The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวม สมุทรปราการ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kullanun Sodakul, 2022-12-01 10:45:13

รวม สมุทรปราการ 1

รวม สมุทรปราการ 1

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นการประชุม 1) รายงานการประชุม 1) รายงานการประชุม
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด ของสสจ.และหน่วยงานในสังกัด
นการจัดทำคำขอ
นและงบค่าเสื่อม 2) รายงานการจัดทำคำขอ 2) รายงานการจัดทำคำขอ
นการได้รับสนับสนุน งบลงทุนและงบค่าเสื่อม งบลงทุนและงบค่าเสื่อม
ฑ์การแพทย์
งทุนพัฒนาไฟฟ้า 3) รายงานการได้รับสนับสนุน 3) รายงานการได้รับสนับสนุน
สมุทรปราการ ทั้ง 4 แห่ง ครุภัณฑ์การแพทย์ ครุภัณฑ์การแพทย์
กาประชุมคณะกรรมการ จากกองทุนพัฒนาไฟฟ้า จากกองทุนพัฒนาไฟฟ้า
สจ.สมุทรปราการ/ จังหวัดสมุทรปราการ ทั้ง 4 แห่ง จังหวัดสมุทรปราการ ทั้ง 4 แห่ง
นในสังกัดฯ
4) รายงานกาประชุมคณะกรรมการ 4) รายงานกาประชุมคณะกรรมการ
EOC สสจ.สมุทรปราการ/ EOC สสจ.สมุทรปราการ/
หน่วยงานในสังกัดฯ หน่วยงานในสังกัดฯ

3


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

- มีการปรับรูปแบบการให้บริการทั้งใน 1) รายงาน
และนอกโรงพยาบาล และโรคอื่น ๆ คณะกร
ในสถานการณ์ปกติใหม่ สสจ.สมุ
(New normal medical care) หน่วยงา

- มีระบบติดตาม ประเมิน 2) รายงาน
และรายงานผลการรักษา คณะกร
โรค COVID-19 และโรคอื่น ๆ จ.สมุทร

1) รายงาน
คณะกรรม
สสจ.สมุท
หน่วยงาน
2) รายงาน
คณะกรรม
จ.สมุทรปร

24


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นกาประชุม 1) รายงานกาประชุม 1) รายงานกาประชุม
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
มุทรปราการ/ สสจ.สมุทรปราการ/ สสจ.สมุทรปราการ/
านในสังกัดฯ หน่วยงานในสังกัดฯ หน่วยงานในสังกัดฯ
นการประชุม
รรมการโรคติดต่อ 2) รายงานการประชุม 2) รายงานการประชุม
รปราการ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ

นกาประชุม 1) รายงานกาประชุม 1) รายงานกาประชุม
มการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
ทรปราการ/ สสจ.สมุทรปราการ/ สสจ.สมุทรปราการ/
นในสังกัดฯ หน่วยงานในสังกัดฯ หน่วยงานในสังกัดฯ
นการประชุม
มการโรคติดต่อ 2) รายงานการประชุม 2) รายงานการประชุม
ราการ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ

4


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

4.4 ข้อมูลและโลจิสติกส์ 1) รายงาน
- มีการป้องกันและรักษา คณะกร
สสจ.สมุ
(Test kit, vaccine, treatment) หน่วยงา
และผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม
และชุมชน 2) รายงาน
คณะกร
จ.สมุทร

25


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นกาประชุม 1) รายงานกาประชุม 1) รายงานกาประชุม
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
มุทรปราการ/ สสจ.สมุทรปราการ/ สสจ.สมุทรปราการ/
านในสังกัดฯ หน่วยงานในสังกัดฯ หน่วยงานในสังกัดฯ
นการประชุม
รรมการโรคติดต่อ 2) รายงานการประชุม 2) รายงานการประชุม
รปราการ คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ

3) แบบรายงานการถอดบทเรียน
การจัดการในสถานการณ์
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
จ.สมุทรปราการ
(ส่งให้ผู้ว่าราชการจังหวัดฯ)

5


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

4.5 การสื่อสาร
1) คณะทำ
- มีการสื่อสารชุมชนในการจัดการ
จัดการค
คณะทำงานบริหาร
ข่าวลวง (Fake news) จัดการความเสี่ยงฯ 2) รายงาน
คณะกร
สสจ.สมุ
หน่วยงา

3) จัดแถลง

- มีการสื่อสารสถานการณ์ฉุกเฉิน

ในพื้นที่
จัดแ

26


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

ทำงานบริหาร 1) คณะทำงานบริหาร 1) คณะทำงานบริหาร
ความเสี่ยงฯ จัดการความเสี่ยงฯ จัดการความเสี่ยงฯ
นกาประชุม
รรมการ EOC 2) รายงานกาประชุม 2) รายงานกาประชุม
มุทรปราการ/ คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
านในสังกัดฯ สสจ.สมุทรปราการ/ สสจ.สมุทรปราการ/
งข่าวทุกวัน หน่วยงานในสังกัดฯ หน่วยงานในสังกัดฯ



3) จัดแถลงข่าวทุกวัน 3) จัดแถลงข่าวทุกวัน/
แถลงข่าวทุกวัน จันทร์/พุธ/ศุกร์


จัดแถลงข่าวทุกวัน/จันทร์/พุธ/ศุกร์


จัดแถลงข่าวทุกวัน/จันทร์/พุธ/ศุกร์

6


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

4.6 มีการประสานการดำเนินงาน 1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ 1) คำสั่งแต่
- ภายในหน่วยงานสังกัดกระทรวง EOC คณะกรร
สาธารณสุข 2)คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโรค
ติดต่อ 2) คำสั่งแต่
จ.สมุทรปราการ คณะทำ

3) คำสั่งแต่
คณะกร
จ.สมุทร

4) ภาพกิจก
ในพื้นที่

5) การเยี่ย
รพ.สต.ทุ

27


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

ต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่งตั้ง
รมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
ต่งตั้ง
ทำงานเฉพาะกิจ 2) คำสั่งแต่งตั้ง 2) คำสั่งแต่งตั้ง
ต่งตั้ง คณะทำงานเฉพาะกิจ คณะทำงานเฉพาะกิจ
รรมการโรคติดต่อ
รปราการ 3) คำสั่งแต่งตั้ง 3) คำสั่งแต่งตั้ง
กรรมการดำเนินงาน คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
ที่ จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ
ยมเสริมพลัง
ทุกแห่ง 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
ในพื้นที่ ในพื้นที่

5) การเยี่ยมเสริมพลัง 5) การเยี่ยมเสริมพลัง
รพ.สต.ทุกแห่ง รพ.สต.ทุกแห่ง

7


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1 1) คำสั่งแต่
คณะกร
- ภายนอกกระทรวงสาธารณสุข 1) คำสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการ EOC 2 )คำสั่งแต่
4.7 มีการบูรณาการการดำเนินงาน คณะทำ
- ภายในหน่วยงานสังกัดกระทรวง 2) คำสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการโรคติดต่อ 3) คำสั่งแต่
สาธารณสุข จ.สมุทรปราการ คณะกร
จ.สมุทร
1) คำสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการ EOC 4) ภาพกิจก
ในพื้นที่
2) คำสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการโรคติดต่อ 1) คำสั่งแต่
จ.สมุทรปราการ คณะกร

2 )คำสั่งแต่
คณะทำ

3) คำสั่งแต่
คณะกร
จ.สมุทร

4) ภาพกิจก
ในพื้นที่

28


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

ต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่งตั้ง
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
ต่งตั้ง
ทำงานเฉพาะกิจ 2 )คำสั่งแต่งตั้ง 2 )คำสั่งแต่งตั้ง
ต่งตั้ง คณะทำงานเฉพาะกิจ คณะทำงานเฉพาะกิจ
รรมการโรคติดต่อ
รปราการ 3) คำสั่งแต่งตั้ง 3) คำสั่งแต่งตั้ง
กรรมการดำเนินงาน คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
ที่ จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ

4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
ในพื้นที่ ในพื้นที่

ต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่งตั้ง
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
ต่งตั้ง
ทำงานเฉพาะกิจ 2 )คำสั่งแต่งตั้ง 2 )คำสั่งแต่งตั้ง
ต่งตั้ง คณะทำงานเฉพาะกิจ คณะทำงานเฉพาะกิจ
รรมการโรคติดต่อ
รปราการ 3) คำสั่งแต่งตั้ง 3) คำสั่งแต่งตั้ง
กรรมการดำเนินงาน คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
ที่ จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ

8 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
ในพื้นที่ ในพื้นที่


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

- ภายนอกกระทรวงสาธารณสุข

1) คำสั่งแต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่
คณะกรรมการ EOC คณะกร

2 )คำสั่งแต่งตั้ง 2 )คำสั่งแต่
คณะทำงานเฉพาะกิจ คณะทำ

3) คำสั่งแต่งตั้ง 3) คำสั่งแต่
คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกร
จ.สมุทรปราการ จ.สมุทร

4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจก
ในพื้นที่ ในพื้นที่

29


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

ต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่งตั้ง 1) คำสั่งแต่งตั้ง
รรมการ EOC คณะกรรมการ EOC คณะกรรมการ EOC
ต่งตั้ง
ทำงานเฉพาะกิจ 2 )คำสั่งแต่งตั้ง 2 )คำสั่งแต่งตั้ง
ต่งตั้ง คณะทำงานเฉพาะกิจ คณะทำงานเฉพาะกิจ
รรมการโรคติดต่อ
รปราการ 3) คำสั่งแต่งตั้ง 3) คำสั่งแต่งตั้ง
กรรมการดำเนินงาน คณะกรรมการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
ที่ จ.สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ

4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน 4) ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน
ในพื้นที่ ในพื้นที่

9


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

5. ผลผลิต/ผลลัพธ์ จากการดำเนินการ
1) รายงาน
5.1 มาตรการ/วิธีการที่จัดทำขึ้น
และผลก
เฉพาะพื้นที่ของจังหวัด ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ ควบคุม
เพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่ ประจำเดือนกำหนดให้
มีการรายงานสถานการณ์ 2) ประชุมหั
โรคโควิด 19 ประจำเ
มีการรา
โรคโควิ

3) จัดแถลง
ทุกวัน แ
พุธ ศุกร์

3) มาตรกา
การนำเ
สมุทรป
จุดตรวจ
ผู้ที่เดินท
และแรง

4) จำกัดกา
แรงงาน

30


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

นสถานการณ์ 1) รายงานสถานการณ์ 1) รายงานสถานการณ์
การดำเนินงาน และผลการดำเนินงาน และผลการดำเนินงาน
มโรคทุกวัน ควบคุมโรคทุกวัน ควบคุมโรคทุกวัน
หัวหน้าส่วนราชการ
เดือนกำหนดให้ 2) ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ 2) ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ
ายงานสถานการณ์ ประจำเดือนกำหนดให้ ประจำเดือนกำหนดให้
วิด 19 มีการรายงานสถานการณ์ มีการรายงานสถานการณ์
งข่าวสื่อมวลชน โรคโควิด 19 โรคโควิด 19
และหรือทุกวันจันทร์
ร์ 3) จัดแถลงข่าวสื่อมวลชน 3) จัดแถลงข่าวสื่อมวลชน
ารป้องกันและสกัดกั้น ทุกวัน และหรือทุกวันจันทร์ ทุกวัน และหรือทุกวันจันทร์
เชื้อเข้าสู่จังหวัด พุธ ศุกร์ พุธ ศุกร์
ปราการ โดยจัดตั้ง
จ จุดคัดกรอง 3) มาตรการป้องกันและสกัดกั้น 3) มาตรการป้องกันและสกัดกั้น
ทางเข้าออก การนำเชื้อเข้าสู่จังหวัด การนำเชื้อเข้าสู่จังหวัด
งงานข้ามชาติ สมุทรปราการ โดยจัดตั้ง สมุทรปราการ โดยจัดตั้ง
ารเคลื่อนย้าย จุดตรวจ จุดคัดกรอง จุดตรวจ จุดคัดกรอง
นต่างด้าว ผู้ที่เดินทางเข้าออก ผู้ที่เดินทางเข้าออก
และแรงงานข้ามชาติ และแรงงานข้ามชาติ

4) จำกัดการเคลื่อนย้าย 4) จำกัดการเคลื่อนย้าย
แรงงานต่างด้าว แรงงานต่างด้าว

0


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

5.2 ผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม

จากการนำมาตรการ/วิธีการ
ไปปฏิบัติ การจัดตั้
(Hos

และรพ.สน
5 แห่ง

กับมหาวิ
รองรับ
1,000 เตี

31


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4









ตั้งหอผู้ป่วยเฉพาะกิจ การจัดตั้งหอผู้ป่วยเฉพาะกิจ การจัดตั้งหอผู้ป่วยเฉพาะกิจ
spitel) 21 แห่ง (Hospitel) 21 แห่ง (Hospitel) 21 แห่ง
นาม (Field Hospital) และรพ.สนาม (Field Hospital) 5 และรพ.สนาม (Field Hospital) 5
โดยความร่วมมือ แห่ง โดยความร่วมมือ แห่ง โดยความร่วมมือ
วิทยาลัยราชภัฏธนบุรี กับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี กับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
บผู้ติดเชื้อมากกว่า รองรับผู้ติดเชื้อมากกว่า รองรับผู้ติดเชื้อมากกว่า
ตียง และภาคเอกชน 1,000 เตียง และภาคเอกชน 1,000 เตียง และภาคเอกชน

1


ตารางที่ 3 ผลการประเมินตนเองการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโ

ประเด็น ระยะที่ 1

5.3 Best Practice/นวัตกรรม/

กระบวนการ วิธีการใหม่ ๆ
ในการแก้ไขปัญหาและบริหาร เอกสารราย
จัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข

32


โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)
การดำเนินงาน

ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4



1) สำนักงานสาธารณสุข


จังหวัดสมุทรปราการร่วมกับ
ยงานผลการดำเนินงาน เอกสารรายงานผลการดำเนินงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ร่วมกันจัดตั้ง Hospitel
และ รพ.สนาม
เป็นแบบอย่างที่ดีสามารถ
รองรับผู้ติดเชื้อได้จำนวนมาก

2) Hospitel ภาคเอกชน
ดูแลผู้ติดเชื้อ 21 โรงแรม

3) การพัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูป
“ ระบบการจัดหาเตียงผู้ป่วย
โควิด19 ”

4) การพัฒนาระบบการจองคิว
ฉีดวัคซีนโควิด 19
“ ปากน้ำพร้อม ”

5) การจัดตั้ง State Quarantine
6) การจัดตั้ง Local Quarantine

2


คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง
1. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 38/2563 เรื่อง แต่งตั้งผู้บัญชาการ

เหตุการณ์และผู้ปฏิบัติงานตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและภัยสุขภาพ
และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Emergency Operation Center) กรณีสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ
ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563

2. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 249/2564 เรื่อง แต่งตั้งผู้บัญชาการ
เหตุการณ์และผู้ปฏิบัติงานตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและภัยสุขภาพ
และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Emergency Operation Center) กรณีสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ
ลงวันที่ 17 กันยายน 2564

3. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 103/2563
เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน
และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID –19)
ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ประจำเดือน มิถุนายน 2563 ลงวันที่ 5 มิถุนายน 2563

4. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 217/2564 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานในพื้นที่กักกันโรคแห่งรัฐ (State Quarantine) โรงแรมเอ็นวายซิตี้
รีสอร์ทแอนด์สปา (NY City Resort & SPA ) อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 30
พฤศจิกายน 2563

5. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 36/2564 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานในพื้นที่กักกันโรคแห่งรัฐ (State Quarantine) โรงแรมเอ็นวายซิตี้
รีสอร์ทแอนด์สปา (NY City Resort & SPA ) อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 3
กุมภาพันธ์ 2564

6. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สมุทรปราการ ที่ 164/2564 เรื่อง แต่งตั้ง
เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงาน
ในพื้นที่กักกันโรคแห่งรัฐ (State Quarantine)
โรงแรมเอช ทู ดู เรสซิเดน (H2Do Resident)
ตำบลบางบ่อ อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ
ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2564

33


คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
7. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 143/2563 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่

ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานในพื้นที่กักกันโรคแห่งรัฐ (State Quarantine) โรงแรม
เดอะ ฌ เฌอ – เดอะ กรีน โฮเทล อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2563

8. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 237/2563 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานในพื้นที่กักกันโรคแห่งรัฐ (State Quarantine) โรงแรม
ดีวาลักซ์ รีสอร์ท แอนด์สปา (Devalux Resort & SPA Hotel) จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่
1 ธันวาคม 2563

9. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 231/2564 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานศูนย์กักกันซึ่งทางราชการกำหนด (State Quarantine : SQ)
โรงแรม โรงแรมโอทู ลักซ์ซ์ชัวรี่ โฮเทล สุวรรณภูมิ (O2 Luxury Hotel Suvarnabhumi) ตำบลบางโฉลง
อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2564

10. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 62/2563 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานศูนย์กักกันของจังหวัด (Local Quarantine) จังหวัดสมุทรปราการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ธนบุรี สมุทรปราการ ลงวันที่ 7 เมษายน 2563

11. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 129/2563 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานศูนย์กักกันของจังหวัด (Local Quarantine) จังหวัดสมุทรปราการ
ณ โรงแรมไอรีนรีสอร์ท ตำบลบางเพรียง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2563

12. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 129/2563 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานศูนย์กักกันของจังหวัด (Local Quarantine) จังหวัดสมุทรปราการ
โรงแรมเอช ไฟว์ ลักชัวรี่ โฮเทล ( H5 Luxury Hotel ) ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2563

34


คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
13. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 137/2564 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่

ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการ (Local Quarantine) จังหวัด
สมุทรปราการ โรงแรมเดอะ โทรจันทร์ (Hotel De Trojan) ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง
จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564

14. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 138/2564 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการ (Local Quarantine) จังหวัด
สมุทรปราการ โรงแรมเดอะ กรีนวิว (The Green View Hotel) ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง
จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564

15. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 233/2564 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการ (Local Quarantine) จังหวัด
สมุทรปราการ โรงแรมโอทู ลักซ์ซ์ชัวรี่ โฮเทล สุวรรณภูมิ (O2 Luxury Hotel Suvarnabhumi)
ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2564

16. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 169/2564 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานนอกสถานที่ในการปฏิบัติงานศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการ (Local Quarantine) จังหวัด
สมุทรปราการ โรงแรมเดอะ ฌ เฌอ – เดอะ กรีน โฮเทล อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ
ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2564
. 17. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 99/2564 เรื่อง มอบหมายโรงพยาบาล
รับผิดชอบดูแลระบบบริการสถานที่ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่เพื่อจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม จังหวัด
สมุทรปราการ ลงวันที่ 22 เมษายน 2564

. 18. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 99/2564 เรื่อง มอบหมายโรงพยาบาล
รับผิดชอบดูแลระบบบริการสถานที่ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่เพื่อจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม
จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 22 เมษายน 2564

. 19. คำสั่งจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 295/2564
เรื่อง จัดตั้งสถานที่ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่
เพื่อจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม ลงวันที่ 18 มกราคม 2564

. 20. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สมุทรปราการ ที่ 156/2564 เรื่อง มอบหมาย
ผู้รับผิดชอบดูแลระบบบริการสถานที่ป้องกัน
และควบคุมโรคในพื้นที่เพื่อจัดตั้งโรงพยาพยาบาลสนาม
จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2564

35


คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
. 21. .คำสั่งจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 3804/2564 เรื่อง มอบหมายผู้รับผิดชอบดูแลระบบบริการ

สถานที่ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่เพื่อจัดตั้งโรงพยาพยาบาลสนาม (Field Hospital) แห่งที่ 2
จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2564

22. .คำสั่งจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 4723 /2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานบริหารจัดการ
การกระจายวัคซีน จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2564

23. คำสั่งจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 2865 /2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 21
พฤษภาคม 2564

. 24. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 56/2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการ
อำนวยการและคณะทำงานบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 5 มีนาคม 2564

. 25. .คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 167/2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงาน
เฉพาะกิจการดำเนินงานให้บริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2564

26. คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 225/2564 เรื่อง แต่งตั้งทีมสนับสนุน
การดำเนินงานสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สมุทรปราการ ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2564

36


2.2 ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จและปัญหา/อุปสรรค
2.2.1 ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จ

วิสัยทัศน์ผู้นำทั้งในระดับกระทรวงสาธารณสุข (กรม/กอง ที่เกี่ยวข้อง) /สปสช./เขตสุขภาพที่ 6/
จังหวัดสมุทรปราการ/สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ และส่วนราชการ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ที่พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉิน รองรับสถานการณ์ฉุกเฉินได้เป็นอย่างดี

การให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เจ้าของสถานประกอบการ
โรงงานอุตสาหกรรม แคมป์ก่อสร้างที่สำคัญได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการนายอำเภอ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ภาคประชาชน ผู้นำชุมชน และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

การสื่อสารสาธารณะให้ประชาชนเข้าใจสถานการณ์และให้ความร่วมมือในการดำเนินการ
ตามมาตรการที่ส่วนกลางกำหนดอย่างเคร่งครัด

การให้การสนับสนุนวัคซีนโควิด 19 ที่เพียงพอและเหมาะสมโดยเฉพาะในพื้นที่ กทม.และปริมณฑล
การสร้างการรรับรู้ให้ข้อมูลสถานการณ์ที่ถูกต้องและเป็นจริงแก่ประชาชนได้รับทราบเพื่อเข้าใจ
สถานการณ์ การแถลงข่าวสื่อมวลชนต่างๆ ซึ่งเป็นช่องทางหนึ่งที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้

ปัญหาอุปสรรค : เนื่องจากการแพร่ระบาดเป็นลักษณะ Multi Cluster ครอบคลุมทั้งโรงงาน

อุตสาหกรรม แคมป์ ตลาด ชุมชน ซึ่งการควบคุมและยับยั้งการแพร่ระบาดค่อนข้างมีความยากลำบาก
ซึ่งต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะสถานประกอบการและองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะต้องให้ความร่วมมืออย่างจริงจังลำพังหน่วยงานสาธารณสุข
เพียงหน่วยงานเดียวสามารถไม่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้ทั้งหมด

37


2.2 ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จและปัญหา/อุปสรรค (ต่อ)

2.2.2 โครงสร้าง วิธีการดำเนินงาน : รูปแบบโครงสร้างการบริหารจัดการของจังหวัดที่ มีเอกภาพ
การทำงานในเชิงรุกการขับเคลื่อนให้เกิดความต่อเนื่อง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ เช่น การแต่งตั้งคณะกรรมการฯ
คณะทำงานในทุกระดับ หรือคณะทำงานอื่นๆ ที่จังหวัดแต่งตั้งขึ้นในพื้นที่ ฯลฯ จังหวัดสมุทรปราการ
มีการจัดโครงสร้างการบริหารจัดการภายใต้กลไกคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสมุทรปราการ ภายใต้
ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรค จังหวัดสมุทรปราการ (ศปก.จังหวัดสมุทรปราการ) ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรค
ระดับอำเภอ (ศปก.อำเภอ) และศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคระดับตำบล/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ศปก.ตำบล/ศปก.อปท.) โดยมีผู้รับผิดชอบชัดเจนขับเคลื่อนการเนินงานทั้งเชิงรับและเชิงรุก

สำหรับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ได้มีการจัดทำผังบัญชาการเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข กรณีสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีการแต่งตั้งผู้บัญชาการเหตุการณ์
ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและภัยสุขภาพ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (Emergency
Operation Center) กรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการมีการจัดแบ่งกลุ่มภารกิจเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานที่ชัดเจน
ตามบริบทของพื้นที่ ได้แก่ 1) กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Management) 2) กลุ่มภารกิจตระหนักรู้
สถานการณ์ (Situation Awareness Team) 3) กลุ่มภารกิจ
ปฏิบัติการสอบสวน ควบคุมโรค (Operation Sectors)
4) กลุ่มภารกิจค้นหาผู้ป่วยเชิงรุก (Survey : Active
Case Finding , Active Survey) 5) กลุ่มภารกิจการบริหาร
จัดการควบคุมโดยหลักการ Bubble and Sealed (Bubble
and Sealed Management) 6) กลุ่มภารกิจบริหารจัดการ
สถานที่กักกันซึ่งทางราชการกำหนด (SQ Management)
7) กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management)
8) กลุ่มภารกิจบริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยที่บ้านและศูนย์โควิด 19
(HI ,CI Management) 9) กลุ่มภารกิจส่งกำลังบำรุง การเงินและงบประมาณ (Logistic and Financial
Sections) 10) กลุ่มภารกิจการบริหารจัดการวัคซีน (Vaccine Management) และ 11) กลุ่มภารกิจประสาน
และเลขานุการ (Liaison) เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
และคณะทำงานรองรับการปฏิบัติงานฯ ที่สำคัญได้แก่ คณะกรรมการบริหารจัดการเตียง จังหวัดสมุทรปราการ
คณะทำงานเฉพาะกิจการบริหารจัดการวัคซีน จังหวัดสมุทรปราการทีมสนับสนุนการดำเนินงานสอบสวน
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ เป็นต้น

38


2.2 ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จและปัญหา/อุปสรรค (ต่อ)
2.2.2 โครงสร้าง วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

การบูรณาการการทำงานของจังหวัดสมุทรปราการ โดยมีประเด็นการบูรณาการ อาทิ 1) การบูรณาการ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน เป้าหมาย 2) งบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรอื่นๆ แบ่งเป็น

1 การบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ทั้งในและนอกพื้นที่) จังหวัดสมุทรปราการ

โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ได้บูรณาการการทำงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับทั้งหน่วยงาน
ภาครัฐและภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานด้านการปกครอง ผู้นำชุมชนและภาคประชาชน
เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินร่วมกัน ดังนี้

1.1) หน่วยงานสาธารณสุขภาครัฐทุกระดับ ตั้งแต่ระดับจังหวัดได้แก่ สำนักงานสาธารณสุข
จังหวัดสมุทรปราการโรงพยาบาลสมุทรปราการ ซึ่งเป็นโรงพยาบาลศูนย์ระดับจังหวัด โรงพยาบาลบางพลี
ซึ่งเป็นโรงพยาบาลทั่วไปประจำจังหวัด ระดับอำเภอ ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุกแห่ง โรงพยาบาล
ชุมชนทุกแห่ง ระดับตำบลได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง ซึ่งมีจำนวน 73 แห่ง รวมถึง
อาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งมีมากกว่า 8,000 คน รวมถึงโรงพยาบาลภาครัฐ
ในสังกัดกรม/กองต่างๆ ได้แก่ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทน์สถาบันราชประชาสมาสัย โรงพยาบาล
ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ สถานีกาชาดที่ 5 สวางคนิวาส ฯ เป็นต้น นอกจากนั้นแล้ว ยังได้รับการสนับสนุน
และบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานในระดับกระทรวงสาธารณสุขที่ได้มีการส่งบุคลากร
ด้านการบริหารจัดการและด้านวิชาการ เป็ฃกษาในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค ซึ่งได้แก่ รองอธิบดี
กรมควบคุมโรค ผู้อำนวยการกองระบาดวิทยาและคณะทำงานฯ สำนักงานควบคุมโรคที่ 6 ชลบุรี และทีมงาน
ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และสาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 6 ที่ได้ลงพื้นที่ร่วมปฏิบัติงาน
ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ

39


2.2 ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จและปัญหา/อุปสรรค (ต่อ)
2.2.2 โครงสร้าง วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)
1.2) ภาครัฐ ส่วนราชการต่างๆ ของจังหวัดสมุทรปราการ ทุกส่วนราชการที่ได้ให้ความร่วมมือ

และสนับสนุนการดำเนินงานเป็นอย่างดี เช่น กรมควบคุมโรค กองระบาดวิทยาฯ กรมอนามัย เขตสุขภาพที่ 6
สคร.6 ศูนย์สุขภาพจิตเขต 6 ฯลฯ รวมถึงหน่วยงานด้านการปกครอง กอ.รมน. กองทัพฯ ที่ให้การสนับสนุน
บุคลากรในการดูแลความปลอดภัย และอำนวยความสะดวกในด้านอื่นๆ

1.3) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ที่ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน
ทั้งในการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม และหอผู้ป่วยเฉพาะกิจในพื้นที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จำนวน 48 แห่ง ที่สนับสนุนการดำเนินงานศูนย์โควิด-19 ชุมชน (Community Isolation) และ Home Isolation

1.4) องค์กรด้านการปกครองในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับพื้นที่
ผู้นำชุมชนต่างๆ ที่ให้การสนับสนุนการดำเนินงานควบคุมโรคฯ

2 การบูรณาการการทำงานระหว่างภาคส่วนอื่นๆ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชน

(ทั้งในและนอกพื้นที่)
2.1) บูรณาการการทำงานร่วมกับโรงพยาบาลเอกชน 21 แห่งในจังหวัดสมุทรปราการ

ในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ติดเชื้อ และประสานเชื่อมโยงกับ รพ.เครือข่ายนอกพื้นที่
. 2.2) บูรณาการการทำงานร่วมกับมหาวิทยาลัยในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์สถานที่ในการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม และหอผู้ป่วยเฉพาะกิจ (Hospitel)
สามารถรองรับผู้ติดเชื้อฯ ได้จำนวนมาก มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ที่ได้ให้ความร่วมมือ
ในการเป็นสถานที่ที่เป็นจุดฉีดวัคซีนในการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ประสานเชื่อมโยง
กับหน่วยงานนอกเครือข่ายจังหวัดสมุทรปราการในการสนับสนุนช่วยเหลือ

. 2.3) บูรณาการการทำงานร่วมภาคเอกชน มูลนิธิต่างๆ ในการรับส่งต่อผู้ป่วยและอื่นๆ
2.4) บูรณาการการทำงานร่วมกับภาคประชาชน

องค์กร ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลประชาชน
ในพื้นที่ รวมทั้งประชาชนที่มีจิตศรัทธาทั้งในจังหวัด
และนอกที่บริจาคสิ่งของต่างๆ จำนวนมากในการดูแล
ผู้ติดเชื้อฯ

40


2.2 ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จและปัญหา/อุปสรรค (ต่อ)
2.2.2 โครงสร้าง วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)
การสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจต่อประชาชน และสาธารณชน ทั้ง ก่อน/ระหว่าง/หลังสถานการณ์

วิกฤติจากการแพร่ระบาด โดยอธิบายการสร้างการรับรู้เข้าใจในทุกมิติ รวมถึงการจัดการกรณีเกิดการเผยแพร่
ข้อมูลบิดเบือน ที่สร้างให้เกิดความเข้าใจผิดของประชาชนในพื้นที่

1) จังหวัดสมุทรปราการ ได้จัดให้มีการจัดแถลงข่าวสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง ทุกวันในกรณี
สถานการณ์ฉุกเฉินและทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์ เมื่อสถานการณ์คลี่คลาย เพื่อสื่อสารทำความเข้าใจ
กับสาธารณะชนในทุกประเด็นอย่างต่อเนื่อง

2) จังหวัดสมุทรปราการ โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ได้สื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ
กับประชาและสาธารณะชน โดยกลไกกลุ่มภารกิจการสื่อสารความเสี่ยง (Risk Management)
ตามผังโครงสร้าง EOC ซึ่งได้มีการดำเนินการทั้งก่อน ระหว่าง และหลังสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ดังนี้

2.1 เฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ
ทุกช่องทางและประเมินการรับรู้ของสาธารณะ
(Public perceptions) และจัดทำแผนสื่อสาร
ความเสี่ยงที่เหมาะสมและรวดเร็ว

2.2 เฝ้าระวังข่าวลือจากช่องทางต่างๆ
และตอบโต้อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว

2.3 จัดทำข้อมูลข่าวสาร ประเด็นข่าว
(Press release) ประสานสาร (Talking point)
ที่ถูกต้อง แม่นยำ และครบถ้วน เหมาะสมกับ
สถานการณ์และกลุ่มภารกิจ

2.4 ดำเนินการสื่อสารความเสี่ยงผ่าน
ช่องทางต่างๆ รวมทั้งผลิตสื่อเพื่อเผยแพร่
ด้วยรูปแบบที่เหมาะสม

2.5 จัดทำทำเนียบผู้บริหาร โฆษก
และวิทยากร เพื่อแถลงข่าวให้สื่อมวลชน
และให้ความรู้ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2.6 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งใน
และนอกองค์กร เพื่อดำเนินการสื่อสารความเสี่ยง

41


2.3 ข้อเสนอแนะการดำเนินงานในอนาคต
2.3.1 ต่อผู้บริหารระดับประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด

ระดับประเทศ

การประชาสัมพันธ์สื่อสาธารณะอย่างกว้างขวาง
ในการให้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการ DMHTTA
อย่างเคร่งครัดต่อเนื่อง

ระดับเขต

การวางระบบการบริหารทรัพยากรในระดับเขต
โดยฉพาะทรัพยากรบุคคลเพื่อให้สามารถสนับสนุน
จังหวัดที่ประสบปัญหาการแพร่ระบาด
ระดับจังหวัด
การผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่มีบทบาทในการดำเนินการควบคุมการแพร่ระบาด
ของโรคอย่างจริงจัง ครอบคลุมทุกพื้นที่ ยกระดับศักยภาพของสถานบริการระดับปฐมภูมิ
นโยบาย 3 หมอ และศักยภาพ อสม. เพื่อสร้างความยั่งยืน
2.3.2 เพื่อการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการในอนาคตในสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
การถอดบทเรียนเพื่อการบริหารการพัฒนา ในสถานการณ์ฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุขให้สามารถสะท้อนปัญหาที่แท้จริงของพื้นที่
และการวางมาตรการการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้ออย่างต่อเนื่องระยะยาว กำหนดบทบาทหน้าที่
ที่ชัดเจนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(Stakeholder)

42


2.4 กรณีศึกษาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)
ในระดับอำเภอ (Best Practice) อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

2.4.1 การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลอำเภอ

1 สถานการณ์ปัญหาในพื้นที่ การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา

อำเภอพระสมุทรเจดีย์เป็น 1 ใน 6 อำเภอของจังหวัดสมุทรปราการ
มีประชากรรับผิดชอบ จำนวน 149,195 คน 69,069 หลังคาเรือน
มีอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 904 คน การปกครองแบ่งออกเป็น
5 ตำบล 42 หมู่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 6 แห่ง
ประกอบด้วย (1) เทศบาลตำบลพระสมุทรเจดีย์ (2) เทศบาล
ตำบลแหลมฟ้าผ่า (3) อบต.นาเกลือ (4) อบต.แหลมฟ้าฝ่า
(5) อบต.บ้านคลองสวน และ (6) อบต. ในคลองบางปลากด
รพ.สต.จำนวน 10 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 1 แห่ง

ในปี 2564 จังหวัดสมุทรปราการ มีโรงงานอุตสาหกรรม
จำนวนทั้งสิ้น จำนวน 6,832 แห่ง อำเภอพระสมุทรเจดีย์ มีโรงงาน
อุตสาหกรรม จำนวนทั้งสิ้น 651 แห่ง เป็นลำดับที่ 5 ของอำเภอใน
จังหวัดสมุทรปราการ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ มีพื้นที่เชื่อมติดต่อติดกับพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร
และจังหวัดสมุทรสาคร

2 มาตรการในการดำเนินงานก่อนการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)

และ Best Practice : ในช่วงสถานการณ์การก่อนการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ในจังหวัดสมุทรปราการ และอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ได้มีการเตรียมความพร้อมก่อน
การแพร่ระบาดในพื้นที่ โดยได้มีการเตรียมดำเนินการในด้านต่างๆ ดังนี้

2.1) ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทาง : สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ร่วมกับโรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์
สวาทยานนท์ และนายอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ร่วมกันประชาสัมพันธ์ กลุ่มองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและอาสาสมัครสาธารณสุข ให้ทราบถึงสถานการณ์ของโรคในทุกช่องทาง
ผ่านระบบเสียงตามสายของหมู่บ้านที่ยังมีการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบ Line Facebook live เรารัก
อำเภอพระสมุทรเจดีย์ การเดินเท้าประชาสัมพันธ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ฯลฯ

43


2.4 กรณีศึกษาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)
ในระดับอำเภอ (Best Practice) อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)

2.4.1 การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลอำเภอ (ต่อ)

2.2) กำหนดนโยบายคุมเข้ม : ร่วมกันกำหนดนโยบายในการเฝ้าระวังป้องกันโรค
ร่วมกับอำเภอมีมาตรการการกักตัวและควบคุมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง คนที่เดินทาง
มาจากสถานที่ต่างๆ ตั้งจุดจตรวจ เพื่อช่วยดูแลคนเข้าออกหมู่บ้าน
2.3) ความร่วมมือแบบครบวงจร : เตรียมความพร้อมทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันและควบคุม
การแพร่ระบาดของโรค ไม่ว่าจะเป็น Mask Face Shield ชุด PPE ฯลฯ
ซึ่งในช่วงขาดแคลนสินค้าชุมชนได้มีส่วนร่วมกันดำเนินการจัดหาและจัดทำกันเอง
โดยเฉพาะ Mask ผ้า ด้วยความร่วมมือจากผู้มีจิตศรัทธา ชุมชน อปท.
นักการเมืองในพื้นที่เกิดความร่วมมือกันอย่างครบวงจร

2.4) เตรียมความพร้อมโรงงานอุตสาหกรรมเสี่ยงแพร่ระบาดในการทำ Bubble & Seal
และ FAI : มาตรการเชิงพื้นที่ โดยร่วมกันเตรียมความพร้อมในโรงงานอุตสาหกรรม
ให้ความรู้ในการดำเนินการจัดทำ Bubble & Seal และ FAI ในโรงงานที่มีความเสี่ยง
ซึ่งเมื่อเกิดการแพร่ระบาดของโรค จะได้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานมากกว่า
10 โรงงาน ร่วมกับทีมงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ทีมงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ฝ่ายปกครอง ศปค.อำเภอ ปลัดอำเภอ ผู้นำท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และ อสม. ในพื้นที่

3 มาตรการในการดำเนินงานช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)

และ Best Practice : ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวัด
สมุทรปราการ และพื้นที่อำเภอพระสมุทรเจดีย์ ทีมงานระดับอำเภอละระดับตำบลได้เร่งดำเนินการ
ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเต็มที่ภายใต้การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

3.1 นโยบายชัดเจน : นโยบายผู้บริหารระดับอำเภอ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์
สวาทยานนท์ มีความชัดเจน เป็นมาตรการหลักในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยเน้นย้ำแนวปฏิบัติดังนี้

“ Early Detect Early Diagnosis Early Treatment ”

และ “ ห้ามมีผู้ติดเชื้อเสียชีวิตที่บ้าน ”

ทุกอย่างดำเนินการอย่างรวดเร็ว (Speed) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่บ่งชี้ความสำเร็จที่สำคัญควบคู่กับการเร่งรัด
การให้วัคซีนครบคลุมโดยเร็ว

44


2.4 กรณีศึกษาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)
ในระดับอำเภอ (Best Practice) อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)

2.4.1 การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลอำเภอ (ต่อ)
3.2) Bubble & Seal และ FAI ในโรงงานอุตสาหกรรม : ในกรณีที่มีผู้ติดเชื้อในโรงงานอุตสาหกรรม

ได้มีการทำ Bubble & Seal โดยความร่วมมือของโรงงานอุตสาหกรรม ได้มีการเตรียมความพร้อม
และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานจากทุกภาคส่วน

3.3) ฝึกสอนเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ดำเนินการจัดทำ SWAB กลุ่มเสี่ยงได้ เพื่อส่งตรวจ RT-PCR อย่างรวดเร็ว :
โรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์สวาทยานนท์ โดยผู้อำนวยการโรงพยาบาลได้มีนโยบายให้เจ้าหน้าที่ในพื้นที่
ดำเนินการจัดทำ SWAB เองได้ เพื่อการค้นหาผุ้ติดเชื้ออย่างรวดเร็ว โดยผู้อำนวยการโรงพยาบาล
สอนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกคนให้มีความรู้ในการดำเนินการ SWAB ซึ่งสามารถทำให้ค้นหาผู้ติดเชื้อ
ได้อย่างรวดเร็ว

3.4) จัดตั้ง CCRT Team ดำเนินการเชิงรุกในพื้นที่ : Comprehensive Covid-19 Response Team
เป็นทีมสหวิชาชีพ ดำเนินการเชิงรุกในพื้นที่ ในการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ ตรวจ ATK โดยเฉพาะการให้วัคซีน
ในกลุ่มเปราะบาง กลุ่ม 608 ที่ไม่สามารถเดินทางมารับวัคซีนได้ตามบ้าน ซึ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์
ได้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

45


2.4 กรณีศึกษาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)
ในระดับอำเภอ (Best Practice) อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)

2.4.1 การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลอำเภอ (ต่อ)
3.5) เร่งรัดการฉีดวัคซีนให้ครอบคลุมมากที่สุดทุกชีวิตในอำเภอพระสมุทรเจดีย์ทั้งคนไทยและคนต่างด้าว

อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันตามหลักสิทธิมนุษยชน : ได้ดำเนินการเร่งรัดการให้วัคซีนในทุกกลุ่มเป้าหมาย
ทั้งเชิงรับและเชิงรุก จัดตั้งจุดฉีดทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ คิดค้นกลยุทธ์จูงใจให้ผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง 608
มารับวัคซีน โดยการจับฉลากแจกทอง และเงิน ผู้มาฉีดวัคซีน ซึ่งมีผู้มีจิตศรัทธาบริจาค ซึ่งทำให้ความครอบคลุม
การได้รับวัคซีนมีความครอบคลุมตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

(ภาพแสดงจุดฉีดในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนสะดวกมารับบริการ)

(ภาพแสดงการจับฉลากแจกทองและเงินแก่กลุ่มผู้สูงอายุที่มารับวัคซีน)
46


2.4 กรณีศึกษาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)
ในระดับอำเภอ (Best Practice) อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)

2.4.1 การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลอำเภอ (ต่อ)

4 มาตรการ แผนในการดำเนินงานฟื้นฟูหลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(COVID -19) และ Best Practice : ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ดีขึ้น จำนวนผู้ป่วยลดลง เตรียมความพร้อมเข้าสู่ Post Pandemic อำเภอพระสมุทรเจดีย์ ได้ดำเนินการ
ตามมาตรการแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขและนโยบายของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
สมุทรปราการ “Ole Strategy”

โดยเร่งรัดดำเนินการตามหลักการ ดังนี้

= On Line ดำเนินการใช้ข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยบริการ เชื่อมโยงระบบการจัดการข้อมูล คปสอ.
พระสมุทรเจดีย์

= Enviornment โดยเน้นการจัดการสิ่งแวดล้อมตามหลัก Infection Control, การจัดให้มี
ARI Clinic ใน รพ.สต.ทุกหน่วยบริการ จำนวน 10 หน่วยบริการ Green & Clean, CFS
และ 5 ส.
47


2.4 กรณีศึกษาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)
ในระดับอำเภอ (Best Practice) อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ (ต่อ)

2.4.1 การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลอำเภอ (ต่อ)

จากการถอดบทเรียนการดำเนินงานรับมือกับภาวะฉุกเฉินกรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ พบว่า ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญ
ได้แก่การเข้ามามีส่วนร่วมของทุกภาคีเครือข่ายอย่างแท้จริง ทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทั้งองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่การดำเนินงาน
“ ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ” การดำเนินงานครอบคลุมทั้งคนไทยและคนต่างด้าวยึดหลักสิทธิมนุษยชน ผู้บริหาร
ระดับอำเภอทุกภาคส่วนมีความมุ่งมั่นในการดำเนินงาน มีศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคระดับอำเภอและระดับ
ตำบลที่มีการขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่อง มีการวิเคราะห์สถานการณ์ข้อมูล ชี้เป้าพื้นที่เสี่ยงเพื่อการกำกับ
ติดตามการดำเนินงานของพื้นที่ และรายงานผลการติดตามการดำเนินงานเป็นประจำทุกวันอย่างต่อเนื่อง
มีการนำ 3 หมอ ขับเคลื่อนการดำเนินงานในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม

ปัญหาอุปสรรคหรือ GAP ที่สำคัญ ได้แก่ ความหลากหลายของประชากรในพื้นที่ ทำให้การดำเนินงาน
ค่อนข้างลำบากและซับซ้อน ซึ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ก็สามารถแก้ไขปัญหาด้วยดี สำหรับข้อเสนอเชิงนโยบาย
ที่สำคัญคือการสร้างความรู้ ความเข้าใจ
สื่อสารการดำเนินงานให้ชัดเจนให้แก่
บุคลากรที่ปฏิบัติงานบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ครอบคลุมและทั่วถึง จะทำให้การดำเนินงาน
มีความรวดเร็วและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งการเตรียมความพร้อมในการตอบโต้
ภาวะฉุกเฉินอย่างต่อเนื่อง

48


การจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคติดต่อ
จังหวัดสมุทรปราการ

3.1 ผลการดำเนินงานการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคติดต่อ
จังหวัดสมุทรปราการ
ผลการดำเนินงานการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคติดต่อ

จังหวัดสมุทรปราการ เป็นข้อมูลจากการประเมินตนเองของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสมุทรปราการ
มีคะแนนการประเมินแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ใช่ บางส่วน และไม่ใช่ ซึ่งแต่ละระดับมีความหมาย
ดังนี้ 1) ใช่ หมายถึง การปฏิบัติงานตามรายละเอียดการประเมินทุกประการ 2) บางส่วน หมายถึง
การปฏิบัติงานเป็นไปตามรายละเอียดการประเมินบางประการ 3) ไม่ใช่ หมายถึง การปฏิบัติงาน
ไม่เป็นไปตามรายละเอียดการประเมิน มีรายละเอียดการดำเนินงานที่สำคัญเป็น 7 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ ภาวะผู้นำและการบริหารและการจัดการ

ส่วนที่ กำลังคนด้านสุขภาพ

ส่วนที่ เวชภัณฑ์ วัคซีนและเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข

ส่วนที่ ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ

ส่วนที่ การเงินการคลังด้านสุขภาพ

ส่วนที่ ระบบบริการสุขภาพ

ส่วนที่ การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข และภาคประชาชน
ในการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สัญลักษณ์เครื่องหมายตาราง ใช่ บางส่วน ไม่ใช่

49


ส่วนที่ 1 ภาวะผู้นำและการบริหารและการจัดการ

1.1 กรอบการดำเนินการทางกฎหมาย สำหรับการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 4 คุณลักษณะที่ 1 : ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง นโยบาย และแผนงาน ในระดับจังหวัด
ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและการจัดการสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ครอบคลุม
ประกาศจังหวัดสมุทรปราการ
การบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉิน เรื่องมาตรการป้องกัน
ด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด และยับยั้งการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(โควิด 19) จ.สมุทรปราการ
ฉบับที่ 1-19

2 มีระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ครอบคลุมทุกระยะ ประกาศจังหวัดสมุทรปราการ
ของการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินฯ ได้แก่ เรื่องมาตรการป้องกัน
ระยะป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention and และยับยั้งการแพร่ระบาด
mitigation) ระยะเตรียมความพร้อม (Preparedness) ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ระยะเผชิญเหตุหรือการรับมือ (Response) (โควิด 19) จ.สมุทรปราการ
และระยะฟื้นฟูภายหลังเกิดสถานการณ์ (Recovery) ฉบับที่ 1-19

3 มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุงและแก้ไข ระเบียบ ปรับปรุงให้สอดคล้อง
ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ให้เท่าทันกับสถานการณ์ กับประกาศ/คำสั่ง ศบค.
ที่เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ

4 มีระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง การกำหนด มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้ง
เงื่อนไข และขั้นตอน เพื่อรองรับการกักกันบุคคล State Quarantine ,
(quarantine) หรือการแยกบุคคล (isolation) Local Quarantine

50


ตารางที่ 5 คุณลักษณะที่ 2 : โครงสร้างการประสานงานและการบริหารและการจัดการสถานการณฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของหน่วยงานศาธารณสุข
ในระดับจังหวัด

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีโครงสร้างการบริหารและการจัดการสถานการณ์
เป็นไปตามพระราชบัญญัติ
ฉุกเฉินฯ ที่มีองค์ประกอบจากคณะกรรมการ โรคติดต่อ พ.ศ.2558
ที่มาจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

2 มีกลไกการเชื่อมโยงและประสานการทำงาน ตามคำสั่งจังหวัดสมุทรปราการ
ในแต่ละระดับการปฏิบัติงานภายใต้โครงสร้าง ที่ 7480/2563
การบริหารฯ ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2563

3 โครงสร้างการบริหารและการจัดการการประสานงาน เป็นไปตามกรอบพัฒนา
ได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการ ของพรบ.โรคติดต่อ
หรือคณะทำงานต่าง ๆ ที่มีความเชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

4 มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
ของคณะกรรมการหรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง
อย่างชัดเจน

5 คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด มีการสนับสนุน - งบป้องกันและบรรเทาสารณภัย
กลไกเพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อการจัดสรรทรัพยากร - งบจากองค์การบริหาร
อย่างเพียงพอสำหรับการลดความเสี่ยง ส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
เตรียมความพร้อม และรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินฯ

51


ตารางที่ 6 คุณลักษณะที่ 3 : กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง นโยบาย และแผนงาน ในระดับ
จังหวัดที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือจากหน่วยงานสาธารณสุขจากภายนอกจังหวัด เพื่อร่วมบริหารและจัดการสถานการณ
ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ในการรับมือกรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง
มีจากจังหวัดฉะเชิงเทรา/
นโยบาย และแผนงาน ที่เกี่ยวข้องกับการระดม สคร.6 ชลบุรี
ความช่วยเหลือด้านกำลังคนสาธารณสุข
จากภายนอกจังหวัด เพื่อร่วมบริหารและจัดการ
สถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

2 มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง จากองค์การบริหาร
นโยบาย และแผนงาน ที่เกี่ยวข้องกับการระดม ส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
ความช่วยเหลือด้านวัสดุ/อุปกรณ์/ยา/เวชภัณฑ์ กองทุนพัฒนาไฟฟ้า
จากภายนอกจังหวัด เพื่อร่วมบริหารและจัดการ จังหวัดสมุทรปราการ
สถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

.1.2 กรอบการดำเนินงานของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัดในการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 7 คุณลักษณะที่ 4 : คณะกรรมการในการบริหารและจัดการสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารและจัดการ
มีศูนย์บริหารสถานการณ์
สถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไวรัสโคโรนา 2019
ในระดับจังหวัด จังหวัดสมุทรปราการ
(ศบค.จ.สป.)

2 คณะกรรมการฯ ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

52


ตารางที่ 7 คุณลักษณะที่ 4 : คณะกรรมการในการบริหารและจัดการสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ต่อ)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

3 มีการกำหนดหน้าที่และอำนาจหรือความรับผิดชอบ
ของคณะกรรมการฯ ที่ชัดเจน

4 มีการกำหนดแผนการประชุมของคณะกรรมการฯ มีคณะกรรมการระดับอำเภอ
5 คณะกรรมการฯ มีการกำหนดกลไกความร่วมมือ มีนายอำเภอเป็นผู้บัญชาการ

จากหน่วยงานระดับปฏิบัติการ
6 มีคณะกรรมการฯ ระดับอำเภอที่มีโครงสร้าง

เดียวกันหรือสอดคล้องกับระดับจังหวัด

ตารางที่ 8 คุณลักษณะที่ 5 : หน่วยปฏิบัติการด้านสาธารณสุขในการบริหารและการจัดการสถานการณฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 หน่วยปฏิบัติการฯ มีทรัพยากร และกลไก
มีงบประมาณสนับสนุน
การสนับสนุนการดำเนินงานจนสำเร็จภารกิจ จากภายในและภายนอก
องค์กรสาธารณสุข

2 มีการกำหนดหน้าที่และอำนาจหรือความรับผิดชอบ
ของหน่วยปฏิบัติการฯ ที่ชัดเจน

3 หน่วยปฏิบัติการฯ มีการประสานงาน ติดตาม
และให้ข้อเสนอแนะต่อแผน การเตรียมความพร้อม
โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
จากทุกภาคส่วน

4 หน่วยปฏิบัติการฯ ทุกระดับในจังหวัด
มีโครงสร้างเดียวกันหรือสอดคล้องกับระดับจังหวัด

53


ตารางที่ 9 คุณลักษณะที่ 6 : กลไกการประสานงานและการสร้างภาคีเครือข่ายของหน่วยงานสาธารณสุข
ในระดับจังหวัด ในการบริหารและการจัดการสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีการกำหนดกลไกการดำเนินงานร่วมกัน
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
ระหว่างภาครัฐ เอกชนและภาคประชาชน จากภาคเอกชนและมีการประชุม
ร่วมกันระหว่างรัฐและเอกชน

2 หน่วยงานสาธารณสุขในทุกระดับ มีการประสานงาน
ภายใต้กลไกภาครัฐ เอกชนและภาคประชาชน

3 มีการกำหนดกลไกการประสานงาน และการประชุม
วางแผนเพื่อลดความเสี่ยง และเตรียมความพร้อม
รองรับสถานการณฉุกเฉินฯ

4 มีการกำหนดกลไกการประสานงาน
และสร้างภาคีเครือข่ายเพื่อสนับสนุนการจัดทำข้อมูล
เอกสารเพื่อกำกับติดตามการดำเนินงานร่วมกัน

5 มีการบริหารและการจัดการเพื่อลดช่องว่าง
และความซ้ำซ้อนในการดำเนินงาน

6 มีกลไกในการระดมทรัพยากรร่วมกัน

54


ตารางที่ 10 คุณลักษณะที่ 7 : การบริหารและการจัดการเพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรค ของหน่วยงาน
สาธารณสุขระดับจังหวัด (Risk reduction/Prevention and mitigation) ในการบริหารและการจัดการสถานกา
รณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 จัดกิจกรรมลดความเสี่ยงต่อการระบาด

ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

2 ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์
ความเสี่ยงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

3 มีการวิเคราะห์และบ่งชี้ความเสี่ยงของการระบาด มีการประชุมติดตาม
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ความก้าวหน้า วิเคราะห์
ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
จันทร์-พุธ-ศุกร์

4 มีการจัดทำแผนความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

ตารางที่ 11 คุณลักษณะที่ 8 : การบริหารและการจัดการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
(Preparedness) ของหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 กิจกรรมส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบ


2 กิจกรรมการพัฒนาแนวทางการดำเนินงาน

เพื่อเตรียมความพร้อม


มีการอบรมบุคลากร
3 มีการทบทวน ปรับปรุงแก้ไขแนวทางการดำเนินงาน
ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ด้าน Basic Data
Management
4 มีการกำหนดหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากร
ให้มีความพร้อมต่อการดำเนินงานตามแผนรองรับ
สถานการณ์ฉุกเฉินฯ

55


ตารางที่ 11 คุณลักษณะที่ 8 : การบริหารและการจัดการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
(Preparedness) ของหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

5 มีกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วม

ของภาคส่วนต่าง ๆ ในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินฯ

6 มีการเตรียมการจัดสรรด้านวัสดุอุปกรณ์ ยา
เวชภัณฑ์ทางยา รองรับแผนสถานการณ์ฉุกเฉินฯ

7 มีการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร
และเทคโนโลยีสารสนเทศ

8 มีการพัฒนากลยุทธในการสื่อสารความเสี่ยง
การส่งเสริมสุขภาพ และเรื่องสุขศึกษา

9 มีการฝึกซ้อมแผนการดำเนินงานสม่ำเสมอ
10 มีการพัฒนารักษาแผนการดำเนินงาน

ให้อยู่ในระดับมาตรฐาน
11 มีการประสานงานติดตามและรายงานผลการ

ปฏิบัติงานตามแผน

ตารางที่ 12 คุณลักษณะที่ 9 : การบริหารและการจัดการการฟื้นฟูหลังเกิดสถานการณ์ (Response and recovery)
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้อง

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีแผนการบริหารและการจัดการ การฟื้นฟู

หลังเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินฯ

2 แผนบริหารจัดการมีมาตรการการฟื้นฟูรองรับ

สถานการณ์ฉุกเฉินฯ

56


ตารางที่ 12 คุณลักษณะที่ 9 : การบริหารและการจัดการการฟื้นฟูหลังเกิดสถานการณ์ (Response and recovery)
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

3 แผนการบริหารและการจัดการ การฟื้นฟู

หลังเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินฯ สอดคล้อง
กับแผนระดับจังหวัดและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

4 มีการกำหนดกลไกการประสานงานและการสั่งการ


5 แผนบริหารจัดการมีมาตรการการฟื้นฟู

อยู่บนพื้นฐานทรัพยากรของจังหวัด แถลงข่าวทุกวัน จันทร์-พุธ-
ศุกร์ของทุกสัปดาห์
6 มีการสื่อสารแผนที่มีการปรับแก้ไขแล้วให้
กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

7 การฝึกซ้อมและจำลองสถานการณ์
เพื่อการปรับปรุงแก้ไขแผนอย่างสม่ำเสมอ

8 มีการเผยแพร่และสื่อสารแผนฯ สู่สาธารณชน

ตารางที่ 13 คุณลักษณะที่ 10 : การศึกษาวิจัยและข้อมูลเชิงประจักษ์

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีการกำหนดแผนงานและหัวข้อการวิจัย
เอกสารเสนอขอจริยธรรม
การวิจัยในมนุษย์

2 มีการจัดสรรทรัพยากรรองรับการศึกษาวิจัย


3 มีการนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้


57


ส่วนที่ 2 กำลังคนด้านสุขภาพ

.2.1 ทรัพยากรบุคคลสำหรับการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุขในการรับมือสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรค COVID-19

ตารางที่ 14 คุณลักษณะที่ 11 : แผนการพัฒนาบุคลากร

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีกำหนดสมรรถนะและแผนพัฒนาบุคลากร

ในการรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน

2 มีฐานข้อมูลของบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรม
มีการจัดทำโครงการรองรับ
เกี่ยวกับการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
และได้รับการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง

3 มีแนวทางในการบูรณาการการทำงานร่วมกัน

ของอาสาสมัครที่เกี่ยวข้องในการบริหาร
และการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินฯ

ตารางที่ 15 คุณลักษณะที่ 12: การฝึกอบรมและการศึกษา

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

สถานการณ์การแพร่ระบาด
1 มีการประเมินความต้องการจำเป็นของผู้เข้าอบรม ไม่สามารถดำเนินการ
ในประเด็นความถี่เข้าอบรม เนื้อหา รวมถึงจำนวน ได้เต็มรูปแบบ
ของผู้เข้าอบรม


2 มีแผนการฝึกอบรมตามความต้องการของบุคลากร

และหน่วยงาน


3 หลักสูตรฝึกอบรมที่ตอบสนองต่อสมรรถนะ
ของบุคลากรที่แตกต่างกัน

4 หลักสูตรและสื่อที่สอดคล้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

58


ตารางที่ 15 คุณลักษณะที่ 12: การฝึกอบรมและการศึกษา (ต่อ)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

5 มีกลไกที่ทางการสำหรับการทบทวนปรับปรุง

แก้ไขหลักสูตร

6 การฝึกอบรมมีเนื้อหาครอบคลุมการฝึกหัด

และฝึกซ้อมในสถานการณ์ฉุกเฉิน

7 หน่วยงานมีความพร้อมสำหรับการจัดฝึกอบรม

หรือส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรม

8 มีทรัพยากรเพียงพอสำหรับการจัดฝึกอบรม


ส่วนที่ 3 เวชภัณฑ์ วัคซีนและเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข

3.1 เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข สำหรับการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 16 คุณลักษณะที่ 13 : เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับรองรับกิจกรรม
การดำเนินงานทั้งในและนอกโรงพยาบาล รวมถึงโรงพยาบาลสนามและกิจกรรมทางด้านสาธารณสุขอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์
- ได้รับการสนับสนุน
และสาธารณสุข ที่จำเป็นสำหรับรองรับสถานการณ์ จากองค์การบริหาร
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
(COVID-19) มีการประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง
เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ - ได้รับบริจาค
และสาธารณสุขที่จำเป็น

2 เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ฯ มีปริมาณที่เพียงพอ


59


ตารางที่ 16 คุณลักษณะที่ 13 : เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับรองรับกิจกรรม
การดำเนินงานทั้งในและนอกโรงพยาบาล รวมถึงโรงพยาบาลสนามและกิจกรรมทางด้านสาธารณสุขอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ต่อ)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

3 มีแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพและความพร้อม

ในการใช้งานของเวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ฯ
เป็นระยะตามแนวทางที่กำหนดไว้

4 มีการบำรุงรักษาการหมุนเวียน และการสำรอง

เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ฯ ตามแนวทางที่กำหนดไว้

5 มีระบบห่วงโซ่ความเย็นสำหรับการขนส่งกระจาย

เวชภัณฑ์และอุปกรณ์ฯ ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

6 มีกระบวนการในการจัดหาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ฯ

สถานการณ์ฉุกเฉินฯ ด้านสาธารณสุข
ที่ไม่ได้อยู่ในบัญชีรายการวัสดุอุปกรณ์พื้นฐาน

ตารางที่ 17 คุณลักษณะที่ 14 : ยาและเวชภัณฑ์ (Pharmaceutical services) ในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 ยาและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
ได้มีการจัดหาตู้เย็น
ที่จำเป็นสำหรับรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด เก็บวัคซีนเพิ่มเติม
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
มีการประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง เวชภัณฑ์
และวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
ที่จำเป็น

2 ยาและเวชภัณฑ์ที่จำเป็นสำหรับรองรับสถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) มีปริมาณที่เพียงพอ

60


ตารางที่ 17 คุณลักษณะที่ 14 : ยาและเวชภัณฑ์ (Pharmaceutical services) ในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ต่อ)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

3 ยาและเวชภัณฑ์มีแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพ

และความพร้อมในการใช้งานของที่จำเป็น
สำหรับรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

4 ยาและเวชภัณฑ์มีแนวทางในการบำรุงรักษา

การหมุนเวียน และการสำรองที่จำเป็น
สำหรับรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
อย่างปลอดภัย

5 มีขั้นตอนหรือแนวทางในการจัดหายาและเวชภัณฑ์

ที่จำเป็นสำหรับรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
ด้านสาธารณสุข ที่ไม่ได้อยู่ในบัญชีรายการ
วัสดุอุปกรณ์พื้นฐาน

ตารางที่ 18 คุณลักษณะที่ 15 : ห้องปฏิบัติการ (Laboratory Services) ในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 วัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการที่จำเป็น

สำหรับรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผ่านการประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง

2 วัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการที่จำเป็น

สำหรับรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
มีปริมาณที่เพียงพอ

3 มีแนวทางในการการตรวจสอบคุณภาพ

และความพร้อมในการใช้งานของวัสดุอุปกรณ์
ในห้องปฏิบัติการที่จำเป็นสำหรับรองรับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

61


ตารางที่ 18 คุณลักษณะที่ 15 : ห้องปฏิบัติการ (Laboratory Services) ในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ต่อ)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

4 มีกระบวนการในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์

ในห้องปฏิบัติการที่เป็นพิเศษเพิ่มเติม
สำหรับรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินฯ ด้านสาธารณสุข

5 มีระบบขนส่งที่ปลอดภัย และการส่งสิ่งตรวจ

ทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมเพื่อการทดสอบ
และการยืนยันจากห้องปฏิบัติการในระดับจังหวัด
และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำเขตสุขภาพ

ตารางที่ 19 คุณลักษณะที่ 16 : การบริหารและการจัดการโลหิต (Blood Services) ในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการบริหารและการจัดการ

โลหิต สำหรับรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผ่านการประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง

2 วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการบริหารและการจัดการ

โลหิตมีปริมาณที่เพียงพอต่อการดำเนินงาน

3 มีการบริหารและการจัดการโลหิต (เก็บรวบรวม

เก็บรักษา รวมถึงการกระจาย) ที่รวดเร็ว
ตามแนวทางที่กำหนดไว้

4 มีกระบวนการในการบริหารและการจัดการโลหิต

ที่เป็นพิเศษเพิ่มเติมสำหรับการบริหาร
และการจัดการโลหิต

5 เลือดและส่วนประกอบของเลือดมีหรือได้รับการตรวจสอบ

ให้มีความปลอดภัยเป็นไปตามแนวทางที่กำหนด

62


ส่วนที่ 4 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ

.4.1 .ระบบการจัดการข้อมูลสำหรับการดำเนินการลดความเสี่ยงและเตรียมความพร้อมในการบริหารและการจัดการ
สถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 20 คุณลักษณะที่ 17 : ระบบข้อมูลสารสนเทศสำหรับการประเมินความเสี่ยงและการวางแผน
เตรียมความพร้อมสำหรับการบริหารและการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีการกำหนดบุคลากร

รวมถึงอำนาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง

2 มีแนวทางและขั้นตอนสำหรับการรวบรวม

การจัดการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลที่จำเป็น เพื่อดำเนินการ
ประเมินความเสี่ยง วางแผนเตรียมความพร้อม
เพื่อรับมือสถานการณฉ ุกเฉิน ด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

3 มีฐานข้อมูลสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(COVID-19) ระดับจังหวัด และมีการจำแนก
ตามกลุ่มความเสี่ยงและกลุ่มเปราะบาง

4 มีการเผยแพร่รายงานข้อมูลกิจกรรมเตรียม

ความพร้อมรับสถานการณแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
อย่างสม่ำเสมอ

ตารางที่ 21 คุณลักษณะที่ 18 : ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health information system)

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน

1 ระบบข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ มีการจัดกลุ่มข้อมูล

เพื่อใช้ในการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล

2 มีเกณฑ์ที่สามารถบ่งชี้การยกระดับสถานการณ์การแพร่

ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

63


Click to View FlipBook Version