The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวม สมุทรปราการ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kullanun Sodakul, 2022-12-01 10:45:13

รวม สมุทรปราการ 1

รวม สมุทรปราการ 1

บทนำ

การถอดบทเรียนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จังหวัดสมุทรปราการเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยถอดบทเรียนการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุขในการรับมือโรค COVID-19 ของจังหวัดต่างๆ ในประเทศที่ดำเนินการโดยกระทรวง
สาธารณสุข มีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานที่มีการดำเนินงาน ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับจังหวัดมีกระบวนการประเมินตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
ในการรวบรวมข้อมูล การดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) เพื่อนำไปสู่การจัดทำข้อเสนอ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในการรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุขในภาพรวมของประเทศไทย เนื้อหาในหนังสือการถอดบทเรียนการดำเนินงาน ป้องกัน
และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสมุทรปราการเล่มนี้ได้รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
สำหรับการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขกรณีโรค COVID-19 และการดำเนินงาน
ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามช่วงเวลาของการระบาด แบ่งเป็น
4 ระยะ ระยะที่ 1 ระยะก่อนการระบาด ระลอก 1 (ธันวาคม 2562 - มกราคม 2563) ระยะที่ 2
ระหว่างการระบาด ระลอก 1 (มกราคม 2563 - พฤษภาคม 2563) ระยะที่ 3 ระยะหลังการระบาด
ระลอก 1 (พฤษภาคม 2563 - 4 ธันวาคม 2563) ระยะที่ 4 ระยะการระบาด ระลอกใหม่ (15 ธันวาคม 2563 -
31 มีนาคม 2564) รวมทั้งการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ของคณะกรรมการโรคติดต่อ
จังหวัดสมุทรปราการ โดยได้มีการสรุปปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จ และปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และข้อเสนอแนะการดำเนินงาน
ในอนาคต

คณะผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือการถอดบทเรียนการดำเนินงานป้องกันและควบคุม
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสมุทรปราการ นอกจากจะเป็น การบันทึกข้อมูล
การดำเนินงานที่สำคัญของจังหวัดสมุทรปราการ ที่สามารถบอกเล่าเรื่องราวย้อนหลังการดำเนินงาน
ที่น่าจะเป็นประวัติศาสตร์หนึ่งของประเทศไทย ในการรับมือกับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) แล้วนั้น สาระสำคัญที่ถูกบันทึกไว้ในหนังสือเล่มนี้ จึงน่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร
และผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุขที่มีส่วนร่วมดำเนินงาน
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) และสถานการณ์ของโรคระบาดต่างๆ ในอนาคตได้ต่อไป

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ

สารบัญ

หน้า

บทนำ

1. ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน 1
ด้านสาธารณสุขกรณีโรค COVID-19 ของจังหวัดสมุทรปราการ
1
1.1 ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดสมุทรปราการ 7
1.2 สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 9
1.3 ทรัพยากรรองรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

2. การดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 11
(COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ

2.1 การดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 11
(COVID-19)

2.1.1 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุม 12
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ

2.2 ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จและปัญหา/อุปสรรค 37
2.3 ข้อเสนอแนะการดำเนินงานในอนาคต 42
2.4 กรณีศึกษาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 48
(โควิด 19)ในระดับอำเภอ (BEST PRACTICE) อำเภอพระสมุทรเจดีย์
จังหวัดสมุทรปราการ

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

3. การจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคติดต่อ 49
จังหวัดสมุทรปราการ

3.1 ผลการดำเนินงานการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขของคณะกรรมการ 49
โรคติดต่อจังหวัดสมุทรปราการ

50
ส่วนที่ 1 ภาวะผู้นำและการบริหารและการจัดการ 58
ส่วนที่ 2 กำลังคนด้านสุขภาพ 59
ส่วนที่ 3 เวชภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 63
ส่วนที่ 4 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 69
ส่วนที่ 5 การเงินการคลังด้านสุขภาพ 71
ส่วนที่ 6 ระบบบริการสุขภาพ 84
ส่วนที่ 7 การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข และภาคประชาชน



ในการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข 86
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3.2 สรุปสถานการณ์และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)

4. ภาคผนวก 90

4.1 แบบสอบถามชุดที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน 90
ด้านสาธารณสุข กรณีโรค COVID-19

90
4.2 แบบสอบถามชุดที่ 2 การดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุม

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับจังหวัด 90

4.3 แบบสอบถามชุดที่ 3 แบบประเมินตนเองในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
ด้านสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด

สารบัญตาราง

หน้า

ตารางที่ 1 จำนวนประชากรจำแนกกลุ่มอายุและเพศของจังหวัดสมุทรปราการ 2

ตารางที่ 2 จำนวนประชากรต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว จำแนกกลุ่มอายุและเพศ 3
ของจังหวัดสมุทรปราการ

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุม 12
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัด

ตารางที่ 4 คุณลักษณะที่ 1 : ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง นโยบาย 50
และแผนงาน ในระดับจังหวัดที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและการจัดการ
สถานกรณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 5 คุณลักษณะที่ 2 : โครงสร้างการประสานงานและการบริหาร 51
และการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด

ตารางที่ 6 คุณลักษณะที่ 3 : กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง 52
นโยบายและแผนงานในระดับจังหวัดที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือ
จากหน่วยงานสาธารณสุขจากภายนอกจังหวัด เพื่อร่วมบริหาร
และจัดการสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ในการรับมือ
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ 7 คุณลักษณะที่ 4 : คณะกรรมการในการบริหารและจัดการ หน้า
สถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 52

ตารางที่ 8 คุณลักษณะที่ 5 : หน่วยปฏิบัติการด้านสาธารณสุขในการบริหาร 53
และการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 9 คุณลักษณะที่ 6 : กลไกการประสานงานและการสร้างภาคีเครือข่าย 54
ของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัดในการบริหารและการจัดการ
สถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 10 คุณลักษณะที่ 7 : การบริหารและการจัดการเพื่อลดความเสี่ยง 55
การเกิดโรคของหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด (RISK REDUCTION
/PREVENTION AND MITIGATION) ในการบริหารและการจัดการ
สถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 11 คุณลักษณะที่ 8 : การบริหารและการจัดการเพื่อเตรียมความพร้อม 55
รองรับสถานการณ์ฉุกเฉินฯ (PREPAREDNESS) ของหน่วยงาน
สาธารณสุขระดับจังหวัดและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ 12 คุณลักษณะที่ 9 : การบริหารและการจัดการการฟื้นฟู หน้า
หลังเกิดสถานการณ์ (RESPONSE AND RECOVERY)
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 56
ของหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

ตารางที่ 13 คุณลักษณะที่ 10 : การศึกษาวิจัยและข้อมูลเชิงประจักษ์ 56

ตารางที่ 14 คุณลักษณะที่ 11 : แผนการพัฒนาบุคลากร 58

ตารางที่ 15 คุณลักษณะที่ 12 : การฝึกอบรมและการศึกษา 58

ตารางที่ 16 คุณลักษณะที่ 13 : เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ 59
และสาธารณสุขสำหรับรองรับกิจกรรมการดำเนินงานทั้งใน
และนอกโรงพยาบาล รวมถึงโรงพยาบาลสนาม และกิจกรรม
ทางด้านสาธารณสุขอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 17 คุณลักษณะที่ 14 : ยาและเวชภัณฑ์ (PHARMACEUTICAL SERVICES) 60
. ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 18 คุณลักษณะที่ 15 : ห้องปฏิบัติการ (LABORATORY SERVICES) 61
. ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 19 คุณลักษณะที่ 16 : การบริหารและการจัดการโลหิต (BLOOD SERVICES) 62
ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ 20 คุณลักษณะที่ 17 : ระบบข้อมูลสารสนเทศสำหรับการประเมิน หน้า
ความเสี่ยงและการวางแผนเตรียมความพร้อมสำหรับการบริหาร
และการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของของโรคติดเชื้อ 63
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
63
ตารางที่ 21 คุณลักษณะที่ 18 : ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 64
(HEALTH INFORMATION SYSTEM) 64
66
ตารางที่ 22 คุณลักษณะที่ 19 : การใช้ข้อมูลร่วมกัน (INFORMATION SHARING) 66
ตารางที่ 23 คุณลักษณะที่ 20 : ระบบข้อมูลการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ
67
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (SURVEILLANCE SYSTEMS)
ตารางที่ 24 คุณลักษณะที่ 21 : มีกลไกลในการประเมินความต้องการด้านสุขภาพ

(RAPID HEALTH-NEEDS ASSESSMENT) อย่างรวดเร็ว
ตารางที่ 25 คุณลักษณะที่ 22 : การประเมินสถานการณ์เบื้องต้นอย่างรวดเร็ว

แบบมีส่วนร่วมหลายภาคส่วน (MULTISECTORAL INITIAL RAPID
ASSESSMENT: IRA)
ตารางที่ 26 คุณลักษณะที่ 23 : ระบบการรายงานสถานการณ์ฉุกเฉิน
(EMERGENCY REPORTING SYSTEM)

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ 27 คุณลักษณะที่ 24 : กลยุทธ์ในการสื่อสารความเสี่ยงกับประชาชน หน้า
และสื่อมวลชน
67
ตารางที่ 28 คุณลักษณะที่ 25 : กลยุทธ์ในการสื่อสารความเสี่ยงกับบุคลากร 68
ผู้ปฏิบัติงานในสถานการณ์การแพร่ระบาด 69
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
70
ตารางที่ 29 คุณลักษณะที่ 26 : กลไกของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเตรียม
ความพร้อมและบริหารจัดการงบประมาณในสถานการณฉ ุกเฉิน 71
ด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 72
(COVID-19)

ตารางที่ 30 คุณลักษณะที่ 27 : กลไกการบริหารและการจัดการงบประมาณ
ของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด สำหรับการบริหาร
และการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 31 คุณลักษณะที่ 28 : แผนรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด

ตารางที่ 32 คุณลักษณะที่ 29 : ความสามารถศักยภาพในการบริหาร
และการจัดการสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด

สารบัญตาราง (ต่อ)

หน้า

ตารางที่ 33 คุณลักษณะที่ 30 : การบริหารและการจัดการระบบบริการการแพทย์ 72
ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล (PRE-HOSPITAL MEDICAL OPERATIONS)
ในสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 34 คุณลักษณะที่ 31 : การบริหารและการจัดการสถานการณ์ที่มีผู้ติดเชื้อ 73
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวนมาก หรือผู้เสียชีวิต

ตารางที่ 35 คุณลักษณะที่ 32 : ศักยภาพในการบริหารและการจัดการสถานการณ์ 74
ที่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวนมากหรือผู้เสียชีวิต
ในระดับอำเภอและระดับตำบล

ตารางที่ 36 คุณลักษณะที่ 33 : การเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินของโรงพยาบาล 74
กรณีมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวนมาก

ตารางที่ 37 คุณลักษณะที่ 34 : การวางแผนตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินฯ 75
และการฟื้นฟูภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงพยาบาล

ตารางที่ 38 คุณลักษณะที่ 35 : การจัดบริการสุขภาพที่จำเป็นและต่อเนื่อง 77
ในสถานการณ ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สารบัญตาราง (ต่อ)

หน้า

ตารางที่ 39 คุณลักษณะที่ 36 การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค 78
และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในสถานการณ์ กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 40 คุณลักษณะที่ 37 : การจัดบริการดูแลอนามัยแม่และเด็ก 78
และอนามัยเจริญพันธุ์ ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 41 คุณลักษณะที่ 38 : การจัดบริการดูแลสุขภาพจิตและการช่วยเหลือ 78
ทางจิตสังคมของประชาชน ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 42 คุณลักษณะที่ 39 : การจัดบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ 79
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 43 คุณลักษณะที่ 40 : การจัดบริการดูแลรักษาโรคเรื้อรังและไม่ติดต่อเรื้อรัง 79
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 44 คุณลักษณะที่ 41 : การจัดบริการสุขภาพด้านส่งเสริมโภชนาการ 80
และอาหารปลอดภัย ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 45 คุณลักษณะที่ 42 : การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิ/การดูแลสุขภาพเบื้องต้น 80
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สารบัญตาราง (ต่อ)

หน้า

ตารางที่ 46 คุณลักษณะที่ 43 : การจัดบริการสุขภาพสำหรับแรงงาต่างด้าว/ 80
ประชาชนพลัดถิ่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 47 คุณลักษณะที่ 44 : การสื่อสารโทรคมนาคมในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ 81
ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 48 คุณลักษณะที่ 45 : สถานบริการสุขภาพชั่วคราวในสถานการณ์ 82
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 49 คุณลักษณะที่ 46 : ระบบการสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ (LOGISTICS) 82
ในสถานการณแ พร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 50 คุณลักษณะที่ 47 : หน่วยสนับสนุนการให้บริการสุขภาพในสถานการณ 83
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 51 คุณลักษณะที่ 48 : การมีส่วนร่วมของชุมชน อสม./อสต./พสต. 84
และภาคประชาชน ในการบริหารและการจัดการสถานการณฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

ตารางที่ 52 สถานการณ์และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 86
(COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที่ 1 สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ หายป่วย และเสียชีวิต (สะสม) จำแนกรายเดือน หน้า
(มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
86
แผนภูมิที่ 2 สถานการณ์การได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) (สะสม) จำแนกรายเดือน (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564) 86

WEARING FACE MASK ALWAYS STAY WASH YOUR HAND
IF SICK OR HAVE AT HOME FREQUENTLY
ANY SYMPTOM

1M

DO NOT TOUCH SOCIAL DISTANCING CLEANING
FACE WITH HAND OBJECT

จังหวัดสมุทรปราการ

SAMUTPRAKAN

ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีโรค COVID-19 ของจังหวัดสมุทรปราการ

1.1 ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดสมุทรปราการ

1.1.1 อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดกับกรุงเทพมหานคร
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันตก ติดกับกรุงเทพมหานคร
ทิศใต้ ติดกับอ่าวไทย

(เนื้อที่ 1,004 ตารางกิโลเมตร)
ระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร 25 กิโลเมตร

1.1.2 การปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็น สมุทรปราการ

6 50

อำเภอ ตำบล

399 เท2ศบ3าล

หมู่บ้าน แห่ง

องค์การบริหาร 26 แห่ง
ส่วนตำบล

1.1.3 จำนวนประชากร จำนวนประชากร 1,355,249 คน

ความหนาแน่นของประชากร เพศชาย เพศหญิง
1,349.73 คน/ตารางกิโลเมตร
645,868 709,381

คน คน

ข้อมูลประชากรกลางปี ณ วันที่ (1กรกฎาคม 2563)

1

ตารางที่ 1 จำนวนประชากรจำแนกกลุ่มอายุและเพศ

กลุ่มอายุ จำนวนประชากร รวม (คน) ร้อยละ
ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ
23,550 1.74
0-1 12,251 0.90 11,299 0.83

2-4 23,046 1.70 21,654 1.60 44,700 3.30

5-9 43,934 3.24 41,315 3.05 85,249 6.29

10-14 39,631 2.92 37,535 2.77 77,166 5.69

15-19 39,631 2.93 38,760 2.86 78,402 5.79

20-24 42,514 3.14 43,790 3.23 86,904 6.97

25-29 48,435 3.57 50,931 3.76 99,366 7.33

30-34 45,906 3.39 49,820 3.68 95,726 7.06

35-39 52,006 3.84 57,510 4.24 109,516 8.08

40-44 56,772 4.19 61,774 4.56 1118,546 8.75

45-49 51,443 3.80 58,252 4.30 109,695 8.09

50-54 51,066 3.77 57,347 4.23 108,413 8.00

55-59 44,725 3.30 52,347 3.86 97,072 7.16

60-64 33,578 2.48 41,475 3.06 75,053 5.54

65-69 24,642 1.82 32,945 2.43 57,587 4.25

70-74 16,019 1.18 32,945 2.43 57,587 4.25

75 ปีขึ้นไป 20,258 1.49 31,010 2.29 51,268 3.78

รวม 645,868 47.66 709,381 52.34 1,355,249 100.00

แหล่งข้อมูล : สำนักทะเบียนกลาง กลุ่มพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร :
01/07/2564

2

ตารางที่ 2 จำนวนประชากรต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว

กลุ่มอายุ จำนวนประชากร รวม (คน) ร้อยละ
ชาย (คน) ร้อยละ หญิง (คน) ร้อยละ
6 0.00
0-1 6 0.00 0 0.00

2-4 1 0.00 2 0.00 3 0.00

5-9 3 0.00 6 0.00 9 0.00

10-14 0 0.00 0 0.00 0 0.00

15-19 182 0.10 171 0.10 353 0.20

20-24 12,983 7.40 8,594 4.90 21,577 12.30

25-29 25,643 14.60 18,109 10.30 43,752 24.90

30-34 23,789 13.50 17,071 9.70 40,860 23.20

35-39 18,707 10.60 13,669 7.80 32,376 18.40

40-44 11,755 6.70 8,433 4.80 20,188 11.50

45-49 5,883 3.30 4,358 2.50 10,241 5.80

50-54 3,021 1.70 2,237 1.30 5,258 3.00

55-59 708 0.40 558 0.30 1,266 0.70

60-64 44 0.00 31 0.00 75 0.00

65-69 8 0.00 1 0.00 9 0.00

70-74 0 0.00 0 0.00 0 0.00

75 ปีขึ้นไป 0 0.00 0 0.00 0 0.00

รวม 102,733 58.40 73,240 41.60 175,973 100.00

แหล่งข้อมูล : กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ
(จากจัดหางานจังหวัด สมุทรปราการ)

3

1.1.4 สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ

1) โรงพยาบาลศูนย์ ขนาด 6210231300000 เตียง จำนวน 1721111121 แห่ง
2) โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด เตียง จำนวน แห่ง
3) โรงพยาบาลชุมชน ขนาด เตียง จำนวน แห่ง
4) โรงพยาบาลชุมชน ขนาด เตียง จำนวน แห่ง
ขนาด เตียง จำนวน แห่ง
5) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน แห่ง
6) สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี จำนวน แห่ง
7) ศูนย์บริการสาธารณสุข .จำนวน แห่ง

(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)

1.1.5 ข้อมูลบุคลากรด้านสาธารณสุขของจังหวัด (ภาครัฐ)

1) บุคลากรด้านสาธารณสุข ภาครัฐในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวง ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว
2,4
17 สาธารณสุข 10
9 13
0
คน 7
8 คน คน
คน 1,1
96
คน

(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)

2) บุคลากรด้านสาธารณสุข ภาครัฐนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวง ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว
32
3 สาธารณสุข 2
8 2
0
คน ค4น
2 คน คน
22
8
คน

(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)

4

1.1.5 ข้อมูลบุคลากรด้านสาธารณสุขของจังหวัด (ภาครัฐ) (ต่อ)
3) ข้อมูลบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขภาครัฐทุกสังกัด

แพทย์ เภสัชกร

จำนวน 311 คน จำนวน 125 คน
อัตราส่วนต่อประชากร 4,358 คน อัตราส่วนต่อประชากร 10,842 คน

ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ

จำนวน 71 คน จำนวน 1,400 คน
อัตราส่วนต่อประชากร 19,088 คน อัตราส่วนต่อประชากร 968 คน

นักวิชาการสาธารณสุข นักเทคนิคการแพทย์

จำนวน 422 คน จำนวน 52 คน
อัตราส่วนต่อประชากร 3,211 คน อัตราส่วนต่อประชากร 26,062 คน

แพจทำนยว์นแผ52นคไนทย เจ้าพนัจกำนงวานน1ส54าธคนารณสุข

อัตราส่วนต่อประชากร 26,062 คน อัตราส่วนต่อประชากร 8,800 คน

5 (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)

1.1.5 ข้อมูลบุคลากรด้านสาธารณสุขของจังหวัด (ภาครัฐ) (ต่อ)
3) ข้อมูลบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขภาครัฐทุกสังกัด

เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจำหมู่บ้าน (อสม.)
จำนวน 53 คน
อัตราส่วนต่อประชากร 25,571 คน จำนวน 7,691 คน
อัตราส่วนต่อประชากร 176 คน

อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (อสต.)

จำนวน 40 คน
อัตราส่วนต่อประชากร 33,881 คน

(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)

1.1.6 ข้อมูลบุคลากรเฉพาะด้านระบาดวิทยาในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

แพทย์ นักระบาดวิทยา

จำนวน 3 คน จำนวน 1 คน

นักวิชาการ พยาบาล

ที่ผ่านการพัฒนาศักยภาพ ด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ
ที่สามารถดำเนินงานด้านระบาดวิทยา (Infectious control Nurse: ICN)

จำนวน 38 คน จำนวน 8 คน

(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)

6

1.2 สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการได้รับวัคซีนของประชาชน

ผู้เดินทางจากพื้นที่เสี่ยง ผู้เดินทางสงสัยป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรค (PUI)

จำนวน N/A คน จำนวน N/A คน

ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้สัมผัสผู้ป่วยเสี่ยงสูง (High risk)

จำนวน 108,597 คน จำนวน 217,194 คน

การตรวจคัดกรองเชิงรุก

1) Active case finding จำนวน 53,721 คน
2) ผลการตรวจพบเชื้อ จำนวน 3,967. คน

(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)
7

1.2 สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการได้รับวัคซีนของประชาชน (ต่อ)
จำนวนผู้เดินทางจากพื้นที่ที่มีการระบาด

ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เข้ามาในจังหวัด

1) ต่างประเทศ จำนวน 80 คน (ผ่าน SQ)
2) กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จำนวน N/A คน
3) จังหวัดอื่นๆ จำนวน N/A คน

ผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินงาน

อัตราการแพร่เชื้อ อัตราการติดเชื้อ อัตราการรักษาหาย อัตราการเสียชีวิต
ร้อยละ 91.4
(Basic reproductive number : Ro) ร้อยละ 6.8 ร้อยละ 1.11

Ro >1 T

ความร่วมมือในการปฏิบัติตัวของประชาชน : มาตรการ DMHTT (ไทยชนะ)

D M H T -

(Distancing) (Mask Wearing) (Hand Washing) (Testing)

67.5% 95% 77.5% -

การได้รับวัคซีน (ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2564 เป้าหมาย 1,931,727 คน)

วัคซีนเข็ม 1 วัคซีนเข็ม 2
จำนวน 1,471,571 คน จำนวน 1,168,384 คน

ร้อยละ 76.1 ร้อยละ 40.4

วัคซีนเข็ม 3
จำนวน 76,462 คน

ร้อยละ 3.9

8

1.3 ทรัพยากรรองรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
1.3.1 สถานที่รองรับผู้ป่วย

คลินิก ARI Negative Pressure AIIR

จำนวน 28 แห่ง - เตียง จำนวน 2 แห่ง 4 เตียง

AIIR (Adap เป็น ICU ใส่ Ven) Modified AIIR

จำนวน 3 แห่ง 36 เตียง จำนวน 4 แห่ง 27 เตียง

Modified AIIR ICU ห้องแยกเดี่ยว

จำนวน 1 แห่ง 7 เตียง จำนวน 11 แห่ง 758 เตียง

Cohort ward Cohort ICU

จำนวน 25 แห่ง 2,383 เตียง จำนวน 10 แห่ง 166 เตียง

Sub ICU Field Hospital

จำนวน 1 แห่ง 25 เตียง (รพ.สป.) จำนวน 7 แห่ง 2,415 เตียง

Hospitel

จำนวน 30 แห่ง 10,048 เตียง

(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)
9

1.3 ทรัพยากรรองรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ต่อ)
1.3.2 จำนวนสถานที่กักกัน (Quarantine)

คลินิก ARI Negative Pressure AIIR

จำนวน 28 แห่ง - เตียง จำนวน 2 แห่ง 4 เตียง

AIIR (Adap เป็น ICU ใส่ Ven) Modified AIIR

จำนวน 3 แห่ง 36 เตียง จำนวน 4 แห่ง 27 เตียง

(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564)

10



การดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ

2.1 การดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
การถอดบทเรียนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ของจังหวัดสมุทรปราการ เป็นการถอดบทเรียนการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
ในการรับมือ โรค COVID-19 ที่มีการดำเนินงานภายใต้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสมุทรปราการ
และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ โดยกระบวนการประเมินตนเองและใช้กระบวนการกลุ่ม
ในการรวบรวมข้อมูลการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ตามช่วงเวลาของการระบาด แบ่งเป็น 4 ระยะ มีนิยามความหมายของการดำเนินงาน
แต่ระระยะ และผลการดำเนินงานต่างๆ ดังนี้

ระยะที่ ระยะก่อนการระบาด ระลอก 1

1 (ธันวาคม 2562 ถึง มกราคม 2563)

ระยะที่ ระหว่างการระบาด ระลอก 1

2 (มกราคม 2563 ถึง พฤษภาคม 2563)

ระยะที่ ระยะหลังการระบาด ระลอก 1

3 (พฤษภาคม 2563 ถึง 14 ธันวาคม 2563)

ระยะที่ ระยะการระบาด ระลอกใหม่

4 (15 ธันวาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564)

11

2.1.1 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค
สัญลักษณ์เครื่อ

มีการดำเนินกิจกรรม

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

1. กระบวนการและผลการวิเคราะห์/
1) เอกสาร
ประเมินสถานการณ์สำคัญ
คณะกร
1.1 ทบทวนวิเคราะห์สถานการณ์ เอกสารประกอบ ประเมิน
ระบาดของโรค การประชุมคณะกรรมการ
วางแผนและประเมินผล 2) การประ
ประจำทุกเดือน EOC ส
ในสังกัด

3) การประ
โรคติดต่

4) รายงาน
ตามกล่อ

12

คติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ตารางที่ 3)
องหมายในตาราง

ไม่มีการดำเนินกิจกรรม

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

รประกอบการประชุม 1) เอกสารประกอบการประชุม 1) เอกสารประกอบการประชุม
รรมการวางแผนและ คณะกรรมการวางแผนและ คณะกรรมการวางแผนและ
นผลประจำทุกเดือน ประเมินผลประจำทุกเดือน ประเมินผลประจำทุกเดือน
ะชุมคณะกรรมการ 2) การประชุมคณะกรรมการ 2) การประชุมคณะกรรมการ
สสจ.สป/หน่วยงาน EOC สสจ.สป/หน่วยงาน EOC สสจ.สป/หน่วยงาน
ดฯ ในสังกัดฯ ในสังกัดฯ
ะชุมคณะกรรมการ 3) การประชุมคณะกรรมการ 3) การประชุมคณะกรรมการ
ต่อฯ โรคติดต่อฯ โรคติดต่อฯ
นผลการดำเนินงาน 4) รายงานผลการดำเนินงาน 4) รายงานผลการดำเนินงาน
องภารกิจ EOC/SAT ตามกล่องภารกิจ EOC/SAT ตามกล่องภารกิจ EOC/SAT

2

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น

ระยะที่ 1

1.2 ทบทวนวิเคราะห์สถานการณ์ 1) เอกสาร รายงานประจำปี 1) เอกสาร
สุขภาพและพฤติกรรมประชาชน 2) เอกสารประกอบการ การดำเ
ตรวจรา
ตรวจราชการฯ
2) รายงาน
ตามกล่อ

1.3 การจัดกลุ่มประชาชน 1) รายงานสถานการณ์ 1) รายงาน
ตามความเสี่ยงทางระบาดวิทยา การระบาดวิทยาประจำเดือน การระบ

2) รายงาน
ตามกล่อ

1.4 การพยากรณ์/คาดประมาณจำนวน
รายงา
และระดับความรุนแรง
กรรมการบ
ของสถานการณ์โรค รายงานการประชุมคณะ
กรรมการวางแผนและประเมิน
ผล สสจ.สมุทรปราการ

13

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

ร รายงานผล 1) เอกสาร รายงานผล 1) เอกสาร รายงานผล
เนินงานตามตัวชี้วัด การดำเนินงานตามตัวชี้วัด การดำเนินงานตามตัวชี้วัด
าชการ ตรวจราชการ ตรวจราชการ
นผลการดำเนินงาน
องภารกิจ EOC 2) รายงานผลการดำเนินงาน 2) รายงานผลการดำเนินงาน
ตามกล่องภารกิจ EOC ตามกล่องภารกิจ EOC

นสถานการณ์ 1) รายงานสถานการณ์ 1) รายงานสถานการณ์
บาดวิทยาประจำเดือน การระบาดวิทยาประจำเดือน การระบาดวิทยาประจำเดือน
นผลการดำเนินงาน 2) รายงานผลการดำเนินงาน 2) รายงานผลการดำเนินงาน
องภารกิจ EOC ตามกล่องภารกิจ EOC ตามกล่องภารกิจ EOC









านการประชุมคณะ รายงานการประชุมคณะ รายงานการประชุมคณะ
บริหาร/คณะกรรมการ กรรมการบริหาร/คณะกรรมการ กรรมการบริหาร/คณะกรรมการ
EOC EOC EOC

3

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

1.5 การเตรียมความพร้อม 1) รายงานการประชุม 1) รายงาน
ในการรองรับสถานการณ์ คณะกรรมการวางแผน หัวหน้า
1) เฝ้าระวัง ป้องกัน และประเมินผล
2) รายงาน
2) ตรวจคัดกรอง 2) รายงานการประชุม ตามกล่อ
คณะกรรมการบริหารฯ
ของ สสจ.และหน่วยงาน 3) รายงาน
ในสังกัดฯ Morning



4) ภาพกิจก
คำสั่งการตรวจคัดกรองฯ 5) ข่าวประ

1) รายงาน
หัวหน้า

2) รายงาน
ตามกล่อ

3) รายงาน
Morning

4) ภาพกิจก
5) ข่าวประ

14

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ
นการประชุม EOC
องภารกิจที่รับผิดชอบ 2) รายงานการประชุม EOC 2) รายงานการประชุม EOC
นการประชุม ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ
g Talk
กรรมการดำเนินงาน 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
ะชาสัมพันธ์ Morning Talk Morning Talk

4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
5) ข่าวประชาสัมพันธ์ 5) ข่าวประชาสัมพันธ์

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ
นการประชุม EOC
องภารกิจที่รับผิดชอบ 2) รายงานการประชุม EOC 2) รายงานการประชุม EOC
นการประชุม ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ
g Talk
กรรมการดำเนินงาน 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
ะชาสัมพันธ์ Morning Talk Morning Talk

4 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
5) ข่าวประชาสัมพันธ์ 5) ข่าวประชาสัมพันธ์

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1 1) รายงาน
หัวหน้า
3) ตรวจทางห้องปฏิบัติการ


2) รายงาน
4) การดูแลรักษา การดำเนินการตามผัง ตามกล่อ
โครงสร้าง EOC ของสสจ.
และอำเภอทุกแห่ง 3) รายงาน
Morning



4) ภาพกิจก
การดำเนินการตามผัง 5) ข่าวประ
โครงสร้าง/คำสั่ง EOC 1) รายงาน
ของสสจ.และอำเภอทุกแห่ง
หัวหน้า
2) รายงาน

ตามกล่อ
3) รายงาน

Morning
4) ภาพกิจก
5) ข่าวประ

15

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ
นการประชุม EOC
องภารกิจที่รับผิดชอบ 2) รายงานการประชุม EOC 2) รายงานการประชุม EOC
นการประชุม ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ
g Talk
กรรมการดำเนินงาน 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
ะชาสัมพันธ์ Morning Talk Morning Talk

4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
5) ข่าวประชาสัมพันธ์ 5) ข่าวประชาสัมพันธ์

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ
นการประชุม EOC
องภารกิจที่รับผิดชอบ 2) รายงานการประชุม EOC 2) รายงานการประชุม EOC
นการประชุม ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ
g Talk
กรรมการดำเนินงาน 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
ะชาสัมพันธ์ Morning Talk Morning Talk

4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
5) ข่าวประชาสัมพันธ์ 5) ข่าวประชาสัมพันธ์

5

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1 1) รายงาน
หัวหน้า
5) โลจิสติกส์และระบบข้อมูล

(เครื่องมือ/อุปกรณ์ทางการแพทย์
2) รายงาน
และการวางแผนในการจัดส่ง) การดำเนินการตามผัง ตามกล่อ
โครงสร้าง/คำสั่ง EOC
1.6 การสื่อสาร (สถานการณ์โรค/ปัญหา) ของสสจ.และอำเภอทุกแห่ง 3) รายงาน
Morning



4) ภาพกิจก
การดำเนินการตามผัง 5) ข่าวประ
โครงสร้าง/คำสั่ง EOC 6) รายงาน
ของสสจ.และอำเภอทุกแห่ง 1) รายงาน

หัวหน้า
2) รายงาน

ตามกล่อ
3) รายงาน

Morning
4) ภาพกิจก
5) ข่าวประ
6 )การแถล

16

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ
นการประชุม EOC
องภารกิจที่รับผิดชอบ 2) รายงานการประชุม EOC 2) รายงานการประชุม EOC
นการประชุม ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ
g Talk
กรรมการดำเนินงาน 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
ะชาสัมพันธ์ Morning Talk Morning Talk
นโปรแกรม CO-Ward
4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
5) ข่าวประชาสัมพันธ์ 5) ข่าวประชาสัมพันธ์
6) รายงานโปรแกรม CO-Ward 6) รายงานโปรแกรม CO-Ward

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ
นการประชุม EOC
องภารกิจที่รับผิดชอบ 2) รายงานการประชุม EOC 2) รายงานการประชุม EOC
นการประชุม ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ
g Talk
กรรมการดำเนินงาน 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
ะชาสัมพันธ์ Morning Talk Morning Talk
ลงข่าวสื่อมวลชน
4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
5) ข่าวประชาสัมพันธ์ 5) ข่าวประชาสัมพันธ์
6 )การแถลงข่าวสื่อมวลชน 6 )การแถลงข่าวสื่อมวลชน

6

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น

ระยะที่ 1

1.7 การจัดลำดับความสำคัญ
1) รายงาน
ในการดำเนินการเร่งด่วน
หัวหน้า
ตามสถานการณ์ปัญหาในจังหวัด รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์
ปัญหาสาธารณสุขของหน่วยงาน 2) รายงาน
ตามกล่อ

3) รายงาน
Morning

4) ภาพกิจก
5) รายงาน

คณะกร

2. มีการนำข้อเสนอในการดำเนินงาน
ราย
เสนอต่อผู้บริหาร คณะกรรมการ
คณะกร
ควบคุมโรคติดต่อระดับจังหวัด รายงานการประชุม จังหวั
เพื่อพิจารณา คณะกรรมการโรคติดต่อ
จังหวัดสมุทรปราการ

3. มีการประชุมคณะกรรมการควบคุม
ราย
โรคติดต่อระดับจังหวัด เพื่อพิจารณา
คณะกร
ข้อเสนอในรูปของมติที่ประชุม รายงานการประชุม จังหวั
และมีข้อสั่งการ คณะกรรมการโรคติดต่อ
จังหวัดสมุทรปราการ

17

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ
นการประชุม EOC
องภารกิจที่รับผิดชอบ 2) รายงานการประชุม EOC 2) รายงานการประชุม EOC
นการประชุม ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ ตามกล่องภารกิจที่รับผิดชอบ
g Talk
กรรมการดำเนินงาน 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
นการประชุม Morning Talk Morning Talk
รรมการโรคติดต่อฯ
4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
5) รายงานการประชุม 5) รายงานการประชุม

คณะกรรมการโรคติดต่อฯ คณะกรรมการโรคติดต่อฯ









ยงานการประชุม รายงานการประชุม รายงานการประชุม
รรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
วัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ









ยงานการประชุม รายงานการประชุม รายงานการประชุม
รรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
วัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

7

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1 คำสั่งแ
เฉพาะกิ
4. การดำเนินการ
การดำเนิ
4.1 มาตรการทางสังคม
ทุกวัน
- มีการสื่อสาร และสร้างความรอบรู้

ด้านสุขภาพในการป้องกันตนเอง

อย่างต่อเนื่อง รายงานผลการดำเนินงาน
ตามตัวชี้วัดการตรวจราชการ

- มีการสื่อสารแนวทางการรักษา
จั
ความสะอาดและป้องกันการติดเชื้อ
ทุกวัน
ของแต่ละสถานที่ จัดแถลงข่าว
ทุกวัน/จันทร์/พุธ/ศุกร์

18

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4













แต่งตั้งคณะทำงาน คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน
กิจและรายงานผล เฉพาะกิจและรายงานผล เฉพาะกิจและรายงานผล
นินงานจัดแถลงข่าว การดำเนินงานจัดแถลงข่าว การดำเนินงานจัดแถลงข่าว
น/จันทร์/พุธ/ศุกร์ ทุกวัน/จันทร์/พุธ/ศุกร์ ทุกวัน/จันทร์/พุธ/ศุกร์









จัดแถลงข่าว จัดแถลงข่าว
จัดแถลงข่าว ทุกวัน/จันทร์/พุธ/ศุกร์ ทุกวัน/จันทร์/พุธ/ศุกร์
น/จันทร์/พุธ/ศุกร์

8

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1 1) รายงาน
คณะกร
- มีการพัฒนาระบบติดตามการปฏิบัติ
จังหวัดส
ตามมาตรการฯ

2) รายงาน
- มีการจัดตั้งคณะทำงานที่ติดตาม
คณะกร
การปฏิบัติตามมาตรการฯ -
ในระดับประเทศ
3) รายงาน

คณะกร
- มีการสร้างกลไกการกำหนด รายงานการประชุม
มาตรการทางสังคมแบบมีส่วนร่วม คณะกรรมการโรคติดต่อ 1) รายงาน
ทุกภาคส่วน จังหวัดสมุทรปราการ คณะกร

2) คำสั่งคณ
ตรวจคัด
ท่าอากา
ราย
คณะกร
จังหวั

19

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
รรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
นการประชุม 2) รายงานการประชุม 2) รายงานการประชุม
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
นการประชุม 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
รรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
รรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
ณะทำงาน 2) คำสั่งคณะทำงาน 2) คำสั่งคณะทำงาน
ดกรองฯ ตรวจคัดกรองฯ ตรวจคัดกรองฯ
าศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ









ยงานการประชุม รายงานการประชุม รายงานการประชุม
รรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
วัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

9

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น

ระยะที่ 1

- มาตรการทางสังคมอื่น ๆ เฉพาะพื้นที่


4.2 มาตรการสาธารณสุข


- มีการพัฒนาระบบการตรวจ
1) รายงาน
ทางห้องปฏิบัติการ
คณะกร
รายงานการประชุม ของสสจ
คณะกรรมการ EOC ในสังกัด
ของสสจ. และหน่วยงานในสังกัด
2) รายงาน
คณะกร

3) รายงาน
คณะกร
โรงพยา

20

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
จ.และหน่วยงาน ของสสจ.และหน่วยงาน ของสสจ.และหน่วยงาน
ด ในสังกัด ในสังกัด
นการประชุม 2) รายงานการประชุม 2) รายงานการประชุม
รรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
นการประชุม 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
รรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร
าบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล

0

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น

ระยะที่ 1

- มีการพัฒนาระบบการติดตาม
1) รายงาน
เฝ้าระวัง/สอบสวนโรค
คณะกร
รายงานการประชุม ของสสจ
คณะกรรมการ EOC ในสังกัด
ของสสจ. และหน่วยงานในสังกัด
2) รายงาน
คณะกร

3) รายงาน
คณะกร
โรงพยา

- มีการพัฒนาระบบการแยกกัก
คำสั่งแ
หรือคุมไว้สังเกต
State Quara
รายงานการประชุม
คณะกรรมการ EOC
ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด

- มีการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ
1) รายงานก
ให้แก่ประชาชน รายงานการประชุม คณะกรร
คณะกรรมการ EOC ของสสจ.
ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด
2) รายงานผ
ตามตัวชี้

21

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
จ.และหน่วยงาน ของสสจ.และหน่วยงาน ของสสจ.และหน่วยงาน
ด ในสังกัด ในสังกัด
นการประชุม 2) รายงานการประชุม 2) รายงานการประชุม
รรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
นการประชุม 3) รายงานการประชุม 3) รายงานการประชุม
รรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร
าบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล









แต่งตั้งคณะทำงาน คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน
ratine/ Local Qurantine State Quaratine/ Local Qurantine State Quaratine/ Local Qurantine

การประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
รมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด
ผลการดำเนินงาน 2) รายงานผลการดำเนินงาน
ชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข 2) รายงานผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข
ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข
1

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น

ระยะที่ 1

- มีการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ
1) รายงานก
ให้แก่ประชาชน
คณะกรร
รายงานการประชุม ของสสจ.
คณะกรรมการ EOC
ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด 2) รายงานผ
ตามตัวชี้

- มีการส่งเสริมและสนับสนุน
1) รายงานก
การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี
คณะกรร
มาใช้ในการเฝ้าระวัง รายงานการประชุม ของสสจ.
คณะกรรมการ EOC
ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด

- มาตรการทางสังคมอื่น ๆ เฉพาะพื้นที่


22

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

การประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
รมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด
ผลการดำเนินงาน 2) รายงานผลการดำเนินงาน
ชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข 2) รายงานผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข
ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข

การประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
รมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด

2

ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

4.3 การตอบสนองของระบบบริการ

สาธารณสุข
1) รายงานการประชุม 1) รายงาน
- มีการเพิ่มศักยภาพให้กับบุคลากร คณะกรรมการ EOC คณะกร
ทางการแพทย์และสาธารณสุข ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.
สถานที่ในการให้บริการ อุปกรณ์
ในการดูแลรักษา และระบบบริการ 2) รายงาน
ดูแลรักษาโรค COVID-19 งบลงทุน

3) รายงาน
ครุภัณฑ์
จากกอง
จังหวัดส

4) รายงานก
EOC สส
หน่วยงาน

23


Click to View FlipBook Version