ตารางที่ 22 คุณลักษณะที่ 19 : การใช้ข้อมูลร่วมกัน (Information Sharing)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีการสร้างกลไกของข้อมูลเพื่อใช้ในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
ในระดับชุมชน พร้อมทั้งมีบุคลากร
ซึ่งผ่านการอบรมการใช้งานข้อมูล
2 มีระบบการจัดการข้อมูลที่เอื้อให้เกิดรายงาน
ที่จำเป็น ต่อการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
ตารางที่ 23 คุณลักษณะที่ 20 : ระบบข้อมูลการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(Surveillance systems)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 บัญชาการเหตุการณ์ หรือผู้บริหารสถานการณ์ฯ
มีการวิเคราะห์สถานการณ์
สามารถเข้าถึงข้อมูลการเฝ้าระวังโรค ทุกวัน
และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการบาดเจ็บ
โรคติดต่อ พาหะนำโรค คุณภาพน้ำ
ภาวะโภชนาการ เป็นต้น
2 ประเมินสถานการณ์ทางระบาดวิทยา
เพื่อการเฝ้าระวังโรคเชิงรุก เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19)
3 มีศักยภาพในการเตือนภัย การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ล่วงหน้า เพื่อรายการสถานการณ์เหตุการณ์
เพื่อสร้างการรับรู้และความตระหนักภายใน 24 ชั่วโมง
4 ระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อ สามารถจัดหา
หรือระดมบุคลากรที่ผ่านการการพัฒนาศักยภาพ
หรือการฝึกอบรมเพื่อปฏิบัติงานในสถานการณ์
ได้อย่างเพียงพอ
64
ตารางที่ 23 คุณลักษณะที่ 20 : ระบบข้อมูลการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(Surveillance systems) (ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
5 มีโครงสร้างพื้นฐานของระบบการเฝ้าระวังโรค
ที่มีความสามารถในการดึงศักยภาพของเครือข่าย
ในการตอบสนองสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
อย่างเพียงพอ
6 ระบบการเฝ้าวังโรค มีแนวทางการดำเนินงาน
ที่เป็นมาตรฐาน เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่
ความรับผิดชอบและกระบวนการที่เกี่ยวข้อง
กับการกำหนดชุดข้อมูลมาตรฐาน การเก็บข้อมูล
การจัดการ การวิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูล
7 ระบบการเฝ้าระวังโรคมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระบบ
การเฝ้าระวัง ด้านเกษตร ด้านปศุสัตว์
และโรคสิ่งแวดล้อม
65
4.2 ระบบการจัดการข้อมูลสำหรับการบริหารและการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการฟื้นฟูหลังเกิดสถานการณ์ (Response and recovery)
ตารางที่ 24 คุณลักษณะที่ 21 : มีกลไกลในการประเมินความต้องการด้านสุขภาพ (Rapid health-needs
assessment) อย่างรวดเร็ว
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกลในการประเมินความต้องการด้านสุขภาพ
อย่างรวดเร็ว
2 มีทรัพยากรที่จำเป็น และบุคลากรที่มีความรู้
ความสามารถในการการประเมินความต้องการ
ด้านสุขภาพอย่างรวดเร็ว
3 มีการนำข้อมูลที่ได้จากประเมินด้านสุขภาพ
ความต้องการเร่งด่วนมากำหนดและจัดสรรทรัพยากร
รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม
4 ข้อมูลจากการประเมินความต้องการด้านสุขภาพ
อย่างรวดเร็ว สะท้อนถึงความต้องการ
ของกลุ่มประชากรเป้าหมาย และการจัดบริการสุขภาพ
ตารางที่ 25 คุณลักษณะที่ 22 : การประเมินสถานการณ์เบื้องต้นอย่างรวดเร็วแบบมีส่วนร่วมหลายภาคส่วน
(Multisectoral initial rapid assessment: IRA)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 ภาคส่วนด้านสุขภาพ มีส่วนร่วมในการวางแผน
การเตรียมการและการดำเนินการในทุกขั้นตอน
2 บุคลากรด้านสุขภาพได้รับการพัฒนาศักยภาพ
ในการในการประเมินสถานการณ์เบื้องต้น
อย่างรวดเร็ว Initial Rapid Assessment (IRA)
3 มีกลไกในการนำข้อมูลจากการประเมินสถานการณ์
เบื้องต้นอย่างรวดเร็ว (IRA) มาจัดสรรรทรัพยากร
และจัดลำดับความสำคัญในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน
66
ตารางที่ 26 คุณลักษณะที่ 23 : ระบบการรายงานสถานการณ์ฉุกเฉิน (Emergency reporting system)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีระบบรายงานสถานการณ์ฉุกเฉิน
2 มีทรัพยากรและบุคลากรที่ผ่านการอบรมการใช้
ระบบการรายงานสถานการณ์ฉุกเฉิน
3 ระบบรายงานสถานการณ์ฉุกเฉินมีความสามารถ
ในการแสดงข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต
รวมถึงข้อมูลทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐานที่
เกี่ยวข้องทางด้านสุขภาพ
4 ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทั้งหมดถูก
เก็บรวบรวมผ่านระบบรายงานสถานการณ์ฉุกเฉิน
4.3 การสื่อสารความเสี่ยงในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตารางที่ 27 คุณลักษณะที่ 24 : กลยุทธ์ในการสื่อสารความเสี่ยงกับประชาชนและสื่อมวลชน
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 กำหนดกลยุทธ์การสื่อสารบนพื้นฐาน
จากการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ
2 มีกลไกการประสานงาน เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กำหนดเนื้อหาในการสื่อสารข้อมูล เพื่อสื่อสาร
ไปยังประชาชนและสื่อมวลชนให้เป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน
3 มีขั้นตอนหรือแนวทางการปฏิบัติในการเผยแพร่
ข้อมูลข่าวสาร
4 ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับกิจกรรมการเตรียม
ความพร้อมในการจัดการบริหารและการจัดการ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) มีการสื่อสาร
ไปยังประชาชนและสื่อมวลชนอย่างเป็นระบบ
67
ตารางที่ 27 คุณลักษณะที่ 24 : กลยุทธ์ในการสื่อสารความเสี่ยงกับประชาชนและสื่อมวลชน (ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
5 กลยุทธ์การสื่อสารครอบคลุมเป้าหมายประชาชน
กลุ่มพิเศษและกลุ่มเปราะบาง
6 มีการกำหนดหน้าที่ของโฆษก ในสถานการณ์
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตารางที่ 28 คุณลักษณะที่ 25 : กลยุทธ์ในการสื่อสารความเสี่ยงกับบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกการประสานงานเพื่อให้ได้ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย ให้ผู้ปฏิบัติงานนำมาใช้ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) อย่างสม่ำเสมอ
2 มีกระบวนการสื่อสารความเสี่ยงจากผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย ให้ผู้ปฏิบัติงานนำมาใช้ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
3 มีการเตรียมข้อมูลความเสี่ยงเฉพาะเจาะจง
และมาตรการป้องกันตัวเองของผู้ปฏิบัติงาน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่เป็นปัจจุบันและเผยแพร่สม่ำเสมอ
68
ส่วนที่ 5 การเงินการคลังด้านสุขภาพ
5.1 กลยุทธ์ในการบริหารและการจัดการงบประมาณของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด สำหรับการบริหาร
และการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตารางที่ 29 คุณลักษณะที่ 26 : กลไกของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเตรียมความพร้อมและบริหารจัดการ
งบประมาณในสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีการจัดสรรงบประมาณ เพื่อใช้เตรียม
มีการสนับสนุนทั้งภายใน
ความพร้อมและบริหารจัดการ ในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ องค์กรสาธารณสุข
สำหรับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทุกระดับ และภายนอกองค์กรสาธารณสุข
2 ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทุกระดับมีกลไกในการบริหาร
และการจัดการงบประมาณ สำหรับการรับมือ
และการฟื้นฟูหลังเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เช่น
เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น
เงินสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน
หรือกองทุนฉุกเฉินอื่น ๆ เป็นต้น
3 ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีกระบวนการในการจัดหา
งบประมาณจากหน่วยงานสนับสนุนช่วยเหลือ
ทางการเงิน ตั้งแต่การเสนอขอเบิกงบประมาณ
อนุมัติและการใช้จ่ายงบประมาณ
69
ตารางที่ 30 คุณลักษณะที่ 27 : กลไกการบริหารและการจัดการงบประมาณของหน่วยงานสาธารณสุข
ในระดับจังหวัด สำหรับการบริหารและการจัดการสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกการบริหารและการจัดการงบประมาณ
เพื่อรองรับการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ
การลดความเสี่ยงของการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2 มีการกำหนดงบประมาณเพื่อรองรับ การดำเนินงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมในการบริหาร
และการจัดการสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3 มีกลไกในการเข้าถึงงบประมาณฉุกเฉิน
สำหรับใช้ในการรับมือและการฟื้นฟูภายหลัง
สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
4 มีกลไกในการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อฟื้นฟู
และจัดการกับความเสียหาย เช่น
สิ่งอำนวยความสะดวก ด้านสุขภาพอย่างเร็ว
และมีประสิทธิภาพ
70
ส่วนที่ 6 ระบบบริการสุขภาพ
6.1 ความสามารถและศักยภาพในการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด
ตารางที่ 31 คุณลักษณะที่ 28 : แผนรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของหน่วยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 แผนปฏิบัติการในการรองรับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) สอดคล้องกับนโยบายระดับประเทศ
2 แผนปฏิบัติการรองรับสถานการณฉุกเฉินทุกภาคส่วน
ในระดับอำเภอและระดับตำบลสอดคล้อง
กับระดับจังหวัด
3 แผนปฏิบัติการฯ มีการกำหนดกลไกที่ครอบคลุม
การดำเนินการ กาประสานงาน การสั่งการ
การกำกับติดตามและการประเมินผล
4 แผนปฏิบัติการฯ ในการบริหารและการจัดการ
สถานการณการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จัดทำขึ้นภายใต้ขีดความสามารถ ศักยภาพ
และทรัพยากรที่มีอยู่
5 แผนปฏิบัติการฯ ได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง
และนำไปสู่การปฏิบัติจริงอย่างต่อเนื่อง
6 มีการทบทวนปรับปรุงแผนปฏิบัติการฯ
ที่ได้รับจากการถอดบทเรียน
7 แผนปฏิบัติการฯ ได้มีการสื่อสารเผยแพร่
ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายหลังจากที่มีการทบทวน
ปรับปรุงทุกครั้ง
71
ตารางที่ 32 คุณลักษณะที่ 29 : ความสามารถศักยภาพในการบริหารและการจัดการสถานการณฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของหน่วยงานสาธารณสุข
ในระดับจังหวัด
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 กลไกการบริหารและการจัดการฯ ที่มีอยู่ในแต่ละ
ระดับ สามารถระดมทรัพยากรได้อย่างรวดเร็ว
ทั้งกำลังคน ยา เวชภัณฑ์ ครุภัณฑ์และเทคโนโลยี
ทางการแพทย์และสาธารณสุข
2 มีกระบวนการในการสับเปลี่ยนโยกย้าย
หรือหมุนเวียนทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับรองรับ
สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ไปยังพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง
3 มีกลไกการความร่วมมือระหว่างเครือข่าย
หน่วยบริการสาธารณสุข
4 มีกระบวนการและศักยภาพในการจัดเตรียม
ทรัพยากรที่จำเป็น เช่น เครื่องช่วยหายใจ
หน้ากากอนามัย N95 ชุดPPE หรือวัสดุอุปกรณ์
ในการช่วยชีวิตและการดูแลผู้ป่วยวิกฤตระหว่าง
การส่งต่อไปโรงพยาบาลนอกพื้นที่ที่มีการระบาด
ตารางที่ 33 คุณลักษณะที่ 30 : การบริหารและการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล
(Pre - hospital medical operations) ในสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีระบบในการจัดบริการทางการแพทย์ ก่อนเข้ารับ
การรักษาในโรงพยาบาล สำหรับกรณีผู้ติดเชื้อ/
สงสัยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2 มีระบบในการคัดกรองเพื่อจำแนกผู้ป่วย
เป็นไปตามมาตรฐาน
ที่เป็นมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข
3 มีระบบส่งต่อผู้ป่วยไปรับการรักษายังโรงพยาบาล
ที่มีศักยภาพสูงขึ้น
72
ตารางที่ 33 คุณลักษณะที่ 30 : การบริหารและการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล
(Pre - hospital medical operations) ในสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
4 มีทีมบุคลากรทางการแพทย์ในการปฏิบัติการค้นหา
และช่วยเหลือผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) /
สงสัยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
5 มีการเตรียมการเฉพาะสำหรับการบริหาร
และการจัดการก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
สำหรับผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) /
สงสัยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
เช่น มีการเตรียมชุดอุปกรณ์ป้องกันตนเอง
ของทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่ออกปฏิบัติการ
ตารางที่ 34 คุณลักษณะที่ 31 : การบริหารและการจัดการสถานการณ์ที่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) จำนวนมาก หรือผู้เสียชีวิต
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกในการบ่งชี้ ติดตาม และตรวจสอบผู้ติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือเสียชีวิต
2 มีกลไกในการจัดการกรณีเกิดผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ที่เสียชีวิต
3 มีกลไกในการสื่อสารสาธารณะกับประชาชนในกรณี
พบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เสียชีวิต
4 มีกลไกในการช่วยเหลือประชาชนในกรณีเกิดการติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือเสียชีวิต
ที่อยู่ในพื้นที่เดียวกัน
5 มีศักยภาพในการจัดการผู้ติดเชื้อที่ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) เสียชีวิตโดยเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ยึดตามเกณฑ์สอบสวนโรคผู้เสียชีวิตที่สงสัยการติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
73
6.2 ระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการบริหารและการจัดการในกรณีที่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จำนวนมากหรือผู้เสียชีวิต ในระดับอำเภอและระดับตำบล
ตารางที่ 35 คุณลักษณะที่ 32 : ศักยภาพในการบริหารและการจัดการสถานการณ์ที่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) จำนวนมากหรือผู้เสียชีวิต ในระดับอำเภอและระดับตำบล
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีแผนการจัดการทางการแพทย์ฉุกเฉิน
สำหรับการดำเนินการเคลื่อนย้ายและการอพยพ
ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
หรือผู้เสียชีวิตจำนวนมาก
2 มีแผนการจัดการทางการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับจัดการ
สถานการณ์แบบวันต่อวัน
3 มีกลไกในการจัดการแพทย์ฉุกเฉินที่สามารถเข้าถึง
ทรัพยากรในระดับพื้นที่เขตบริการสุขภาพ
และประเทศ
4 มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของระบบการแพทย์
ฉุกเฉินในการระบุและรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ
ด้านสาธารณสุข อย่างชัดเจน
5 ทีมการแพทย์ฉุกเฉินมีส่วนร่วมในการวางแผน
การซ้อมแผน และฝึกอบรม
6.3 การบริหารและการจัดการโรงพยาบาลในกรณีเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) จำนวนมาก
ตารางที่ 36 คุณลักษณะที่ 33 : การเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินของโรงพยาบาล กรณีมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) จำนวนมาก
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีแผนการจัดการทางการแพทย์ฉุกเฉิน
สำหรับการดำเนินการเคลื่อนย้ายและการอพยพ
ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
หรือผู้เสียชีวิตจำนวนมาก
2 มีแผนการจัดการทางการแพทย์ฉุกเฉิน
ตามผังโครงสร้าง EOC
สำหรับจัดการสถานการณ์แบบวันต่อวัน
74
ตารางที่ 36 คุณลักษณะที่ 33 : การเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินของโรงพยาบาล กรณีมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) จำนวนมาก (ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
3 มีการจัดสรรงบประมาณสำหรับการดำเนินงาน
ตามแผนการดำเนินงานฯ เตรียมความพร้อม
รับมือกับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
4 มีทรัพยากรกรดำเนินงานเตรียมความพร้อมรับมือ
กับสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของโรงพยาบาล
5 แผนการดำเนินงานเตรียมความพร้อมรับมือ
กับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นำหลักการ
ความปลอดภัยในโรงพยาบาลมาใช้
ในการดำเนินงานอย่างครบถ้วน
ตารางที่ 37 คุณลักษณะที่ 34 : การวางแผนตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินฯและการฟื้นฟูภายหลังสถานการณ์
การแพร่ระบาของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงพยาบาล
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 โรงพยาบาลมีคณะกรรมการพัฒนาแผนตอบโต้
สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟูภายหลัง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2 โรงพยาบาลมีแผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ
และการฟื้นฟูภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3 แผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟู
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับการพัฒนา
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการพัฒนาแผนฯ
ชุดดังกล่าว
75
ตารางที่ 37 คุณลักษณะที่ 34 : การวางแผนตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินฯและการฟื้นฟูภายหลังสถานการณ์
การแพร่ระบาของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงพยาบาล (ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
4 แผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟู
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สอดคล้องกับนโยบายของประเทศ
5 แผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟู
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นตัวชี้วัดหนึ่ง
ของการขอรับรองมาตรฐานของโรงพยาบาล
(Hospital Accreditation: HA)
6 แผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟู
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องและได้มาตรฐาน
สอดคล้องกับแนวปฏิบัติ ในการดำเนินงาน
ระดับประเทศ
7 แผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟู
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
มีการทบทวนและปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้อง
กับสถานการณ์ในปัจจุบัน
8 แผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟู
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
มีความเชื่อมโยงกับแผนของภาคส่วนต่าง ๆ
และหน่วยงานย่อยที่เกี่ยวข้อง
9 แผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟู
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
มีกระบวนการจัดการความเสี่ยง เพื่อรองรับ
สถานการณ์วิกฤติในพื้นที่
76
ตารางที่ 37 คุณลักษณะที่ 34 : การวางแผนตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินฯและการฟื้นฟูภายหลังสถานการณ์
การแพร่ระบาของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงพยาบาล (ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
10 แผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินฯ และการฟื้นฟู
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
มีกลไกที่เป็นเกณฑ์บ่งชี้ในการปรับเปลี่ยน
การยกระดับความเข้มข้นของการดำเนินงาน
ในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
6.4 ความต่อเนื่องของการจัดบริการสุขภาพที่จำเป็นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
ตารางที่ 38 คุณลักษณะที่ 35 : การจัดบริการสุขภาพที่จำเป็นและต่อเนื่องในสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีศักยภาพในการประเมินความปลอดภัย
แบบเร่งด่วนของระบบการให้บริการภายหลัง
เกิดอุบัติการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2 มีกระบวนการในการสำรองทรัพยากรที่จำเป็น
สำหรับการให้บริการสุขภาพ เช่น น้ำ ไฟฟ้า
เป็นต้น
3 มีแผนที่จะทำให้มั่นใจว่า การให้บริการที่จำเป็น
ของโรงพยาบาลมีความต่อเนื่อง เช่น อนามัยแม่
และเด็ก และการฟอกไต เป็นต้น
77
ตารางที่ 39 คุณลักษณะที่ 36 : การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 ระบบเฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุก มีศักยภาพ
ในการเตือนภัยล่วงหน้าเมื่อเกิดสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
2 มีศักยภาพเพียงพอในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ให้กับประชาชนกลุ่มเปราะบาง
ตารางที่ 40 คุณลักษณะที่ 37 : การจัดบริการดูแลอนามัยแม่และเด็กและอนามัยเจริญพันธุ์ ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกรับประกันความต่อเนื่องของการให้บริการหลัก
ของอนามัยเจริญพันธุ์ในระหว่างสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
2 มีกลไกรับประกันความต่อเนื่องการให้บริการ
ดูแลทารกแรกเกิดและผู้ป่วยทางสูติกรรมฉุกเฉิน
ในระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตารางที่ 41 คุณลักษณะที่ 38 : การจัดบริการดูแลสุขภาพจิตและการช่วยเหลือทางจิตสังคมของประชาชน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกรับประกันความต่อเนื่องของการรักษากลุ่มผู้
ป่วยจิตเวชในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2 มีศักยภาพในการวินิจฉัยหรือระบความต้องการ
ด้านจิตสังคมของกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง (ครอบครัว
ของผู้ได้รับผลกระทบ) และให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม
78
ตารางที่ 42 คุณลักษณะที่ 39 : การจัดบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกรับประกันให้มีน้ำสะอาดและปลอดภัย
สำหรับผู้ให้บริการสุขภาพและประชาชน
ผู้ได้รับผลกระทบอย่างเพียงพอ
2 มีกลไกในการส่งเสริมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สามารถบ่งชี้และควบคุมปัจจัยแวดล้อม
ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
3 มีกระบวนการและสิ่งอำนวยความสะดวก
ในการจัดการขยะติดเชื้อในหน่วยบริการสุขภาพ
อย่างถูกวิธีและปลอดภัย
4 มีกระบวนการในการจัดการขยะทั่วไปอย่างถูกวิธี
และปลอดภัย
ตารางที่ 43 คุณลักษณะที่ 40 : การจัดบริการดูแลรักษาโรคเรื้อรังและไม่ติดต่อเรื้อรัง ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกรับประกันการเข้าถึงยาและบริการสุขภาพ
ที่จำเป็นหรือกระบวนการดำเนินงานที่ทำให้ผู้ป่วย
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเข้าถึงยาและบริการสุขภาพที่จำเป็น
2 มีกลไกหรือกระบวนการดำเนินงานที่ทำให้ผู้ป่วย
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
79
ตารางที่ 44 คุณลักษณะที่ 41 : การจัดบริการสุขภาพด้านส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกรับประกันความครอบคลุมของอาหาร
และโภชนาการ
2 กลไกรับประกันศักยภาพในการควบคุมคุณภาพ
และความปลอดภัยของอาหาร
ตารางที่ 45 คุณลักษณะที่ 42 : การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิ/การดูแลสุขภาพเบื้องต้น ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกรับประกันการให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการ
การตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค
2 มีกลไกรับประกันความต่อเนื่องของระบบการส่งต่อ
ผู้ป่วย
ตารางที่ 46 คุณลักษณะที่ 43 : การจัดบริการสุขภาพสำหรับแรงงานต่างด้าว/ประชาชนพลัดถิ่น ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีกลไกรับประกันให้แรงงานต่างด้าว/ประชาชน
มียุทธศาสตร์จังหวัดให้ความ
พลัดถิ่น เข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็น สำคัญในการดูแล
รวมถึงบริการสุขภาพปฐมภูมิ
2 มีกลไกในการจัดตั้งทีมสุขภาพเคลื่อนที่
สำหรับแรงงานต่างด้าว/ประชาชนพลัดถิ่น
3 มีกลไกในการรับประกันการตรวจประเมินสถานะ
สุขภาพของประชาการที่อาศัยอยู่ ในสถานพักพิง
ชั่วคราว หรือสถานกักกันแห่งรัฐที่มีประสิทธิภาพ
80
ตารางที่ 46 คุณลักษณะที่ 43 : การจัดบริการสุขภาพสำหรับแรงงานต่างด้าว/ประชาชนพลัดถิ่น ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
4 มีกลไกในการจัดการข้อจำกัดทางวัฒนธรรม
ในด้านภาษา หลักประกันสุขภาพและการเข้าถึงบริการ
5 มีกลไกในการรับประกันความเพียงพอของสิ่งอำนวย
ความสะดวกในการดูแลทางด้านสุขาภิบาล
และสุขอนามัยส่วนบุคคลของแรงงานต่างด้าว/
ประชาชนพลัดถิ่น
.6.5 .ระบบการสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ (Logistics) และการปฏิบัติการ (Operational) เพื่อการบริหารและการจัดการ
สถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตารางที่ 47 คุณลักษณะที่ 44 : การสื่อสารโทรคมนาคมในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ ในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีแนวทางและกระบวนการในการสร้างระบบสื่อสาร
ได้รับสนับสนุนจาก TOT
โทรคมนาคมที่เป็นมาตรฐานเดียวกันในทุกภาคส่วน
2 มีแนวทางการปฏิบัติในการใช้วิธีการสื่อสาร
โทรคมนาคมชั่วคราว
3 ผู้ปฏิบัติงานในสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
ได้รับการอบรมหรือพัฒนาสมรรถนะในการใช้เครื่อง
มือสื่อสารโทรคมนาคมในสถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
4 มีทรัพยากรบุคคลอย่างเพียงพอสำหรับการสื่อสาร
ได้รับการสนับสนุน
โทรคมนาคมในสถานการณ์แพร่ระบาด จากส่วนกลาง
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และมีความพร้อม
81
ตารางที่ 48 คุณลักษณะที่ 45 : สถานบริการสุขภาพชั่วคราวในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีแนวปฏิบัติและกระบวนการในการจัดตั้ง
มีคำสั่งจังหวัดสมุทรปราการ
สถานบริการสุขภาพชั่วคราวหรือโรงพยาบาลสนาม แต่งตั้งโรงพยาบาลสนามที่
ชัดเจน
2 มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของสถานบริการสุขภาพ
ชั่วคราวหรือโรงพยาบาลสนามอย่างชัดเจน
3 มีทรัพยากรอย่างเพียงพอในการจัดตั้ง
สถานบริการสุขภาพชั่วคราวหรือโรงพยาบาลสนาม
ตารางที่ 49 คุณลักษณะที่ 46 : ระบบการสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ (Logistics) ในสถานการณแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีแนวปฏิบัติและกระบวนการในการบริหารและการ
มีแนวทางการดำเนินงาน
จัดการระบบโลจิสติกส์ในสถานการณแ พร่ระบาด ที่ชัดเจนทั้งภาครัฐและเอกชน
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,
รพ.เอกชน,เครือเจริญ
โภคภัณฑ์)
2 มีระบบโลจิสติกส์มีกระบวนการติดตาม ตรวจสอบ
และรายงานผล
3 ผู้ปฏิบัติงานได้รับการอบรมหรือพัฒนาสมรรถนะ
และสามารถปฏิบัติงานภายใต้ ระบบการขนส่งใน
สถานการณแ พร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19)
4 มีทรัพยากรอย่างเพียงพอในการสนับสนุนโลจิสติกส์
ในสถานการณแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
82
ตารางที่ 49 คุณลักษณะที่ 46 : ระบบการสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ (Logistics) ในสถานการณแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
5 มีข้อตกลงร่วมระหว่างภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
มี MOU ร่วมกัน
รวมไปถึงบริษัทเอกชน ในการจัดบริการโลจิสติกส์
เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง
ตารางที่ 50 คุณลักษณะที่ 47 : หน่วยสนับสนุนการให้บริการสุขภาพในสถานการณแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 มีการรับประกันความปลอดภัยหน่วยสนับสนุน
การให้บริการสุขภาพในสถานการณแ พร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2 มีการวางแผนเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง
ของการให้บริการสุขภาพในสถานการณแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3 มีการบรรจุงบประมาณด้านการขนส่งและน้ำมัน
เชื้อเพลิงในแผน
83
ส่วนที่ 7 การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข และภาคประชาชน
ในการบริหารและการจัดการสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตารางที่ 51 คุณลักษณะที่ 48 : การมีส่วนร่วมของชุมชน อสม./อสต./ พสต. และภาคประชาชน ในการบริหาร
และการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
1 ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารและการจัดการ
มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน
สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผน
การปฏิบัติการ การประเมินผล และการถอดบทเรียน
2 กรณีพบผู้ป่วยยืนยัน ผู้สงสัยติดเชื้อ Patient Under
มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน
Investigate (PUI) ในชุมชน อสม./อสต./พสต.
มีส่วนร่วมในการจัดการกำกับดูแลครอบครัว
โดยการสำรวจกลุ่มเสี่ยงและรายงานสถานการณ์
ในพื้นที่
3 กรณีพบผู้ป่วยยืนยัน อสม./อสต./พสต. มีส่วนร่วม
มีแบบรายงานผลการดำเนินงาน
ในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) กรณีพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน
ในการกำกับดูแลครอบครัว ผู้สงสัยติดเชื้อ PUI
และติดตามตรวจ ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ในสถานที่ ตามกำหนดเวลา
4 กรณีที่มี PUI ในชุมชน อสม./อสต./พสต.
มีส่วนร่วม ในการกำกับดูแลครอบครัว คนใกล้ชิด
และติดตามตรวจโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ในสถานที่ ตามกำหนดเวลา
5 กรณีมีคนออกจากพื้นที่กักกันที่โรคที่รัฐบาลกำหนด
อสม./อสต./พสต. มีส่วนร่วมในการดูแลกำกับ
ให้อยู่ในที่พักตามกำหนดเวลา
84
ตารางที่ 51 คุณลักษณะที่ 48 : การมีส่วนร่วมของชุมชน อสม./อสต./ พสต. และภาคประชาชน ในการบริหาร
และการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินด้านสาธารณสุข กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(ต่อ)
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
6 กรณีชุมชนมีงานบุญประเพณี อสม./อสต./พสต.
มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน
มีบทบาทในการคัดกรองโรคเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
7 อสม./อสต./พสต. มีบทบาทในการคัดกรอง
มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ในตลาดในพื้นที่ชุมชน
8 อสม./อสต./พสต. มีบทบาทในการให้ความรู้
เพื่อป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) แก่ประชาชนในความรับผิดชอบ
9 องค์กรภาคประชาชน หรือประชาชน มีส่วนร่วม
ในการสนับสนุน ทรัพยากรทางการแพทย์
เช่น งบประมาณวัสดุ อุปกรณ์กำลังคน เป็นต้น
85
3.2 สรุปสถานการณ์และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 201
ตารางที่ 52 สถานการณ์และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย (จำนวนคน)
ประชากร ว/ด/ป ผู้ป่วยติดเชื้อ
ทั้งหมด (สะสม)
หายป่วย (สะสม)
1,828,649 31 ม.ค. 63 - -
1,828,649 29 ก.พ. 63 4 4
1,828,649 31 มี.ค. 63 52 52
1,828,649 30 เม.ย. 63 112 108
1,828,649 31 พ.ค. 63 126 122
1,828,649 30 มิ.ย. 63 146 142
1,828,649 31 ก.ค. 63 178 174
1,828,649 31 ส.ค. 63 183 179
86
19 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
(COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
ข้อมูลการได้รับวัคซีนของประชาชน (จำนวนคน)
เสียชีวิต (สะสม) ได้รับวัคซีนเข็ม 1 ได้รับวัคซีนเข็ม 2 ได้รับวัคซีนเข็ม 3
(สะสม) (สะสม) (สะสม)
----
----
----
4---
4---
4---
4---
4---
6
3.2 สรุปสถานการณ์และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 201
ตารางที่ 52 สถานการณ์และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย (จำนวนคน)
ประชากร ว/ด/ป ผู้ป่วยติดเชื้อ
ทั้งหมด (สะสม)
หายป่วย (สะสม)
1,828,649 30 ก.ย. 63 200 196
1,828,649 31 ต.ค. 63 223 219
1,828,649 30 พ.ย. 63 256 252
1,828,649 31 ธ.ค. 63 339 335
1,828,649 31 ม.ค. 64 693 689
1,828,649 29 กพ. 64 736 732
1,828,649 31 มี.ค. 64 813 809
1,828,649 30 เม.ย. 64 2,541 2,528
87
19 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
(COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
ข้อมูลการได้รับวัคซีนของประชาชน (จำนวนคน)
เสียชีวิต (สะสม) ได้รับวัคซีนเข็ม 1 ได้รับวัคซีนเข็ม 2 ได้รับวัคซีนเข็ม 3
(สะสม) (สะสม) (สะสม)
4---
4---
4---
4---
4---
4---
4 5,790 2,199 -
13 28,541 16,064 -
7
3.2 สรุปสถานการณ์และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 201
ตารางที่ 52 สถานการณ์และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย (จำนวนคน)
ประชากร ว/ด/ป ผู้ป่วยติดเชื้อ
ทั้งหมด (สะสม)
หายป่วย (สะสม)
1,828,649 31 พ.ค. 64 7,870 7,791
1,828,649 30 มิ.ย. 64 17,891 17,727
1,828,649 31 ก.ค. 64 41,112 40,733
1,828,649 31 ส.ค. 64 82,621 81,784
1,828,649 30 ก.ย. 64 108,597 107,394
1,828,649 31 ต.ค. 64 125,522 124,108
88
19 (COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
(COVID-19) ของจังหวัดสมุทรปราการ (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
ข้อมูลการได้รับวัคซีนของประชาชน (จำนวนคน)
เสียชีวิต (สะสม) ได้รับวัคซีนเข็ม 1 ได้รับวัคซีนเข็ม 2 ได้รับวัคซีนเข็ม 3
(สะสม) (สะสม) (สะสม)
79 56,790 27,710 6
164 309,854 77,084 28
379 666,333 114,036 5,194
837 1,058,360 285,500 16,007
1,203 1,313,486 806,574 36,254
1,414 1,471,571 1,168,384 76,462
8
แผนภูมิที่ 1 สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ หายป่วย และเสียชีวิต (สะสม) จำแนกรายเดือน
(มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
แผนภูมิที่ 2 สถานการณ์การได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(สะสม) จำแนกรายเดือน (มกราคม 2563 - ตุลาคม 2564)
89
ภาคผนวก
แบบสอบถามชุดที่ 1
ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน
ด้านสาธารณสุข กรณีโรค (COVID-19) ของจังหวัดต่าง ๆ
แบบสอบถามชุดที่ 2
การดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุม
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับจังหวัด
แบบสอบถามชุดที่ 3
แบบประเมินตนเองในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
ด้านสาธารณสุข ของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
90