแม่น้าก็อาจเป็นต้นไม้ สัตว์น้าหรือแม้แต่มนุษย์ก็ได้ เช่นเดียวกัน หากตัวเรา หมายถึง
ต้นไม้ สิ่งแวดล้อมอาจเป็นแม่น้า บ้านเรือน สัตว์ป่า หรืออะไรก็ตาม ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับว่าต้นไม้นั้น อยู่ใน
สภาพพื้นที่อย่างไร ต้นไม้อยู่ในป่าก็มีสิ่งแวดล้อมเป็นสัตว์ป่า แม่น้าลาธาร หากเป็นต้นไม้ในเมือง
ส่ิงแวดล้อมกจ็ ะกลายเป็นสง่ิ ปลูกสร้างนานปั การ

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

9

เกษม จันทร์แก้ว (2545 : 2) ได้ให้ความหมายของส่ิงแวดล้อมว่า หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่มี
ลักษณะทางกายภาพ ชีวภาพ และสังคม ท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์ซ่ึงเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและมนุษย์ได้ทา
ข้ึน ท้ังนี้ยังได้ให้ความหมายของส่ิงแวดล้อมเพิ่มเติมอีกว่า หมายถึง สิ่งท่ีเกิดตามธรรมชาติและที่
มนุษย์สร้างขึ้น สิ่งท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งที่เห็นได้ด้วยตาและไม่สามารถเห็นได้ด้วยตา ส่ิงท่ี
เป็นทง้ั ทใี่ ห้คณุ และใหโ้ ทษ และได้จาแนกสิง่ แวดล้อมออกเปน็ 4 มิติดังน้ี

1. มิติทรัพยากร หมายถึง ทรัพยากรท้ังที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษย์
สร้างขึ้น มีบทบาทต่อมนุษย์ในการเอื้อให้ปัจจัยด้านอาหาร ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม ให้
ความปลอดภัยในชวี ิตทรพั ย์สิน อันไดแ้ กท่ รพั ยากรกายภาพทรัพยากรชีวภาพ คุณค่าการใช้ประโยชน์
ของมนุษยแ์ ละคุณค่าคุณภาพชวี ติ

2. มิติเทคโนโลยีโดยมีบทบาทและความสาคัญต่อการใช้ทรัพยากรอย่างมาก โดยมนุษย์นา
เทคโนโลยหี ลายรูปแบบท้ังด้านการนาทรัพยากรมาเพม่ิ มูลค่าสร้างผลผลติ และดา้ นการป้องกันบาบัด
มลพิษ ซง่ึ ทง้ั น้ีก็เพือ่ สนองความต้องการของตนเอง

3. มิติของเสียและมลพิษส่ิงแวดล้อม คือเม่ือมีการใช้ทรัพยากรด้วยเทคโนโลยีใดก็ตามย่อม
มีของเสียและมลภาวะเกิดข้ึนเสมอ มิติทางของเสียและมลพษิ สิ่งแวดล้อมเปน็ มติ ทิ แี่ สดงให้เห็นผลของ
การใชท้ รัพยากร

4. มิติมนุษย์หรือ เศรษฐสังคม ซึ่งเกี่ยวข้องกับมนุษย์ท่ีได้สร้างพฤติกรรมของมนุษย์ต่อ
สภาพแวดล้อม ทั้งระบบสิ่งแวดล้อมย่อย หรือทั้งระบบสิ่งแวดล้อม ซึ่งมิติมนุษย์ประกอบด้วย
ประชากร การศึกษา อนามัยและสาธารณสุข เศรษฐกิจ โบราณสถานความปลอดภัย การเมืองและ
การปกครอง การนนั ทนาการ

สอนชัย ผาลิวงค์ (2556 : 18) ได้ให้ความหมายของการจัดการ (Management) และ
ส่งิ แวดลอ้ ม (Environment) ดงั นี้

การจัดการ (Management) หมายถงึ การดาเนินงานอย่างมีประสทิ ธิภาพในรปู แบบต่าง ๆ
ทั้งด้านการจัดหา การเก็บรักษา การซ่อมแซม การใช้อย่างประหยัดและการสงวนรักษาเพื่อให้
กิจกรรมท่ีดาเนินการน้ันสามารถให้ผลยั่งยืนต่อมวลมนุษย์และธรรมชาติ โดยหลักการแล้ว “การ
จัดการ” จะต้องมีแนวทางการดาเนินงาน ขบวนการ และขั้นตอน รวมทั้งจุดประสงค์ในการ
ดาเนินงานที่ชดั เจนแนน่ อน

ส่ิงแวดล้อม (Environment) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวเรา ท้ังที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
ท้ังท่ี เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม เช่น แสงแดด
อากาศ ตัวเรา ป่าไม้สัตว์ป่า อาคารบา้ นเรอื น รถยนตโ์ ทรศัพทว์ ฒั นธรรมต่าง ๆ เป็นต้น

เทเวศ อร่ามเรือง (2551 : 11-23) การจัดการสิ่งแวดล้อม หมายถึง การดาเนินงานต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมอย่าง มีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการจัดหา การเก็บรักษา การ
ซ่อมแซม การใช้อย่างประหยัด และการสงวน รักษา เพ่ือให้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมน้ัน
สามารถเอ้ืออานวยประโยชน์แก่มวลมนุษย์ได้ใช้ตลอดไป อย่างไม่ขาดแคลน หรือมีปัญหาใด ๆ หรือ
อาจจะ หมายถึง กระบวนการจัดการแผนงานหรือ กิจกรรมในการจัดสรรและการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อสนองความต้องการใน ระดับต่าง ๆ ของมนุษย์และเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาคือเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดย

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

10

ยึดหลักการอนุรักษ์ด้วยการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม อย่างฉลาด ประหยัด และ
ก่อให้เกิดผลเสียต่อส่ิงแวดล้อมน้อยที่สุดเท่าท่ีจะทาได้ แต่ถ้าเราจะกาหนดว่า สิ่งแวดล้อมท่ีเรากล่าว
กันท่ัว ๆ ไปนั้น เป็นเรื่องของปัญหาภาวะมลพิษ อันเนื่องมาจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ หรือจาก
ผลของความก้าวหน้าของการพัฒนาแล้ว เราก็สามารถให้คาจากัดความ แยกระหว่างการจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติ และการจัดการสิ่งแวดลอ้ มได้

เกษม จันทร์แก้ว (2556 : 77) ได้ประมวลผลจากการศึกษาความหมาย และคานิยามของ
คาว่า การจัดการส่ิงแวดล้อมของ NCU (2000) ที่ชี้ให้เห็นว่า การจัดการ สามารถนามาประยุกต์
เพ่ือให้คานิยามและความหมายของ “การจัดการสิ่งแวดล้อม” (environmental management) ไว้
ดังน้ี

การจัดการสิ่งแวดล้อม หมายถึง กระบวนการสร้างศักยภาพของส่ิงแวดล้อมให้เกิดการ
คงสภาพดว้ ยการใช้อย่างยั่งยืน การขจัดของเสีย/มลพิษ และการควบคุมกิจกรรมการจดั การ เพ่ือเอ้ือ
ประโยชน์ตอ่ มนษุ ยต์ ลอดไป

ดังนั้น การจัดการสิ่งแวดล้อมก็คือ กระบวนการ (processing) สร้างศักยภาพบรรดา
สง่ิ แวดลอ้ มทั้งหลายท่ีใหค้ ุณตอ่ มนุษย์ท้ังทางตรงและทางอ้อม นนั่ คือ

1. การใช้อย่างย่ังยืน เป็นตัวส่ิงแวดล้อมนั้น ๆ ต้องแสดงหรือมีศักยภาพที่คงสภาพหรือ
ใกล้เคียงสภาวะนั้น ๆ ที่สามารถเอ้ือประโยชน์ต่อมนุษย์ได้อยา่ งมั่นคงตลอดไป การท่ีจะทาได้น้ันต้อง
มีแผนงานและมาตรการทเ่ี ปน็ รปู ธรรม

2. การจัดการของเสีย/มลพิษ เป็นขยะติดเชื้อและ/หรือขยะกากของเสียอันตราย
จาเป็นต้องจัดการ หมายถึง การควบคุมและกาจัดให้หมดไป หรือลดความเป็นพิษ อันต้องใช้ความรู้
ความสามารถ ในการจดั การ ต้ังแต่การเกบ็ ขนยา้ ย วิธกี าจัด และการนาไปใช้ประโยชน์

3. การควบคุมกิจกรรม เป็นแนวทางปฏิบัติที่การจัดการส่ิงแวดล้อมต้องยึดปฏิบัติ ควบคุม
กิจกรรมทั้งในระบบการจัดการและนอกระบบ หรือจากภายนอก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
น้ัน ๆ จะเอื้อประโยชน์ต่อมนุษย์ให้ย่ังยืนได้ อาจหมดไปหรือเสื่อมโทรมไปจนถึงข้ันวิกฤต และเป็น
อันตรายตอ่ มนุษย์ได้

สรุปได้ว่า การจัดการส่ิงแวดล้อม หมายถึง การวางแผน การจัดสรร การใช้ทรัพยากรและ
การกระทาหรือการดาเนินการใด ๆ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมในชุมชน ทาให้
คณุ ภาพสิ่งแวดล้อมดีขนึ้ และเกดิ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน

1.2 ความสาคญั ของสงิ่ แวดลอ้ ม
ความหลากหลายทางชีวภาพช่วยรักษาระบบนิเวศโลกให้มีเสถียรภาพและเป็นตัวชี้วัดถึง
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมนุษย์ดารงชีวิตอยู่ได้โดยการอยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ดังน้ันหากความหลากหลาย ทางชีวภาพลดลงจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อ
มนุษย์และสงิ่ มีชวี ิตท้ังหลาย กว่า 40 ปีที่ผ่านมา “สง่ิ แวดล้อมศึกษา” เป็นกระบวนการสาคัญที่ทาให้
ผคู้ นได้ตระหนักถึงคุณคา่ และรักษาความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างเปน็ รูปธรรม การประชุมระดับ
โลกหลายเวทีได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมศึกษาจนเกิดกรอบแนวคิดและหลักการปฏิบัติส่ิงแวดล้อม ได้แก่
กฏบัตรเบลเกรด (Belgrade Charter) เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2518 กล่าวถึงจุดมุ่งหมายและแนวทาง

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

11

ปฏิบัติของสิ่งแวดล้อมศึกษาและถือเป็นหลักการในการดาเนินงาน “กระบวนการส่ิงแวดล้อมศึกษา”
ต่อมาในปี พ.ศ.2520 จากการประชุมผู้แทนท่ัวโลกกว่า 60 ประเทศท่ีเมืองทุบิลิซี สหภาพโซเวียตได้
ให้คาจากัดความ“ สิ่งแวดล้อมศึกษา คือ กระบวนการที่มุ่งสร้างให้ประชากรโลก มีความสานึกและ
ห่วงใยปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมท้ังปัญหาที่เก่ียวข้องอ่ืน ๆ และมีความรู้ ทัศนคติ ความต้ังใจจริง และ
ความมุ่งมั่นท่ีจะหาทางแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่และป้องกันปัญหาใหม่ ท้ังด้วยตนเองและด้วยความ
ร่วมมือกับผู้อ่ืน”สาหรับประเทศไทยสิ่งแวดล้อมศึกษานับเป็นกุญแจสาคัญท่ีจะช่วยเสริมสร้างความ
เข้มแข็งให้กับผู้คนได้ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม นโยบายและ
แผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2540 – 2559 มีความมุ่งหมายท่ีจะให้มี
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม อันจะส่งผลให้การพัฒนาประเทศเป็นการพัฒนาท่ีย่ังยืน พร้อมท้ังเสริมสร้าง
คุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมีนโยบายท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ การสร้างจิตสานึกและจิตวิญญาณด้าน
การอนุรกั ษ์ให้แก่ผู้บริหารในหนว่ ยงานภาครัฐ นักการเมอื งทุกระดับ ภาคเอกชน และประชาชนท่ัวไป
เพื่อให้เกิดการประสานแนวคิดทางด้านการพัฒนาและการอนุรักษ์ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
นโยบายด้านการศึกษาและประชาสมั พันธเ์ พ่ือส่งิ แวดล้อมท่ีจะสามารถเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชน
ในทกุ ระดบั ใหม้ คี วามเข้มแข็งและเกิดความร่วมมอื ในการจดั การสิ่งแวดลอ้ มอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ประภาพรรณ เส็งวงศ์ และคณะ (2538 : 7) ได้กล่าวถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อม ว่ามี
ความสาคัญอยา่ งยง่ิ ตอ่ ชีวิตมนุษยท์ ้ังทางตรงและทางอ้อม เพราะส่ิงแวดล้อมใหป้ ัจจยั ในการดารงชวี ิต
มนุษยท์ ุกอย่างแกม่ นษุ ย์ไมว่ ่าจะเป็นอากาศ อาหาร ทอ่ี ยูอ่ าศยั เครือ่ งนงุ่ ห่ม ยารักษาโรค เมือ่ มนุษย์มี
พฒั นาการทางสังคมและเศรษฐกิจสูงข้ึน มนุษย์ กไ็ ด้นาเอาสิ่งแวดลอ้ มมาใช้ดัดแปลงเป็นปจั จัยในการ
อานวยความสขุ สบาย เช่น น้า แร่ธาตตุ ่าง ๆ มาสร้างเป็นยานพาหนะ หิน ดนิ ทราย แร่ ดัดแปลงเป็น
วสั ดุในการกอ่ สร้าง ที่อยู่อาศัย นอกจากนี้มนุษย์ยงั ได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาตมิ าเปน็ วัตถุดิบในการผลิต
สินคา้ ตา่ ง ๆ ในระบบอุตสาหกรรม เพือ่ ประโยชนใ์ นทางเศรษฐกิจด้วย

สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2535 : 10) ได้สรุปถึงความสาคัญของ
ส่ิงแวดล้อม ว่ามนุษย์สามารถดารงชีวิตอยู่บนโลกน้ีได้เนื่องจากมีส่ิงแวดล้อม ถ้าสิ่งแวดล้อมมีสภาพ
ทรุดโทรมหรือมสี ภาพเสยี หายยอ่ มส่งผลกระทบโดยตรงตอ่ มนษุ ยแ์ ละสงิ่ ที่มีชวี ิตอ่ืน ๆ

พันธนภัทร วานิช (2549 : 19) ได้สรุปถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อม ว่าส่ิงแวดล้อมมี
ความสาคญั ต่อมนษุ ยแ์ ละสิง่ ทีม่ ี ชีวติ อ่นื ๆ 3 ประการ คือ

1. มนุษยส์ ามารถดารงชวี ติ อยบู่ นโลกน้ีไดเ้ นือ่ งจากส่งิ แวดลอ้ ม
2. สิ่งแวดล้อมมีสภาพท่ีทรุดโทรมหรือเกิดการเสียหายย่อมส่งผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์
และสิง่ แวดล้อมอืน่ ๆ
3. มีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตในสังคมอย่างหนึ่ง ถ้ามนุษย์ไม่รู้จักใช้ทรัพยากรและ
ส่ิงแวดล้อมให้ถูกวิธีแล้วจะทาให้เกิดความเสียหายตามมา ได้แก่ ส่ิงแวดล้อมเป็นพิษ ซึ่งเป็นการบ่อน
ทาลายชวี ิตของมนุษย์ พืช สตั ว์ และการขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติ เช่น ดนิ น้า ป่าไม้แรธ่ าตุ สัตว์
ป่า และแหล่งเสริมสร้างนนั ทนาการ

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

12

ชชั พล ทรงสนุ ทรวงศ์ (2546) ไดก้ ล่าวถึงความสาคัญของสงิ่ แวดล้อม ซึ่งเปน็ ปัจจัยพ้ืนฐานใน
การดารงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตท้ังหลาย มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดาเนินชีวิตของมนุษย์ท่ี
อาศัยอย่ใู นภูมิภาคต่าง ๆ ความสาคญั ของสิง่ แวดล้อมแบง่ ออกเป็น ไดด้ ังน้ี

1. ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ มคี วามสาคัญต่อส่ิงมีชวี ติ ทอ่ี าศัยอย่ใู นส่ิงแวดล้อมนัน้ เชน่ น้า
ใช้เพื่อการบริโภคและเป็นที่อยูอ่ าศัยของสัตว์น้า อากาศใช้เพื่อการหายใจของมนุษย์และสัตว์ ดินเป็น
แหลง่ ท่อี ยอู่ าศัยของส่ิงมีชีวิตบนบก แสงแดดให้ความร้อนและช่วยในการสงั เคราะหแ์ สงของพืช

2. ส่ิงแวดล้อมท างชีวภ าพ จะช่วยปรับให้ ส่ิงมีชีวิตมีการเปลี่ยนแป ลงไป ตาม
สภาพแวดล้อม เช่น มกี ารปรับตัวใหเ้ ขา้ กับสภาพแวดลอ้ มใหม่

3. สิ่งแวดล้อมจะเปล่ียนแปลงไปตามการกระทาของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในส่ิงแวดล้อมนั้น เช่น
เม่ือสัตว์กินพืชมีจานวนมากเกินไปพืชจะลดจานวนลง อาหารและท่ีอยู่อาศัยจะขาดแคลนเกิดการ
แก่งแย่งกันสูงข้ึนทาให้สัตว์บางส่วนตายหรือลดจานวนลง ระบบนิเวศก็จะกลับเข้าสู่ภาวะสมดุลอีก
ครงั้ หนึ่ง

4. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมในแง่ของการถ่ายทอดพลังงาน
ระหว่างผูผ้ ลติ ผู้บรโิ ภค ผู้ยอ่ ยสลาย ในแงข่ องการอยู่รว่ มกัน เกอ้ื กูลกันหรอื เบยี ดเบียนกัน

5. เป็นปจั จัย 4 ในการดารงชีวิต ไดแ้ ก่ เป็นแหลง่ อาหาร เป็นที่กาเนิดเครื่องนุ่งห่ม เป็นวัสดุ
อปุ กรณ์ในการสร้างทอ่ี ย่อู าศยั เป็นแหลง่ กาเนดิ ยารักษาโรค

6. เป็นปัจจัยในการกาหนดพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตเป็นปัจจัยในการกาหนดระบบของสังคม
วัฒนธรรม เศรษฐกิจ อาชีพ วิถีชีวิตของมนุษย์ ซ่ึงก็ส่งผลมาจากสิ่งแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน ซึ่งใน
การแสดงออกในรปู แบบท่ตี ่างกันดว้ ย

สรุปได้วา่ สง่ิ แวดล้อมสาคัญอย่างย่งิ ต่อมนุษยท์ ้งั ทางตรงและทางอ้อมเนือ่ งจากสงิ่ แวดลอ้ มมี
อิทธิพลต่อพฤติกรรมการดาเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จะดารงชีวิตอยู่ได้จะต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมใน
การดารงชีวิต เช่น เป็นแหล่งอาหาร เป็นที่กาเนิดเคร่ืองนุ่งห่ม เป็นวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างที่อยู่
อาศัย เป็นแหล่งกาเนิดยารักษาโรคและเป็นปัจจัยในการกาหนดพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตเป็นปัจจัยใน
การกาหนดระบบของสังคม วฒั นธรรม เศรษฐกิจ อาชพี วิถชี ีวติ ของมนุษย์ ดังนั้นมนุษย์จะตอ้ งร้จู กั ใช้
สิ่งแวดล้อมใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม

1.4 ประเภทของสง่ิ แวดลอ้ ม
วนิ ัย วีระวัฒนานนท์ (2539 : 86) กลา่ วว่าสง่ิ แวดลอ้ มไดแ้ บ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. ส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หมายถึงทุกส่ิงทุกอย่างท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ
เช่น ดิน น้า อากาศ แสงแดด ป่าไม้ สัตว์ ฯลฯ ส่ิงแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาตินี้ บางชนิดอาจ
ต้องใช้เวลานานนับร้อยนับพันปี จึงจะเกิดขึ้นมาได้ แต่บางชนิดก็อาจใช้เวลาในการเกิดสั้นเพียงแค่
ช่ัวโมงหรือเพียงวันเดียวก็สามารถเกิดข้ึนมาได้ เช่น การยุบตัวของเปลือกโลกจากแผ่นดินไหว
สง่ิ แวดล้อมท่เี กิดขึ้นเองตามธรรมชาตินี้สามารถแบง่ ยอ่ ยออกไปได้อกี 2 ประเภท คอื

1.1 สิ่งมีชีวิตท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ได้แก่ มนุษย์ สัตว์ พืช ฯลฯ ส่ิงมี ชีวิตเหล่านี้
อาจมีรปู ทรงแปลกแตกตา่ งกนั ไป ทง้ั น้ขี น้ึ อย่กู บั ชนิดและพนั ธกุ รรมของสง่ิ ตา่ ง ๆ เหล่านน้ั

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

13

1.2 ส่ิงไม่มีชีวิตที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติสามารถมองเห็นได้ จับต้องได้ และไม่
สามารถมองเห็น เช่น ดนิ น้า อากาศ แสงสวา่ ง เสยี ง รงั สคี วามรอ้ น เป็นต้น

2. ส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างข้ึน หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีมนุษย์สร้างขึ้นมา โดยต้ังใจและ
ไมต่ ั้งใจ ส่งิ แวดล้อมประเภทนแี้ บ่งยอ่ ยออกได้อีก 2 ประเภท คอื

2.1 ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ หรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นรูปธรรม หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่
มนุษย์สร้างข้ึนมา และสามารถมองเห็นได้เช่น โต๊ะ เก้าอี้ รถยนต์ ฯลฯ รวมท้ัง สิ่งท่ีจาเป็นและ
ฟมุ่ เฟือย ทมี่ นุษยเ์ ลือกสรา้ งขนึ้ ในที่ตา่ ง ๆ ตามแตต่ อ้ งการ

2.2 สิ่งแวดล้อมทางสังคมท่ีเป็นนามธรรม หมายถึง ส่ิงแวดล้อมที่มนุษย์ สร้างขึ้นโดย
ตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ ไม่มีตัวตน ไม่มีรูปร่าง สาเหตุท่ีสร้างขึ้นมาก็เพ่ือความเป็น ระเบียบของการอยู่
รว่ มกนั ในสังคมเช่น วฒั นธรรม ประเพณี ศาสนา กฎระเบียบ เป็นต้น

เชาว์ เพ็ชรราช ( 2538 : 2) ได้กล่าวว่าคุณสมบัติเฉพาะของส่ิงแวดล้อมมีลักษณะโดดเด่น
เปน็ ของตนเองพอสรุปไดด้ ังน้ี

1. สิ่งแวดล้อมท่ีมีคุณสมบัติเฉพาะตัว มีความเด่นชัดแตกต่างจากสิ่งแวดล้อมอื่นเช่น น้า
อากาศ สตั วป์ ่า แรธ่ าตุเปน็ ตน้

2. สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่มีส่ิงแวดล้อมอื่นร่วมอยู่ด้วยเสมอจะไม่โดดเดี่ยวในธรรมชาติ เช่น
ต้นไม้กับดิน ป่าไมก้ บั สัตว์ แรธ่ าตุเป็นตน้

3 สิ่งแวดล้อมทั้งหลายมักอยู่รวมกันเป็นกลุ่มมีระบบแน่นอนในความสัมพันธ์ที่พึ่งพาอาศัย
ซึ่งกันและกัน หมายถึงกลุ่มของส่ิงมีชีวิตที่จัดระบบอย่างแน่นอนในสิ่งแวดล้อมแห่งใดแห่งหนึ่ง ท่ี
เรียกว่า ระบบนิเวศ (Ecosystem)

4. ส่ิงแวดล้อมท้งั หลายมักมีความสัมพันธ์กันเป็นลูกโซ่และเมอ่ื ทาลายสิ่งแวดล้อมชนิดหน่ึง
ยอ่ มสง่ ผลกระทบต่อเนื่องไปยงั สงิ่ แวดลอ้ มอืน่ ๆ เสมอ

5. สิ่งแวดล้อมแต่ละประเภทมีความเปราะและความคงทนต่อส่ิงกระทบแตกต่างกัน เช่น
สัตว์น้า พืชน้าแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันในความอยู่รอดของชีวิตและมีคุณสมบัติเปล่ียนแปลง ไป
จงึ มชี ีวิตอยู่ไดเ้ ชน่ ปะการงั ในทะเล สตั วน์ ้าตื้น สตั วน์ ้าลึก เปน็ ต้น

6. สิ่งแวดลอ้ มที่มกี ารเปลี่ยนแปลงเสมอตามกาลเวลาที่แปรเปล่ียนไป เช่น การผลัดใบของ
ป่าไม้เขตมรสุม หรือพื้นท่ีบางแห่งของเขตป่ามรสุมถูกนามาใช้เป็นสถานท่ีก่อสร้างศูนย์กลาง ธุรกิจ
อุตสาหกรรมไปแล้วจะให้กลับมาเป็นป่าไม้ดังเดิมคงเป็นไปได้ยาก ลักษณะเช่นนี้นับได้ว่า เป็นการ
เปลยี่ นแปลงอยา่ งถาวร

มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร (2542) ได้แบ่งประเภทของส่ิงแวดล้อมสามารถแบ่ง 2 ประเภท
ดงั น้ี

1. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural environment) หมายถึง สิ่งที่เกิดข้ึนเองตาม
ธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า อากาศ ดิน น้า มนุษย์ ส่ิงเหล่าน้ีต้องอาศัยส่ิงแวดล้อมอ่ืนประกอบ ซ่ึง
สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี

1.1. สง่ิ ทีม่ ีชวี ิต (Biotic Environment) หรอื เรียกว่า สงิ่ แวดล้อมทางชวี ภาพ
(Biological Environment) ซึ่งเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติมีคุณสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งที่มีชีวติ เช่น พืช
สัตว์ มนุษย์ เปน็ ต้น

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

14

1.2. สง่ิ ท่ีไมม่ ชี วี ิต (Abiotic Environment) หรือ สิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพที่อาจจะ
มองเห็นหรือมองไม่เห็น เชน่ แรธ่ าตุ อากาศ เสยี ง เปน็ ต้น

2. สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-Made Environment) ที่ได้จากทรัพยากรดั้งเดิม
แล้วมนุษย์เป็นผู้ดัดแปลง เช่น ถนน บ้านเมือง เป็นต้น ซ่ึงเป็นสิ่งแวดล้อมเป็นนามธรรม (Abstract
or Social Environment) เช่น วัฒนธรรม ประเพณี การเมือง ศาสนา กฎหมายเป็นตน้

สรปุ ได้วา่ สงิ่ แวดล้อมแบง่ ได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. สิ่งแวดล้อมท่ีมีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ (Natural environment) หมายถึง ส่ิงท่ี
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมที่มชี ีวติ และสงิ่ ท่ไี ม่มีชวี ติ

1.1 สงิ่ ที่มีชวี ติ หรอื เรียกวา่ ส่ิงแวดลอ้ มทางชวี ภาพ ซง่ึ มรี ูปทรงแตกตา่ งกนั ออกไป
ขนึ้ อยู่กับพนั ธุกรรม เช่น มนุษย์ สัตว์ พืช เป็นต้น

1.2 ส่งิ ทีไ่ มม่ ชี วี ิต หรอื สงิ่ แวดลอ้ มทางชีวภาพทีเ่ กิดเองตามธรรมชาติ สามารถ
มองเห็นจับต้องได้และไม่สามารถเหน็ เช่น ดิน น้า อากาศ แสงสว่าง เสยี ง รังสี ความรอ้ น เป็นต้น

2. สง่ิ แวดล้อมทม่ี นุษย์สร้างข้ึน (Man-Made Environment) หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษยส์ รา้ งข้ึน
สามารถทีไ่ ด้จากทรพั ยากรด้ังเดิม

2.1 สงิ่ แวดล้อมทางกายภาพหรอื เปน็ สงิ่ แวดล้อมที่เป็นรปู ธรรม สามารถมองเห็น
จบั ตอ้ งได้ เชน่ โตะ๊ เก้าอี้ รถยนต์ ส่ิงกอ่ สร้าง ฯลฯ

2.2 ส่ิงแวดลอ้ มทางสังคมหรอื ส่ิงแวดล้อมทเี่ ปน็ นามธรรม ไมม่ ีตวั ตน ไม่มีรูปร่าง
สาเหตุที่มนุษย์สร้างส่ิงแวดล้อมทางสังคมขึ้นมาก็เพ่ือความเป็นระเบียบทางสังคม เช่น กฎหมาย
ระเบยี บขอ้ บังคับ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม เปน็ ต้น

1.5 ประโยชน์ของส่งิ แวดล้อม
จากงานวิจัยและนิยามของคาวา่ สภาพแวดล้อมทาให้เราทราบว่า สภาพแวดล้อมคือ

ส่ิงต่าง ๆท่ีอยู่รอบตัวทั้งมีชีวิตและไม่มีชีวิตที่อยู่ภายในสถานศึกษา อันมีผลกระทบต่อครู นักเรียน
และบุคลากรอ่ืน ๆ ภายในสถานศึกษา ดังน้ันผลกระทบดังกล่าวที่เป็นไปในทศิ ทางบวกย่อมทาให้เกิด
ประโยชน์ โดยสามารถจาแนกประโยชน์ท่ีได้รบั จากสงิ่ แวดลอ้ มออกเปน็ 2 ส่วนใหญ่ คือ 1) ประโยชน์
ในเชิงรูปธรรม และ 2) ประโยชน์ในเชิงนามธรรม (ณัฐภัค อุทโท. 2558; พระครูใบฎีกามณฑล
เขมโก (ชโู ตศรี). 2562; วีซานา อับดลุ เลาะ, วฒุ ิชัย เนยี มเทศ. 2563; ประยรู อนนั ต๊ะ. 2559) โดยมี
รายละเอยี ดดงั น้ี

1) ประโยชน์ในเชิงรูปธรรม เน่ืองจากหากเราสามารถดูแลสภาพแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ดี
จะส่งผลให้โรงเรียน หรือ สถานศึกษามีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและปลอดภัย ในส่วนของ
ผู้เรียนมีพฒั นาการทางดา้ นร่างกายทีแ่ ขง็ แรง

2) ประโยชน์ในเชิงนามธรรม เน่ืองจากสภาพแวดล้อมจะมีอิทธิพลต่อ ครู นักเรียน ดังน้ัน
หากเป็นสภาพแวดล้อมทางบวก ย่อมทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ พัฒนาทั้งด้านจิตใจ
สังคม และสติปัญญา โดยมีส่วนสาคัญท่ีทาให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข มี
ความรสู้ ึกที่ดตี อ่ มหาวทิ ยาลัยและโรงเรียน มคี วามอยากไปโรงเรียน มแี รงจูงใจในการเรียนรู้ ช่วยหล่อ
หลอมพฤติกรรมของนกั เรียนให้กลายเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จนสามารถปรบั ตวั ให้เข้าต่อการ

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

15

เปล่ียนแปลง และส่งผลต่อดารงชีวิตท่ีประสบความสาเร็จได้ ในส่วนครูย่อมส่งผลให้เกิดการทางานมี
ประสทิ ธิภาพมากข้นึ มีความอยากไปโรงเรียน มแี รงจงู ใจในการทางานอนาคต

1.2 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ปี 2563
กรมควบคุมมลพิษ (2563 : 8–15) ในปี 2563 สถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ท้ังด้าน
อากาศ ขยะมูลฝอย และน้าเสีย มีแนวโน้มไปในทิศทางที่ดีเม่ือเปรียบเทียบกับปีท่ีผ่านมา ทั้งนี้ เป็น
ผลมาจากรัฐบาลได้มีนโยบายสาคัญที่มุ่งป้องกัน แกไ้ ข และลดปัญหามลพิษ เช่น กาหนดให้การแก้ไข
ปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง PM2.5 เป็นวาระแห่งชาติ การผลักดันให้มีการจัดทามาตรการเพ่ือแก้ไข
ปัญหาขยะพลาสติก เป็นต้น นอกจากน้ีส่ิงสาคัญอีกประการหนึ่งคือ ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่
ช่วยกันขับเคลื่อนการดาเนินงานภายใต้นโยบายของรัฐบาล และการผลักดันการดาเนินงาน ตาม
มาตรการภายใต้แผนปฏิบัติการฉบับต่าง ๆ เช่น แผนปฏิบัติการขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ“การแก้ไข
ปญั หามลพิษดา้ นฝุ่นละออง” Roadmap การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573 แผนปฏิบัตกิ าร
ด้านการจัดการขยะพลาสติกระยะท่ี 1 พ.ศ.2563-2565 และแผนปฏิบัติการยกระดับคุณภาพน้าของ
ลมุ่ น้า เป็นต้น นอกจากนี้ เม่ือต้นปี 2563 การเกิดสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค
โรนา 2019 ส่งผลผลกระทบตอ่ ด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม สาธารณสุขและสุขภาพอนามัยของ
ประชาชน มีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปสู่การดาเนินเนินชีวิต แบบวิถีใหม่ (New Normal) การ
ออกมาตรการขอความร่วมมือให้หน่วยงานส่งเสริมให้พนักงานปฏิบัติงาน ณ สถานที่พัก (Work
From Home) เพ่ิมข้ึน ประกอบกับมีการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศ และข้ามจังหวัดส่งผล
ให้นักท่องเท่ียวลดลง โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวท่ีมาจากต่างประเทศ การลดกิจกรรม การเดินทาง
ลดการใช้พลังงาน ตลอดจนพฤติกรรม การบริโภคของประชาชนเปล่ียนแปลงไป เช่น การใช้บริการ
สั่งซื้อสนิ ค้าโดยเฉพาะอาหารผ่านระบบออนไลน์ เพม่ิ ข้ึน นอกจากนน้ั การมีนโยบายเพอ่ื ควบคมุ แก้ไข
ปัญหาสถานการณ์มลพิษที่เกิดข้ึน เช่น การแก้ไขปัญหา หมอกควัน การยกระดับมาตรการป้องกัน
และแก้ไขปัญหา ฝุ่นละออง PM 2.5 การดาเนินโครงการ “Everyday Say No To Plastic Bags”
และการลงนามบันทึกความร่วมมือระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมกับ
ผู้ให้บริการส่งอาหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันขับเคล่ือนการลดการใช้พลาสติกแบบใช้
ครั้งเดียว จากการบริการส่งอาหาร รวมท้ังการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติการเพื่อยกระดับคุณภาพน้าใน
พน้ื ทเี่ ปา้ หมาย เพือ่ ใหม้ คี ณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มดสี ง่ ผลตอ่ สถานการณ์ มลพิษของประเทศไทย ปี 2563
ขยะมูลฝอยชุมชน ปี 2563 มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้น ประมาณ 25.37 ล้านตัน (ลดลง
จากปี 2562 ร้อยละ 12) สาเหตุส่วนหน่ึงมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโร
นา 2019 โดยในช่วงต้ังแต่วันท่ี 26 มีนาคม 2563 ถึงวันท่ี 31 พฤษภาคม 2563 พบว่า องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งและพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร บางเขต มีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนลดลง
เน่ืองจาก มีการควบคุมการเดินทางของนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศมาประเทศไทย แต่ใน
ขณะเดียวกันมีมาตรการกาหนดให้ปฏิบัติงาน Work From Home ทาให้ปริมาณขยะพลาสติกแบบ
ใช้คร้ังเดียว (Single use plastic) เพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะในเขตเมืองมีการใช้บริการส่ังซ้ือสินค้าและ
อาหารผ่านระบบออนไลน์เพ่ิมข้ึน โดยขยะมูลฝอยชุมชน ได้ถูกคัดแยก ณ ต้นทาง และนากลับไปใช้
ประโยชน์ 8.36 ล้านตัน (ร้อยละ 33 ของปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึน) (ลดลงจากปี 2562 ร้อยละ

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

16

33) กาจัดอย่างถูกต้อง 9.13 ล้านตัน (ร้อยละ 36 ของปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึน) (ลดลงจากปี
2562 รอ้ ยละ 7) และกาจดั ไม่ถกู ตอ้ ง ประมาณ 7.88 ลา้ นตัน (ร้อยละ 31 ของปริมาณ ขยะมูลฝอยท่ี
เกิดข้ึน) (เพิ่มขึ้นจากปี 2562 ร้อยละ 24) มีสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนท่ีเปิดดาเนินงาน 2,246
แห่ง และสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชน 28 แห่ง ในช่วง 10 ปีท่ีผ่านมา มีขยะพลาสติกเกิดขึ้น
ประมาณ ปีละ 2 ล้านตัน ปี 2563 พบว่า มีปริมาณขยะทะเลเกิดข้ึน ประมาณ 34,318–51,477 ตัน
(ปี 2562 มีประมาณ 26,800-40,200 ตัน) มีปริมาณขยะปากแม่น้าสายหลักท่ีลงสู่พื้นท่ีอ่าวไทย
ตอนบน ในปี 2563 ลดลงจากปี 2562 (จาก 2,226 เป็น 1,035 ตัน) เนื่องจากการดาเนินงานของ
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งบริเวณจังหวัด ชายฝ่ังทะเลภายใต้กิจกรรมบริหารจัดการขยะ
ทะเล (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง, 2563)

ภาพที่ 1 แสดงปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้น การนากลับมาใช้ประโยชน์ การกาจัด
ถูกตอ้ งและไมถ่ กู ต้อง ปี 2554 – 2563 (กรมควบคุม, 2563 : 15)

2. แนวคิดเกี่ยวกบั การขยะมลู ฝอย
2.1 กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การกาจัดขยะมูลฝอยของประเทศไทย
สนุ ยี ์ ขวญั ศิริโรจน์ (2535:29) กลา่ ววา่ กฎหมายที่มีส่วนเกย่ี วข้องกบั การจัดการขยะมูลฝอย

ที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ มีอยู่หลายฉบับ แต่กฎหมายแม่บทที่มีความเกี่ยวข้องกับการจัดการขยะ
มูลฝอยโดยตรง ได้แกพ่ ระราชบญั ญัตสิ าธารณสุข พ.ศ.2448 แก้ไขเพ่มิ เตมิ จนถงึ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2527
กฎหมายดังกล่าวเพยี งกาหนดให้เป็นอานาจหนา้ ท่ีของทอ้ งถิ่นในการวางระเบียบและแบบแผนสาหรับ
การเก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอยไว้ ซึ่งเป็นอัตราท่ีต่ามากเมอ่ื เปรียบเทียบกบั ค่าใชจ้ ่ายที่ท้องถิ่น
จ่ายจริง อย่างไรก็ตามในการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติครั้งล่าสุดได้อนุญาตให้หน่วยงานท้องถ่ิน
สามารถเพ่ิมอตั ราคา่ ธรรมเนียมใหเ้ หมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 10–15 เทา่ ซ่ึงคาดว่า
จะช่วยให้ท้องถ่ินมีรายได้เพ่ิมขึ้นและนาไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการจัดการขยะ
มูลฝอยได้อย่างพอเพียง พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ
บ้านเมือง พ.ศ. 2503 พระราชบัญญัติรักษาคลอง ร.ศ.121 ซ่ึงมีเน้ือหาเกี่ยวข้อกับการจัดการขยะมูล
ฝอยแตกต่างกันไป ตามวัตถุประสงค์ในการออกกฎหมาย อย่างเช่น กฎหมายพระราชบัญญัติรักษา

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

17

คลอง ร.ศ. 121 พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พุทธศักราช 2456 พระราชบัญญัติ
สาธารณสุขพุทธศักราช 2484 พระราชบัญญัติการชลประทาน พุทธศักราช 2485 ประมวลกฎหมาย
อาญา พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 ประกาศของ
คณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 295 เรื่องทางหลวง ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2513 ประกาศ
มลพษิ กระทรวงอตุ สาหกรรม ฉบับท่ี 25 พ.ศ. 2531 เปน็ ต้น

นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานอ้างอิง และกฎหมายที่เกี่ยวข้องสาหรับภารกิจการจัดการขยะ
มูลฝอยและส่ิงปฏิกูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้มีกฎหมายบัญญัติให้มีอานาจหน้าที่ไว้ ดังนี้
(กระทรวงมหาดไทย 2550: 4-6)

1. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 4
“เจ้าพนักงานทอ้ งถน่ิ ” หมายความว่า

มาตรา 60 “เพ่ือประโยชน์ในการจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ือการจัดการ
คุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดตามมาตรา 37 ให้เจ้าพนักงานท้องถ่ินในท้องที่ท่ีได้ประกาศ
กาหนดให้เป็นเขตควบคมุ มลพิษตามมาตร 59 จดั ทาแผนปฏิบตั ิการเพอื่ ลดและขจัดมลพษิ ในเขตควบ
คุณมลพิษน้ันเสนอต่อ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อร่วมไว้ในแผนปฏิบัติการเพ่ือการจัดการคุณภาพ
ส่งิ แวดล้อมในระดบั จงั หวัด…”

มาตรา 73 “ห้ามมิให้ผู้ใดรับจ้างเป็นผู้ควบคุมหรือรับจ้างให้บริการบาบัด
น้าเสียหรือกาจดั ของเสียเวน้ แต่จะได้รบั ใบอนุญาตจากพนักงานท้องถ่ินการขอและการออกใบอนุญาต
คุณสมบัติของผู้รับใบอนุญาต การควบคุมการปฏิบัติงานของผู้ได้รับอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต
การออกใบแทนใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขท่ีกาหนดในกฎกระทรวงให้ถือ
ว่าผู้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้รับจ้างให้บริการเป็นผู้รับใบอนุญาต ให้เป็นผู้ควบคุมด้วยในการรับจ้าง
ให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียของผู้รับจ้างให้บริการตามวรรคหนึ่งจะเรียกเก็บค่าบริการ
เกินกว่าอตั ราท่กี าหนดในกฏกระทรวงมไิ ด้”

มาตรา 74 “ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือในเขตพื้นท่ีใดท่ีทางราชการยังมไิ ด้
จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวม แต่มีผู้ได้รับ
ใบอนญุ าตรับจ้างให้บริการบาบัด น้าเสียหรือกาจัดของเสียอยู่ในเขตควบคุมมลพิษหรอื เขตท้องที่นั้น
ให้เจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองแหลง่ กาเนิดมลพิษตามมาตร 71 และมาตรา 72 จัดสง่ น้าเสียหรอื ของเสีย
จากแหล่งกาเนินของตนไปให้ผู้รับจ้างให้บริการทาการบาบัดหรือกาจัดตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ
เง่อื นไขที่เจ้าพนกั งานท้องถิน่ กาหนดโดยคาแนะนาของเจ้าหน้าพนักงานควบคุมมลพิษ”

มาตรา 75 “ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือเขตท้องที่ใด ท่ีทางราชการยังมิได้
จัดให้มีการระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวม และไม่มีผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้าง
ให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียอยู่ในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องท่ีน้ัน เจ้าพนักงาน
ท้องถิ่นโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ อาจกาหนดวิธีการชั่วคราวสาหรับการบาบัดน้า
เสียหรือกากับของเสียซ่ึงเกิดจากแหล่งกาเนิดมลพิษตามมาตร 71 และมาตรา 72 ได้ตามที่จาเป็น
จนกว่าจะได้มีการก่อสร้าง ติดตั้งและเปิดดาเนินงานระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสีย
รวม ในเขตควบคมุ มลพษิ หรอื เขตพ้ืนทนี่ น้ั … ”

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2

18

มาตรา 77 “ให้สว่ นราชการหรือราชการส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นผู้จัดให้มีระบบ
บาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวม โดยใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน หรือเงินรายได้ของ
ราชการส่วนท้องถิ่นและเงินกองทุนตามพระราชบัญญัติน้ี มีหน้าท่ีดาเนินงานและควบคุมการทางาน
ของระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมท่ีส่วนราชการนั้นหรือราชการส่วนท้องถ่ินน้ัน
จดั ให้มขี น้ึ …”

มาตรา 80 “เจ้าของหรือผู้ครองครองแหล่งมลพิษ ซ่ึงมีระบบบาบัดอากาศ
เสียอุปกรณ์หรือเครื่องสาหรับควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียหรือมลพิษอื่น ระบบบาบัดน้าเสียหรือ
ระบบกาจัดของเสียตามมาตรา 68 หรือ มาตรา 70 เป็นของตนเอง มีหน้าท่ีต้องเก็บสติติและข้อมูล
แสดงผลการทางานของระบบหรืออุปกรณ์และเครื่องมือดังกล่าวในแต่ละวัน และจัดทาบันทึก
รายละเอียดเป็นหลักฐานไว้ ณ สถานทีต่ ั้งแหล่งกาเนิดมลพษิ น้ัน และจะต้องจัดทารายงานสรุปผลการ
ทางานของระบบหรืออุปกรณ์หรือเครือ่ งมือดังกว่าเสนอต่อเจ้าพนักงานท้องถิน่ แหง่ ทอ้ งท่แี หลง่ กาเนิด
มลพิษนน้ั ตงั้ อยู่อยา่ งน้อยเดอื นละหนึ่งครั้ง… ”

มาตรา 88 “ในเขตขวบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่ใดซง่ึ ได้จัดให้มกี ารก่อสร้าง
แล ะด า เนิ น ก า ร ระ บ บ บ า บั ด น้ า เสี ย รว ม ห รื อ ระ บ บ ก าจั ด ขอ งเสี ย รว ม ข อ งท างร า ช กา ร โด ย เ งิน
งบประมาณแผ่นดินหรือเงินรายได้ของราชการส่วนท้องถ่ิน และเงินกองทุนซ่ึงจัดสรรตาม
พระราชบัญญัตินี้แล้วให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุม
มลพิษ พิจราณากาหนดอัตราคา่ บริการที่จะประกาศใช้ในแต่ละเขตควบคุมมลพิษหรอื เขตท้องท่ีทเี่ ป็น
ที่ตัง้ ของระบบบาบัดน้าเสียรวมหรอื ระบบกาจัดของเสียรวมดงั กล่าว”

2. พระราชบัญญตั กิ ารสาธารณสุข พ.ศ. 2535
มาตรา 18 “การกาจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยในเขตราชการส่วนท้องถิ่นใด ให้

เปน็ อานาจหน้าทรี่ าชการส่วนท้องถ่นิ นนั้
ในกรณีมีเหตุอันควร ราชการส่วนท้องถ่ินอาจมอบให้บุคคลใดดาเนินการแทนภายใต้การ

ควบคมุ ดูแลของราชการส่วนท้องถ่ิน หรอื อาจอนุญาตให้บุคคลใดเปน็ ผู้ดาเนินการกาจัดส่ิงปฏิกูลหรือ
มลู ฝอยตามมาตรา 19 กไ็ ด้”

มาตรา 19 “ห้ามมิให้ผู้ใดดาเนินกิจการรับทาการเก็บ ขน หรือกาจัดสิ่ง
ปฏิกูลหรือมลู ฝอยโดยทาเป็นธรุ กิจ หรอื โดยได้รับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบรกิ าร เว้นแต่จะ
ไดร้ ับอนญุ าตจากเจา้ พนกั งานท้องถิน่ ”

มาตรา 20 “เพื่อประโยชน์ในการรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบใน
การเก็บ ขน และกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยให้ราชการส่วนท้องถ่ินมีอานาจออกข้อกาหนดของ
ทอ้ งถนิ่ ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) ห้ามการถ่ายเท ท้ิง หรือทาให้มีขึ้นในท่ีหรือต่างสาธารณะ ซึ่งส่ิง
ปฏกิ ูลหรอื มลู ฝอยนอกจาก ในท่ีท่ีราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ ไดจ้ ดั ไว้ให้

(2) กาหนดให้มีท่ีรองรับสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอยตามท่ีหรือทางสาธารณะ
และสถานทเี่ อกชน

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2

19

(3) กาหนดวิธีการเก็บ ขน และกาจัดสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย หรือให้
เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานท่ีใดๆ ปฏิบัติให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะตามสภาพ หรือ
ลกั ษณะการใช้อาคารหรือสถานท่ีนนั้ ๆ

(4) กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการของราชการส่วนท้องถ่ินใน
การเกบ็ และขนสิ่งปฏกิ ูลหรอื มลู ฝอย ไมเ่ กินอัตราตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง

(5) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกาจัดสิ่ง
ปฏิกูลหรือมูลฝอยเพื่อให้ ผู้รับใบอนุญาตตามมาตร 19 ปฏิบัติ ตลอดจนกาหนดอัตราคา่ บริการข้ันสูง
ตามลกั ษณะการให้บริการท่ีผรู้ ับใบอนุญาตตามมาตรา 19 พงึ จะเรยี กเก็บได้

(6) กาหนดการอ่นื ใดท่จี าเปน็ เพื่อใหถ้ กู ต้องด้วยสขุ ลกั ษณะ
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550

ม า ต ร า ที่ 85 รั ฐ ต้ อ ง ด า เนิ น ก า ร ต า ม แ น ว น โย บ า ย ด้ า น ท่ี ดิ น
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ดงั น้ี

(1) จัดให้มีการสร้างผังเมือง พัฒนา และดาเนินการตามผังเมืองอย่างมี
ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล เพื่อประโยชนใ์ นการดแู ลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งยั่งยืน

(2) จัดให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรน้า และทรัพยากรธรรมชาติอื่น
อย่างเป็นระบบและเกิดประโยชน์ต่อสว่ นรวม ทั้งต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวน บารุงรักษา
การใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดลุ

(3) ส่งเสริม บารุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพส่ิงแวดล้อม ตามหลักการ
พัฒนาอย่างยั่งยืนตลอดจนควบคุมและกาจัดสภาวะมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และ
คณุ ภาพชีวิตของประชาชน โดยประชาชน ชุมชนท้องถ่ิน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีส่วน
ร่วมในการกาหนดแนวทางการดาเนินงาน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 :
78-80)

มาตรา 290 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ย่อมมีอานาจหน้าที่ส่งเสริมและ
รกั ษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ

กฎหมายตามวรรคหนง่ึ อย่างนอ้ ยต้องมีสาระสาคัญดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ก ารจั ด ก าร ก ารบ ารุงรัก ษ า แ ล ะ ก ารใช้ ป ระ โย ช น์ จ าก

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มทอ่ี ยใู่ นเขตพ้นื ท่ี
(2) การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ

สิง่ แวดล้อมที่อยูน่ อกเขตพ้ืนท่ีเฉพาะในกรณีที่อาจมีผลกระทบต่อการดารงชีวิตของประชาชนในพื้นท่ี
ของตน

(3) การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพ่ือริเร่ิมโครงการ หรือกิจกรรมใด
นอกเขตพ้ืนที่ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อม หรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในเขต
พนื้ ที่

(4) การมีส่วนร่วมของชมุ ชนท้องถ่ิน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศกั ราช 2550 : 255-356)

4. พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ.2496 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2546

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

20

มาตราที่ 56 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลนครมีหน้าที่ตอ้ งทาในเขต
เทศบาล ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) กิจการท่รี ะบไุ ว้ในมาตรา 53 คอื
(1) กิจการทร่ี ะบไุ ว้ในมาตรา 50
(2) ใหม้ ีน้าสะอาด หรอื การประปา
(3) ใหม้ ีโรงฆ่าสัตว์
(4) ใหม้ ีและบารงุ สถานทีท่ าการพทิ กั ษ์และรักษาคนเจบ็ ไข้
(5) ให้มีการปรับปรุงทางระบายนา้
(6) ให้มีการบารงุ ส้วมสาธารณะ
(7) ใหม้ แี ละบารงุ การไฟฟ้า หรอื แสงสว่างโดยวิธีอื่น
(8) ใหม้ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม โรงรบั จานา หรอื สถานสินเชอื่ ทอ้ งถ่ิน

(2) ให้มแี ละบารุงการสงเคราะห์มารดาและเด็ก
(3) กจิ การอยา่ งอืน่ ซ่ึงจาเปน็ เพ่ือการสาธารณสขุ
(4) การควบคุมสุขลักษณะอนามัยในร้านจาหน่ายอาหาร โรงมหรสพ และ
สถานบรกิ ารอน่ื ๆ
(5) จัดการเก่ียวกบั ท่อี ยู่อาศัยและปรับปรงุ แหลง่ เสือ่ มโทรม
(6) จัดใหม้ ีการควบคุมตลาด ทา่ เทยี บเรอื ทา่ ข้าม และทจ่ี อดรถ
(7) การวางผังเมืองและการควบคมุ การก่อสร้าง
(8) การส่งเสริมกิจการท่องเที่ยว (คู่มือการเงิน การคลัง งบประมาณ พัสดุ
และสวสั ดกิ ารของทอ้ งถ่นิ 2548 : 51-52)

2.2 ความหมายขยะมลู ฝอย
พระราชบญั ญัติการสาธารณสขุ (2535) ได้ใหค้ วามหมายของคาว่า“ขยะมลู ฝอย” หรอื “มูล
ฝอย” ไว้ว่า หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหารเถ้า
มลู สัตว์หรือซากสัตวร์ วมตลอดถึงส่งิ อน่ื ใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่เี ล้ียงสตั ว์หรือท่อี ่ืน
พจนานุกรมฉบับราขบัณฑิตยสถาน (2542) ให้คาจากัดความของขยะ ว่า หมายถงึ หยากเย่ือ
เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสนิ ค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอ่ าหาร เถ้า มลู สัตว์ หรือซากสตั ว์
รวมถึงสิ่งอน่ื ใดทีเ่ ก็บกวาดจากถนน ตลาด ทเี่ ลย้ี งสตั ว์ และทีอ่ น่ื
สุธรี า ตุลยะเสถียร และคณะ (2544) ได้ให้ความหมายของขยะมูลฝอยไว้ว่า หมายถึง สงิ่ ของ
ทีไ่ ม่ใช้แลว้ ซึ่งสว่ นใหญ่จะเป็นของแข็ง อาจเน่าเป่ือยได้หรือไม่ก็ตาม รวมไปถึง เถ้า ซากสัตว์ มูลสัตว์
เศษวสั ดทุ ท่ี งิ้ แลว้ จากอาคารบ้านเรอื นหรือสถานทีอ่ ่ืนๆ
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (2545) ได้ให้ความหมายของ “ขยะ” ว่า เป็นของเหลือทิ้ง
จากกระบวนการผลิตและการใชส้ อยของมนุษย์
สานักงานคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (2546 : 9) กล่าวว่า ขยะมูลฝอย
หมายถึง บรรดาสิ่งของต่างๆ ซึ่งในขณะน้ันคนไม่ต้องการและท้ิงไป ทั้งนี้รวมถึงเศษผ้า เศษอาหาร

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

21

มลู สัตว์ ซากสัตว์ เถ้า ฝุ่นละอองและเศษวัสดุ ส่ิงของที่เก็บกวาดจากเคหสถาน อาคาร ถนน ตลาด ที่
เล้ยี งสตั ว์ โรงงานอตุ สาหกรรม และทอ่ี ่ืนๆ

กรมควบคมุ มลพิษ (2548) ได้อธิบายไว้ว่า ขยะหรือมูลฝอย (Solid waste) คือ เศษกระดาษ
เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะท่ีใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ซากสัตว์หรือส่ิง
อื่นใด ทเี่ ก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลยี้ งสัตวห์ รอื ที่อ่ืน และหมายความรวมถึงมลู ฝอยติดเชื้อมลู ฝอยท่ี
เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนหรือครัวเรือน ยกเว้นวัสดุที่ไม่ใช้แล้วของโรงงานซึ่งมีลักษณะและ
คณุ สมบัตทิ กี่ าหนดไวต้ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงงาน

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน (2550 : 3) ได้ให้ความหมายของคาว่า ขยะมูลฝอย
หมายถึง สิ่งเหลือใช้และส่ิงปฏิกูลที่อยู่ในรูปของแข็ง ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และสัตว์ ท้ังจาก
การบริโภค การผลิต การขับถ่าย การดารงชีวิตและอื่น ๆ สิ่งปฏิกูล หมายถึง สงิ่ สกปรก ของสกปรก
ของเน่าเปื่อย อุจจาระหรือปสั สาวะ และหมายรวมถึงสิง่ อ่นื ใดซึ่งเปน็ สง่ิ โสโครกหรือมีกล่นิ เหม็น

สรุปได้ว่า ขยะมูลฝอย (Solid Waste) หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า
เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะท่ีใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ซากสัตว์ หรือสิ่งอ่ืนใดท่ีเก็บกวาดจากถนน
ตลาด ที่เล้ียงสัตว์ เป็นของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและการใช้สอยของมนุษย์ส่ิงเหลือใชและส่ิง
ปฏิกูลที่อยูในรูปของแข็ง ซึ่งเกิดจาก กิจกรรมของมนุษยและสัตวทั้งจากการบริโภคการผลิต การ
ขบั ถ่าย การดารงชีวิตและอืน่ ๆ ในชุมชนบ้านเกาะทองสม

2.3 ประเภทของขยะมลู ฝอย
ขยะมูลฝอยอาจมีความแตกต่างกันตามประเภทหรือชนิด อาจมีต้ังแต่ขนาดใหญ่ไปจนถึง
ขนาดเล็กจาพวกฝุ่นละออง แต่กถ็ ือว่าเปน็ ขยะมูลฝอยทั้งสน้ิ การแบ่งประเภทของขยะมูลฝอยนั้น แต่
เดมิ แบง่ ออกเพียง 3 ประเภท มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี (2549) ดังนี้

1) ขยะมูลฝอยเปียก (garbage) หมายถึง เศษวัสดุต่าง ๆ ท่ีเหลือจากการประกอบ
อาหารจากหอ้ งครัว รา้ นอาหาร ท่ีมคี วามช้ืนสงู สามารถเน่าเปื่อยส่งกลิ่นเหมน็ ได้

2) ขยะมูลฝอยแห้ง (Rubbish) หมายถึง เศษวัสดุต่าง ๆ ที่เหลือใช้ทั่ว ๆ ไป ซ่ึงมี
ความชน้ื ตา่ พวกเศษกระดาษ เศษผา้ ฯลฯ

3) เถา้ (Ash) หมายถงึ สง่ิ ท่ีเหลอื จากการเผาไหม้
ต่อมามีนักวิชาการท่ีเกิดจากการเรียนรู้ทางด้านการจัดการขยะมูลฝอยก้าวหน้าทางวิชาการ
มากขน้ึ ไดท้ าการแยกประเภทของขยะมูลฝอยออกเป็นประเภทต่าง ๆ 10 ประเภท ได้แก่

1) เศษอาหาร (Garbage) หมายถึง ขยะจาพวกที่ได้จากห้องครัว การประกอบ
อาหาร รวมถึงพวกเศษใบตอง เศษผลไม้ อาหารท่ีเหลือทิ้ง ฯลฯ ขยะประเภทนี้มีสารอินทรีย์ ซึ่งเป็น
อาหารของแบคทีเรีย ทาให้เกิดการย่อยสลายบูดเน่าส่งกลิ่นเหม็น มีความชื้นสูงเปน็ ปัญหาในการเก็บ
รวบรวมรอการขนถา่ ยและก่อเหตรุ าคาญในเร่อื งกลน่ิ การค้ยุ เขยี่ ของสัตว์ เช่น หนู สุนขั

2) ขยะที่ไม่เน่าเหม็น (Rubbish) หมายถึง ขยะจาพวกที่ไม่เน่าบูด เน่าส่งกลิ่นเหม็น
เหมือนประเภทแรก และมีความช้ืนต่า อาจจะเผาได้ เช่น เศษกระดาษ หรือเผาไม่ได้ เช่น เศษแก้ว
ขยะ ประเภทนอ้ี าจจะเรยี กว่าขยะแหง้ ก็ได้ พวกเศษโลหะ กระป๋อง ลงั กระดาษ ลงั ไม้

3) เถ้าถ่าน (Ash) หมายถึง เศษที่เหลือจากการเผาไหม้ของเช้ือเพลิง จาพวกไม้ ถา่ น
หิน ซ่งี ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนจะมีปริมาณนอ้ ยมาก ไม่ก่อปัญหามากเทา่ กับประเทศในแถบที่มี

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2

22

อากาศหนาวท่ีต้องใช้ความร้อนช่วยให้ความอบอุ่น ซึ่งต้องใช้เช้ือเพลิงมาก ทาให้เกิดขยะประเภทนี้
เปน็ ปัญหาตอ่ การเก็บขนและถ้าการเกบ็ รวบรวมไม่ดีแล้ว ทาให้ฟงุ้ กระจายเกิดปญั หาตามมาอีกมาก

4) มูลฝอยจากถนน (Street Sweeping) หมายถึง เศษสิ่งของต่าง ๆ ท่ีได้จากการ
กวาดถนน ขยะมูลฝอยประเภทนี้ส่วนมากเป็นพวกเศษกระดาษ เศษสนิ ค้า ฝุน่ ละออง เศษหิน อาจจะ
รวมถงึ พวกซากสตั ว์ดว้ ยเป็นบางครั้ง

5) ซากสัตว์ (Dead Animals) หมายถึง สัตว์ท่ีตายตามธรรมชาติ ตายด้วยอุบัติเหตุ
หรือตายด้วยโรคต่าง ๆ แต่ไม่รวมถึงสัตว์หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของสัตว์ที่ท้ิงจากโรงฆ่าสัตว์ เนื่องจาก
เปน็ โรคหนอนพยาธิ ซากสตั ว์เหล่านี้อาจนาไปสกดั เอาไขมันออกและเอาหนังไปฟอกใช้ประโยชน์

6) ซากรถยนต์ (Abandoned Vehicles) หมายถึง รถยนต์ หรือส่วนหนึ่งส่วนใด
ของรถยนต์ท่ีไม่ใชแ้ ล้ว ถ้าปล่อยทิ้งไว้ทาให้เกดิ ความไม่น่าดู จึงควรตอ้ งนาไปดาเนินการอย่างใดอย่าง
หน่ึง แตใ่ นประเทศไทยมีปริมาณซากรถยนต์ไม่มากนักจงึ ไมค่ ่อยเกิดปญั หาจากมูลฝอยประเภทน้ี

7) มูลฝอยจากโรงงาน (Industrial Refuse) หมายถึง มูลฝอยจากโรงงาน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมทั้งโรงฆ่าสัตว์ด้วย เพราะได้จัดอยู่ในประเภทโรงงานอุตสาหกรรม มูลฝอยก็
เปน็ พวกเศษอาหาร ซงึ่ อาจจะก่อใหเ้ กิดเหตรุ าคาญตา่ ง ๆ เชน่ มกี ลิน่ เนา่ เหมน็ ได้

8) เศษวัสดกุ ่อสร้าง (Construction Refuse) หมายถงึ เศษวัสดุตา่ ง ๆ ทีไ่ ด้จากการ
ก่อสร้าง หรือร้ือถอนอาคารบ้านเรือน รวมถึงส่ิงท่ีเหลือจากการตกแต่งบ้านเรือนอีกด้วย เช่น เศษอิฐ
เศษปูน เศษกระเบ้อื ง เศษไม้ หรือเศษวัสดุจากสว่ นบา้ นเรอื น

9) ตะกอนจากน้าโสโครก (Sewage Solids) หมายถึง ของแข็งที่ได้จากการแยก
ตะกอนออกจากกระบวนการปรบั ปรุงสภาพน้าท้ิง รวมตลอดจนตะกอนทไ่ี ด้จากการลอกท่อระบายน้า
สาธารณะตา่ ง ๆ ซ่ึงส่วนมากจะเป็นพวกเศษหนิ ดิน ทราย ไม้ สามารถนาไปถมท่ลี มุ่ ได้ ยกเวน้ ตะกอน
ที่ได้จากถังเกรอะเพราะตะกอนพวกน้ียังมแี บคทเี รยี ปะปนอยู่มาก

10) ขยะมูลฝอยที่เป็นอันตราย (Hazard or Special Refuse) อาจจะก่อให้เกิด
ปัญหาในการเก็บขน การกาจัด ตลอดจนการจับต้อง เช่น กระป๋องท่ีมีการอัดลม ใบมีดโกน ขยะมูล
ฝอยท่ีได้จากโรงพยาบาลต่าง ๆ สารกัมมันตรังสี เป็นต้น ขยะมูลฝอยประเภทน้ี ต้องได้รับความดูแล
ระมัดระวังเป็นพเิ ศษในการเก็บขนและการกาจดั

ประเภทขยะมูลฝอยตามทที่สานักรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร กรมควบคุม
มลพิษ (2553); กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน และสานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย
(2555) ทาการแบ่งประเภทขยะมูลฝอยตามลักษณะทางกายภาพเป็น 4 ประเภท เพ่ือให้ง่ายต่อการ
ดาเนนิ การนาไปกาจดั ให้ถูกต้องตามหลักวชิ าการ ได้แก่

1) ขยะมูลฝอยสดหรือขยะมูลฝอยย่อยสลาย (Compostable Waste) ได้แก่ เศษ
อาหาร เศษพืชผัก เศษใบไม้ เปลือกผลไม้ เศษเน้ือสัตว์ ซากสัตว์ มลู สัตว์ แตจ่ ะไม่รวมถึงซากหรอื เศษ
ของพืช ผัก ผลไม้ หรือสัตว์ท่ีเกิดจากการทดลองในห้องปฏิบัติการ ขยะมูลฝอยประเภทน้ีย่อยสลาย
และเน่าเป่ือยง่าย เพราะว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์ (Organic) และมีความช้ืนค่อนข้างสูง มีกล่ิน
เหม็น การพิจารณาขยะมูลฝอยประเภทน้ีควรพิจารณาความเป็นไปได้ในการหมักทาปุ๋ยชีวภาพได้
เนื่องจากเป็นขยะมูลฝอยประเภทที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว ขยะมูลฝอยย่อยสลายน้ีพบเห็นมาก
ท่สี ุด คอื พบมากถึงร้อยละ 64 ของปรมิ าณขยะมลู ฝอยในกองทง้ั หมด

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

23

2) ขยะมูลฝอยรีไซเคลิ (Recycle Waste) เป็นบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใชห้ รือเศษ
วสั ดุท่ีเกิดจากการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม อาจเป็นสารอินทรีย์ท่ีเน่าเปื่อย ซ่ึงข้ึนอยกู่ ับชนิดของ
อุตสาหกรรม อาจเป็นสารอินทรีย์ที่เน่าเป่ือย ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของอุตสาหกรรม ซากยานพาหนะท่ี
หมดสภาพการใช้งานหรือใช้งานไม่ได้แล้ว ได้แก่ พวกเศษกระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ไม้ พลาสติก
กระป๋องเครื่องดื่ม เศษโลหะ อะลูมิเนียม รวมท้ังช้ินส่วนประกอบของยานพาหนะด้วยซ่ึงสามารถนา
กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ยางรถยนต์ ขยะมูลฝอยชนิดน้ีจะมีทั้งที่เผาไหม้ได้และเผาไหม้ไม่ได้
สามารถเลือกวัสดุท่ียังมีประโยชน์กลับมาใช้ได้อีก โดยทาการคัดแยกมูลฝอยก่อนท้ิง ซึ่งจะช่วยให้
สามารถลดปริมาณมูลฝอยท่ีจะต้องนาไปกาจัดลงได้และถ้านาส่วนที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจก็สามารถ
ทารายไดก้ ลบั คืนมา ในการกาจดั ควรพจิ ารณาการแยกชนิ้ ส่วนที่ยังสามารถนากลบั มาใช้ไดอ้ กี สาหรับ
ขยะมูลฝอยชนิดน้ีเป็นขยะท่ีพบมากเป็นอันดับที่สองในกองขยะมูลฝอย กล่าวคือ พบประมาณ 30%
ของปรมิ าณขยะมลู ฝอยในกองท้ังหมด

3) ขยะมูลฝอยอันตราย (Hazardous Waste) ของเสียปนเป้ือนจากสถานพยาบาล
หรือสถานท่ีต่าง ๆ รวมทั้งวัตถุอันตรายชนิดต่าง ๆ ท่ีมีฤทธ์ิกัดกร่อนหรือเป็นเคมีภัณฑ์ วัตถุระเบิด
วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุท่ีทาให้เกิดโรค วัตถุกรรมมันตรังสี วัตถุที่ทาให้เกิดการ
เปลย่ี นแปลงทางพันธกุ รรมและวัตถุสิง่ อื่นใดที่อาจทาให้เกดิ อันตรายแก่บคุ คล สตั ว์ พืช ทรพั ย์สินหรือ
สิง่ แวดลอ้ ม ต้องใช้กรรมวิธีกาจัด เช่น การเผาในเตาเผาทถี่ ูกหลักสุขาภิบาลหรือการทาลายเป็นพิเศษ
เน่ืองจากเป็นวัตถุท่ีก่อให้เกิดการระคายเคือง องค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุอันตรายชนิดต่าง ๆ
ได้แก่ สารฆ่าแมลง พลาสติก ฟิล์มถ่ายรูป ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์
ภาชนะบรรจุสารกาจัดศัตรูพืช กระป๋องสเปรย์บรรจุสหี รือสารเคมี สเปรย์ฉีดผม รวมท้ังวัตถุอย่างอ่ืน
ที่เป็นเคมีภัณฑ์ ขยะมูลฝอยอันตรายที่มีปริมาณน้อย แต่มีผลกระทบในระยะยาว พบประมาณเพียง
3% ของปรมิ าณขยะมลู ฝอยในกองทัง้ หมด

4) ขยะมูลฝอยท่ัวไป (General Waste) เป็นขยะมูลฝอยประเภทไม่เกิดการย่อย
สลายและเน่าเหม็นและไม่คุ้มค่าในการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ห่อพลาสติกใส่ลูกอม ห่อ
พลาสติกใส่ขนม ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก ซองบะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ถุงพลาสติกเป้ือนเศษอาหาร
กล่องโฟมเปอื้ นอาหาร ฟอยล์เป้ือนอาหาร การกาจัดขยะท่ัวไปควรคดั แยกประเภทที่สามารถนามาใช้
ใหม่ได้ก่อนการกาจัด สาหรับขยะมูลฝอยท่ัวไปนี้ มีปริมาณใกลเ้ คยี งกับขยะมูลฝอยอนั ตราย กล่าวคือ
จะพบประมาณ 3% ของปรมิ าณขยะมูลฝอยในกองท้ังหมด

นอกจากนี้ ธเรศ ศรีสถิต (2558) กล่าวถึง วิธีการการจาแนกประเภทหรือชนิดของขยะมูล
ฝอยสามารถทาการจาแนกได้หลายวิธี ซึ่งข้ึนอยู่กับว่าจะใช้ปัจจัยใดเป็นเกณฑ์ เช่น ถ้าจาแนกตาม
ลักษณะของขยะมูลฝอยที่พบเห็นด้วยตาหรือการสัมผัสและความเป็นพิษ สามารถแบ่งขยะมูลฝอยได้
เปน็ 3 ประเภท ได้แก่

1) ขยะมูลฝอยท่เี น่าเป่ือยงา่ ย (Food Waste or Garbage Waste)
2) ขยะมลู ฝอยท่ีเน่าเปอื่ ยไดย้ ากหรือไมไ่ ด้เลย (Rubbish)
3) ขยะมูลฝอยอนั ตรายหรือสารเคมี (Hazardous Waste or Chemical Waste)

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

24

บางครั้งอาจแบ่งเป็นขยะมูลฝอยแห้งและขยะมูลฝอยเปียก แต่ไม่นิยมใช้ในการจัดการมาก
นัก หรือถ้าทาการแบ่งขยะมูลฝอยตามแหล่งกาเนิด จะทาให้สามารถแบ่งขยะมูลฝอยออกได้เป็น 3
ประเภทเช่นกนั คอื

1) ขยะมลู ฝอยจากเขตชุมชน
2) ขยะมลู ฝอยจากแหลง่ อตุ สาหกรรม
3) ขยะมูลฝอยจากอุตสาหกรรม
กระทรวงมหาดไทย (2550 : 1-2) ได้จาแนกประเภทของขยะมูลฝอยตามคุณลกั ษณะของมูล
ฝอยไว้ดังนี้
จาแนกโดยใชล้ ักษณะทางเคมี
1. ขยะมลู ฝอยท่ีเผาไหม้ได้ ได้แก่ เศษไม้ ใบไม้ พลาสติก กระดาษ ผา้ สิ่งทอ ยาง
ฯลฯ
2. ขยะมูลฝอยท่ีเผาไหมไ้ มไ่ ด้ ไดแ้ ก่ เศษโลหะ เหลก็ แก้ว กระเบ้ือง เปลอื กหอย
หนิ ฯลฯ
3. ขยะมลู ฝอยที่ไมเ่ ป็นพษิ หรอื ขยะมลู ฝอยทวั่ ไป ไดแ้ กข่ ยะมูลฝอยทเ่ี กดิ จาก
บ้านเรือน รา้ นคา้ เชน่ พวกเศษอาหาร กระดาษ พลาสติก เปลอื กและใบไม้ เป็นตน้
4. มลู ฝอยทเ่ี ป็นพิษ ซ่งึ เป็นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพและชีวิตมนษุ ย์ ตลอดจนสิ่งมชี ีวิต
อ่ืนๆ ได้แก่ ของเสียท่ีมีส่วนประกอบของสารอันตราย หรือของเสียท่ีมีฤทธ์ิกัดกร่อน หรือติดไฟง่าย
หรือมีเช้ือโรคปะปนอยู่ เช่นซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอร่ี ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ กาก สารเคมี
สาลี และผ้าพนั แผลจากโรงงาน
จาแนกตามลกั ษณะของส่วนประกอบของขยะมลู ฝอย
1. กระดาษ ถุง กลอ่ ง ลัง เศษกระดาษจากสานกั งาน
2. พลาสตกิ มีความทนทานตอ่ การทาลายไดส้ ูง วัสดุ หรือผลติ ภณั ฑท์ ่ีทาจาก
พลาสตกิ เช่น ถุงภาชนะ ของเลน่ เด็ก ของใช้
3. แกว้ วสั ดุ หรอื ผลิตภัณฑ์ทีท่ าจากแกว้ เชน่ แก้ว หลอด หลอดไฟ เศษกระจก
ฯลฯ
4. เศษอาหาร ผัก ผลไม้ ซึ่งเป็นสารประกอบอนิ ทรียย์ ่อยสลายได้ง่ายเปน็
สว่ นประกอบสาคญั ท่ีทาให้ขยะเกดิ กล่นิ เหม็น สง่ กลน่ิ รบกวน ไม่มีการเกบ็ ขนออกจากแหล่งทิ้งทุกวนั
5. ผ้าทอตา่ งๆ ทที่ ามาจากเสน้ ใยธรรมชาติ และใยสังเคราะห์ เช่น ผา้ ไนล่อน ขน
สัตว์ ลินิน ฝา้ ย
6. ยาง และหนัง เชน่ รองเทา้ กระเปา๋ ลูกบอล
7. ไม้ เศษเฟอรน์ ิเจอร์ โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ
8. หิน กระเบื้อง กระดูก และเปลือกหอย พวกที่ไม่เน่าเป่ือย พบมากในแหล่ง
ก่อสร้างตกึ ที่ทุบท้งิ
9. โลหะตา่ งๆ เช่น กระเบ้อื ง ลวด สายไฟ ตะปูอ่นื ๆ ทไ่ี ม่อาจจัดกลมุ่ ได้
จาแนกตามแหล่งท่มี า
1. ขยะมูลฝอยจากถนน ได้แก่ เศษส่ิงของตา่ งๆ ทป่ี รากฏและกวาดถนนจาก

การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

25

ตรอกซอย เชน่ เศษกระดาษ ผง ฝนุ่ ใบไม้ พลาสตกิ อิฐ หิน ทราย กรวด
2. ขยะมูลฝอยทเ่ี กดิ จากส่ิงท่เี หลอื จากการเผาไหม้ท่ีเรียกว่า ข้เี ถา้ เช่น ขเี้ ถ้าท่ี

เกดิ ข้ึนจากเตาไฟ การเผาถ่าน ฯลฯ
3. ขยะมลู ฝอยจาการกอ่ สรา้ ง ไดแ้ ก่ เศษวสั ดุก่อสรา้ ง เช่น เศษใบไม้ เศษกระเบือ้ ง

เศษปนู อฐิ หัก ฯลฯ
4. ขยะมูลฝอยจาการร้อื ถอนสงิ่ กอ่ สรา้ ง ได้แก่ เศษสิง่ ทีไ่ ม่ต้องการทีเ่ กิดจากการรื้อ

ถอน อาคารบา้ นเรอื นเก่า ฯลฯ
5. ซากสัตว์จากสตั ว์ตาย สตั วเ์ น่าเป่ือย
6. ซากยานพาหนะทุกชนดิ ทหี่ มดสภาพ ใชง้ านไมไ่ ด้ รวมทั้งช้ินสว่ นประกอบ

เชน่ แบตเตอรร่ี ยาง ฯลฯ
7. ขยะมลู ฝอยจากโรงงานอตุ สาหกรรม ไดแ้ ก่ เศษวัตถุทีเ่ กดิ จากการผลิต

หรอื ข้ันตอนการผลิต
8. ขยะมูลฝอยประเภททาลายยาก ไดแ้ ก่ ขยะมูลฝอยท่ตี ้องการใช้กรรม

วิธีทาลายพเิ ศษ เชน่ พลาสติก ฟิลม์ ถา่ ยรูป กากแร่ธาตุตา่ งๆ
9. ขยะสด
10. ขยะแหง้
11. ขยะพเิ ศษ
12. ของใช้ชารดุ
13. ขยะจากการกสกิ รรม
14. การตกตะกอนของน้าโสโครก

2.4 ลักษณะของขยะมูลฝอย
นงกต สวัสดิชิตัง (2556) การแบ่งลักษณะขยะมูลฝอยแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ ลักษณะทาง
กายภาพ (Physical) และลักษณะทางสารเคมี (Chemicals) มดี งั น้ี

1) ลักษณะทางกายภาพ (Physical) ได้แก่ ส่วนประกอบในแต่ละอย่างของขยะมูล
ฝอย โดยธรรมชาติแล้วขยะมูลฝอยโดยทั่ว ๆ ไป ไมม่ คี วามเป็นเนือ้ เดียวกัน และมีส่วนประกอบต่าง ๆ
มากมายหลายชนิดคละเคล้าปะปนกันอยู่ ซ่ึงทาการวิเคราะห์หาองค์ประกอบที่แท้จริงได้ยากแต่ไม่
สามารถหาองคป์ ระกอบและแยกแยะขยะมลู ฝอยไดช้ ัดในเชิงประจักษ์ดว้ ยสายตา ซงึ่ มเี ปอร์เซ็นตห์ รือ
สัดส่วนในองค์ประกอบของขยะมูลฝอยจะมีปริมาณมากหรือปรมิ าณน้อยเท่าใด ข้ึนอย่กู ับปัจจัยหลาย
ประการ เช่น แหล่งกาเนิด ฤดูกาล สภาพทางเศรษฐกิจ รวมทั้งความหนาแน่นของขยะมูลฝอย
(Density of Solid Wastes) ท่ีนามาใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการประเมินมวลน้าหนักท้ังหมดและ
ประเมินการยุบตัวของขยะมูลฝอย เมื่อถูกการบีบอัดในขณะถูกเก็บรวบรวมหรือในขณะขนส่งเพื่อนา
กาจัดด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยเฉพาะการกาจัดด้วยวิธีฝังกลบ การหาความหนาแน่นของขยะมูลฝอยยัง
ไม่มวี ิธีทีเ่ ปน็ สากลท่ีจะนามาใช้อยา่ งเปน็ มาตรฐานเดยี วกนั

2) ลักษณะทางสารเคมี ( By Chemicals) ประกอบดว้ ย คา่ ความชน้ื (Moisture of
Solid Wastes) ปริมาณของแข็งโดยมวลรวมหรือปริมาณขยะมูลฝอยแห้งท่ีเหลือจากการนาน้า

การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

26

ออกไป ปริมาณสารที่เผาไหม้ได้ ปริมาณขี้เถ้า ประมาณค่าความร้อนที่ได้จากการเผากาจัดเพ่ือ
นาไปใช้ประโยชน์ต่อการเลือกวิธีกาจัดและองค์ประกอบการเกิดทางเคมี ทั้งปริมาณสารไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส โปตัสเซียม คาร์บอน ไฮโดรเจน และคลอรีน ซ่ึงเป็นสารมีพิษประเภทโลห ะมีความ
หนาแน่นเกินกว่า 5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร เช่น ตะกั่ว ปรอท สารพิษเหล่านี้เมื่อสะสมอยู่ใน
ร่างกายถึงในระดับหนึ่งถงึ จะแสดงอาการ รวมทง้ั เศษขยะมูลฝอยที่เหลือจากการเผาไหม้ท่สี มบูรณ์ ไม่
สามารถไหม้ไฟต่อไปได้อีก ได้แก่ (Ash) ซ่ึงประกอบด้วย สารอินทรีย์ที่ไม่เป็นอันระเหย ซึ่งเป็น
สารเดิมก่อนเผาไฟหรือสารที่ระเหยได้ (Volatitle Solids) จากน้าหนักของขยะมูลฝอยที่หายไปเมื่อ
นาไปเผาในเตาเผา (Muff Fumace) ที่อุณหภมู ิ 600-950 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง โดยมีค่า
ปรมิ าณความรอ้ น (Heating or Calorific Values) ที่เกดิ จากการสนั ดาปเชื้อเพลงิ จากขยะมูลฝอยกับ
ก๊าซออกซเิ จนบริสทุ ธ์ิ

สรปุ ไดว่า ขยะมูลฝอยเป็นตัวการสาคัญประการหนึง่ ทีก่ ่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม เม่ือมีขยะ
มูลฝอยจานวนมาก แตช่ มุ ชนไมส่ ามารถเก็บขน และกาจัดขยะมูลฝอยไดอ้ ย่างหมดจดหรือจัดการขยะ
มูลฝอยได้อย่างถูกสุขลักษณะ ขยะมูลฝอยจึงก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น อากาศเสีย น้าเสีย
แหล่งพาหนะนาโรคเหตุราคาญและความไม่น่าดู นอกจากยังเป็นสาเหตุทาให้เกิดปัญหากับระบบ
ทางเดนิ หายใจ โรคผิวหนังแก่ประชาชนที่อย่บู รเิ วณใกล้เคียง

2.5 แหล่งกาเนิดของขยะมูลฝอย
กรมควบคุมมลพิษ (2548 : 10) ได้จาแนกขยะมูลฝอยในชุมชนมีหลายชนิด การจาแนก
ประเภทขยะมูลฝอยมีหลายลักษณะพิจารณาจากองค์ประกอบหรอื แหลง่ กาเนิดของ ขยะมูลฝอย โดย
ใชแ้ หล่งกาเนิดเป็นเกณฑใ์ นการพิจารณา จาแนกออกได้ 3 ประเภท ดังนี้
1) ขยะมูลฝอยจากชุมชน (Community wastes) ส่วนมากจะเป็นเศษอาหาร เศษ กระดาษ
แก้ว เศษโลหะ เศษไม้ และเศษพลาสติก นอกจากน้ียังมีขยะมูลฝอยที่เป็นอันตราย เช่น ซาก
ถ่านไฟฉาย แบตเตอรีเ่ กา่ ซากหลอดฟลอู อเรสเซนตแ์ ละกระปอ๋ งสารเคมีตา่ ง ๆ ทใี่ ชใ้ นบา้ น
2) ขยะมูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial wastes) จะมีท้ังท่ีเป็นอันตราย เช่น
กากสารเคมี และสารประกอบท่ีมีโลหะหนักต่าง ๆ นอกจากนั้นยังมีขยะมูลฝอยท่ีไม่เป็น อันตรายท่ี
เกิดจากกิจการในสว่ นของสานกั งานและโรงอาหารของโรงงาน เชน่ เศษวสั ดเุ หลือทง้ิ เศษอาหาร
3) ขยะมูลฝอยจากการเกษตรกรรม (Agricultural wastes) มีท้ังท่ีเป็นซากพืช ซาก สัตว์
และเศษภาชนะทีใ่ ชบ้ รรจปุ ้องกันและกาจดั ศตั รูพชื
เทศบาลเมืองทุ่งสง (2551 : 1) ขยะที่เปนสิ่งที่เหลือใช หรือส่ิงที่ไมตองการอีกตอไป สามารถ
แบงตามแหลงกาเนิดไดดงั นี้
1. ของเสียจากอุตสาหกรรมของเสียอันตรายทั่วประเทศไทย 73% มาจากระบบ
อตุ สาหกรรมสวนใหญยังไมมีการจดั การที่เหมาะสม โดยทง้ั กระจัดกระจายอยูตามส่ิงแวดลอมและ ทิ้ง
รวมกับมลู ฝอยประเภทอ่นื
2. ของเสียจากโรงพยาบาลและสถานท่ีศึกษาวิจัยของเสียจากโรงพยาบาลเปนของเสีย
อันตรายอยางยิ่ง เชนขยะติดเชื้อ เศษอวัยวะจากผูปวย และการรักษาพยาบาล รวมท้ังของเสียท่ี

การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

27

ปนเปอนสารกัมมันตรังสี สารเคมี ถูกท้ิงสูสิ่งแวดลอมโดยปะปนกับมูลฝอย สิ่งปฏิกูลเปนการเพิ่ม
ความเสย่ี งในการแพรกระจายของเชอื้ โรคและสารอันตราย

3. ของเสยี จากภาคเกษตรกรรม เชน ยาฆาแมลง ปุย มูลสัตว นา้ ทงิ้ จากการทาปศุสตั ว
4. ของเสยี จากบานเรือน แหลงชุมชน เชน หลอดไฟ ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ แกว เศษอาหาร
พลาสติก โลหะ หิน ไม กระเบือ้ ง หนงั ยาง ฯลฯ
5. ของเสียจากสถานประกอบการในเมือง เชน ภตั ตาคาร ตลาดสด วดั สถานเรงิ รมย์
สานักทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (2557) แหล่งชุมชน กิจกรรมอุตาสาหกรรม และ
กิจกรรมเกษตรกร จัดได้เป็นแหล่งดาเนิดของขยะมูลฝอยที่สาคัญ เม่ือประชากรเพิ่มขน้ึ ขยะมูลฝอยก็
จะเพิ่มข้ึนเป็นเงาตามตัวประกอบกับมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ก็ย่ิงทาให้มีขยะมูลฝอย
ใหม่ๆ เกิดขึน้ มากมาย ขยะมลู ฝอยเหล่าน้ีมที ัง้ ขยะมลู ฝอยทั่วไปและของเสยี อันตราย แต่ละประเภทมี
ลกั ษณะแตกต่างกัน ดงั นี้
1. อาคารท่ีอยู่อาศัย ได้แก่ อาคารบ้านเรือน แฟลต ทาวน์เฮ้าท์และคอนโดมิเนียม มูลฝอย
จากแหล่งท่ีเป็นพวกมูลฝอยรวม ท้งั อินทรีย์วัตถุ และอนนิ ทรีย์วัตถุ เช่น เศษโลหะ กระป๋อง ขวด แก้ว
นา้ จานชาม จดั เป็นพวกมลู ฝอยแห้ง
2. ย่านการค้า ได้แก่ ร้านค้า ศูนย์การค้าต่างๆ แหล่งการค้าของประเทศไทยและประเทศที่
กาลังพัฒนาส่วนใหญ่จะประกอบการค้า โดยอาศัยร้านค้าช้ันล่างและช้ันบน ใช้เป็นท่ีอยู่อาศัย
คณุ ลักษณะของมลู ฝอยจงึ คล้ายคลึงกบั ขยะทีท่ ง้ิ มากจากยา่ นที่พัก
3. ตลาดสด มูลฝอยจากแหล่งตลาดสด มีปริมาณมาก ลักษณะของมูลฝอย ประกอบด้วย
อินทรีวัตถุเป็นส่วนใหญ่ คือ เศษผัก ผลไม้ ใบตองดิบ เศษอาหาร เศษเน้ือสัตว์ ส่วนอินทรียวัตถุคือ
พลาสตกิ ซ่งึ มีปริมาณมาก เชน่ กัน
4. โรงงานอุตสาหกรรม มูลฝอยที่ทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมจะมีปริมาณและคุณลักษณะ
แตกต่างกันไปตามขนาดและประเภทของโรงงาน เช่น โรงงานอาหารกระป๋อง จะมีเศษมูลฝอยพวก
เนื้อสัตว์ เศษผัก ผลไม้ โรงงานเย็บผ้าจะเป็นมูลฝอยพวกเศษผ้า เศษด้าย เศษกระดาษ เป็นส่วนใหญ่
และโรงงานฆ่าสัตว์จะมมี ูลฝอยพวกมูลสตั ว์ ขน เศษชิ้นสว่ นของสัตว์
5. การร้ือถอนอาคารและการกอ่ สรา้ งปัจจบุ ันสังคมไทยนิยมสรา้ งอาคารคอนกรตี เมื่ออาคาร
เกา่ ชารดุ หรือจาเป็นตอ้ งทุบทิ้งเพ่ือก่อสร้างอาคารใหม่ จะเหลือเศษวสั ดุพวกอิฐ หิน กรวด ทราย เศษ
เหล็ก กระเบือ้ ง เศษเหลก็ กระเบอื้ ง เศษเหลก็ ท่ีตดิ มาจากคอนกรตี เศษไม้ เปน็ ต้น
6. แหล่งเกษตรกรรม มูลฝอยส่วนใหญ่จะประกอบด้วย เศษหญ้า ฟาง เศษพืช ผัก มูลสัตว์
กระปอ๋ งยาฆา่ แมลง
7. แหล่งมูลฝอยจากถนน เศษสิ่งของทุกชนิดที่เก็บกวาดจากถนนถือเป็นมูลฝอยได้แก่ เศษ
ดิน หิน กรวด กระดาษ ก้นบุหร่ี ใบไม้ เศษตั๋วรถโดยสาร ขวดแก้ว และเศษผลไม้ท่ีผู้โดยสารโยนทิ้ง
ออกจากยานพาหนะ
8. สถาบันต่างๆ ได้แก่ สถานท่ีราชการ โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถาน
สงเคราะห์คนชรา ลักษณะมูลฝอยส่วนใหญ่ประกอบด้วย มูลฝอยแห้ง ได้แก่ กระดาษ ถุงพลาสติก
เป็นตน้

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

28

9. แหล่งอื่น ๆ เช่น โรงเรียน ภัคตาคาร ร้านอาคาร เรือนจา สนามบิน สถานีรถไฟ สถานี
ขนส่งทางบก โรงภาพยนตร์ สถานประกอบการอ่ืน ๆ แต่ละวันจะมีมูลฝอยเกิดขึ้นเป็นจานวนมาก
นอกจากน้ันมูลฝอยเกิดจากตะกอนน้าโสโครกจากโรงงานบาบัดน้าโสโครกหรอื ตะกอนที่ได้มาจากท่อ
ระบายนา้ โสโครก เปน็ ต้น

นงกต สวัสดิชิตัง (2556) กล่าวถึง การแบ่งขยะมูลฝอยตามประเภทของแหลง่กาเนิดต่าง ๆ
(By Generator) ได้ดังน้ี

1. แหล่งขยะมูลฝอยชุมชน (Municipal Solid Waste) เป็นขยะมลู ฝอยท่ีเกิดจากการดาเนิน
ชีวิตประจาวันของชุมชน จากแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ ตามอาคาร บ้านเรือน ท่ีพักอาศัย ตามสถานท่ี
ประกอบการค้า ร้านค้า ร้านอาคาร สานักงาน สถานีบริการต่าง ๆ สถาบันต่าง ๆ สถานท่ีก่อสร้าง
การแซ่มแซมรื้อถอน การให้บริการของเทศบาล เช่น การทาความสะอาดถนน สวนสาธารณะ
สวนสาธารณะและการบาบัดน้าเสีย ขยะมูลฝอยท่ีเกิดจากแหล่งต่าง ๆ นี้ ส่วนใหญ่จะประกอบด้วย
กระดาษ (Papers) ส่ิงปลูกสร้าง (Construction)เช่น ซากปรักหักพัง เศษซากจากยาง อิฐ หิน ปูน
ทราย ดนิ พลาสตกิ (Metal) โลหะ วสั ดอุ ันตราย (Hazardous Materials) และแกว้ (Glass)

2. แหล่งขยะมูลฝอยอุตสหกรรม (Industrial Solid Wastes) เป็นขยะมูลฝอยท่ีเกิดจาก
กระบวนการผลิตสินค้าในแต่ละประเภทหรือเกิดจากกระบวนการทางเคมี ซ่ึงจะมีความแตกต่างไป
ตามประเภทของอตุ สาหกรรม เช่น สารปรอทจากการผลิตคลอรีน ฝุ่นละอองและนาเสียจากโรงเรียน
ผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยถ่านหิน กากของเหลือจากการกลั่นน้ามัน ของเสียจากสารคาร์บอนที่เกิดใน
กระบวนการฟอกสี โดยท่วั ไปขยะมลู ฝอยประเภทนี้จะมีปรมิ าณมากกวา่ ขยะมลู ฝอยชมุ ชนถงึ ๔ เทา่

3. แหล่งขยะมูลฝอยอันตราย (Hazardous Waste ) เป็นของเสียปนเป้ือนวัตถุอันตราย ซ่ึง
มาจากแหล่งกาเนิดเดียวกับขยะมูลฝอยชุมชนและขยะมูลฝอยอุตสาหกรรม แต่จาเป็นต้องแยก
ออกเป็นอีกประเภทหนึ่งและใช้วิธีการคัดแยกเพ่ือนาไปกาจัดด้วยวิธีการที่พิเศษกว่า เนื่องจากเป็น
ขยะมูลฝอยที่อันตรายมีพิษต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะท่ีสามารถลุกไหม้
(Ignitibility)ได้ กัดกรอ่ นทาใหผ้ พุ ังได้ (Corrosively) เกิดปฏกิ ริ ิยาทางเคมี (Reactivity)ได้มีความเป็น
พิษ (Toxicity) เช่น น้ามันท่ีใช้แล้วหรือเสียแล้ว มีสารละลายท่ีมีโลหะผสมอยู่ กระป๋องบรรจุสีหรือ
สารเคมี สารจากัดศัตรขู องเสยี ท่เี กดิ จากการกาจดั สารเคมี

4. แหล่งขยะกัมมันตภาพรังสี (Radioactive Waste) เกิดจากกระบวนการผลิตไฟฟ้าทาง
ปฏิกิริยานิวเคลียร์หรือการวิจัยต่าง ๆ การผลิตยาและจากกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมด้วย
กัมมันตภาพรังสี ประกอบด้วย สารกัมมันตภาพสังสีท่ีอะตอมของธาตุไม่มีความเสถียร สามารถ
แปรเปลี่ยนเป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าได้ เช่น รังสีแกมม่า รังสีเบต้า รังสีอัลฟ่า ท่ีสามารถทะลุผ่านวัตถุ
ตา่ งๆรวมทงั้ รา่ งกายมนุษยแ์ ละเปน็ สาเหตุทาใหเ้ กิดโรคมะเร็ง

2.6 ปญั หาท่ีเกดิ จากขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอย (Solid Wastes) นอกจากจะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อมรวมถึงคุณภาพชีวติ ของมนษุ ย์ ขยะมูลฝอยไม่ว่าจะมาจากสถานทีห่ รือแหล่งกาเนิดใด เช่น
ชุมชน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม หากไม่มีการจัดการที่ดีหรือเก็บและกาจัดอย่างถูกต้องให้เหมาะ
หรือถูกหลักวิชาการแล้ว ย่อมสร้างปัญหาให้กระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

29

คุณภาพชีวิตของมนุษย์ จากการทาให้อาคารสถานที่เกิดทัศนะอุจาดแลดูสกปรก ไม่มีความสะอาด
ขาดความเป็นระเบียบและความเรียบร้อยแล้ว ยังก่อปัญหาสร้างความราคาญบ่ันทอนสุขภาพของ
บุคคลท้ังทางตรงและทางอ้อม ทั้งมิติทางกายและมิติทางจิตใจ อย่างยากหลีกเล่ียง จากการศึกษา
ผลกระทบจากการจัดการขยะมูลฝอยของ (พิชยา จันทร์เจริญ, 2550; ดวงพร ครุฑสว่าง, 2550;
สมโภชน์ สงั ไย, 2552; บศุ รา ทัศนวจิ ิตร, 2552; พวงรตั น์ ขจิตวชิ ยานกุ ลู , 2542) มีดังนี้

1) ทาให้เกิดมลพิษ (Pollution) ขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุสาคัญอย่างหน่ึงท่ีทาให้สิ่งแวดล้อม
ต่าง ๆ ของชุมชนเกิดมลพิษ เช่น น้าเสีย อากาศเสีย โดยเฉพาะภาพรวมทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม เช่น การปนเปื้อนตอ่ ทรัพยากรดิน การทิ้งขยะมูลฝอยโดยการกองบนพ้ืนดินหรือขุดหลุม
ฝังขยะมูลฝอยบางชนิดทาให้ย่อยสลายยากและเป็นแหล่งรวมของสัตว์ที่เป็นพาหะนาโรค ได้แก่
แมลงวัน หนู และสุนัขที่มาตอมหรือคุ้ยเข่ีย ทาให้เกิดเชื้อท่ีทาให้เกิดโรคอหิวาห์ ไทฟอยด์และโรคบิด
ส่วนขยะมูลฝอยเปียกที่เกิดการหมกั หมม แบคทีเรียทาหน้าท่ีย่อยสลายสร้างก๊าซพิษ มกี ลิ่นเหม็น เกิด
มลพิษทาให้ดินเสื่อม พื้นดินสกปรกมีสภาพเป็นเกลือ ด่าง กรด หรือมีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิตในดินและทาให้สมบัติทางกายภาพของดินเปลี่ยนแปลงไป เช่น โซเดียมท่ีทาให้เน้ือดินแตก
รว่ นทาให้ดนิ เสอื่ มคณุ ภาพ ไม่เหมาะสมต่อการใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นการเกษตร

2) ผลกระทบต่ออากาศ (Air Pollution) หมายถึง ภาวะของอากาศท่ีมีสารมลพิษเจือปนอยู่
ในปรมิ าณและเปน็ ระยะเวลาท่ีจะทาให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ การกาจัดขยะมลู ฝอย
โดยการเผากลางแจ้งหรือใช้เตาเผาท่ีไม่ได้มาตรฐาน ทาให้เกิดควันเกิดทัศนวสิ ัยไม่ดี เป็นอันตรายต่อ
การขบั ขี่ยวดยานและทาให้อากาศเปน็ พิษส่งผลตอ่ อุณหภมู ขิ องโลกหรอื ทาให้โลกรอ้ นข้ึน

3) ผลกระทบต่อทรัพยากรน้า การท้ิงขยะมูลฝอยลงแหล่งน้าโดยตรง ทาให้น้าสกปรก เป็น
การทาลายแหล่งน้า ลาคลอง และท่อระบายน้า ทาให้แหล่งน้าต้ืนเขิน การไหลของน้าไม่สะดวกจึง
เกดิ สภาวะน้าท่วมได้ง่ายและสร้างมลพษิ ทางน้าในลักษณะต่าง ๆ เช่น ทาให้น้าเนา่ น้าเป็นพิษ นา้ ท่ีมี
เชื้อโรคและน้าที่มีคราบน้ามัน ไม่สามารถนาน้ามาใช้ในการอุปโภค และบริโภคได้ ตลอดจนส่งผล
กระทบต่อสัตว์น้าท่ีอาศัยอยู่แหล่งน้าน้ัน สาหรับผลกระทบทางอ้อมเกิดจากการทิ้งขยะมูลฝอยใกล้
แหล่งน้า เมื่อฝนตกลงมาเกิดการชะล้างขยะมูลฝอยเหล่านี้แล้วไหลลงสู่แม่น้า ทาให้น้าผิวดินและน้า
ใต้ดินเกิดการปนเปอื้ นและตอ้ งสิ้นเปลืองคา่ ใชจ้ า่ ยในการปรับปรุงคณุ ภาพของแหล่งนา้

4) ผลกระทบต่อทัศนียภาพ การเก็บรวบรวม การขนส่ง การกาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ดีพอ จะ
ทาให้เกดิ ทัศนียภาพทไี่ ม่นา่ ดูในชุมชน โดยเฉพาะบรเิ วณแหลง่ รวบรวมขยะมูลฝอยซงึ่ ส่งผลกระทบต่อ
การทอ่ งเทีย่ วและเศรษฐกิจของประเทศ

5) ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย การกองขยะมูลฝอยไวบ้ นพืน้ ดินนาน ๆ จะส่งกล่ินเหม็นและ
เป็นแหล่งเพาะพันธ์สุ ัตว์ซ่ึงเปน็ พาหะนาโรค เช่น หนู แมลงวัน แมลงสาบ ก่อให้เกิดความเส่ียงต่อการ
เกิดโรคระบาดและการแพร่ระบาดของเช้ือโรค โดยเฉพาะขยะมูลฝอยติดเชื้อจากสถานพยาบาล มี
สารปนเปอื้ นสรา้ งแหล่งเพาะเช้ือโรคและแพร่กระจายเชอื้ โรคต่าง ๆ

6) ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกิดมาจากขยะมูลฝอย เช่น น้าเสีย
กล่ินเหม็น โรคระบาด ต้องอาศัยเทคโนโลยีในการกาจัดและบาบัดมลพิษ รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ
กาจัดมากข้ึน ซึ่งสาเหตุหลักทั้งมวลที่ทาให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนและเกิดผลกระทบต่อ
ภาพรวมของสิง่ แวดอ้ มน้นั มีสาเหตุหลักมาจากคน คือ

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

30

6.1) ความมักง่ายและขาดการสานึกถึงผลเสียท่ีจะเกิดข้ึน เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อย
มาก ดังจะเห็นได้จากการท้ิงขยะมูลฝอยลงบนพ้ืนหรือแหล่งน้าโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับจัดไว้ให้และ
โรงงานอตุ สาหกรรมบางแหง่ ลกั ลอบนาส่งิ ปฏิกูลทงิ้ ตามทว่ี า่ งเปล่า

6.2) การผลิตหรือใช้สิ่งของมากเกินความจาเป็น เช่น การผลิตสินค้าท่ีมีกระดาษ
หรือพลาสติกหุ้มหลายชั้น และการซื้อสินค้าโดยห่อแยกหรือใส่ถุงพลาสติกหลายถุง ทาให้มีขยะมูล
ฝอยปริมาณสงู

6.3) การเก็บทาลายหรือนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพจึงมี
ขยะมูลฝอยตกค้างกองหมักหมม และส่งกล่ินเหม็นไปท่ัวบริเวณจนก่อให้เกิดปัญหามลพิษให้กับ
สงิ่ แวดล้อม ซึง่ จะต้องมีกระบวนการจัดการขยะมลู ฝอยที่ดีและมีประสทิ ธภิ าพ

เทศบาลเมืองทุ่งสง (2551 : 1-3) ได้ระบุถึงผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อ
ส่ิงแวดล้อมและสุขภาพไว้ว่า ขยะเศษวัสดุ ของเสีย มีปริมาณเพิ่มมากข้ึนทุกขณะ เน่ืองจากการ
ขยายตัวของเมือง การพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ืออานวยความสะดวกสบาย การอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น
หากใช้วธิ ีกาจัดท่ีไม่ถกู ต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปญั หาตามมา เช่น

1. มลพิษทางน้า น้าเสียที่เกิดจากกองขยะมูลฝอยท่ีกองท้ิง เป็นน้าเสียที่มีความสกปรกสูง
มาก ซึ่งมีทั้งสารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ เช้ือโรค และสารพิษต่าง ๆ เจือปนอยู่ เม่ือน้าเสียจากกองขยะ
มูลฝอย ไหลไปตามพื้นดินบริเวณใดก็จะทาให้บริเวณน้ันเกิดความสกปรกและความเสื่อมโทรมของ
พืน้ ดิน และอาจเปล่ียนสภาพ ในกรณีทนี่ า้ เสียจากกองขยะมูลฝอยไหลลงสแู่ หล่งน้ากจ็ ะทาใหค้ ุณภาพ
น้าเสียไป ท้ังนี้ไม่ว่าจะเป็นแหล่งน้าผิวดินหรือแหล่งน้าใต้ดินก็ตาม ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้ใช้น้ัน และ
สง่ิ มีชีวิต ที่อาศัยในแหล่งน้าผวิ ดิน หรือ แหลง่ น้าใต้ดินกต็ าม ลว้ นเปน็ อนั ตรายต่อผใู้ ช้นา้ และสงิ่ มีชีวิต
ที่อาศัยในแหล่งน้า น้าที่สกปรกมากหรือมีสารพิษเจือปนอยู่ก็อาจทาให้สัตว์น้าตายในเวลาอันสั้น
นอกจากนั้นส่ิงสกปรกต่าง ๆ ที่เจือปนในน้าก็จะส่งผลต่อระบบนิเวศน์ของน้าทาให้สัตว์น้าท่ีมีค่าบาง
ชนิดสูญพันธุ์ไป นอกจากน้ีน้าท่ีมีส่ิงสกปรกเจือปนย่อมไม่เหมาะแก่การอุปโภค บริโภค แม้จะนาไป
ปรับปรุคุณภาพแล้วก็ตาม เช่น การทาระบบน้าประปา ซ่ึงก็ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในกระบวนการ
ปรบั ปรงุ คุณภาพนา้ มากขนึ้

2. มลพิษทางอากาศ ขยะมูลฝอยทาให้เกิดมลพิษแก่อากาศ ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้ในเขต
ชุมชน หรือที่กองทิ้งไว้ในแหล่งกาจัดซึ่งไม่มีการฝังกลบ หรือขณะท่ีทาการเก็บขนโดยพาหนะที่ไม่มี
การปกปิดอย่างมิดชิด ขยะมูลฝอยเหล่าน้ันส่งกล่ินเหม็นน่ารังเกียจออกมา เศษช้ินส่วนของขยะ
มูลฝอยและสามารถปลิวไปในอากาศ ทาให้เกิดความสกปรกแก่บรรยากาศ ซึ่งมีผลต่อสุขภาพของ
มนุษย์ และทาความสกปรกให้กับบริเวณข้างเคียง นอกจากนี้ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไวน้ าน ๆ จะมีก๊าซ
ที่เกิดจากการหมักขึ้น ได้แก่ ก๊าซชีวภาพ ซึ่งติดไฟหรือเกิดระเบิดขึ้นได้ และก๊าซไข่เน่า
(ก๊าซไฮโดรเจนซลั ไฟด์) ซ่งึ มกี ลน่ิ เหมน็

3. มลพิษทางดิน ทาให้ดินเสื่อมและเกิดมลพิษ เพราะจะทาให้พื้นดินท่ีสกปรกมีคุณสมบัติ
เป็นเกลือ ด่าง หรือกรด หรือมีสารพิษท่ีเป็นอันตรายต่อส่ิงมีชีวิตในดิน ตลอดจนทาให้สมบัติทาง
กายภาพของดินเปลีย่ นแปลงไป เช่น โซเดยี มทาใหเ้ นือ้ ดินแตกร่วน

4. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเช้ือโรคและแมลง เนอ่ื งจากจุลนิ ทรีย์ทีป่ นเป้ือนมากับขยะมูลฝอย
มีโอกาสที่จะขยายพันธ์ุเพิ่มจานวนมากขึ้นได้ เพราะขยะมูลฝอยมีทั้งความช้ืน และสารอินทรีย์ท่ี

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

31

จุลินทรีย์เป็นอาหาร ขยะพวกอินทรีย์สารท่ีทิ้งค้างไว้จะเกิดการเน่าเปื่อยกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์
แมลงวัน นอกจากน้ันพวกขยะมูลฝอยท่ีปล่อยทิ้งไว้นาน ๆ จะเป็นที่อยู่อาศยั ของหนู โดยหนูจะเขา้ มา
ทารังขยายพนั ธ์ุ เพราะมที ั้งอาหารท่ีหลบซ่อน ดงั นนั้ ขยะที่ขาดการรวบรวมและการกาจัดจึงทาให้เกิด
เปน็ แหล่งเพาะพนั ธ์ทุ สี่ าคญั ของเช้ือโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซงึ่ เปน็ พาหนะนาโรคมาสูค่ น

5. การเส่ียงต่อสุขภาพ ชุมชนท่ีขาดการกาจัดมูลฝอยท่ีดี และถูกต้องตามเกณฑ์ การ
สขุ าภิบาล จะทาใหป้ ระชาชนเส่ียงตอ่ การเปน็ โรคตา่ ง ๆ ได้โดยงา่ ย เช่น โรคทางเดินอาหารท่ีเกดิ จาก
เชือ้ แบคทเี รียและพยาธิตา่ ง ๆ เน่ืองจากมูลฝอยเปน็ แหล่งเพาะพันธขุ์ องแมลง ฉะน้ันการแพร่ของโรค
ย่อมเปน็ ไดง้ า่ ย

6. การสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ ชมุ ชนทตี่ อ้ งเสียคา่ ใช้จา่ ยสาหรับการกาจดั มูลฝอยเปน็ ประจาอยู่
แล้ว และถา้ การกาจดั ไม่ถูกต้องย่อมส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจด้านอ่ืน ๆ เช่น มูลฝอยท่ีท้ิงลงในนา้ ทา
ให้น้าเนา่ เสีย สง่ ผลกระทบต่อสัตวน์ า้ เป็นผลให้สูญเสียระบบเศรษฐกจิ อีกด้วย

7. ทาให้ขาดความสง่างาม การเก็บขนและกาจัดขยะที่ดีช่วยให้ชุมชนเกิดความสวยงามมี
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยอันส่อแสดงถึงความเจริญ และวัฒนธรรมของชุมชน ฉะน้ันหากเก็บขนไม่
ดี ไม่หมด กาจัด ไม่ดี ย่อมก่อให้เกิดความไม่น่าดู ขาดความสวยงาม บ้านเมืองสกปรก และความไม่
เป็นระเบียบส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวอีกด้วย ก่อให้เกิดเหตุราคาญ มูลฝอยที่
ก่อให้เกิดความราคาญแก่ประชาชน เช่นกล่ินเหม็นจากการเน่าเป่ือย หรือการสลายของมูลฝอย
แมลงวนั และหนู

2.7 การจดั การขยะ
ปริดา แย้มเจริญวงศ์ (2531 : 13 - 14) ได้ให้แนวคิดเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยว่า การ
ดาเนินการจัดการมูลฝอยที่ดี จะต้องใข้วิธีการกาจัดที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล โดยไม่ทาให้เกิด
มลพิษต่อสภาพแวดล้อม เช่น พื้นดิน แหล่งน้าและอากาศ เป็นต้น โดยจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบ
สาคญั 5 ประการ

1. ชนิด ปริมาณและลกั ษณะของขยะมูลฝอย ที่เกิดข้ึนตามประเภทของ
กจิ กรรมและแหล่งกาเนดิ

2. คา่ ใชจ้ า่ ยและการลงทุนท่ีใช้ในการดาเนินงาน เกี่ยวกบั การจดั การในการกาจัด
3. ปญั หาเกี่ยวกบั สภาพแวดล้อม ท่ีได้รับผลจากการเกิดมลพษิ อาจจะส่งผล
กระทบต่อสขุ ภาพและความเป็นอยูข่ องมนุษย์
4. การนาเอาทรัพยากรบางส่วนจากขยะมลู ฝอยกลบั มาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
5. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง
ปิยภัทร สายนารา (2552 : 36) ได้กล่าวถึง การจัดการขยะ เป็นการดาเนินงานท่ีเก่ียวข้อง
กับการควบคุมการทิ้ง การเก็บชั่วคราว การรวบรวม การขนถา่ ยและการขนส่ง การกาจดั ขยะมูลฝอย
โดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดในทางสุขภาพอนามัย ความสวยงาม การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และท่ี
สาคัญจะต้องเป็นท่ียอมรับของสังคม ในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องอาศัย
ปัจจัยในหลายด้านประกอบกันได้แก่ ความรู้ในเร่ืองขยะมูลฝอย การบริการ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร

การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

32

การประสานความร่วมมือทั้งของหน่วยงานราชการและประชาชน และการดาเนินการในการกาจัด
ขยะมลู ฝอยอยา่ งเหมาะสม

ยุพิน ระพิพันธ์ุ (2554 : 24-26) ได้กล่าวถึง แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย คือ
หลักการในการดาเนินการเกี่ยวขอ้ งกับการควบคุม การทิ้ง การเก็บชั่วคราว การรวบรวม การขนถ่าย
และการขนส่ง การแปลงรูป และการกาจัดขยะมูลฝอย โดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดในทาง
สุขอนามัย ความสวย การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และที่สาคัญท่ีสุด คือ การยอมรับของสังคมในการ
จัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยปัจจัยหลายด้านประกอบกันได้แก่ การบริการ
การรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ที่เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อม และวิธีการจัดการขยะ
มูลฝอยในแต่ละประเภท โดยวิธีการจัดการจะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมท่ีมีในแง่ทุกมุมกจิ กรรม
ทง้ั หลายในการจัดการขยะมูลฝอย อันเร่ิมต้ังแต่การทง้ิ ขยะมูลฝอยจนกระท้ิงถึงการกาจดั ขยะมูลฝอย
ในข้ันสุดทา้ ย แบ่งเป็น 3 ส่วน คอื

1. การทงิ้ ขยะมลู ฝอย เป็นกิจกรรมที่เกดิ ข้ึนจากการทผี่ ู้ท้ิงเห็นว่าวสั ดุชิน้ ใด ๆ นน้ั
ไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้อีกต่อไปแล้ว จึงท้ิงไว้หรือรวบรวมเพ่ือกาจัดต่อไป ดังจะเห็นได้ว่า
การท้ิงขยะมูลฝอยเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นหรือไม่ขึ้นกับบุคคลผู้ใช้วัสดุน้ัน ๆ ว่าจะยังใช้ประโยชน์จาก
วัสดนุ ้นั หรอื ไม่

2. การจดั การขยะมลู ฝอย ณ แหลง่ กาเนดิ ในสว่ นน้จี ะมุง่ ความสนใจไปท่ีขยะมลู
ฝอยที่มาจากชุมชนมากกว่าขยะมูลฝอยที่ได้จากแหล่งอ่ืน ท้ังน้ีเพราะขยะมูลฝอยส่วนนี้ประกอบด้วย
ขยะมูลฝอยมากมายหลายชนิดปะปนกันอยู่ และเกิดในแหล่งที่ผู้อาศัยอยู่กันอย่างแออัด และไม่มี
พ้ืนท่ีพอที่จะเก็บขยะมูลฝอยท่ีเกิดในแหล่งที่ผู้คนอาศัยอยู่ หรือถึงแม้ว่าจะมีพ้ืนท่ีเพียงพอที่จะเก็บก็
ต้องมีการขนย้ายหรือกาจัดไปในเวลาอันควร มิฉะนั้นจะเกิดการเน่าเหม็น เป็นภาพที่ไม่น่าดู และ
อาจจะมผี ลตอ่ สุขภาพอนามัยของประชาชน

3. การแปลงรปู หรือการคืนรูปองค์ประกอบของระบบการจัดการขยะมลู ฝอยสว่ น
นีร้ วมถึงเทคนิคการใช้เครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพของ
สว่ นประกอบอ่ืน ๆ และเพื่อแยกวสั ดทุ ่ียังใชป้ ระโยชน์ได้กลับมาใช้ใหม่ หรือแปลงรปู ขยะมูลฝอยใหไ้ ด้
สิ่งท่เี ปน็ ประโยชน์ เชน่ ปยุ๋ หรือพลังงานความรอ้ น

สุนีย์ มัลลิกามาลย์ (2543 : 22-30) ได้กล่าวถึง การจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพว่ามี
วิธีการการจัดการขยะมูลฝอย (Method of Refuse Disposal) อยู่หลายวธิ ีด้วยกัน ซงึ่ เปน็ วิธีทีด่ ี เช่น
นาไปเทกองบนพื้น นาไปฝังกลบใช้ปรับปรุงพ้ืนท่ี นาไปท้ิงทะเล นาไปเผาทาปุ๋ยหมัก ใช้เล้ียงสัตว์
เป็นต้น การจัดการและการกาจัดขยะแต่ละวิธีต่างมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน การพิจารณาว่าจะ
เลือกใช้วิธีใดต้องอาศัยองค์ประกอบท่ีเกี่ยวข้องต่าง ๆ ท่ีสาคัญ คือ ปริมาณของขยะที่เกิดข้ึน รูปแบบ
การบริหารท้องถิ่น งบประมาณ ชนิด และลักษณะสมบัติของขยะมูลฝอย ขนาด สภาพภูมิประเทศ
ของพ้ืนที่ที่จะใช้กาจัดขยะมูลฝอย เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ สารอินทรีย์ อนินทรีย์สาร การปนเปื้อนของ
สารเคมีท่ีมีพษิ และเชอ้ื โรค ปรมิ าณของของแข็งชนิดต่าง ๆ ความหนาแน่น ความช้ืน เป็นตน้

สรุปได้ว่า การจัดการขยะ เป็นการดาเนินงานอย่างเป็นระบบที่เกี่ยวขอ้ งกับการควบคุม การ
ทิ้ง การเก็บช่ัวคราว การรวบรวม การขนถ่ายและการขนส่ง การแปลงรูป และการกาจัดขยะมูลฝอย
โดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดในทางสุขอนามัย ความสวย การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การยอมรับของ

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

33

สังคม ซึ่งในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยปัจจัยหลายด้านประกอบกัน
ได้แก่ การบริการ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ที่เก่ียวกับสิ่งแวดล้อม และ
วธิ ีการจดั การขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม
3.แนวคดิ เกย่ี วกบั การบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม

3.1 ความหมายของการบรหิ ารแบบมสี ว่ นร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมนับเป็นรูปแบบของการบริหารท่ีได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
ในองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน เน่ืองจากการบริหารแบบมีส่วนร่วมเน้นการให้ความสาคัญกับบุคคล
และกลุ่มงานซึ่งได้รับการยอมรับว่าสามารถช่วยลดปัญหาข้อขัดแย้งและสร้างแรงจูงใจในการทางาน
ของผู้ปฏบิ ัติงานใหม้ ีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผล อย่างไรก็ตามมีผู้ให้ความหมายของการบรหิ าร
แบบมีส่วนรว่ มไว้หลากหลายแนวคิด ดังนี้
อมรพรรณ ประจันตวนิชย์ (2550 : 36) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การที่
บุคคลตัดสินใจอย่างมีเหตุผลในการบริหารแบบมีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ
ตลอดจนร่วมการติดตามและประเมินผล รวมท้ังร่วมรับผิดชอบในฐานะผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน
กิจกรรมหรือกระบวนการอย่างใดอย่างหน่ึงของกลุ่มคน หรือองค์กรท่ีมีความเกี่ยวข้องกันทางด้าน
จิตใจอารมณ์และสงั คม
สุเทพ สังกะเพศ (2550 : 30) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง กระบวนการท่ี
ทุกคนในองค์กรท้ังภายในและภายนอกองค์กรเข้ามามีส่วนเก่ียวข้องในการพัฒนาเพื่อปฏิบัติกิจกรรม
ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้ โดยรว่ มคิด ร่วมตัดสนิ ใจ ร่วมปฏิบัติ ร่วมกากับ ติดตามประเมินผล
ตลอดจนรว่ มแกป้ ัญหา และร่วมรบั ผลประโยชน์
กนกวรรณ บุญปลูก (2550 : 8) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนรว่ มหมายถึง การเปิดโอกาส
ให้ ส ม า ชิ ก ใน ชุ ม ช น ห รื อ ป ร ะ ช า ช น ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ผู้ ที่ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เสี ย ไ ด้ เข้ า ม า มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น
การดาเนนิ งานดา้ นต่างๆ ขององคก์ รหรอื หน่วยงานนั้นๆ
จรุง ศุภพฤกษ์ (2551 : 11) กล่าวว่า การบริหารแบบมสี ่วนร่วม หมายถงึ การที่บุคคลได้เข้า
มาร่วมกิจกรรมต่างๆ ทั้งในด้านการแสดงความคิดเห็น ร่วมตัดสินใจ เสียสละแรงงาน วัสดุอุปกรณ์
และความสมัครใจ จนทาให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองมีความผูกพันและอุทิศทุกอย่างเพื่อให้ประสบ
ความสาเรจ็
ทิพย์ทิวา วุฒิวัย (2551 : 25) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมหมายถึง อานาจในการ
ตัดสินใจการเข้าไปหรือเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมอันใดอันหนึ่ง โดยการรว่ มคดิ ร่วมดาเนินการ การ
ร่วมสนบั สนุน การร่วมติดตามประเมินผลเพ่ือใหก้ จิ กรรมนน้ั ประสบความสาเรจ็
ประพันธ์พงศ์ ชิณพงษ์ (2551) ได้ให้ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วมไว้ว่า การ
บริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นผลมาจากการเห็นพ้องต้องกันในเร่ืองของความต้องการและทิศทางการ
เปลี่ยนแปลง ความเห็นพ้องต้องกันนั้นจะมีมากพอจนเกิดความคิดริเริ่มโครงการเพื่อการปฏิบัติการ
กล่าวคือ ต้องเป็นการเห็นพ้องต้องกันของคนส่วนใหญ่ท่ีจะเข้าร่วมปฏิบัติการนั้น และเหตุผลที่คน
มาร่วมปฏิบตั ิการได้จะต้องตระหนักว่าการปฏิบัติการทั้งหมดโดยกลุ่มหรือในนามของกลุ่มหรอื กระทา
การผ่านองคก์ ร ดังน้ันองค์กรจะต้องเปน็ เสมอื นตวั ทท่ี าให้ การปฏิบตั กิ ารบรรลถุ ึงความเปลี่ยนแปลงที่
ตอ้ งการ

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2

34

โสภา มัดลงั (2551 : 13) กลา่ วว่า การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ มหมายถึง การร่วมมอื กนั ระหวา่ ง
ผปู้ กครองและครู ในการทค่ี รูจะสนับสนุนให้ผู้ปกครองเข้ามามีสว่ นร่วมในการศึกษาของเด็กทั้งที่บ้าน
และโรงเรียน โดยท้ังสองฝ่ายจะต้องทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือการให้เด็ก
ได้รับพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ส่งเสริมศักยภาพอย่างแท้จริงของเด็กอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงความ
แตกต่างระหว่างบุคคล

สันติชัย เอื้อจงประสิทธิ์ (2551) ได้กล่าวถึงสาระสาคัญของการบริหารแบบมีส่วนร่วมของ
บุคลากรว่าหมายถึง การเปิดโอกาสให้บุคลากรเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดริเร่ิมตัดสินใจในการ
ปฏิบัติงานและการร่วมรับผิดชอบในเร่ืองต่างๆ อันมีผลกระทบมาถึงตัวของบุคลากรเอง การท่ีจะ
สามารถทาให้บคุ ลากรเข้ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหา และนามาซึ่งสภาพความเป็นอยู่
ของบุคลากรให้ดีขึ้นน้ันผู้นาจะต้องยอมรับในปรัชญาการพัฒนาว่ามนุษย์ทุกคนมีความปรารถนาท่ีจะ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมเป็นท่ียอมรับของผู้อ่ืน และพร้อมท่ีจะ
อทุ ศิ ตนเพื่อกิจกรรมของส่วนรวมในองคก์ ร

สัญชาติ จีนพรัด (2552 : 29) ได้กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการอย่าง
หน่ึงท่ีเกิดจากบุคลากรหรือองค์การ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนปฏิบัติ ตลอดจนการ
ตดิ ตามในกจิ กรรมตา่ งๆ ของการบริหาร

บุญเรือง คงสิน (2552 : 16) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การที่บุคคลหรือ
กลุ่มบคุ คลได้มีโอกาสแสดงความรบั ผิดชอบหรือพฤติกรรมเกี่ยวข้องในโครงการ หรืองานบางอย่างทั้ง
ในระดับของการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเข้ามามีส่วนร่วมเกี่ยวข้องในการพัฒนาองค์กรโดย
รว่ มคิด ร่วมตัดสินใจ รว่ มปฏบิ ัติกจิ กรรม ตลอดจนควบคุม กากับ ติดตาม และประเมนิ ผลเพ่ือให้งาน
บรรลุตามเปา้ หมายทว่ี างไว้ และเป็นการสร้างสมั พนั ธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

สายหยุด ประกิคะ (2552 : 63) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมหมายถึง เป็นการเปิด
โอกาสให้บุคลากรทุกคนใช้สติปัญญา ความเฉลียวฉลาด และความพยายามเข้ามามีส่วนร่วมในการ
กาหนดแผนการทางาน แนวทางปฏิบตั ิงาน กาหนดเป้าหมายและตดิ ตาม ประเมนิ ผลการทางานอย่าง
ต่อเนื่องเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและสิทธเิ ท่าเทียมกันในฐานะ
เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร

นันทพร นามโคตร (2552 : 17) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมหมายถึง การที่
ประชาชนอยู่ร่วมกันในชุมชนแสดงออกถึงความต้องการที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมท่ีส่งผลกระทบต่อ
ตนเอง ชุมชน โดยประชาชนร่วมกันแก้ไขหรือปรับปรุงกิจกรรมน้ันให้เหมาะสมสภาพของชุมชนท่ี
ตนเองตอ้ งดาเนินชีวติ อยู่รว่ มกนั อยา่ งปกตสิ ขุ

สัญชาติ จีนพรัด (2552 : 29) ได้กล่าวถึง การบริหารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การบริหาร
แบบมีส่วนร่วมในกระบวนการอย่างหน่ึงท่ีเกิดจากบุคลากรหรือองค์การ ในการตัดสินใจ วางแผน
ปฏิบัติ ตลอดจนตดิ ตามผลในกจิ กรรมต่างๆ ของการบริหาร

เมตต์ เมตต์การุณจิต (2553 : 16) ได้ให้ความหมายการบริหารแบบมีส่วนร่วมไว้ว่า การเปิด
โอกาสให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นทางตรงทางอ้อม ในลักษณะ
การร่วมรบั รู้ ร่วมคิด รว่ มทา รว่ มตัดสินใจ รว่ มติดตามผล

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

35

สรุปได้ว่า การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ ม เป็นลักษณะการบริหารงานท่ีเปิดโอกาสให้ผทู้ ี่เก่ียวขอ้ ง
ทุกภาคส่วนมีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชนบ้านเกาะทองสม ในกระบวนการการตัดสินใจใช้ความคิด
สร้างสรรค์ ความเชี่ยวชาญ ในการบริหารให้บรรลุวัตถุประสงค์ หรือแก้ไขปัญหาต่าง การบริหารงาน
แบบมีส่วนร่วมก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน เกิดการยอมรับได้เป็นหลักการของการบริหารงานที่ผล
ต่อการดาเนินการเชิงวิเคราะห์ ซ่ึงนาไปสู่การตัดสินใจได้ ลดช่องว่างของระบบการ ส่ือสารในองค์กร
และขจัดปญั หาความขัดแย้ง

3.2 ความสาคัญของการบริหารแบบมสี ่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมนับว่ามีความสาคัญและความจาเป็นอย่า งยิ่งท่ีจะช่วยส่งเสริม
ประชาธิปไตย ผู้มีส่วนเก่ียวข้องยอมรับปัญหาช่วยแก้ปัญหาลดความขัดแย้งได้ผลงานตามความ
ต้องการที่แท้จริงและทุกส่วนพึงพอใจกับผลงานได้ (สมยศ อาพันศิริ. 2550 : 45) นอกจากนี้ การ
บริหารแบบมีส่วนร่วมยังมีความสาคัญในการก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในการปฏิบัติงานท่ีมุ่งหวัง
เป็นกระบวนการตัดสินใจสามารถรองรับพฤติกรรมของบุคคลในองค์กรได้กว้างขวางและเกิดการ
ยอมรับได้ เป็นหลักการบริหารที่เป็นผลต่อการดาเนินการเชิงวิเคราะห์ด้วยเหตุผล วิวัฒนาการ เพ่ือ
ความคิด(การเปิดกว้าง) การระดมความคิด ซึ่งนาไปสู่การตัดสินใจลดช่องว่างของระบบสื่อสารใน
องค์กรและขจัดปัญหาความขัดแยง้ ได้ ส่วนแนวทางการสร้างและสนับสนุนการบริหารแบบมีส่วนร่วม
ในการบริหารองค์กรใดๆ น้ันมีรูปแบบอยู่หลายสถานะ ส่ิงที่จะสง่ ผลตอ่ การเกิดบรรยากาศเพื่อทุกคน
และยังนาไปสคู่ วามสาเร็จของเป้าหมายท่ีตอ้ งการ น้ันมคี วามจาเป็นในทิศทางการสร้างและสนับสนุน
(วันชัย โกลละสุต. 2549 : 72) ดังน้ี

1. การพัฒนาความรู้สึกรับผิดชอบซึ่งเป็นการท่ีบุคคลในฐานะต่างๆ ต้องก่อความรู้สึก
และสร้างแรงกระตุ้นต่อบุคคลอ่ืนๆ ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์บนพื้นฐานแห่งความท่ีบุคคลมีความ
ม่ันใจวา่ เหตแุ ละผลทางความคิดได้รับการสนับสนนุ

2. การริเริ่มลักษณะแห่งพฤติกรรมบุคคล เป็นข้อคิดแห่งการสร้างรูปลักษณ์ของ
การแสดงออกของบคุ คลลดและขจดั ปมความขัดแย้งหรอื ขลาดกลัวพฤติกรรมบุคคลให้นอ้ ยสร้างความ
กลา้ ต่อการแสดงออก

3. การเปิดโอกาสเพ่ือการแลกเปลี่ยน ย่อมเป็นผลดีต่อกลุ่มและบุคคลได้เพราะโอกาส
เพ่ือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นใดๆ หรือประสบการณ์มักถูกปิดกั้นด้วยคาสั่งหรือความคิดเบ้ืองบน
การเปิดโอกาสใหท้ กุ คนได้แลกเปลย่ี นย่อมส่งผลตอ่ เหตุและผลในการพฒั นาความคดิ ต่างๆ ได้

4. การสนับสนุนแนวความคิดที่สามารถเป็นแบบอย่างได้ ซึ่งการสนับสนุนแนวคิด
เหล่าน้ัน สามารถดาเนินการในทิศทางของงบประมาณหรืออื่นใด เป็นส่ิงที่ก่อให้เกิดผลแห่ง
การสร้างสถานะบคุ คลให้ไว้ใจองคก์ รใหค้ วามรว่ มมือต่อองค์กรได้มาก

5. สถานการณ์เพ่ือการบริหารหรือจัดการ ผู้บริหารต้องคานึงถึงสถานการณ์ในการ
จัดการงานด้วยเสมอ เพ่ือผลสูงสุดการเลือกแบบการบริหารใดๆ ย่อมส่งผลต่อการบริหารแบบมีส่วน
ร่วมได้ ปัจจุบันการบริหารส่วนใหญ่มุ่งแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมเพราะเป็นการเปิดโอกาสแห่ง
บรรยากาศการริเริ่มสร้างสรรค์

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

36

6. การมองหาความคิดเฉพาะในส่วนท่ีดี เป็นมุมมองของการบริหารที่ต้องการ
ผลสัมฤทธ์ิว่าเมื่อบุคคลใดเสนอแนวคิดเพื่องานแล้วควรได้เห็นความเหมาะสมและทิศทางการเสนอ
ของบคุ คลอื่นๆ ด้วยดี มใิ ช่มงุ่ แนวทางเพือ่ ความขัดแยง้ หรอื สรา้ งฐานการไม่ยอมรบั ให้เกดิ ขึ้น

7. จูงใจให้เกิดการสร้างกระบวนการความคิดให้เกิดในทุกกลุ่มงาน การสร้างแรงจูงใจ
ย่อมเป็นผลต่อบุคคลที่ก้าวมาสู่ความต้องการบริหารแบบมีส่วนร่วมเสมอ หากผลตอบแทนเหล่านี้ มี
คุณค่าและประโยชน์ตอ่ ตนท้ังนย้ี ่อมข้ึนอยู่กับปฏิกิรยิ าของบุคคลโดยรวมขององค์กรด้วยวา่ จะทาให้ได้
เพียงใดตามแนวปฏิบัติตามหลกั การบริหารแบบมสี ่วนร่วม เป็นการเปดิ โอกาสให้ผูร้ ่วมงานทกุ คนได้ใช้
ความรู้ ความสามารถ สติปัญญาและประสบการณ์แลกเปล่ียนเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการ
ปฏบิ ัติงานทม่ี ุ่งพฒั นาหน่วยงานให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งจะต้องสรา้ งบรรยากาศในการบริหารแบบมสี ว่ น
รว่ ม ได้แก่ ภาวะผูน้ า การจงู ใจ การติดต่อสื่อสาร การปฏิสัมพันธ์ การตัดสินใจ การกาหนดเป้าหมาย
กระบวนการควบคุมบงั คบั บญั ชา เป้าหมายของผลการปฏิบัติงานและการฝกึ อบรม

สรุปได้ว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมมีความสาคัญต่อการทางานในลักษณะท่ีไม่ใช่เป็นการ
ปฏิบัตงิ านประจาแตเ่ ป็นการทางานที่ซับซ้อน ไม่เคยมีมาก่อนหรอื มคี วามขดั แยง้ ท่ีจะตอ้ งมีการหาข้อ
ยตุ ิร่วมกันหรอื เป็นการแก้ปัญหา การบริหารแบบมสี ่วนร่วมในการตดั สนิ ใจของผู้มีส่วนเก่ียวขอ้ งหรือ
มีบทบาทในจุดนั้นจึงเป็นส่ิงสาคัญอย่างยิ่ง และมีการร่วมเป็นจุดเริ่มต้นของความสาเร็จร่วมกัน เป็น
การเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานทุกคนได้ใช้ความรู้ ความสามารถ สติปัญญาและประสบการณ์แลกเปล่ียน
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมือในการปฏิบตั งิ านที่ม่งุ พฒั นาหนว่ ยงานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย

3.3 รูปแบบของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมสามารถสร้างความรู้สึกท่ีดีในการปฏิบัติงาน และเปิดโอกาสให้
ผู้ร่วมงานทุกระดับได้ใช้ความรู้ความสามารถของตนเองให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานและต่ อ
องค์กรได้อยา่ งเตม็ ท่ี
ณฐั ฐนิ ันท์ พราหมณส์ ังข์ (2552 : 38 - 40) ได้สรปุ รปู แบบและข้นั ตอนการบริหารแบบมีสว่ น
ร่วมไว้ ดงั นี้
รปู แบบของการบริหารแบบมีส่วนร่วมแบบเหลื่อมล้า (Marginal Participation Pattern) มี
3 แบบ คอื

1. แบบชายขอบ (Marginal Participation Pattern) ได้แก่ ร่วมงาน
รว่ มมอื สนบั สนุน รว่ มแสดงความคิดเห็นแต่ไม่มอี านาจตดั สินใจ

2. แบ บ บ างส่วน (Partial Participation Pattern) ได้แก่ ริเริ่มงาน
รว่ มงาน สนับสนุน ดาเนนิ งาน แสดงความคิดเหน็ และมอี านาจตดั สินใจบ้าง

3. แบบเต็มที่ (Full Participation Pattern) ได้แก่ ริเร่ิมงาน ดาเนินการ
สนับสนุน แสดงความคิดเหน็ รว่ มงานและกิจกรรม และมีอานาจตัดสนิ ใจเต็มท่ี

Davis and Newstrom. (1985) ไดแ้ บ่งรูปแบบการบริหารแบบมีสว่ นร่วมไว้ 7 รปู แบบ คือ
1. การให้คาปรึกษากลุ่ม (Consultive Management) เป็นวิธีท่ีผู้บริหารให้

ความเหน็ เสนอแนะ เพื่อการรว่ มกันคดิ ตัดสินใจท่ีจะทา

การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

37

2. การจัดการเชิงประชาธิปไตย (Democratic Management) เน้นวิธีการท่ี
ผู้นาใชว้ ธิ ีการส่งเสริมใหผ้ รู้ ว่ มงานตัดสินใจด้วยกระบนการกลมุ่ และมีอสิ รเสรภี าพสูง

3. คณะกรรมการหรือคณะทางาน (Work Committees) เป็นรูปแบบของการ
ตงั้ คณะกรรมการหรอื กลมุ่ คุณภาพงาน

4. การรับฟังความคิดเห็นหรือการเสนอแนะ (Suggestion Programs) จะ
เปิดรับฟังความคิดเห็นในการปรับปรุงงานทุกงานและถือหลักว่ากระตุ้นให้มีการออกความคิดเห็น
อยา่ งน้อย 15 คน จาก 100 คน

5. คณะกรรมการจัดการระดับกลาง (Middle- Management Committees)
เป็นคณะกรรมการระดับการจัดการฝ่ายต่าง ๆ และระดับต่าง ๆ ที่จะให้ผู้ร่วมงานเข้ามามีส่วนร่วม
เป็นทวีคูณในการบรหิ าร (Multiple Management)

6. การเลือกผู้แทน (Codetermination) เป็นการเลือกผู้แทนเข้าไปน่ังอยู่ใน
คณะกรรมการบรหิ ารระดับต่าง ๆ ตามความจาเป็น

7. ผูป้ ฏบิ ัตงิ านเปน็ เจา้ ของแผนปฏบิ ัตงิ าน (Employee ownership plans)

3.4 ขัน้ ตอนการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม
Shadid and Other (1982) เห็นว่าแนวคิดที่ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบมาก

ท่ีสุด คือ แนวคิดของโคเฮนและอัฟฮอฟ (Cohen and Uphoff) ซ่ึงได้จาแนกขั้นตอนและประเภท
การบริหารแบบมสี ่วนรว่ ม ดังน้ี

ข้ันที่ 1 การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ในกระบวนการตัดสินใจนั้น
ประการแรกท่ีต้องทาคือ การกาหนดความต้องการและการจัดลาดับความสาคัญ ต่อจากนั้นเลือก
นโยบายและประชากรที่เก่ียวขอ้ ง การตัดสินใจในช่วงวางแผน และการตัดสนิ ใจในช่วงการปฏบิ ตั ิตาม
แผนท่ีวางไว้

ข้ันท่ี 2 การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการดาเนินการ ในส่วนท่ีเป็นองค์ประกอบของ
การดาเนินงานโครงการน้ัน จะได้มาจากคาถามท่ีวา่ ใครจะทาประโยชน์ให้แก่โครงการใดบ้าง และจา
ทาประโยชนไ์ ดโ้ ดยวิธีใด

ขั้นที่ 3 การบริหารแบบมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ ในส่วนท่ีเกี่ยวกับผลประโยชน์นั้น
นอกจากความสาคัญของผลประโยชน์ในเชิงปริมาณและคุณภาพแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงการกระจาย
ผลประโยชน์ภายในกลุ่มด้วย ผลประโยชน์ในโครงการน้ีรวมทั้งผลท่ีเป็นประโยชน์ทางบวกและผลที่
เกิดข้นึ ทางลบทีเ่ ปน็ ผลเสียของโครงการ ซ่งึ จะเป็นประโยชนแ์ ละโทษต่อบุคคลและสังคมด้วย

ขั้นท่ี 4 การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการประเมินผล ส่ิงสาคัญที่จะต้องสังเกต คือ
ความเห็น ความชอบ และความคาดหวัง ซึ่งจะมีอิทธิพล สามารถแปรเปล่ียนพฤติกรรมของบุคคลใน
กลุม่ ตา่ งๆได้

สรุปได้วา่ การบริหารแบบมสี ่วนรว่ ม เกดิ ขน้ึ โดยการท่ีผบู้ ริหาร ผ้ใู ตบ้ ังคบั บัญชา และผู้มีส่วน
ได้สว่ นเสียเข้ามามสี ว่ นร่วมคดิ รว่ มทา ร่วมรบั ผิดชอบ และร่วมภาคภูมิใจ

3.5 ประโยชน์ของการบริหารแบบมสี ่วนรว่ ม

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

38

การทางานแบบมีส่วนร่วม เป็นวิธีการทางานที่ทาให้บุคคลเกิดความพึงพอใจในการทางาน
เปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความเจริญก้าวหน้า และประสบความสาเร็จในการทางาน สร้าง
ความรับผิดชอบสร้างความรู้สึกให้บุคคลเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ รวมทั้งเป็นการแก้ไข
ความขัดแย้งระหว่างความต้องการของบคุ คล และองค์กรด้วย ซ่ึงนักวิชาการได้เสนอแนวคิด เกี่ยวกับ
ประโยชน์ของการทางานแบบมสี ่วนร่วมโดยสรปุ ได้ ดังน้ี

สมเดช สีแสง (2547 : 230) ได้สรุปถึงประโยชน์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมว่าประโยชน์
ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม เป็นการเปิดโอกาสให้พนักงานรวมกลุ่มกันใช้ความรู้ความสามารถ
สติปัญญาและประสบการณ์ของแต่ละคนร่วมกันปรับปรุงงานในหน่วยงานของตนมีข้อดี คือ 1) ผู้ท่ีรู้
ปัญหาดีท่ีสุด และสามารถแก้ปัญหาได้ดีที่สุด คือ ผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดกับปัญหามากท่ีสุดจะแก้ปัญหาได้
ถูกต้องท่ีสุด 2) บุคลากรได้เรียนรู้การทางานเป็นทีม และมีส่วนร่วมในการบริหาร 3) ปฏิบัติงานมี
ความรสู้ ึกว่าตนมคี ณุ คา่ มคี วามภาคภมู ใิ จและทางานเต็มความสามารถ

บุญชู สวัสด์ิตาล (2549 : 45) ได้สรุปประโยชน์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมต่อการ
บริหารงานว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมมีประโยชน์ต่อการบริหารงานเป็นอันมาก ประโยชน์การ
บรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ มในการบริหารงานในองคก์ รมี ดังน้ี

1. เป็นการช่วยเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะและสร้างความเป็นน้าหนึ่งใจ
เดียว เปน็ การรวมพลังของบุคคลในกลมุ่ และเปน็ การรวมพลงั ของบุคคลในองคก์ าร

2. ช่วยให้ทราบถึงความต้องการขององค์การท้ังหมดแทนที่จะเป็นการเนน้ หรือให้
ความสาคญั เฉพาะหน่วยงานใดหนว่ ยงานหนง่ึ

3. ช่วยเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทางานให้สูงข้ึน โดยช่วยลดการลางาน ย้าย
งาน การหยุดงานและความเฉื่อยชา ในการปฏบิ ัติงานใหน้ ้อยลง

สรุปว่าการบริหารแบบมีส่วนร่วมมีประโยชน์ในด้านความสามัคคีในหมู่คณะ เพ่ือทราบถึง
ความต้องการท่ีแท้จริงของบุคคล และช่วยเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทางานเพ่ือให้รู้ปัญหาดีท่ีสุด
และสามารถแก้ปัญหาได้ดีที่สุด ซึ่งบุคลากรไดเ้ รยี นรู้การทางานเป็นทีม ผู้ปฏิบัติงานความรู้สกึ ว่าตนมี
คุณค่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นความพยายามที่จะจูงในให้ผู้ท่ีร่วมปฏิบัติในองค์กร
ได้มีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจรว่ มรับผดิ ชอบและร่วมมือกันพัฒนางานด้วยความเต็มใจ

3.6 รปู แบบของการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม
เฝาซี บิลโอ (2554 : 10 - 11) ได้กล่าววา่ การมีสว่ นร่วมเปน็ กระบวนการที่สมาชิกของกลุ่ม
นั้นๆ เข้ามามีส่วนร่วมเกี่ยวข้องในกิจกรรมของกลุ่ม โดยอาจเก่ียวข้องในลักษณะของการทางาน
ร่วมกัน การดาเนินงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเร่ืองร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ ได้
รวบรวมรูปแบบของการมสี ว่ นรว่ ม ดังนี้

1. การมีส่วนร่วมในการศึกษาค้นคว้า ปญั หา และสาเหตุของปัญหา ท่ีเกิดขึ้นในชุมชน
ตลอดจนความต้องการของชมุ ชน เมื่อมกี ารประชุมปรึกษาหารือเรยี บร้อยแล้วตอ่ มาจะตอ้ งรว่ มกันคิด
หาแนวทางในการเลือกกิจกรรมหรือแนวทางท่ีเห็นว่าดีท่ีสุดหรือเหมาะสมที่สุดในการแก้ปัญหาของ
องค์กรหรือชุมชน

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2

39

2. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการคิดในการสร้างวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ของ
องค์กร การคิดค้นและหาวิธีการเพื่อแก้ปัญหาของชุมชน หรือสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ท่ีเป็นประโยชน์ของ
ชมุ ชน

3. การมีส่วนร่วมในการวางแผน การปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการ
กิจกรรม ให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ เป็นการเข้าร่วมในการดาเนินงานตามโครงการต่างๆ เช่น ร่วม
ออกแรง ร่วมบรจิ าคทรัพย์ เปน็ ตน้

4. การมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผลโครงการ และกิจกรรมที่ได้ทาไปแล้วว่า
ประสบผลสาเรจ็ มากน้อยเพยี งใด

5. การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ คือ ประชาชนทุกคนท่ีจะได้รับผลประโยชน์
จากการปฏิบตั ริ ่วมกนั และทุกคนต้องรักษาประโยชน์ท่ีไดร้ ับ เม่ือโครงการเสร็จสิ้นแลว้ ได้เขา้ มามีสว่ น
ร่วมในการตรวจตราดูแล รกั ษาและประเมนิ ผลประโยชนท์ เ่ี กดิ ข้นึ จากโครงการ

มณฑล จันทร์แจ่มใส. (2551) ไดก้ ล่าวถึงรูปแบบลักษณะของการมีส่วนร่วมไว้ว่า การมีส่วน
รว่ มของบุคคลจะตอ้ งมีและเกดิ ข้นึ มาโดยตลอด ท้ังน้ีการมีส่วนร่วมเริ่มต้งั แต่ขัน้ ตอนการมีสว่ นร่วมใน
การวางแผนโครงการ การบริหารจัดการดาเนินงานตามแผน การเสียสละกาลังแรงงานของบุคคล
ตลอดจนวสั ดุอปุ กรณ์ กาลงั เงินหรอื ทรัพยากรทีอ่ ยู่

ประชุม สุวัติถี (2551) ได้กล่าวถึงลักษณะเง่ือนไขพ้ืนฐานของการมีส่วนร่วมของบุคคล เกิด
จากพ้นื ฐาน 4 ประการ คอื

1. เป็นบุคคลที่จะต้องมีความสามารถท่ีจะเข้าร่วม กล่าวคือ จะต้องเป็นผู้มีศักยภาพที่
จะเข้าร่วมในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิ เช่น จะต้องมีความสามารถในการค้นหาความต้องการ
วางแผนการบรหิ ารจัดการ การบรกิ ารองคก์ รตลอดจนการใช้ทรัพยากรอยา่ งคุ้มค่า

2. เป็นบุคคลท่ีมีความพร้อมที่เข้ามามีส่วนร่วม กล่าวคือผู้น้ันจะต้องมีสภาพทาง
เศรษฐกิจ วฒั นธรรม และกายภาพที่เปิดโอกาสให้เขา้ มามีส่วนร่วมได้

3. เปน็ บคุ คลท่ี มีความประสงค์จะเข้าร่วม กล่าวคือ เป็นผูท้ ่ีมีความเตม็ ใจสมัครใจท่จี ะ
เข้าร่วมเล็งเห็นผลประโยชน์ของการเข้าร่วม จะต้องไม่เป็นการบังคับหรือผลักดันให้เข้าร่วม โดยที่
ตนเองไมป่ ระสงคจ์ ะเข้ารว่ ม

4. เป็นบุคคลท่ีต้องมีความเป็นไปได้ที่จะเข้าร่วม กล่าวคือ เป็นผู้มีโอกาสท่ีจะเข้าร่วม
ซ่ึงถือว่าเป็นการกระจายอานาจให้กับบุคคลในการตัดสินใจ และกาหนดกิจกรรมท่ีตนเองต้องการใน
ระดับทเ่ี หมาะสม บคุ คลจะต้องมีโอกาสและมีความเป็นไปไดท้ ีจ่ ะจัดการดว้ ยตนเอง

สาหรบั ลักษณะการมีส่วนร่วมของบุคคลโดยทั่วไปแล้ว ยงั มีปัจจัยอีกหลายอย่างที่เกี่ยวข้อง
กับการมีส่วนร่วม ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพครอบครัว ระดับการศึกษาสถานภาพทางสังคม
อาชีพและรายได้ เปน็ ต้น

ประชุม สุวัติถี (2551) ได้กล่าวถึงลักษณะเงื่อนไขพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของบุคคล เกิด
จากพื้นฐาน 4 ประการ คอื

1. เป็นบุคคลท่ีจะต้องมีความสามารถที่จะเข้าร่วม กล่าวคือ จะต้องเป็นผู้มีศักยภาพที่
จะเข้าร่วมในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิ เช่น จะต้องมีความสามารถในการค้นหาความต้องการ
วางแผนการบรหิ ารจดั การ การบริการองค์กรตลอดจนการใชท้ รัพยากรอยา่ งคุ้มค่า

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

40

2. เป็นบุคคลที่มีความพร้อมท่ีเข้ามามีส่วนร่วม กล่าวคือผู้นั้นจะต้องมีสภาพทาง
เศรษฐกิจวฒั นธรรม และกายภาพทเี่ ปดิ โอกาสใหเ้ ข้ามามสี ่วนร่วมได้

3. เป็นบุคคลที่ มีความประสงค์จะเขา้ ร่วม กล่าวคือ เป็นผ้ทู ่ีมีความเต็มใจสมัครใจที่จะ
เข้าร่วมเล็งเห็นผลประโยชน์ของการเข้าร่วม จะต้องไม่เป็นการบังคับหรือผลักดันให้เข้าร่วม โดยท่ี
ตนเองไม่ประสงคจ์ ะเขา้ ร่วม

4. เป็นบุคคลท่ีต้องมีความเป็นไปได้ท่ีจะเข้าร่วม กล่าวคือ เป็นผู้มีโอกาสที่จะเข้าร่วม
ซึ่งถือว่าเป็นการกระจายอานาจให้กับบุคคลในการตัดสินใจ และกาหนดกิจกรรมท่ีตนเองต้องการใน
ระดบั ทเี่ หมาะสม บคุ คลจะตอ้ งมีโอกาสและมคี วามเปน็ ไปได้ทีจ่ ะจัดการด้วยตนเอง

สาหรับลักษณะการมีส่วนร่วมของบุคคลโดยทั่วไปแล้ว ยังมีปัจจัยอีกหลายอย่างที่
เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพครอบครัว ระดับการศึกษาสถานภาพทาง
สังคม อาชีพและรายได้ เป็นตน้

ศิริชัย กาญจนวาสี (2547) ได้กาหนดรูปแบบและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของ
บคุ คลในองคก์ ร ดังนี้

1. การมีส่วนร่วมในการประชุม คือ การท่ีประธานในท่ีประชุมไม่ได้เป็นผู้มีอานาจ
ตัดสินใจใดๆ ในท่ีประชุม แต่จะเป็นผูท้ ่ีคอยกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคน มีการแลกเปลยี่ นความ
คิดเห็นในหัวข้อที่กาลังประชุมอยู่ได้ สรุปประเด็นต่างๆ ในที่ประชุมให้ชัดเจน บริหารเวลาอย่าง
เหมาะสม และเปิดโอกาสให้ทุกคนได้มีข้อตกลงหรือมติในที่ประชุมร่วมกัน ผู้ดาเนินการประชุมมี
ความเขา้ ใจความแตกตา่ งท่ีหลากหลายของผู้เข้ารว่ มประชุม และมคี วามยืดหยุ่นและวางใจให้พร้อมที่
จะเผชิญทกุ อยา่ งที่เกดิ ข้ึนในท่ีประชุมได้

2. การมสี ่วนร่วมในการเสนอปัญหา คอื การที่บุคคลในกลมุ่ ขององคก์ ารสามารถมีสว่ น
ร่วมในการคิด ศึกษา ค้นควา้ หาปัญหาและสาเหตุของปัญหาว่ามาจากสาเหตุอะไร เพ่ือท่ีจะได้ค้นหา
หาแนวทางในการแก้ปัญหาร่วมกัน ตลอดจนทราบถงึ ปัญหาความต้องการของชมุ ชนได้

3. การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร คือ การท่ีคนในองค์การ
ชมุ ชน และท้องถิ่น มีความสนใจท่ีจะแสดงออกถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อและ
สงั คม ในการเข้าไปมีสว่ นร่วมในชมุ ชนนั้นๆ ในการทากิจกรรมรว่ มกับชุมชน เพ่ือสรา้ งสรรค์สังคมเพื่อ
ประโยชนข์ องสงั คม

4. การมีส่วนร่วมตัดสินใจในการเลือกแนวทางในการแก้ไขปัญหา คือ การท่ีคนใน
ชุมชน องค์การ ค้นหาสาเหตุของปัญหาร่วมกันและได้ข้อตกลงร่วมกัน ในการหาทางเลือกใน
การแก้ไขปัญหาร่วมกัน ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน องค์การ และมีผลกระทบท่ีอาจจะเกิดข้ึนให้น้อย
ท่สี ดุ

5. การมสี ่วนรว่ มในการประเมินผลในกจิ กรรมต่างๆ คือการที่คนในองค์การหรือชุมชน
ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการดาเนินงานหรือกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มคนนั้นๆ แล้วได้มีส่วนร่วมในการ
ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน เพื่อที่จะสามารถบอกได้ว่างานที่ทาไปนั้นได้รับผลดีหรือได้รับ
ประโยชน์หรือไม่อย่างไร ดังนั้นในการประเมินผลอาจจะมีท้ังคนในชุมชนน้ันเอง และคนนอกชุมชน
ช่วยกันพิจารณาว่ากิจกรรมที่กระทาลงไปน้ันเกิดผลดีหรือไม่ดีอย่างไร ซ่ึงจะทาให้เห็นคุณค่าของ
กจิ กรรมน้นั ๆ ร่วมกัน

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2


Click to View FlipBook Version