41
6. การมีส่วนร่วมในการไดร้ ับประโยชน์ คอื การบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วมในผลประโยชน์
ได้แก่ ผลประโยชน์ด้านความต้องการข้ันพ้ืนฐานของบุคคล เช่น เป็นการเพิ่มการบรโิ ภค รายได้ และ
ทรัพย์สิน เป็นต้น ผลประโยชน์ดา้ นความตอ้ งการขัน้ พื้นฐานดา้ นสาธารณะ เช่น บริการหรอื ความ
พึงพอใจการสาธารณูปโภค การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ท้ังในเรื่องปริมาณ การแบ่งผลประโยชน์
และคุณภาพบริการและความพึงพอใจ เป็นต้น ผลประโยชน์ด้านความปรารถนาที่จะเข้ามาเป็น
สมาชิกกลุ่มหรือได้รับการคัดเลือกเข้ามา เป็นการเพ่ิมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง อานาจทาง
การเมือง และความร้สู ึกวา่ ตนเองทางานมีประสิทธผิ ล เป็นตน้
วรรณา วงษ์วานิช. (2549) ได้กาหนดรปู แบบของการมีสว่ นร่วมของบคุ คลไวเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ
ดังน้ี คอื
1. การมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง คือ รูปแบบที่ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม หรือเข้ามา
เกย่ี วขอ้ งรว่ มตัดสินใจในการดาเนินงานแต่ละข้ันตอน จนกว่าการดาเนินงานจะบรรลผุ ลเสรจ็ สมบูรณ์
2. การมีส่วนร่วมที่ไม่แท้จริง คือ รูปแบบที่ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม หรือเข้ามา
เก่ียวข้องในลักษณะหนึ่งลักษณะใด หรือ ในขั้นตอนใดข้ันตอนหนึ่ง เท่านั้นโดยแท้จริงแล้ว
กระบวนการมีส่วนร่วมไม่อาจสามารถกระทาได้ในทุกประเด็นแต่การมีส่วนร่วมของบุคคลจะมีอยู่ใน
เกือบทุกกิจกรรมของสังคม ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับความสนใจและประเด็นการพิจารณาที่อยู่ภายใต้เง่ือนไข
พ้ืนฐานการมีส่วนร่วมว่า จะต้องมีอิสรภาพ มีความเสมอภาค และมีความสามารถในการเข้าร่วม
กจิ กรรม เพ่อื ให้การมสี ่วนรว่ มดาเนนิ ไปไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
ชนิดา กล่ันศรี (2548 : 15) ได้แบ่งลักษณะของการมีส่วนร่วมตามกระบวนการของการ
บรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ มและแบ่งตามอานาจหน้าท่ีของผ้เู ขา้ รว่ มไว้ 5 แบบ คอื
1. การเป็นสมาชิก หมายถึง การท่ีบุคคลนั้นมีโอกาสได้รับการเข้าร่วมเป็นสมาชิก
องค์กร หรือหน่วยงานนั้นๆ ในชุมชน เพ่ือมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน กิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงาน
นั้นๆ
2. การเป็นผู้เข้าประชุม หมายถึง การท่ีบุคคลน้ันได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุม ในการ
แสดงความคดิ เหน็ ในการเสนอความคิด ขอ้ ตกลง และมติในการประชมุ ร่วมกนั
3. การเป็นผู้บริจาคเงิน หมายถึง การมีส่วนร่วมในฐานะท่ีเป็นบุคคลที่ได้มีส่วนร่วมใน
การเป็นผู้บริจาคเงินส่วนตัวในการช่วยเหลือองค์กร หรือชุมชนนั้นๆ ทาให้มีสิทธิมีเสียงในการบริหาร
องค์กร การบริหารชุมชน หรือการตัดสินใจเก่ียวกับการดาเนินงานโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่ตน
ได้เข้าไปมสี ว่ นรว่ ม
4. การเป็นคณะกรรมการ หมายถึง การที่บุคคลนั้นๆ ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเป็น
คณะกรรมการบริหารองค์กร หรือชุมชนภายในหน่วยงานต่างๆ ทาให้มีสิทธิในการออกเสียง
การดาเนินงานต่างๆ ของโครงการนัน้ ๆ ได้
5. การเป็นประชาชน หมายถึง การที่บุคคลนั้นได้เป็นประชาชนคนหนึ่งที่สามารถมี
สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นส่วนตัวในฐานะที่เป็นประชาชาชนคนหนึ่งที่จะทาให้องค์กร
หรอื หน่วยงานน้ันประสบผลสาเรจ็ ตามความตอ้ งการของชุมชนหรือองค์กรได้
กนกวรรณ บุญปลูก (2550 : 11) กลา่ ววา่ การมีส่วนรว่ มแบง่ ออกเป็น 5 แบบ คือ
การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
42
1. การเป็นสมาชิกร่วมประชุม (Membership) คือ การท่ีบุคคลน้ันๆ ได้เป็นสมาชิก
ขององค์กรหรือชุมชน และมีส่วนร่วมในการประชุมในการพิจารณาข้อตกลง มติท่ีประชุม ในการเข้า
รว่ มประชุมและเปน็ สว่ นหนงึ่ ของสมาชกิ
2. การเป็นสมาชิกผู้เข้าประชุม (Attendance of Metting) คือ การท่ีบุคคลนั้นได้มี
โอกาสเข้าร่วมประชุม ในการแสดงความคิดเห็นในการเสนอความคิด ข้อตกลง และมติในการประชุม
รว่ มกนั
3. การเป็นสมาชกิ ผู้บริจาคเงิน (Financial Contribution) คือ การมีส่วนร่วมในฐานะ
ท่ีเป็นบุคคลที่ได้มีส่วนร่วมในการเป็นผู้บริจาคเงินส่วนตัวในการช่วยเหลือองค์กร หรอื ชุมชนนั้นๆ ทา
ให้มีสิทธิมีเสียงในการบริหารองค์กร การบริหารชุมชน หรือการตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินงาน
โครงการหรอื กิจกรรมต่างๆ ทต่ี นได้เข้าไปมสี ว่ นร่วม
4. เป็นประธาน (Position of Leadership) คือ การที่บุคคลน้ันได้รับการเลือกจาก
กลุ่มหรือ ได้รับแต่งต้ังจากกลุ่มให้รับผดิ ชอบในฐานะเป็นผบู้ รหิ ารกลุ่ม เป็นผู้วางแผนเป็นผู้รบั ผิดชอบ
กลุ่ม เป็นผู้ควบคุมความสัมพันธ์ในกลุ่ม หรือเป็นตัวแทนกลุ่มเพ่ือติดต่อกับบุคคลภายนอก การเป็น
ประธานขององค์กรหรือผู้นานั้นไม่ใช่เป็นกันง่ายๆ ท่ีทุกคนก็เป็นได้ จะต้องมีคุณสมบัติพิเศษเด่นกว่า
บุคคลอ่ืนๆ จะต้องมีความเข้มแข็งอดทนมีมนุษยสัมพันธ์เข้ากับบุคคลทั่วไปได้ ประธานที่ดีต้องมี
ความรู้สึกผิดชอบช่ัวดี ความเป็นตัวของตัวเอง รู้จักตนเอง ไม่หลงตน สามารถควบคุมตัวเองได้ ว่าส่ิง
ใดควรประพฤตปิ ฏบิ ัติ รู้ถึงบทบาทหนา้ ท่ขี องตนเองและมคี วามรับผดิ ชอบในบทบาทหนา้ ทน่ี ้นั
5. การเป็นคณะกรรมการ (Membership on Committees) คือ การท่ีบุคคลนั้นๆ
ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการบริหารองค์กร หรือชุมชนภายในหน่วยงานต่างๆ ทาให้มี
สทิ ธใิ นการออกเสียง การดาเนนิ งานตา่ งๆ ของโครงการน้ันๆ ได้
นนั ทพร นามโคตร (2552 : 18) ไดแ้ บ่งรูปแบบการมสี ว่ นร่วมอออกเปน็ 4 ลักษณะ ไดแ้ ก่
1. การมีส่วนร่วมแบบไม่เป็นทางการ เป็นการรวมกลุ่มตามความสมัครใจ โดยอิสระไม่
มกี ฎหมาย ระเบียบ ประเพณี และข้อตกลงรองรับซึ่งเข้ามารวมตัวกันด้วยความเต็มใจ เพ่ือตอบสนอง
ความตอ้ งการทางสงั คม หรือมีการดาเนินการตามความสนใจท่ีเหมือนกันของสมาชกิ
2. การมีส่วนร่วมแบบเป็นทางการ เป็นการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยมีกฎหมาย
ระเบียบ ประเพณี และข้อตกลงรว่ มกัน
3. การมีส่วนร่วมโดยตรง เป็นการมีส่วนร่วมรับผิดชอบโดยตรงและมีอานาจในการ
ตัดสินใจ
4. การมีส่วนร่วมทางอ้อม เป็นการมีส่วนร่วมในลักษณะการเป็นตัวแทน แต่ไม่มี
อานาจในการตัดสินใจจากการศึกษารูปแบบของการมสี ว่ นร่วม
จากการศึกษารปู แบบของการมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอย สามารถสรุปได้ว่า
การท่บี ุคคลในชุมชนบ้านเกาะทองสม เข้ามามีสว่ นร่วมในการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน เช่น
การร่วมเป็นคณะกรรมการ การร่วมประชุม การร่วมแสดงความคิดเห็น การร่วมเสนอแนะในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน การร่วมวางแผน การร่วมคิด ให้คาแนะนา การร่วมสนับสนุนช่วยเหลือ
การทาหน้าที่ประชาสมั พนั ธ์ การร่วมตัดสินใจ และการรว่ มประเมินผล เปน็ ตน้
การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
43
จากการศึกษาแนวคิดทเ่ี ก่ียวกับรูปแบบของการมสี ่วนร่วมตามทศั นะของนักวิชาการต่างๆ ท่ี
กล่าวมาข้างตน้ สามารถนามาสงั เคราะหอ์ งคป์ ระกอบของการบริหารแบบมสี ่วนรว่ ม ดงั นี้
ตารางที่ 1 การสงั เคราะหอ์ งค์ประกอบของการบริหารแบบมสี ว่ นร่วมจากผลการศึกษาของ
บุคคลตา่ ง ๆ
นกั วิชาการ / ผูศ้ ึกษา
องคป์ ระกอบทีไ่ ด้ ประ ุชม ุส ัวติ ีถ (2551) ผู้วจิ ัย
จากการสงั เคราะห์ ศิริ ัชย กาญจนวา ีส (2547)
วรรณา วง ์ษวานิช (2549)
ช ินตา ก ิ่ลนศรี (2548)
กนกวรรณ บุญป ูลก (2550)
เฝาซี ิบลโอ (2554)
ความ ่ถี
1. การมสี ่วนร่วมในการคิด - - - 3
2. การมสี ่วนร่วมในการวางแผน 6
3. การมีส่วนรว่ มในการปฏบิ ตั ิ 6
4. การมีส่วนร่วมในการติดตาม - - - - 2
และประเมนิ ผล
จากตารางที่ 1 สังเคราะห์องค์ประกอบของการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมจากผลการศึกษาของ
ประชุม สุวัติถี (2551) ศิริชัย กาญจนวาสี (2547)วรรณา วงษ์วานิช (2549)ชนิตา กลิ่นศรี
(2548)กนกวรรณ บุญปลูก (2550)และเฝาซี บิลโอ (2554)ได้สรุปองค์ประกอบการมีส่วนร่วม 4
องค์ประกอบ ดังนี้
1. การมีส่วนร่วมในการคิด หมายถึง วิธีการที่เน้นถึงการยอมรับความคิดเห็นของ
ผู้อื่น อันจะนาไปสู่การร่วมคิด โดยให้ความสาคัญในการสนทนา เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน
แนวความคิดร่วมกัน ในการศึกษาค้นคว้าปัญหาและหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนตลอดจน
ความต้องการของชุมชน (เฝาซี บิลโอ. 2554 : 10 - 11) เป็นการสร้างความเสมอภาคในการแสดง
ความคิดเห็น และนาความคิดเห็นมาใช้ในการตัดสินใจ เปิดโอกาสให้คณะทางานทุกระดับมีส่วนร่วม
ในการคิดมากที่สุด กาจัดอุปสรรค ผลักดันเพื่อจุดประกายความคิด และสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ
ความคิดร่วมกัน (ศิริชัย กาญจวาสี. 2547) โดยประชาชนในองค์กรนั้นๆ สามารถมีสิทธิเสริภาพใน
การแสดงความคิดเห็นสว่ นตวั เพ่อื ใหอ้ งคก์ รนัน้ ประสบความสาเร็จ (ชนดิ า กล่นิ ศร.ี 2548)
การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
44
จินตวีร์ เกษมศุข (2557 : 1 - 4) ไดก้ ล่าวถึงการมีส่วนรว่ ม พอสรุปได้ถึงการมีสว่ น
ร่วมในการคิดว่า หมายถึง การมีส่วนร่วมท่ีเป็นการเปิดโอกาสให้ทุกคนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการ
คิด รเิ รม่ิ การพิจารณาตัดสินใจ การร่วมปฏบิ ัติและร่วมรบั ผิดชอบในเร่ืองต่างๆ อันมีผลกระทบถึงตัว
ประชาชนเอง เป็นการร่วมมือของประชาชน ไม่ว่าปจั เจกบุคคลหรือกลุม่ คนท่ีเห็นพ้องต้องกันและเข้า
มาร่วมรับผิดชอบเพื่อดาเนินการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ต้องการ กระทาผ่านกลุ่มหรือ
องค์การ เพื่อให้บรรลถุ ึงความเปล่ียนแปลงท่ีพึงประสงค์ และได้มสี ่วนชว่ ยเหลือระหวา่ งกัน ด้วยจิตใจ
และอารมณ์ของ แต่ละบุคคลในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติงานและร่วม
รบั ผิดชอบในเรือ่ งต่างๆ ที่มี ผลกระทบต่อสว่ นรวมในการบริหารจัดการ เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของ
สังคม โดยประชาชนจะต้องเข้าไปมีส่วนในการตัดสินใจระดับต่างๆ ทางการจัดการ บริหารและทาง
การเมือง เพื่อกาหนดความต้องการในชุมชนของตน โดยการเปิดโอกาสให้ผู้นาชุมชนได้มีส่วน
ช่วยเหลือกัน ต้ังแต่ การวางแผน การบริหารงบประมาณ การดาเนินการ และการติดตามและ
ประเมินผล ดังนั้น ผลสาเร็จของการ พัฒนาจึงข้ึนอยู่กับการสนับสนุนของประชาชนและการมีส่วน
ร่วมของประชาชนอย่างแขง็ ขัน โดยประชาชน ต้องรู้วา่ พวกตนตอ้ งการอะไรเพื่อการพัฒนาของตนเอง
การท่ีประชาชนภายในพ้ืนท่ีมีการรวมกลุ่มในรูปของประชาคมหรือชุมชน ซ่ึงเป็น
แนวคิดท่ีสนับสนุน ความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ร่วม
คิด ร่วมทา ร่วมแก้ไขปัญหา ซ่ึงการแก้ไขปัญหานั้นจาเป็นต้องมีความร่วมมือทาพร้อมๆ กันในทุก
ระดับ ต้องระดมทุกองค์ประกอบในสังคม โดยเฉพาะชุมชน เพ่ือเสริมสร้างความเป็นชุมชนให้มีความ
เข้มแข็ง สามารถแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ ได้ด้วยตนเอง
รูปแบบของการมสี ่วนรว่ มทีด่ าเนนิ อยโู่ ดยท่ัวไป สามารถสรปุ ได้เป็น 4 รูปแบบ คือ
1. การรับรู้ข่าวสาร (Public Information) ประชาชนและหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องจะต้องได้รับการ แจ้งให้ทราบถึงรายละเอียดของโครงการทจี่ ะดาเนินการ รวมทั้งผลกระทบ
ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น ทั้งนี้ การได้รับ แจ้งข่าวสารดังกล่าวจะต้องเป็นการแจ้งก่อนที่จะมีการตัดสินใจ
ดาเนินโครงการ
2. การปรึกษาหารือ (Public Consultation) เป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมที่มี
การจัดการหารือ ระหว่างผู้ดาเนินการโครงการกับประชาชนท่ีเก่ียวข้องและได้รับผลกระทบ เพ่ือรับ
ฟังความคิดเหน็ และ ตรวจสอบขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ เพ่ือให้เกดิ ความเข้าใจในโครงการและกจิ กรรมมากขึ้น
3. การประชุมรับฟังความคิดเห็น (Public Meeting) มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้
ประชาชนและฝ่ายท่ี เก่ียวข้องกับโครงการหรือกิจกรรม และผู้มีอานาจตัดสินใจในการทาโครงการ
หรือกิจกรรมน้ันได้ใช้เวที สาธารณะในการทาความเข้าใจ และค้นหาเหตุผลในการดาเนินโครงการ
หรอื กจิ กรรมในพืน้ ทีน่ ัน้ ซึ่งมหี ลาย รปู แบบ ไดแ้ ก่
3.1 การประชุมในระดับชุมชน (Community Meeting) โดยจัดขึ้นใน
ชุมชนที่ได้รับผลกระทบ จากโครงการ โดยเจ้าของโครงการหรือกิจกรรมจะต้องส่งตัวแทนเข้าร่วม
เพ่ืออธิบายให้ท่ีประชุมทราบถึง ลักษณะโครงการและผลกระทบท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นและตอบข้อ
ซกั ถาม
การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
45
3.2 การประชุมรับฟังความคิดเห็นในเชิงวิชาการ (Technical Hearing)
สาหรบั โครงการท่มี ีขอ้ โตแ้ ย้งในเชิงวชิ าการ จาเป็นจะต้องเชญิ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาจากภายนอกมา
ช่วยอธบิ ายและให้ความเห็น ต่อโครงการ ซ่ึงผ้เู ข้ารว่ มประชุมต้องไดร้ ับทราบผลดังกลา่ วด้วย
3.3 การประชาพิจารณ์ (Public Hearing) เปน็ เวทีในการเสนอขอ้ มูลอย่าง
เปิดเผยไม่มีการปิดบัง ทั้งฝ่ายเจ้าของโครงการและฝ่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากโครงการ ซ่ึงจะต้องมี
องค์ประกอบของผู้เข้าร่วมท่ีเป็นที่ ยอมรับ มีหลักเกณฑ์และประเด็นในการพิจารณาท่ีชัดเจน และ
แจ้งใหท้ ุกฝา่ ยทราบทวั่ กนั
4. การรว่ มในการตดั สินใจ (Decision Making) เป็นเป้าหมายสูงสุดของการมี
ส่วนร่วมของ ประชาชน ซึ่งประชาชนจะมบี ทบาทในการตัดสินใจได้เพียงใดน้ันข้ึนอยู่กบั องค์ประกอบ
ของคณะกรรมการที่ เป็นผแู้ ทนประชาชนในพื้นท่ี
ลักษณะท่ีสาคัญของการมีส่วนร่วมว่าเป็นเรื่องของกระบวนการ ซึ่งได้สรุปถึง
ข้นั ตอนของการมสี ว่ น รว่ มได้ 4 ขน้ั ตอนหลักๆ ดงั นี้
1. มีส่วนร่วมในการคิด ศึกษา และค้นคว้า หาปัญหาและสาเหตุของปัญหา
ตลอดจนความต้องการของชมุ ชน
2. มีส่วนร่วมในการวางนโยบาย หรือแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม เพ่ือ
ลดและแก้ไขปญั หา
3. มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการจัดหรือปรับปรุงระบบการบริหาร
ทรพั ยากรอย่างมีประสทิ ธิภาพ และปฏิบตั งิ านใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมาย
4. มสี ่วนรว่ มในการควบคมุ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการทางาน
การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมจาเป็นต้องใช้วิธีการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ท่ี
เหมาะสมในการนาพา ข่าวสารจากหน่วยงานภาครัฐบาลหรือเอกชน ไปสู่ประชาชนผู้เป็นเป้าหมาย
สิ่งสาคัญในการกระตุ้นและสร้าง แรงจูงใจให้ประชาชนหรือชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ข้อมูลทตี่ ้องการสื่อสารนน้ั ต้องอาศัย กระบวนการมีสว่ นร่วมของประชาชน เพราะถือวา่ เปน็ ส่วนช่วย
ให้กระบวนการติดต่อส่ือสารสัมพันธ์หรือ แลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างสมาชิกในสังคมเป็นไปได้
โดยสะดวกข้ึน กล่าวคือ ประชาชนมีสว่ นร่วมในกระบวนการร่วมคิด รว่ มทา ร่วมพัฒนาชุมชน ให้มี
ความเข้มแข็งเพ่ือเป็นพลงั ขับเคลื่อนสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาของ สังคมและประเทศชาตไิ ด้
การประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้
หน่วยงานภาครัฐ ประชาชนในท้องถ่ิน และหน่วยงานภาคเอกชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้ามามีส่วน
ร่วมในโครงการเพื่อการพัฒนา ต้ังแต่เร่ิมดาเนินงานโครงการอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ได้มีโอกาสร่วม
รับทราบข้อมูลและแสดงความคิดเหน็ อันจะทาให้โครงการน้นั ๆ เกิดประโยชนส์ ูงสุดและส่งผลกระทบ
ทางสังคมให้น้อยท่ีสุด นอกจากนี้ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้นไม่ว่าจะเป็นระดับ
ครอบครัว ระดับชุมชน หรือระดับประเทศนั้น ถือเป็นกระบวนทัศน์ท่ีมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการ
พัฒนาประเทศในปัจจุบัน เพราะจะช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการกาหนด ทิศทางของการ
พัฒนา วางแผนโครงการพัฒนาต่างๆ ซ่ึงจะก่อให้เกิดความรู้สึกความเป็นเจ้าของและยินยอม ปฏิบัติ
ตามได้อย่างสมัครใจ และเป็นส่วนสาคัญท่ีจะทาให้การพัฒนาเป็นไปในแนวทางที่สนองต่อความ
ต้องการ ของประชาชนอยา่ งแท้จรงิ
การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
46
จะเห็นได้ว่า การมีส่วนร่วมในการคิด เป็นกระบวนการท่ีเปิดโอกาสให้กลุ่มบุคคล
ในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของการมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข้อเท็จจริงและความ
คิดเห็นตามรูปแบบของการมีส่วนร่วมทั้ง 4 รูปแบบ เพ่ือประกอบการคิดเห็นของหน่วยงานภาครัฐ
ดว้ ยวธิ ีการต่างๆ เช่น การรับฟังความคิดเห็น การสารวจความคดิ เห็น การจดั เวทีสาธารณะการเสนอ
ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น นอกจากน้ียังมีส่วนร่วมในการคิดยังอยู่ในรูปของการประชุม
ปรึกษาหารือในการวางแผน วิธีการติดตามผล การตรวจสอบและการดูแลรักษา เพื่อให้กิจกรรม
โครงการสาเร็จตามวัตถุประสงค์บรรลุเป้าหมาย การมีส่วนร่วมในการคิด จึงเป็นการค้นหาปัญหา
และสาเหตุของปัญหาข้ันตอนนี้เป็นส่วนแรกที่สาคัญที่สุด เพราะถ้าบุคคลยังไม่สามารถเข้าใจปัญหา
และค้นหาสาเหตุของปัญหาด้วยตนเองได้ กิจกรรมต่างๆ ท่ีตามมาก็ไร้ประโยชน์ เพราะจะขาดความ
เข้าใจและมองไม่เห็นความสาคัญของการจัดกิจกกรมนั้น แต่อาจมองปัญหาไม่ได้เด่นชัด ผู้บริหารจึง
เสมือนกระจกเงาผู้คอยสะท้อนภาพให้บุคคลในชุมชนท่ีจะมามีส่วนร่วมมองเห็นและสามารถคิด
วเิ คราะหป์ ญั หาร่วมกันได้
สรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมในการคิด หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะ
ทองสมทม่ี ีสว่ นร่วมในการคิด การชงั่ ใจ ไตร่ตรอง และตัดสนิ ใจเลือกทางดาเนินงานทเ่ี ห็นวา่ ดีทส่ี ุดทาง
ใดทางหนึ่งจากหลาย ๆ ท่ีเข้าไปเป็นส่วนหน่ึงของการตัดสินใจในการแสดงความคิดเห็น การเสนอ
ข้อมูลข่าวสารทางเลือกเพ่ือเป็นแนวทางประกอบการตัดสินใจ การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น อัน
จะนาไปสู่การร่วมคิด โดยให้ความสาคัญในการสนทนา เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนแนวความคิด
รว่ มกัน ในการศึกษาค้นคว้าปัญหาและหาสาเหตุของปัญหาการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยที่เกิดขึ้นใน
ชุมชนตลอดจนความตอ้ งการของชุมชน
2. การมีส่วนร่วมในการวางแผน หมายถึง การมีส่วนร่วมในการวางแผนการ
ดาเนินงานของกลุ่มบุคคลซ่ึงเป็นผู้ที่มีศักยภาพในองค์กรหรือชุมชน (ประชุม สุวัติถี. 2551) เป็นการ
กาหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม ต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรในการดาเนินงานตาม
โครงการต่างๆ (เฝาซี บิลโอ. 2554 : 10 - 11) เพื่อที่จะได้ค้นหาหาแนวทางในวางแผนแก้ปัญหา
ร่วมกันตามความต้องการของชุมชนได้ (ศิริชัย กาญจวาสี. 2547) โดยมีบุคคลที่ได้รับการเลือกจาก
กลุ่มหรอื ได้รับแต่งต้ังจากกลุ่มให้รับผิดชอบในฐานะเป็นผู้บรหิ ารกลุ่ม เป็นผู้วางแผน (วรรณา วงษ์วา
นชิ . 2549) และมีสมาชิกกลุ่ม คณะกรรมการต่างๆ ของกลุ่มท่ีสามารถมีสิทธิมเี สียงในการวางแผนให้
การดาเนินงานตา่ งๆ ของโครงการนัน้ ๆ ประสบผลสาเร็จ (กนกวรรณ บุญปลูก. 2550)
การวางแผน หมายถึง การกาหนดแนวทาง วิธีการ หรือกิจกรรมต่างๆ ท่ีกระทาใน
อนาคต โดยการวิเคราะห์ถงึ โอกาสความเป็นไปได้ กาหนดแนวทางในการป้องกันปัญหาและอุปสรรค
ท่อี าจจะเกดิ ขึน้ และเปน็ การเตรียมทรัพยากรในดา้ นตา่ งๆ การวางแผนเปน็ การประกันความเสี่ยงไว้ที่
จะ เกิ ด ข้ึ น ใน อ น าค ต ซ่ึ งจ ะ ป ระกั น ได้ ม าก น้ อ ย แ ค่ ไห น ขึ้ น อ ยู่ กั บ ค ว าม ส าม ารถ ข อ ง
ผู้วางแผน ที่สามารถจะคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้วยข้อมูลในอดีต ปัจจุบัน บวกกับ
การตัดสินใจทร่ี อบคอบ (ณรงคว์ ทิ ย์ แสนทอง. 2548 : 40 - 45)
การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
47
ประโยชน์ของการวางแผน
1. ชว่ ยลดความเสย่ี งท่จี ะเกดิ ขึน้ ในอนาคต
2. ช่วยสร้างความมั่นใจใหก้ ับผทู้ างาน
3. ช่วยกาหนดวิธกี ารในการดาเนนิ งานและการปฏบิ ัติงานที่ชดั เจน
4. สามารถควบคมุ เวลา ทรพั ยากรต่างๆ ให้มีประสทิ ธิภาพมากข้ึน
5. สามารถเชอื่ มโยงความสัมพันธ์ของผลงานในอดีต งานในปัจจบุ นั
ระดับของการวางแผน
การวางแผนเป็นสิ่งที่มีความสาคัญในองค์การ เพราะจะทาให้สามารถทราบได้ว่า
องค์การนั้นจะดาเนินไปอย่างไร มีความสามารถในการแข่งขันมากน้อยแค่ไหน ซ่ึงการวางแผนจะ
ประกอบไปดว้ ยแผนงาน 3 ระดับ คือ
1. แผนกลยุทธ์ขององค์การ (Strategic Plan) เป็นแผนหลักขององค์การที่ถูก
กาหนดกรอบของแผนโดยวิสัยทัศน์ (Corporate Vision) และภารกิจหลัก (Mission) การวางแผน
ระดับนี้จะต้องคานึงถึงปัจจยั แวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ขอ้ มูลท่ีใช้ประกอบการวางแผนจะต้อง
เป็นสารสนเทศท่ีผ่านการวิเคราะหม์ าแล้ว และส่วนมากแล้วมักจะเป็นสารสนเทศที่เกยี่ วขอ้ งกับปัจจัย
ภายนอก ซ่ึงไม่สามารถควบคุมได้ จึงทาให้เกิดความเส่ียงสูงกว่าแผนอ่ืนๆ การวางแผนในระดับนี้ ถ้า
ไม่ทาการศกึ ษาใหร้ อบคอบแลว้ โอกาสผดิ พลาดมีสงู มาก
2. แผนงานระดับจัดการ (Management Plan) เป็นแผนที่จัดทาขึ้นเพ่ือนา
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดเป้าหมาย (Goad) ตัวช้ีวัด (Indicator) ที่ชัดเจนมากขึ้น
แผนงานในระดับน้ีมกั เกี่ยวข้องกบั ภายนอกน้อยแตจ่ ะเกี่ยวขอ้ งกับปัจจัยภายในมากกวา่ โดยใช้ขอ้ มูล
สารสนเทศในการจัดทาแผน และระดับความเสี่ยงในความล้มเหลวของแผนงานมีต่ากว่าแผนกลยุทธ์
แตส่ งู กว่าแผนของระดับปฏบิ ัติการ
3. แผนงานระดับปฏิบัติการ (Operation Plan) เป็นแผนงานท่ีนานโยบาย
เป้าหมาย ของแผนงานระดับจัดการมาสู่การปฏิบัติ การวางแผนในระดับนี้ จะถูกกาหนดโดยปัจจัย
ภายในที่เก่ียวข้องเท่าน้ัน ข้อมูลท่ีใช้ในการวางแผนเป็นข้อมูลดิบซึ่งส่วนมากเป็นสถิติ บันทึก หรือ
รายงานประเภทต่างๆ ตัวแปรที่มีผลต่อแผนงานเกือบทั้งหมดเป็นตัวแปรภายในที่สามารถควบคุมได้
และระดบั ความเสีย่ งของแผนมนี อ้ ยกว่าแผนงานในทุกระดับ
จากท่ีกล่าวมา จะเห็นได้ว่าการมีสว่ นร่วมในการวางแผน เป็นการมีส่วนร่วมในการ
วางแผนดาเนินกิจกรรม : การวางแผนการดาเนินกิจกรรมเป็นขั้นตอนต่อไปน้ีท่ีขาดไม่ได้ หาก
ผู้บริหารต้องการแต่ผลงานการพัฒนาให้เสร็จสิ้นโดยฉับไว ก็จะดาเนินการวางแผนงานด้วยตนเอง
การมสี ว่ นรว่ มของบุคคลในการวางแผน จะช่วยให้กลุ่มบุคคลนนั้ เข้าใจปญั หาพฒั นาประสบการณ์ของ
ตนเองและสามารถวางแผนได้ด้วยตนเองในที่สุด โดยการมีส่วนร่วมในทางท่ถี กู ต้องต้องมีกระบวนการ
ของการวางแผนเป็นข้ันตอน ซึ่งจะเร่ิมต้ังแต่การจัดทาแผนกลยุทธ์ แผนระดับการจัดการ และแผน
ระดับปฏิบัติการ ท่ีทุกคนในองค์การน้ันจะต้องมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนดังกล่าว และติดตาม
แผนการดาเนินงานให้เปน็ ไปตามแผนเพื่อค้นหาว่าแผนใดที่ประสบผลสาเร็จ และแผนใดที่ล้มเหลวใน
การดาเนนิ งาน เพือ่ จะได้นาข้อมูลเหล่านั้นมาพัฒนาปรับปรุงการทางานต่อไป
การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2
48
การมีส่วนรว่ มในการวางแผน มีเทคนคิ กระบวนการวางแผนแบบมสี ่วนรว่ ม ดังน้ี
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม ถือเปน็ วิธีหรอื กลไกที่เปิดโอกาสให้สมาชิกทุก
ระดับ ทุกคนในองค์กร หน่วยงาน กลุ่มสังคม คณะบุคคล ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ นามา
ซ่ึงบ่อเกิดการเรียนรู้ร่วมกันจากการทางานร่วมกัน (Interactive learning through action)
ก่อให้เกิดการระดมสมอง เพื่อร่วมคิดร่วมวิเคราะห์หนทางเลือก หรือหนทางปฏิบัติ เพ่ือที่จะนามาใช้
ในการแก้ปัญหาและพัฒนา นอกจากนี้ยังก่อให้เกดิ ความภาคภมู ิใจ ความร้สู ึกว่าเป็นเจ้าของในผลงาน
ท่ีคนได้มีส่วนร่วม สุดท้ายยังก่อให้เกิดความผูกพัน มีความรักและห่วงแหน คอยปกป้องรักษาให้เกิด
ความม่ันคงยั่งยืน ดังนั้น ผู้บริหารท่ีมีการแบ่งกลุ่มผู้นาองค์กรไว้อย่างชัดเจนหลายระดับ จึงควรเปิด
โอกาสให้มีเวทีสาหรับกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม ขึ้นภายในองค์กรอย่างน้อย 3 ระดับหรือ
3 กลุ่มตามความเหมาะสมเป็นอย่างน้อย (ประเวศ วะสี และไพบูลย์ วัฒนศริ ธิ รรม. 2557 : 1 - 2) ดัง
รายละเอียดต่อไปน้ี
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม ระดับที่ 1 : สาหรับกลุ่มคณะบริหารของ
องค์กร (CEO)
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม ระดับท่ี 2 : สาหรับ กลุ่มผู้นาระดับกลาง
(หวั หนา้ แผนก)
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม ระดับที่ 3 : สาหรับกลุ่มผู้ปฏิบัติ
(บุคลากรทุกคน)
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมทั้ง 3 ระดับข้างต้นควรจะต้องมีขั้นตอน
การปฏิบัติที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดการผสมผสานหรือการจัดเก็บข้อมูลทุกมุมมอง จึงจะสามารถให้การ
พัฒนาบรรลุเป้าหมายสูงสุดได้ น้ันก็หมายความว่า เวทีที่จัดข้ึนน้ันจะต้องเป็นเวทีท่ีเปิดกว้างให้ความ
เป็นอิสระ และความเป็นเอกภาพในเชิงการแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ในท้ังน้ี เพ่ือให้เกิดการ
บูรณาการ ผลงานที่เกิดจากโครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาท่ีปรากฏจึงจะมีความยั่งยืนใน
ขณะเดียวกันก็ควรแบ่งข้นั ตอนของการดาเนินการตามเทคนิคกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมแต่
ระระดับหรือกลุม่ นาไปปฏิบัติให้เป็นแนวทางเดยี วกัน ซ่ึงในกระบวนท่ีเปน็ หลกั สากลนิยมได้กาหนดไว้
มี 3 ขน้ั กระบวนการ ดังต่อไปน้ี
ข้ันที่ 1 : กระบวนการสร้างความรู้สึก ชื่นชม หรือยอมรับผู้อื่น
(Appreciation : A) เป็นขั้นตอนท่ีเปิดโอกาสให้บุคลากรหรือสมาชิกทุกคนในองค์กร ได้แสดงความ
คดิ เห็นและรับฟังผู้อื่นเฉพาะในกลมุ่ ของตน พร้อมทั้งร่วมกันพิจารณาหาข้อสรุปว่าประเด็นไหนท่ีเป็น
สาระสาคัญของกล่มุ และกลุ่มเห็นวา่ ควรดาเนินการในเร่ืองใดเป็นการเรง่ ดว่ นกอ่ นหลัง จากท่ีได้กลา่ ว
นั้นเพ่ือให้ทุกคนได้เกิดการยอมรับ และได้ช่ืนชมผู้อ่ืนท่ีได้นาเสนอในส่ิงท่ีเป็นสารประโยชน์ ต่อ
ส่วนรวมท้ังสมารถสะท้อนให้สมาชิกในกลุ่มหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบในผลประโยชน์ร่วม
และเห็นถึงข้อดี ข้อเสีย ตลอดท้ังความเป็นไปได้สูง หากได้นาชุดความคิดในประเด็นหลักผ่านการ
ตกผลึกของกลุ่มแล้วนาเสนอต่อผู้บริหาร หรือผู้มีอานาจในการตัดสินใจ นาเสนอน้ันผู้บรรจุของ
กระบวนการ AIC ควรกาหนดกรอบไว้เพ่ือให้ง่ายหรืออาจจะใช้การวาดภาพ หรือใช้คาพูด ตลอดท้ัง
การเขยี นข้อความเป็นส่ือในการแสดงความคิดเห็น ทั้งนี้ให้ข้นึ อยู่กับสถานการณข์ องบริบทน้ันๆ ในข้ัน
ที่ 1 (A) ควรกาหนดประเด็นหลกั ไว้ดงั นี้
การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2
49
A 1 : การวิเคราะหส์ ภาพการณ์ในปัจจุบันโดยรวมว่าเป็นอย่างไร
A 2 : การกาหนดอนาคตหรอื วสิ ยั ทัศนใ์ นการพฒั นาทคี่ วรจะเปน็
ข้ันท่ี 2 : กระบวนการสร้างปฏิสัมพันธ์และแลกเปล่ียนความคิดหา
แนวทางการพัฒนา (Influence : I) เป็นขั้นตอนท่ีรว่ มกันคิดหาวิธีการสาคญั ที่จะทาให้องคก์ รสามารถ
บรรลุวิสัยทัศน์ (ใน A 2) โดยนาเอาผลสะท้อนอันเกิดจากการวิเคราะห์สภาพการณ์ในปัจจุบัน (ใน A 1) ผ่าน
กระบวนตกผลึกของแต่ละกลุ่มมากาหนดกิจกรรมและจัดลาดับวามสาคัญของกิจกรรมหรือโครงการ
โดยปกติจะแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คอื
I 1 : การคิดหาวิธีการ - แนวทาง - การกาหนดกิจกรรมหรือ
โครงการฯ
I 2 : การการจัดลาดับความสาคญั ของกิจกรรมและโครงการฯ
ข้ันท่ี 3 : กระบวนการยอมรับวิธีการสาคัญ และสร้างแนวทางปฏิบัติ
(Control : C) เป็นข้ันตอนของการยอมรับและการทางานร่วมกัน โดยการนาเอาโครงการหรือกิจกรรม
ลงสู่การปฏิบัติมากาหนดให้เป็นแผนการปฏิบัติการ (Action plan) ซ่ึงมีอยู่ 2 ลักษณะของกลุ่มงาน
คอื
C 1 : การแบง่ หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบอยา่ งเหมาะสม
C 2 : การตกลงในรายละเอียดการดาเนนิ งานทคี่ รอบคลมุ
กระบวนการ AIC
(A : Appreciation)
ก่อใหเ้ กิดความผูกพัน
ทางจติ วิญญาณระหว่างกนั
3 องค์ประกอบ (I : Influence) เกดิ หลังทไ่ี ม่มีขอบเขต
ในกระบวนการ AIC กอ่ ให้เกดิ การเรยี นรจู้ ากของจรงิ (Unlimited)
(C : Control)
ก่อใหเ้ กดิ การจัดการและการควบคมุ
ภาพที่ 2 กระบวนการวางแผนแบบมสี ่วนรว่ ม
ทม่ี า : ประเวศ วะสี และไพบลู ย์ วัฒนศริ ิธรรม
การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
50
จากที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่า การมีส่วนร่วมในการวางแผน เป็นการมีส่วนร่วมในการ
วางแผนดาเนินกิจกรรม : การวางแผนการดาเนินกิจกรรมเป็นข้ันตอน หากผู้บริหารต้องการแต่
ผลงานการพัฒนาให้เสร็จสิ้นโดยฉับไว ก็จะดาเนินการวางแผนงานด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมของ
บุคคลในการวางแผน จะช่วยให้กลุ่มบุคคลนั้นเข้าใจปัญหาพัฒนาประสบการณ์ของตนเองและ
สามารถวางแผนได้ด้วยตนเองในท่ีสุด โดยการมีส่วนร่วมในทางที่ถูกต้องต้องมีกระบวนการของการ
วางแผนเป็นขั้นตอน ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่การจัดทาแผนกลยุทธ์ แผนระดับการจัดการ และแผนระดับ
ปฏิบัติการ ที่ทุกคนในองค์การนั้นจะต้องมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนดังกล่าว และติดตามแผนการ
ดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนเพ่ือค้นหาว่าแผนใดที่ประสบผลสาเร็จ และแผนใดท่ีล้มเหลวในการ
ดาเนินงาน เพื่อจะได้นาข้อมูลเหล่านั้นมาพัฒนาปรับปรุงการทางาน นอกจากน้ี การวางแผนแบบมี
สว่ นร่วม ยังเปน็ การเปิดโอกาสให้สมาชิกทุกระดบั ทุกคนในองค์กร หน่วยงาน กลุ่มสังคม คณะบคุ คล
ได้แลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์ นามาซ่ึงบ่อเกิดการเรียนรู้ร่วมกันจากการทางานร่วมกัน
(Interactive learning through action) ก่อให้เกิดการระดมสมอง เพ่ือร่วมคิดร่วมวิเคราะห์หนทาง
เลือก หรือหนทางปฏิบัติ เพื่อที่จะนามาใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนา นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดความ
ภาคภูมิใจ ความรู้สึกว่าเป็นเจ้าของในผลงานท่ีคนได้มีส่วนร่วม สุดท้ายยังก่อให้เกิดความผูกพัน มี
ความรักและห่วงแหน คอยปกป้องรักษาให้เกิดความมั่นคงย่ังยืน โดยเร่ิมต้ังแต่กระบวนการข้ันท่ี 1 :
กระบวนการสร้างความรู้สึก ช่ืนชม หรือยอมรับผู้อื่น (Appreciation : A) เป็นขั้นตอนท่ีเปิดโอกาสให้
บคุ ลากรหรอื สมาชกิ ทกุ คนในองค์กร ไดแ้ สดงความคดิ เห็นและรับฟังผู้อน่ื เฉพาะในกลุม่ ของตน พร้อม
ทั้งร่วมกันพิจารณาหาข้อสรุปว่าประเด็นไหนที่เป็นสาระสาคัญของกลุ่ม และกลุ่มเห็นว่าควร
ดาเนินการในเรื่องใดเป็นการเร่งด่วนก่อนหลัง กระบวนการข้ันท่ี 2 : กระบวนการสร้างปฏิสัมพันธ์
และแลกเปล่ียนความคิดหาแนวทางการพัฒนา (Influence : I) เป็นข้ันตอนที่ร่วมกันคิดหาวิธีการ
สาคัญท่ีจะทาให้องค์กรสามารถบรรลุวิสัยทัศน์ โดยนาเอาผลสะท้อนอันเกิดจากการวิเคราะห์สภาพการณ์
ในปัจจุบัน ผ่านกระบวนตกผลึกของแต่ละกลุ่มมากาหนดกิจกรรมและจัดลาดับความสาคัญของ
กิจกรรมหรือโครงการ กระบวนการขั้นท่ี 3 : กระบวนการยอมรับวิธีการสาคัญ และสร้างแนวทางปฏิบัติ
(Control : C) เป็นข้ันตอนของการยอมรับและการทางานร่วมกัน โดยการนาเอาโครงการหรือกจิ กรรม
ลงสู่การปฏิบัติมากาหนดให้เป็นแผนการปฏิบัติการ (Action plan) ซ่ึงจะทาให้การทางานสามารถ
เป็นไปตามแผนการทวี่ างไว้ อนั จะนาไปส่เู ปา้ หมายขององคก์ ารต่อไป
สรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมในการวางแผน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนในชุมชนบ้าน
เกาะทองสมเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการดาเนินงานการบริหารจัดการขยะมูลฝอย การจัดทา
โครงการ กิจกรรมต่างๆ การดาเนินงานของสถานศึกษา มีการกาหนดเป้าหมาย เป้าประสงค์ พันธกิจ
วิสัยทัศน์ แผนงาน ให้บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษาเพ่ือที่จะได้ค้นหาแนวทางในวางแผนแก้ปัญหา
รว่ มกัน ตามความต้องการในการจัดการศกึ ษาในสถานศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
3. การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ หมายถึง การมีส่วนร่วมของบุคคลในชุมชนในการ
ปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม ให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ (เฝาซี บิลโอ. 2554 : 10
– 11) และกาหนดกิจกรรมที่ตนเองต้องการปฏิบัติในระดับท่ีเหมาะสม บุคคลจะต้องมีโอกาสและมี
ความเป็นไปได้ที่จะจัดการด้วยตนเอง (ประชุม สุวัติถี. 2551) คนในองค์การ ชุมชน และท้องถ่ิน มี
ความสนใจท่ีจะแสดงออกถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม ในการเข้าไปมีส่วน
การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2
51
ร่วมในชุมชนน้ันๆ ในการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน เพ่ือสร้างสรรค์สังคม เพื่อประโยชน์ของสังคม
(ศิริชัย กาญจวาสี. 2547) ในการดาเนินงานแต่ละขั้นตอน จนกว่าการดาเนินงานจะบรรลุผลเสร็จ
สมบูรณ์ (วรรณา วงษ์วานิช. 2549) โดยคนในชุมชนที่เป็นสมาชิก เป็นคณะกรรมการ และประชาชน
ในท้องถนิ่ นน้ั ๆ (ชนดิ า กลนิ่ ศรี. 2548 ; กนกวรรณ บุญปลูก. 2550)
จุฑารัตน์ ชมพันธ์ (2555 : 128) ได้กล่าวว่า การมีส่วนร่วมในการปฏิบัตินั้นเป็น
ข้ันตอนในการนาแผนการทกี่ าหนดไวท้ ้ังหมดกิจกรรมการมีส่วนร่วมต่าง ๆ ไปปฏิบัติจริง และทาการ
ประเมินผลของกิจกรรมมีส่วนรว่ ม ตลอดจนการนาขอ้ มูลทไี่ ด้จากกจิ กรรมตามกระบวนการมีสว่ นร่วม
น้ันไปใช้ประโยชน์อย่างแท้จริง ประเด็นสาคัญคือการวางแผนอย่างระมัดระวังและปรึกษากับ
หน่วยงานต่างๆ อย่างรอบคอบ ซ่ึงการวางแผนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างรอบคอบ ก็จะ
สามารถลดระยะเวลาของการดาเนนิ การ ที่อาจเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดได้ และควรระลกึ เสมอว่ากระบวนการ
มสี ่วนร่วมของประชาชนเป็นศิลปะทต่ี อ้ ง วางแผนการดาเนนิ งานอยา่ งรัดกมุ ในทกุ ขนั้ ตอน
ยทุ ธนา พรหมณี (2557 : 1 - 3) ได้ให้ความหมายของการนาแผนไปสู่การปฏิบัตวิ ่า
การดาเนินการทุกอย่างเพื่อให้นโยบาย บรรลุวัตถุประสงค์ทกี่ าหนดไว้ การนาแผนไปสู่การปฏิบัติเป็น
การนาโครงการ/กิจกรรม ที่ได้กาหนดไว้ในแผน ไปดาเนินการให้บรรลตุ ามเปา้ หมาย โดยต้องกาหนด
องคก์ รหรือบุคคลท่รี ับผดิ ชอบ และวิธกี ารดาเนินการชดั เจน โดยมีข้นั ตอน ดงั น้ี
1. ขั้นการนาแผนไปปฏิบัติ
ขั้นน้ีเมื่อได้จัดทาแผน โครงการและได้ตรวจสอบความเป็นไปได้จนแน่ใจ
แล้วก็ต้องนาแผนเสนอผู้มีอานาจตามลาดับเพ่ือขออนุมัติงบประมาณดาเนินการตามแผนและเม่ือ
ได้รับอนุมัติแล้วก็จะนาไปปฏิบัติ การปฏบิ ัตติ ามแผนนี้จัดเป็นขั้นสาคัญท่ีสุดของการวางแผนเพราะว่า
แผนเป็นเพียงข้อมูลที่มีอยู่ในเอกสาร ถ้าไม่มีการปฏิบัติก็จะไม่เกิดประโยชน์อะไร ในการปฏิบัติตาม
แผนจะเร่ิมตั้งแต่การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีการดาเนินการตามโครงการที่มีในแผนปฏิบัติการ
ประจาปตี ามลาดับของโครงการกอ่ นหลงั
กาหนดระยะเวลาของการปฏิบัติงานตามแผน เมื่อได้ศึกษางานและ
คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานแล้วผู้วางแผนงานจะสามารถคาดคะเนได้ว่างานชิ้นหน่ึง ๆ ควรใช้กาลังคน
ปฏิบัติงานก่ีคนและแผนงานดังกล่าวจะใช้เวลาเท่าใดในแต่ละแผนและควรใช้เวลาเท่าใดตล อด
แผนงาน เพื่อให้การอ่านแผนงานง่ายย่ิงขึ้นควรจัดทาเป็นตารางแสดงเวลาที่ใช้ปฏิบัติงานแต่ละอย่าง
ตลอดเวลา
การนาแผนไปปฏบิ ตั ิเปน็ การบ่งบอกถงึ การตัดสนิ ใจเลือกทางเลือกท่ีดีทสี่ ุด
ฉะนั้นเพื่อให้การปฏิบัติตามแผนและวัตถุประสงค์การดาเนินงานจะต้องคานึงถึงการประหยัดและ
ให้ผลประโยชน์ที่เหมาะสมโดยใช้ทรัพยากร คน เงิน และวัสดุอุปกรณ์ท่ีได้รับจัดสรรเพ่ือการ
ดาเนินงานอย่างแท้จรงิ การปฏิบัติตามแผนจะเป็นการลงมือปฏิบัติตามโครงการมกี ารมอบหมายงาน การ
จัดสรรทรัพยากร การประสานงาน การควบคุม การปฏิบัติงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตาม
เปา้ หมาย
2. การลงมือปฏบิ ัตติ ามแผนมีข้นั ตอนการปฏบิ ัตทิ สี่ าคัญ มีดังนี้
2.1 ผู้ปฏิบัติตามแผนรับแผนที่ได้อนุมัติแล้วเพ่ือการดาเนินการปฏิบัติตาม
แผนจะตอ้ งทาความเข้าใจส่วนประกอบตา่ ง ๆ ทางเทคนิคของแผน
การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2
52
2.2 การทาความเข้าใจส่วนต่าง ๆ ของแผนโดยเน้นถึงปัจจัยท่ีไม่เก่ียวกับ
วิชาการเฉพาะด้านหรือเทคนิคแต่มุ่งเน้นไปทางด้านมนุษยสัมพันธ์และปฏิกิริยาของผู้ปฏิบัติท่ีมีต่อ
แผน
2.3 การกาหนดบทบาทของผดู้ าเนนิ การตามแผน
2.4 การจัดเตรียมบุคคลผู้ปฏิบัติตามแผนและการกาหนดมอบหมาย
ความรับผิดชอบ
2.5 การเตรยี มแผนดาเนินการหรอื แผนปฏิบตั งิ าน
2.6 การดาเนินการตามแผน ตามกระบวนการทุกขั้นตอนที่กลา่ วมาจะเป็น
การเตรียมงานลว่ งหนา้ เพ่ือดาเนนิ การตามแผนจงึ มลี กั ษณะงานของการวางแผนปะปนอยู่ดว้ ย
2.7 การแจง้ ใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งในหน่วยงานทราบถึงโครงการ
2.8 การแปลความหมายของแผนให้ผูใ้ ต้บังคบั บญั ชาทราบ
2.9 การชี้แจงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบถึงความรับผิดชอบเก่ียวกับการ
ควบคมุ งาน
2.10 การรวบรวมข้อมลู และตัวเลขทเี่ กีย่ วข้องกับความก้าวหน้าของแผน
2.11 การตรวจสอบและประเมินข้อมลู และตวั เลข
2.12 การปรับปรุงแผนให้เหมาะสม
2.13 การรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนตั้งแต่ต้นจนถึงการส้ินสุดของ
แผน
3. ความสาเร็จของการนาแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ มปี ัจจัยท่เี ก่ยี วขอ้ งดังตอ่ ไปน้ี
3.1 ความชดั เจนในวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของแผน
3.2 การกาหนดและมอบหมายภารกิจความรับผิดชอบในโครงสรา้ งบริหาร
แผนมคี วามชัดเจน
3.3 มีระบบการกากับตรวจสอบและประเมินผลภายในองค์กร และมีการ
เสริมแรงผูป้ ฏิบตั ิในเชิงสรา้ งสรรค์
3.4 สมรรถนะองค์กรที่นาแผนสู่การปฏิบัติ มีความเข้มแข็งทั้งศักยภาพ
ความสามารถและความพรอ้ ม
3.5 มีการสนับสนุนและมีความผูกพันของฝ่ายต่าง ๆ ทั้งระดับนโยบาย
และระดับปฏบิ ัติทางดา้ นการเมอื ง งบประมาณ และวิชาการ
จากทกี่ ล่าวมาได้วา่ การมีส่วนรว่ มในการปฏิบตั ิน้นั จะเป็นการนาแผนงานโครงการที่
ทกุ คนไดม้ ีสว่ นร่วมในการจัดทาแผนนั้นไปปฏิบัตริ ่วมกนั ข้ันนาแผนไปปฏิบัติเป็นการปฏบิ ัตงิ านตามที่
ได้กาหนดไว้ในแผนงานหรือโครงการเพ่ือให้งานทก่ี าหนดไว้ในแผนบรรลุเปา้ หมายผู้บริหารควรมกี ลวิธี
ในข้ันการนาแผนไปปฏิบัติ การดาเนินการในด้านการเตรียมบุคคล งบประมาณ วิธีการ วัสดุอุปกรณ์
ก่อนดาเนินการมีการชี้แจงให้ผู้รับผิดชอบและผู้ปฏิบัติงานดาเนินการมีการให้คาแนะนาปรกึ ษาหารือ
มกี ารควบคุมการปฏิบัติงานและการรายงานตลอดจนการปรับปรุงแก้ไขทุกระยะของการปฏิบัติงานมี
ความสาคัญยิ่ง ซึง่ การมสี ่วนรว่ มในการปฏิบัตงิ านนั้น ๆ ได้ เพราะจากประสบการณ์การทางานในสว่ น
ที่ตนเองมีความรู้ความสามารถ อย่างน้อยก็มีส่วนช่วยให้กิจกรรมหลาย ๆ ประเภทสาเร็จลงได้ การมี
การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
53
ส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน อาจอยู่ในรูปของการลงทุนร่วมกัน ซ่ึงจะทาให้ชุมชนรู้จักคิดต้นทุนให้กับ
ตนเองในการดาเนินงานและจะระมัดระวังรักษากิจกรรมท่ีทาขึ้นเพราะจะมีความร้สู ึกร่วมเป็นเจ้าของ
ซึ่งต่างไปจาก สภาพที่การลงทุนและการปฏิบัติงานทั้งหมดมาจากปัจจัยภายนอกจะมีอะไรเสียหายก็
ไม่เดือดรอ้ นมากนัก และการบารุงรักษาก็จะไม่เกิดขึ้นเพราะรู้สึกว่าไม่ใช่องค์กร นอกจากน้ันการร่วม
ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยตนเอง ทาให้ไดเ้ รียนรกู้ ารดาเนินกิจกรรมอยา่ งใกล้ชิด และเมอ่ื เห็นประโยชนก์ ็สามารถ
จะดาเนินกจิ กรรมชนิดน้ันด้วยตนเองตอ่ ไปไดท้ ้ังนีก้ ็เพื่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อองค์กรมากท่ีสุด
สรปุ ไดว้ ่า การมีส่วนร่วมในการปฏิบตั ิ หมายถึง การเปดิ โอกาสให้ประชาชนชุมชนบ้านเกาะ
ทองสมเข้ามามีส่วนร่วมในการรับผิ ดชอบในการปฏิบัติงาน การจัดการขยะมูลฝอย ใน ชุมชน ตาม
นโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย เป้าประสงค์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ ให้บรรลุเป้าหมายท่ี
วางไว้ และกาหนดกิจกรรมท่ีต้องการปฏิบัติในระดับท่ีเหมาะสม สามารถสร้างโอกาสและมีความ
เปน็ ไปได้ทีจ่ ะจดั การปฏบิ ัติด้วยตนเอง
4. การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล หมายถึง การมีส่วนร่วมในการ
ตดิ ตามประเมินผลโครงการและกิจกรรมทไ่ี ด้ทาไปแล้วว่าประสบผลสาเรจ็ มากน้อยเพยี งใด (เฝาซี บิล
โอ. 2554 : 10 - 11) โดยการท่ีคนในองค์การหรือชุมชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการดาเนินงานหรือ
กิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มคนนั้น ๆ แล้วได้มีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน
เพ่ือที่จะสามารถบอกได้ว่างานที่ทาไปนั้นได้รับผลดีหรือได้รับประโยชน์หรือไม่อย่างไร ดังนั้นในการ
ประเมินผลอาจจะมีท้ังคนในชุมชนน้ันเอง และคนนอกชุมชนช่วยกันพิจารณาว่ากิจกรรมท่ีกระทาลง
ไปนั้นเกิดผลดีหรือไม่ดีอย่างไร ซึ่งจะทาให้เห็นคุณค่าของกิจกรรมนั้น ๆ ร่วมกัน (ศิริชัย กาญจวาสี.
2547)
วรารัตน์ เขียวไพรี (2553 : 124 - 125) กล่าวว่า การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หมายถึง การประเมินคา่ งานของผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกบั ผลการปฏิบัติงานและคณุ ลักษณะด้านอนื่ ๆ ที่มี
ความจาเป็นในการปฏิบัติงาน ภายในช่วงระยะเวลาและมาตรฐานท่ีกาหนด โดยการใช้วิธีการสังเกต
จดบันทึก การให้ค่าระดับคะแนนและการเปรียบเทียบวัดค่าตามระบบมาตรฐานแบบเดียวกัน
ใหค้ วามเป็นธรรมท่วั ท้ังองค์การสามารถใช้ค่าประเมนิ นเ้ี ป็นประโยชน์ในการพัฒนาการปฏิบตั ิงานของ
ผ้ปู ฏิบัตงิ านและการพัฒนาองคก์ ารในอนาคต
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏบิ ัติงาน มีดงั นี้
1. เปน็ เคร่ืองมอื ในการพจิ ารณาความดคี วามชอบสาหรบั การข้นึ เงินเดือน
2. เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงทักษะ ความรู้และคุณลักษณะที่จาเป็นต่อ
การปฏบิ ัตงิ าน
3. เป็นเครื่องมือในการเล่ือนขั้น เลื่อนตาแหน่ง ลดขั้นตาแหน่ง โยกย้าย
และปลดออก
4. เพือ่ เสริมสร้างความสัมพันธร์ ะหวา่ งผู้บังคบั บญั ชาและพนักงาน
กระบวนการในการประเมินผลมี ดังน้ี
1. การกาหนดเกณฑ์ การวัดผลการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่และความรบั ผดิ ชอบ
ของตาแหนง่ งาน
การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2
54
2. การกาหนดวิธีการประเมินที่เหมาะสมสอดคล้องกับลักษณะงานและ
จุดมงุ่ หมายที่ต้งั ใจไว้
3. กาหนดคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับผล
การปฏบิ ตั งิ านทุกฝ่าย
4. กาหนดช่วงเวลาการประเมินให้เหมาะสมกับลักษณะงานและผู้รับผิดชอบ
ในการดาเนนิ การและประสานงาน
5. ดาเนินการรวบรวมข้อมูลผลการปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับเกณฑ์และตัว
ดชั นชี ี้วดั
6. ผบู้ งั คับบญั ชาแจ้งและหารือผลการปฏิบัตงิ านกบั ผู้ใต้บงั คบั บญั ชา
7. ตัดสนิ ใจดาเนนิ การตามผลทีไ่ ด้รับจากการประเมินตามจดุ มุง่ หมายนัน้ ๆ
การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ประกอบด้วยความสัมพันธ์ของ
กระบวนการทางานพัฒนาแบบมีส่วนร่วมกับการติดตามและประเมินผล หลักการติดตามและ
ประเมินผลแบบมีส่วนรว่ ม และรูปแบบการติดตามประเมินผล (คณะทางานการจัดการความรู้. 2553
: 4 - 9) ดังน้ี
ความสัมพันธ์ของกระบวนการทางานพัฒนาแบบมีส่วนร่วมกับการติดตาม
และประเมนิ ผลกระบวนการพฒั นาแบบมีส่วนร่วม
มุ่งให้ความสาคัญกับการพัฒนาท่ีเน้นคนเป็นสาคัญ เป็นการเปิดหรือสร้าง
โอกาสอย่างเต็มท่ีกับการเข้ามามีส่วนร่วมของประธาน กรรมการหรือสมาชิก (แยกย่อยจากตัวแทนที่
เป็นกรรมการ) ในการคิดวิเคราะห์ว่าอะไรคือปัญหา และสาเหตุท่ีสาคัญในการดาเนินงานให้มี
ประสิทธิภาพ เพื่อร่วมการสังเคราะห์ว่าจะกาหนดแนวทางในการแก้ไขหรือพัฒนาด้านการติดตาม
ประเมินผลสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ รวมไปถึงกาหนดเป้าหมายท่ีต้องการบรรลุผลสาเร็จ / รวมท้ัง
ติดตามและตรวจสอบผลสาเร็จที่เกิดจากการดาเนินงานของกิจกรรม / โครงการติดตามประเมินผล
เพื่อนาไปใช้ในการแก้ไขหรือพัฒนาต่อไป การจัดวางระบบการติดตามและประเมินผลภายในแบบมี
ส่วนร่วม จะเสริมสร้างโอกาสให้ทุกส่วนที่เกี่ยวข้องกับองค์กรหรือหน่วยงานสนับสนุน หรือผู้ที่มีส่วน
เก่ียวข้องกับการดาเนินโครงการ ได้เข้ามาร่วมเรียนรู้อย่างเป็นขบวนเดียวกันตั้งแต่การเก็บรวบรวม
ข้อมูล การนามาวิเคราะห์แลกเปล่ียน เพ่ือการตรวจสอบหรือสะท้อนความคิดเห็นในกิจกรรมแต่ละ
ข้ันตอน และหาแนวทางแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นระหว่างการดาเนินกิจกรรมร่วมกันดังน้ัน การติดตาม
และประเมินผลอย่างมีส่วนร่วมภายในองค์กรจึงเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของบุคลากรที่
เกย่ี วขอ้ ง เพ่อื ประโยชนใ์ นการพัฒนาหรือปรับปรงุ กิจกรรมในขั้นตอนตา่ ง ๆ ให้ดแี ละเหมาะสมย่งิ ข้ึน
หลกั การติดตามและประเมนิ ผลแบบมีส่วนร่วม
จุดมุ่งหมายสาคัญของการดาเนินการในการพัฒนา คือ การเรียนรู้ของ
ผู้เกี่ยวข้องสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม วิธีคิด และระบบคุณค่า ที่จะนาไปสู่กระบวนการแก้ไข
ปัญหาและพัฒนาอย่างยั่งยืนการติดตามงาน (Monitoring) คือ ระบบการติดตามความก้าวหน้าของ
การดาเนินกิจกรรม / โครงการเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามแผนมากท่ีสุด ใช้ทรัพยากรอย่าง
คุม้ ค่าทสี่ ุด ซ่ึงจะมีการติดตามเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง ตงั้ แต่เร่ิมดาเนินการ จนสิ้นสุดกิจกรรมหรือ
โครงการน้ี เพ่ือการทบทวนการดาเนนิ งานในแตล่ ะกิจกรรมในประเดน็ สาคัญ 2 ประการ คือ
การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2
55
ประการแรก การใช้ทรัพยากรขององค์กร เช่น บุคลากร งบประมาณ วัสดุ
อุปกรณ์ วา่ เป็นไปตามแผนทีว่ างไวห้ รอื ไม่ เป็นไปตามเวลาท่กี าหนดหรือไมม่ คี ุณภาพเปน็ อยา่ งไร
ประการที่ 2 การพิจารณากระบวนการ วิธีการทางานว่ามีความ
เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่เพียงใด มีปัญหา-อุปสรรคใด ที่จาเป็นต้องได้รับการแก้ไขปรับปรุง
(ผลการดาเนินงานขององค์กร)
รปู แบบการติดตามประเมินผล
1. มีการประสานแผนงานในระดับส่วนกลางเพื่อให้แผนงานต่าง ๆ มี
การบูรณาการซ่ึงกันและกัน ทั้งนี้หากแผนงานมีการบูรณาการซึ่งกันและกันจะทาให้เกิด
ความสัมฤทธ์ิผลในการนาแผนไปปฏิบัติและทาให้การติดตามประเมินผลสามารถดาเนินไปได้อย่าง มี
ประสทิ ธิภาพ
2. มีกระบวนการในการให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการสะท้อนปัญหาและ
นาไปสู่การรวบรวมปัญหาจากระดับต้นมาสู่ระดับองค์กร (สหกรณ์) เพ่ือให้แผนการปฏิบัติงานของ
องค์กรสนองตอ่ ปัญหาหรอื พฒั นาให้มีทิศทางทด่ี ขี น้ึ
3. จัดทาแผนปฏิบัติการติดตามประเมินผล โดยมีการกาหนดระบบการ
ติดตามรว่ มกนั และมกี ารกาหนดตวั ชวี้ ัด
4. มีกลไกในการเปล่ียนแปลงไปสู่แผนกลยุทธ์ / แผนปฏิบัติงาน
ขององคก์ ร
5. มีกลุ่มงานภายในองค์กรที่รับผิดชอบในการติดตามประเมินผลของ
องคก์ ร สหกรณ์
6. มีระบบฐานขอ้ มูลแผนกลยทุ ธ์ / แผนปฏบิ ัตงิ าน และระบบการติดตาม
แผน
7. สมาชิกมีส่วนร่วมในการทราบทิศทางการพัฒนาขององค์กรและ
รบั ทราบความคืบหน้าของการดาเนินงานตามตัวชี้วัดต่าง ๆ พรอ้ มท้ังมีส่วนร่วมในการนาเสนอข้อมูล
ต่อองค์กร
การประเมินผล (Evaluation) จึงถือได้ว่าเป็นการดาเนินกิจกรรมหรือ
โครงการให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของกิจกรรมหรือโครงการหรือไม่ภายใต้เง่ือนไข ปัจจัยใด หาก
จะดาเนินการตอ่ ไปนา่ จะทาอยา่ งไรบ้าง การประเมินผล จงึ ม่งุ เน้นเพ่ือให้เหน็ ว่ากิจกรรมหรือโครงการ
พัฒนาได้ดาเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้หรือไม่ และการแสดงให้เป็นคุณภาพของโครงการ
เช่น โครงการมีวัตถุประสงค์เพ่ือการพัฒนาองค์กรให้ดีมีประสิทธิภาพ ในการดาเนินงานโครงการได้
เกิดกลุ่ม องค์กรที่มีโครงสร้าง บทบาทหน้าท่ีองค์กร รวมท้ังมีกฎระเบียบและแผนงานที่ชัดเจน มีการ
บริหารจัดการองค์กรท่ีโปร่งใส และได้รับการยอมรับจากฝ่ายบริหาร / ฝ่ายจัดการขององค์กรและ
เจ้าของสหกรณ์ (สมาชิก) มีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรมขององค์กร เป็นต้น
การประเมนิ ผล สามารถทาได้ในหลายช่วงเวลา ขนึ้ อย่กู ับวัตถุประสงค์ของการประเมนิ โดยทั่วไปมี 4
ระยะ ได้แก่
1. สรุปผล เปน็ ระยะ ๆ ของการดาเนนิ งาน
2. การทบทวน ตรวจสอบผลสาเรจ็ และความล้มเหลว
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
56
3. พิจารณาศักยภาพและข้อจากัด เง่ือนไขท่ีสนับสนุนให้เกิดผลสาคัญหรือ
ปัจจัยเงื่อนไขท่ีขัดขวางความสาเรจ็
4. การจะพัฒนางานในอนาคต เพื่อให้เกิดผลสาเร็จมากที่สุด ซึ่งหมายถึง
การเสริมศักยภาพ การแกไ้ ขขอ้ จากัด ท้ังนี้การสรุปผลม่งุ เน้นที่จะสรปุ กระบวนการ วิธกี ารทางานเป็น
สาคัญ ว่าถูกออกแบบอย่างไร เอื้อให้เกิด “การเรียนรู้”หรือไม่ เช่น การบริหารแบบมีส่วนร่วม การ
ดาเนินโครงการใน เชิงความสัมพันธ์แนวราบ การมีปฏิสัมพันธ์ การส่ือสาร จนเกิดความไว้วางใจกัน
การมองสิ่งต่าง ๆ อย่างองค์รวมและบูรณาการ เป็นต้น การสรุปผลมักทาเป็นระยะ ๆ 3 เดือน 6
เดือน ขน้ึ อยู่กบั ความตอ้ งการของโครงการ ดงั ภาพท่ี 3
การวางแผน
กระบวนการบรหิ ารแบบมสี ่วน
ร่วม
การประเมนิ ผล การดาเนนิ การ
ภาพท่ี 3 กระบวนการประเมินผลแบบมสี ่วนรว่ ม
ท่มี า : สานักงานสหกรณจ์ งั หวดั นราธิวาส. คณะทางานการจดั การความร้.ู (2553 : 3)
การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2
57
ความสมั พันธ์ ของการตดิ ตามงาน การสรุปบทเรยี น และการประเมินผลแบบมสี ว่ นรว่ ม
ประเมนิ ผลกระทบ
สิ้นสุด (ไตรมาสหรอื รอบปบี /ช)
ประเมินผลเมื่อสน้ิ สุดไตรมาส
หรือรอบปี บ/ช
ตดิ ตามงาน สรุปผลการดาเนินงาน
ประเมินผลระหว่างดาเนินการ
สรปุ ผลการดาเนินงาน
ประเมนิ ผลระหวา่ งดาเนนิ การ
สรุปผลการดาเนนิ งาน
เรม่ิ ดาเนินการ
ภาพที่ 4 ความสัมพันธ์ ของการตดิ ตามงาน การสรปุ บทเรยี น และการประเมนิ ผลแบบมสี ว่ นรว่ ม
ท่ีมา : สานักงานสหกรณ์จังหวัดนราธิวาส. คณะทางานการจัดการความร้.ู (2553 : 6)
การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
58
ประเมินผลก่อนดาเนนิ การ เรยี นรู้ - มีกจิ กรรมทีย่ งั ไม่ไดท้ าตามแผน?
กระตุ้นเตอื น - กาลังทากิจกรรมนอกแผน?
การติดตามงาน - งานทที่ ามีคุณภาพ-บรรลตุ ามท่ีวางไว?้
- ทาระหว่างดาเนนิ โครงการ
เปน็ ระยะๆ และตอ่ เนือ่ ง - การเปลี่ยนแปลง/ความกา้ วหนา้ ที่
สรุปบทเรียน เกิดขึน้ จากการทากิจกรรม
- สรปุ ผลระหวา่ งการ - อปุ สรรค ขอ้ จากัดตา่ งๆ ในการดาเนิน กิจกรรม
ดาเนินงานเปน็ ระยะ ๆ - การใชท้ รัพยากรของโครงการเป็นไป ตามแผน
- ความเหมาะสมของกระบวนการ/ วธิ กี าร
การประเมินผล
- ทาหลังจากเสรจ็ สนิ้ ปรบั ปรุง - ปรับแผนใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ และปัญหา-
ทบทวน อุปสรรค
แผนงาน/กิจกรรม/โครงการ เรยี นรู้ - ปรับปรุงการดาเนินงานให้เปน็ ไปตามสงิ่ ทวี่ างแผนไว้
ตามชว่ งระยะเวลาและ ปรบั ปรงุ
สิ้นสุดแผนงาน/กจิ กรรม/ ความสาเรจ็ และความลม้ เหลวขององคก์ รว่ากระบวนการ/
โครงการ วิเคราะห์ผล วิธีการ ทอี่ อกแบบไวเ้ ออ้ื ตอ่ การดาเนนิ งานและการเรียนรู้
หรอื ไม่
ศกั ยภาพ ขอ้ จากัด เงื่อนไข ปจั จัย ที่ทาให้สาเร็จหรอื
ลม้ เหลว
เสริมศักยภาพและแกไ้ ขขอ้ จากัดเพ่อื ใหน้ าไปสูค่ วามสาเร็จ
ขององคก์ รใหม้ ากทสี่ ุด
ผลที่เกดิ ขนึ้ จากการดาเนนิ กิจกรรม/โครงการเป็นไปตามท่ี
วางไวห้ รือไม่ อยา่ งไร เพราะอะไร?
เรียนรู้ สง่ิ ท่ที าใหเ้ กิดผลสาเร็จและสิ่งท่ีมีผลต่อการไมบ่ รรลตุ าม
เปา้ หมายคืออะไร?
เปล่ียนแปลง ถ้าจะทากิจกรรม/โครงการใหมจ่ ะต้องทาอยา่ งไร?
ภาพท่ี 5 การประเมินผลกอ่ นดาเนินการ
ท่ีมา : สานักงานสหกรณ์จงั หวดั นราธวิ าส. คณะทางานการจัดการความรู้ (2553 : 7)
การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2
59
กระบวนการตดิ ตามประเมนิ ผลแบบมสี ่วนรว่ ม
ก. ขั้นการออกแบบการติดตามและประเมินผล
1. การวางแผนการตดิ ตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม
2. การทบทวนโครงการ
3. กาหนดตวั ชวี้ ดั
4. กาหนดกรอบการประเมินผล
5. กาหนดวิธกี าร แหล่งข้อมูล และสร้างเครอ่ื งมือรวบรวมข้อมูลเพ่อื การประเมินผล
6. จดั ทาแผนการติดตามประเมินผล
ข. ขน้ั การดาเนินการตดิ ตามและประเมนิ ผล
1. การรวบรวมขอ้ มูล
2. การวเิ คราะห์ข้อมูลผลการดาเนนิ การ
3. การวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลเม่อื สิน้ สุดโครงการ
ค. ขนั้ การรายงานและการนาเสนอผลการประเมนิ ผล
1. การเขียนรายงานผลการประเมนิ
2. นาเสนอผลการประเมนิ ผล
ผลติ สือ่ เผยแพรต่ า่ ง ๆ วางแผนกิจกรรม/โครงการในระยะตอ่ ไป
(ปดิ ประกาศบอรด์ องค์กร)
ภาพท่ี 6 กระบวนการติดตามประเมนิ ผลแบบมสี ่วนรว่ ม
ท่มี า : สานักงานสหกรณ์จงั หวดั นราธวิ าส. คณะทางานการจดั การความรู้ (2553 : 8)
การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2
60
จากท่ีกล่าวมาพอสรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลงานขั้นตอนนี้เป็น
ขั้นตอนสุดท้ายที่สาคัญเป็นอย่างยิ่งอีก เพราะถ้าหากการติดตามและการประเมินผลงานขาดการมี
ส่วนร่วมของบุคคลแต่เป็นการดาเนินการโดยบุคคลภายนอก บุคคลนั้นก็ไม่สามารถทราบว่างานท่ีทา
ไปน้นั ได้รบั ผลดี ไดร้ บั ประโยชน์อย่างไรหรอื ไม่ ถึงแมอ้ าจจะมผี ูโ้ ต้แยง้ วา่ การประเมนิ ที่เที่ยงธรรมทส่ี ุด
น่าจะมาจากบุคคลภายนอกที่ไม่ได้ยุ่งเก่ียวกับกิจกรรมนั้นๆ แต่ถ้าคิดถึงจุดมุ่งหมายของการพัฒนาท่ี
มุ่งจะพัฒนาการทางานแล้ว การคานึงถึงแต่ความเที่ยงธรรมอาจจะไร้ประโยชน์การผสมผสาน
ระหว่างคนภายนอกกับบุคคลท่ีปฏิบัติงานน่าจะเกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์มากกว่า เพราะ
นอกจากจะเป็นการประเมินแล้ว ยังแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจในกระบวนการประเมินและเป็น
การเผยแพร่กิจกรรมออกไปสู่บุคคลที่ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ได้ด้วย โดยต้องมีการเร่ิมต้นต้ังแต่การวาง
จุดมุ่งหมายของการประเมินผล การกาหนดเกณฑ์การประเมินผลของโครงการหรือการทางานตาม
แผนที่วางไว้วา่ ประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด เพ่ือท่ีจะได้นาผลการการติดตามและประเมินผลมา
หาจุดบกพร่องในการปฏิบตั ิงาน เพ่อื ทจี่ ะให้การปฏิบตั งิ านนน้ั เป็นไปตามแผนและจดุ ม่งุ หมายที่ได้วาง
ไว้ ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า การมีสว่ นร่วมในการติดตามและประเมินผลนนั้ เร่ิมตั้งแต่การวางแผนการ
บริหารแบบมีส่วนร่วมการดาเนินการและต่อด้วยการประเมินผลโดยเร่ิมดาเนินการติดตามและ
ประเมินผลกระทบท่ีเกิดขึ้นระหว่างดาเนินการและส้ินสุดโครงการนั้น ๆ โดยกระบวนการติดตาม
ประเมินผลแบบมีส่วนร่วมมีขัน้ ตอนตั้งแต่ 1) ข้ันการออกแบบการติดตามและประเมินผล 2) ขั้นการ
ดาเนินการติดตามและประเมินผล 3) ข้ันการรายงานและการนาเสนอผลการประเมินเพ่ือนาผลการ
ประเมินมาจดั ทาสอ่ื ประชาสัมพนั ธภ์ ายในองคก์ รและวางแผนกจิ กรรม / โครงการในระยะตอ่ ไป
สรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมในการติดตามผลงานการประเมินผลงาน หมายถึง การเปิดโอกาส
ให้ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยการสรุป
ผลงาน การรายงานผลงาน การหาแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ขข้อผิดพลาด การนาผลงาน แนวทางใน
การปรับปรุงเปล่ียนแปลงไปเป็นแนวทางในการวางแผนดาเนินงานของสถานศึกษา เพื่อให้เกิด
ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลสูงสุด
3.7 องค์ประกอบของการบริหารแบบมีสว่ นรว่ ม
Swansburg (1996 : 391 - 394 อ้างถึงใน ชาฤนี เหมือนโพธ์ิทอง. 2554 : 21 - 22 ) ได้
แบ่งองคป์ ระกอบของการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมไว้ ดังนี้
1. การไวใ้ จกัน (Trust) การไว้ใจกันเป็นปรชั ญาพ้ืนฐานของการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม
ผู้ร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาจะสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างสมบูรณ์ เรยี บร้อย หากไดร้ ับการยอมรับ
ไว้วางใจจากผู้บริหาร ช่วงเวลาในการให้ผู้ร่วมงานมีส่วนร่วมในการบริหารควรได้รับการควบคุม จาก
ผู้บริหาร ภาระงานท้ังหมดหรือการตัดสินใจ ผู้บริหารจะให้โอกาสเท่าท่ีจะเป็นไปได้ ผู้บริหารที่ให้
อานาจและให้ความไว้วางใจแก่เพ่ือนร่วมงาน จะแสดงให้เห็นถึงความสามารถและข้อบกพร่องของ
ผูป้ ฏิบัติงาน แนวคิดพ้ืนฐานที่ทุกคนมีความไวว้ างใจ คือ ผู้ปฏิบัติงานทุกคนย่อมรู้จักงานของตนดกี ว่า
ใครๆ ทุกคนสามารถที่จะยอมรับความรับผิดชอบในการบริหารงาน ถ้าความรับผิดชอบจะทาให้
ผู้ปฏิบัติงานอยู่ในแนวทางท่ีถูกต้องเหมาะสม และสติปัญญา ความเฉลียวฉลาด และความคิด
สร้างสรรค์จะมอี ยู่ในบุคคลทุกระดบั ในองค์การ
การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
61
2. ความยึดมัน่ ผกู พัน (Commitment ) ผู้บรหิ ารหรือผ้ปู ฏิบัติงานต้องการความยึดมั่น
ผูกพันดังน้ันผู้บริหารควรท่ีจะให้การสนับสนุนช่วยเหลือและฝึกอบรมแก่ผู้ปฏิบัติงาน ความยึดม่ัน
ผูกพัน เป็นลกั ษณะท่ีได้จากการพฒั นาการให้โอกาสเขา้ มามีส่วนร่วมในการตัดสินใจกบั ผ้บู รหิ ารและรู้
ถึงเป้าหมายขององค์การ ประสบการณ์ในการเข้าร่วมของผู้ปฏิบัติงานจะทาให้ผู้ปฏิบัติงานมีความ
ขยนั หมน่ั เพยี ร อตุ สาหะ ผลผลิตในการทางานมมี ากขึน้ จะเห็นได้วา่ ภายในการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม
จะทาให้เกิดความยดึ ม่นั ผูกพันโดยไม่ทาให้เกิดโทษ
3. การต้ังเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน (Goals and Objectives ) ความขัดแย้ง
เป็นความต้องการหลัก หรือเป้าหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม ความขัดแย้งเป็นส่ิงที่หลีกเลี่ยง
ไม่ได้เมื่อมนุษย์ทางานร่วมกัน ดังนั้นการตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกันระหว่างผู้บริหารและ
ผู้ปฏิบัติงาน รวมถึงการร่วมกันปรับปรุงพัฒนาเป้าหมายขององค์การ ย่อมจะขจัดความขัดแย้ง
ท่ีเกิดข้ึน เพราะทุกคนมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์เดียวกัน มีการทางานท่ีมีทิศทางเดียวกัน มี
ความรับผิดชอบร่วมกัน ผลผลิตหรือผลงานก็จะออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ การต้ังเป้าหมายและ
วตั ถปุ ระสงค์ร่วมกัน สามารถเกดิ ข้ึนได้บ่อยและอยา่ งมีเหตมุ ีผล สามารถที่จะร่วมกนั ตงั้ เป้าหมายและ
วัตถุประสงค์โดยการร่วมกันประชุมปรึกษา (Conference) การประชุมปรึกษาหารือจะเป็น
การท้าทายความสามารถของผู้บรหิ ารและผู้ปฏิบัติงาน สรา้ งความชัดเจนทาให้มีความเห็นสอดคล้อง
กนั สร้างแรงจูงใจในการปฏิบตั งิ านของผู้บริหารและผปู้ ฏบิ ัตงิ าน
4. ความเป็นอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน (Autonomy) เป็นภาวะท่ีมีความเป็น
อิสระต่อความรับผิดชอบในการทางาน ความมีอานาจหน้าที่และความสามารถในการทางานแต่ละ
อย่างของแต่ละบุคคล ผู้ปฏิบัติงานต้องการความเป็นอิสระต่อความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
ในการตดั สินใจในงานของตนเอง ซึง่ จะทาให้มีความทุ่มเทและเต็มใจในการปฏิบัติงานอย่างเต็มท่ี เต็ม
ความรบั ผิดชอบท่ีตนไดร้ ับ
สาหรับลักษณะด้านอ่ืนๆ การบริหารแบบมสี ่วนรว่ มต้องมีปัจจัยท่ีครอบคลุมหลายๆ ด้าน แต่
ควรจะต้องเปน็ ไปด้วยความสมัครใจมิใช่การบงั คบั บรรยากาศองคก์ ารกถ็ ือว่าเปน็ ปัจจัยหนง่ึ ท่ีจะจงู ใจ
ให้เกดิ การบริหารแบบมีส่วนรว่ มหรือเป้าหมายและความสาเร็จขององค์การ ซึ่งการบริหารแบบมีส่วน
ร่วมจะเพิ่มขึ้นโดยมีผู้ท่ีให้การสนับสนุน โดยจะต้องเป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์และเป็นผู้ท่ีมีความ
กระตอื รอื ร้นและสภาพแวดล้อมในองค์การถือไดว้ า่ มสี ว่ นสนบั สนุน ส่งเสรมิ การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ ม
ซ่งึ ผ้ปู ฏิบตั ิงานในองค์การพึงระลกึ ไวว้ ่าเง่ือนไขต่างๆ สามารถเปลย่ี นแปลงไดซ้ งึ่ การเปลี่ยนแปลงถอื ว่า
เป็นส่ิงท่ีเป็นจริง ผู้บรหิ ารจะต้องรับฟังข้อเสนอแนะต่างๆ และให้การสนับสนุนเสริม ซ่ึงขอ้ เสนอแนะ
ต่างๆ ผบู้ รหิ ารจะต้องทาการประเมนิ ผลและใช้ข้อมูลเหล่านใ้ี ห้เกิดประโยชน์
จากแนวคิดดังกล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม เป็นลักษณะ
การบริหารงานที่ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีสิทธิในการเสนอความคิดเห็นเพ่ือร่วมแก้ไข
ปัญหาของการบริหารท่ีสาคัญ มีอิสระในการทางาน และเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ซ่ึงอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดของการแบ่งอานาจหน้าที่ท่ีถือว่าผู้บริหารแบ่งอานาจหน้าท่ีการบริหาร
ให้กับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของพวกเขา และต้องการให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมเก่ียวข้อง
อยา่ งแทจ้ ริงในกระบวนการตดั สินใจท่สี าคัญขององคก์ าร
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2
62
3.8 แนวคดิ การมีส่วนรว่ มของประชาชน
กระทรวงมหาดไทย (2550 : 43-45) การมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการทางสังคม ท่ีเปิดโอกาส
ให้ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง ในฐานะที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
การวิเคราะห์ปัญหา การแสดงความคิดเห็น การดาเนินการ การประสานความร่วมมือ การติดตาม
ตรวจสอบผลกระทบของการดาเนินการ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการดาเนินการในเร่ืองหนึ่งเรื่องใดอัน
เป็นการแก้ไขปัญหามลู ฝอย และส่ิงปฏิกูลของชุมชน หรือทอ้ งถิ่นของตน เพ่อื ให้บรรลคุ วามตอ้ งการท่ี
แท้จริงของประชาชน และสอดคล้องกับนโยบายของรัฐ เพ่ือให้เกิดการป้องกัน แก้ไข และจัดการให้
ถูกตอ้ ง และมีประสทิ ธภิ าพ อนั เปน็ การคมุ้ ครองคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม และคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน
การมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนต่าง ๆ ในชุมชน หรือสังคมที่
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องสนับสนุนใหเ้ กิดกระบวนการอย่างสร้างสรรค์ โดยมีองค์ประกอบของ
การดาเนินงานดงั นี้
1. การกาหนดวตั ถุประสงคข์ องการมีสว่ นรว่ มในเร่ืองน้ันท่ีชัดเจน
2. กาหนดเป้าหมายที่ต้องการ
3. การกาหนดกลุม่ เปา้ หมายทีจ่ ะเขา้ มีสว่ นร่วม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรหลักในระดับท้องถ่ินที่ต้องเข้ามามีบทบาทในการ
ดาเนินการ เพื่อการจัดการขยะมูลฝอย และส่ิงปฏิกูล ดังนั้น หลีกเล่ียงไม่ได้ที่ต้องเข้าใจมิติทางสังคม
และวัฒนธรรมของชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการต่าง ๆ ที่องค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ได้รเิ รม่ิ ร่วมกับชมุ ชนในการแก้ไขปัญหา
ปัจจุบันการดาเนินการเพื่อจัดหาสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่เกิดข้ึนในชุมชนมัก
ประสบปัญหาการคัดค้านจากประชาชนจากประชาชนในชุมชน ทั้งนี้เน่ืองจากการไม่สามารถส่ือสาร
ให้ทุกฝ่ายมีความเข้าใจกันและกันในการวางแผน และตัดสินใจในโครงการ ดังน้ัน หากองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิน่ ตระหนกั และเหน็ คณุ ค่าของการมีสว่ นร่วมจะช่วยลดข้อขดั แย้งในโครงการพัฒนา
ต่าง ๆ ได้เปน็ อย่างดี ซงึ่ ความสาคัญของการมสี ว่ นรว่ มในมติ ติ ่าง ๆ ดังน้ี
1. ช่วยเพ่ิมคุณค่าในการตัดสินใจเพอื่ แก้ไขปัญหาของชุมชน
การตัดสินใจเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน หากเป็นการตัดสินใจฝ่ายเดียวโดยเฉพาะการ
ตัดสินใจแก้ไขปัญหาของผู้นาชุมชน หรือหน่วยงานราชการที่เก่ียวข้อง อาจไม่เป็นที่ยอมรับของ
สมาชกิ ในชุมชน ดังน้ันการมีสว่ นรว่ มจึงช่วยในการเพม่ิ คณุ ค่าในการตัดสนิ ใจร่วมกนั
2. ช่วยลดคา่ ใชจ้ ่ายและเวลาของหนว่ ยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการแกไ้ ขปัญหา
โดยปกติการดาเนินการของกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาจะมีค่าใช้จ่ายและ
เสียเวลาในการดาเนินการ แต่ในทางปฏิบัติแล้วการมีส่วนร่วมของประชาชนสามารถช่วยลดความ
ลา่ ช้าท่ีเกดิ จากความขัดแย้งได้มากในกรณีที่ไม่มีการแก้ไขด้วยการมีส่วนรว่ ม ปัญหาอาจลกุ ลามขยาย
ความรนุ แรงเพม่ิ ขนึ้ ได้
3. ชว่ ยสรา้ งฉนั ทามติรว่ มกันของสมาชิกในชุมชนตอ่ การแกไ้ ขปัญหา
การมีส่วนรว่ มเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยความร่วมมือของทุกฝ่าย โดยเฉพาะสมาชิกใน
ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง การสร้างข้อตกลงด้วยกระบวนการ
การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2
63
การมีส่วนร่วมจึงเป็นการยอมรับของทุกฝ่ายโดยฉันทามติร่วม และเกิดความชอบธรรมในการแก้ไข
ปัญหามลพษิ ส่ิงแวดลอ้ ม
4. ชว่ ยเพิ่มความง่ายต่อการปฏิบัติตามแนวทางแกไ้ ขปัญหา
ช่วยแสวงหาทางออก ทางเลือกในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ด้วยกระบวนการร่วมเป็น
การเพิ่มความง่ายในการนาไปปฏิบัติ เพราะมีการระดมความคิดเห็นต่อแนวปฏิบัติ ขั้นตอน วิธีการ
หน่วยงานรับผิดชอบ การติดตามประเมินผล ดังน้ันจึงเป็นผลดีต่อการนาไปปฏิบัติตามแนวทางท่ี
ชัดเจน และเห็นพอ้ งตอ้ งกัน
5. หลีกเล่ียงการเผชิญหน้าระหวา่ งกนั ของค่กู รณพี ิพาท
หากมีความขดั แย้งของสมาชกิ ในชุมชนต่อปัญหามลพิษส่ิงแวดลอ้ มที่เกิดข้ึนในชุมชนย่อม
เป็นความเส่ียงต่อการเผชิญหน้าระหว่างคู่กรณีพิพาทระหว่างกันได้ ดังนั้นกระบวนการมีส่วนร่วมจึง
เป็นการให้ทั้งสองฝ่าย รวมทั้งฝ่ายท่ีได้รับผลกระทบจากปัญหามลพิษได้มีโอกาสและเปลี่ยนความ
คดิ เหน็ และหาขอ้ สรุปในการแกไ้ ขปัญหา ช่วยลดการเผชิญหนา้ ของคูก่ รณีไดเ้ ปน็ อย่างดี
6. ดารงไวซ้ ง่ึ ความนา่ เชื่อถือของผนู้ าชุมชน หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
การตัดสินใจของผู้นาชุมชนมักเป็นการประนีประนอมมากกว่าการใช้แนวทางแบบฝ่าย
หนึ่งชนะอีกฝ่ายหนึ่งแพ้ซึ่งทาให้ผู้นาชุมชนมีแรงกดดันจากสมาชิกในชุมชน อย่างไรก็ตามการ
ประนีประนอมกันไม่นามาซ่ึงการหาข้อตกลงร่วมกันได้ อันทาให้การแก้ไขปัญหาไม่เกิดเป็นรูปธรรม
การมสี ว่ นร่วมจึงเปน็ การแสวงหาขอ้ ตกลงรว่ มกันของผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย ไม่เฉพาะผู้นาชุมชนฝ่ายเดยี ว
เท่าน้ัน ด้วยเหตุนี้จึงมีข้อสรุปที่เกิดจากทุกฝ่าย ผู้นาชุมชนเพียงแต่อานวยความสะดวกในการ
เตรยี มการใหเ้ กิดการมสี ว่ นรว่ ม และนาผลขอ้ ตกลง นาข้อตกลงไปปฏบิ ตั ิ
7. พฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ของสมาชกิ ในชุมชนในการแกไ้ ขปญั หา
การมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยการระดมความคิดเห็นของสมาชิกในชุมชนและผู้
มีส่วนเกี่ยวข้องท้งั การวิเคราะหป์ ัญหา ผลกระทบ โอกาสในการแก้ไขปัญหา และความต้องการในการ
แก้ไขปัญหา ดังนั้นผู้เข้าร่วมกระบวนการด้วยความสมัครใจจะเกิดการพัฒนาความคิด และทักษะใน
กระบวนการให้ได้มาซึ่งทางออกของการแก้ไขปัญหา เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และ
ชว่ ยสรา้ งความสมานฉนั ทใ์ ห้เกิดขึน้ กับชุมชน
4. ข้อมูลทั่วไปชุมชนบา้ นเกาะทองสม
ชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ประกอบด้วย 3 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ท่ี 1 หมู่ท่ี 10 และ
หมูท่ ่ี 15
4.1 ประวัติความเปน็ มาของหมู่ที่ 1
บา้ นเกาะทองสม เป็นหมู่บา้ นท่ี 1 จัดตั้งหมู่บ้าน เมอื่ ปี พ.ศ.2522 โดยโอนจากหมู่ที่
1 ตาบลเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ผู้ใหญ่บ้านคนแรก นายเชือน ดาหนก ในปี พ.ศ.2525 หม่ทู ี่1 ได้
แยกพนื้ ท่กี ารปกครองออกเปน็ หมู่ท่ี 10 บา้ นโคกแมว ตอ่ มา ในปี พ.ศ.2549 ได้แยกหมู่บา้ นเป็นหมู่ท่ี
15 บา้ นเกาะทองสมใหม่ ตาบลโคกมว่ ง อาเภอเขาชยั สน จังหวัดพัทลุง
สาเหตุท่ีช่ือเกาะทองสม เพราะพื้นที่มีลักษณะเป็นเกาะเล็ก ๆ มีลาห้วยล้อมรอบ
เน้ือที่ประมาณ 2 ไร่ บริเวณใกล้บ้านโคกกรวด มีตายาย ต้ังบ้านเรือนอยู่ในยุคบุกเบิก ช่ือตาทอง
และยายสม ซง่ึ ไดใ้ ชช้ ่อื หมบู่ า้ นในเวลาต่อมาจนถึงปจั จุบัน
การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2
64
บ้านเกาะทองสมเป็นชุมชนท่ีมีขนาดใหญ่แบ่งออกเป็น 5 ชุมชน ได้แก่ บ้านโคก
กรวด บ้านปอเนาะ บ้านใหม่ บา้ นไรต่ ก บ้านเกาะทองสม มอี าณาเขตตดิ ต่อ
ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกบั หมทู่ ่ี 10 ตาบลโคกมว่ ง อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ หมูท่ ี่ 15 ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับ หม่ทู ่ี 2,8 ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ หมู่ที่ 10 ตาบลตะโหมด อาเภอตะโหมด จงั หวัดพทั ลงุ
หมู่ท่ี 9 ตาบลแมแ่ ขรี อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ภาพที่ 7 แผนทห่ี มู่ท่ี 1 ชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม
การศึกษา ประเพณีและวัฒนธรรม
การศึกษาประชาชนส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 37.72 รองลงมา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นร้อยละ 26.12 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 13.49 ระดับปริญญา
ตรี ร้อยละ 7.90 สูงกว่าปริญญาตรี 1.04 ระดับต่ากว่าประถมศึกษา 9.69 และไม่เคยศึกษา 2.25
ในพื้นท่ีบ้านเกาะทองสมมีโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา 1 แห่ง ช่ือ โรงเรียน อิร์ชาร์ดวิทยา สอนใน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนโรงเรียนที่สอนในระดับประถมศึกษา ไม่มีสถานท่ีศึกษาในหมู่บ้านแต่
ประชาชน จะส่งบุตรหลานไปเรียนโรงเรียนบ้านเกาะทองสม ซ่ึงเปิดสอนตัง้ แต่ในระดับ อนุบาล – ป.
6 อยใู่ นหมทู่ ี่ 10 บ้าน โคกแมว
ด้านประเพณีวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 53.11 รองลงมา
ร้อยละ 46.71 นับถือศาสนาพุทธ และ ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.17 มีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ
การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
65
มีประเพณีและวัฒนธรรมสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เช่น การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน เทศกาล
อารีรายอ ประเพณีชักพระในวันออกพรรษา การบวช การทาบุญเดือนสิบ การทาบุญรดน้าผู้สูงอายุ
งานมงคลสมรส งานข้ึนบ้านใหม่ งานศพ เป็นต้น ในพื้นท่ีบ้านเกาะทองสม ไม่มีวัดในหมู่บ้านแต่
ประชาชนในหมู่ที่ 1 จะไปประกอบพิธีทางศาสนาที่วัดเกาะทองสม ซึ่งอยู่ในหมู่ท่ี 15 บ้านเกาะทอง
สมใหม่ สว่ นราษฎรท่นี ับถอื ศาสนาอสิ ลาม จะมีมัสยิด จานวน 3 แห่ง
ลกั ษณะทางภมู ิประเทศ
สภาพพ้ืนที่ มีลักษณะเป็นท่ีราบ ซึ่งในพ้ืนท่ีบ้านเกาะทองสม จะประกอบไปด้วยกลุ่มชุดดิน
ท่ี 26,32,45
การคมนาคม
บ้านเกาะทองมีถนนสายหลัก 2 เส้นทาง คือ ถนนทางหลวงชนบทที่ สายเขาชัยสน – ควน
อินนอโม เป็นถนนลาดยางสภาพโดยรวมใชก้ ารไดด้ ตี ลอดปี ระยะทางในหมูบ่ า้ นยาว 2.5 กิโลเมตร
ถนนทางหลวงทอ้ งถิ่น สายเกาะทองสม – ต้นโดน เป็นถนนลาดยางสภาพโดยรวมใช้การได้
ดตี ลอดปี ระยะทางในหมบู่ ้านยาว 1.5 กิโลเมตร
ถนนลูกรังในหมู่บ้านทุกสาย ระยะทางยาว 5 กิโลเมตร ทางที่ชาวบ้านใช้ในการคมนาคม
เดินทางไปทาสวนยางพาราและทานา ของราษฎร
แหลง่ นา้
มี ระบบประปา จานวน 1 แห่ง ซึ่งจะใช้แหล่งน้าจากระบบประปาภูเขา มาสนับสนุนใน
ระบบ จึงทาให้มนี ้าเพียงพอตลอดปี แหล่งนา้ ผวิ ดนิ จานวน 2 แหง่ คือ
1. หว้ ยไร่ตก ขนาด ความกวา้ งเฉล่ยี 5 เมตร ยาวประมาณ 3 กโิ ลเมตร มีนา้ ใช้ตลอดปี
2. หว้ ยโคกกรวด ความกว้างเฉลี่ย 7 เมตร ยาวประมาณ 2 กิโลเมตร มนี ้าใชต้ ลอดปี
แหลง่ น้าชลประทาน
ฝายนา้ ลน้ จานวน 1 แหง่ คือ
1. ฝายกนั้ น้าบา้ นโคกกรวด ขนาด ความกวา้ งเฉลยี่ 8 เมตร มีนา้ ใชต้ ลอดปี
2. สิ่งปลูกสรา้ งบรกิ ารสาธารณะในหมบู่ ้าน
3. หอกระจายข่าว จานวน 1 แห่ง
4. ศาลาหมูบ่ า้ นประชาคม จานวน 1 แหง่
5. ลานกีฬาหรอื สนามกฬี าหมบู่ า้ น จานวน 1 แหง่
การประกอบอาชพี ในทอ้ งถ่นิ
ประชาชนในพน้ื ที่ หมู่ท่ี 1 บ้านเกาะทองสม สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การ
ทาสวนยางพารา ทานา คิดเป็นร้อยละ 48.79 รับจ้างท่ัวไปร้อยละ 11.76 พนักงาน /ราชการ /
พนักงานรฐั วิสาหกิจ รอ้ ยละ 1.56 พนักงานบริษทั รอ้ ยละ 2.08 คา้ ขาย 1.21 อ่นื ๆ รอ้ ยละ 1.38 ไม่
มอี าชพี รอ้ ยละ 6.75 และกาลังศกึ ษารอ้ ยละ 26.47 ซง่ึ ดา้ นเกษตรกรรม มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี
ด้านเกษตรกรรม มีครัวเรือนประกอบอาชีพเกษตรกรจานวน 126 ครัวเรือน มีเน้ือที่ 2,967
ไร่ เน้ือท่ถี ือครองทาการเกษตร จานวน 1,697 ไร่ เปน็ พืน้ ที่สาหรับภาคการเกษตร จาแนกเปน็
1. พ้ืนทีท่ านา จานวน 3.75 ไร่ จานวน 1 ครัวเรอื น ทานาปีละ 1 ครงั้
2. พื้นทาสวนยางพารา จานวน 1,588 ไร่ จานวน 85 ครวั เรอื น
การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2
66
3. พนื้ ท่ีทาสวนทุเรยี น จานวน 5.50 ไร่ จานวน 1 ครวั เรือน
4. พนื้ ท่ที าสวนมังคุด จานวน 5 ไร่ จานวน 9 ครวั เรือน
5. พ้นื ทท่ี าสวนปาล์มนา้ มัน จานวน 10 ไร่ จานวน 4 ครวั เรอื น
*ท่มี า ขอ้ มูลพนื้ ทีท่ างการเกษตร สานักงานเกษตรอาเภอเขาชยั สน
ด้านปศุสตั ว์ จานวน สัตวใ์ นพน้ื ที่โดย รวม
1) โค 110 ตวั 4) กระบอื - ตวั
2) เปด็ 85 ตวั 5) ไก่ 600 ตวั
3) สุกร 300 ตวั 6) อ่ืน ๆ แพะ 100 ตวั
*ทีม่ า ข้อมูลสัตวเ์ ล้ียง สนง.ปศสุ ัตว์อาเภอเขาชัยสน
ดา้ นอุตสาหกรรม ในหมทู่ ี่ 1 บา้ นเกาะทองสมไม่พบว่ามีโรงงานอุตสาหกรรม ในพืน้ ท่ี
ด้านพาณิชย์
1) ร้านค้าตา่ ง ๆ จานวน 4 แหง่
2) รา้ นขายปจั จยั การผลติ จานวน - แหง่
3) รา้ นซ่อมรถ จานวน - แหง่
4) สถานีบริการนา้ มนั จานวน - แหง่
5) โรงสขี ้าว จานวน - แห่ง
ด้านสถานบริการ
ไมม่ ีโรงแรม / รสี อร์ทที่พกั
วิถีชวี ิต
ประชาชนในพนื้ ที่ หมทู่ ่ี 1 บา้ นเกาะทองสมส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม เชน่ การทา
สวนยางพารา การทาสวนผลไม้ และการเลี้ยงสตั ว์ ดงั นั้นกจิ กรรมทีเ่ ปน็ วถิ ชี วี ิต จึงสรุปไดด้ ังนี้
1. วถิ ีชวี ิต รอบวนั กิจวตั รประจาวนั ที่สาคัญ ๆ คือ การกรีดยางพารา ซึ่งจะเรมิ่ กรดี ตัง้ แต่
เวลาประมาณ 03.00 - 10.00 น. ,การรบั ส่งบุตรหลานไปโรงเรยี น ในตอนเชา้ เวลาประมาณ 07.30
น. และรบั กลบั ในเวลา 15.30 น. สาหรบั ผ้นู ับถือศาสนาอสิ ลาม มกี ารละหมาดวนั ละ 5 ครั้ง ดงั น้ี ครั้ง
ที่ 1 เวลา 05.00 น. ครัง้ ที่ 2 เวลา 13.00 น. ครั้งท่ี 3 เวลา 16.00 น. ครัง้ ท่ี 4 เวลา 18.30น.และ
เวลา 20.00 น.
2. วถิ ีชวี ติ รอบสัปดาห์ กิจกรรมวนั สาคัญทางศาสนา เชน่ วันพระ
3. วิถีชีวติ รอบเดือน กิจกรรม การประชุมประจาเดอื นของหมบู่ ้าน ,กจิ กรรมกลุม่ ออม
ทรัพย์ – กองทุนหมู่บ้าน
4. วิถีชีวิตรอบปี กจิ กรรมวันสาคัญตามประเพณี คอื
กิจกรรมวันขน้ึ ปีใหม่ กจิ กรรมวันเดก็ แหง่ ชาติ
กจิ กรรมเรมิ่ ฤดูการเก็บเกย่ี วข้าว
กิจกรรมวนั มาฆบูชา ,เก็บเกี่ยวข้าว
กิจกรรมรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ ในเทศกาลสงกรานต์,เดือน
รอมฎอน
กจิ กรรมวันวสิ าขบูชา
การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
67
กจิ กรรมวนั อาสาฬหบูชา เทศกาลเขา้ พรรษา
กิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านเนื่องในวันเฉลิมพระชนพรรษา
สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ,เริ่มฤดูกาลปลูก
ขา้ วนาปี
กิจกรรมวนั สารทเดอื นสิบ
กิจกรรมวนั ออกพรรษา /ชกั พระ-แข่งโพน
กจิ กรรมวนั ลอยกระทง
กิจกรรมวนั ส้นิ ปี
4.2 ความเปน็ มาของหมทู่ ่ี 10
บ้านโคกแมว หมู่ที่ 10 ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เดิมเป็นพ้ืนที่
อยู่ในเขตการปกครองของหมู่ที่ 1 ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดหวดั พัทลุง ซึ่งมีการโอนจาก
หมู่ที่ 1 ตาบลเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เม่ือคราวแบ่งเขตปกครองจัดตั้งตาบลโคกม่วงในปี พ.ศ. 2522
ต่อมาในปี พ.ศ.2525 ได้แยกพ้ืนท่ีหมู่บ้านเป็นหมู่ที่ 10 บ้านโคกแมว ตาบลโคกมว่ ง อาเภอเขาชัยสน
จังหวัดพัทลุง โดยมีนายเชิดศักด์ิ นุ้ยคง เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ถัดมานายบรรจบ ภักดีสุวรรณ เป็น
ผูใ้ หญ่คนปัจจุบัน
สาเหตุการต้ังชื่อว่า “สาเหตุที่ชื่อว่าโคกแมว เพราะในพ้ืนท่ีตอนบุกเบิก เข้ามาใน
พื้นที่ชาวบ้านพบแมว ซึง่ ได้ใช้ชื่อหมบู่ ้านในเวลาต่อมาถึงปัจจุบนั บา้ นโคกแมว มีกลุ่มหมู่บ้าน 4 กลุ่ม
คือ บ้านโคกแมว บา้ นโคกหนุน บ้านคลองเคย่ี ม และบ้านเกาะบาก
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
68
แผนที่หมู่บ้าน ชมุ ชน แขวง โดยสังเขป
ภาพที่ 8 แผนทห่ี มู่ท่ี 10 ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม
การศกึ ษา ประเพณแี ละวัฒนธรรม
การศึกษาประชาชนส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 47.66 รองลงมาระดับ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นร้อยละ 16.12 มัธยมศึกษาตอนปลายร้อยละ 11.27 ระดบั ปริญญาตรี 6.41
ระดับอนุปรญิ ญา 3.99 ระดับต่ากว่าประถมศึกษา 11.1 และไม่เคยศึกษา 3.10 ในพ้ืนท่ีบ้านโคกแมว
มีโรงเรียน 1 แห่ง คือโรงเรียนบ้านเกาะทองสม ซ่ึงมีจานวนเด็กรวมจานวน 210 คน มีครูและ
บคุ ลากรจานวน 14 คน นอกจากนบ้ี า้ นโคกแมว มีศนู ย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์จานวน 1 แหง่ มีนกั เรียน
จานวน 50 คน ครู จานวน 4 คน
ดา้ นประเพณีวัฒนธรรมประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.31 ศาสนาอิสลาม
ร้อยละ 0.69 ประชากรมีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ มีประเพณีและวัฒนธรรมสืบทอดมาจาก
บรรพบุรุษ เช่น ประเพณีชักพระในวันออกพรรษา การบวช การทาบุญเดือนสิบ การทาบุญรดน้า
ผู้สูงอายุ งานมงคลสมรส งานขึ้นบ้านใหม่งานศพ เป็นต้น ในพื้นท่ีบ้านโคกแมว ไม่มีวัด ประชาชนใน
พนื้ ทจี่ ะใช้วดั เกาะทองสมในการประกอบกจิ กรรมศาสนา
การคมนาคม
บ้านโคกแมวมถี นนสายหลัก 2 สาย คือ ถนนทางหลวงชนบทสายเขาชัยสน – ควนอินนอโม
เป็นถนนลาดยางสภาพดีระทางผ่านหมู่บ้าน 2 กิโลเมตร และสายปากทางเกาะทองสม – บ้านโคก
แมวระยะทางผา่ นในหมู่ท่ี 10 ระทางประมาณ 2 กโิ ลเมตร สภาพโดยรวมใช้การไดด้ ตี ลอดปี
ถนนภายในหมู่บ้านเป็นถนนคอนกรีต และมีถนนลูกรัง ระยะประมาณ 3 กิโลเมตร ใช้เป็น
เสน้ ทางในการทานาและสวนยางพารา
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2
69
แหลง่ นา้
- ระบบประปา จานวน 1 แห่ง ครัวเรือนมีใชน้ ้าประปาตลอดปี
- บอ่ น้าตื้นสว่ นตัว จานวน 20 บอ่ ,บอ่ นา้ ตน้ สาธารณะ จานวน 2 บอ่
- บ่อบาดาล สาธารณะ จานวน 4 บ่อ ใชก้ ารได้ 3 บ่อ
- ลาห้วย มีจานวน 2 แหง่ คือ
1. ห้วยคลองเค่ยี ม มีความกว้าง 6 เมตร
2. หว้ ยหนองไม้แกน่ มคี วามกวา้ ง 6 เมตร
- หนอง มี จานวน 1 แห่ง คือ หนองคล้า มคี วามกว้าง 6 เมตร
การประกอบอาชพี ในทอ้ งถิ่น
ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 10 บ้านเกาะทองสม ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่
การทาสวนยางพารา ทาสวนผลไม้ ทานา คิดเป็นร้อยละ 47.14 รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 13.69
พนักงาน/ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 1.91 พนักงานบริษัท 0.69 ค้าขาย ร้อยละ 0.69
อาชีพอนื่ ๆ ร้อยละ 0.69 ไมม่ อี าชพี รอ้ ยละ 8.32 และกาลังศกึ ษา รอ้ ยละ 26.69
*ทม่ี า ข้อมูลพ้ืนที่ทางการเกษตร สานักงานเกษตรอาเภอเขาชยั สน
ด้านปศสุ ัตว์ จานวน สตั วใ์ นพ้ืนทโี่ ดยรวม
1) โคพ้นื เมือง 207 ตวั 4) กระบอื - ตวั
2) เป็ด 35 ตวั 5) ไกเ่ น้ือ 60,000 ตัว *
3) สุกร 194 ตวั 6) อ่ืน ๆ - ตวั
*ท่มี า ขอ้ มลู สตั ว์เลีย้ ง สนง.ปศสุ ัตว์อาเภอเขาชยั สน
*เลีย้ งระบบฟาร์มปิด จานวน 2 ฟาร์ม
ดา้ นอุตสาหกรรม
ในพื้นทีห่ มทู่ ่ี 10 บา้ นโคกแมวไม่มโี รงงานอตุ สาหกรรม
ด้านพาณชิ ย์
1) รา้ นค้าต่าง ๆ จานวน 3 แห่ง
2) รา้ นซ่อมรถ จานวน 1 แห่ง
3) รา้ นเชือ่ มโลหะ -กลงึ จานวน 1 แหง่
ด้านสถานบรกิ าร พนื้ ท่บี ้านโคกแมว ไมม่ โี รงแรม / ทพี่ ัก
วิถชี วี ิต
ประชาชนในพ้ืนที่หมู่ที่ 10 บ้านโคกแมว ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การทา
สวนยางพารา การทาสวนผลไม้ และการเลย้ี งสัตว์ ดังนัน้ กจิ กรรมทเี่ ป็นวถิ ีชีวติ จึงสรุปไดด้ ังน้ี
วิถีชีวิต รอบวัน กิจวัตรประจาวันท่ีสาคัญ ๆ คือ การกรีดยางพารา ซ่ึงจะเร่ิมกรีดตั้งแต่
เวลาประมาณ 03.00 - 10.00 น. ,การรับส่งบุตรหลานไปโรงเรียนในตอนเช้า เวลา
ประมาณ 07.30 น. และรบั กลบั ในเวลา 15.30 น.
วถิ ชี วี ิตรอบสัปดาห์ กจิ กรรมวันสาคัญทางศาสนา เช่น วันพระ
วิถีชีวิตรอบเดือน กิจกรรม การประชุมประจาเดือนของหมู่บ้าน ,กิจกรรมกลุ่มออม
ทรัพย์ – กองทุนหมู่บา้ น
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
70
วิถีชวี ติ รอบปี กิจกรรมวนั สาคัญตามประเพณี คือ
เดือนมกราคม กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ กิจกรรมวันเด็ก
แห่งชาติ
เดือนกุมภาพนั ธ์ กิจกรรมเร่ิมฤดกู ารเกบ็ เกย่ี วข้าว
เดอื นมนี าคม กิจกรรมวนั มาฆบชู า , เกบ็ เก่ียวข้าว
เดือนเมษายน กิจกรรมรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ ในเทศกาล
สงกรานต์
เดอื นมิถนุ ายน กจิ กรรมวันวสิ าขบูชา
เดือนกรกฎาคม กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา เทศกาล
เขา้ พรรษา
เดอื นสิงหาคม กจิ กรรมพัฒนาหมูบ่ ้านเนอ่ื งในวันเฉลมิ
พระชนพรรษาสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ,
เริ่มฤดกู าลปลูกข้าวนาปี
เดือนกันยายน กิจกรรมวันสารทเดือนสบิ
เดือนตุลาคม กิจกรรมวันออกพรรษา/ชักพระ-แข่งโพน
ทอดกฐิน
เดือนพฤศจิกายน กจิ กรรมวันลอยกระทง
เดือนธนั วาคม กจิ กรรม วนั สน้ิ ปี
4.3 ประวัตคิ วามเปน็ มาของหมูท่ ี่ 15
บ้านเกาะทองสมใหม่หมู่ท่ี 15 ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
เดิมเป็นพ้ืนที่อยู่ในเขตการปกครองของหมู่ที่ 1 ตาบลโคกมว่ ง อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั หวัดพัทลุง ซึ่ง
มกี ารโอนจากหมู่ท่ี 1 ตาบลเขาชยั สน จังหวัดพทั ลุง เม่ือคราวแบ่งเขตปกครองจดั ต้ังตาบลโคกม่วงใน
ปี พ.ศ. 2522 ในขณะน้ันมี นายเชอื น ดาหนก เปน็ ผู้ใหญบ่ ้านคนแรกในปี พ.ศ.2525 หมู่ท่ี 1 ได้แยก
พ้ืนท่ีการปกครองเป็นหมู่ที่ 10 บ้านโคกแมว ต่อมา ได้แยกหมู่บ้านจากหมู่ที่ 1 เป็นพื้นที่หมู่ท่ี 15
ตาบล โคกม่วง อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ตามประกาศของจังหวัดพัทลุง ลงวันที่ 21
พฤศจิกายน 2549 ให้มีผลตง้ั แต่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 โดยมีนายไพโรจน์ สนดี เป็นผู้ใหญ่บ้าน
คนแรก ต่อมานายวิโรจน์ เหตุทอง เปน็ ผใู้ หญค่ นปัจจบุ นั
สาเหตุการต้ังชื่อว่า “เกาะทองสม” เพราะพ้ืนท่ีมีลักษณะเป็นเกาะเล็ก ๆ มีลาห้วย
ลอ้ มรอบ เนื้อทปี่ ระมาณ 2 ไร่ บริเวณใกลบ้ ้านโคกกรวด มตี ายาย ต้งั บ้านเรอื นอยู่ในยคุ บกุ เบกิ ชื่อตา
ทอง และยายสม ซ่งึ ไดใ้ ช้ชอ่ื หมบู่ า้ นในเวลาต่อมาจนถึงปัจจบุ ัน
บ้านเกาะทองสมใหม่ หมู่ที่ 15 ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง มี
อาณาเขตตดิ ตอ่
ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับหมู่ที่ 10 บ้านโคกแมว ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
71
ทิศใต้ ติดต่อกบั หมู่ท่ี 9 บ้านหนองปด ตาบลแม่ขรี อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง และหมู่ท่ี
9 บา้ นทา่ กลุ ตาบลเขาชยั สน อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ หมู่ท่ี 9 บ้านทา่ กุล ตาบลเขาชยั สน อาเภอเขาชยั สน จังหวัดพัทลุง
ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับ หมทู่ ่ี 1 เกาะทองสม ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ
แผนทีห่ มู่บ้าน ชมุ ชน แขวง โดยสงั เขป
ภาพท่ี 9 แผนทหี่ มู่ที่ 15 ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม
การศกึ ษาประเพณแี ละวฒั นธรรม
การศึกษาประชาชนส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 35.52 รองลงมาระดับ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายร้อยละ 6.19 มัธยมศึกษาตอนต้นร้อยละ 4.70 ระดับปริญญาตรี 6.19
ระดับอนุปริญญา 2.97 ระดับต่ากว่าประถมศึกษา 3.22 และไม่เคยศึกษา 4.21 ในพื้นท่ีบ้านเกาะ
ทองสม ไม่มีโรงเรียนเด็กในวัยเรียนส่วนใหญ่จะไปเรียนท่ีโรงเรียนบ้านเกาะทองสม อยู่ในหมู่ท่ี 10
บ้านโคกม่วง ตาบล โคกม่วง อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ซึ่งมีจานวนเด็กรวมจานวน 210 คน มี
ครแู ละบุคลากรจานวน 14 คน
ด้านประเพณีวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๗.๗๗ ศาสนา
อิสลามร้อยละ 2.23 ประชากรมีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ มีประเพณีและวัฒนธรรมสืบทอดมา
จากบรรพบุรุษ เช่น ประเพณีชักพระ ในวันออกพรรษา การบวช การทาบุญเดือนสิบ การทาบุญรด
นา้ ผู้สงู อายุ งานมงคลสมรส งานข้ึนบ้านใหม่ งานศพ เป็นต้น ในพื้นท่ีบ้านเกาะทองสมใหม่มวี ัดเกาะ
ทองสมในการประกอบกิจกรรมทางศาสนา วัดเกาะทองสม มพี ระสงฆ์ จานวน 5 รูป
การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
72
สภาพภูมอิ ากาศ
สภาพอากาศร้อนช้ืนเพราะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทาให้มีฝนตกในช่วง
เดอื นพฤษภาคมถึงเดือนมิถนุ ายนของทกุ ปี และได้รับอทิ ธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้
ฝนตกชุกในเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม มีปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 304.87 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิ
สูงสุดเฉล่ีย 32.07 องศาเซลเซียล อุณหภูมิต่าสุดเฉล่ีย 24.49 องศาเซลเซียล อุณหภูมิเฉล่ีย 28.29
ความชืน้ สัมพันธ์ 81.61 % ทม่ี า : สถานตี รวจอากาศจังหวัดพทั ลุง
การคมนาคม
บ้านเกาะทองสมใหม่มีถนนสายหลัก 2 สาย คือ ถนนทางหลวงชนบทสายเขาชัยสน – ควน
อินนอโม เป็นถนนลาดยางสภาพดี ระทางผ่านหมู่บ้าน 1.5 กิโลเมตร และสายเกาะทองสม – บ้าน
ดา่ นโลด ระยะทางผ่านในหม่ทู ่ี 15 ระทางประมาณ 1.5 กโิ ลเมตร สภาพโดยรวมใชก้ ารไดด้ ตี ลอดปี
ถนนภายในหมู่บ้านเป็นถนนคอนกรีต และมีถนนลูกรัง สายควนยาน ระยะประมาณ 3
กิโลเมตร
แหล่งนา้
มีระบบประปา จานวน 2 แหง่ ครัวเรอื นมีใช้น้าประปาตลอดปี
ส่งิ ปลกู สรา้ งบริการสาธารณะในหมูบ่ ้าน
หอกระจายขา่ วหรอื เสยี งตามสาย จานวน 1 แห่ง
ศาลาประชาคม จานวน 1 แห่ง
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง จานวน 1 แห่ง
การประกอบอาชีพในทอ้ งถ่นิ
ประชาชนในพ้ืนท่ีหมู่ที่ 15 บ้านเกาะทองสม ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่
การทาสวนยางพารา ทาสวนผลไม้ ทานา คิดเป็นร้อยละ 35.16 รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 17.57
พนักงาน / ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 3.22 พนักงานบริษัท 0.74 คา้ ขาย ร้อยละ 2.97
อาชพี อนื่ ๆ รอ้ ยละ 3.96 ไม่มอี าชพี ร้อยละ 11.14 และกาลงั ศกึ ษารอ้ ยละ 25.00
*ทมี่ า ข้อมลู พ้นื ทีท่ างการเกษตร สานักงานเกษตรอาเภอเขาชัยสน
ดา้ นปศสุ ัตว์ จานวน สตั วใ์ นพ้นื ท่ีโดยรวม
1) โคพื้นเมอื ง 65 ตวั 4) กระบอื - ตวั
2) เปด็ 40 ตวั 5) ไกพ่ ้ืนเมอื ง 1,236 ตัว
3) สกุ ร 136 ตวั 6) อื่น ๆ แพะ 50 ตวั
*ที่มา ขอ้ มลู สตั ว์เลยี้ ง สนง.ปศุสตั ว์อาเภอเขาชยั สน
ดา้ นอตุ สาหกรรม
ในพ้นื ทหี่ ม่ทู ่ี 15 บา้ นเกาะทองสมไม่มโี รงงานอุตสาหกรรม
ด้านพาณิชย์
1) รา้ นคา้ ตา่ ง ๆ จานวน 4 แห่ง
2) ร้านซ่อมรถ จานวน 2 แห่ง
3) โรงสี จานวน 1 แหง่
ดา้ นสถานบรกิ าร พื้นท่บี ้านเกาะทองสมใหม่ ไมม่ โี รงแรม/ ทพี่ ัก
การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2
73
วิถชี วี ติ
ประชาชนในพื้นที่ หมู่ท่ี 15 บ้านเกาะทองสมใหม่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น
การทาสวนยางพารา การทาสวนผลไม้ และการเลี้ยงสตั ว์ ดงั นนั้ กจิ กรรมทีเ่ ปน็ วถิ ชี วี ิต จงึ สรุปได้ดงั นี้
วิถีชีวิต รอบวัน กิจวัตรประจาวันที่สาคัญ ๆ คือ การกรีดยางพารา ซ่ึงจะเร่ิมกรีดต้ังแต่เวลา
ประมาณ 03.00 - 10.00 น. ,การรับส่งบุตรหลานไปโรงเรียน ในตอนเช้า เวลาประมาณ 07.30 น.
และรบั กลับในเวลา 15.30 น.
วถิ ชี ีวิตรอบสปั ดาห์ กิจกรรมวนั สาคัญทางศาสนา เชน่ วนั พระ
วิถีชีวิตรอบเดือน กิจกรรมการประชุมประจาเดือนของหมู่บ้าน ,กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์ –
กองทนุ หมู่บา้ น
วิถชี ีวติ รอบปี กิจกรรมวันสาคญั ตามประเพณี คือ
กจิ กรรมวันขน้ึ ปีใหม่ กิจกรรมวันเด็กแหง่ ชาติ
กิจกรรมเริ่มฤดูการเก็บเกยี่ วขา้ ว
กิจกรรมวันมาฆบูชา ,เกบ็ เกย่ี วข้าว
กิจกรรมรดน้าดาหวั ผสู้ งู อายุในเทศกาลสงกรานต์
กิจกรรมวนั วสิ าขบูชา
กิจกรรมวันอาสาฬหบชู า เทศกาลเขา้ พรรษา
กจิ กรรมพฒั นาหมูบ่ า้ นเนื่องในวันเฉลมิ พระชนพรรษา
สมเดจ็ พระ นางเจ้า ฯ พระบรมราชินนี าถ,เรม่ิ ฤดูกาล
ปลูกข้าวนาปี
กจิ กรรมวนั สารทเดือนสบิ
กจิ กรรมวันออกพรรษา /ชกั พระ-แข่งโพน ทอดกฐนิ
เดือนพฤศจกิ ายน กิจกรรมวนั ลอยกระทง
เดอื นธนั วาคม กิจกรรม วันสน้ิ ปี
5.งานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้อง
งานวิจยั ในประเทศ
อโนทัย เทียนสวาง (2556) ได้ศกึ ษาเรื่องการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของ ชุมชน
บ้านป่าเส้า ตาบลอุโมงค์ อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน การศึกษาครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมี
สว่ นรว่ มในการจดั การขยะมูลฝอยของชมุ ชนบ้านปา่ เส้าศึกษาบทบาทของเทศบาลตาบลอุโมงค์ในการ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านป่าเส้า และศึกษาบทบาทของผู้นา
ชุมชนในการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านป่าเส้า กลุ่มตัวอย่างใน
การศึกษา ประกอบด้วย ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตหมู่ 9 บ้านป่าเส้า ตาบลอุโมงค์ อาเภอเมือง
จังหวัดลาพูน จานวน 250 คน นายกเทศมนตรีตาบลอุโมงค์ ผู้อานวยการกองสาธารณสุขและ
ส่ิงแวดล้อม เทศบาลตาบลอโุ มงค์ ผู้นาและคณะกรรมการชุมชนที่มสี ่วนร่วมในการบริหารจดั การขยะ
มูลฝอยของชมุ ชน บา้ นป่าเส้า รวม 4 คน เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ได้แก่ แบบสอบถาม
การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
74
และแบบ สัมภาษณ์ ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูล
ฝอยในชุมชนภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง โดยด้านการคัดแยกและใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย
ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความ ร่วมมือในการนาขยะมูลฝอยในครัวเรือนกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เช่น
การนาขยะรีไซเคิลไปขาย/ บริจาค/นาเข้าธนาคารขยะในชุมชน คัดแยกขยะรีไซเคิล แต่ละประเภท
ให้ความรว่ มมอื ในการลด การใช้ขยะในภาคครัวเรือน เช่น หลีกเล่ียงการใช้โฟมและพลาสติก ใชถ้ ุงผ้า
หรือตะกร้าในการ จับจ่ายซ้ือของและให้ความร่วมมือในการใช้ขยะมูลฝอยซ้าหรือเกิดประโยชน์ใหม่
อกี ครั้ง โดยมี การนาสิ่งของที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ เชน่ ถุงกระดาษ ถุงพลาสติกท่ีไม่เปรอะเป้ือนก็ให้
เก็บไว้ใช้ใส่ของอีกครั้งหน่ึง เป็นต้น ด้านการรวมกลุ่มในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน พบว่า
ประชาชน ส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมทาปุ๋ยจากขยะอินทรีย์ ให้ความร่วมมือในการ
ทากิจกรรมธนาคารขยะในชุมชน และด้านการแลกเปล่ียนองค์ความรู้ในการจัดการขยะมูลฝอย
ประชาชนได้ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้คนในชมุ ชนร่วมกันเรียนรู้ และจัดการขยะมูลฝอยในระดับครัวเรอื น
และให้ความร่วมมือเข้าร่วมประชุม ทากิจกรรมโครงการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนกับเทศบาลเป็น
ตน้ 2) บทบาทของเทศบาลตาบลอุโมงค์พบว่า เทศบาลตาบลอุโมงค์ได้จดั ทาโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ
เพ่ือส่งเสริมองค์ความรู้ในการคัดแยกขยะ พัฒนารูปแบบในการเป็นชุมชนต้นแบบการดาเนินการคัด
แยกขยะในชมุ ชน ลดปริมาณขยะในชุมชน ส่งเสรมิ กระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชมุ ชน
และเพ่ือจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชนด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนป่าเส้า ส่งเสริมให้ชุมชนมีการ
รวมกลุ่มจัดทาปุ๋ยจากขยะ จัดต้ังกลุ่มคณะกรรมการบริหารจัดการขยะชุมชน บ้านป่าเส้าข้ึน และ
ส่งเสริมและการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ให้แก่ชุมชน เช่น อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูล
ฝอยในชุมชนท่ีถูกต้องตามหลักการ 3Rs การใช้สื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ เพ่ือรณรงค์ เชิญ
ชวนให้ประชาชนในชุมชนเห็นประโยชน์และคุณค่าในการลดการใช้ถุงพลาสติกในชุมชน เป็นต้น 3)
บทบาทของผู้นาชุมชน พบว่า ผู้นาและคณะกรรมการบริหารจัดการขยะในชุมชนบ้านป่าเส้า มี
บทบาทสาคัญในการแสวงหาความร่วมมือ การสนับสนุนจากกลุ่มสมาชิกและประชาชน ในชุมชนเข้า
ร่วมทากิจกรรม โครงการจดั การขยะในชุมชนได้อยา่ งต่อเน่อื ง ทั้งในด้านการคัดแยก และใช้ประโยชน์
ขยะมูลฝอย การกาจัดขยะมูลฝอยแบบรวมกล่ม การแลกเปล่ียนองค์ความรู้ด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
นอกจากน้ีผูน้ าชุมชนได้มีบทบาทในการคิด และหาแนวทางร่วมกับเทศบาลตาบลอุโมงค์ในการจัดทา
กิจกรรม / โครงการด้านการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน มีการประสานงานกับเทศบาลฯ และ
หน่วยงานรัฐท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือร่วมกันจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนให้มีความเหมาะสม ส่งเสริม
กระบวนการมีส่วนร่วมที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น และส่งผลให้ชุมชนมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
อย่างเปน็ ระบบและมีประสิทธิภาพเพ่มิ มากข้ึน
วรชาติ หลอเต่า (2557) ไดศ้ ึกษาเรื่องการมีสว่ นร่วมในการกาจัดขยะมลู ฝอยของประชาชน
ในตาบลแม่ใส อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาขยะ
ของชุมชน และปัจจัยทม่ี ีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการจัดการขยะมลู ฝอย เพ่ือจัดทาและ
เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในเขตตาบลแม่ใส อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา
ประชาชนท่ีศึกษารวมท้ังส้ิน 6,358 คนใน 12 หมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่าง จานวน 420 คน การเลือก
ตัวอย่างใช้วธิ ีการสมุ่ แบบหลายขั้นตอน เคร่ืองมือในการวเิ คราะห์ปัญหาและปจั จยั ที่มีผลต่อการมีส่วน
ร่วมของประชาชน โดยใช้แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ
การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
75
แตกต่างกัน และประชาชนที่รับรู้ข่าวสารมาก จะมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมากกว่าประชาชนท่ี
ได้รับข้อมูลข่าวสารน้อย สภาพปัญหาของขยะชุมชน ได้แก่ ชุมชนไม่มีท่ีทิ้งขยะ ไม่มีรถจัดเก็บขยะ
ขาดความรู้ในการกาจัดขยะที่ถูกวิธี ขาดจิตสานึกในการจัดการขยะและขาดการรับทราบข้อมูล
ขา่ วสารดา้ นการจัดการขยะ จากปญั หาดังกล่าวองค์การบริหารส่วนตาบลแม่ใส จะตอ้ งให้ความสาคัญ
ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้กับชุมชน โดยจัดให้มีกิจกรรม โครงการต่าง ๆ เพ่ือให้ประชาชนมีส่วน
ร่วมในการจดั การขยะมลู ฝอยในชุมชนของตนเอง
อนัญญา จันทร์ป้อ (2558) ได้ศึกษาเร่ือง การบริหารจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตาบลโป่งงาม อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย การศึกษา
คร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะ ในเขต
พื้นที่ความดูแลขององค์การบริหารส่วนตาบลโป่งงาม อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และเพ่ือวัด
ระดับการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการบรหิ ารจดั การขยะ ในเขตพน้ื ทีค่ วามดแู ลขององค์การบริหาร
ส่วนตาบลโป่งงาม อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้แบบสอบถามใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล จากประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นท่ีความดูแลขององค์การบริหารส่วนตาบลโป่ง
งาม อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จานวน 337 คน ผลการศึกษา จากผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด
337 ครัวเรือน ในพื้นท่ีความดูแลขององค์การ บริหารส่วนตาบลโป่งงาม ส่วนใหญ่มีรายได้ ระหว่าง
10,001-20,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 43.6 อาชีพของครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอาชีพ
เกษตรกรรม ร้อยละ 46.6 เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 25.8 วิธีการกาจัดขยะของ
ครวั เรือนกลุ่มตัวอยา่ งจะใช้วิธีการคัดแยกขยะไวข้ าย ส่วนท่ีเหลือให้องค์การบรหิ ารส่วนตาบลโปง่ งาม
ทาการจัดเก็บ ภาชนะรองรับขยะของครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างใช้ถุงดา หรือถุงพลาสติก ร้อยละ 86.9
ส่วนเร่ืองของความรู้ความเข้าใจของครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ
อันตราย ขยะที่สามารถนาไปทาเป็นปุ๋ยหมักได้ ชนิดของขยะท่ีสามารถกาจัดด้วยเฉวยี น แต่ภาพรวม
ครัวเรอื นกลุ่มตวั อยา่ งยงั ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของราคาขายของขยะแต่ละประเภท ท่คี ัดแยก
ไว้ขาย สาหรับการมีส่วนร่วมครัวเรอื นกลุ่มตัวอยา่ งรว่ มประชาคมออกความคิดเห็นรอ้ ยละ 70.3 ร่วม
ในการวางแผน ร้อยละ 53.1 มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ร้อยละ 51.6 ร่วมในการนาเศษอาหารไป
ทาเป็นปุ๋ยหมัก ร้อยละ 51.6 มีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดการขยะใน
ครัวเรือนและชุมชน ร้อยละ 53.1 มีส่วนช่วยในการแนะนาการคัดแยกขยะที่เหมาะสมให้กับเพื่อน
บ้าน ร้อยละ 54.9 สาหรับสมมติฐานที่ต้ังไว้ พบว่า อาชีพเกษตรกรรม ความรู้ความเข้าใจในการ
จัดการขยะมูลฝอย การเข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ ครัวเรือนที่มีเฉวียน ล้วนแล้วแต่มี
ความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในด้านต่าง ๆ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเช่ือมั่นท่ี 0.05
ยกเว้นเร่ืองของรายได้ พบว่ารายได้น้อย ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการ
ขยะด้านตา่ ง ๆ ผลการทดสอบสมมติฐานทาใหท้ ราบวา่ ประชากรครวั เรือนกลมุ่ ตวั อยา่ งที่มีรายได้มาก
เข้ามามสี ่วนรว่ มในการจัดการขยะมูลฝอยมากกว่า ประชากรครวั เรือนกลุ่มตัวอย่างทมี่ ีรายได้น้อย ซึ่ง
ไม่เปน็ ไปตามสมมตฐิ านทตี่ ง้ั ไว้
การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
76
ชัยสิทธิ์ บูญโยธา (2558) ได้ศึกษาเร่ืองการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการ
ขยะมลู ฝอยในเขต องคก์ รบริหารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอแกง้ คร้อ จงั หวดั ชัยภูมิ การศึกษาครง้ั น้ี มี
วัตถุประสงค์ (1) เพ่ือศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขต
องค์กรบริหารสว่ นตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งครอ้ จังหวดั ชยั ภูมิ(2) เพื่อศกึ ษาระดับการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตองค์กรบริหารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ
จงั หวัดชัยภูมิ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตองค์กรบรหิ ารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ และ
(4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขต
องค์กรบริหารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา คือ
ประชาชนท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครัวหรือตัวแทน
โดยอาศัยในเขตรับผิดชอบขององค์กรบริหารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ
กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรยามาเน่ (Yamane) จานวน 342 คน แล้วทาการใช้วิธีสุ่ม
ตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็น
แบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ของลิเคิร์ท (Likert) มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ
เท่ากับ .736 ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษณ์ ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง
และสถติ ิที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย
พบว่า 1. ระดับการมสี ่วนรว่ มในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตองคก์ รบรหิ ารสว่ น
ตาบลหนองไผ่ อาเภอแกง้ คร้อ จงั หวัดชัยภูมิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพจิ ารณาเป็นราย
ด้าน ด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านการตรวจสอบและประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมรับรู้สภาพ
ปญั หาและแสดงความคิดเห็น ดา้ นการมีส่วนร่วมในการวางแผนและตัดสินใจ และด้านการมีส่วนร่วม
ในกิจกรรมและการจัดการขยะมูลฝอย ตามลาดับ 2. ปัญหาและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการมีส่วน
ร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอ
แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ มีดังน้ี 2.1 ปัญหา ได้แก่ 1) ด้านการร่วมรับรู้สภาพปัญหาและแสดงความ
คิดเห็น คือ ประชาชนไม่ได้ร่วมรับรู้สภาพปัญหา รับทราบนโยบายในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ขาดการให้ความร่วมมือในการเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย 2) ด้านการวางแผนและ
ตดั สินใจ คือ ประชาชนไม่ให้ความสาคัญในการกาหนดแนวทาง การวางแผน การจัดสรรงบประมาณ
การเสนอความต้องการ การจัดทาโครงการ และการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยเท่าท่ีควร 3) ด้านการ
จัดการขยะมูลฝอย คือ ประชาชนขาดจิตสานึกท่ีดีในการคัดแยกขยะ ปัญหาถังรองรับขยะไม่เพียงพอ
ปัญหาพ้ืนทีร่ องรับขยะมลู ฝอยมีจากดั และมลพิษจากบอ่ ขยะส่งผลกระทบต่อชุมชน และ 4) ด้านการ
มีส่วนร่วมในการตรวจสอบและประเมินผล คือ ไม่มีการตรวจสอบและประเมินปริมาณขยะ การคัด
แยกขยะมูลฝอย การตรวจสอบและประเมินผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อชุมชน ต่อสุขภาพและ
ส่งิ แวดลอ้ ม 2.2 ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1) ควรส่งเสริมให้ประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการจดั การ
ขยะมูลฝอย เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีเวทีนาเสนอปัญหาเพ่ือให้เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา
และรับทราบนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่ชัดเจน 2) ควรมีการจัดเวทีประชุมประชาคมใน
ชุมชนในหัวข้อการบริหารจัดการขยะให้มากข้ึน เพื่อให้ประชาชนไดม้ ีส่วนร่วมมากขน้ึ 3) ควรส่งเสริม
สร้างจิตสานึกในการคัดแยกขยะอย่างจริงจัง จัดอบรมการคัดแยกขยะในชุมชน จัดการถังรองรับขยะ
การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2
77
ให้เพียงพอ และเร่งจัดหาพื้นที่สาหรับรองรับขยะมูลฝอยเพ่ิมเติมโดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ดว้ ย 4) ควรมีการแต่งตัง้ คณะทางานโดยประชาชนมีส่วนร่วมในการติดตามผลและประเมินผลในการ
จัดการขยะมูลฝอย เพ่ือตรวจสอบ รายงานและประเมินผลการดาเนินงานให้ประชาชนในชุมชนทราบ
จะทาให้ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้มากขึ้น และนาไปสู่การพัฒนาการบริหารจัดการขยะ
มูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ 3. แนวทางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการ
ขยะมูลฝอยในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ คือ ส่งเสริมให้
ประชาชนรู้จักบทบาท หน้าท่ีของตนในการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคม ส่งเสริมให้มีเวทีประชาคม
เพื่อให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็น เสนอความต้องการ และรว่ มดาเนินการในการบริหารจัดการ
ขยะมูลฝอย ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในรูปแบบของคณะทางานในการดาเนินงาน ตรวจสอบ
และประเมินผลการดาเนินงานในการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอย
ชัยวิชิต พลหลา (2559) ได้ศึกษาเร่ือง แนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความเป็นมาและสถานการณ์ของการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เสนอแนวทางนโยบายในการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยชุมชนระดับองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และศึกษาตน้ ทุนในการบริหารจัดการขยะ
มูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็น
การศึกษาโดยใช้กรณีศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจานวน 6 แห่ง จัดกลุ่มเป็น 3 ขนาดตาม
จานวนปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน ที่เกิดข้ึนเฉลี่ยต้ังแต่ปี พ.ศ. 2557-2559 ได้แก่ ขนาดเล็ก ปริมาณ
ขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้น 0-16,078 ตันต่อปี ขนาดกลาง ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนท่ีเกิดขึ้น
16,079-48,236 ตันต่อปี และขนาดใหญ่ ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้น 48,237-176,867 ตัน
ตอ่ ปี ผลการศึกษา พบว่า
1.ความเป็นมาและสถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พบว่าต้ังแต่ปี พ.ศ. 2551-2559 ขยะมลู ฝอยชมุ ชนที่เกิดขน้ึ เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 13.08 และยงั มี วกิ ฤตขยะ
มูลฝอยตกค้างที่ไม่สามารถกาจัดได้ ซึ่งยังเป็นปัญหาท่ีก่อให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อม ทั้งน้ี องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินทั้งหมด 7,776 แห่ง มีสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินดาเนินการไม่ถูกต้องและยังไม่ได้รับการปรับปรุงจานวนมาก และในปี พ.ศ. 2559 มีสถานท่ี
กาจัดขยะมูลฝอยชุมชนท่ีแบบถูกต้องจานวน 330 แห่ง และสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนแบบไม่
ถกู ต้องจานวน 2,480 แห่ง และมีการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยชุมชนจานวน 4,710 แห่ง และที่ไม่มี
การบริการเก็บขนขยะมลู ฝอยชุมชนจานวน 3,066 แห่ง
2. ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น พบว่า นโยบายในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนยังไม่มีความชัดเจนและไม่เป็นไปใน
ทศิ ทางเดียวกัน และบทบาทหน่วยงานราชการในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยชุมชนทงั้ สว่ นกลางและ
ส่วนภูมิภาคยังขาดความชัดเจนและตระหนักในการดาเนินนโยบายด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของกรณีศึกษามีการดาเนินการตั้งแต่ต้นทาง กลางทางและปลายทาง
คือมีการลด ณ แหล่งกาเนิดการคัดแยกและกาจัดขยะมูลฝอยชุมชน แต่ยังมีปัญหาท่ีทาให้การ
แก้ปัญหาขยะมูลฝอยในพื้นท่ีไม่ประสบความสาเร็จ และสภาพบรบิ ทเชิงสถาบันและบริบท เชิงพ้ืนท่ี
การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
78
ของกรณีศึกษาทั้ง 3 ขนาด มีขนาดพ้ืนที่ใกล้เคียงกัน แต่พบว่าปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน ท่ีเกิดข้ึน
แตกต่างกนั อย่างชัดเจน ซงึ่ จะเหน็ ไดว้ ่าปัจจยั เชงิ พ้ืนท่ีท่ีสะท้อนการเกิดขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยชุม
ชมนอกจากประชาชากรก็คือ ลักษณะและสภาพหมู่บ้าน/ชุมชน และสังคม เช่น ชุมชนเมือง ชุมชน
ชนบท ชมุ ชนก่ึงเมืองกึง่ ชนบท สงั คมเมอื ง สังคมชนบท เปน็ ตน้
3. แนวทางนโยบายในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนระดบั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
จากการศึกษากรณีศึกษาท้ัง 6 แห่ง ซึ่งสามารถเป็นตัวแทนขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ทั่วประเทศ
ท่ีมีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนเกิดข้ึนตามขนาดท่ีกาหนดข้างต้น ควรมีจุดเน้นแนวทางนโยบายในการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยชมุ ชน ดังน้ี ขนาดเล็กเน้นการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนตั้งแต่ครวั เรือน เช่น
การลด การคัดแยก และใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยชุมชน และส่งเสริมรูปแบบกจิ กรรมขยะมูลฝอย
ชุมชน เช่น ธนาคารขยะมูลฝอย ตลาดนัดรีไซเคิล เป็นต้น และขนาดกลางและขนาดใหญ่เน้นการ
รวมกลุ่มกับองค์กรปกครองส่วนท้องอ่ืนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนหรือมอบหมายให้หน่วยงาน
อน่ื ๆ ทมี่ ศี ักยภาพดาเนนิ การเก็บขนและกาจัดขยะมูลฝอยชุมชน
4. ต้นทุนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พบว่า การ
จดั เก็บอัตราค่าธรรมเนียมในการบริหารจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชนของกรณีศึกษา ซึ่งดาเนนิ การจัดเก็บ
ตามกฎกระทรวงว่าด้วยอัตราค่าธรรมเนียมในการบริการเก็บ ขน และกาจัดส่ิงปฏิกูลหรือ มูลฝอย
และอัตราค่าธรรมเนียมอ่ืน ๆ พ.ศ. 2545 ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.
2535 และเม่ือคานวณต้นทุนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน พบว่า ต้นทุนต่อหน่วยในการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยชมุ ชนของกรณีศึกษาสูงกว่าอัตราค่าธรรมเนียมในการบรหิ ารจัดการขยะมูล
ฝอยชุมชนท่ีกฎหมายกาหนด ทาให้การจัดเก็บค่าธรรมเนียมดังกล่าวของกรณีศึกษาไม่เป็นไปตาม
ต้นทุนท่ีจะต้องจัดเก็บจริง ท้ังนี้ ยังพบว่าการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบริหารจัดการขยะ มูลฝอย
ชุมชนของกรณีศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556-2559 ยังไม่สามารถดาเนินการจัดเก็บได้ครบทุกครัวเรือน
ซ่ึงเปน็ ปัญหาท่ตี ้องไดร้ ับการแกไ้ ขอยา่ งเร่งดว่ น
จากผลการศกึ ษาขา้ งต้นมปี ัญหาที่ซ่อนอยูท่ ้ังหมด ซ่งึ สะท้อนให้เห็นว่าการบรหิ ารจัดการขยะ
มลู ฝอยชุมชนในภาพรวมของประเทศไทยยังมีปัญหาอยู่จริง ดังน้ัน ถึงเวลาแล้วที่ตอ้ งกลับมาทบทวน
อย่างจริงจังมากกว่าการมุ่งเป้าไปแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ซ่ึงมีข้อเสนอแนะจากงานวิจัยครั้งน้ี ดังน้ี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรลาดับความสาคัญของการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินควรจะเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพประชาชนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ควรมีมาตรการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอย
ชุมชนให้เป็นรูปธรรมตามหลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในระดับนโยบาย เช่น
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมและสิ่งแวดล้อม และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน
ควรจะประสานการทางานใหม้ ีเอกภาพและกาหนดมาตรการใหส้ อดคล้องกบั ปัญหาขยะมูลฝอยชุมชน
สมคิด ยอดสาร (2560) ได้ศึกษาเรอ่ื ง การบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนแบบมีส่วนร่วม
ขององค์การบริหารส่วนตาบลร่องการ อาเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) ศึกษาการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยบ้านปงพร้าว องค์การบรหิ ารส่วนตาบลร่องกาศ อาเภอสงู เม่น
จงั หวดั แพร่ และ 2) เพือ่ เสนอแนะการบรหิ ารจัดการ ขยะบา้ นปงพรา้ ว องค์การบริหารสว่ นตาบลร่อง
กาศ อาเภอสูงเมน่ จงั หวัดแพร่ เปน็ การวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการแบบมสี ่วนร่วม ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
79
ครง้ั นค้ี ือ ผู้นาชมุ ชน และประชาชนบา้ นบ่งพร้าว หมู่ 6 ในเขตพื้นที่องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลร่องกาศ
จานวน 760 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษาคร้ังน้ี ผู้ศึกษาทาการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดย
การคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากผู้มีประสบการณ์ในการทางานในพื้นท่ีที่
เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการขยะในชุมชน แบบมีส่วนรว่ ม และเป็นผูท้ ี่เต็มใจให้ความร่วมมือในการ
วิจัยครั้งนี้ จานวน 50 คน ผลการศึกษาพบว่า จากความเจริญทางด้านเศรษฐกิจของหมู่บ้านบ้านปง
พร้าว ได้ส่งผลให้ มีปริมานขยะมูลฝอยมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ที่ผ่านมาไม่มีการคัดแยกขยะ
มูลฝอย ณ แหล่งกาเนิด ปริมานขยะท่ีเข้าสู่แหล่งกาจัดขยะมูลฝอยรวมของตาบลร่องกาศมีปริมานที่
มาก ชาวบ้านบ่งพร้าวท่ีเข้าร่วมประชุมได้มีจุดมุ่งหมายเดียวกันเพื่อต้องการแก้ไขสภาพปัญหา จึง
ร่วมกัน กาหนดแผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารจดั การขยะแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเป้าหมายร่วมกัน และ
มีการรณรงค์เพ่ือปลูกจิตสานึกในการลดขยะในครัวเรือน ทาให้ปริมานขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะ
อันตราย ขยะท่ัวไป ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ของปริมานขยะที่เกิดขึ้นก่อนเร่ิมดาเนินโครงการ
ควรส่งเสริมศึกษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยบ้านปงพร้าว องค์การบริหารส่วนตาบล ร่องกาศ
อาเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดยใช้หลักการแบบมีส่วนร่วมที่ทุกฝ่ายร่วมคิด ร่วมทา ร่วมตัดสินใจและ
รับผลประโยชน์ร่วมกัน นอกจากนี้ยังใช้หลักการส่งเสริมการบริหารจัดการเป็นไป ตามวงจรวัฏจักร
เกมมิ่ง หรือ PDCA ของ Dr.Deming ที่เน้นการเผยแพร่ภูมิปัญญาแบบตะวันตก ผสมผสานกับภูมิ
ปญั ญาแบบตะวนั ออก อันเน้นการปลกู จติ สานกึ การตรวจสอบดว้ ยตนเอง ในส่วน ของการประเมินผล
ก็เน้นตามทฤษฎรี ะบบ คอื ประเมนิ ตั้งแต่ ด้านวัตถุประสงค์ กระบวนการและ ผลลัพธ์ และยังสามารถ
นารปู แบบการศกึ ษานี้ไปพฒั นาการบริหารจดั การขยะกับหนว่ ยงานอน่ื ๆ ได้
ภูมินทร์ ตุ่มไทยสาคร (2562) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการมีส่วนร่วมการจัดการขยะ
ของประชาชน ในองค์การบรหิ ารส่วนตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวดั ฉะเชิงเทรา การวิจยั ครั้ง
นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมการจัดการขยะของประชาชนของประชาชนใน
องค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อศึกษาระดับปัจจัยการมี
ส่วนร่วมการจัดการขยะของประชาชนของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอเมือง
ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เพ่ือศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการมีส่วนร่วมการจัดการขยะของ
ประชาชนในองค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เพ่ือศึกษา แนว
ทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม การมีส่วนร่วมการจัดการขยะของประชาชน ในองค์การ
บริหารส่วนตาบล อาเภอเมอื งฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยท่สี ่งผลต่อการ
มีส่วนร่วมการจัดการขยะของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด
ฉะเชิงเทรา ประกอบด้วย การซ่อมแซม (repair) การใช้ซ้า (reuse) การปฏิเสธ (refuse) อาชีพ
นักเรียน/นักศึกษา อายุระหว่าง 31 - 40 ปี และรายได้ต่ากว่า 10,000 บาท ทุกรายการสามารถ
ร่วมกันพยากรณ์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการมีส่วนร่วมการจัดการขยะของประชาชนในองค์การบริหารส่วน
ตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้อย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึง
สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด
ฉะเชิงเทรา และหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง ควรมีการส่งเสริม จากภาครัฐหรือภาคเอกชน ทั้งในการ
ประชาสัมพันธ์รณรงค์ การจัดกิจกรรม โครงการต่างๆ ที่ส่งเสริมให้ประชาชนได้เห็นถึงคุณค่า
ประโยชน์ของส่ิงของ และตะหนักถึงปัญหาเรอื่ งขยะในชมุ ชน รวมท้ังสร้างจติ สานึกในการทิ้งขยะของ
การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2
80
ประชาชน สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเสนอความคิดเห็น การวางแผน การดาเนินการ
และการตรวจสอบประเมินผลของการดาเนินงานต่างๆ ของชุมชน สร้างความรว่ มมือของคนในชุมชน
ใหม้ ีความเข้มแขง็
งานวจิ ัยในตา่ งประเทศ
Harahap (1998 : 111) ได้ทาวิจัยเร่ือง Pecycle Potentials of Solid West at Source
and Disposal Sit in Indonesia พบว่ารูปแบบการคัดแยกขยะมูลฝอยเพ่ือนาไปใช้ประโยชน์มีการ
คัดแยกเป็นทอดๆ เริ่มการคัดแยกจากแหลง่กาเนิด โดยเจ้าของเคหะสถานเป็นผู้ปฏิบัติ คัดแยกโดย
เจา้ หน้าท่ีเก็บขยะมูลฝอย และคดั แยกโดยผูข้ ุดคยุ้ (Scavenger) บริเวณท่ีเทกองท้ังหมดมีการคัดแยก
โดยไม่มีรูปแบบชัดเจน จากการแยกขยะประเภทของมลู ฝอยดังกล่าวสร้างรายได้ให้แก่ผ้ดู าเนินการใน
อัตราสูง กล่าวคือ 3,000 – 10,000 เหรียญอินโนนีเซียต่อเดือน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคัดแยกประเภท
ขยะมูลฝอยที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ออกจากขยะมูลฝอยท่ัวไป จะสามารถสร้างรายได้ให้แก่ผู้
ถือปฏิบัติได้อีกทางหน่ึง และถ้ามีการจัดรูปแบบที่ชัดเจนจะทาให้ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีสามารถ
นาไปใชป้ ระโยชน์ไดเ้ พม่ิ มากข้นึ
Darcey (1990 : 183) ได้ทาการศึกษาเร่ืองสถานการณ์ปริมาณขยะที่เพิ่มสูงข้ึน การลด
ปรมิ าณขยะและนากลบั ไปใชใ้ หม่ พบวา่ สาหรับ District of Columbia โดยพระราชบัญญตั ิเกี่ยวกับ
การคัดแยกขยะ โดยเร่ิมจากครัวเรือนแยกประเภทของขยะ ประเภทกระดาษ หนังสือพิมพ์ และเศษ
หญ้า ใบไม้ สาหรับสถานท่ีราชการและสถานที่ทางานท่ัวไป บริษัท ห้างร้าน จะต้องคัดแยกประเภท
ขยะที่ใช้งานในสานักงาน คือกระดาษ หนังสือพิมพ์ให้ออกจากกัน และในปี 1990 United State
Environment Protection Agency (EPA) ท้ังครัวเรือนและสถานท่ีทางานจะต้องแยกประเภทขยะ
ออกเป็น 3 ประเภท คอื กระดาษ ขวดแก้ว และโลหะและปี 1990 ได้ตั้งเป้าหมายในการคัดแยกขยะ
เพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ให้ได้ 25 เปอร์เซ็นต์ โดยน้าหนักจากปริมาณของขยะประเทศภายในปี
1992 จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ทาให้บ้านเมืองและรัฐต่างๆ ได้มีการรณรงค์ขยะอย่างจริงจังและมีความ
ชัดเจนจนมากขึ้น เช่น เมือง Low ได้ตั้งเป้าหมายการคัดแยกประเภทขยะให้ได้ 25 เปอร์เซ็นต์ โดย
น้าหนักของขยะทงั้ หมดภายในปี 1994 และให้ได้ 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ ในปี 2000
Hopper and Mc Carlnielesen (1991 : 195-220) ศึกษาพฤติกรรมการคัดแยกขยะ
ประเภทมูลฝอย เพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ของประชาชนในเมืองเดนเวอร์ พบว่า ประชาชนได้รับ
การสนับสนุนจากบ้านเพื่อนบ้านเก่ียวกับพฤตกรรมการแยกประเภทขยะมูลฝอยเพ่ือนากลับมาใช้
ประโยชน์เพม่ิ มากข้นึ กว่ากอ่ นไดร้ ับการสนับสนนุ จากเพอ่ื นบ้าน อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.1
Vinning and Eboireo (1992 : 1580 - 1907)ได้ศึกษาผลของโครงการแยกขยะเพื่อนา
กลับไปใช้ประโยชน์ เป็นการศึกษาระยะยาวในระหว่างปี 1986 – 1998 พบว่า โครงการแยกขยะ
ดงั กล่าวมีผลต่อการเพมิ่ พฤติกรรมขยะประเภทมูลฝอย เพือ่ นากลบั ไปใช้ประโยชนข์ องประชาชน โดย
สัดส่วนของผู้มีพฤติกรรมแยกขยะประเภทมูลฝอย เพ่ือนากลับไปใช้ประโยชน์และสัดส่วนของ
ผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มข้ึนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และมีปริมาณขยะที่แยกได้ปริมาณ
เพิ่มข้ึน นอกจากนี้ยังพบว่าโครงการมีการนาผลทาให้ทัศนคติต่อพฤติกรรมการแยกประเภทขยะมูล
ฝอย เพอื่ นากลบั ไปใช้ประโยชนเ์ พิ่มขน้ึ ด้วย
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2
81
Christensen (2014) ได้ทาการศึกษาเรื่องการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
การจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล Kasese ประเทศยูกันดา ผลการศึกษาพบว่าระบบการจัดการ
ขยะมูลฝอยยงั มีอุปสรรคหลายด้าน เช่น ขอ้ จากัดทางด้านการเงิน ขอ้ จากดั การควบคุมในการทาลาย
และระบบเทคโนโลยีที่ไม่ทันสมัย การกระตุ้นให้หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วมในการับผิดชอบ และร่วม
วางแผน กาหนดยุทธศาสตรใ์ นการหาแนวทางร่วมกันสร้างนโยบายการจัดการขยะ ทาให้ประชาชนได้
มีบทบาทในการร่วมมือกันจึงจะทาให้การจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล Kasese ประสบ
ความสาเร็จและมคี วามย่ังยนื
6.กรอบแนวคิดทีใ่ ช้วิจัย
จากการศึกษาทบทวนแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ผู้วิจัยมุ่งศึกษาการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม ซ่ึงผู้วิจัยได้กาหนดเนื้อหาการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 1) ด้านมีส่วนร่วมในการคิด 2) ด้านมีส่วน
ร่วมในการคิดวางแผน 3)ด้านมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ และ4)ด้านมีส่วนร่วมในการติดตามและ
ประเมินผล
ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม
ขอ้ มูลท่ัวไป การมสี ่วนร่วมของประชาชนต่อการบริหาร
จดั การขยะมูลฝอยในชุมชนบา้ นเกาะทองสม
1. เพศ
2. อายุ 1. ดา้ นมีสว่ นรว่ มในการคิด
3. ระดับการศึกษา 2. ดา้ นมีส่วนรว่ มในการคิดวางแผน
4. อาชีพ 3. ด้านมีส่วนร่วมในการปฏบิ ัติ
4. ดา้ นมสี ว่ นรว่ มในการติดตามและ
ประเมินผล
รูปท่ี 10 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวจิ ยั
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
บทท่ี 3
วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย
การวิจัยคร้ังน้ีเป็นเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ศึกษาเร่ืองการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง เพ่ือให้การดาเนินการ
เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไว้ ผู้ศกึ ษาไดด้ าเนนิ การดงั น้ี
1. พนื้ ทที่ ใ่ี ชใ้ นการวิจยั
2. เครื่องมือท่ใี ช้ในการวจิ ัยและการตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะหข์ ้อมลู
5. สถิตทิ ่ใี ชก้ ารวิเคราะห์ข้อมลู
1.พน้ื ทท่ี ี่ใชใ้ นการวิจัย
ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครงั้ นี้ ได้แก่ ประชากรในชุมชนบ้านเกาะทองสม จานวน
1,803 คน
กลมุ่ ตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ ประชากรในชุมชนบ้านเกาะทองสม ซึ่ง
ผู้วิจัยได้กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเทียบหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเครจซี่และมอร์แกน
(Krejcie and Morgan.1970 : 607-610) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 317 คน โดยผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่ม
ตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ตามจานวนประชากรของหมู่บ้านท้ัง 3
หมู่บ้าน จากน้ันนามาเทียบสัดส่วน และใช้การสุ่มแบบอย่างงา่ ย (Simple Random Sampling) โดย
การจบั สลาก (Sampling Without Replacement)
วธิ ีการสุ่มตวั อยา่ ง
ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ตาม
จานวนประชากรของหมู่บ้าน การเทียบสัดส่วนและการสุ่มแบบอย่างง่าย (Simple Random
Sampling) โดยการจับสลาก (Sampling Without Replacement)
การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ 82
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2
83
ตารางที่ 2 แสดงจานวนประชากรและกล่มุ ตวั อย่างชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวดั พัทลงุ
ลาดบั ท่ี หมูบ่ ้านในชุมชนบา้ นเกาะทองสม จานวนประชากร จานวนกลุ่มตัวอยา่ ง(คน)
(คน)
1 หมทู่ ี่ 1 666 117
2 หม่ทู ี่ 10 637 112
3 หมทู่ ่ี 15 500 88
รวม 1803 317
ท่มี า : รายงานประชากรประจาปี 2564 สถานพยาบาลฯ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพประจาตาบล
บ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
2.เครอื่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือ
เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจยั
เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา คร้ังน้ี คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) จานวน
1 ฉบบั แบง่ ออกเป็น 4 ตอน มีรายละเอียด ดงั นี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามท่ีเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ซ่ึงมี
รายละเอยี ด เพศ อายุ การศกึ ษา เกยี่ วกับแบบสอบถามแบบเลือกตอบ
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวดั พัทลงุ
ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารจัดขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บ้านเกาะทองสม จังหวดั พัทลงุ
สาหรบั แบบสอบถามในตอนที่ 2 และตอนท่ี 3 มีลกั ษณะเป็นคาถามชนิดมาตราส่วน
ประมาณค่า 5 ระดับ ตามแนวคิดของลิเคิร์ธ (Likert’s Five rating scale) โดยกาหนดค่าคะแนน
เป็น 5 ระดบั ซึง่ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้
ระดับ 5 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยหรือการบริหารจัดขยะแบบมีส่วนร่วม อยู่ใน
ระดับมากทส่ี ุด มีน้าหนกั เท่ากบั 5 คะแนน
ระดับ 4 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยหรือการบริหารจัดขยะแบบมีส่วนร่วม อยู่ใน
ระดับมาก มนี า้ หนักเท่ากบั 4 คะแนน
ระดับ 3 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยหรือการบริหารจัดขยะแบบมีส่วนร่วม อยู่ใน
ระดับปานกลาง มนี ้าหนกั เทา่ กบั 3 คะแนน
ระดับ 2 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยหรือการบริหารจัดขยะแบบมีส่วนร่วม อยู่ใน
ระดบั น้อย มีน้าหนกั เท่ากับ 2 คะแนน
ระดับ 1 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยหรือการบริหารจัดขยะแบบมีส่วนร่วม อยู่ใน
ระดบั นอ้ ยท่ีสดุ มนี า้ หนกั เทา่ กบั 1 คะแนน
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
84
การตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ
ในการสร้างเครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วม
ของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม ผศู้ ึกษาไดด้ าเนินการตามลาดบั ขนั้ ตอนโดยมีรายละเอียด ดังน้ี
1. ศึกษาเอกสาร ตารา หลักการแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับแนวคิด
การบรหิ ารจดั การขยะแบบมสี ว่ นรว่ ม เพ่อื นาขอ้ มลู มากาหนดขอบเขตในการสรา้ งเครื่องมอื
2. นาข้อมูลที่ศึกษามากาหนดกรอบแนวคิดของการศึกษาให้สอดคล้องกับ
จุดมุ่งหมายของการศึกษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จงั หวดั พัทลงุ
3. สร้างแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดของการศึกษาเพื่อตรวจสอบความตรงตาม
เน้ือหา (Content Validity) และดาเนินการแกไ้ ขตามแนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง
4. นาแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบแก้ไขและปรบั ปรงุ ให้ผเู้ ชี่ยวชาญจานวน 3
คน พิจารณาความสอดคล้องของเน้ือหากับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ด้วยการหาค่าดัชนีความ
สอดคล้องโดยใชเ้ ทคนคิ การวิเคราะห์ค่า IOC (Index of item Objective Congruence) โดยผลการ
วเิ คราะหค์ วามตรงเชิงเนือ้ หาของเครื่องมืออยูร่ ะหว่าง 0.67 – 1.0
5. นาแบบสอบถามท่ีปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้วไปทดลองใช้ (Try out) กับ
ประชากรในชุมชนบ้านแมข่ รี อาเภอตะโหมด จังหวดั พัทลุง จานวน 30 คน
6. นาแบบสอบถามท่ีได้มาคานวณหาความเช่ือม่ัน (Reliability) โดยพิจารณาโดย
ใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (α - Coefficient) ตามวิธีการของครอนบาค (Cronbach) โดยมีค่าเชื่อมั่น
เทา่ กบั 0.93
7. ปรับปรุงแบบบสอบถามใหส้ มบรู ณ์
8. จัดทาเครื่องมอื ฉบบั สมบูรณ์ เพื่อนาเคร่อื งมอื ไปเก็บข้อมูลจากกลมุ่ ตวั อย่าง
3.การเก็บรวบรวมข้อมูล
เพื่อให้การศึกษาในครั้งนี้บรรลุตามวัตถุประสงค์ผู้ศึกษาได้กาหนดวิธีการเก็บข้อมูลจาก
กล่มุ ตวั อย่างโดยมีข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1) คณะผู้วจิ ยั ไดข้ อหนังสือจากโรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา
ประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 เพ่ือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของชุมชนบ้าน
เกาะทองสม จังหวดั พทั ลุง
2) คณะผู้วิจยั ดาเนนิ การเกบ็ ขอ้ มูล ซงึ่ ไดส้ ่งแบบสอบถามเป็นฉบับและผ่านการใช้
google form ไปยังกลมุ่ ตัวอยา่ งของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง กาหนดภายใน 15 วนั
3) เม่อื ไดร้ ับแบบสอบถามคนื ผู้วจิ ยั ดาเนนิ การตรวจสอบความถกู ต้อง ความสมบูรณ์
ของการตอบแบบสอบถาม เพ่ือนาไปดาเนินการวิเคราะห์ทางสถิติและสรุปผลตามขั้นตอนของการ
วิจัยตอ่ ไป
การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
85
4.การวิเคราะหข์ อ้ มลู
ผู้ศึกษานาแบบสอบถามท่ีได้รับมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป และ
ดาเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมูลตามข้ันตอน ดงั น้ี
1. ตรวจนับแบบสอบถามพร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถามท่ีได้รับ
กลบั คืน
2. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยใช้
โปรแกรมสาเรจ็ รปู โดยวิเคราะหเ์ น้อื หา ดังตอ่ ไปน้ี
2.1 ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ อายุ ระดับ
การศกึ ษา อาชีพ วเิ คราะห์โดยหาคา่ ความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
2.2 ตอนที่ 2 และ ตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ระดับปัญหาขยะมูลฝอย และการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ใช้ค่าเฉลี่ยเลข
คณิต (mean : x ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation : S.D.) ผู้วิจัยนาค่าเฉลี่ยเลข
คณติ เทยี บกบั เกณฑต์ ามแนวคิดของเบสท์ (Best, 1970 : 87) ดังนี้
ค่าเฉล่ียเลขคณิต 4.50 – 5.00 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยและการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมอยู่
ในระดบั มากทสี่ ดุ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3.50 – 4.49 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยและการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมอยู่
ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2.50 – 3.49 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยและการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมอยู่
ในระดบั ปานกลาง
ค่าเฉล่ียเลขคณิต 1.50 – 2.49 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยและการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมอยู่
ในระดบั นอ้ ย
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1.00 – 1.49 หมายถึง ปัญหาขยะมูลฝอยและการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมอยู่
ในระดับน้อยท่สี ุด
2.3 ทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วน
รว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จังหวดั พัทลงุ ตามตวั แปรเพศ ด้วยการทดสอบคา่ ที (T-test)
2.4 ทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วน
ร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามตัวแปรอายุ ระดับการศึกษาและอาชีพ ด้วยการ
ทดสอบค่า F – Test (One way ANOWA) หากพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทาการเปรียบเทยี บความแตกตา่ งรายคู่ ด้วยวิธีการเชฟเฟ่ (Sheffe’s Method)
การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2
86
5.สถิตทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ในการศึกษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสม จังหวดั พทั ลุง ผู้ศกึ ษาได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ ดงั น้ี
1. สถิติทีใ่ ชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมอื การวจิ ัย
1.1 คา่ ดัชนีความสอดคลอ้ ง เพอ่ื หาความเทีย่ งตรงของเครือ่ งมือ โดยใชส้ ูตรดังนี้
IOC R
n
เม่อื IOC แทน ดชั นคี วามสอดคลอ้ งระหว่างแบบทดสอบกับ
จุดประสงค์
R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ช่ียวชาญ
n แทน จานวนผ้เู ชี่ยวชาญ
1.2 ค่ า ค ว า ม เท่ี ย ง (Reliability) โด ย วิ ธี ก า ร ห า สั ม ป ร ะ สิ ท ธิ์ อั ล ฟ า
( α - Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) โดยใชส้ ตู รดงั นี้
1− 2
= − 1 2
เม่อื α แทน สมั ประสทิ ธอ์ิ ลั ฟา
k แทน จานวนข้อคาถามหรอื ข้อสอบ
S 2 แทน ความแปรปรวนของแบบทดสอบแต่ละขอ้
i
S 2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนทัง้ ฉบบั
t
2. สถติ พิ ืน้ ฐาน ได้แก่
2.1 รอ้ ยละ (Percentage) โดยใช้สูตรดงั นี้
รอ้ ยละ % = × 100
เมอื่ X แทน จานวนขอ้ มลู (ความถ่ี) ทต่ี ้องการนามาหาค่ารอ้ ยละ
N แทน จานวนขอ้ มลู ท้งั หมด
2.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณติ (Mean) โดยใชส้ ูตรดงั น้ี
=
เมือ่ แทน จานวนข้อมูล(ความถี)่ ทีต่ อ้ งการนามาหาค่ารอ้ ยละ
แทน ผลรวมของขอ้ มลู ทงั้ หมด
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2
87
N แทน จานวนขอ้ มลู ทง้ั หมด
2.3 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) โดยใช้สตู รดงั น้ี
S. D. = x−x 2
n−1
เมือ่ S.D. แทน คา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
X แทน ข้อมูลแตล่ ะจานวน
แทน คา่ เฉลีย่ (Mean) ของข้อมูลในชดุ นั้น
n แทน จานวนข้อมลู จากกล่มุ ตวั อย่าง
3. สถิติทีใ่ ชใ้ นการทดสอบสมมุตฐิ าน
3.1. การทดสอบค่าที T - Test ทเี่ ป็นอสิ ระตอ่ กัน (Independent Sample
Test) สาหรบั เปรียบเทียบระดบั การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสม จังหวัดพัทลงุ ตามตัวแปรเพศ
3.2. การทดสอบค่าเอฟ F - Test (One Way ANOWA) สาหรบั เปรยี บเทยี บ
ระดบั การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จงั หวดั พัทลุง
ตามตัวแปรอายุ ระดับการศกึ ษา และอาชีพ หากพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทาการเปรยี บเทียบความแตกต่างรายคู่ ดว้ ยวิธกี ารเชฟเฟ่ (Sheffe’s Method)
การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2
88
บทท่ี 4
ผลการวิจยั
ในการวิจัย เรื่อง การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้าน
เกาะทองสม จังหวัดพัทลุง มีวัตุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชุมชนบ้าน
เกาะทองสม 2. เพ่ือศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสม จงั หวดั พัทลุงและ 3. เพอ่ื เปรียบเทียบการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชน
บ้านเกาะทองสมจังหวัดพัทลุง ตามตัวแปรเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ โดยการศึกษาจาก
ความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสม ปี 2564 จานวน 317 คน เก็บข้อมูลด้วย
แบบสอบถาม วิเคราะหข์ อ้ มลู และนาเสนอผลการวจิ ัยตามลาดับ ดงั น้ี
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป
ตอนที่ 2 ระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง
ตอนท่ี 3 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้าน
เกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ
ตอนที่ 4 ผลการเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของ
ชุมชนบา้ นเกาะทองสมจังหวัดพทั ลุง จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศกึ ษาและอาชีพ
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไป
ผลการศึกษาข้อมลู ท่ัวไป ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษาและอาชีพ
รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 3
ตารางท่ี 3 ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ขอ้ มูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน (คน) (n = 317)
ร้อยละ
เพศ 130
ชาย 187 41.01
หญงิ 317 58.99
100.00
รวม 59
152 18.60
อายุ 106 47.90
น้อยกว่า 30 ปี 317 33.50
อายุ 31 – 45 ปี 100.00
อายุ 46 ปี ขึน้ ไป
รวม
การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2
89
ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน (คน) รอ้ ยละ
ระดบั การศกึ ษา 177 55.80
ต่ากว่าปรญิ ญาตรี 103 32.50
37 11.70
ปริญญาตรี 317 100.00
สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี
164 51.70
รวม 56 17.70
51 16.10
อาชีพ 46 14.50
เกษตรกร 317 100.00
รบั จา้ ง
อาชพี สว่ นตวั
รับราชการ
รวม
จากตารางท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่าสว่ นใหญ่
เปน็ เพศหญงิ มากทีส่ ดุ รอ้ ยละ 58.99 เพศชาย ร้อยละ 41.01 โดยส่วนใหญ่อายุ 31 – 45 ปี รอ้ ยละ
47.90 รองลงมาอายุ 46 ปี ข้ึนไป ร้อยละ 33.50 และน้อยที่สุดอายุน้อยกว่า 30 ปี ร้อยละ 18.30
ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ ต่ากว่าปริญญาตรี ร้อยละ 55.80 ปริญญาตรีร้อยละ ร้อยละ32.50 และ
สูงกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 11.70 และส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรร้อยละ 51.70 รองลงมา
รบั จ้างรอ้ ยละ 17.70 อาชพี ส่วนตวั รอ้ ยละ 16.10 และรบั ราชการ รอ้ ยละ 14.50
ตอนที่ 2 ระดบั ปญั หาของขยะมูลฝอยของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จงั หวัดพัทลุง
ผลการศึกษาระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง
ตามความคิดของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยภาพรวมรายดา้ นและรายข้อในแต่ละด้าน แสดงไว้ในตาราง
ท่ี 4 ดงั นี้
ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชุมชนบ้าน
เกาะทองสม จงั หวัดพทั ลุง ตามความคดิ เห็นของผตู้ อบแบบสอบถาม
ระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชุมชน ความคิดเหน็
บ้านเกาะทองสม จังหวัดพทั ลุง x̅ S.D. ระดบั
1. การเน่าเหมน็ และส่งกลน่ิ รบกวนในชมุ ชน 2.09 .901 นอ้ ย
2. ภูมิทัศน์ขาดความสวยงาม 2.25 1.074 นอ้ ย
3. เปน็ แหลง่ เพาะเช้ือโรค 1.99 .928 นอ้ ย
4. เป็นแหลง่ เพาะเช้ือโรคสู่คนและสัตว์ 1.92 .846 น้อย
5. น้าจากกองขยะมูลฝอยไหลลงสู่แหล่งน้าชุมชน 1.91 .873 น้อย
ทาใหน้ า้ เน่าเสยี
การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2
90
ระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชมุ ชน ความคิดเหน็
บา้ นเกาะทองสม จังหวัดพัทลงุ x̅ S.D. ระดับ
6. การอุดตันของทอ่ ระบายน้าคูคลอง 2.04 .909 น้อย
7. ภาชนะรองรับขยะมูลฝอยไม่เพียงพอ 2.55 1.253 นอ้ ย
8. สถานทท่ี งิ้ ขยะมลู ฝอยไม่เพียงพอ 2.46 1.320 น้อย
9. ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดอันตราย เช่น หลอดไฟ 2.37 1.055 น้อย
แบตเตอร์ร่ี มดี โกน ฯลฯ
10. การบุกรกุ ทสี่ าธารณะ และทีเ่ อกชนในการท้งิ ขยะ 2.23 .998 นอ้ ย
11. ขาดความสมา่ เสมอในการเกบ็ ขนขยะของเทศบาล 2.55 1.324 นอ้ ย
12. คา่ ธรรมเนยี มในการจัดการขยะมลู ฝอย 1.86 .909 นอ้ ย
รวม 2.19 1.032 นอ้ ย
จากตารางท่ี 4 พบว่า ระดบั ปญั หาของขยะมลู ฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง
โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย (x̅ = 2.19 , S.D. = 1.032) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ขาดความ
สม่าเสมอในการเก็บขนขยะของเทศบาลซ่ึงมีค่าเฉล่ียสูงสุด อยู่ในระดับน้อย (x̅ = 2.55 , S.D. =
1.324) ค่าเฉลยี่ รองลงมาคือ ภาชนะรองรับขยะมลู ฝอยไมเ่ พียงพอ อยู่ในระดบั น้อย (x̅ = 2.55, S.D.
= 1.253) และค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ค่าธรรมเนียมในการจัดการขยะมูลฝอย อยู่ในระดับน้อย
(x̅ = 1.86, S.D. = .909)
ตอนที่ 3 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จงั หวดั พัทลุง
ผลการศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสม จงั หวดั พทั ลงุ ตามความคิดของผูต้ อบแบบสอบถาม ชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จังหวดั พัทลุง
โดยภาพรวมรายดา้ นและรายขอ้ ในแต่ละด้าน แสดงไวใ้ นตารางที่ 5 - 9 ดงั นี้
ตารางท่ี 5 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะ
มูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน
ดา้ นการมสี ่วนร่วมในการคดิ
ด้านการมสี ่วนร่วมในการคดิ ความคดิ เหน็
x̅ S.D. ระดับ
1. ท่านเข้าร่วมการประชุมประชาคมเพื่อเสนอปัญหา 3.42 .0973 ปานกลาง
และความต้องการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้าน
เกาะทองสม
การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2