The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaruayporn.so, 2021-06-24 03:35:14

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียน

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียน

แแกกนแนิจกจิวนกวจิทกวรทกทารรรางารรมงกมมคสกกาคสคสมู่าภรามู่ภรือภรมู่าปือปานปานฏอืฏนักฏกัิบบิ เเักิบตััตรรเียิงตัียิงรานาิงนียนนานน

ส�ำสนสำ�ักนานักพพักพัฒฒั ัฒนนานกำาจิ กกกจิ จิรกรกรมรรนมรกั นมเรกั นยีเรนักยี นเรียน
สำ�สสำนา�นนักกั ักงงงาำานนนคคณคณะณกะกระรรกมรมกรากรรามกรากกราำศรกึรศษศึกาษกึ ขา้ันษขพน้ัำ้นื ขพฐืน้า้นั นฐพานนื้ ฐำน

คมู่ ือ

แนวทางการปฏิบัติงาน
กจิ กรรมสภานักเรียน

สำ� นักพฒั นากิจกรรมนักเรียน
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เรือ่ ง คมู่ อื แนวทางการปฏบิ ัตงิ านกิจกรรมสภานักเรยี น
ผ้จู ัดพมิ พ์ สำ�นกั พฒั นากจิ กรรมนกั เรยี น
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
จำ�นวนพิมพ ์ 10,000 เลม่
ปที พี่ ิมพ ์ 2558
พิมพ์ท่ี โรงพมิ พ์สำ�นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ

คำ�นำ�

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียน ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จัดท�ำข้ึนเพื่อเป็นกรอบและแนวทาง
การปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียน ส�ำหรับส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและ
สถานศึกษา ให้สามารถนำ� ความรไู้ ปประยุกต์ใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
คมู่ อื แนวทางการปฏบิ ตั งิ านกจิ กรรมสภานกั เรยี น ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื
ส่วนที่ 1 บทนำ� และสว่ นท่ี 2 แนวทางการดำ� เนนิ กจิ กรรม
ขอขอบคุณคณะท�ำงานและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านท่ีได้ร่วมจัดท�ำ
คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียน ส�ำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ใหส้ ำ� เรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี หวงั วา่ คมู่ อื เลม่ นจี้ ะเปน็ กรอบแนวทาง
ในการด�ำเนนิ กิจกรรมสภานกั เรียนได้เปน็ อยา่ งดี

สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน



สารบญัเรื่อง หนา้
คำ� น�ำ
ส่วนที่ 1 บทน�ำ 1
หลกั การและเหตผุ ล 3
วัตถปุ ระสงค ์ 6
ขอบข่ายเนอื้ หา 6
ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั 6
ส่วนที่ 2 แนวทางการด�ำเนนิ กจิ กรรมสภานักเรยี น 7
กิจกรรมที่ 1 ทีม่ าสภานกั เรยี น 11
กจิ กรรมที่ 2 โครงสรา้ งสภานกั เรยี น 19
กิจกรรมที่ 3 รปู แบบการประชมุ สภานักเรยี น 27
กจิ กรรมท่ี 4 เครอื ขา่ ยสภานกั เรยี นและการมสี ว่ นร่วม 41
กจิ กรรมท่ี 5 การบรู ณาการกิจกรรมสภานกั เรยี นเข้ากบั 49
กลุม่ สาระการเรยี นรู้
กจิ กรรมที่ 6 การเสนอโครงการ 65
กจิ กรรมที่ 7 การประเมินผลการจดั กจิ กรรมสภานกั เรยี น 73
บรรณานกุ รม 83
ภาคผนวก 87
ตวั อยา่ ง ระเบียบวาระการประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรยี นโรงเรยี น 89
ตวั อยา่ ง รายงานการประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรยี นโรงเรยี น 90
ตวั อยา่ ง รายงานผลการดำ� เนนิ กจิ กรรม 92
ตวั อยา่ ง บนั ทกึ ข้อความประกาศผลการเลอื กตง้ั ประธาน 94
ตวั อยา่ ง ประกาศผลการเลอื กตง้ั ประธาน 95
ตวั อย่าง เคร่อื งมือประเมินแบบสงั เกตพฤติกรรม 96
ตวั อย่าง แบบประเมินผลงาน 99
ตวั อยา่ ง แบบสมั ภาษณ ์ 101
ตวั อย่าง แบบส�ำรวจความพงึ พอใจการจดั กจิ กรรมสภานกั เรยี น 102
คณะผ้จู ัดท�ำ 106



สว่ นที่ 1

บทน�ำ



3

ส่วนที่ 1 ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
บทนำ�

หลักการและเหตุผล

เดก็ และเยาวชนเปน็ ทรพั ยากรทมี่ คี า่ ยง่ิ หากไดร้ บั โอกาสในการพฒั นา
ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ ย่อมเป็นก�ำลังส�ำคัญในการสืบทอด
ความเป็นชาติ สามารถพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า เทียบเท่านานา
อารยประเทศ เดก็ และเยาวชนจึงเปน็ ความหวังในการจรรโลง ชาติ ศาสนา
พระมหากษตั ริย์ ภูมิปัญญา วฒั นธรรม และการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ใหอ้ ยู่คสู่ ังคมไทยสบื ไป
ด้วยความตระหนักถึงความส�ำคัญของเด็กและเยาวชน ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน จงึ ไดข้ ับเคลอื่ นการดำ� เนนิ งานกจิ กรรม
สภานักเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการน�ำไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมและ
สรา้ งความตระหนกั ใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรบู้ ทบาทหนา้ ทค่ี วามเปน็ พลเมอื งและ
วิถีประชาธิปไตย อันได้แก่ คารวธรรม สามัคคีธรรม ปัญญาธรรม รวมทั้ง
หลกั ธรรมาภบิ าล การมจี ติ อาสาและพฒั นาตนเองอยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร รวมถึงค่านิยมหลักของคนไทย
12 ประการ ดงั นี้
1. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. ซ่ือสัตย์เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นสงิ่ ท่ดี ีงามเพ่อื สว่ นรวม
3. กตัญญูตอ่ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู อาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรียนทงั้ ทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดีต่อผูอ้ ่ืน เผ่ือแผ่และแบง่ ปนั

ส่วน ่ที 14 7. เข้าใจเรียนรูก้ ารเปน็ ประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็

ประมุขทถ่ี กู ต้อง
8. มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จกั เคารพผ้ใู หญ่
9. มสี ติ รตู้ วั รคู้ ดิ รทู้ ำ� รปู้ ฏบิ ตั ติ ามพระราชดำ� รสั ของพระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อยหู่ ัวฯ
10. รู้จักด�ำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตาม
พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รู้จักอดออมไว้ใช้เม่ือยาม
จ�ำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจ�ำหน่าย และพร้อมท่ีจะ
ขยายกิจการเมอ่ื มีความพรอ้ ม มีภมู คิ ุ้มกนั ท่ีดี
11. มีความเข้มแข็งท้ังร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออ�ำนาจฝ่ายต�่ำ
หรือกเิ ลส มีความละอายเกรงกลวั ตอ่ บาปตามหลักศาสนา
12. ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่า
ผลประโยชนข์ องตนเอง
ในการด�ำเนินงาน เพื่อปลูกฝังกิจกรรมสภานักเรียนให้เกิดข้ึนกับเด็ก
และเยาวชนไทยให้เป็นไปในรูปแบบหรือทิศทางท่ีเหมาะสม ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้ก�ำหนดมาตรการและแนวทาง
ในการด�ำเนินงานกจิ กรรมสภานกั เรียนไว้ ดังน้ี
มาตรการ
1. ใหส้ ถานศกึ ษาดำ� เนนิ งานสง่ เสรมิ กจิ กรรมสภานกั เรยี น เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมหลักของคนไทย
12 ประการ
2. ใหส้ ถานศกึ ษาสง่ เสรมิ สนบั สนนุ สภานกั เรยี นไดม้ โี อกาสมสี ว่ นรว่ ม
ในกจิ กรรมอยา่ งต่อเนือ่ ง
3. ให้สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน สภานักเรียนสร้างเครือข่าย
ความรว่ มมอื กับชมุ ชน องคก์ ร ดว้ ยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย
4. ให้สถานศึกษา นิเทศ ก�ำกับ ติดตาม ประเมนิ ผล การด�ำเนินงาน
สภานักเรยี นอยา่ งตอ่ เน่อื ง

แนวทางการดำ� เนินงานตามมาตรการ 5
1. สถานศกึ ษาด�ำเนนิ การจดั ตง้ั สภานกั เรียนในสถานศกึ ษา 1 สภา
2. สถานศึกษาจัดท�ำระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนูญ ว่าด้วย ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
สภานกั เรยี น และคมู่ อื แนวทางการดำ� เนนิ งานกจิ กรรมสภานกั เรยี นของสถานศกึ ษา
3. สถานศกึ ษาตอ้ งบรู ณาการกิจกรรมสภานักเรียน ใหส้ อดคลอ้ งกบั
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
4. สถานศึกษาต้องส่งเสริม สนับสนุน และวางแผนการด�ำเนินงาน
รว่ มกับสภานกั เรยี นอยา่ งเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
5. สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมสภานักเรียน ตามวิถี
ประชาธิปไตย หลกั ธรรมาภิบาล ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ ม นำ� เขา้ สู่ประชาคมอาเซยี นและความเปน็ พลโลก
6. สถานศกึ ษาพจิ ารณารบั นกั เรยี นทปี่ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมดา้ นสภานกั เรยี น
ที่มีผลงานเชิงประจักษ์ เข้าศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงข้ึน ตามสัดส่วนหรือ
จ�ำนวนท่เี หมาะสม
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ตระหนักและ
เห็นคุณค่าของการพัฒนานักเรียนผ่านกิจกรรมสภานักเรียน เพื่อให้
เกดิ ประสบการณ์ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การบรู ณาการกจิ กรรมสภานกั เรยี นเขา้ กบั
การเรยี นรใู้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ า่ งๆ ของสถานศกึ ษาใหเ้ กดิ ผลตามเงอื่ นไข
ความสำ� เรจ็ ทก่ี �ำหนด โดยมกี ารด�ำเนินการสง่ เสริม สนบั สนุน เพอ่ื ผลักดนั ให้
สถานศึกษาในสังกัดได้จัดกิจกรรมสภานักเรียนในสถานศึกษาให้สอดคล้อง
กับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐาน จงึ ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื การจดั กจิ กรรมสภานกั เรยี นขนึ้ เพอ่ื ใหส้ ำ� นกั งาน
เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา และสถานศึกษา ตลอดจนผู้ท่ีสนใจไดน้ �ำไปใช้ประโยชน์
ในการจัดกจิ กรรมท่เี กยี่ วข้องกับสภานกั เรียน ต่อไป

ส่วน ่ที 16 วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา มีแนวทาง
ในการดำ� เนนิ งานสภานกั เรยี นทีค่ รอบคลมุ ภารกจิ
2. เพื่อให้ผู้รับผิดชอบงานสภานักเรียน สามารถจัดกิจกรรม
สภานักเรยี นได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล
3. เพอ่ื ใหส้ ภานกั เรยี นสามารถดำ� เนนิ กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

ขอบขา่ ยเนื้อหา

เอกสารคู่มือแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมสภานักเรียนก�ำหนด
ขอบข่ายเน้อื หาสาระทส่ี ำ� คัญไว้ ดังนี้
1. ทม่ี าสภานกั เรียน
2. โครงสรา้ งสภานกั เรยี น
3. รูปแบบการประชมุ สภานกั เรยี น
4. เครือขา่ ยและการมีสว่ นร่วม
5. การบรู ณาการการเรียนรู้
6. การเสนอโครงการ
7. การประเมนิ กจิ กรรมสภานกั เรียน

ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั

1. สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศกึ ษา สามารถดำ� เนนิ งาน
สภานกั เรยี นท่ีครอบคลมุ ภารกิจ
2. ผู้รับผิดชอบงานสภานักเรียน สามารถจัดกิจกรรมสภานักเรียน
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล
3. สภานกั เรียนสามารถดำ� เนินกจิ กรรมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

7ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น

สว่ นที่ 2

แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรม
สภานักเรียน

สว่ นท่ี 1 8

9

สว่ นท่ี 2 ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
แนวทางการดำ� เนนิ
กจิ กรรมสภานักเรยี น

การด�ำเนินกิจกรรมสภานักเรียนได้ก�ำหนดรูปแบบและแนวทาง
เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ครอบคลมุ ภารกจิ งานสภานกั เรยี น
ตามกิจกรรม ดังนี้

สว่ นท่ี 2 10

กจิ กรรมที่ 1

ที่มาสภานกั เรียน

สว่ นท่ี 2 12

กจิ กรรมที่ 1 ท่ีมาสภานักเรียน 13

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
ได้ก�ำหนดนโยบายและจุดเน้นในการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณธรรม
น�ำความรู้ ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ดังน้ัน การพัฒนาผู้เรียน
โดยการส่งเสริมกิจกรรมสภานกั เรียน เป็นกจิ กรรมหน่งึ ท่สี ามารถตอบสนอง
การสง่ เสรมิ ความเปน็ ประชาธปิ ไตย เพอ่ื สรา้ งความตระหนกั และความสำ� นกึ
ดา้ นประชาธปิ ไตย โดยสภานกั เรยี นเปน็ กจิ กรรมหนง่ึ ทป่ี ลกู ฝงั วถิ ปี ระชาธปิ ไตย
ใหน้ ักเรยี นทุกคน ได้เรียนรู้ ร่วมกิจกรรม มีการสง่ เสริมกิจกรรมการเลือกต้งั
รวมถึงเป็นกลไกส�ำคัญในการฝึกให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีแนวทาง
การด�ำเนนิ งานเพ่ือให้ไดม้ าซง่ึ สภานักเรยี น ดงั นี้

14 แผนภูมิ ท่มี าสภานักเรยี น

ส่วน ่ที 2 1. แตง่ ตงั้ 2. จัดท�ำระเบยี บ 3. จัดท�ำคูม่ อื
คณะกรรมการ ข้อบังคบั หรือธรรมนญู การด�ำเนินงาน
ทป่ี รกึ ษาสภานกั เรยี น สภานกั เรยี น
ว่าดว้ ยสภานกั เรยี น

6. ผู้สมคั รหาเสยี ง 5. รับสมคั ร 4. สง่ เสริมให้มีการตง้ั
เลอื กตงั้ ผู้แทนสภานักเรยี น พรรค/กลุ่ม เพอื่ สมัคร
เป็นผู้แทนสภานกั เรยี น

7. ดำ� เนนิ การเลือกตั้ง 8. นับคะแนนและ
7.1 กรณใี ช้บตั รเลือกตง้ั ประกาศผลเลือกตง้ั
(1) ตรวจบัญชีรายชือ่ อยา่ งเป็นทางการ
(2) แสดงตนขอรบั บัตรเลอื กต้งั 9. ออกคำ� สั่งแตง่ ต้ัง
(3) รบั บัตรเลือกต้ัง คณะกรรมการสภา
(4) เขา้ คหู ากากบาท
(5) หยอ่ นบัตรเลือกตั้งลงหบี นักเรียน
7.2 กรณีใช้เครื่องอเิ ลคทรอนคิ สเ์ ลือกตง้ั )
(1) ตรวจบัญชรี ายชอ่ื
(2) แสดงตนขอใชส้ ิทธ์ิเลือกตัง้
(3) เขา้ คหู ากดปุ่มเลอื กผูส้ มคั ร

วิธีการและข้ันตอนการดำ� เนินงาน 15

การได้มาซึ่งสภานักเรียนของแต่ละโรงเรียนน้ัน จะต้องเป็นไปตาม ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
ระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนูญว่าด้วยสภานักเรียนของแต่ละโรงเรียน
จะต้องก�ำหนดรูปแบบหรือองค์ประกอบของสภานักเรียนไว้ เช่น สมาชิก
สภานกั เรยี นทไี่ ดม้ าจากการดำ� เนนิ การเลอื กตง้ั ในระดบั โรงเรยี น อาจจะเลอื กตงั้
แบบเป็นทีม หรือเป็นรายบุคคล ที่ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธาน
สภานกั เรยี น มกี ารกำ� หนดตำ� แหนง่ จำ� นวนคณะกรรมการ บทบาทหนา้ ท่ี และ
คุณสมบตั ิต่างๆ ของผู้ท่ีจะเข้ามาทำ� หน้าท่ใี นสภานกั เรียน
สำ� หรบั ทม่ี าของสภานกั เรยี น โรงเรยี นควรมกี ารดำ� เนนิ งานโดยเรมิ่ จาก
การแต่งต้ังคณะครูท่ีปรึกษากิจกรรมสภานักเรียนของโรงเรียน เพ่ือศึกษา
หาความรู้ วางแผนการดำ� เนนิ งาน ศกึ ษาแนวทางการดำ� เนนิ งานสภานกั เรยี น
จัดท�ำระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนูญของโรงเรียน ว่าด้วยสภานักเรียน
โดยคณะครูที่ปรึกษาสนับสนุนให้มีการตั้งพรรค/กลุ่ม เพื่อส่งเสริม
กิจกรรมเลือกต้ังสภานักเรียน โรงเรียนมีการด�ำเนินการรับสมัครตัวแทน
สภานักเรียน เปิดโอกาสให้มีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งผู้แทนนักเรียน
เพ่ือเข้าไปท�ำหน้าที่ในสภานักเรียน ด�ำเนินการเลือกตั้งผู้แทนนักเรียน
โดยเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นทกุ คนในโรงเรยี นเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม มกี ารนบั คะแนน
ตลอดจนประกาศผล การเลือกต้ังอย่างเป็นทางการ และสุดท้ายโรงเรียน
ตอ้ งออกค�ำส่งั แตง่ ต้งั คณะกรรมการสภานักเรยี น

ส่วน ่ที 216 (ตัวอย่าง)

(แนวทางในการจัดท�ำระเบียบ/ข้อบงั คบั /ธรรมนูญโรงเรียนวา่ ดว้ ยสภานกั เรียน)
ระเบยี บ/ขอ้ บงั คับ/ธรรมนญู โรงเรียน……………
ว่าดว้ ยสภานักเรียน ปพี ุทธศักราช………...….
หมวด 1
บทท่ัวไป

ข้อ 1 ระเบยี บนเี้ รยี กว่า “ระเบียบโรงเรียน.........วา่ ดว้ ยสภานกั เรียน
ปพี ุทธศกั ราช ......”
ข้อ 2 ระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนูญโรงเรียน มีผลบังคับใช้ หลังจาก
วนั ประกาศใชเ้ ป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน..........หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เป็นผปู้ ระกาศใช้ระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนญู โรงเรียน
ขอ้ 4 ในระเบยี บนวี้ ่าดว้ ย
โรงเรียน หมายถึง โรงเรยี น……….
คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา หมายถงึ ครผู ทู้ ไ่ี ดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็
ทปี่ รกึ ษาสภานกั เรยี นโรงเรยี น………
สภานกั เรยี น หมายถึง สภานักเรียนโรงเรยี น….....................

หมวด 2
วตั ถุประสงค์
ขอ้ ................

ฯลฯ
หมวด 3
องคป์ ระกอบของคณะกรรมการสภานกั เรียน
ข้อ................

ฯลฯ

หมวด 4 17
การเลอื กตง้ั การแต่งตง้ั และสมาชกิ ภาพ
ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
ขอ้ ................
ฯลฯ

หมวด 5
การบรหิ ารงานสภานกั เรียน

ขอ้ ................
ฯลฯ

หมวด 6
บทบาทและหนา้ ที่สภานกั เรียน

ข้อ................
ฯลฯ

หมวด 7
การประชมุ สภานกั เรียน

ขอ้ ................
ฯลฯ

ประกาศ ณ วนั ท่ี..........เดือน..............................พ.ศ. ………………
(..............................................)

ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี น.................................
หมายเหตุ สามารถปรับได้ตามความเหมาะสม

ส่วน ่ที 218 แนวทางการประเมินท่ีมาสภานกั เรียน

1. ตรวจสอบการก�ำหนดระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนูญของโรงเรียน
ว่าด้วยสภานักเรียนให้มีความเหมาะสมตามแนวทางที่ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานก�ำหนด และสอดคล้องกับรูปแบบ
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
2. สังเกตการณ์ การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมในการ
เลือกตัง้ ของนักเรยี น และการดำ� เนนิ การเลือกตั้งสภานักเรียน

การสรุปและรายงานผล

1. ตรวจสอบความถูกต้อง/เหมาะสม
2. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขในกรณีท่ไี ม่เปน็ ไปตามแนวทางทเ่ี หมาะสม
3. เสนอผบู้ ริหารสถานศกึ ษาทราบและลงนาม

กจิ กรรมที่ 2

โครงสร้างสภานกั เรยี น



กิจกรรมท่ี 2 โครงสร้างสภานกั เรยี น 21

บทบาทหน้าที่ของสภานักเรียนเป็นผู้น�ำในการปฏิบัติกิจกรรม ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
ในโรงเรียนที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนและส่วนรวม รวมถึงเป็นกลไกส�ำคัญ
ให้นักเรียนเห็นคุณค่าของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ประกอบกบั โรงเรยี นไดม้ ี ระเบยี บ/ขอ้ บงั คบั /
ธรรมนูญว่าด้วยสภานักเรียนไว้ตามบริบทของแต่ละโรงเรียน ดังน้ัน ในการ
จัดโครงสร้างสภานักเรียนของโรงเรียน จึงควรพิจารณาจากกรอบภาระงาน
และควรก�ำหนดโครงสร้างสภานักเรยี น ดงั น้ี

แผนภมู ิ ขน้ั ตอนการด�ำเนินงานโครงสรา้ งสภานักเรยี น

ตรวจสอบ ตรวจสอบและกำ� หนดการด�ำรงตำ� แหน่ง
ภารกิจ/โครงสร้าง คณะกรรมการตามโครงสร้างฯ

ปฏิบตั งิ านตามกรอบ ประชุมคณะกรรมการ ออกค�ำสัง่ แต่งตง้ั คณะ
ภารกิจ/คำ� สั่ง สภานักเรยี น/ “ชแ้ี จง” กรรมการสภานักเรยี น

กรอบภาระงาน

ส่วน ่ที 222 วธิ ีการและข้นั ตอนการด�ำเนนิ งาน

โดยท่ัวไปโครงสร้างและรูปแบบของสภานักเรียนแต่ละโรงเรียน
จะประกอบด้วยสมาชกิ ในสภานักเรยี นสองลักษณะคอื สมาชกิ สภานกั เรยี น
ทไี่ ดม้ าจากการดำ� เนนิ การเลอื กตงั้ ในระดบั โรงเรยี น อาจจะเลอื กตง้ั แบบเปน็ ทมี
หรือเป็นรายบุคคล ท่ีลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานสภานักเรียน และ
คณะกรรมการที่มาจากการเลือกตั้งในระดับช้ันเรียน เพื่อเป็นตัวแทน
ของนักเรียนเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการสภานักเรียนด้วย ขนาดและจ�ำนวน
ของสมาชิกสภานักเรียนนั้น ให้เป็นไปตามระเบียบ/ข้อบังคับ/ธรรมนูญของ
โรงเรยี น
หากโรงเรียนเห็นสมควรที่จะเปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม
ในการดำ� เนนิ งานกจิ กรรมสภานกั เรยี น โรงเรยี นอาจจะกำ� หนดใหส้ ภานกั เรยี น
มีคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ท่ีสอดคล้องกับโครงสร้าง แต่ทั้งน้ีต้องมี
การก�ำหนดจ�ำนวน บทบาทหน้าท่ี ของคณะอนุกรรมการนั้นไว้ในระเบียบ/
ขอ้ บงั คับ/ธรรมนญู ว่าดว้ ยสภานกั เรยี นด้วย

(ตัวอยา่ ง) 23
โครงสรา้ งและองค์ประกอบของคณะกรรมการสภานักเรยี น
ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
โรงเรยี น.............................

ประธานทป่ี รึกษา
(ผบู้ ริหารโรงเรยี น)

ครูท่ีปรกึ ษาสภานกั เรียน
ประธานสภานักเรยี น

รองประธานสภานกั เรยี น รองประธานสภานกั เรยี น

กรรมการตวั แทน ฝ่ายชมุ นุม ฝ่ายประชาสมั พนั ธ์ ฝ่ายปกครองวินัย ฝา่ ยเหรญั ญิก เลขานกุ าร
ระดบั ชั้น สารวตั รนักเรียน

ฝา่ ยวชิ าการ ฝ่ายพัฒนา ฝ่ายอนรุ ักษ์ ฝ่ายปฏิคม ฝา่ ยเครอื ข่าย
กจิ กรรม สิง่ แวดล้อม สมั พนั ธ์/ชุมชน

คณะกรรมการ/
คณะอนกุ รรมการฝ่ายตา่ งๆ

24 (ตัวอยา่ ง)

ส่วน ่ที 2 คำ� ส่งั โรงเรยี น................
ท.่ี ................/...................
เรื่อง แตง่ ต้งั คณะกรรมการสภานกั เรยี นและครทู ่ีปรกึ ษาสภานักเรยี น
----------------------------

ดว้ ยโรงเรยี น..................................ไดก้ ำ� หนดใหม้ กี ารเลอื กตง้ั ประธาน
สภานักเรยี นประจ�ำปกี ารศกึ ษา ........... โดยคณะกรรมการ การเลือกต้งั และ
ได้ประกาศผลการเลือกต้ัง (ประธานสภานักเรียน) หรือคณะกรรมการ
สภานักเรยี นเป็นทเี่ รียบร้อยแล้ว เพอื่ ใหส้ ภานกั เรยี นได้ปฏบิ ตั หิ น้าทไี่ ด้อยา่ ง
มีประสิทธิภาพเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ
สภานักเรยี นตามโครงสรา้ ง ดังต่อไปนี้
1. คณะกรรมการสภานกั เรยี น ประกอบด้วย
1.1 ช่ือ.............................. ประธานสภานกั เรียน
1.2 ชอ่ื .............................. รองประธานสภานกั เรยี น
1.3 ชื่อ.............................. เหรญั ญกิ
1.4 ชอ่ื .............................. ประชาสัมพันธ์
1.5 ชื่อ.............................. หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
1.6 ชอ่ื .............................. หวั หน้าฝา่ ยกจิ กรรม
1.7 ชอ่ื .............................. หัวหน้าฝา่ ยปกครอง
1.8 ชอ่ื .............................. หวั หนา้ ฝ่ายชมุ นุม
1.9 ชือ่ .............................. หัวหนา้ ฝ่ายสมั พนั ธช์ มุ ชน
และเครอื ข่าย

1.10 กรรมการฝ่ายตา่ งๆ 25
1) ………………………………………………………
2) ……………………………………………………… ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
3) ………………………………………………………

ฯลฯ
1.11 เลขานกุ ารสภานักเรียน

2. ครูทีป่ รกึ ษาสภานักเรียน
2.1 ………………………………………………………………………….
2.2 ………………………………………………………………………….

ให้คณะกรรมการสภานักเรียนปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีได้ก�ำหนดไว้ใน
(ระเบียบ/ขอ้ บังคับ/ธรรมนูญ) ของโรงเรยี น ให้เปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ

ทัง้ น้ี ตั้งแต่บดั น้ีเปน็ ต้นไป
สงั่ ณ วันท่.ี ........เดอื น...............................พ.ศ. ..................

(...............................................)
ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี น.................................................

ส่วน ่ที 226 แนวทางการประเมินโครงสรา้ งสภานักเรยี น

1. ตรวจสอบการกำ� หนดโครงสรา้ งใหค้ รบถว้ นตามตวั อยา่ งรปู แบบ
กำ� หนดโครงสรา้ งสภานักเรียน
2. มีการมอบหมายงานของสภานักเรยี นให้คณะกรรมการฝา่ ยตา่ งๆ

การสรุปและรายงานผล

1. ตรวจสอบความถูกต้อง
2. ปรับปรุงแก้ไขในกรณที ่ีไมเ่ ป็นไปตามแนวทางท่ีเหมาะสม
3. เสนอผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทราบและลงนาม

กจิ กรรมท่ี 3

รปู แบบการประชุม
สภานกั เรยี น



กิจกรรมท่ี 3 รูปแบบการประชมุ สภานักเรียน 29

รูปแบบและการก�ำหนดระเบยี บวาระการประชุม ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
คำ� ว่า“ระเบยี บวาระ” หมายความวา่ ล�ำดับรายการที่ก�ำหนดไวเ้ สนอ
ทป่ี ระชุม (พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน 2542 : 674) ค�ำคำ� นี้ จึงใช้
สำ� หรับการประชมุ โดยเฉพาะ บางหน่วยงาน ใชค้ ำ� วา่ “วาระ” ซึ่งอาจเพราะ
เห็นว่าเป็นค�ำส้ันๆ แต่ค�ำนี้ควรใช้เฉพาะในภาษาพูดเท่านั้น ไม่ควรใช้
ในรายงานการประชมุ เพราะมไิ ดม้ คี วามหมายเกย่ี วกบั การประชมุ แตอ่ ยา่ งใด
ระเบียบวาระการประชมุ มคี วามส�ำคญั หลายประการ กลา่ วคอื ทำ� ให้
ผเู้ ขา้ ประชมุ ทราบขอบเขตของการประชมุ และทราบประเดน็ ลว่ งหนา้ สามารถ
เตรียมข้อมูลและความคิดเห็นเพื่อเสนอท่ีประชุม หากไม่เข้าประชุม
ควรมอบหมายผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ เข้าประชุมแทน นอกจากน้ัน
ยงั เปน็ การจดั ระเบยี บการประชมุ ใหด้ ำ� เนนิ ไปตามลำ� ดบั ปอ้ งกนั การพดู ขา้ ม
ระเบยี บวาระหรอื อภปิ รายนอกเรอื่ ง ประธานสามารถจดั แบง่ เวลาใหเ้ หมาะสม
กับระเบียบวาระต่างๆ หากไม่มีระเบียบวาระชัดเจน อาจมีการอภิปราย
มากเกินจ�ำเปน็ ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถประชุมใหแ้ ล้วเสรจ็ ตามก�ำหนดเวลาได้

ส่วน ่ที 230 รปู แบบการประชมุ สภานักเรียน

1.
2.

3.
4. การรายงานผลการประชมุ

5. แนวทางการประเมนิ รปู แบบการประชมุ สภานกั เรยี น

การประชุมเป็นกิจกรรมที่ท�ำให้บุคลากรในองค์กรเกิดความเข้าใจ 31
ที่ตรงกนั ได้รวบรวมความคดิ เห็น วธิ ีการแกป้ ัญหาต่างๆ จากสมาชิกอยา่ งทั่วถงึ
สมาชิกผู้ร่วมประชุมต้องรู้บทบาทหน้าท่ีของตน ทั้งผู้ท�ำหน้าที่ประธาน ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
ต้องสามารถใช้เทคนิคในการน�ำและควบคุมการประชุมเพ่ือให้ ผู้เข้าประชุม
มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น มีการเสนอความคิดที่ท�ำให้เกิดการยอมรับ
และเปน็ ประโยชนต์ อ่ องค์กร

1. การจัดรปู แบบโต๊ะประชุม
1.1 โตะ๊ ประชมุ ของคณะกรรมการสภานกั เรยี น กบั โตะ๊ ครทู ปี่ รกึ ษา/
ผู้เข้าร่วมประชุม ตอ้ งแยกออกจากกัน
1.2 ตอ้ งมปี า้ ยชอื่ - สกลุ ตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการสภานกั เรยี น/
ครทู ่ปี รกึ ษา
1.3 การจดั โต๊ะประชมุ เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกในการนัง่ ประชุม
และเพื่อใหผ้ ้เู ข้าร่วมประชมุ ทุกคนสามารถมองเห็นท้ังประธาน รองประธาน
และเลขานุการ รวมถึงผู้เข้าร่วมประชุม การจัดโต๊ะประชุมมีหลายรูปแบบ
แบบการจดั ประชุมท่ีเป็นที่นิยมใช้ มี 9 แบบ ดังนี้
แบบท่ี 1 จัดแบบตัวอกั ษรไอในภาษาองั กฤษ ( I )
แบบที่ 2 จัดแบบตวั อักษรยูในภาษาอังกฤษ ( U )
แบบที่ 3 จัดแบบตัวอักษรทใี นภาษาอังกฤษ ( T )
แบบที่ 4 จัดแบบตวั อักษรโอในภาษาอังกฤษ ( O )
แบบที่ 5 จัดแบบเกือกมา้
แบบที่ 6 จัดแบบรูปครงึ่ วงกลม
แบบท่ี 7 จดั แบบรูปส่ีเหลยี่ ม
แบบท่ี 8 จดั แบบชน้ั เรียน
แบบที่ 9 จัดแบบออดิทอเล่ียม (โรงภาพยนตร์)

32 2. รูปแบบและการกำ� หนดระเบียบวาระการประชุม
2.1 รปู แบบการประชมุ ทเี่ ป็นทางการ ได้กำ� หนดระเบยี บวาระไว้
ส่วน ่ที 2 ดงั น้ี
ระเบียบวาระท่ี 1 เรือ่ ง ประธานแจง้ ทปี่ ระชุมทราบ
1.1………………………………….
1.2………………………………….
ฯลฯ
ระเบยี บวาระที่ 2 เร่ือง รับรองรายงานการประชุม คร้งั ที่ …./…….
2.1………………………………….
2.2………………………………….
ฯลฯ
ระเบยี บวาระที่ 3 เรอ่ื ง เสนอที่ประชุมทราบ
3.1………………………………….
3.2 ………………………………….
ฯลฯ
ระเบยี บวาระท่ี 4 เรอ่ื ง เสนอทปี่ ระชมุ พจิ ารณา
4.1………………………………….
4.2………………………………….
ฯลฯ
ระเบยี บวาระท่ี 5 เร่ืองอน่ื ๆ (ถ้าม)ี
5.1 .................................................
5.2 ..................................................
ฯลฯ
2.2 รปู แบบทีไ่ ม่เป็นทางการ ท่ปี ระชุมอาจก�ำหนดรูปแบบงา่ ยๆ
โดยไม่ต้องมีระเบียบวาระครบถ้วนในการประชุมที่ไม่เป็นทางการหรือ
การประชุมกลมุ่ ยอ่ ย (หัวข้อการประชุมเพยี งแต่เรียงล�ำดับ 1-2-3-4-5)

2.3 รปู แบบทหี่ นว่ ยงานกำ� หนด บางหนว่ ยงานอาจกำ� หนดรปู แบบ 33
เฉพาะ เช่น เพ่ิมระเบียบวาระ “เร่ืองทักท้วง” ในกรณีที่เป็นเร่ืองพิจารณา
ตามปกติประจ�ำทุกคร้ัง ไม่ต้องมีการอภิปราย หากไม่มีการทักท้วงก็ถือว่า ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
เห็นชอบ ทัง้ น้ี เพื่อประหยัดเวลา ในการประชุม

3. ข้นั ตอนการด�ำเนนิ การประชมุ
3.1 ระเบยี บวาระที่ 1 เร่ืองที่ประธานแจง้ ทปี่ ระชมุ ทราบ
เมอ่ื ประธานกลา่ วเปดิ ประชมุ แลว้ หากไมม่ เี รอื่ งแจง้ เพอื่ ทราบ
กเ็ ขยี นวา่ “ไมม่ ”ี ระเบยี บวาระที่ 1 น้ี ไมต่ อ้ งมกี าร “ลงมต”ิ เพราะไมใ่ ชเ่ รอื่ ง
พจิ ารณาแตอ่ าจมี “ขอ้ สงั เกต” ได้ ระเบียบวาระน้ี จะลงท้ายว่า “ท่ีประชุม
รับทราบ” ที่ประชุมบางแห่งใช้ค�ำว่า “เร่ืองแจ้งเพ่ือทราบ” ซ่ึงไม่ชัดเจนว่า
ผใู้ ดแจง้ บางแหง่ นำ� ระเบยี บวาระที่ 3 มารวมดว้ ย คอื กรรมการตา่ งๆ แจง้ หรอื
รายงานทป่ี ระชมุ ดว้ ย ซง่ึ อาจทำ� ใหส้ บั สน ฉะนนั้ หากเปน็ การประชมุ ทสี่ ำ� คญั
ควรแยกระเบยี บวาระที่ 1 ใหป้ ระธาน เปน็ ผแู้ จ้ง
3.2 ระเบียบวาระท่ี 2 เร่ืองการรบั รองรายงานการประชมุ
ประธานจะเป็นผู้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณารายงาน
การประชมุ ครง้ั ทผี่ า่ นมา หรอื ประธานมอบหมายใหเ้ ลขานกุ ารแจง้ ใหท้ ปี่ ระชมุ
ทราบ โดยอาจใหพ้ จิ ารณาทลี ะหนา้ ในกรณที ม่ี ไิ ดแ้ จกลว่ งหนา้ หรอื รวบยอด
ท้ังฉบับในกรณีที่แจกล่วงหน้าแล้ว หากมีผู้เสนอแก้ไข เลขานุการจะต้อง
บนั ทกึ ข้อความทแ่ี ก้ไขใหมอ่ ย่างละเอยี ด และข้อความใหมจ่ ะตอ้ งปรากฏใน
รายงานการประชุมครั้งใหม่ด้วย ระเบียบวาระน้ีจะลงท้ายว่า “ท่ีประชุม
พิจารณาแล้วรับรองรายงานการประชุมคร้ังที่.........โดยไม่มีการแก้ไข
(หรอื มกี ารแกไ้ ข)” การรบั รองรายงานการประชมุ อาจท�ำได้ 3 วธิ ี

ส่วน ่ที 234 1) รับรองในการประชุมครง้ั นัน้ ใช้ส�ำหรับกรณเี รือ่ งเรง่ ด่วน

ให้ประธานหรือเลขานุการของที่ประชุม อ่านสรุปมติให้ที่ประชุมพิจารณา
รบั รอง
2) รับรองในการประชุมครั้งต่อไป ประธานหรือเลขานุการ
เสนอรายงาน การประชุมคร้ังที่แลว้ มาใหท้ ่ปี ระชุมพจิ ารณารบั รอง
3) รับรองโดยการแจ้งเวียน ใช้ในกรณีที่ไม่มีการประชุม
คร้งั ต่อไป หรอื มีแต่ยังกำ� หนดเวลาประชุมคร้งั ตอ่ ไปไมไ่ ด้ หรือ มีระยะเวลา
หา่ งจากการประชมุ ครง้ั นนั้ นานมาก ใหเ้ ลขานกุ ารสง่ รายงานการประชมุ ไปให้
บุคคลในคณะกรรมการพจิ ารณารบั รอง ภายในระยะเวลาทีก่ �ำหนด
3.3 ระเบยี บวาระท่ี 3 เร่อื งเสนอท่ีประชมุ ทราบ
บางแหง่ ใชค้ ำ� วา่ “เรอ่ื งสบื เนอื่ ง” คอื สบื เนอื่ งจากการประชมุ
ครงั้ ทแ่ี ลว้ เปน็ การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านทไี่ ดร้ บั มอบหมายในการประชมุ
ครั้งก่อนๆ แต่การใช้ค�ำว่า “เร่ืองสืบเนื่อง” อาจท�ำให้เกิดความผิดพลาด
โดยมีการน�ำเร่ืองที่เล่ือนจากการพิจารณาคร้ังก่อนมาพิจารณาและลงมติ
ในระเบียบวาระนี้ท�ำให้สับสนกับระเบียบวาระท่ี 4 ซึ่งเป็นเรื่องพิจารณา
โดยเฉพาะในการประชมุ สว่ นใหญ่ ระเบยี บวาระที่ 3 เปน็ เรอ่ื งทผ่ี เู้ ขา้ ประชมุ
จะรายงานผลงานหรอื เรอ่ื งราวส�ำคญั ในหนว่ ยงานของตน ทีป่ ระชุมเพยี งแต่
“รบั ทราบ” หรือ “มีข้อสงั เกต” เชน่ เดียวกับระเบยี บวาระท่ี 1
3.4 ระเบยี บวาระที่ 4 เรอื่ งเสนอที่ประชุมพจิ ารณา
ระเบียบวาระนี้เป็นหัวใจของการประชุม เลขานุการจะต้อง
สง่ ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณาใหค้ ณะกรรมการไดศ้ กึ ษาลว่ งหนา้ หากขอ้ มลู มาก
จะตอ้ งสรปุ สาระสำ� คญั ใหค้ ณะกรรมการอา่ นดว้ ย หวั ขอ้ ตา่ งๆ ทจี่ ะนำ� มาพจิ ารณา
จะตอ้ งตงั้ ชอ่ื เรอื่ งใหก้ ระชบั ชดั เจนทกุ เรอื่ ง เมอ่ื ผเู้ กยี่ วขอ้ งอา่ นกจ็ ะทราบทนั ที
ว่าเป็นเรื่องใด ท�ำให้ประหยัดเวลาอ่าน และในที่ประชุมก็อภิปรายได้ตรง
ประเด็น ตวั อยา่ งการต้งั ช่ือเรือ่ ง เช่น

1) การจัดสรรทนุ การศึกษาแก่บตุ รขา้ ราชการ 35
2) การจัดงานในวนั คล้ายวนั สถาปนากระทรวงศกึ ษาธิการ
ระเบียบวาระที่ 4 เป็นเร่ืองที่เสนอท่ีประชุมพิจารณา และจะ ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
ลงท้ายด้วยมติที่ประชุม เช่น “ท่ีประชุมมีมติอนุมัติ ตามเสนอ” หรือ
“ที่ประชมุ พิจารณาแล้วมมี ตดิ ังนี้ 1....2....3....” หรือท่ปี ระชุมมีมตเิ หน็ ชอบ
มติท่ีประชุมจะต้องกระชับหรือชัดเจนว่า อนุมัติหรือไม่ มอบหมายให้ใคร
ท�ำอะไร ใหแ้ ล้วเสรจ็ เม่ือไร อยา่ งไร เปน็ ต้น
3.5 ระเบยี บวาระที่ 5 เรอื่ งอ่นื ๆ (ถ้าม)ี
ระเบยี บวาระนอ้ี าจจะเปน็ เรอ่ื งเรง่ ดว่ นทมี่ ไิ ดแ้ จง้ ลว่ งหนา้ มไิ ด้
บรรจไุ วใ้ นระเบยี บวาระท่ี 4 ประธานอาจนำ� มาพจิ ารณาในระเบยี บวาระท่ี 5
หรอื อาจเปน็ เรอ่ื งเสนอเพม่ิ เตมิ ทไ่ี มม่ กี ารลงมตกิ ไ็ ด้ ภาษาพดู เรยี กวา่ “วาระจร”

4. การรายงานผลการประชุม
4.1 ความหมายของรายงานการประชมุ
ค�ำว่า “รายงานการประชุม” เป็นค�ำนาม หมายความว่า
รายละเอยี ดหรือสาระของการประชุมท่จี ดไว้เปน็ ทางการ (พจนานกุ รมฉบบั
ราชบญั ฑติ ยสถาน 2542 : 953)
4.2 ความส�ำคญั ของรายงานการประชมุ
รายงานการประชมุ เปน็ รายงานประเภทหนง่ึ ทม่ี คี วามสำ� คญั
อย่างยิ่ง สรปุ ไดด้ ังนี้
1) เป็นองค์ประกอบของการประชุม การประชุมอย่างเป็น
ทางการจะมีองค์ประกอบ 8 ประการ ได้แก่ 1) ประธาน 2) องค์ประชุม
3) เลขานกุ าร 4) ญตั ติ 5) ระเบยี บวาระการประชมุ 6) มติ 7) รายงานการประชมุ
และ 8) หนังสอื เชญิ ประชุม

ส่วน ่ที 236 2) เป็นหลักฐานการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานในองค์กร

ใดๆ ก็ตาม ย่อมมีการประชุมเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงาน แลกเปลี่ยน
ความคดิ เหน็ ก�ำหนดนโยบาย พจิ ารณาข้อเสนอ ฯลฯ รายงานการประชมุ
จะเป็นหลักฐานส�ำคัญท่ีแสดงผลการปฏิบัติงาน หรือกิจการของหน่วยงาน
ทผี่ า่ นมา เพือ่ เปน็ หลกั ฐานขององค์กรต่อไป
3) เป็นเคร่ืองมือติดตามงาน รายงานการประชุมที่มีการ
บนั ทกึ มตไิ วอ้ ยา่ งชดั เจน จะเปน็ หลกั ฐานสำ� คญั ใหเ้ ลขานกุ ารหรอื ผไู้ ดร้ บั มอบ
หมายได้ติดตามงานตามมตทิ ่ีประชุม การประชมุ ส่วนใหญ่จะมีระเบียบวาระ
“เรอ่ื งทเี่ สนอใหท้ ปี่ ระชมุ ทราบ” ซง่ึ ผปู้ ฏบิ ตั ิ จะรายงานผลหรอื ความกา้ วหนา้
ในการปฏิบัตงิ านตามมติที่ประชมุ คร้งั กอ่ น ทง้ั น้ี จะเปน็ ประโยชนแ์ ก่องค์กร
ให้สามารถเร่งรดั พัฒนางานอยา่ งเต็มท่ี
4) เป็นหลักฐานอ้างอิง รายงานการประชุมท่ีมีการรับรอง
จากที่ประชุมแล้ว ถือเป็นเอกสารที่ใช้อ้างอิงได้ตามกฎหมาย หากมีปัญหา
หรอื ความขดั แยง้ ในทางปฏบิ ตั ิ สามารถใชม้ ตกิ ารประชมุ เพอื่ ยตุ ขิ อ้ ขดั แยง้ ได้
หรือหากมีปัญหาทางกฎหมาย เช่น บุคคลหรือหน่วยงานปฏิบัติงาน
ไม่เป็นไปตามมติ ก็สามารถใช้รายงานการประชุม เป็นหลักฐานส่วนหน่ึง
ในการด�ำเนินการตามกฎหมายได้
5) เป็นข้อมูลข่าวสาร เลขานุการจะส่งรายงานการประชุม
ใหผ้ เู้ ขา้ ประชมุ ไดร้ บั ทราบขอ้ มลู หรอื ทบทวนเรอื่ งราวทผ่ี า่ นมาในการประชมุ
ครง้ั กอ่ นเพอื่ ใหต้ อ่ เนอ่ื งกบั การประชมุ ครง้ั ตอ่ ไป นอกจากนน้ั ยงั เปน็ ประโยชน์
ส�ำหรบั ผไู้ มม่ าประชุมไดศ้ ึกษาข้อมูลและรับทราบมตทิ ป่ี ระชมุ ดว้ ย

การเขียนรายงานการประชมุ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี 37
1. รายงานการประชมุ ใหล้ งชอื่ คณะทปี่ ระชมุ หรอื ชอ่ื การประชมุ
นัน้ เช่น รายงานการประชุมคณะกรรมการ……………… ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
2. คร้ังที่.... ให้ลงคร้ังท่ีประชุมเป็นรายปี โดยเริ่มครั้งแรกจาก
เลข 1 เรียงเปน็ ล�ำดับไปจนสน้ิ ปปี ฏทิ ิน ทบั เลขปพี ุทธศักราชท่ปี ระชมุ เมอ่ื
ขนึ้ ปปี ฏิทินใหมใ่ ห้เร่มิ ครั้งที่ 1 ใหม่ เรยี งไปตามล�ำดบั เชน่ คร้ังที่ 1/2558
3. เมื่อ... ให้ลงวัน เดือน ปี และเวลาที่ประชุม โดยลงวันที่
พร้อมตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน ตัวเลขของปีพุทธศักราช และ
เวลาที่ประชมุ เช่น เม่อื วันที่ 15 มกราคม 2558 เวลา 10.00 น. เป็นต้น
4. ณ...... ใหล้ งชอื่ สถานท่ีท่ีประชุม
5. ผมู้ าประชมุ ใหล้ งชอื่ และหรอื ตำ� แหนง่ ของผไู้ ดร้ บั แตง่ ตงั้ เปน็
คณะทปี่ ระชมุ ซง่ึ เขา้ ประชมุ ในกรณที มี่ ผี เู้ ขา้ ประชมุ แทนใหล้ งชอื่ ผเู้ ขา้ ประชมุ
แทนและลงว่าเขา้ ประชมุ แทนผู้ใดหรือต�ำแหนง่ ใด
6. ผู้ไม่มาประชุม ให้ลงชื่อและหรือต�ำแหน่งของผู้ท่ีได้รับ
การแตง่ ตั้งเป็นคณะท่ปี ระชมุ ซึ่งมไิ ดเ้ ข้าประชมุ พร้อมทั้งเหตผุ ล (ถ้าม)ี
7. ผู้เข้าร่วมประชุม ให้ลงช่ือและหรือต�ำแหน่งของผู้ท่ีมิได้รับ
การแตง่ ตั้งเป็นคณะทป่ี ระชุมซึ่งได้เขา้ ร่วมประชมุ (ถ้าม)ี
8. เรมิ่ ประชมุ เวลา ใหล้ งเวลาที่เร่มิ ประชมุ
9. ขอ้ ความ ให้บนั ทึกขอ้ ความทป่ี ระชุม โดยปกตใิ ห้เรมิ่ ต้นดว้ ย
ประธานกลา่ วเปดิ ประชมุ และเรอ่ื งทป่ี ระชมุ กบั มตหิ รอื ขอ้ สรปุ ของทปี่ ระชมุ
ในแต่ละเร่ืองตามลำ� ดบั ประกอบด้วยหวั ขอ้ ดงั นี้
9.1 เรอ่ื งท่ปี ระธานแจง้ ที่ประชุมทราบ
9.2 เรอ่ื งรับรองรายงานการประชมุ ครงั้ ท่ผี า่ นมา
9.3 เร่ืองทเี่ สนอใหท้ ีป่ ระชมุ ทราบ
9.4 เรื่องท่ีเสนอใหท้ ป่ี ระชุมพิจารณา
9.5 เรื่องอนื่ ๆ

ส่วน ่ที 238 10. เลกิ ประชุมเวลา ให้ลงเวลาทเี่ ลิกประชมุ

11. ผู้บันทึกการประชุม ให้ลงช่ือผู้บันทึกการประชุมคร้ังนั้น
(ควรพิมพช์ อ่ื เต็มและนามสกุลไวใ้ ตล้ ายมอื ชอื่ ในรายงานการประชมุ ครงั้ น้นั )
12. ผู้ตรวจรายงานการประชุม ให้ลงชื่อผู้ตรวจรายงาน
การประชุม (ควรพิมพ์ชื่อเต็มและนามสกุลไว้ใต้ลายมือชื่อในรายงานการ
ประชมุ ครัง้ นน้ั ด้วย)
5. แนวการประเมนิ รปู แบบการประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรยี น
การประเมินรูปแบบประชุมสภานักเรียน คณะกรรมการ
สภานกั เรยี นจะตอ้ งด�ำเนนิ การตามขั้นตอนและกระบวนการ ดงั นี้
5.1 กอ่ นด�ำเนนิ การประชมุ
1) การจัดเตรยี มสถานทป่ี ระชุม
2) การจดั เตรยี มระเบยี บวาระการประชมุ /เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
3) การเชญิ ผเู้ กย่ี วข้องเข้ารว่ มประชมุ
5.2 ระหวา่ งด�ำเนนิ การประชมุ
1) ถ้ามโี ต๊ะหม่บู ชู า สภานักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร
2) ถ้าไมม่ โี ต๊ะหมบู่ ชู า สภานกั เรยี นควรปฏิบตั อิ ยา่ งไร
3) การทำ� หน้าทขี่ องประธานสภานกั เรียน
4) การทำ� หนา้ ที่ของเลขานกุ าร
5) การทำ� หน้าท่ขี องสมาชิก
6) การเร่ิมต้นการประชุม ประธานตรวจสอบความพร้อม
และองค์ประชุม เปิดการประชุมโดยเริ่มต้นในระเบียบวาระท่ี 1 หรือ
เกรน่ิ นำ� แลว้ มอบใหร้ องประธาน หรอื กรณปี ระธานไมอ่ ยใู่ นทป่ี ระชมุ ใหเ้ ลอื ก
ผู้ที่ท�ำหน้าท่ีเป็นประธาน ในคร้ังนี้ เพ่ือด�ำเนินการประชุมตามวาระ
การประชุม

7) ระเบียบวาระที่ 2 ประธานจะดำ� เนนิ การเอง หรอื มอบ 39
หมายให้เป็นหน้าท่ีของเลขานุการ เป็นคนด�ำเนินการก็ได้ แต่ในข้ันตอนที่ให้ที่
ประชมุ พจิ ารณาแล้วรับรองรายงานการประชุม ตอ้ งเปน็ หนา้ ทข่ี องประธาน ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
8) ประธานหรือผู้ที่ท�ำหน้าท่ีประธาน ด�ำเนินการประชุม
ตามระเบียบวาระการประชุมท่ีก�ำหนด
9) การจดบันทึกการประชุม เป็นหน้าท่ีของเลขานุการ/ผู้ช่วย
เลขานุการโดยตรง ให้สังเกตว่า สมาชิกมีการจดบันทึกการประชุมหรือไม่
หากไม่จด ควรเสนอแนะให้สมาชิกจดบันทึก เพื่อเป็นการทบทวนบทบาท
หน้าที่ของตนเองหรอื งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
10) ประธานควบคุมการประชุมให้ด�ำเนินไปตามวาระ
การประชุม ต้องสามารถสรปุ ประเดน็ จากการประชมุ และหยุดข้อโต้แยง้ ใน
ทป่ี ระชุม และทสี่ �ำคญั ทกุ ครั้งทม่ี กี ารลงมติในทป่ี ระชมุ ต้องเป็นบทบาทของ
ประธานเท่าน้ัน เร่ืองบางเรื่องไม่จ�ำเป็นต้องลงมติก็ได้ หากสมาชิกในท่ี
ประชุมทุกคนเห็นชอบ เม่ือมขี อ้ ขดั แยง้ จึงขอมติในท่ีประชมุ
11) สมาชกิ แสดงความคดิ เหน็ ตอ้ งเคารพสทิ ธแิ์ ละใหเ้ กยี รติ
ในทป่ี ระชมุ โดยการยกมอื ประธาน อนญุ าตใหพ้ ดู จงึ พดู ได้ แนะนำ� ตวั ตำ� แหนง่
แล้วจึงพูด
5.3 การลงมติในที่ประชุม เป็นบทบาทหน้าที่ของประธาน
ต้องด�ำเนินการ ดังน้ี
1) ประธานเปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนได้อภิปรายเสนอ
ความคดิ เห็นโดยเสมอภาคตามประเด็นทเี่ สนอในทปี่ ระชมุ
2) ประธานสรปุ ประเดน็ วา่ ใครเสนออะไรในทปี่ ระชมุ แล้ว
จงึ ถามความเห็นในท่ปี ระชุม และสรปุ ผลเป็นเร่ืองๆ ไปในคราวเดียวกัน

ส่วน ่ที 240 5.4 เมือ่ จบการประชุม

1) เมื่อประธานสอบถามความคิดเห็นประเด็นอ่ืนๆ
ในที่ประชุมเพ่ิมเติมก่อนมอบหมายเลขานุการ สรุปรายงานการประชุม
ปดิ การประชมุ
2) เมอ่ื จบการประชุมแล้ว ตอ้ งปฏบิ ัติตามข้ันตอนลกั ษณะ
เดยี วกบั การเรม่ิ ต้นการประชุม
3) น�ำรายงานการประชุมเสนอผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือ
โปรดทราบและพิจารณาโดยผา่ นครทู ี่ปรึกษา
4) จัดเอกสารรายงานการประชุมเพื่อนำ� เสนอให้ท่ีประชุม
รับรองรายงานการประชุมในการประชุมคณะกรรมการสภานักเรียน
คร้งั ต่อไป

กิจกรรมที่ 4

เครือขา่ ยสภานักเรยี นและ
การมสี ่วนรว่ ม

สว่ นท่ี 2 42

กิจกรรมที่ 4 เครอื ขา่ ยสภานักเรยี นและการมสี ่วนร่วม 43

การมีส่วนร่วมกิจกรรมต่างๆ โดยสภานักเรียน หมายถึง การท่ี ค่มู ือแนวทางการปฏบิ ตั ิงานกจิ กรรมสภานกั เรยี น
สภานักเรียนเข้าไปมีส่วนร่วมในการประชุม การวางแผน การเสนอแนะ
การจดั ทำ� โครงการ การบริหาร การจดั การ การจดั หางบประมาณ ตลอดจน
การร่วมมือปฏิบัตงิ านหรอื ด�ำเนนิ งาน รว่ มกบั หน่วยงานหรอื องค์กรต่างๆ


Click to View FlipBook Version