The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Piyanat NiiNe Moenwong, 2021-09-13 01:11:30

การบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง

การบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

91

ด้านการมสี ่วนร่วมในการคิด ความคิดเห็น

x̅ S.D. ระดับ

2. ท่านมีส่วนร่วมวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ 3.36 1.039 ปานกลาง

ของประชาชนในชุมชนเพ่ือจัดทาโครงการ/กิจกรรม

การจัดการขยะมลู ฝอย

3. ท่านมีส่วนร่วมในการได้รับข้อมูลข่าวสารและ 3.52 1.008 มาก

เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วน

รว่ ม

4. ท่านมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน/โครงการเพ่ือ 3.56 1.031 มาก

แก้ไขปัญหาขยะมลู ฝอยท่ีเกดิ ขน้ึ ในชุมชน

5. ท่านมีส่วนร่วมในการจัดทาร่างเทศบัญญัติเทศบาล 3.41 1.083 ปานกลาง

เกีย่ วกบั การรักษาความปลอดภยั ในชมุ ชน

รวม 3.45 .852 ปานกลาง

จากตารางท่ี 5 พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
บ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการคิด

โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.45 S.D. = .852) เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า การมีส่วน
ร่วมในการวางแผนงาน/โครงการเพื่อแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในชมุ ชน มีค่าเฉล่ียสูงสุดอยู่ใน

ระดับมาก (x̅ = 3.56 S.D. = 1.031) รองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการได้รับข้อมูลข่าวสารและ

เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการขยะแบบมีสว่ นร่วม อยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.52 S.D. = 1.008)
และลาดับสุดท้ายท่านมีส่วนร่วมวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในชุมชนเพื่อจัดทา

โครงการ/กจิ กรรมการจดั การขยะมูลฝอยอยูใ่ นระดับปานกลาง (x̅ = 3.36 S.D. = 1.039)

ตารางที่ 6 ค่าเฉลยี่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดบั การมสี ่วนร่วมในการบริหารจดั การขยะมูลฝอย

ของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการ

มสี ่วนร่วมในการวางแผน

ด้านการมสี ว่ นรว่ มในการวางแผน ความคิดเหน็

x̅ S.D. ระดับ

1. ท่านมีส่วนร่วมปฏิบัตกิจกรรมของชุมชนในการ 3.62 .918 มาก

รณรงค์และรว่ มเกบ็ ขยะมูลฝอยในชมุ ชน

2. ทา่ นมสี ่วนรว่ มนาขยะมูลฝอยในครวั เรือนมาทาเป็น 3.57 .941 มาก

ปยุ๋ หมกั หรือน้าหมกั จุลินทรยี ์ชีวภาพ

3. ท่านมีส่วนคัดแยกประเภทขยะ เช่น เศษกระดาษ 3.64 .851 มาก

พลาสติก ขวดแก้ว หรือขยะมีพิษ ก่อนนาไปทิ้งลงถัง

ขยะของชมุ ชน

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

92

ดา้ นการมีส่วนร่วมในการวางแผน ความคดิ เห็น

x̅ S.D. ระดบั

4. ท่านมีส่วนร่วมใช้ถุงผ้า ป่ินโต หรือตะกร้า มาซื้อ 3.64 .873 มาก

สนิ คา้ เพอ่ื ลดการใชถ้ ุงพลาสตกิ และกล่องโฟม

5. ท่านมีส่วนร่วมเสียค่าธรรมเนียมให้แก่เทศบาลใน 3.24 1.046 ปานกลาง

การบรกิ ารจดั เก็บขยะมลู ฝอย

รวม 3.54 .926 มาก

จากตารางท่ี 6 พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
บ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผน

โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.54 S.D. = .926) เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉล่ีย
สูงสดุ ไดแ้ ก่ มีสว่ นร่วมใชถ้ ุงผ้า ป่นิ โต หรือตะกรา้ มาซ้ือสนิ ค้าเพื่อลดการใช้ถงุ พลาสติก และกล่องโฟ

มอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.64 S.D. = .873) รองลงมา ได้แก่ มีส่วนคัดแยกประเภทขยะ เช่น
เศษกระดาษ พลาสติก ขวดแก้ว หรือขยะมีพิษ ก่อนนาไปท้ิงลงถังขยะของชุมชนอยู่ในระดับมาก

(x̅ = 3.64 S.D. = .851) และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมเสียค่าธรรมเนียมให้แก่

เทศบาลในการบริการจัดเกบ็ ขยะมูลฝอย อยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.24 S.D. = 1.046)

ตารางท่ี 7 คา่ เฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับการมสี ่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การขยะมลู

ฝอยของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จังหวัดพัทลงุ ตามความคดิ เหน็ ของประชาชน ด้าน

การมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั ิ

ดา้ นการมสี ่วนร่วมในการปฏิบตั ิ ความคดิ เห็น

x̅ S.D. ระดับ

1. ท่านมีส่วนร่วมในการลดขยะมูลฝอย เช่น 3.60 .857 มาก

ขวดพลาสติก ขวดแก้ว หรือถุงพลาสติกท่ีใช้แล้วท่ีใช้

แลว้ นากลับมาใช้ใหม่

2. ท่านมีส่วนร่วมในการนาขยะมูลฝอยจากครัวเรือน 3.41 1.004 ปานกลาง

มาทง้ิ ลงถงั ขยะของเทศบาล

3. ท่านมีส่วนร่วมซ้ือผลิตภัณฑ์ชนิดเติมแบบ 3.64 .905 มาก

ถงุ พลาสติกมาใช้แทนการซอื้ ผลิตภัณฑ์แบบขวด ทาให้

ลดรายจา่ ย เชน่ น้ายาปรับผา้ นมุ่

4. ท่านมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะมูลฝอยใน 3.67 .886 มาก

ครัวเรอื น แล้วนาไปขายเพื่อเพิม่ รายได้

5. ท่านมีส่วนร่วมไม่ท้ิงขยะลงลาคลองหรือใต้ถุนบ้าน 3.73 .942 มาก

ทาให้ลาคลองสะอาด

รวม 3.61 .919 มาก

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

93

จากตารางท่ี 7 พบวา่ ระดบั การมสี ่วนร่วมในการบริหารจดั การขยะมูลฝอยของชุมชน บ้าน
เกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ โดย

ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.61 S.D. = .919) เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด

ได้แก่ การมีส่วนร่วมไม่ทิ้งขยะลงลาคลองหรือใต้ถุนบ้าน ทาให้ลาคลองสะอาดอยู่ในระดับมา (x̅ =
3.73 S.D. = .942) ค่าเฉลย่ี รองลงมา ไดแ้ ก่ การมีสว่ นรว่ มในการคัดแยกขยะมลู ฝอยในครัวเรอื น แลว้

นาไปขายเพื่อเพิ่มรายได้อยู่ในระดบั มาก (x̅ = 3.67 S.D. = .886) และขอ้ ท่มี คี ่าเฉลีย่ นอ้ ยที่สดุ ได้แก่
การมีส่วนร่วมในการนาขยะมูลฝอยจากครัวเรือนมาทิ้งลงถังขยะของเทศบาลอยู่ในระดับปานกลาง

(x̅ = 3.41 S.D. = 1.004)

ตารางท่ี 8 ค่าเฉลย่ี ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดบั การมีส่วนร่วมในการบริหารจดั การขยะมูลฝอย

ของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการ

มสี ่วนร่วมในการตดิ ตามและประเมนิ ผล

ด้านการมสี ว่ นรว่ มในการตดิ ตามและประเมนิ ผล ความคดิ เห็น

x̅ S.D. ระดบั

1. ท่านมีส่วนร่วมในการตอบแบบประเมินผลการ 3.18 .977 ปานกลาง

ปฏบิ ตั งิ านพนกั งานรกั ษาความสะอาดของเทศบาล

2. ท่านมีส่วนร่วมประเมินผล การเก็บ ขนส่ง ลาเลียง 3.19 .985 ปานกลาง

และการกาจัดขยะมลู ฝอยของรถเก็บขยะเทศบาล

3. ท่านร่วมแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะในการ 3.21 .845 ปานกลาง

จัดการขยะมูลฝอยของเทศบาล ให้เทศบาลทราบ

4. ท่านมีส่วนร่วมในการแจ้งให้เทศบาลทราบ เม่ือพบถัง 3.11 .951 ปานกลาง

ขยะของเทศบาลชารุด หรือไมเ่ พยี งพอต่อการใช้งาน

5. ท่านมีส่วนร่วมในการตรวจสอบรายได้จากการ 3.09 .959 ปานกลาง

จดั เก็บคา่ ธรรมเนียมขยะมูลฝอยของเทศบาล

รวม 3.16 .943 ปานกลาง

จากตารางท่ี 8 พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
บ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในติดตามและ

ประเมินผล โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.16 S.D. = .943) เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า
ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด ได้แก่ การร่วมแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอย

ของเทศบาล ให้เทศบาลทราบอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.21 S.D. = .845) ค่าเฉล่ียรองลงมา
ได้แก่ การมีส่วนร่วมประเมินผล การเก็บ ขนส่ง ลาเลียงและการกาจัดขยะมูลฝอยของรถเก็บขยะ

เทศบาล อยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.19 S.D. = .985) และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด ได้แก่ การมี
ส่วนร่วมในการตรวจสอบรายไดจ้ ากการจัดเกบ็ คา่ ธรรมเนียมขยะมูลฝอยของเทศบาลอยู่ในระดับปาน

กลาง (x̅ = 3.09 S.D. = .959)

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

94

ตารางท่ี 9 ค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับการมีสว่ นร่วมในการบริหารจดั การขยะ

มูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน

ในชุมชนบา้ นเกาะทองสม

การมีส่วนร่วมในการบริหารจดั การขยะมลู ฝอย ความคิดเหน็

̅ S.D. ระดับ

1. ด้านการมีสว่ นรว่ มในการคิด 3.45 .852 ปานกลาง

2. ด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผน 3.54 .926 มาก

3. ดา้ นการมีสว่ นรว่ มในการปฏิบัติ 3.61 .919 มาก

4. ด้านการมสี ว่ นร่วมในตดิ ตามและประเมนิ ผล 3.16 .943 ปานกลาง

รวม 3.44 .910 ปานกลาง

จากตารางที่ 9 พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
บ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามความคดิ เห็นของประชาชน โดยภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง (x̅
= 3.44 S.D. = .910) เมื่อพิจารณารายด้าน เรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ได้แก่ ด้าน
การมสี ่วนรว่ มในการปฏิบตั ิอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.61 S.D. = .919) รองลงมาดา้ นการมสี ่วนร่วมใน
การวางแผน อยใู่ นระดบั มาก (x̅ = 3.54 S.D. = .926) ดา้ นการมสี ่วนร่วมในการคิด อยู่ในระดับปาน
กลาง (x̅ = 3.45 S.D. = .852) และด้านการมีส่วนร่วมในติดตามและประเมินผลอยู่ในระดับปาน
กลาง (x̅ = 3.16 S.D. = .910) ตามลาดบั

ตอนที่ 4 ผลการเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสมหวดั พัทลงุ จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษาและอาชีพ

4.1 ผลการเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บ้านเกาะทองสมจังหวดั พทั ลุง จาแนกตามเพศ

ผลการทดสอบความเท่ากันของความแปรปรวนของคะแนนการบริหารจัดการขยะ
มูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ระหว่างประชากรเพศชายและ
เพศหญงิ ไมแ่ ตกต่างกัน ดังตารางท่ี 10 - 19

การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

95

ตารางท่ี 10 ผลการเปรยี บเทยี บการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ่วนรว่ มของชุมชนบ้าน
เกาะทองสมจงั หวดั พัทลงุ จาแนกตามเพศ

การบริหารจัดการขยะมูลฝอย n x̅ S.D. Levene’s test t - test
แบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้าน FP tp
เกาะทองสม

ชาย 130 3.43 .453 112.540 .000 .222 .824
หญงิ 187 3.45 .865

จากตารางที่ 10 พบว่า การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ

ทองสม จังหวัดพัทลุง เพศชาย มีค่าเฉล่ียสูงสุด (x̅ =3.45 S.D.= .453 ) รองลงมา เพศหญิง

(x̅ =3.43 S.D.=.453 ) แต่ผลการทดสอบ t - test พบว่า กลุ่มตัวอย่างประชาชนในชุมชนบ้านเกาะ
ทองสมทมี่ ีเพศตา่ งกนั มีส่วนรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสมไมแ่ ตกต่างกัน

4.2 ผลการเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสม จังหวดั พทั ลุง จาแนกตามอายุ

ตารางที่ 11 จานวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมี
ส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวดั พัทลุง จาแนกตามอายุ

อายุ n x̅ S.D.
59 3.41
นอ้ ยกวา่ 30 ปี 152 3.59 .494
อายุ 31 – 45 ปี 106 3.23 .655
อายุ 46 ปขี ึน้ ไป .865

จากตารางที่ 11 พบว่า การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสม จังหวัดพัทลุง ช่วงอายุ 31 – 45 ปี มีค่าเฉล่ียสูงสุด (x̅ =3.59 S.D.= .655 ) รองลงมา อายุ
นอ้ ยกว่า 30 ปี (x̅ =3.41 S.D.=.494 ) และสุดท้ายอายุ 46 ปขี ้นึ ไป (x̅ =3.23 S.D.=.865 )

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

96

ตารางท่ี 12 ผลการวเิ คราหค์ วามแปรปรวนเพ่อื เปรียบเทยี บการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอย
แบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จังหวดั พทั ลงุ จาแนกตามอายุ

แหล่งความ SS df MS F Sig
แปรปรวน
ระหว่างกลมุ่ 8.274 2 4.137 8.244 .000*
ภายในกลุ่ม 157.565 314 .502
รวม 165.839 316

*p < .05

จากตารางท่ี 12 พบว่า การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียโดยสถิติ ANOWA พบว่า
ประชากรท่ีมีอายุต่างกันจะมกี ารบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีส่วนรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม
จงั หวดั พัทลงุ แตกตา่ งกัน อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ .05

ตารางที่ 13 ผลความแตกต่างระหว่างค่าเฉล่ียของคะแนนการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมี
ส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง จาแนกตามอายุ ทดสอบรายคู่
ดว้ ยวธิ ี Scheffe

อายุ น้อยกวา่ 30 ปี อายุ 31 – 45 ปี อายุ 46 ปขี ้ึนไป

นอ้ ยกว่า 30 ปี

อายุ 31 – 45 ปี .363*

อายุ 46 ปขี ้นึ ไป -.363*

*p < .05

จาตารางที่ 13 พบวา่ เม่อื ทดสอบรายค่ดู ้วยวิธี Scheffe พบวา่ ประชาชนในชุมชนบา้ นเกาะ

ทองสม อายุ 31 – 45 ปี มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนมากกว่าประชาชน

ในชว่ งอายุ 46 ปีขน้ึ ไปอย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

97

4.3 ผลการเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บา้ นเกาะทองสม จังหวัดพทั ลงุ จาแนกตามระดบั การศกึ ษา

ตารางท่ี 14 จานวน คา่ เฉลี่ย สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบ
มสี ่วนร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ จาแนกตามระดับการศกึ ษา

อายุ n x̅ S.D.
177 3.45
ต่ากว่าปริญญาตรี 103 3.68 .649
ปริญญาตรี 37 2.74 .606
สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี .921

จากตารางท่ี 14 พบว่า การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสม จังหวัดพัทลุง ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x̅ =3.68 S.D.= .606 ) รองลงมา
ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี (x̅ =3.45 S.D.=.649 ) และสูงกวา่ ปริญญาตรี (x̅ =2.74 S.D.=.921 )

ตารางท่ี 15 ผลการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนเพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบ
มสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จงั หวัดพัทลุง จาแนกตามระดบั การศกึ ษา

แหล่งความ SS df MS F Sig

แปรปรวน

ระหว่างกล่มุ 23.613 2 11.806 26.066 .000*

ภายในกลมุ่ 142.226 314 .456

รวม 165.839 316

p < .05

จากตารางท่ี 15 พบว่าการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียโดยสถิติ ANOWA พบว่า

ประชากรท่ีมีระดับการศึกษาต่างกันจะมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชน

บ้านเกาะทองสม จังหวัดพทั ลุงแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

98

ตารางที่ 16 ผลความแตกตา่ งระหว่างคา่ เฉลี่ยของคะแนนการบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบ
มีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสมจังหวัดพัทลุง จาแนกตามระดับการศึกษา
ทดสอบรายคู่ด้วยวิธี Scheffe

ระดับการศกึ ษา ตา่ กว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี

ตา่ กวา่ ปริญญาตรี -.224* .706*

ปรญิ ญาตรี .224* .931*

สูงกว่าปริญญาตรี -.706* -.931*

*p < .05

จากตารางท่ี 16 พบว่า เม่ือทดสอบรายคู่ด้วยวิธี Scheffe พบว่า ประชาชนในชุมชนบ้าน

เกาะทองสมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน

มากกว่าประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี และประชาชนท่ีมี

ระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรีมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนมากกว่า

ประชาชนทมี่ รี ะดับการศกึ ษาสงู กวา่ ปริญญาโท อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05

4.4 ผลการเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บา้ นเกาะทองสมจังหวดั พทั ลงุ จาแนกตามอาชพี

ตารางที่ 17 จานวน ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมี
สว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสมจงั หวัดพัทลงุ จาแนกตามอาชีพ

อายุ n x̅ S.D.
164 3.50
เกษตรกร 56 3.52 .555
รบั จา้ ง 51 3.53 .835
อาชพี ส่วนตัว 46 2.90 .631
รบั ราชการ .956

จากตารางที่ 17 พบว่า การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสมจังหวัดพัทลุง ประชาชนที่มีอาชีพส่วนตัว มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x̅ =3.53 S.D.= .631 ) รองลงมา
อาชีพรับจ้าง (x̅ =3.52 S.D.=.835 ) อาชีพเกษตรกร (x̅ =3.50 S.D.=.555 ) และรับราชการ
(x̅ =2.90 S.D.=.956)

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

99

ตารางที่ 18 ผลการวเิ คราหค์ วามแปรปรวนเพือ่ เปรยี บเทยี บการบริหารจดั การขยะมูลฝอย
แบบมีส่วนร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสมจังหวดั พัทลงุ จาแนกตามอาชพี

แหลง่ ความ SS df MS F Sig
แปรปรวน
ระหวา่ งกลุ่ม 16.235 3 5.412 11.323 .000
ภายในกลมุ่ 149.603 313 .478
รวม 165.839 316

p < .05

จากตารางท่ี 18 พบว่าการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยสถิติ ANOWA พบว่า
ประชากรท่ีมีอาชีพต่างกันจะมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ
ทองสม จังหวัดพัทลุงแตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05

ตารางท่ี 19 ผลความแตกต่างระหวา่ งค่าเฉลี่ยของคะแนนการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบ
มสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสมจังหวัดพัทลุง จาแนกตามอาชพี ทดสอบรายคู่
ด้วยวิธี Scheffe

ระดับการศกึ ษา เกษตรกร รบั จ้าง อาชีพส่วนตวั รับราชการ

เกษตรกร .598*

รบั จา้ ง .619*

อาชีพสว่ นตวั .734*

รบั ราชการ -.598* -.619* -.734*

*p < .05

จาตารางท่ี 19 พบวา่ เมือ่ ทดสอบรายคูด่ ้วยวิธี Scheffe พบวา่ ประชาชนในชมุ ชนบา้ นเกาะ

ทองสมท่ีมีอาชีพเกษตรกร รับจ้างและอาชีพส่วนตัวมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใน

ชมุ ชนมากกวา่ ประชาชนทม่ี อี าชีพรบั ราชการ อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05

การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

บทท่ี 5

สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

งานวิจัยเร่ืองน้ีมีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ 1) เพ่ือศึกษาระดับปัญหาของขยะมูลฝอย
ของชุมชนบ้านเกาะทองสม 2) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง 3) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมี
สว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ตามตวั แปรเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ

ตัวแปรที่ศึกษา แบ่งเป็น 1) ตัวแปรต้น ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาขีพ
2) ตวั แปรตาม คือ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม ประกอบด้วย
4 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านมีส่วนร่วมในการคิด ด้านมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน ด้านมีส่วนร่วมใน
การปฏิบัติ และด้านมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล พื้นท่ีศึกษา คือ ชุมชนบ้านเกาะทองสม
ประกอบด้วย 3 หมูบ่ า้ น คอื หมูท่ ่ี 1 หมูท่ ี่ 10 และหมทู่ ่ี 15

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุงจานวน 3
หมู่บ้าน มีทั้งหมด 1,803 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเทียบหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเครจซ่ีและมอร์
แกนได้กล่มุ ตวั อย่างจานวน 317 คน โดยผู้วจิ ัยใช้วธิ กี ารสุ่มตัวอยา่ งแบบแบ่งชั้นตามขนาดของหมบู่ า้ น
จากน้นั นามาเทยี บสัดส่วน และใชก้ ารสุ่มแบบอย่างงา่ ย โดยการจับสลาก

เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของ
ผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ เป็นแบบสอบถามปลายปิด
ชนิดตรวจสอบรายการ (Check-list) ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นระดับปัญหาของขยะ
มลู ฝอยของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม เปน็ คาถามปลายปิดชนดิ มาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั (Rating
Scale) คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด ตอนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น
การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง เป็นคาถาม
ปลายปิดชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย
และน้อยท่ีสุด โดยมีการตรวจสอบค่าความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาด้วยค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC โดย
ผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน และตรวจสอบค่าความเช่ือมม่ันของแบบสอบถามโดยการวิเคราะห์
คา่ สมั ประสทิ ธิแ์ อลฟา่ ของครอนบาค ซึง่ มคี า่ ความเชอ่ื ม่ันเทา่ กับ 0.93

การเก็บรวบรวมข้อมูล สาหรับงานวิจัยน้ีทาการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณกับกลุ่มกลุ่มตัวอย่าง
ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมจานวน 317 คน โดยส่งแบบสอบถามเป็นฉบับและผ่านการใช้
google form ไปยังกลุ่มตัวอย่างของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม จังหวดั พัทลงุ กาหนดภายใน 15 วัน ใน
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งเป็น 1) สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่
(Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) 2) สถิติเชิงอนุมาน สาหรับการทดสอบสมมติฐานการวิจัย ประกอบด้วย การวิเคราะห์

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลุง 100
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

101

ความแตกต่างของค่าเฉล่ียโดยใช้สถิติ T- Test การวิเคราะห์แปรปรวนทางเดียว (One –way
Anowa) โดยใช้สถติ ิ F-Test และการเปรยี บเทยี บคา่ เฉล่ียรายคดู่ ว้ ยค่าสถิติของเชฟเฟ่ (Scheffe)

สรปุ ผลการวจิ ัย

การวิจัยเร่ือง การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จงั หวัดพทั ลุง ผลการวิจัยสรุปได้ ดังน้ี

1. จานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 317 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 58.99 และ
ส่วนใหญ่มีช่วงอายุ 31 – 45 ปี ร้อยละ 47.90 และมีระดับการศึกษาส่วนใหญ่ต่ากว่าปริญญาตรี
ร้อยละ 55.80 และส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรร้อยละ 51.70 รองลงมาอาชีพรับจ้างร้อยละ
17.70 อาชพี สว่ นตวั ร้อยละ 16.10 และอาชพี รบั ราชการ รอ้ ยละ 14.50

2. ระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดับนอ้ ย เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ขาดความสมา่ เสมอในการเก็บขนขยะของเทศบาลซ่งึ มีค่าเฉลี่ย
สูงสุด อยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ยรองลงมาคือ ภาชนะรองรับขยะมูลฝอยไม่เพียงพอ อยู่ในระดับน้อย
และค่าเฉลีย่ นอ้ ยที่สดุ คือ คา่ ธรรมเนยี มในการจัดการขยะมูลฝอย อยใู่ นระดบั นอ้ ย

3. ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัด
พทั ลงุ ตามความคดิ เห็นของประชาชน โดยภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง เรียงลาดับคา่ เฉล่ียจากมาก
ไปหาน้อยไดด้ งั น้ี ได้แก่ ดา้ นการมีส่วนรว่ มในการปฏิบตั อิ ยู่ในระดบั มาก รองลงมาด้านการมีสว่ นรว่ ม
ในการวางแผน อยู่ในระดับมาก ด้านการมีส่วนร่วมในการคิด อยู่ในระดับปานกลาง และด้านการมี
ส่วนรว่ มในติดตามและประเมินผลอยใู่ นระดบั ปานกลาง ตามลาดับ

3.1 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการคิด โดยภาพรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า การมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน/โครงการเพื่อแก้ไขปัญหา
ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน มีค่าเฉล่ียสูงสุดอยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการ
ได้รับข้อมูลข่าวสารและเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม อยู่ในระดับมาก
และลาดับสุดท้ายมีส่วนร่วมวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในชุมชนเพื่อจัดทา
โครงการ/กจิ กรรมการจดั การขยะมูลฝอยอย่ใู นระดับปานกลาง

3.2 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผน โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด ได้แก่ มีส่วนร่วมใช้ถุงผ้า ปิ่นโต หรือ
ตะกร้า มาซ้ือสินค้าเพ่ือลดการใช้ถุงพลาสติก และกล่องโฟมอยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ มีส่วน
คดั แยกประเภทขยะ เชน่ เศษกระดาษ พลาสติก ขวดแก้ว หรือขยะมีพิษ ก่อนนาไปท้ิงลงถงั ขยะของ
ชุมชนอยู่ในระดับมาก และข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมเสียค่าธรรมเนียมให้แก่
เทศบาลในการบรกิ ารจดั เก็บขยะมูลฝอย อยู่ในระดบั ปานกลาง

3.3 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ โดยภาพรวมอยู่ใน

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

102

ระดับ เมอ่ื พิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีคา่ เฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมไม่ท้งิ ขยะลงลาคลองหรือ
ใต้ถุนบ้าน ทาให้ลาคลองสะอาดอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยรองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการ
คัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน แล้วนาไปขายเพ่ือเพิ่มรายได้อยู่ในระดับมาก และข้อทีม่ ีค่าเฉล่ยี น้อย
ท่ีสุด ได้แก่การมีส่วนร่วมในการนาขยะมูลฝอยจากครัวเรือนมาท้ิงลงถังขยะของเทศบาลอยู่ในระดับ
ปานกลาง

3.4 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในติดตามและประเมินผล โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่าข้อท่ีมีการเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การร่วมแสดง
ความคิดเห็นหรือเสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาล ให้เทศบาลทราบอยู่ในระดับ
ปานกลาง ค่าเฉล่ียรองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมประเมินผล การเก็บ ขนส่ง ลาเลียงและการกาจัด
ขยะมูลฝอยของรถเก็บขยะเทศบาล อยู่ในระดับปานกลาง และข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ การมี
ส่วนร่วมในการตรวจสอบรายได้จากการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยของเทศบาลอยู่ในระดับ
ปานกลาง

4. ผลการเปรียบเทียบด้วยคา่ เฉลี่ยการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนรว่ มของชุมชน
บา้ นเกาะทองสม จังหวัดพทั ลุง

4.1 จาแนกตามเพศ พบว่า การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บา้ นเกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ เพศชาย มคี ่าเฉลี่ยสงู สดุ รองลงมา เพศหญิง

4.2 จาแนกตามอายุ พบว่า การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ช่วงอายุ 31 – 45 ปี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา อายุน้อยกว่า 30 ปี
และสุดทา้ ยอายุ 46 ปขี ้ึนไป

4.3 จาแนกตามระดับการศึกษา พบว่า การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วม
ของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีค่าเฉล่ียสูงสุด รองลงมา
ตา่ กว่าปริญญาตรี และสูงกว่าปรญิ ญาตรี

4.4 จาแนกตามอาชีพ พบว่า การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บา้ นเกาะทองสม จังหวัดพทั ลุง อาชีพสว่ นตวั มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา อาชพี รับจ้าง อาชีพเกษตรกร
และรบั ราชการ ตามลาดับ

5. ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนเพ่ือเปรียบเทียบการบริหารจัดการขยะมูลฝอย แบบมี
สว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม จงั หวัดพัทลงุ จาแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษาและเพศ

5.1 ประชากรท่ีมีเพศต่างกันจะมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของ
ชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จังหวดั พทั ลงุ ไม่แตกตา่ งกัน

5.2 ประชากรท่ีมีอายุต่างกันจะมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของ
ชุมชนบ้านเกาะทองสมจังหวัดพัทลุงแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่
ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสม อายุ 31 – 45 ปี มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใน
ชุมชนมากกวา่ ประชาชนในช่วงอายุ 46 ปีข้ึนไปอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05

5.3 ประชากรท่ีมรี ะดับการศึกษาต่างกันจะมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ น
ร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม จงั หวดั พัทลงุ แตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 โดยท่ี

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

103

ประชาชนในชุมชนบา้ นเกาะทองสมทมี่ ีระดบั การศึกษาปริญญาตรีมีสว่ นรว่ มในการบริหารจัดการขยะ
มูลฝอยในชุมชนมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี และ
ประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรีมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
มากกวา่ ประชาชนทมี่ รี ะดบั การศึกษาสูงกวา่ ปริญญาโท อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .05

5.4 ประชากรที่มีอาชีพต่างกันจะมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของ
ชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุงแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่
ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมที่มีอาชีพเกษตรกร รับจ้างและอาชีพส่วนตัวมีส่วนร่วมในการ
บรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนมากกวา่ ประชาชนท่ีมีอาชีพรบั ราชการ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิที่
ระดบั .05

อภปิ รายผล
จากผลการวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะ

ทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ ผู้วิจยั พบประเดน็ ทนี่ า่ สนใจและนามาอภิปรายผลดังน้ี
1. ระดับปัญหาของขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัดพัทลุง โดยภาพรวมอยู่ใน

ระดับน้อย เมื่อพิจารณารายข้อ พบวา่ ขาดความสม่าเสมอในการเก็บขนขยะของเทศบาลซ่งึ มีค่าเฉลี่ย
สูงสุด อยู่ในระดับน้อย ค่าเฉล่ียรองลงมาคือ ภาชนะรองรับขยะมูลฝอยไม่เพียงพอ อยู่ในระดับน้อย
และค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด คือ ค่าธรรมเนียมในการจัดการขยะมูลฝอย อยู่ในระดับน้อย ผลการวิจัย
ออกมาเช่นนี้อาจเป็นเพราะว่า ประชาชนส่วนใหญ่พบเห็นอยู่บ่อยๆ ในเร่ืองของรถขนขยะของ
หน่วยงานที่รับผิดชอบมาเก็บไมส่ ม่าเสมอ และพบว่ามีการทิ้งขยะไว้เป็นเวลาหลายวัน กองรวมไว้โดย
ไม่ได้ใส่ในถงั ขยะ เหตุผลประการหนึง่ จากข้อมูลท่ีได้รบั คอื ถังขยะมีไม่เพียงพอ ดังน้นั ควรมกี ารออกมา
เก็บอย่างสม่าเสมอ ผู้บริหารองค์ท่ีรับผิดชอบต้องติดตาม ตรวจสอบอย่างสม่าเสมอ ด้วยตนเองหรือ
การมอบหมาย สาหรับปัญหาเรื่องค่าธรรมเนียมเก็บขยะประชาชนให้ความเห็นว่า มีปัญหาน้อยหรือ
แทบไมม่ ีปัญหา สอดคล้องกบั แนวคดิ ของยุพนิ ระพิพันธ์ุ (2554 : 24-26) ได้กล่าวถึง แนวคิดเกี่ยวกับ
การจัดการขยะมูลฝอย คือ หลักการในการดาเนินการเก่ียวข้องกับการควบคุม การท้ิง การเก็บ
ชวั่ คราว การรวบรวม การขนถ่ายและการขนส่ง การแปลงรปู และการกาจัดขยะมูลฝอย โดยคานึงถึง
ผลประโยชน์สูงสุดในทางสุขอนามัย ความสวย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และที่สาคัญท่ีสุดคือ
การยอมรับของสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงต้องอาศัยปัจจัยหลายด้าน
แต่ด้านท่ีประชาชนเห็นว่าจาเป็นคือ ความสม่าเสมอในการเก็บและปริมาณถังขยะ สาคัญที่สุด
สอดคล้องผลการวิจัยของวรชาติ หลอเต่า (2557) ได้ศึกษาเร่ืองการมีส่วนร่วมในการกาจัดขยะมูล
ฝอยของประชาชนในตาบลแม่ใส อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา ซึ่งพบว่า ปัญหาของขยะมูลฝอยคือ
ชุมชนไม่มีท่ีทิ้งขยะ ไม่มีรถจัดเก็บขยะ และสอดคล้องกับงานวิจัยของชัยสิทธิ์ บูญโยธา (2558) ได้
ศึกษาเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขต องค์การบริหารส่วน
ตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ พบว่า ปัญหาถังรองรับขยะไม่เพียงพอ ปัญหาพ้ืนท่ี
รองรบั ขยะมูลฝอยมีจากัด เชน่ เดยี วกัน

2. ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม จังหวัด
พทั ลงุ ตามความคดิ เห็นของประชาชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เรยี งลาดับค่าเฉลี่ยจากมาก

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

104

ไปหาน้อยได้ดังน้ี ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก รองลงมาด้านการมี
ส่วนร่วมในการวางแผน อยใู่ นระดับมาก ด้านการมีส่วนร่วมในการคิด อย่ใู นระดบั ปานกลาง และด้าน
การมีส่วนร่วมในติดตามและประเมินผล อยู่ในระดับปานกลาง ตามลาดับ ผลการวิจัยออกมาเช่นน้ี
อาจเป็นเพราะว่า ประชาชนส่วนใหญ่ได้ถูกหน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น
ขอความช่วยเหลือในการกาจัดขยะ รณรงค์การกาจัดในเทศกาล หรือวันสาคัญต่าง ๆ จึงมีความ
คิดเห็นว่าเรื่องการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติมากกว่าดา้ นอื่น ๆ ทั้งน้ีเพราะประชาชนต่างมีสว่ นในการ
ชว่ ยเหลือกิจกรรมของชุมชน ด้วยจิตสานึกสาธารณะ ด้วยจิตสานึกของความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน
ส่วนการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมิน ประชาชนแทบจะไม่มีเวลาหรือเข้าไปตรวจสอบหรือ
ประเมิน ติดตามปญั หาของขยะ หรือผลกระทบอย่างเปน็ ทางการจึงไมม่ คี วามรู้และการร่วมมือในเรอื่ ง
น้ี สอดคล้องกับแนวคิดของเฝาซี บิลโอ. (2554 : 10 – 11) ที่สรุปว่า การมีส่วนร่วมของบุคคลใน
ชมุ ชนในการปฏิบัตติ ามนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม ให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ และกาหนด
กิจกรรมที่ตนเองต้องการปฏิบัติในระดับท่ีเหมาะสม บุคคลจะต้องมีโอกาสและมีความเป็นไปได้ที่จะ
จดั การด้วยตนเอง และประชุม สุวัติถี. (2551) สรปุ ว่าคนในองคก์ าร ชมุ ชน และท้องถน่ิ มคี วามสนใจ
ทจ่ี ะแสดงออกถึงความรบั ผิดชอบ ความดีงาม ความเสยี สละตอ่ สังคม ในการเข้าไปมสี ว่ นร่วมในชุมชน
นั้นๆ ในการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน เพื่อสร้างสรรค์สังคม เพื่อประโยชน์ของสังคม และสอดคล้อง
กับงานวิจัยของชัยสิทธ์ิ บูญโยธา (2558) ได้ศึกษาเร่ืองการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิโดย
ภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง โดยท่ีด้านการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและประเมินผล คือ ไมม่ ีการ
ตรวจสอบและประเมินปริมาณขยะ การคัดแยกขยะมูลฝอย การตรวจสอบและประเมินผลกระทบ
ของขยะมูลฝอยต่อชุมชน ต่อสขุ ภาพและส่ิงแวดลอ้ มเช่นกัน และสอดคล้องกับ Christensen (2014)
ทีไ่ ด้ทาการศกึ ษาเรื่องการพัฒนาการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล
Kasese ประเทศยูกันดา การกระตุ้นให้หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วมในการับผิดชอบ และร่วมวางแผน
กาหนดยุทธศาสตร์ในการหาแนวทางร่วมกันสร้างนโยบายการจัดการขยะ ทาให้ประชาชนได้มี
บทบาทในการร่วมมือกันจึงจะทาให้การจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล Kasese ประสบ
ความสาเร็จและมีความยั่งยืน

2.1 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการคิด โดยภาพรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า การมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน/โครงการเพ่ือแก้ไขปัญหา
ขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้นในชุมชน มีค่าเฉล่ียสูงสุดอยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการ
ได้รับข้อมูลข่าวสารและเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม อยู่ในระดับมาก
และลาดับสุดท้าย คือ การมีส่วนร่วมวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในชุมชนเพ่ือ
จัดทาโครงการ/กิจกรรมการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับปานกลาง ผลวิจัยด้านการมีส่วนร่วมใน
การคิด พบว่า การมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน/โครงการเพ่ือแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นใน
ชุมชน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับมาก อาจเป็นเพราะว่าในปัจจุบันมีหน่วยงานปกครองส่วนท้องถ่ิน
เขา้ มาทาหน้าที่ ในการกาหนดนโยบายด้านการกาจัดขยะ มีการจัดทาแผนพัฒนาชุมชน เปิดโอกาสให้
ทุกคนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการคิด รเิ ร่มิ การพิจารณาตัดสินใจ การร่วมปฏิบัติและร่วมรับผดิ ชอบ

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

105

ในเรื่องน้ีซึ่งมีผลกระทบถึงตัวประชาชนเอง สอดคล้องกับแนวคิดของจินตวีร์ เกษมศุข. (2557 : 1 -
4) ได้สรุปด้านการมีส่วนร่วมในการคิดว่า หมายถึงการมีส่วนร่วมท่ีเป็นการเปิดโอกาสให้ทุกคนใน
ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการคิด ริเร่ิม การพิจารณาตัดสินใจ การร่วมปฏิบัติและร่วมรับผิดชอบในเร่ือง
ตา่ ง ๆ อันมีผลกระทบถึงตัวประชาชนเอง เป็นการร่วมมือของประชาชน ไม่ว่าปัจเจกบุคคลหรือกลุ่ม
คนท่ีเห็นพ้องต้องกันและเข้ามาร่วมรับผิดชอบเพื่อดาเนินการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางท่ี
ต้องการ กระทาผ่านกลุ่มหรือองค์การ เพื่อให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงท่ีพึงประสงค์ และได้มีส่วน
ช่วยเหลือระหว่างกัน และสอดคล้องกับผลการวิจัยของสมคิด ยอดสาร (2560) ได้ศึกษาเร่ืองการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนแบบมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลร่องการ อาเภอ
สูงเม่น จังหวัดแพร่ พบว่าการแก้ปัญหาขยะให้ลดน้อยลงต้องใช้หลักการจัดการแบบมีส่วนร่วมที่ทุก
ฝา่ ยร่วมคิด ร่วมทา ร่วมตดั สนิ ใจและรับผลประโยชนร์ ว่ มกัน

2.2 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผน โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด ได้แก่ มีส่วนร่วมใช้ถุงผ้า ปิ่นโต หรือ
ตะกร้า มาซ้ือสินค้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก และกล่องโฟมอยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ มีส่วน
คัดแยกประเภทขยะ เชน่ เศษกระดาษ พลาสติก ขวดแก้ว หรือขยะมีพิษ ก่อนนาไปทิ้งลงถังขยะของ
ชุมชนอยู่ในระดับมาก และข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมเสียค่าธรรมเนียมให้แก่
เทศบาลในการบริการจัดเก็บขยะมูลฝอย อยู่ในระดับปานกลาง ผลวิจัยด้านการมีส่วนร่วมในการ
วางแผน พบว่า มีส่วนร่วมใช้ถุงผ้า ปิ่นโต หรือตะกร้า มาซ้ือสินค้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก และ
กล่องโฟมอยู่ในระดับมาก ผลวิจัยออกมาเช่นนี้แสดงให้เห็นว่า ประชาชนเริ่มเห็นความสาคัญกับการ
ลดปัญหาขยะมูลฝอยท่ีเป็นมลภาวะ โดยหันมาให้ความสาคัญกับการใช้ใช้ถุงผ้า ปิ่นโต หรือตะกร้า
มาซ้ือสินค้าแทนการใช้ถุงพลาสติก และกล่องโฟม ซ่ึงส่งผลกระทบมากมายต่อตนเองและส่วนรวม
เช่น สารจากพลาสติกและโฟม มีผลต่อร่างกายและมีผลต่อพื้นดินและบรรยากาศ สอดคล้องกับ
แนวคิดของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2552) ได้เสนอแนวคิดเก่ียวกับการ
จัดการขยะมูลฝอย การวางแผนจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ประการหน่ึงคือ การ
หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุท่ีก่อให้เกิดมลพิษ โดยการหลีกเล่ียงการใช้วัสดุที่ทาลายยาก หรือวัสดุท่ีใช้คร้ัง
เดียวแล้วท้ิง เช่น โฟม ปฏิเสธการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีย่อยสลายยาก หลีกเลี่ยงการใช้ท่ีผิดวัตถุประสงค์
สอดคล้องกับผลการวิจัยของภูมินทร์ ตุ่มไทยสาคร (2562) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการมีส่วน
ร่วมการจัดการขยะของประชาชน ในองค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด
ฉะเชิงเทรา พบว่าปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อการมีสว่ นร่วมการจัดการขยะของประชาชนในองค์การบริหารส่วน
ตาบล อาเภอเมืองฉะเชงิ เทรา จังหวัดฉะเชงิ เทรา ประกอบด้วย การปฏเิ สธ (refuse) เช่นกัน

2.3 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดบั เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีคา่ เฉลยี่ สูงสุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมไม่ทง้ิ ขยะลงลาคลองหรือ
ใต้ถุนบ้าน ทาให้ลาคลองสะอาด อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยรองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการ
คดั แยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน แล้วนาไปขายเพื่อเพ่ิมรายได้อยู่ในระดับมาก และข้อท่มี ีค่าเฉลย่ี น้อย
ที่สดุ ไดแ้ ก่ การมีส่วนร่วมในการนาขยะมูลฝอยจากครัวเรอื นมาทิ้งลงถังขยะของเทศบาลอยู่ในระดับ

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

106

ปานกลาง ผลการวิจัยด้านการมีส่วนร่วมในการปฏบิ ัติ พบวา่ การมสี ่วนรว่ มไม่ท้ิงขยะลงลาคลองหรือ
ใต้ถุนบ้าน ทาให้ลาคลองสะอาด อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียสูงสุด แสดงให้เห็นว่า ประชาชนไม่เห็น
ดว้ ยกบั การทิ้งขยะลงแหล่งน้า แม่น้าลาคลองคงเป็นเพราะว่าลาคลองเป็นที่อยู่อาศัยของสัตวน์ ้า และ
พืชพันธุ์นานาชนดิ ทม่ี ีประโยชนต์ ่อมนษุ ย์ และน้าจาเป็นตอ่ การบริโภค อุปโภค ส่วนการทิ้งขยะใตถ้ ุน
บ้านก็จะมีผลต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุยุง แหล่งเพาะพันธุ์เชือ้ โรคท่ีส่งผลกระทบต่อชีวิต สอดคล้อง
กับแนวคิดของเทศบาลเมืองทุ่งสง (2551 : 1-3) ได้ระบุถึงผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อส่ิงแวดล้อม
และสุขภาพไว้ว่า หากใช้วิธีกาจัดท่ีไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา เช่น 1) มลพิษ
ทางน้า น้าเสีย ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้ใช้น้าและส่ิงมีชีวิตที่อาศัยในแหล่งน้า น้าที่สกปรกมากหรือมี
สารพิษเจือปนอยู่ก็อาจทาให้สัตว์น้าตายในเวลาอันสั้น นอกจากน้ันสิ่งสกปรกต่าง ๆ ท่ีเจือปนในน้าก็
จะส่งผลต่อระบบนิเวศน์ของน้าทาให้สัตว์น้าท่ีมีค่าบางชนิดสูญพันธุ์ไป นอกจากน้ีน้าท่ีมีส่ิงสกปรก
เจอื ปนย่อมไมเ่ หมาะแก่การอุปโภค บรโิ ภค แม้จะนาไปปรับปรุงคุณภาพแล้วก็ตาม เช่น การทาระบบ
น้าประปา ซ่ึงก็ต้องส้ินเปลืองค่าใช้จ่ายในกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ามากข้ึน 2) เป็นแหล่ง
เพาะพันธ์ุของเช้ือโรคและแมลง เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สาคัญของเช้ือโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซ่ึง
เปน็ พาหนะนาโรคมาสคู่ น 3) การเสยี่ งตอ่ สุขภาพ และ 4) ทาให้ขาดความสง่างาม เป็นต้น

2.4 ระดับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวัดพัทลุง ตามความคิดเห็นของประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่าข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด ได้แก่ การร่วมแสดง
ความคิดเห็นหรือเสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลให้เทศบาลทราบ อยู่ในระดับ
ปานกลาง ค่าเฉลี่ยรองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมประเมินผล การเก็บ ขนส่ง ลาเลียงและการกาจัด
ขยะมูลฝอยของรถเก็บขยะเทศบาล อยู่ในระดับปานกลาง และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด ได้แก่ การมี
ส่วนร่วมในการตรวจสอบรายได้จากการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยของเทศบาลอยู่ในระดับ
ปานกลาง ผลการวิจยั ด้านการมีส่วนร่วมในตดิ ตามและประเมินผล พบว่า การร่วมแสดงความคิดเห็น
หรือเสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลให้เทศบาลทราบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ท้ังน้ีอาจเป็น
เพราะวา่ เมื่อมีเรอื่ งราวทเ่ี ก่ียวกับปัญหาขยะมูลในชมุ ชน ประชาชนยอ่ มตอ้ งการเสนอแนะแนวทางใน
การแก้ปัญหา อันเนื่องมาจากปัญหาขยะเกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเขาเอง ก่อนท่ีปัญหาจะ
ลุกลามรุนแรงข้ึน ดังที่ ปิยภัทร สายนารา (2552 : 36) ได้กลา่ ววา่ การกาจัดขยะมลู ฝอยโดยคานึงถึง
ผลประโยชน์สูงสุดในทางสุขภาพอนามัย ความสวยงาม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และท่ีสาคัญจะต้อง
เป็นท่ยี อมรับของสงั คม ในการจัดการขยะมลู ฝอยอย่างมีประสิทธภิ าพจะต้องอาศัยปจั จัยในหลายด้าน
ประกอบกันได้แก่ ความรู้ในเรื่องขยะมูลฝอย การบริการ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การประสานความ
ร่วมมือทั้งของหน่วยงานราชการและประชาชน และการดาเนินการในการกาจัดขยะมูลฝอยอย่าง
เหมาะสม สอดคล้องกับงานวิจัยของชัยสิทธิ์ บูญโยธา (2558) ได้ศึกษาเร่ืองการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขต องค์การบริหารสว่ นตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ
จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งได้ให้ข้อเสนอแนะ ไว้ว่า 1) ควรส่งเสริมให้ประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการ
จดั การขยะมูลฝอย เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีเวทีนาเสนอปัญหาเพื่อให้เสนอแนะแนวทางการแก้ไข
ปัญหา และรับทราบนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่ชัดเจน 2) ควรมีการจัดเวทีประชุม

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

107

ประชาคมในชุมชนในหัวข้อการบริหารจัดการขยะให้มากขึ้น 3) ควรมีการแต่งต้ังคณะทางานโดย
ประชาชนมีส่วนรว่ มในการติดตามผลและประเมินผลในการจดั การขยะมลู ฝอย เป็นต้น

3. ผลการเปรยี บเทียบการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จังหวดั พัทลุง พบว่า การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ่วนร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม จังหวัด
พัทลุง มีค่าเฉล่ียสูงสุด เพศชาย อยู่ในช่วงอายุ 31 – 45 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี และอาชีพ
สว่ นตัว ทง้ั น้ีอาจจะเป็นเพราะว่า ผู้ชายมสี ภาพร่างกาย ที่เหมาะต่อการทากจิ กรรมด้านการกาจดั ขยะ
หรือเป็นงานที่ต้องใชพ้ ละกาลัง และมผี ลต่อร่างกาย หากสภาพร่างกายไม่สมบรู ณ์พอ อาจเป็นปัญหา
ต่อสุขภาพ ช่วงอายุที่สมบูรณ์ท้ังทางสมอง ร่างกาย และจิตใจ จะอยู่ในอายุ 31 – 45 ปี ผู้ท่ีจบ
การศึกษาระดับปริญญาตรีมีตาแหน่งหน้าที่ในระดับท้องถิ่นมากกว่าระดับอื่น และอาชีพท่ีมีเวลา
พอท่จี ะสามารถกาหนดเวลาเองไดด้ กี ว่าก็ควรเปน็ อาชีพส่วนตัว สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของประชมุ สวุ ัติ
ถี. (2551) ได้กล่าวถึงลักษณะเงื่อนไขพ้ืนฐานของการมีส่วนร่วมของบุคคล เกิดจากพื้นฐาน 4
ประการ คอื 1) เปน็ บุคคลที่จะต้องมีความสามารถที่จะเขา้ รว่ ม กลา่ วคือ จะตอ้ งเป็นผู้มศี ักยภาพท่ีจะ
เข้าร่วมในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ เช่น จะต้องมีความสามารถในการค้นหาความต้องการวาง
แผนการบรหิ ารจัดการ การบรกิ ารองค์กรตลอดจนการใชท้ รพั ยากรอยา่ งค้มุ ค่า 2) เปน็ บคุ คลที่มคี วาม
พร้อมที่เข้ามามีส่วนร่วม กล่าวคือผู้น้ันจะต้องมีสภาพทางเศรษฐกิจวัฒนธรรม และกายภาพที่เปิด
โอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมได้ 3) เป็นบุคคลท่ีมีความประสงค์จะเข้าร่วม กล่าวคือ เป็นผู้ที่มีความเต็ม
ใจสมัครใจที่จะเข้าร่วมเล็งเห็นผลประโยชน์ของการเข้าร่วม จะต้องไม่เป็นการบังคับหรือผลักดันให้
เข้าร่วม โดยที่ตนเองไม่ประสงค์จะเข้าร่วม และ 4) เป็นบุคคลที่ต้องมีความเป็นไปได้ที่จะเข้าร่วม
กล่าวคือ เป็นผู้มีโอกาสท่ีจะเข้าร่วมซึ่งถือว่าเป็นการกระจายอานาจให้กับบุคคลในการตัดสินใจ และ
กาหนดกิจกรรมท่ีตนเองต้องการในระดับท่ีเหมาะสม บุคคลจะต้องมีโอกาสและมีความเป็นไปได้ท่ีจะ
จัดการด้วยตนเอง

3.1 ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมท่ีมีเพศต่างกันจะมีการบริหารจัดการขยะ
มูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสมไม่แตกต่างกัน สอดคล้องกับงานวิจัยของ ชัยวัฒน์
ถาวรวัฒนายงค์ (2546) ศึกษาปัจจัยที่เก่ียวขอ้ งกับความคิดเห็นของประชาชนการบริหารจัดการขยะ
มูลฝอยในชุมชนเทศบาลเมืองแสนสุข อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี อาชีพ การรับรู้ ข่าวสาร
ระยะเวลาในการต้ังถ่ินฐาน ในการใช้ประโยชน์ของอาคารบ้านเรือน มีผลต่อความคิดเห็นของ
ประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ในขณะที่ปัจจัยด้านอายุ เพศ ไม่มีผลตอ่ ความคิดเห็นของ
ประชาชน ต่อการบริหารจดั การขยะมูลฝอย

3.2 ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมท่ีมีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพต่างกันจะมี
การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จังหวัด
พัทลุงแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยที่ประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสม
อายุ 31-45 ปี มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนมากกว่าประชาชนในช่วงอายุ 46
ปีข้ึนไป และประชาชนในชุมชนบ้านเกาะทองสมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีมีส่วนร่วมในการ
บรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนมากกว่าประชาชนทมี่ ีระดบั การศึกษาตา่ กว่าปรญิ ญาตรแี ละสงู กว่า
ปริญญาตรี และประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรีมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะ

การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

108

มูลฝอยในชุมชนมากกว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาโท และประชาชนในชุมชน
บ้านเกาะทองสมที่มีอาชีพเกษตรกร รับจ้างและอาชีพส่วนตัวมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูล
ฝอยในชุมชนมากกว่าประชาชนที่มีอาชีพรับราชการ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึง
สอดคล้องกับ ภูมินทร์ ตุ่มไทยสาคร (2562) ท่ีได้ศึกษาเร่ือง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมการ
จัดการขยะของประชาชน ในองค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผลการศึกษาพบวา่ ปจั จัยทีส่ ่งผลตอ่ การมสี ว่ นร่วมการจัดการขยะของประชาชนในองคก์ ารบรหิ ารส่วน
ตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบด้วย อาชีพและช่วงอายุ เป็นส่วนหนึ่งท่ี
พยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมการจัดการขยะของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตาบล
อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้อย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และสอดคล้อง
กับ อนัญญา จันทร์ป้อ (2558) ท่ีได้ศึกษาเร่ือง การบริหารจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน กรณีศึกษาองค์การบริหารสว่ นตาบลโป่งงาม อาเภอแม่สาย จังหวดั เชียงราย พบว่า อาชีพ
เกษตรกรรม ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วม
ในดา้ นต่าง ๆ ในการบรหิ ารจัดการขยะ อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั ความเชอ่ื มนั่ ที่ .05

ขอ้ เสนอแนะ
จากการศึกษา พบวา่ การมีส่วนร่วมของประชาชนที่อาศัยอย่ใู นพนื้ ทเี่ ปน็ พน้ื ฐานสาคัญที่จะ

นาไปสู่การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนอยา่ งมีประสิทธิภาพ และนาไปสแู่ นว
ทางการจดั การขยะมูลฝอยอย่างยง่ั ยืน

ขอ้ เสนอแนะทั่วไป
1. หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องต้องให้ความสาคญั กบั ปัญหาขยะมลู ฝอยและปัญหาทเ่ี ปน็ ผลจาก

ปญั หาขยะมูลฝอยมากยิ่งขนึ้
2. หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้องความอานวยความสะดวกในการจัดตั้งอุปกรณ์ ทใี่ ช้บรรจขุ ยะมลู

ฝอยในชุมชน เช่น ถุงดาและถุงบรรจุขยะมูลฝอยให้เพียงพอต่อปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้น
เพ่ือความสะดวกในการคัดแยกประเภทของขยะมูลฝอย และสามารถขนถ่ายได้สะดวกและรวดเร็ว

3. หน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งควรมีการจดั อบรมเสริมสรา้ งความรู้ ในเร่อื งของการมสี ว่ นรว่ มและ
แนวทางในการจัดการขยะมลู ฝอยอยา่ งสมา่ เสมอ

4. ควรมีการตดิ ตามการดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยอย่างต่อเน่ือง
5. ควรมีการส่งเสรมิ ให้เพศหญงิ เปน็ ผู้มสี ว่ นร่วมในการจดั การขยะมลู ฝอยในเขตชมุ ชนมาก
ย่ิงขึ้น เนอ่ื งจากหวั หน้าครัวเรอื นสว่ นใหญไ่ ม่คอ่ ยมีเวลา และติดภาระหน้าท่ที างด้านอืน่ ๆ
6. ควรมีการสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยกับกลุ่มบุคคลที่อยูใ่ นช่วงวยั
ทางาน ช่วงอายุ 20-30 ปี และกลุ่มอาชีพรับราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ และลูกจ้าง หรือพนักงาน
บริษัท ให้มากข้ึน เพ่ือให้การจัดการขยะมูลฝอยเป็นไปอย่างต่อเน่ืองและเป็นตัวอย่างที่ดีกับทุกกลุ่ม
ชว่ งอายุ
7. ควรมีการจัดตง้ั จดุ รับซอ้ื ขยะชมุ ชน หรอื โรงคัดแยกขยะชุมชน เพอ่ื เป็นการสง่ เสริม

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

109

การจดั การขยะมูลฝอยแก่ครวั เรือนในชมุ ชน และเป็นการชว่ ยเหลอื ทางดา้ นการจดั การขยะมลู ฝอย
จากแต่ละประเภทของครวั เรือนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

8. ควรมกี ารให้ความรู้และสร้างจิตสานกึ ในการจดั การขยะมูลฝอยจากชมุ ชนอย่างทว่ั ถงึ
โดยการจัดอบรมใหแ้ ก่ประชาชน หรือเผยแพร่ข่าวสารเก่ียวกบั การคัดแยกขยะมลู ฝอยจากครวั เรือน
อย่างสมา่ เสมอในทุกโอกาสที่ทอ้ งถิน่ ออกพบประชาชน รวมถงึ ทุกครั้งท่ีมกี ารประชุมชแ้ี จงประชาชน
เพอ่ื ใหป้ ระชาชนรับทราบถึงผลกระทบทางส่งิ แวดลอ้ มทเี่ กิดจากขยะมูลฝอย รวมท้ังผลกระทบ
ทางด้านสุขภาพของประชาชนจากการทิ้งขยะไมถ่ กู หลักสุขาภิบาล
ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ยั ครงั้ ตอ่ ไป

1. ควรมกี ารศึกษาการมสี ว่ นร่วมในการจดั การขยะมลู ฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
จงั หวัดพทั ลงุ อย่างต่อเนือ่ ง

2. ควรมกี ารวิจยั เชงิ คุณภาพเกีย่ วกับการมสี ่วนรว่ มในการจดั การขยะมูลฝอย
3. ควรศกึ ษาปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ การมีสว่ นร่วมในการจดั การขยะมลู ฝอย
4. ควรศกึ ษาผลกระทบในการจัดการขยะมลู ฝอย

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

110

บรรณานุกรม

กรมควบคุมมลพิษ. (2563). รายงานสถานการณ์มลพษิ ของประเทศไทย. กรมควบคุมมลพษิ
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม. กรงุ เทพฯ: กรมควบคมุ มลุ พษิ .

กนั ทมิ า ชยั อดุ ม. (2556). ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งภาวะผูน้ าการเปลย่ี นแปลงและพฤตกิ รรมการ
บริหารแบบมีส่วนรว่ มของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษากบั ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกดั
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานพิ นธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา, มหาวิทยาลยั บูรพา.

เกษม จันทร์แก้ว. (2545). การจัดการส่ิงแวดล้อมแบบผสมผสาน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

เกษม จันทร์แก้ว. (2556). การจัดการสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน. (พิมพ์ครั้งท่ี 3). กรุงเทพฯ:
สานักพิมพม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์

จินตวีร์ เกษมศุข. (2554). การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม. [Online]. เข้าถึงได้จาก
:http://pknow.edupol.org/Course/C2/document/10/10_8.pdf[2557, เมษายน
20].

จิราพร สร้างอาไพ. (2554). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานสถานศึกษาของคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพื้นฐานในอาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร
มหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศึกษา, มหาวิทยาลยั หาดใหญ่.

จฑุ ารัตน์ ชมพันธ์. (2555). การวิเคราะห์หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน : ในบริบทของประเทศ
ไทย. [Online]. เข้าถงึ ได้จาก http://ssde2013.nida.ac.th/ojs/index.php/jem/
article/viewFile/135/108 [2557, เมษายน 19]

ชชั พล ทรงสนุ ทรวงศ์. (2546). มนษุ ย์กบั สง่ิ แวดลอ้ ม. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .

ชยั วัฒน์ ถาวรวฒั นายงค์. (2546). ความคดิ เหน็ ของประชาชนในการจัดการมูลฝอย ในเขต
เทศบาลเมืองเพชรบรุ ี จงั หวัดเพชรบรุ ี: วิทยานิพนธม์ หาวิทยาลยั เกริก. กรงุ เทพฯ.

ชัยสิทธิ์ บูญโยธา. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขต
องค์การบริหารส่วนตาบลหนองไผ่ อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ. การศึกษาตาม
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ), มหาวิทยาลัยราช
ภฏั ชยั ภมู ิ.

ชาฤนี เหมือนโพธิ์ทอง. (2554). การบริหารแบบมีส่วนร่วมกับการทางานเปน็ ทีมของพนักงานครูใน
สถานศึกษา สังกัดเทศบาลกลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร
มหาบณั ฑติ สาขาบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.

เชาว์ เพ็ชรราช. (2538). มนุษยก์ บั สงิ่ แวดลอ้ ม. อตุ รดิตถ์: สถาบันราชภัฎอุตรดิตถ.์
ณรงวิทย์ แสนทอง. (2548). การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ (พิมพ์คร้ังที่5). กรุงเทพฯ: เอช

อาร์ เซ็นเตอร์.

บรรณานกุ รม (ต่อ)

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

111

ณัฐฐินันท์ พราหมณ์สังข์. (2552). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงหาสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผล
ต่อประสิทธิผลในการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผอู้ านวยการสถานศกึ ษา. พิษณุโลก:
คณะศกึ ษาศาสตร์, มหาวิทยาลยั นเรศวร.

ทวิท ระโหฐาน. (2552). การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
การบรหิ ารการศกึ ษา, มหาวิทยาลัยราชนครินทร.์

ทิพเนตร ปาสาน. (2544). สภาพแวดลอ้ มในสถาบันราชภัฏสรุ ินทร์. วทิ ยานพิ นธ์ครศุ าสตรบณั ฑติ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, มหาวิทยาลยั บรู พา.

เทเวศ อร่ามเรือง. (2551). การนานโยบายอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมไปปฏิบัติ
ของเทศบาลตาบลเขมราฐ จังหวัดอบุ ลราชธานี, มหาวทิ ยาลัยมหิดล.

นงกต สวัสดิชิตัง. (2556). การพัฒนารปู แบบการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตเทศบาลนคร
อดุ รธานี. วิทยานพิ นธ์ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตรพ์ ฒั นา,
มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี.

นันฑกา กนกะปิณฑะ. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขต
เทศบาลเมือง, วารสารวนศาสตร์.

นันทพร นามโคตร. (2552). การศึกษาความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการพัฒนา
หลักสูตรท้องถิ่นโรงเรียนอนุบาลวังสมบูรณ์ ก่ิงอาเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลลง
กรณ.์

นารอน ทับสกุล. (2554). การนาเสนอรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษากลุ่ม
เครือข่ายสถานศึกษาท่ี 10 สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอุบลราชธานี เขต 1.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อบุ ลราชธานี.

บุญชู สวัสดิ์ตาล. (2549). การประเมินโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน. วิทยานิพนธ์
การศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สรุ าษฎรธ์ าน.ี

ประชุม สุวัตถี. (2551). การตลาดในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนา
บรหิ ารศาสตร.์

ประพันธ์พงศ์ ชิณพงษ์. (2551). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยวไลลงกรณ์ใน
พระบรมราชปู ถัมภ์.

ประภาพรรณ เสงวงศ์ และคณะ. (2538). การศึกษาสภาพการจัดสงิ่ แวดล้อมและสิ่งแวดลอ้ มศกึ ษา
ในโรงเรยี นประถมศกึ ษาสังกัดสานกั งานการประถมศกึ ษา. สมทุ รปราการ: สานักงาน
การประถมศึกษาจังหวดั สมุทรปราการ.

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จังหวัดพทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

112

บรรณานุกรม (ตอ่ )

ประเวศ วะสี และไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. (2557). กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม. [Online].
เข้าถึงได้จาก : www.rta.mi.th/630aou/file/Lt.sompong.doc [2557, พฤษภาคม
15].

ประสาน อฬุ ารธรรม. (2535). สภาพแวดลอ้ มสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขตเทคนคิ
กรุงเทพ. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. สานักหอสมุดกลาง.

ปรดิ า แยม้ เจริญวงศ์. (2531). การจดั การขยะมูลฝอย. ขอนแกน่ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
ปยิ ภัทร สายนารา. (2552). การจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของประชาชน จงั หวัด

อุบลราชธานี. วิทยานิพนธศ์ ิลปะศาสตร์มหาบัณฑติ , มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎ
อุบลราชธานี.
เฝาซี บิลโอ. (2554). การมีส่วนร่วมต่อการบริหารสถานศึกษาของผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน จงั หวดั สงขลา. วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
บริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
ภูมินทร์ ตุ่มไทยสาคร(2562). ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการมีส่วนร่วมการจัดการขยะของประชาชน ใน
องค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา. หลักสูตรรัฐ
ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ , มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์.
มณฑล จันทร์แจ่มใส. (2551). ปัจจัยการสื่อสารการตลาดที่มีต่อการเลือกสถานที่ท่องเท่ียง
กรณีศึกษา : เกาะมุก จังหวดั ตรัง. วทิ ยานิพนธส์ ถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขา
การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2553).คณะกรรมการวิชาส่ิงแวดล้อมเทคโนโลยีและชีวิตศูนย์วิชา
บูรณาการหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เข้าถึงใน https://registrar.ku.ac.th เมื่อ 24
กุมภาพนั ธ์ 2564.
มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร. (2542). ตะโกนก้องจากพงไพร/รวมผลงานและความคิดของสิบ นาคะ
เสถยี ร .กรุงเทพฯ: มูลนิธิสืบนาคะเสถียร.
เมต เมตต์การุณจิต. (2553). การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม : ประชาชนองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่นและราชการ (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: บุค๊ พอยท์.
ยุ ท ธ น า พ รห ม ณี . (2 5 5 7 ). ก า รน า แ ผ น ไป สู่ ก า ร ป ฏิ บั ติ . [Online]. เข้ าถึ งได้ จ าก :
www.pncc.ac.th/pncc/wrod/re/r22.doc [2557, เมษายน 19]
ยุพนิ ระพพิ ันธุ.์ (2544). ความรู้ ทศั นคติ และการจัดการท่สี ่งผลต่อการมีส่วนรว่ มของ
คณะกรรมการชุมชนในการจาแนกประเภทมูลฝอย ท่ใี ช้ในชีวิตประจาวันกอ่ นทิง้ ใน
เขตเทศบาลเมอื งพนสั นคิ ม อาเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี,
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรก์ รุงเทพฯ.

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลงุ
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

113

บรรณานุกรม (ต่อ)

รัตนา ณ ปัตตาน.ี (2557). การบริหารสถานศึกษาแบบมีสว่ นร่วมโดยใชเ้ ทคนิคชบา 5 กลีบ
[Online]. เข้าถึงไดจ้ าก: http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?I
D88791 [2557,สิงหาคม 10]

วรชาติ หลอเต่า (2557). การมีส่วนร่วมในการกาจัดขยะมูลฝอยของประชาชนในตาบลแม่ใส
อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
พะเยา.

วรรณา วงษ์วานิช. (2549). ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์.
กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วรารัตน์ เขียวไพรี. (2553). ความรู้เก่ยี วกับการจดั การ. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ .ี
วันชยั โกลละสตุ . (2549). การบริหารแบบมสี ว่ นร่วม. กรุงเทพฯ: กรมโยธาธิการ.
วินัย วรี ะวฒั นานนท.์ (2539). การศึกษาส่ิงแวดล้อม. กรุงเทพฯ: โอ.เอส พริ้นติง้ เฮา้ ส.์
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2547). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมของเกาะช้าง

จังหวัดตราด. กรงุ เทพฯ: บุญศริ กิ ารพิมพ์.
ศิริพร ตันติมาศ. (2550). รูปแบบการบริหารเครือข่ายโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมท่ีมีประสิทธิผล

สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา,
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.
สมคิด ยอดสาร (2560). การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยในชุมชนแบบมีส่วนรว่ มขององค์การบริหาร
ส่วนตาบลร่องการ อาเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาการบรหิ ารและพฒั นาประชาคมเมืองและชนบท, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ลาปาง.
สมยศ อาพันศิร.ิ (2550). ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาวะผู้นาแบบเปลี่ยนภาพของผบู้ ริหารสถานศึกษา
กับการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชนในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษาลพบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา,
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเทพสตรี.
สหกรณ์จังหวัดนราธิวาส. (2557). การติดตามประเมินผลด้านการดาเนินงานของสหกรณ์.
[Online]. เข้าถึงได้จาก : webhost.cpd.go.th/sofean/download/kmz/ [2557,
มิถุนายน 15].
สอนชัย ผาลิวงค์. (2556). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปัญหาฝุ่นละอองในเขต
เทศบาลนครหลวงเวียงจนั ทน.์ วิทยานิพนธ์ ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต (การจัดการมนุษย์
กบั สง่ิ แวดล้อม), มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่.
สายหยุด ประกิคะ. (2552). การศึกษาสภาพและความต้องการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน
วิชาการของครูผู้สอนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
นครราชสีมา เขต 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา,
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา.

การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

114

บรรณานกุ รม (ตอ่ )

สุเทพ สังกะเพศ. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บรหิ ารสถานศึกษากับการมีส่วน
ร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี
เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบรหิ ารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธาน.ี

สุธรี า ตุลยะเสถียร และคณะ. (2544). มลพิษสิง่ แวดล้อม. กรุงเทพฯ: รวมสาสน์ .
สุนยี ์ มัลลิกามาลย์. (2543). การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการจดั การขยะชมุ ชน. กรุงเทพฯ: คณะ

นิตศิ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
โส ภ ารั ต น์ จ าระ ส ม บั ติ . (2551. น โย บ า ย แ ล ะ ก า รจั ด ก า รส่ิ งแ ว ด ล้ อ ม .ก รุงเท พ ฯ :

มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.
อนัญญา จันทร์ป้อ. (2558). การบริหารจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน กรณีศึกษา

องค์การบริหารส่วนตาบลโป่งงาม อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์รัฐ
ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแมฟ่ า้ หลวง.
อโนทัย เทียนสวาง. (2556). การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของ ชุมชนบ้านป่าเส้า ตาบล
อุโมงค์ อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต,
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.
ไอญดาลิญท์ ธนพลวัชท์(2560). แนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของ
ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเมืองปัก อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา .
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครราชสีมา.
Chritensen, L.B. (2014). Educational research method : quantitative, qualitative
and mixed approaches. Los Angekes, C.A: Saeg.
Cronbach, Lee J. ( 1974) . Essentials of Psychological Testing, 3nd Ed. New York:
Harper and Row Publisher.
Eaton, D. (2000). Cognitive and affective learning in outdoor education.Dissertation
Abstracts International – Section A: Humanities and SocialScience, 60, 10-
A, 3595. Emmons, K. M. (1997). Perceptions.
Emmons, K. M. ( 1 9 9 7 ) . Perceptions of the environment while exploring
theoutdoors: A case study in Belize. Environmental Education
Research,3(3), 327–344.
Faucy Bill O. (2011). Participation in the administration of educational
institutions by experts in the committee. basic educational
institutions Songkhla Province. Master of Education Thesis in Educational
Administration Hat Yai University.

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ่วนร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จังหวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

115

บรรณานกุ รม (ต่อ)

Harahap. (1998). Ensiklopedia Matematika. Jakarta: Ghalia Pustaka
Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size For Research Activities.

Educational and Psychological Measurement, 30(3), p. 607-610.

การบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

ภาคผนวก

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 2

117

ภาคผนวก ก
รายนามผู้ทรงคุณวฒุ ทิ ี่ตรวจสอบความตรงของเน้อื หา

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

118

รายนามผู้ทรงคณุ วุฒิทีต่ รวจสอบความตรงของเนอื้ หา

1. นายธนภทั ร สิรวิ าส การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศึกษา
วฒุ กิ ารศกึ ษา มหาวิทยาลยั รามคาแหง
รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง
ตาแหน่ง เขต 2
สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2
สถานท่ีปฏบิ ตั งิ าน

2. นางชลธิชา ปลอ้ งบรรจง การศึกษามหาบัณฑติ สาขาหลักสูตรและการสอน
วฒุ กิ ารศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ
ผู้อานวยการกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
ตาแหน่ง สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
สถานทป่ี ฏิบตั ิงาน

3. นางปรชั ญา ทองดี ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาศกึ ษาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาชมุ ชน
วุฒิการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ตาแหน่งปจั จุบัน ศึกษานเิ ทศก์
สถานท่ปี ฏบิ ัติงาน สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

4. นายสุมารถ เงนิ ละเอียด การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
วุฒกิ ารศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ
ผ้อู านวยการชานาญการพเิ ศษ
ตาแหนง่ ปัจจุบนั โรงเรียนวดั รัตนวราราม สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา
สถานทีป่ ฏบิ ตั งิ าน ประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

5. นางรจุ ริ า คงประพนั ธ์ การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาหลักสตู รและการสอน
วุฒกิ ารศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ
ศกึ ษานเิ ทศก์
ตาแหน่งปัจจุบัน สังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
สถานทปี่ ฏิบตั ิงาน

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

119

ภาคผนวก ข
หนังสอื ขอความอนเุ คราะห์

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

120

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

121

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

122

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

123

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

124

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

125

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

126

ภาคผนวก ค
เครือ่ งมือ : แบบสอบถาม

แบบสอบถาม

การบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2

127

เรอื่ ง การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน
จงั หวดั พทั ลงุ

.........................................................................
คาชแ้ี จง โปรดตอบแบบสอบถามตามความคิดเหน็ ทแี่ ท้งจริงของท่าน ซ่งึ โรงเรยี นบ้านเกาะ
ทองสม ตาบลโคกมว่ ง อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พัทลุง จะได้นาขอ้ มูลเหล่าน้ันไปวิเคราะห์ในภาพรวม
แลว้ นาไปใชใ้ นการปรับปรุงพัฒนาแนวทางการจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารจัดการขยะมลู ฝอย แบบมสี ว่ น
รว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม มรี ะบบการบริหารจัดการท่ีมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล สามารถ
ตอบสนองความต้องการของท่านไดม้ ากท่สี ุด โดยแบบสอบถามแบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ปัญหาขยะมลู ฝอยของชุมชนบ้านเกาะทองสม
ตอนท่ี 3 การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม
ความหมายของระดับ
ระดับ 1 หมายถงึ น้อยทสี่ ุด
ระดบั 2 หมายถงึ สว่ นร่วมน้อย
ระดับ 3 หมายถงึ ปานกลาง
ระดบั 4 หมายถงึ มาก
ระดับ 5 หมายถึง มากท่สี ดุ

ตอนท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พัทลุง
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพทั ลุง เขต 2

128

คาชีแ้ จง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ ง  ทต่ี รงกับความเปน็ จรงิ และโปรดตอบคาถามทุกข้อ
เพอ่ื ประโยชน์ในการประเมินผล

1. เพศ  1) ชาย
2. อายุ  2) หญิง

 1) นอ้ ยกว่า 30 ปี
 2) อายุ 31-45 ปี
 3) อายุ 46 ปีข้นึ ไป

3. ระดับการศึกษา
 1) ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี
 2) ปรญิ ญาตรี
 3) สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี

4. อาชีพ
 1) เกษตรกร
 2) รบั จ้าง
 3) อาชพี ส่วนตวั
 4) รับราชการ

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลุง
โรงเรียนบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

129

ตอนท่ี 2 ปัญหาขยะมลู ฝอยในชุมชนบ้านเกาะทองสม

ปัญหา มากทส่ี ุด มาก ปาน น้อย นอ้ ย
กลาง ทส่ี ดุ

1 การเนา่ เหม็นและส่งกล่ินรบกวนในชุมชน

2 ภูมทิ ัศน์ขาดความสวยงาม

3 เป็นแหล่งเพาะเชือ้ โรค

4 เป็นแหล่งเพาะเชอ้ื โรคสคู่ นและสัตว์

5 นา้ จากกองขยะมลู ฝอยไหลลงสู่แหลง่ นา้ ชุมชนทาให้นา้ เนา่ เสยี

6 การอุดตันของท่อระบายน้าคูคลอง

7 ภาชนะรองรับขยะมลู ฝอยไม่เพยี งพอ

8 สถานทที่ ้งิ ขยะมลู ฝอยไม่เพียงพอ

9 ขยะมูลฝอยก่อใหเ้ กิดอันตราย เช่น หลอดไฟ แบตเตอร์รี่ มีดโกน
ฯลฯ

10 การบุกรกุ ท่ีสาธารณะ และท่ีเอกชนในการทง้ิ ขยะ

11 ขาดความสม่าเสมอในการเก็บขนขยะของเทศบาล

12 คา่ ธรรมเนียมในการจัดการขยะมูลฝอย

การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

130

ตอนท่ี 3 ระดบั การบรหิ ารการมีสว่ นรว่ มของประชาชนต่อการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมี
สว่ นร่วมของ

ชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวัดพทั ลุง
คาช้ีแจง โปรดเขยี นเคร่อื งหมาย  ลงในช่อง  ท่ีตรงกับความเป็นจริงและโปรดตอบคาถามทุกข้อ

เพอ่ื ประโยชนใ์ นการประมวลผล

ระดับการมสี ่วนรว่ ม

การมีสว่ นร่วม มากท่ีสุด มาก ปาน น้อย นอ้ ย
ข้อ
ตอ่ การจดั การขยะมูลฝอยของประชาชน กลาง ทสี่ ดุ

(5) (4) (3) (2) (1)

1.ดา้ นการมสี ่วนรว่ มในการคดิ

1. ท่านเข้ารว่ มการประชุมประชาคมเพอ่ื เสนอปญั หาและ
ความตอ้ งการจดั การขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านเกาะทอง
สม

2. ท่านมสี ว่ นรว่ มวิเคราะหป์ ัญหาและความต้องการของ
ประชาชนในชุมชนเพอ่ื จัดทาโครงการ/กจิ กรรมการจดั การ
ขยะมลู ฝอย

การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

131

การมีสว่ นรว่ ม ระดับการมสี ่วนรว่ ม
ข้อ
มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย
ต่อการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ท่สี ดุ กลาง ท่ีสุด
(5) (4) (3) (2) (1)
3. ทา่ นมสี ่วนร่วมในการไดร้ บั ข้อมูลขา่ วสารและเสนอแนะแนวทางการบรหิ าร
จดั การขยะแบบมสี ่วนรว่ ม

4. ทา่ นมีสว่ นร่วมในการวางแผนงาน/โครงการเพอ่ื แก้ไขปัญหาขยะมลู ฝอยท่ี
เกิดข้นึ ในชมุ ชน

5. ท่านมีส่วนรว่ มในการจดั ทารา่ งเทศบัญญัตเิ ทศบาลเกี่ยวกบั การรักษาความ
ปลอดภยั ในชมุ ชน

2.ด้านการมีส่วนรว่ มในการวางแผน

6. ท่านมสี ่วนร่วมปฏิบัติกิจกรรมของชุมชนในการรณรงคแ์ ละร่วมเก็บขยะมูลฝอย
ในชมุ ชน

7. ท่านมีสว่ นรว่ มนาขยะมูลฝอยในครัวเรอื นมาทาเปน็ ปุ๋ยหมัก หรือน้าหมัก
จุลินทรยี ์ชวี ภาพ

8. ท่านมีส่วนคัดแยกประเภทขยะ เช่น เศษกระดาษ พลาสตกิ ขวดแกว้ หรือขยะ
มีพิษ ก่อนนาไปท้ิงลงถงั ขยะของชมุ ชน

9. ทา่ นมสี ว่ นรว่ มใช้ถงุ ผ้า ป่ินโต หรือตะกร้า มาซื้อสนิ คา้ เพือ่ ลดการใช้ถงุ พลาสติก
และกล่องโฟม

10. ทา่ นมีสว่ นร่วมเสยี คา่ ธรรมเนียมใหแ้ กเ่ ทศบาลในการบริการ
จดั เกบ็ ขยะมูลฝอย

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนบา้ นเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพัทลุง
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

132

3.ดา้ นการมีส่วนรว่ มในการปฏิบตั ิ
11. ทา่ นมีสว่ นรว่ มในการลดขยะมูลฝอย เช่น ขวด พลาสตกิ

ขวดแกว้ หรอื ถงุ พลาสติกท่ีใช้แล้วท่ีใช้แล้วนากลับมาใชใ้ หม่
12. ท่านมสี ่วนรว่ มในการนาขยะมูลฝอยจากครวั เรือนมาท้ิงลงถัง

ขยะของเทศบาล
13. ทา่ นมีสว่ นร่วมซ้อื ผลิตภณั ฑ์ชนิดเติมแบบถุงพลาสติกมาใช้

แทนการซื้อผลติ ภัณฑ์แบบขวด ทาใหล้ ดรายจ่าย เช่น น้ายา
ปรบั ผ้านมุ่
14. ทา่ นมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะมลู ฝอยในครวั เรือน แล้ว
นาไปขายเพ่ือเพ่ิมรายได้

15. ท่านมสี ว่ นร่วมไม่ท้ิงขยะลงลาคลองหรือใตถ้ ุนบ้าน ทาใหล้ า
คลองสะอาด

4. ด้านการมสี ว่ นร่วมในการติดตามและประเมินผล

16. ท่านมสี ว่ นรว่ มในการตอบแบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน
พนักงานรักษาความสะอาดของเทศบาล

17. ท่านมีส่วนรว่ มประเมนิ ผล การเกบ็ ขนสง่ ลาเลยี งและการ
กาจัดขยะมลู ฝอยของรถเก็บขยะเทศบาล

18. ท่านร่วมแสดงความคิดเหน็ หรือเสนอแนะในการจัดการขยะ
มูลฝอยของเทศบาล ใหเ้ ทศบาลทราบ

การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรยี นบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต 2

133

19. ท่านมีสว่ นร่วมในการแจ้งใหเ้ ทศบาลทราบ เม่ือพบถังขยะ
ของเทศบาลชารดุ หรือไม่เพยี งพอตอ่ การใชง้ าน

20. ท่านมีส่วนร่วมในการตรวจสอบรายได้จากการจัดเกบ็
คา่ ธรรมเนียมขยะมลู ฝอยของเทศบาล

การบริหารจดั การขยะมูลฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ
โรงเรยี นบ้านเกาะทองสม สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

134

คณะผจู้ ัดทา

โรงเรียนบ้านเกาะทองสม หมู่ท่ี 10 บ้านโคกแมว ตาบลโคกม่วง อาเภอเขาชัยสน
จงั หวดั พัทลงุ รหสั ไปรษณยี ์ 93130

สงั กัด สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2

การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยแบบมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านเกาะทองสม อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลงุ
โรงเรียนบา้ นเกาะทองสม สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2


Click to View FlipBook Version