The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปอาเซียนศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Parker W., 2019-07-27 10:10:42

อาเซียนศึกษา

สรุปอาเซียนศึกษา

ชือ่ หนงั สือ : ASEAN Mini Book
ผแู้ ตง่ : กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ
พิมพค์ รัง้ ท่ี : 3
ปที ่แี ต่ง : เดือนมถิ นุ ายน 2556
จำนวนพิมพ์ : 10,000 เลม่
จำนวนหน้า : 144
ภาพวาดประกอบ : อาจารย์ ทวพี งษ์ ลิมมากร
เจษฎา ฤดีนิรมาน
ISBN : 978-974-7709-99-5

จดั พมิ พแ์ ละเผยแพร่ :
กรมอาเซยี น กระทรวงการต่างประเทศ
เลขที่ 443 กระทรวงการตา่ งประเทศ ถนนศรีอยุธยา
แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400
www.mfa.go.th/asean

พิมพท์ ่ี : Page Maker Co.,Ltd.
53 - 57 ถ.เอกชัย เขตบางบอน กรุงเทพฯ 10150
โทร 02 416 8820, 02 416 9167


หนังสือเล่มนเ้ี ปน็ ลิขสทิ ธ์ิของกรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ

คำนำ

ในโอกาสทอ่ี าเซยี นมเี ปา้ หมายจะกา้ วไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมอาเซยี นในปี พ.ศ. 2558
กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ ในฐานะสำนกั เลขาธกิ ารอาเซยี นแหง่ ชาติ ตระหนกั ถงึ
ความจำเป็นในการเตรียมความพร้อมและสร้างความตระหนักรู้ของประชาชนไทยและ
ประเทศไทยเพื่อให้การเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนดำเนินไปอย่างสมบูรณ์ ทั้งในด้าน
การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตามเจตนารมณ์ของผู้นำอาเซียน
ในการสรา้ งประชาคมอาเซยี นทป่ี ระกอบดว้ ย 3 เสาหลัก ไดแ้ ก่
ประชาคมการเมืองและความม่ันคงอาเซยี น
(ASEAN Political and Security Community : APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community : AEC)
ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio - Cultural Community : ASCC)
หนังสือ “ASEAN Mini Book” เป็นหนึ่งในสื่อสิ่งพิมพ์ฉบับกระทัดรัดของ
กรมอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ให้ความรู้ และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
ประชาคมอาเซียนต่อสาธารณชน ซึ่งเกื้อหนุนกับคำขวัญของอาเซียน “หนึ่งวิสัยทัศน์
หนง่ึ อตั ลกั ษณ์ หนง่ึ ประชาคม” หรอื “One Vision, One Identity, One Community”
และสอดรับกับพันธกิจหลักและการดำเนินงานเชิงรุกของกระทรวงการต่างประเทศ
เพื่อสนับสนุนการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี นดงั กลา่ ว
โดยมงุ่ หวงั ใหป้ ระชาชนไทยมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ มากขึ้นเกยี่ วกับความเปน็ มาและพัฒนาการ
ในมิตติ า่ งๆ ของอาเซียน ความร่วมมอื ระหว่างอาเซยี นกบั ประเทศคเู่ จรจา รวมท้ัง บทบาท
ของประเทศไทยในอาเซียน โดยมีการสอดแทรกเกร็ดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับประเทศ
สมาชกิ อาเซยี นเพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มของประชาชนไทย ในการกา้ วเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซียน
ซ่งึ มที ้งั โอกาส และความท้าทายรออยู่

กรมอาเซยี น
กระทรวงการต่างประเทศ

มถิ ุนายน 2556

สารบญั

แผนผงั ภาพรวม 06
ขอ้ มลู พน้ื ฐานประเทศสมาชกิ อาเซยี น 08

• เนการาบรูไนดารสุ ซาลาม 10
• ราชอาณาจกั รกมั พชู า 12
• สาธารณรัฐอินโดนีเซยี 14
• สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 16
• มาเลเซีย 18
• สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร ์ 20
• สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 22
• สาธารณรัฐสิงคโปร ์ 24
• ราชอาณาจกั รไทย 26
• สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม 28

กำเนดิ และพฒั นาการของอาเซยี น : จากสมาคมอาเซยี นสปู่ ระชาคมอาเซยี น 30

• กฎบัตรอาเซยี น (ASEAN Charter) 38
• โครงสร้างและกลไกการดำเนินงานของอาเซียน 40
• ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 44
• ประชาคมการเมอื งและความมั่นคงอาเซยี น 48
(ASEAN Political - Security Community : APSC)
• ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น 54
(ASEAN Economic Community : AEC)
• ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรมอาเซยี น 64
(ASEAN Socio - Cultural Community : ASCC)
• ความคืบหน้าในการดำเนนิ งานของแต่ละดา้ น 72

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ

ความสมั พนั ธอ์ าเซยี นกบั ประเทศคเู่ จรจา (ASEAN’s External Relations) 82 CONTENTS

• อาเซยี น - ออสเตรเลยี 84
• อาเซยี น - แคนาดา 86
• อาเซียน - จีน 90
• อาเซียน - สหภาพยโุ รป 92
• อาเซียน - อนิ เดยี 96
• อาเซียน - ญ่ีปุ่น 98
• อาเซยี น - สาธารณรัฐเกาหลี 100
• อาเซียน - นวิ ซีแลนด์ 102
• อาเซยี น - รัสเซยี 104
• อาเซยี น - สหรฐั อเมริกา 106
• อาเซยี น - สหประชาชาต ิ 110
• อาเซยี น+ 3 (จีน ญ่ปี นุ่ สาธารณรฐั เกาหล)ี 112
• การประชมุ สดุ ยอดเอเชียตะวันออก 114

การเชอ่ื มโยงระหวา่ งกนั ในอาเซยี น (ASEAN Connectivity) 116
132
บทบาทไทยในอาเซยี น 136

เกรด็ ความรเู้กย่ี วกบั อาเซยี น 138
140
• ตราสญั ลักษณป์ ระเทศสมาชิกอาเซียน
• ดอกไมป้ ระจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซยี น

ÊÁÒ¤Á»ÃЪҪҵÔáË‹§àÍàªÕµÐÇѹÍÍ¡à©Õ§㵌 (ÍÒà«Õ¹)
(Association of Southeast Asian Nations : ASEAN )

¾.È 2540
¾.È 2540
¾.È 2538

¾.È 2510 ¾.È 2510
¾.È 2542 ¾.È 2527
¾.È 2510
¾.È 2510
¾.È 2510

General Information

ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยการลงนามปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)
ที่วงั สราญรมย์ กระทรวงการตา่ งประเทศ
• มเี ป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซยี นภายในปี 2558 โดยประกอบด้วย 3 เสา ไดแ้ ก่
เสาการเมืองและความมนั่ คง เสาเศรษฐกิจ และเสาสังคมและวัฒนธรรม
• ตลาดขนาดใหญ่ มีประชากรคิดเปน็ 1 ใน 10 ของประชากรโลก
• มีคเู่ จรจา 9 ประเทศ ไดแ้ ก่ จนี ญ่ปี นุ่ สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย นวิ ซีแลนด์ สหรฐั ฯ
รสั เซยี แคนาดา และ 1 องคก์ ารระดบั ภมู ภิ าค ได้แก่ สหภาพยุโรป

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

พืน้ ท ี่ : 4,435,674 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 604.803 ลา้ นคน (ปี พ.ศ. 2554)
วนั กอ่ ตั้ง : 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ณ กรุงเทพฯ
ประเทศสมาชกิ : 10 ประเทศ ได้แก่ อนิ โดนเี ซยี มาเลเซีย ฟลิ ปิ ปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรไู นฯ เวยี ดนาม ลาว
เมียนมาร์ และกัมพูชา
เลขาธกิ ารอาเซยี น : Le Luong Minh (ชาวเวยี ดนาม) (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2560)
ท่ตี ง้ั สำนกั เลขาธกิ ารอาเซียน : กรงุ จาการ์ตา อินโดนเี ซยี
เอกสารสำคญั ของอาเซยี น : ปฏญิ ญากรุงเทพ (8 สงิ หาคม พ.ศ. 2510)
กฎบัตรอาเซียน (15 ธันวาคม พ.ศ. 2551)

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)

GDP : 2.3 พนั ล้าน USD
GDP per Capita : 3,601 USD
GDP Growth : ร้อยละ 4.7 %
สินค้าส่งออกสำคัญ : เครื่องจกั รกลไฟฟ้า อปุ กรณเ์ คร่อื งใช้ไฟฟ้า เชื้อเพลิงและผลติ ภณั ฑ์เกยี่ วกบั เชื้อเพลงิ
สนิ ค้านำเข้าสำคัญ : เช้อื เพลงิ และผลติ ภณั ฑเ์ ก่ียวกบั เชื้อเพลิง เครอื่ งจกั ร อปุ กรณไ์ ฟฟ้าและชิ้นส่วน
ทรัพยากรธรรมชาติ : นำ้ มัน ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ ประมง
อุตสาหกรรม : อิเลก็ ทรอนิกส์ ส่ิงทอ พลงั งาน
ตลาดสง่ ออกสำคญั : ญี่ปุ่น จีน สหภาพยโุ รป สหรัฐอเมริกา
ตลาดนำเขา้ สำคญั : จีน ญี่ปุน่ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา

ความสมั พนั ธอ์ าเซยี น - ไทย

บทบาทของไทย ไทยเป็น 1 ใน 5 ประเทศสมาชิกผ้กู อ่ ตงั้ อาเซยี น (อนิ โดนีเซยี มาเลเซีย ฟลิ ิปปนิ ส ์
สงิ คโปร์ และไทย) นอกจากน้ี ไทยผลกั ดนั ใหม้ กี ารจดั ตง้ั เขตการคา้ เสรอี าเซยี น (AFTA)
เมื่อปี พ.ศ. 2535 และก่อตั้งการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมือง
และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก (ARF) เมื่อปี พ.ศ. 2537 และเสนอ
นโยบายการเชอ่ื มโยงในภมู ภิ าค (Connectivity) ปี พ.ศ. 2553
มูลคา่ การค้ารวม อาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย โดยในปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่าการค้ารวม
97,070 ล้าน USD หรอื คิดเป็นร้อยละ 22.3 ของมลู คา่ การคา้ ทัง้ หมดของไทย
มลู คา่ การลงทนุ มูลค่าการลงทุนจากประเทศในอาเซียนมายังไทยในปี พ.ศ. 2554 คิดเป็นมูลค่า
317.13 ล้าน USD โดยสาขาที่ไทยมีศักยภาพ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหาร
ผลติ ภณั ฑย์ านยนต์ ผลติ ภณั ฑอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และสาขาบรกิ าร เชน่ การทอ่ งเทย่ี ว
บรกิ ารสขุ ภาพ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ

นักท่องเทย่ี ว ในปี พ.ศ. 2555 นักท่องเที่ยวอาเซียนเดินทางท่องเที่ยวประเทศในกลุ่มอาเซียน
จำนวน 95 ล้านคน



ขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ประเทศสมาชกิ อาเซยี น

Map

Sultan Omar Ali Saifuddin Mosque

เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม (Negara Brunei Darussalam)

• มเี สถียรภาพทางการเมืองสูง โดยสมเด็จพระราชาธบิ ดีทรงเปน็ องคป์ ระมุขและผู้นำรฐั บาล
• ปรัชญาของชาติ คอื ราชาธปิ ไตยอสิ ลามมลายู (Malay Islamic Monarchy : MIB)
• ต้องการสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและเพิ่มการจ้างแรงงานต่างชาติ รวมทั้งส่งเสริม
การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพประชากรในระยะยาว
• มีนโยบายปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้มีความหลากหลาย โดยเฉพาะด้านการเกษตร
การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมก่อสร้าง ซึ่งเป็นโอกาสขยายช่องทางการค้า บริการ รวมทั้ง
แรงงานไทยให้กว้างขน้ึ

10

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

พ้ืนท ี่ : 5,765 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : มาเลย ์
(ประมาณจงั หวดั นครพนม) ประชากร : 401,890 คน
เมอื งหลวง : บันดารเ์ สรเี บกาวนั ศาสนา : อิสลาม (67%) พุทธ (13%) คริสต์ (10%)
และอน่ื ๆ (10%)
พระประมุขและ : สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี ฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกยี ห์ มูอิซซัดดิน วดั เดาละห์
นายกรฐั มนตรี (Sultan Haji Hassanal Bolkiah Mu’izzaddin Waddaulah) สมเดจ็ พระราชาธิบดอี งคท์ ี่ 29
รมว.กต. : เจ้าชายโมฮาเหมด็ โบลเกยี ห์ (Prince Mohamed Bolkiah)
วนั ชาต ิ : 23 กุมภาพันธ์
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทตู กับไทย : 1 มกราคม พ.ศ. 2527

ข้อมลู เศรษฐกจิ (2555)

GDP : 16.2 พันลา้ น USD สกุลเงนิ : ดอลลาร์บรูไน(1 ดอลลาร์บรไู น ประมาณ
24 บาท สถานะ 28 ม.ค. พ.ศ. 56)
GDP per Capita : 49,400 USD
Real GDP Growth : รอ้ ยละ 1.3 เงินทนุ สำรอง : 6.2 พันลา้ น USD
อัตราเงนิ เฟ้อ : ร้อยละ 2 (สถานะ ม.ิ ย. พ.ศ. 55)

ทรพั ยากรสำคัญ : นำ้ มันดิบและกา๊ ซธรรมชาต ิ
อุตสาหกรรมหลัก : น้ำมัน อาหาร (สนิ ค้าเกษตรและประมง) และเส้อื ผ้า
สินคา้ ส่งออกที่สำคญั : น้ำมันดบิ ก๊าซธรรมชาต ิ
ตลาดส่งออกทีส่ ำคญั : ญ่ีปุน่ อาเซียน เกาหลใี ต้ ออสเตรเลีย อินเดยี
สนิ ค้านำเข้าทสี่ ำคญั : เคร่ืองจกั รอตุ สาหกรรม รถยนต์ เครื่องใชไ้ ฟฟา้ สินค้าเกษตร อาทิ ขา้ วและผลไม้
ตลาดนำเขา้ ทีส่ ำคญั : อาเซยี น สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ่ จนี

สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-บรไู นดารสุ ซาลาม (2555)

มูลค่าการคา้ รวม ในปี พ.ศ. 2555 (ระหว่างเดอื น ม.ค. - พ.ย.) มมี ูลค่าการคา้ รวม 541.84 ลา้ น USD
ไทยนำเขา้ 360.13 ลา้ น USD ไทยสง่ ออก 181.71 ลา้ น USD บรูไนฯ เปน็ คู่ค้าลำดบั
สุดทา้ ยของไทยในอาเซียน
สนิ คา้ สง่ ออกของไทย ข้าว รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เหล็ก หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ
เสอ้ื ผา้ สำเรจ็ รปู ปนู ซเิ มนต์ ผลไมส้ ดแชเ่ ยน็ และแหง้ นำ้ ตาลทราย ผลติ ภณั ฑเ์ ซรามกิ
ผลิตภณั ฑ์ยาง กระดาษและผลิตภณั ฑ์กระดาษ
สนิ คา้ นำเขา้ จากบรไู นฯ นำ้ มนั ดบิ สนิ แรโ่ ลหะอน่ื ๆ เศษโลหะและผลติ ภณั ฑ์ เยอ่ื กระดาษและผลติ ภณั ฑส์ ง่ิ ทอ
การลงทนุ เมอ่ื เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2551 กบข. และ Brunei Investment Agency (BIA) รวมทง้ั
สถาบันการเงินในประเทศ 8 แห่ง ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อร่วมจัดตั้ง
กองทุนไทยทวีทุน 2 มูลค่ากองทุน 76 ล้าน USD เพื่อลงทุนระยะยาวในบริษัท
ทั้งในและนอกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และที่ผ่านมามีโครงการลงทุน
ของบรูไนฯ ภายใต้ BOI จำนวน 1 โครงการ คอื บริษัท เอเพ็กซ์ เซอร์กติ (ไทยแลนด์)
จำกัด มูลค่า 503 ลา้ นบาท
การทอ่ งเทยี่ ว ในปี พ.ศ. 2555 มีนกั ทอ่ งเท่ยี วบรูไนฯ มาไทยจำนวน 10,240 คน
คนไทยในบรไู นฯ ประมาณ 5,400 คน (สถานะ ธ.ค. พ.ศ. 55) แรงงานไทยส่วนใหญ่ทำงานในกิจการ
ก่อสร้าง อุตสาหกรรมตัดเย็บเสื้อผ้าส่งออก และในภาคธุรกิจบริการ เช่น
ห้างสรรพสินคา้ ร้านอาหาร การตกแต่งดแู ลดอกไม้ประดบั ในสถานท่ีสำคญั )
สำนักงานของไทยในบรไู นฯ บันดาร์เสรเี บกาวนั (สถานเอกอัครราชทูต)
สำนักงานของบรูไนฯ ในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) 11

Map

Angkor Wat

ราชอาณาจกั รกมั พชู า (Kingdom of Cambodia)

• มีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ต่อไทยในทุกๆ ด้าน เนื่องจากมีพรมแดนทางบกติดต่อกัน
ยาว 798 กโิ ลเมตร และมีพนื้ ท่ที ับซอ้ นทางทะเลประมาณ 26,000 ตารางกโิ ลเมตร จึงเปน็
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดท้งั “โอกาส” และ “ปญั หา”
• เป็นแหล่งวัตถุดิบ ตลาดการค้าและแหล่งลงทุนที่สำคัญของไทย มีศักยภาพด้าน
การท่องเที่ยว ทั้งสองประเทศจึงควรร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นหุ้นส่วน
ทางยทุ ธศาสตรแ์ ละทางเศรษฐกจิ เพอ่ื ผลประโยชนร์ ่วมกันในอนาคต
• เป็นจุดเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวระหว่างไทยกับลาวตอนใต้และเวียดนาม
ตอนใต้

12

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

พนื้ ท ่ี : 181,035 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : เขมร
(1 ใน 3 ของไทย) ประชากร : 14.14 ล้านคน (พ.ศ. 2553)
เมอื งหลวง : กรุงพนมเปญ ศาสนา : พุทธนกิ ายเถรวาท
พระประมขุ : พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมนุ ี
(Preah Bat Samdech Preah Boromneath Norodom Sihamoni)
นายกรัฐมนตรี : ส มเดจ็ อคั รมหาเสนาบดเี ดโชฮนุ เซน (Samdech Akka Moha Sena Padei Techo Hun Sen)
รอง นรม./รมว.กต. : นายฮอร์ นัมฮง (Hor Namhong)
วันชาต ิ : 9 พฤศจิกายน
วันสถาปนาความสัมพนั ธ์ทางการทูตกับไทย : 1 9 ธันวาคม พ.ศ. 2493

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (2555)

GDP : 14.25 พนั ล้าน USD สกลุ เงิน : เรยี ล (1 บาท ประมาณ 130 เรียล)
GDP per Capita : 2,400 USD เงนิ ทุนสำรอง : 3.732 พนั ลา้ น USD
Real GDP Growth : ร้อยละ 6.5 อตั ราเงนิ เฟอ้ : รอ้ ยละ 2.9

ทรพั ยากรสำคญั : นำ้ มันดบิ กา๊ ซธรรมชาติ (รอการสำรวจและขดุ เจาะ) ไม้สัก อญั มณี แรเ่ หล็ก
อตุ สาหกรรมหลกั : การท่องเที่ยว เส้อื ผ้า การกอ่ สร้าง การสขี ้าว การประมง ไมแ้ ละผลิตภณั ฑ์ไม้ ยาง
ปูนซีเมนต์ เหมอื งอัญมณี สง่ิ ทอ
สนิ คา้ สง่ ออกทส่ี ำคัญ : เส้ือผา้ สิง่ ทอ ไม้ ยางพารา ข้าว ปลา ยาสบู และรองเทา้
ตลาดส่งออกทส่ี ำคัญ : สหรฐั อเมริกา แคนาดา เยอรมนี สหราชอาณาจกั ร เวียดนาม ญ่ปี ุ่น
สนิ ค้านำเข้าทสี่ ำคัญ : ผลติ ภัณฑ์ปิโตรเลียม บหุ ร่ี ทองคำ วสั ดกุ ่อสรา้ ง เครอื่ งจกั ร ยานพาหนะ และยา
ตลาดนำเขา้ ทีส่ ำคญั : ไทย เวยี ดนาม สิงคโปร์ จีน ฮ่องกง

สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-กมั พชู า (2555)

มลู คา่ การค้ารวม มูลค่าการค้าทวภิ าคี 4,031 ลา้ น USD เพมิ่ จากปี พ.ศ 2554 ร้อยละ 40.52 โดยไทย
ไดเ้ ปรยี บดลุ การคา้ สว่ นการคา้ ชายแดนไทย - กมั พชู าในเดอื น ม.ค. - พ.ย. พ.ศ. 2555
มีมูลคา่ 2,560.57 ล้าน USD เพม่ิ ขนึ้ จากปี พ.ศ. 2554 ร้อยละ 29.09)
สินคา้ ส่งออกของไทย มูลค่าการสง่ ออกจากไทยไปกัมพชู าเพ่ิมข้ึนจากปี พ.ศ. 2554 ร้อยละ 40.44 สนิ คา้
ส่งออกของไทย 5 อันดับ แรก คือ 1) นำ้ มันสำเรจ็ รปู 2) นำ้ ตาลทราย 3) เครอ่ื งดื่ม
4) ปูนซีเมนต์ 5) เครื่องยนต์สันดาปภายใน 6) เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์รักษาผิว
สนิ คา้ นำเขา้ จากกมั พชู า 1) ผกั ผลไม้ 2) สนิ แรโ่ ลหะอน่ื ๆ 3) เหลก็ เหลก็ กลา้ และผลติ ภณั ฑ์ 4) เสอ้ื ผา้ สำเรจ็ รปู
5) เยอ่ื กระดาษและเศษกระดาษ
การลงทุน ในปี พ.ศ. 2555 โครงการของไทยที่ไดร้ ับอนมุ ัตมิ ีจำนวน 8 โครงการ เปน็ การลงทุน
ในอตุ สาหกรรมโรงสขี า้ ว รองเทา้ เสอ้ื ผา้ อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ยางพารา แปรรปู มนั สำปะหลงั
รวมเงินลงทุน 8.6 ล้าน USD ไทยมีมลู คา่ การลงทุนสงู เปน็ อนั ดับท่ี 8 รองจากจนี
เกาหลใี ต้ ไตห้ วนั กัมพชู า เวียดนาม ฮอ่ งกง
การท่องเท่ยี ว นักทอ่ งเทีย่ วกัมพชู า มาไทยจำนวนประมาณ 423,642 คน (ปี พ.ศ. 2555)
นักทอ่ งเทย่ี วไทย ไปกมั พูชาจำนวนประมาณ 201,422 คน (ปี พ.ศ 2555)
คนไทยในกมั พชู า คนไทยในกัมพูชา 842 คน (สถานะเมื่อเดือน ก.ค. พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเป็นที ่
กรงุ พนมเปญ 702 คน จังหวัดเสียมราฐ 81 คน กัมปอต 55 คน และท่ีอ่นื ๆ 4 คน)
คนกัมพูชาในไทย คนกัมพชู าในไทย 137,598 คน (จำนวนแรงงานทรี่ ายงานตัวกับกรมการจัดหางาน
ตามสถิติปี พ.ศ. 2555)
สำนกั งานของไทยกมั พชู า กรุงพนมเปญ (สถานเอกอคั รราชทตู )
สำนักงานของกัมพูชาในไทย กรงุ เทพฯ (สถานเอกอคั รราชทูต)/ จงั หวัดสระแก้ว (สถานกงสุลใหญ)่ 13

Map

Borobudur Temple

สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี (Republic of Indonesia)

• เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมีประชากร
มุสลิมมากทีส่ ดุ ในโลก
• มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ (น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ เหมืองแร่ ถ่านหิน
สตั ว์น้ำ)
• เปน็ แหล่งประมงทใี่ หญท่ ี่สดุ ของไทย
• มบี ทบาทสงู ในกลมุ่ ประเทศไมฝ่ กั ใฝฝ่ า่ ยใด (Non Aligned - Movement : NAM)
และองค์การความร่วมมืออิสลาม (Organization Of The Islamic Conference
: OIC)

14

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

พื้นท ่ี : 1,904,443 ตารางกโิ ลเมตร ภาษาราชการ : อินโดนีเซยี
(พน้ื ทท่ี างทะเล 3,166,163 ตร.กม.) ประชากร : 248 ลา้ นคน
เมืองหลวง : กรงุ จาการ์ตา ศาสนา : อสิ ลาม(รอ้ ยละ85.2) ค รสิ ตน์ กิ ายโปรเตสแตนต์
(ร้อยละ 8.9 ) คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
(รอ้ ยละ 3) ฮนิ ดู (รอ้ ยละ 1.8 ) พทุ ธ (รอ้ ยละ 0.8 )
ศาสนาอ่ืนๆ (ร้อยละ 0.3 )
ประธานาธบิ ดี : ดร. ซซู โิ ล บัมบัง ยูโดโยโน (Dr. Susilo Bambang Yudhoyono)
รมว.กต. : ดร. อาร์ เอ็ม มาร์ตี้ มูเลียนา นาตาเลกาวา (Dr. R. M. Marty Muliana Natalegawa)
วันชาติ : 17 สิงหาคม
วันสถาปนาความสัมพนั ธท์ างการทตู กับไทย : 7 มนี าคม พ.ศ. 2493

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)

GDP : 878.2 พนั ล้าน USD สกลุ เงนิ : รเู ปีย (1,000 รูเปีย ประมาณ 3.19 บาท)
สถานะ 16 พ.ค. พ.ศ. 2556
GDP per Capita : 3,592.3 USD
Real GDP Growth : ร้อยละ 6.3 เงนิ ทนุ สำรอง : 104.8 พนั ลา้ น USD (สถานะ ม.ี ค. พ.ศ. 2556)
อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 4.2

ทรพั ยากรสำคญั : น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ เหมอื งแร่ ถ่านหนิ สตั ว์น้ำ
สนิ ค้าสง่ ออกที่สำคญั : กา๊ ซธรรมชาติ น้ำมนั เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ไม้ เสอ้ื ผา้
ตลาดส่งออกทีส่ ำคญั : ญี่ปุ่น จนี สหรฐั อเมริกา สงิ คโปร์
สินค้านำเขา้ ที่สำคัญ : เคร่อื งจกั ร เคมีภัณฑ์ นำ้ มันเช้ือเพลิง ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร
ตลาดนำเขา้ ทส่ี ำคญั : จีน สงิ คโปร์ ญปี่ ่นุ สหรฐั อเมริกา

สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-อนิ โดนเี ซยี (2555)

ม ูลค่าการคา้ รว ม ลใน้าปนี พU.ศSD. 25แ5ล5ะสม่งูลอคอ่ากกา1ร1ค,า้2เ0ท9่ากลับ้าน19U,2S9D7 ลไท้านยไUด้ดSDุลกโาดรยคเป้า็น3ก,1าร2น2ำเลข้าา้ น8,U08S7D
ระหว่างเดือน ม.ค. - เม.ย. พ.ศ. 2556 มมี ลู ค่าการคา้ เท่ากับ 5,196.16 ลา้ น USD
สนิ ค้าส่งออกข อง ไทย โดยเปน็ การนำเข้า 2,193.90 ล้าน USD และสง่ ออก 3,002.26 ล้าน USD
นรถ้ำยมนันตส์ำเเรค็จรรื่อปู งคยอามงพพิวาเรตาอเรม์ ด็อพุปลการสณต์แกิ ละเคสม่วภีนัณปรฑะ์ กผอลบติ ภอณั ัญฑมย์ ณางีแลเหะเลค็กรื่อเหงปลรก็ ะกดลับา้
สนิ คา้ นำเขา้ จา กอ นิ โดนเี ซยี แนลำ้ มะผนั ลดติบิ ภเณั คฑรอ่ื ์ แงจลกัะรแกผลงแวงลจะรสไว่ ฟนฟปา้ ระกอบ เครอ่ื งจกั รไฟฟา้ และสว่ นประกอบ เหลก็
ก ารลงทุน สเห่วลนก็ ปกรละา้กแอลบะแผลละติ อภุปณั กฑรณ์ เ์ยคามนภี ยณั นฑต์์ เเคครรอ่ืื่องงเคพอชมรพพิวลเอตยอรอ์ ญัอุปมกณรี ณเง์แนิ ลแะทสง่ ่วแนลปะรทะอกงอคบำ
แปผี พงว.ศงจ. ร2ไ5ฟ5ฟ5า้ ไแทลยะเสปนิ ็นแปรโ่รละหเทะศอผน่ื ูล้ๆงทุนอันดบั 15 ในอินโดนเี ซยี มีมูลค่าการลงทุน
68 ลา้ น USD ส่วนใหญเ่ ป็นการลงทนุ ดา้ นอตุ สาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมรถยนต์
อตุ สาหกรรมยางและพลาสตกิ อาทิ เครอื เจรญิ โภคภณั ฑ์ เครอื ซเิ มนตไ์ ทย เหมอื งบา้ นปู
คกส ำานนรไกัททงอ่ยางนใเนขทออย่ี งนิ วไโท ด ยนใ นีเซอนิียโ ดนเี ซยี อธนนิ าโดคนารเี ซกยีรมงุ เีกทาพรลลงาทนนุ นใานลไกิทไยนผต่า์นแลBะOบIรจิษำทั นวปนตท1.โจคำรกงดักา(รมหมาลู ชคน่า)1ใ.น4ป4ี พลา้.ศน. U25S5D5
อในนิ ปโดี พน.ศเี ซ.ยี 2เ5ด5นิ 5ทมานีงมกั าทไอ่ทงยเทปย่ี รวะไทมยาณเดนิ 4ท4า8ง,ไ7ป4อ8นิ คโดนนเี ซยี 89,142 คน มนี กั ทอ่ งเทย่ี ว
คปสู่รมะรมสาณนกั 1ธ,รุ 5ก0จิ 0ไทคยนเจปา้ หระนกา้ ทออ่ีบงดค้วก์ ยาขร้าระราหชวกา่ งาปรรหะนเทว่ ยศรแาชลกะคาสรู่ ไมทรยสใขนอองชินาโวดอนนิ ีเซโดียนแเี ลซยะี
แกลรงุะจชาากวาตรา่ ต์ งาชา(สตถใิ นาอนินเอโกดอนคัเี ซรยีราชทตู ) / เดนปาซาร์ เมดาน และสุราบายา
(สถานกงสุลกิตตมิ ศักดิ)์
สำนกั งานของอนิ โดนเี ซยี ในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทตู ) / สงขลา (สถานกงสลุ )
15

Map

Patuxay (Victory Gate)

สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
(The Lao People’s Democratic Republic)

• เปน็ ประเทศเพอ่ื นบา้ นทม่ี คี วามใกลช้ ดิ กบั ไทยทง้ั ในเชงิ ประวตั ศิ าสตร์ ทต่ี ง้ั ทางภมู ศิ าสตร์
เชอื้ ชาติ ศาสนา ภาษา และวฒั นธรรม มเี ขตแดนตดิ ตอ่ กับไทยทั้งทางบกและทางนำ้
ถึง 1,810 กโิ ลเมตร พฒั นาการต่างๆ ในลาวจงึ สง่ ผลกระทบต่อไทยและการกำหนด
นโยบายของไทยตอ่ ภูมิภาคอย่างหลกี เลี่ยงไม่ได้
• สามารถเป็นแหล่งป้อนวัตถุดิบ แหล่งพลังงานสำรอง และแหล่งลงทุนของไทย
เพือ่ การผลติ สนิ ค้าส่งออกไปยงั ประเทศท่สี ามท่ีให้สิทธพิ ิเศษทางการคา้ แก่ลาว
• เปน็ ประเทศทไ่ี มม่ ที างออกทางทะเล แตส่ ามารถเปน็ จดุ เชอ่ื มตอ่ (land bridge หรอื land
link) ด้านการคมนาคมขนส่งและการส่งออกสินค้าของไทยไปยังประเทศที่สาม
ในอนุภูมิภาค

16

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

พ้นื ที่ : 236,800 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : ภาษาลาว
(1/2 ของประเทศไทย) ประชากร : 6.47 ล้านคน (ก.ค. พ.ศ. 2554)
เมอื งหลวง : เวยี งจนั ทน ์ ศาสนา : พทุ ธ (รอ้ ยละ 75) นบั ถอื ผี (รอ้ ยละ 16 - 17)
ประธานประเทศ : พลโท จมู มาลี ไซยะสอน (Choummaly Sayasone)
นายกรฐั มนตรี : นายทองสงิ ทำมะวง (Thongsing Thammavong)
รอง นรม. / : นายทองลนุ สสี ลุ ิด (Thongloun Sisoulith)
รมว.กต.
วันชาติ : 2 ธนั วาคม
วันสถาปนาความสมั พนั ธท์ างการทตู กับไทย : 19 ธันวาคม พ.ศ. 2493

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)

GDP : 9.55 พันล้าน USD สกุลเงนิ : กบี (263 กบี : 1 บาท)
(ณ วนั ท่ี 1 ม.ี ค. พ.ศ 2556)
GDP per Capita : 1,386 USD
Real GDP Growth : รอ้ ยละ 8.3 เงนิ ทนุ สำรอง : 1,642 ล้าน USD
อัตราเงินเฟ้อ : รอ้ ยละ 5.1

ทรพั ยากรสำคญั : ไม้ แหลง่ นำ้ ผลติ ไฟฟา้ ยปิ ซม่ั บกุ ทองคำ อญั มนี ขา้ ว ขา้ วโพด เหลก็ ถา่ นหนิ ทองคำ
อุตสาหกรรมหลกั : เหมืองแร่ โครงการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำ ไม้แปรรูป อุตสาหกรรมเกษตร ก่อสร้าง
เครื่องนงุ่ ห่ม ทอ่ งเทีย่ ว
สินคา้ ส่งออกทส่ี ำคญั : ไมแ้ ละผลติ ภณั ฑไ์ ม้ กาแฟ ไฟฟ้า กระปอ๋ ง ทองแดง ทองคำ
ตลาดสง่ ออกทส่ี ำคญั : ไทย (รอ้ ยละ 33) จนี (รอ้ ยละ 23.4) เวยี ดนาม (รอ้ ยละ 13.4) (ตวั เลขปี พ.ศ. 2554)
สนิ ค้านำเขา้ ท่ีสำคญั : เครื่องจักรและอุปกรณ์ ยานยนต์ เชื้อเพลิง สินค้าอปุ โภคบริโภค
ตลาดนำเขา้ ทส่ี ำคญั : ไทย (รอ้ ยละ 65.2) จนี (รอ้ ยละ 11.1) เวยี ดนาม (รอ้ ยละ 6.5) (ตวั เลขปี พ.ศ. 2554)

สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-ลาว (2555)

มลู ค่าการค้ารวม ไทยเป็นคู่ค้าลำดับที่ 1 ของลาว ขณะที่ลาวเป็นคู่ค้าลำดับที่ 26 ของไทย
การคา้ ไทย - ลาว ปี พ.ศ. 2555 เป็นมูลคา่ รวม 150,135 ล้านบาท เพิ่มขน้ึ รอ้ ยละ
27.21 โดยไทยเปน็ ฝ่ายได้ดลุ การค้าเพ่ิมขน้ึ 72,771 ล้านบาท หรือรอ้ ยละ 48.38
สินค้าส่งออกของไทย นำ้ มนั เชอื้ เพลงิ รถยนต์ เครอื่ งจกั ร เหล็ก เคมภี ัณฑ์ ผ้าผืน ยานพาหนะ เครอ่ื งสำอาง
เคร่ืองดื่ม ปนู ซิเมนต์
สนิ คา้ นำเขา้ จากลาวทส่ี ำคญั สนิ แรโ่ ลหะ เชอ้ื เพลงิ ไมแ้ ปรรปู พชื ผกั และผลไม้ ถา่ นหนิ ปยุ๋ ลวดและสายเคเบลิ
เครอ่ื งจกั รไฟฟา้ สง่ิ พมิ พ์
การลงทนุ ของไทยในลาว ไทยเป็นนักลงทุนต่างชาติอันดับ 3 ในลาวเมื่อพิจารณาจากมูลค่าการลงทุนสะสม
ในชว่ งปี พ.ศ. 2531 - 2555 จำนวน 663 โครงการ มลู คา่ รวม 5.73 พนั ลา้ นดอลลารส์ หรฐั
ในสาขาสำคัญ ได้แก่ พลังงานไฟฟ้า ขนส่ง และโทรคมนาคม ธุรกิจโรงแรมและ
การทอ่ งเทยี่ ว ธนาคาร อตุ สาหกรรมไมแ้ ปรรปู เครื่องน่งุ ห่มและหตั ถกรรม
การท่องเทีย่ ว ปี พ.ศ. 2555 มนี ักทอ่ งเที่ยวลาวเดินทางมาไทย 951,090 คน เพมิ่ ข้ึนรอ้ ยละ 6.63
และมีนักทอ่ งเท่ียวไทยเดินทางไปลาว 1,937,612 คน เพิ่มขน้ึ รอ้ ยละ 23
จำนวนคนไทยในลาว ประมาณ 3,800 คน เป็นนักธุรกิจประมาณ 700 คน และเป็นแรงงานทำงานใน
โครงการเหมอื งทอง/ทองแดง โครงการไฟฟา้ และโครงการอน่ื ๆ ประมาณ 3,100 คน
สำนักงานของไทยในลาว เวยี งจันทน์ (สถานเอกอัครราชทูต) / แขวงสะหวันนะเขต (สถานกงสุลใหญ่)
สำนักงานของลาวในไทย กรงุ เทพฯ (สถานเอกอคั รราชทูต) / ขอนแกน่ (สถานกงสุลใหญ)่

17

Map

มาเลเซยี (Malaysia) Petronas Twin Towers

• มุ่งเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี พ.ศ. 2563 (Vision 2020) และมีแผนพัฒนา
ต่อเนือ่ ง (Mission 2057) เปน็ แนวทางพฒั นาประเทศจนถึงปี พ.ศ. 2600
• มีบทบาทสำคัญในอาเซียนและองคก์ ารความรว่ มมอื อสิ ลาม (OIC)
• ต้องการเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้าของ OIC โดยใช้ศักยภาพด้านการบริหาร
ธนาคารอิสลาม และอตุ สาหกรรมอาหารฮาลาล
• ในปี พ.ศ. 2554 นกั ทอ่ งเทยี่ วมาเลเซียมาไทยมากเป็นอันดบั 1 และเปน็ คู่คา้ สำคญั
ของไทย

18

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

ว นนัาพยสเกมถระรรือาฐัปมปงวมหวรนันพะน.ลชาก้ืนมตวคาตทุขตรงว. ี ิี ่ าม: : :::: สดHAอA3(สก3ดัมป1า2มราllิบaพmmรโโงุ9เjสตนiะตดกัน,uaิง๊ะ7มAี๊ะจ็วัหธr’5อาbลพซht์ทาซ8ณัaลdราuคราร ีsลมuะมm องีiต6ัมmรlมาาก4าาเนฮหูRาSปuรชฟิูมรau%ฮ์าอาBทzาlมังธรtหaiกสูตหขlบิa ์ k์lิโุลกnอบaมด)ลตบัhงนิัดอีเBไม่าiไัลทaฮทMนนตมdัจยยารuูตญl)จ บ ihสัsีบิ:าhอiส bดาa3 ิมบbมลh1ูภินuาบิ)ชนาสdิลาตษิงdลห(ุนปหDาiา์ naรราฮ ฮศtะคาTีoสัจามชชมu’มญสฮูากaSพนเกิบาีnดrอ.ารรiบkศ็จบั Auุด.พnด:::ด2A รiลุfิน5lะaมอ2h0hรร9ติสาa0าาเ.วลbj5ซลชนAiา1nคัยามกb2 ์ธHูd(ิบ(อDลa6uลัดja้า0ilฮนtีพ%AH oัจคmรa’)ญนะlaพSiอ์mnอ(rุทงพi)ับคธM.Mยด์ท(.uุลo1ี่ พ’h9 1ฮa%.d4าศdล.z)Nิม(a2คHam5รมjii5sสิbูอS5ตัซMh)b์ ซ(a i1anัมh2jeTช%ibsuาtn)หnyi ์

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)

G RDePalpGeDrPCGGarpDowitPat h ::: 1ร30อ้0,ย75ล.072ะพU5นัS.2Dลา้((ปปนรรUะะมมSาาDณณก(ปกาารร)ระ ) ม า ณกอาเตัรง)นริ า ท เนุ สงสกนิ ำลุเรฟเอง้องนิ ::: สร1รอ้3ิถง8ยกานลพิตะะนั ล(11า้1.น7ก รU. พ(ิงSส.กDถพิตา(.สนศปถ.ะรา2นะธ5ะม.ค53า6.1ณ)พต..ศค1..0พ2.15.ศ57.52)5บ5า5ท)

สตต สทอตุินินลลรพัสาาคคดดาา้้ายหนสนสา่ง่งกกำำออเเรรขขออสรา้า้มกกำททคหทที่ส่ีสญั ลีส่ีส่ ำำักำำ คคคค ัญญั ัญญั ::::: : ออไสจผนยฟนีาิงลเิุป้ำลคฟงมิตกก็พสโนั้าภรปทิงาแณสณั ครรรลำ์ด์าโอฑะเจปร้านอ์ไนีนรจ็นฟิกเิำ้์รลกฟญญสมูป็กา ์า้ันี่ปปี่ ร ทแเอปขนุุ่น่ครลตุานอมะสสสลสนีภอหหา์ม่งิกัณเิหรร ลส ัฐัฐกฑน็ก์ออรเท ์ำ้ คเเร มมมร มร นัอรร ่ือแ กิกินดง ป าาบิจิก รกัส ไไร กททร์ ูปกา๊ แยย อซา๊ล า ซธ ะ ห รธ อ ราร ปุ รมร กม ช รชา ณตา ติ์ ไเิเ มคห ้มล ีภ ว ัณ - ฑ L N์ น G ้ำ มน ัน้ำ ส มำนั เปรจ็ารลปู์ม


สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-มาเลเซยี (2555)
สแสสสกกม ำำราาินินูล นนงรรคคคงกัทลกั ่าา้า้ างงง่อกนสานาทงานง่ำนไเุนรอเขททขขค ออยอ่ีย้าา้งกงใวจรมนไข าวทา อมกเมยลงา มใ เไเนซาลทมยีเเยลซใา นเเียซลไ ทเียซย ยี บแเม1เ4ทกลเเ3ใใปนม2เมกกปคคมคปนน,5ด2.ลรราาแีาำ้ีรีร42รพมมอ่ื็นพขชรุงงุ,เเ,ลมิษระออ่5ื544ลลภีเีภเก.ณน่วกงง.รงนั9นศัทปท32ศเเรณังงัวคัณ้าาำซซส.ะิก1เ6แรอพ.้าเลอนรลเมยียี2ดฑท.ำยีขสฑ.นอย2ลฯ9าาม้0อื่อ5เลเียบ้า์ไล่ี์แด5นไลร์ป2งแพ8าท5เงวทใ(ะลเ5็จเทวบมัปผน็วหสินท5ทลหกยยา4ระ0เาลุนงเรถคาาป้นุตนัียลลปนูปป(ทวเ.้าียใรนาม8ู่คนคอีบใง็กขงอซนรนไบน1นอ.ทรา้พรจกัอแซกทUคะรอ์ส์เเอุปื่ไอรเงนุท่ึล.์งมับอ.ทอะยUมSาทศนไ(นังปก-ใะ่อปสาุอกโข่ฟมDืียSย.กใันดกรพีณผงเกชถอาลูบฟDลจพปณมโบั2รเลกร.า้ไคัคดทงำกาย้ร.า5ฟณทน2ิตาทศ์แรนก่ายยเี.ับยี่เเ5ร)1พฟภ่ีเรแลนลค.ก์ุบลไววอ4ม5บม0าทลเ่ิมะทัณ2้ราานุ่มเไซกูลชน,ีทระอ่ืรทสชย5่ขขี0บคยีฑอิกคทสยนเกีัง1นเ5้นิอย้ึน0คริดสวัคจ่า่บา์จตู(ท7ำ4ใไง0สริษมนมจยรีกัเกราปเก)ไ)อ่้อปว่ขไ.โปทัเรีรภทกาคบัคม/ปปงนคย้าผ็นากรรไเัยณนชเ.าลใรลรหยชสทละทคลว-น่เงยีงะกฑาท1งิตลลแ(้ยาย่ีงกทกชเบนขอเ3ร็กลภตูเ์แซปว.นดาุซว่0บลดยยว,ะจ)ลมััณน็รย1ีงใยี.มลาุ.น(สาน2ะ/มเว0แมนพฑมดกใกว่ต2มกก0(ทิ5รนปูลำ้สนา.ยีีม์มเ์นาั.รงศม.ยหค9ชีนร8ถวเปเลูางะเขนั.ลามค6ล่าค่ว4กาังเาครดอ2ดงเลกอ่ืา้แง็กนนรซนัะา่งลพา5บิเเาอืเลยลแีกก6ปถซขษด5า้ปาร1ซะ้าล7องูกยีีอนเีย5พรสรไค1นโสีเ9ะบมกดง)าเวคียมก่ง.ร,คุลศ.เปแ3ฎ้าจกออ7่บนืคตนคเU.ใรไกค5ำีงัน6หอรเหาอ2ตทพื่อจน่S2รท)กื่อบขม5 มล์ไญบกยองั่ื.Dว ียทศป5องาาลา้นพรรปงน)่จบ4ยร.นงยษไีิใาุ้่งวิรเฟชัก ูปกพ2น1ทพัห ะเ((9Uไก้ฟรตสช5ับี1บเ.มฟ่มิ่ม,ศคกลSาวพ้่2ถอ5มาาโขฟแรงD.ลุม่64ารค.ทณลูแอเืึ้นลศา้นบ์9ด2รเคผเลใะ).อรจพอืโงก5ร2นลา่สะค้อดรุปกนิษม่2ิ5ง.กบว่ติกญ2ินยยาสก55ขนทัามา้3ภารล)สโุลร5น้ึรนป ส.ภรัณคะว่ ลณมใม4สรเราคห(น.กา้ีมอ้มีะง่ฑมม์อ-ภ6นญใอทษกยูลลูลูากย์ิเณหั.คออลลั2้งตคคร)่ค.าญยฑนบนก็กถ8ะรา่า่า่ง.ี์ ่ ้ 19

Map

Shwedagon Pagoda

สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์
(The Republic of the Union of Myanmar)

• มีพัฒนาการทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง โดยได้จัดตั้งรัฐบาลพลเรือน มีประธานาธิบดีเป็น
ประมขุ และหวั หนา้ รฐั บาล เมอ่ื วนั ท่ี 30 มนี าคม พ.ศ. 2554 หลงั จากไดจ้ ดั การเลอื กตง้ั ทว่ั ไป
เมอ่ื วนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2553 โดยพรรค Union Solidarity and Development Party
(USDP) ของรัฐบาลเดมิ ได้เสยี งขา้ งมาก ต่อมาเมอ่ื วันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2555 เมียนมาร์
ไดจ้ ดั การเลอื กตง้ั ซอ่ มครง้ั ประวตั ศิ าสตร์ ซง่ึ นางออง ซาน ซู จี และพรรค National League
for Democracy (NLD) ได้รับเลอื กตง้ั ด้วย
• มีทรพั ยากรธรรมชาตอิ ดุ มสมบรู ณ์ เป็นแหล่งวัตถดุ ิบ ตลาดการค้า แรงงานและแหล่งลงทนุ
ที่สำคัญของไทย โดยเฉพาะด้านพลังงาน (ก๊าซและไฟฟ้าพลังน้ำ) และเป็นทางเชื่อมสู่จีน
และอนิ เดีย เชือ่ มทะเลอนั ดามันกบั ทะเลจีนใต้
• ที่ผ่านมา ไทยและเมียนมาร์ประสบปัญหาร่วมกันหลายประการ อาทิ ยาเสพติด แรงงาน
ผดิ กฎหมาย การค้ามนุษย์ โรคระบาด ความมนั่ คงชายแดน ฯลฯ

20

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

เมอื งหพลนื้ วทง ี ่ : 657,740 ตารางกิโลเมตร ภาษาปรรศาะาชชสกานกาารร : เมียนมาร ์
ป นราะปยธรกาะรนมฐั าขุมธแนิบลตดะรี ี : กรงุ เนปยดี อ :: พ63ทุ .6ธ7(8ล9า้ น%คน) ค(ปรสิระตม์ (า5ณ%กา)รอปิสีลพา.ศม. (245%55) )
: นายเตง็ เสง่ (U Thein Sein) อดตี นายกรฐั มนตรี ดำรงตำแหนง่ เมอ่ื วนั ท่ี 30 มนี าคม พ.ศ. 2554
:
ธงชาต ิ : นายวนั นะ หมอ่ ง ลวนิ (U Wunna Maung Lwin) ดำรงตำแหนง่ เมอ่ื วนั ท่ี 30 มนี าคม พ.ศ. 2554
เปลี่ยนธงชาติใหม่เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2553 เป็นธงแถบ สีเหลือง หมายถึงความสามัคคีและ
รุ่งเรืองแห่งศาสนา สีเขียวหมายถึง ความสงบ และภูมิทัศน์เขียวขจีของเมียนมาร์ และสีแดง หมายถึง
ความกล้าหาญและความเดด็ เดีย่ ว สว่ นรูปดาวสีขาว หมายถงึ ความเป็นเอกภาพของชนในชาติ
วนั สถาปวนันชาคาตวิ าม: ส(ัมวันพทันีไ่ ดธร้ท์ ับาเงอกการราทช)ูต4กบัมกไทรายค ม: พ2.4ศ.ส2งิ 4ห9า1คม พ.ศ. 2491

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)
GDP : 53.14 พันล้าน USD สกุลเงนิ : 850 จัต ต่อ 1 USD (ณ พ.ค. พ.ศ. 2556)
(ประมาณการปี พ.ศ. 2555)
GDP per Capita : 834 USD เองตันิ รทานุ เงสนิ ำเรฟออ้ง : 5.751 พนั ล้าน USD
Real GDP Growth : ร้อยละ 6.3 : รอ้ ยละ 6.1

ทอุตรัพสายหากกรรสรมำคหญัลัก : ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ แร่ธาตุ
สนิ คา้ สง่ ออกท่สี ำคญั : เกษตร ส่ิงทอ และสินค้าอปุ โภคบรโิ ภค
สตินลาคดา้ สน่งำอเขอ้ากททีส่ ่สี ำำคคัญัญ : กา๊ ซธรรมชาติ ไม้ เมล็ดพืชและถั่ว
ตลาดนำเขา้ ท่ีสำคัญ : ไทย จีน อินเดยี
: เครอ่ื งจกั รกล ใยสงั เคราะห์ น้ำมันสำเรจ็ รูป
: จีน สงิ คโปร์ ไทย

สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-เมยี นมาร์ (๒๕๕๕)
มสสกกสคส ำำานาิินนูลนนรรคคคไลทกกััทา้่า้างงงอ่นยกสาาทงใำานนง่ นุเนเรอทขขข คเอออย่ีมา้ า้งงกวจยี รไเข ามทนว กอยียมมเนงใ ม านไมรยีทเาม ์นยรยีใ์ม นนาไมรทา์ ย ร ์ คอ21จผเหเ(ใจเกนปนตใกมกสสกมปเพนนงา้18กนาัััรอนนืากร๊าักรพร้ำตแ็นกปปงิกุ่รงุม4ซ8ือะทมด.งริเ่มเตจยตผตผป,ีี,.กธมขรบอทาั่ัขน82พปข่าินา่่พลลน้รอ้สาคีาึง้น่าพ1ส8งพงึี.้น1รา่หติเไณ.ยง่วมศช9ร6ทกศำฯพม(ม9.เลรกลไาศ..ท้เอ.สยงุ้่ป.ีแ้5.ช8ทร้อใีตร(ะศ-ข2.4วรยวสลต1ร็2จ5(าอยิย.เ25อมิ0สาละถะ8้(ต5มเรงลเมลอย550ง2มกถมขาปะ5ลูป5ยแิีา้ไลูนัะ555นาาษองทเ้็น5านหมนคข-3ด4นนรแเ2งนามเมยคะ่งบอ1า4่บคอ)ัปคเลื้อม9ย4บชารนีคู่อก-า3า้ไง2อะรรส.2มี5รนดิาาทท1้าก0กัมอใ.,งุืนป่ัอม์5ัต0ต7ลู9นท ออ4คยทัแูล 5าด(งศคว3ิ5คพนัเสรคัตค่อ/ได5ตคบัพ์สอสุ0ื)่า(ทรเ.ดง่ง่รา่ง9ื่มศปนมสำกตัม่ิาทอลยรกเับไ6โ,จหช.นททาืว่5ทอขดาอาทใ้่ีานีเรสนท์รใ6ชงน้ึย่ีน2.เยรกย2หำโแนคปั.บ่วป8ตูรทวลค/รดจ5เลลขอา้น9บปงรไอก้)ีงา้าูตอ5พสะ็กรทอแา6ทีลยใ.กยา็นล)6ฮกวนเห.รง,ย้านรบุศซลผ5ลอก่สมาเมรงญนบไ.ยใีกะัมก2มางรน.าถปนแ2นรก่รอยี6บับ2ร7ีปนยงเล5เUิโผ์ง).นมามค1.U.นิชภนอ้45ัะก8ลSศยี1ียมผ้ามไ่5ว5Sงกคต0ทไDัยนท,นชู้ชากลงDูม3า)์จ่อลอ)มรยเาว่มคันรไ4้)ไอำว้าง์)ยาทยยมทา่สาสคนแ5ุปลฯเนรู่ใทแรย้ซตัทา่อ.ลิดวเน์า1ก9บ์ปขขดูตวุงนงะเี่เจย5ก7ราปนด์นาเา็นฝป,ำวทณ1รท9กได็นำอ้ียา่นมรลเุมง21ี่ยาสดนมย์ัแรวาย(วู้า9ล้แ1รวดเลุ้อทบดกลียนน่า,พลคป3กบยังะัหคนนปลบง่ม่ิา8เราก7ลทสา้มปทารเมา5รขร2นมุ้งะร่่วาีนนทน็ุ1าูปค้นึค,2ดืม่นอ0รา8ตท(า้(แรน2อบย3ปค์ป2ม(0น้ส่ี้อลมเ13ล0าก9ทมพีาร,ำลยะู8.ล4เ05ไงะพ้แคั(สมิ่คลผ,คเาเ7ทน21กรลญมัพ.าข่ระลนค1ศ้9ีอืยอใะกยี์ึ้นติตน.น3ขไ.U1กานบ5ิดรดอภ.ร)อ52รSา03ม2อ้แ้าะัณล.4งรD/6ปม54ายกกหกงส,รลฑ05ัณ5ูลนาทล่วาออ่ืพเ์้)าศ54ะา์ไาป้่นุซรนฑัสลมนงนน)6ลนส็ีเดาเะงั9้ทมอบำบ/งดะคบรังเ.เทื่นนคัอ้สืงลาาา8คขู่ นททุนนนนมๆตย35า้า้ ี้์ ์ 21

Map

Manila Cathedral

สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ (The Republic of the Philippines)

• ยึดมนั่ ในค่านิยมและความเช่อื มน่ั ในประชาธิปไตย เสรภี าพ และสทิ ธิมนุษยชน
• เลอื กต้งั ประธานาธิบดแี ละเลอื กตง้ั ทวั่ ไปเมื่อวันท่ี 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 นายเบนิกโน
เอส อาคโี น ทส่ี าม (นอยนอย) จากพรรค Liberal (LP) ชนะเลอื กตง้ั (รบั ตำแหนง่ 30 มถิ นุ ายน
พ.ศ. 2553) อย่างไรก็ตาม พรรค LP มสี มาชิกในวุฒิสภาเพยี ง 4 คน (จากทั้งหมด 24 คน)
ทำให้รัฐบาล ประสบความยากลำบากในการดำเนินนโยบาย (จะมีการเลือกตั้งกลางเทอม
กลางปี พ.ศ. 2556)
• มีศักยภาพเป็นแหล่งลงทุนด้านพลังงาน และตลาดส่งออกสินค้าของไทย แม้จะมีปญั หา
ความมน่ั คงทางอาหาร แตก่ ม็ อี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ เปน็ ลำดบั ตน้ ๆในเอเชีย
• ประสบปญั หาการแบง่ แยกดนิ แดนทางตอนใตข้ องเกาะมนิ ดาเนา (รฐั บาลฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดบ้ รรล ุ
กรอบความตกลงกระบวนการเจรจาสนั ตภิ าพขน้ั ตน้ กบั กลมุ่ MILF เมอ่ื เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2555)

22

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

พื้นท ่ี : 298,170 ตารางกโิ ลเมตร ภาษาราชการ : ตากาล็อกและองั กฤษ
(ประมาณ 60% ของไทย) ประชากร : 96 ล้านคน
เมืองหลวง : กรุงมะนลิ า ศาสนา : โรมนั คาทอลิก (83%) โปรเตสแตนท์ (9%)
อิสลาม (5%)
ประธานาธิบด ี : นายเบนกิ โน เอส อาคโี น ท่ีสาม (Benigno S. Aquino III)
รมว.กต. : นายอัลเบิร์ต เอฟ เดล โรซารโิ อ (Albert F. del Rosario)
วนั ชาติ : 12 มิถนุ ายน
วันสถาปนาความสมั พนั ธท์ างการทูตกบั ไทย : 14 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2492

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)

GDP : 250.3 พันล้าน USD สกุลเงิน : เปโซ (1 เปโซ ประมาณ 0.74 บาท
สถานะ ส.ค. พ.ศ. 2555)
GDP per Capita : 4,092 USD
Real GDP Growth : รอ้ ยละ 6.6 เงนิ ทนุ สำรอง : 84.507 พันล้าน USD
อตั ราเงนิ เฟอ้ : ร้อยละ 3.1

ทรัพยากรสำคัญ : สินแร่โลหะ ก๊าซธรรมชาติ ทองแดงและทองคำ
อุตสาหกรรมหลัก : เส้อื ผ้า ยา เคมีภณั ฑ์ ผลติ ภัณฑไ์ ม้ และอาหารแปรรปู
สนิ ค้าส่งออกท่สี ำคญั : ผลติ ภัณฑอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ เครื่องจกั รกล เส้ือผา้ สำเรจ็ รูป และยานพาหนะ
ตลาดสง่ ออกทส่ี ำคัญ : สหรัฐอเมริกา ญป่ี ุ่น สิงคโปร์ จนี เนเธอร์แลนด์ ฮอ่ งกง ไตห้ วัน
สนิ ค้านำเขา้ ที่สำคัญ : ชน้ิ สว่ นอิเล็กทรอนิกส์ น้ำมนั เชอ้ื เพลิง เคร่อื งจกั รกล เหล็ก และยานพาหนะ
ตลาดนำเขา้ ทสี่ ำคญั : สหรัฐอเมรกิ า ญปี่ นุ่ สิงคโปร์ ไต้หวัน จนี เกาหลใี ต้

สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-ฟลิ ปิ ปนิ ส์ (2555)

มลู คา่ การคา้ รวม (ม.ค. - ธ.ค. พ.ศ. 2555) 7,585 ล้าน USD ไทยสง่ ออก 4,861 ล้าน USD นำเขา้
2,724 ล้าน USD โดยไทยเป็นฝา่ ยได้ดลุ การคา้ 2,137 ล้าน USD ฟิลิปปินส์เป็นคูค่ า้
ลำดับท่ี 5 ของไทยในอาเซียน และลำดบั ที่ 17 ในโลก
สินคา้ ส่งออกของไทย รถยนต์ อปุ กรณแ์ ละสว่ นประกอบ ขา้ ว แผงวงจรไฟฟา้ นำ้ มนั สำเรจ็ รปู เครอ่ื งสำอาง
สบู่ ผลิตภณั ฑ์รกั ษาผวิ เม็ดพลาสตกิ น้ำตาลทราย เครือ่ งยนตส์ ันดาปภายในแบบ
ลกู สูบ ผลติ ภณั ฑ์ขา้ วสาลแี ละอาหารสำเรจ็ รูปอน่ื ๆ เหล็ก เหลก็ กล้าและผลิตภณั ฑ ์
สนิ คา้ นำเขา้ จากฟลิ ปิ ปนิ ส ์ แผงวงจรไฟฟ้า อุปกรณ์และส่วนประกอบยานยนต์ สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะ
และผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับ
วทิ ยาศาสตร์ รถยนต์นง่ั เคร่ืองจกั รกลและสว่ นประกอบ
การลงทนุ บริษัทไทยที่ไปลงทุนในฟิลิปปินส์ ได้แก่ เครือซีเมนต์ไทย เครือเจริญโภคภัณฑ ์
เครือโรงแรมดุสิตธานี โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ปตท. เครืออิตัลไทย และ
ธนาคารกรุงเทพ บรษิ ัทฟลิ ิปปนิ ส์ท่ีลงทุนในไทย ได้แก่ บรษิ ทั Universal Robina,
San Miguel และ Liwayway Food Industries ซง่ึ ลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร
และเครือ่ งดื่ม
การท่องเทีย่ ว ม.ค. - ม.ี ค. พ.ศ. 2555 มนี กั ทอ่ งเทย่ี วฟลิ ปิ ปนิ สม์ าไทย 67,863 คน นกั ทอ่ งเทย่ี วไทย
ไปฟลิ ปิ ปินส์ประมาณ 10,478 คน
คนไทยในฟลิ ิปปินส์ 700 คน โดยประมาณ (อยใู่ นกรุงมะนิลา 350 คน เซบู 300 คน จว.อ่นื ๆ 60 คน)
ไม่มนี ักโทษไทยในฟิลิปปนิ ส์
สำนกั งานของไทยในฟลิ ปิ ปนิ ส ์ กรุงมะนลิ า (สถานเอกอคั รราชทูต) / เซบู (สถานกงสุลกิตตมิ ศกั ด์)ิ
สำนักงานของฟิลปิ ปนิ สใ์ นไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอคั รราชทตู )
23

Map

Merlion Park

สาธารณรฐั สงิ คโปร์ (Republic of Singapore)

• มีเสถียรภาพทางการเมืองสูง ทำให้มีความต่อเนื่องของนโยบาย รัฐบาลมีธรรมาภิบาล
โปร่งใส เป็นผูน้ ำด้าน e - government
• มีนโยบายการทูตเชิงรกุ เป็นผู้นำของอาเซยี นประเทศหนึง่
• เป็นศูนย์กลางภูมิภาคด้านธุรกิจการค้าและบริการ โทรคมนาคม การเงิน และมี
เป้าหมายเปน็ ศนู ยก์ ลางเทคโนโลยสี ารสนเทศ พลังงาน และเคมภี ัณฑ์
• มีระบบโครงสร้างสาธารณูปโภคพ้นื ฐานและเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ที นั สมยั
• เป็นพันธมิตรและหุ้นส่วนยุทธศาสตร์กับไทยทั้งในด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจ
มีระบบการศึกษาและการแพทย์ที่ดีระดับแนวหน้าของเอเชีย มีการพัฒนาทรัพยากร
มนษุ ย์สูง

24

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

นปารยะเกมธรรอืาัฐมงนมหวาพน.ลธกื้นตบิวตทรงด. ี ี ่ ี :: ::: นน (6นสป9ิงาาารค9ยยยะโ.โลเ4มปคที าเรน ซชณต์ ียี ันตา เน มรกันากูาลงเะัมคงุกภงโิ((ูเลMMกยเ็ตrมrัม..)Lต K(eรD. erS.hHTasonenminyภuTLาgaoษanoปmาnรรKศ/gะาe(/าชช2n1ส1กาg2นกาพYารรสaฤ งิ mษห ::: ภา/ค1คเพอ5าปมค.รงัุท3กส็นิกม1ธพันตชฤลม์พย.าษ(ศา้ห1าว..นศ4ยตาจ2..คนยีน6า่ 52นง.าก%4พช5นล(75า).ปาศ-ต4ฮ(งร.4นิ)ิปะ-22มดัจม5ป.ลูจ5(า54ัจาุบ%ณ4ย%จนั ู)บุ -)1แ)ันไอ/ปลม3)ิสะจัม่ ทลจขศี ุบามอามสิฬนังนป) (าร1 ะ 4(ช2.9า5ก%%ร))
ว นั สถาปวนันชาคาตว ิ าม: ส9มั สพงิ ันหธาคท์ มางการทูตกับไทย : 2 0 กนั ยายน พ.ศ. 2508

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)
สต ต สทGอ RDตุนิินลลรeพัaPสาาคคlดดาา้า้ยpGหนสนสาeDง่ง่กกำrำPออเเรรCGขขGออสรarา้้าDoมpกกำททwiคหทPทttีส่ี่สaัญ hลี่ส่สี ำำ ักำำ ::: คค คค ัญัญ ร24ัญญั ้อ67 ย6,2ล.65ะ4พ::: ::: 1Uนั .2มกมเเแทSลคค ลาาาDร้ารรรเเพัะน ื่อ่ือลลผ กย เเงงลUซซาาจจติรียียกSกักั บDรรรกสสรมกกาหหิก นลลรรรากษุ ัฐัฐรชเอ่ยคอออน้ิ ส์รน่ืเเเสมมร่อืทๆ่วา้รรงคนงกกิิไโฟอาากนอเฟปุางโัตญสนรลิ้ากหร่ปีคยทราเภมุน่สณ ีคนุเ างนกม ส์ไพนิจ ุลาฟีภำ นียเ ครเณัฟฟ งโุอมรไา้นิอ้ฑงตขปน ์้หน ำ้เจ :::สวสม ีนัน้ือ่งัน2รด2ผแดญอ้5ไ5อา้ทลิบ5ยลีป่ บะย ลลพุน่ เโาะ าคทฮนั ทรไม อ่ลร4ส์ต ภีส คาง้.งิห้ 3นกคณัถม ว งโา(น ฑUนัปส น า รSถ์ ะคแผ ์D(า 1มลล น 1 ะดติ ะ(ก 1สไอภ าท ถธลณัม รยา.ลเคี.นฑงคา.นิะร.อ์ พส์แพาธงิ.ลหศ..คคศะา.โ..กรป2พ2าร5.ร5์ศป5ธ5.6รน62ะ)า)5มค5าา6ณร)

สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-สงิ คโปร์ (2555)

มลู คา่ การคา้ รว ม 5184,.63648.เ0ม4่ือเลปา้ รนยี UบSเทDียโบดกยับไทมยูลไคด่าเ้ ปกรายีรบคา้ดรุลวกมารปคี้าพ3.ศ,0.0235.3534ลท้านัง้ นUี้ SสDงิ คลโปดลรเ์งปรน็อ้ ยคลูค่ ะ้า
สนิ ค้าสง่ ออกข อง ไทย อสน่ันว้ำนมดปับันรทสะำี่ 6กเรอข็จบอรองูปาไทกแยาผศงยวางนจแรลไฟะอฟุป้ากเรคณร์กื่อางรคบอินมพเคิวเรตื่อองรจ์ักอรุปกลกแรลณะ์แสล่วะนสป่วรนะปกรอะบกขออบง
เกแคลารระือ่ สอง่งุปจอักกอรรกกณปล์กี าเพคร.บมศินีภ. ัณ2เคฑ55ร์ ื่อ5เหงลปมก็รีมับูลเอหคาล่าก็กา1กศ0ลแ,า้8ลแ3ะล5สะ.่ว6ผน8ลปิตลรภะ้าณั นกฑอU์บสS่วนDน้ำปมลรันดะดลกิบงอรบ้อขอย้าาวลกะา(มศ5ูลย.1าคน4่า
สนิ คา้ นำเขา้ จา กส งิ คโปร ์ เแเคมผมื่องภีเวปณังรจฑียรบ์ไฟเเคทฟรยี ้าอ่ื บงกนคบั้ำอมมมันลูพคสวิ ่าำเตกเรอา็จรรร์สูปอง่ ปุอเอกคกรรณปื่อีแง์ พจล.ักะศรส.กว่2ลน5แป5ลร5ะะ) สก อ่ว น บ ป เร ร ะอื กแ อ ล บะ สเง่ิ คกรอ่ ื่อสงรจา้ ักงลรไอฟยฟน้าำ้
การลงทนุ แแผมเใพนลลลูลิม่ปคะิตะขีสา่ภผ2ึน้กว่ ัณล5านริต5รฑ้อปล5ภย์รงัลอณะสทะากนนุฑหอง1ร์ไาบ.ว7ฟรม.ค6ฟพณ(9ม1้าชื ะ9ูลแเกม,ผคล4รื่อล่าะ1รเกผิ8ตปมา.ลภ2รกรติยีัาณนภลบรำฑสา้ณัเเทนข่ง์โฑเบ้าียลสจ์ปบาหราทีกิมะกพบักแพส.มาลศชืว่ รูละ.นลคเกใ2งคห่าร5ทกรญะ5นุืา่อด5อ่ไรงาดยนจษมใ้อู่ ำันกแีมนเขสลรูลมุ ้าาะคัตปขเผ่าิคาีล1พบมติ70.รีภ,ภศ38กิ ั.ณัณ3าโ22รคฑฑ5.ร3ก์์อ5แง6รเ4ิลกละ)าะลก็ดรกา้ทานรษรคะอดิ UดนแเปSากิลDษ็นสะ์
คสส นกำำานกั นนรโไททกกทัั งงอ่ษยาางใไนนนเททขขสยยี่ออิงใวงงนคสไ โสท งิปงิยค รคใโ์นปโ ปสรใ์รงิ นค ์ ไโทปยร ์ ผพใใสสใใกนนนนลว่ิงร.ศภปปคปุงนติ .เโาีีใภีทพปห2พคพณัพ.ร5อญ.ศ.ศ์ฯ5ฑศุต.(ถ่.ส42ส์ก.(ูกถ2ส5หารด2า5ถร5้อาำ5น5เา5กยเก55นเนรลอมษ5เรนิะกคีอมตมคอนกมีนร2กดคัอไ0ีกัน่ออทขีรคั.โัสก3ุต้อรยทรร3ทสาหใรษา้นชาา่อางไหทสชยทงแกิงทูตาเลยทคเร)ูตะใสโรี่นย)อปพมวสูต่ รตเสิงบ่อป์ ิดคิงเารแรโคแะปอืลโลมระปะา์ทรสณ3ำ์มง่ิ5งทา4าไ4คอนท,นโ0เยดห0ยเ0มป8ไือมคน็2งไ่นช1แดา,รโ0้รยด่ับ1แยอ62ลสน0ะ่วคุญเนซคนาใรนหตาเญมตพหิกา่เญิ่มปมขิงก็นึ้ฎนแ1รหจ5งามงกคาายปนนี 25

Map

Wat Phra Kaew

ราชอาณาจักรไทย (The Kingdom of Thailand)

ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีนและมลายู ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนด้าน
ตะวนั ออกตดิ ประเทศลาวและประเทศกมั พชู า ทศิ ใตเ้ ปน็ แดนตอ่ แดนประเทศมาเลเซยี และอา่ วไทย
ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและประเทศเมียนมาร์ และทิศเหนือติดประเทศเมียนมาร์และลาว
มแี มน่ ำ้ โขงกน้ั เปน็ บางชว่ ง ปกครองดว้ ยระบอบประชาธปิ ไตยแบบมรี ฐั สภา มศี นู ยก์ ลางการบรหิ าร
ราชการแผ่นดินอยู่ที่กรุงเทพมหานคร และแบ่งเขตการบริหารออกเป็น การบริหารราชการ
สว่ นภูมภิ าค ไดแ้ ก่ จงั หวดั 77 จังหวัด 877 อำเภอ และ 7,255 ตำบล และการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
ได้แก่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด เทศบาล และองคก์ ารบริหารสว่ นตำบล

26

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

พ้ืนที ่ : 513,120 ตารางกโิ ลเมตร ภาษาราชการ : ภาษาไทย
ประชากร : 68 ล้านคน (พ.ศ. 2554)
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร ศาสนา : พุทธศาสนา (ร้อยละ 95)
ประมุข : พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช
นายกรฐั มนตรี : นางสาวย่ิงลกั ษณ์ ชินวตั ร
รมว.กต. : นายสรุ พงษ์ โตวิจกั ษณช์ ัยกุล
วันชาต ิ : 5 ธนั วาคม

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)

GDP : 345.6 พนั ลา้ น USD สกุลเงิน : บาท (1 ดอลลารส์ หรฐั ประมาณ 29.09 บาท)
(สถานะ เม.ย. พ.ศ. 2556)
GDP per Capita : 5,115.8 USD
เงินทุนสำรอง : 178.7 พันลา้ น USD
Real GDP Growth : ร้อยละ 6.4 (สถานะ ม.ี ค. พ.ศ. 2556)

อตั ราเงนิ เฟ้อ : รอ้ ยละ 3

ทรพั ยากรสำคัญ : อญั มณแี ละเครื่องประดบั ยางพารา ผลิตภณั ฑย์ าง ข้าว
อุตสาหกรรมหลกั : สินค้าอตุ สาหกรรม, การบริการ, สินคา้ อตุ สาหกรรมการเกษตร
สนิ คา้ ส่งออกทส่ี ำคญั : ยานยนตแ์ ละสว่ นประกอบ, เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ อปุ กรณแ์ ละสว่ นประกอบ, เชอ้ื เพลงิ ,
อัญมณีและเครื่องประดบั
ตลาดส่งออกทสี่ ำคญั : กลมุ่ ประเทศอาเซยี น (9 ประเทศ) ญ่ปี ุ่น สหรัฐอเมรกิ า และสหภาพยุโรป
สินค้านำเข้าทีส่ ำคญั : น้ำมันดิบ เครื่องจักรและส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์
ตลาดนำเข้าท่ีสำคญั : ญ่ปี ุน่ กลมุ่ ประเทศอาเซยี น (9 ประเทศ) สหภาพยโุ รป และสหรฐั อเมรกิ า

ขอ้ มลู สำคญั อน่ื ๆ

จำนวนสถานเอกอคั รราชทูตไทยในตา่ งประเทศ 65 แห่ง
จำนวนคณะผแู้ ทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ 2 แหง่ (นครนิวยอร์ก / นครเจนีวา)
จำนวนคณะผ้แู ทนถาวรแหง่ ประเทศไทยประจำอาเซียน 1 แหง่ (กรุงจาการ์ตา)
จำนวนสถานกงสุลใหญไ่ ทยในตา่ งประเทศ 26 แห่ง
จำนวนสำนกั งานเศรษฐกิจการค้าไทยในตา่ งประเทศ 1 แห่ง (เมอื งไทเป)

27

Map

Ho Chi Minh City Hall

สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม (The Socialist Republic of Vietnam)

• เปน็ ประเทศเพอื่ นบ้านอาเซยี นท่มี ีบทบาทสำคัญดา้ นความมนั่ คงในภูมิภาค
• เป็นตลาดใหม่ในภูมภิ าคอนิ โดจีน การบรโิ ภคในประเทศขยายตวั ต่อเน่อื ง ศกั ยภาพการผลติ สูง
แรงงานในประเทศมคี ณุ ภาพและยังคงมคี ่าจ้างแรงงานตำ่
• การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ในปี พ.ศ. 2555 ประมาณร้อยละ 5.03
• ต้ังเป้าหมายเปน็ ประเทศอตุ สาหกรรมภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)

28

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

พนื้ ท่ี : 331,690 ตารางกโิ ลเมตร ภาษาราชการ : เวยี ดนาม
(ประมาณรอ้ ยละ 64 ของไทย) ประชากร : 91.5 ล้านคน (ก.ค. พ.ศ. 2555)
เมืองหลวง : กรงุ ฮานอย ศาสนา : ไม่มีศาสนาประจำชาติ (ประชาชนร้อยละ
9.3 นบั ถือศาสนาพทุ ธ (นิกายมหายาน)
ประธานาธิบดี : นายเจอื ง เติน๊ ซาง (Mr. Truong Tan Sang)
นายกรัฐมนตรี : นายเหวียน เติ๊น สงุ (Mr. Nguyen Tan Dung)
รมว.กต. : นายฝา่ ม บ่งิ ห์ มงิ ห์ (Mr.Pham Binh Minh)
วันชาต ิ : 2 กนั ยายน
วนั สถาปนาความสัมพนั ธ์ทางการทตู กับไทย : 6 สงิ หาคม พ.ศ. 2519

ขอ้ มลู เศรษฐกจิ (๒๕๕๕)

GDP : 136 พันล้าน USD (ปี พ.ศ. 2555) สกุลเงิน : ดอง (714 ดอง ประมาณ 1 บาท)
สถานะ ม.ค. พ.ศ. 2555
GDP per Capita : 1,486.34 USD (ปี พ.ศ. 2555) เงนิ ทนุ สำรอง : 20 พนั ลา้ น USD (ธ.ค. พ.ศ. 2555)
Real GDP Growth : รอ้ ยละ 5.03 (ปี พ.ศ. 2555) อัตราเงนิ เฟ้อ : ร้อยละ 6.81 (ปี พ.ศ. 2555)

ทรพั ยากรสำคัญ : แร่ฟอสเฟต นำ้ มันและก๊าซธรรมชาตนิ อกชายฝงั่ ถ่านหิน แร่บ๊อกไซต์ ไม้ซงุ
อตุ สาหกรรมหลัก : อาหารแปรรปู สง่ิ ทอ รองเทา้ ผลติ เครอ่ื งจกั ร เหมอื งแร่ ถลงุ เหลก็ ปนู ซเี มนต์ ปยุ๋ เคมี ยางรถยนต์ กระดาษ
สนิ คา้ สง่ ออกทีส่ ำคญั : ส่งิ ทอและเครื่องนุง่ ห่ม โทรศัพทม์ ือถอื นำ้ มันดบิ รองเทา้ เครื่องหนัง คอมพวิ เตอร์ และอาหารทะเล
ตลาดส่งออกทสี่ ำคัญ : สหรฐั อเมริกา สหภาพยโุ รป อาเซยี น จีน และญปี่ ุ่น
สินคา้ นำเขา้ ทีส่ ำคัญ : นำ้ มัน ปยุ๋ รถยนต์ รถจักรยานยนต์
ตลาดนำเขา้ ทส่ี ำคญั : จนี อาเซยี น เกาหลีใต้ ญป่ี ุ่น และสหภาพยุโรป

สถติ ทิ ส่ี ำคญั ไทย-เวยี ดนาม (๒๕๕๕)

มลู ค่าการคา้ ไทย-เวียดนาม ในปี พ.ศ. 2555 มลู ค่าการค้าไทย-เวยี ดนามอยู่ที่ 8.967 พันล้าน USD (เพิม่ ขึน้ รอ้ ยละ 1.35 จากปี
พ.ศ. 2554) โดยไทยส่งออกไปเวยี ดนาม 6.196 พนั ลา้ น USD (ลดลงร้อยละ 12.2 จากปี พ.ศ. 2554) และไทยนำเขา้ จากเวยี ดนาม 2.770
พนั ล้าน USD (เพิ่มขนึ้ รอ้ ยละ 36.4 จากปี พ.ศ. 2554) ทำใหไ้ ทยเปน็ ฝ่ายได้ดลุ การค้าคิดเปน็ มลู คา่ รวม 3.426 พันล้าน USD ในชว่ ง
9 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2555 ไทยเปน็ คู่คา้ อันดับท่ี 7 ของเวยี ดนาม โดยเวียดนามนำเข้าจากไทยเป็นลำดบั ที่ 6 และสง่ ออกไปยังไทย
เป็นลำดบั ท่ี 11 ช่วง 3 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2556 มูลค่าการค้า ไทย-เวยี ดนาม อยู่ที่ 2.393 พนั ล้าน USD (เพิ่มขน้ึ รอ้ ยละ 15.09)
โดยไทยสง่ ออกไปเวยี ดนาม 1.562 พนั ลา้ น USD (เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 4.11) และไทยนำเขา้ จากเวยี ดนาม 832 ลา้ น USD (เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 43.50)
สินค้าสง่ ออกของไทย นำ้ มนั สำเรจ็ รปู เมด็ พลาสตกิ เคมภี ณั ฑ์ ผลไมส้ ด ผลติ ภณั ฑย์ าง เหลก็ และเหลก็ กลา้ รถยนต์ เครอ่ื งจกั ร
นำ้ ตาลทราย และกระดาษ
สนิ คา้ นำเขา้ จากเวยี ดนาม เครื่องใช้ไฟฟ้าในบา้ น เคร่อื งจกั รไฟฟ้า น้ำมันดิบ เหลก็ ด้ายและเสน้ ใย สตั วน์ ำ้ แช่แข็งและแปรรูป
คอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งจกั รกล และชากาแฟ
การลงทนุ ในปี พ.ศ. 2555 ไทยมกี ารลงทนุ ในเวยี ดนามมากเป็นลำดบั ท่ี 11 จากประเทศท่ีเขา้ มาลงทนุ ทัง้ หมด
และอนั ดบั ที่ 7 จากประเทศในกลุม่ อาเซยี น โดยมมี ลู ค่าการลงทนุ สะสมของไทยในเวียดนามระหว่างปี พ.ศ 2533 - พ.ศ. 2555 จำนวน
5.901 พันล้าน USD โดยมโี ครงการท้ังสน้ิ 286 โครงการ สาขาการลงทนุ ที่สำคัญ ได้แก่ อตุ สาหกรรมการแปรรปู สนิ ค้าเกษตร อาหารสตั ว์
โรงแรม การผลติ ชิ้นสว่ นรถยนตแ์ ละรถจกั รยานยนต์ สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค อสงั หาริมทรัพย์ ภัตตาคาร
การทอ่ งเที่ยว ในปี พ.ศ. 2555 มนี ักท่องเท่ยี วไทยเดินทางไปเวยี ดนามจำนวน 225,866 คน (เพิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ 24.22
จากปี พ.ศ. 2554) และมีนกั ท่องเทยี่ วเวยี ดนามเดินทางมาไทย 617,804 คน(เพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 24.36 จากปี พ.ศ. 2554) ซึ่งเปน็ ลำดบั ท่ี 4
จากประเทศ ในกลุ่มอาเซียน รองจากมาเลเซีย ลาว และสิงคโปร์
คนไทยในเวยี ดนาม ประมาณ 1,500 คน โดยพำนกั อยใู่ นกรุงฮานอยและจังหวดั ใกลเ้ คียงประมาณ 500 คน พำนกั อย ู่
ในนครโฮจมิ นิ หแ์ ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี งประมาณ 1,000 คน สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี นกั ธรุ กจิ พนกั งานบรษิ ทั และแมบ่ า้ น) 1,200-1,300 คน
(ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนและนักศกึ ษาทศี่ ึกษาในระดับอุดมศกึ ษาในภาค ตอ./เหนือ)
สำนกั งานของไทยในเวียดนาม กรงุ ฮานอย (สถานเอกอคั รราชทตู ) (สนง.สง่ เสริมการค้า รปท.) (สนง. ผชท. ทห.) / นครโฮจมิ ินห์
(สกญ.) (สนง.สง่ เสริมการคา้ รปท.) (สนง.ททท.)
สำนักงานของเวยี ดนามในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) / ขอนแก่น (สถานกงสุลใหญ)่ 29

กำเนดิ

และพฒั นาการของอาเซยี น
จากสมาคมอาเซยี นสปู่ ระชาคมอาเซยี น

30

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASSEEAANNCOMMUNITY

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดย

ปฏญิ ญากรงุ เทพ (Bangkok Declaraton) ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรีจาก 5 ประเทศสมาชิก
ผู้ก่อตั้ง ได้แก่
• นายอาดมั มาลกิ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี
• นายตนุ อบั ดลุ ราชกั บนิ ฮสุ เซน รองนายกรฐั มนตรี รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
กลาโหม และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงพฒั นาการแห่งชาติ มาเลเซีย
• นายนาชโิ ช รามอส รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์
• นายเอส ราชารตั นมั รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ สาธารณรฐั สงิ คโปร ์
• พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ราชอาณาจักรไทย
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกัน
ระหว่างประเทศในภูมิภาค ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงปลอดภัย
ทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและ
วัฒนธรรม การกินดีอยู่ดี บนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งจาก
เจตน์จำนงที่สอดคล้องกันนี้ เนการาบรูไนดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกในลำดับที่ 6
เมือ่ วันท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2527 สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม เข้าเป็นสมาชกิ ลำดบั ที่ 7
เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและ
สหภาพพมา่ (ปจั จบุ นั เปลย่ี นชอ่ื เปน็ สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร)์ เขา้ เปน็ สมาชกิ พรอ้ มกนั
เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 และราชอาณาจักรกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่
30 เมษายน พ.ศ. 2542 ทำใหป้ ัจจบุ นั อาเซยี นมสี มาชิกรวมทง้ั หมด 10 ประเทศ

31

สญั ลกั ษณข์ องอาเซยี น

เป็นรวงข้าวสีเหลือง 10 มัด ผูกมัด

ไว้ด้วยกัน หมายถึง การที่ประเทศในภูมิภาคเอเชีย

ตะวนั ออกเฉียงใต้ ทั้ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพ
และความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน อยู่ในพื้นที่วงกลมสีแดง
ขอบสีขาวและน้ำเงิน ซึ่งแสดงถึงความเป็นเอกภาพ
มตี วั อกั ษรคำวา่ “asean” สนี ำ้ เงนิ อยใู่ ตภ้ าพ อนั แสดงถงึ
ความมุ่งมั่นที่จะทำงานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภาพ
เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน
สีทั้งหมดที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียนเป็นสีสำคัญ
ท่ีปรากฏในธงชาตขิ องแต่ละประเทศสมาชกิ อาเซียนโดย

สสนัีนต้ำเภิ งานิ พหแมลาะยคถวงึามมน่ั คง
คสีแวาดมงกหลม้าาหยาถญึงและความก้าวหน้า
สีขาว หมายถงึ ความบรสิ ทุ ธ์ิ
สเี หลอื ง หมายถงึ ความเจริญร่งุ เรือง

32

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ

START Bangkok Declaration 2527 ASEAN COMMUNITY 2556

8 Ê§Ô ËÒ¤Á 2538 2540 2542 2550

¾.È. 2010 ASSEEAANNCOMMUNITY

Established

Joined
Joined

Joined
Joined

ASEAN CHARTER

พฒั นาการของอาเซยี น

นับตั้งแต่ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2510 จนถึงปัจจุบัน อาเซียนมีการพัฒนามาอย่าง
ต่อเนื่อง และได้กลายเป็นองค์กรที่มีความแข็งแกร่งขึ้นตามลำดับ โดยมีการกระชับ
ความสัมพันธ์ทางการเมืองและความมั่นคง และพัฒนาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ
ให้เอื้ออำนวยต่อศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียนให้เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีปฏิสัมพันธ์
ที่สร้างสรรค์กบั ประเทศภายนอกภมู ภิ าคและประชาคมโลกอยา่ งใกลช้ ดิ โดยมงุ่ เนน้ การสรา้ ง
สถาปตั ยกรรมในภูมิภาคที่มีอาเซียนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้ โดยยึดมั่นในหลักการให้ประชาชน
เปน็ ศูนยก์ ลางของการพัฒนา และลดชอ่ งวา่ งในการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน

33

พฒั นาการของความรว่ มมอื อาเซยี น ในชว่ งปี พ.ศ. 2510-2539
ในดา้ นการเมอื งและความมน่ั คง อาเซยี นไดม้ งุ่ เนน้ ความรว่ มมอื เพอ่ื ธำรงรกั ษาสนั ตภิ าพ

และความมั่นคงของภูมิภาค โดยได้มีการจัดทำปฏิญญากำหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉยี งใต้ เปน็ เขตแหง่ สนั ตภิ าพเสรภี าพ และความเปน็ กลาง (Zone of Peace, Freedom, and
Neutrality : ZOPFAN) ในปี พ.ศ. 2514 จดั ทำสนธสิ ญั ญามติ รภาพและความรว่ มมอื ในภมู ภิ าค
เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) ในปี พ.ศ. 2519
และจดั ทำสนธสิ ญั ญาเขตปลอดอาวธุ นวิ เคลยี รใ์ นภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Treaty on
the Southeast Asia Nuclear Weapon - Free Zone : SEANWFZ) ในปี พ.ศ. 2538
รวมทั้งได้ริเริ่มการประชมุ อาเซยี นวา่ ดว้ ยความรว่ มมอื ดา้ นการเมอื งและความมน่ั คงในภมู ภิ าค
เอเชีย - แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum : ARF) ซึ่งเป็นเสมือนกลไกเสริมสร้าง
ความไว้เนื้อเชอ่ื ใจ (Confidence Building) โดยใช้แนวทางการทูตเชงิ ปอ้ งกัน (Preventive
Diplomacy) เพือ่ ป้องกันการเกดิ และขยายตวั ของความขัดแยง้ ในภมู ิภาค โดยประเทศไทย
ได้เปน็ เจา้ ภาพจดั การประชุม ARF ครง้ั แรกทีก่ รุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2537

¾.È. 2514 ¾.È. 2519 ¾.È. 2538

¨´Ñ ·Óʹ¸ÔÊÑÞÞÒÁÔµÃÀÒ¾ ¨Ñ´·Óʹ¸ÔÊÑÞÞÒ ¾.È. 2537
áÅФÇÒÁÃÇ‹ ÁÁÍ× ã¹ÀÁÙ ÀÔ Ò¤ ࢵ»ÅÍ´ÍÒÇ¸Ø ¹ÔÇà¤ÅÂÕ Ã
àÍàªÂÕ µÐÇ¹Ñ ÍÍ¡à©ÂÕ §ãµŒ ã¹ÀÙÁÀÔ Ò¤àÍàªÂÕ µÐÇ¹Ñ ÍÍ¡à©Õ§㵌
(Treaty of Amity and (Treaty on the Southeast Asia Nuclear
Cooperation : TAC) Weapon-Free Zone : SEANWFZ)

ÃàÔ ÃÔèÁ¡ÒûÃЪÁØ ÍÒà«Õ¹
ÇÒ‹ ´ŒÇ¤ÇÒÁÃÇ‹ ÁÁ×Í´ÒŒ ¹¡ÒÃàÁ×ͧ
áÅФÇÒÁÁ¹Ñè ¤§ã¹ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕÂ-ừ¿Ô ¡
(ASEAN Regional Forum : ARF)

34

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASSEEAANNCOMMUNITY

ในด้านเศรษฐกิจ อาเซียนคำนึงถึงความจำเป็นที่จะต้องสร้างกลุ่มเศรษฐกิจ

ในภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างอำนาจต่อรองและเพิ่มศักยภาพในการผลิตของอาเซียน ในการนี้
อาเซียนโดยการผลักดันของประเทศไทยจึงได้ลงนามจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN
Free Trade Area : AFTA) ในปี พ.ศ. 2535 เพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันเพื่อเพิ่ม
ปรมิ าณการคา้ ภายในอาเซียน ลดตน้ ทุนการผลิตสนิ ค้า และดงึ ดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2541 อาเซียนได้ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพิ่มเติมเพื่อให้
การรวมตัวทางเศรษฐกิจมีความสมบูรณ์แบบและมีทิศทางที่ชัดเจน ด้วยการจัดตั้งเขต
การลงทุนอาเซยี น (ASEAN Investment Area : AIA) ซ่ึงต่อมาได้มกี ารขยายขอบเขตของ
ความตกลงฯ ให้ครอบคลุมความร่วมมือด้านการค้าและบริการ โดยมีเป้าหมายให้มีการเปิด
เสรคี รอบคลุมทกุ สาขาบรกิ ารภายในปี พ.ศ. 2563
นอกจากนี้ เพื่อให้ประชาชนอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนา
ในทกุ ดา้ น รวมทง้ั ส่งเสรมิ ความเขา้ ใจอันดรี ะหวา่ งประชาชนอาเซยี น ตลอดจนสรา้ งจติ สำนกึ
ในความเป็นอาเซียน (ASEAN Awareness) อาเซียนยังให้ความสำคัญกับความร่วมมือ
เฉพาะดา้ น (Functional Cooperation) ในประเด็นดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมทคี่ รอบคลมุ
หลายสาขา อาทิ การศกึ ษา วฒั นธรรม สาธารณสขุ แรงงาน สิ่งแวดลอ้ ม วิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี เปน็ ต้น

35

กำเนดิ ประชาคมอาเซยี น : จากวสิ ยั ทศั นอ์ าเซยี น 2020 สปู่ ฏญิ ญาวา่ ดว้ ย

ความรว่ มมอื อาเซยี น ฉบบั ท่ี 2 หรอื ปฏญิ ญาบาหลี 2
ในโอกาสครบรอบ 30 ปีของการก่อตั้งอาเซียน เมื่อปี พ.ศ. 2540 ผู้นำอาเซียน
ได้รับรองเอกสาร วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020) เพื่อกำหนดเป้าหมาย
วา่ ภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) อาเซยี นจะเป็น
1) วงสมานฉันทแ์ หง่ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
A Concert of Southeast Asian Nations
2) หุ้นส่วนเพ่อื การพัฒนาอยา่ งมีพลวัต
A Partnership in Dynamic Development
3) มงุ่ ปฏิสมั พนั ธก์ บั ประเทศภายนอก
An Outward - Looking ASEAN
4) ชมุ ชนแหง่ สงั คมทเี่ ออื้ อาทร
A Community of Caring Societies
ตอ่ มาในการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น ครง้ั ท่ี 9 ระหวา่ งวนั ท่ี 7 - 8 ตลุ าคม พ.ศ. 2546
ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผนู้ ำอาเซยี นได้ลงนามในปฏิญญาวา่ ด้วยความร่วมมืออาเซียน
ฉบับท่ี 2 (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) โดยเหน็ ชอบใหม้ ี
การจดั ตง้ั ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)
โดยประชาคมอาเซียนประกอบดว้ ย 3 เสาหลกั ไดแ้ ก่
ประชาคมการเมืองและความมนั่ คงอาเซยี น
(ASEAN Political and Security Community : ASC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community : AEC) และ
ประชาคมสังคม - วฒั นธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio - Cultural Community : ASCC)

36

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASSEEAANNCOMMUNITY

และในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2550
ณ เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผู้นำอาเซียนได้ตกลงกันที่จะเร่งรัดกระบวนการสร้าง
ประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) รวมทั้งได้ออกปฏิญญา
เซบวู า่ ดว้ ยพมิ พเ์ ขยี วกฎบตั รอาเซยี น (Cebu Declaration on the Blueprint of the ASEAN
Charter) เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ในการมีกฎบัตรอาเซียนเพื่อเป็นธรรมนูญในการดำเนินงาน
เนื่องจากอาเซียนตระหนักว่าการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาคของอาเซียนต้องเผชิญกับ
ความท้าทายและโอกาสที่หลากหลาย ทำให้อาเซียนจำเป็นต้องยกระดับความร่วมมือและ
องคก์ ารใหแ้ ขง็ แกรง่ ยง่ิ ขน้ึ โดยกฎบตั รอาเซยี นทำใหอ้ าเซยี นมสี ถานะนติ บิ คุ คลตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศ เป็นสนธิสัญญาท่ีกอ่ ให้เกดิ พันธกรณรี ะหวา่ งประเทศสมาชิก วางโครงสรา้ ง
ของอาเซียนใหม่ให้มีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยผู้นำอาเซียนได้รับรอง
กฎบัตรอาเซียนระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือนพฤศจิกายน
พ.ศ. 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์

อาเซยี นกบั ประชาคมโลก : ปฏญิ ญาบาหลี 3

เม่ือวนั ท่ี 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ระหว่างการประชมุ สุดยอดอาเซยี น ครงั้ ที่ 19
ณ บาหลี ประเทศอนิ โดนเี ซยี ผู้นำอาเซียนไดล้ งนามในปฏญิ ญาบาหลวี า่ ด้วยเรอื่ งประชาคม
อาเซียนในประชาคมโลก หรือ ปฏิญญาบาหลี 3 (Bali Concord III) ซึ่งนับเป็นเอกสาร
ทส่ี ะทอ้ นเจตนารมณแ์ ละความพรอ้ มของอาเซยี นในการสรา้ งวสิ ยั ทศั นห์ ลงั การสรา้ งประชาคม
อาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งจะดำเนินการควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ประชาคมอาเซยี น และพฒั นาบทบาทของประชาคมอาเซยี นในประชาคมโลก เอกสารฉบบั นี้
ยังมีความชัดเจนมากขึ้นเกี่ยวกับความร่วมมือภายใต้ประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสา พร้อมทั้ง
เน้นยำ้ ถงึ นโยบายและผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซยี นในเวทโี ลก

37

กฎบตั รอาเซยี น
(ASEAN Charter)

ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อปี พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร์
ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวาง
กรอบทางกฎหมายและโครงสรา้ งองคก์ ร เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของอาเซยี นในการดำเนนิ การ
ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคม
อาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) ตามทีผ่ ้นู ำอาเซยี นได้ตกลงกนั ไว้ โดยวตั ถุประสงค์
ของกฎบตั รอาเซยี น คอื ทำใหอ้ าเซยี นเปน็ องคก์ ารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ มปี ระชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง
และเคารพกฎกตกิ าในการทำงานมากขน้ึ นอกจากน้ี กฎบตั รอาเซยี น ยงั ทำใหอ้ าเซยี นมสี ถานะ
เป็นนิติบุคคล ในฐานะที่เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Organization)

38

กรมอาเซยี น กระทรวงการต่างประเทศ ASEAN CHARTER

กฎบตั รอาเซยี น ประกอบดว้ ยขอ้ บทตา่ งๆ 13 บท 55 ขอ้ โดยมปี ระเดน็ ใหมท่ แ่ี สดง
ความก้าวหน้าของอาเซยี น ได้แก่
(1) การจดั ต้งั คณะกรรมาธิการระหวา่ งรฐั บาลอาเซยี นว่าดว้ ยสิทธมิ นุษยชน
(2) การให้อำนาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่องและรายงานการทำตามความตกลง
ของรฐั สมาชกิ
(3) การจัดต้ังกลไกสำหรับการระงับข้อพิพาทตา่ งๆ ระหว่างประเทศสมาชิก
(4) การให้ผู้นำเป็นผู้ตัดสินว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อรัฐผู้ละเมิดพันธกรณ ี
ตามกฎบตั รฯ อย่างร้ายแรง
(5) การเปิดชอ่ งให้ใช้วิธกี ารอ่ืนในการตัดสินใจได้ หากไมม่ ฉี ันทามติ
(6) การส่งเสริมการปรึกษาหารือกันระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อแก้ไขปัญหา
ที่กระทบต่อผลประโยชน์ร่วม ซึ่งทำให้การตีความหลักการห้ามแทรกแซง
กจิ การภายในมีความยืดหยุ่นมากขน้ึ
(7) การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซียน เพื่อให้อาเซียนสามารถตอบสนองต่อ
สถานการณ์ฉุกเฉินได้อยา่ งทันท่วงที
(8) การเปิดช่องทางให้อาเซียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับองค์กรภาคประชาสังคม
มากข้ึน
(9) การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งองคก์ รใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ เชน่ ใหม้ กี ารประชมุ
สุดยอดอาเซียน 2 ครั้งต่อปี จัดตั้งคณะมนตรีเพื่อประสานความร่วมมือ
ในแต่ละ 3 เสาหลัก และการมีคณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำอาเซียน
ทก่ี รงุ จาการต์ า เพือ่ ลดเวลาและค่าใช้จา่ ยในการประชุมของอาเซยี น เปน็ ตน้
กฎบตั รอาเซียนมีผลใช้บงั คบั ตง้ั แต่วนั ท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2551 กลา่ วคอื หลังจาก
ท่ปี ระเทศสมาชิกครบทัง้ 10 ประเทศ ไดใ้ ห้สตั ยาบนั กฎบตั รอาเซียน โดยการประชุมสดุ ยอด
อาเซยี นคร้ังที่ 14 ระหวา่ งวันที่ 28 กุมภาพนั ธ์ - 1 มนี าคม พ.ศ. 2552 ท่จี งั หวดั เพชรบรุ ี
เป็นการประชมุ ระดบั ผนู้ ำอาเซียนครัง้ แรกหลงั จากกฎบัตรอาเซียนมีผลบังคบั ใช้

39

โครงสรา้ งและกลไก

การดำเนนิ งานของอาเซยี น

¡ÒûÃЪÁØ
Ê´Ø ÂÍ´ÍÒà«Õ¹

¤³ÐÁ¹µÃ»Õ ÃÐÊÒ¹§Ò¹

¤³ÐÁ¹µÃÕ ¤³ÐÁ¹µÃÕ ¤³ÐÁ¹µÃÕ

»ÃЪҤÁ¡ÒÃàÁ×ͧ »ÃЪҤÁàÈÃÉ°¡¨Ô »ÃЪҤÁàÊѧ¤Á
áÅФÇÒÁÁèѹ¤§ÍÒà«ÂÕ ¹ ÍÒà«Õ¹ áÅÐÇ²Ñ ¹¸ÃÃÁÍÒà«ÂÕ ¹

¡ÒûÃЪØÁà¨ÒŒ ·èÕÍÒÇâØ Ê ¡ÒûÃЪØÁà¨ÒŒ ·èÕÍÒÇâØ Ê ¡ÒûÃЪÁØ à¨ŒÒ·èÍÕ ÒÇØâÊ

¢Í§¤³ÐÁ¹µÃÕÏ ¢Í§¤³ÐÁ¹µÃÏÕ ¢Í§¤³ÐÁ¹µÃÕÏ

40

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN STRUCTURE

กฎบัตรอาเซียน ซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่
วันท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2551 ได้กำหนดโครงสรา้ งองค์กรของอาเซยี น ไว้ในหมวดท่ี 4 ดงั นี้

1. การประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น (ASEAN Summit)

การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบด้วยประมุขหรือ
หัวหน้ารัฐบาล มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางร่วมมือของอาเซียน
และตัดสินใจในเรื่องสำคัญ โดยให้ประเทศสมาชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียนเป็นเจ้าภาพ
จัดการประชุม 2 ครั้งต่อปี หรอื เรยี กประชุมพิเศษหรอื เฉพาะกจิ เม่อื มคี วามจำเป็น

2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs)

คณะมนตรปี ระสานงานอาเซยี น ประกอบดว้ ยรฐั มนตรตี า่ งประเทศสมาชกิ อาเซยี น
ทำหน้าที่เตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลงและข้อตัดสินใจของ
ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดำเนินงานและ
กจิ การตา่ งๆ ของอาเซยี นในภาพรวม โดยคณะมนตรปี ระสานงานอาเซยี นจะมกี ารประชมุ กนั
อยา่ งนอ้ ย 2 ครั้งตอ่ ปี

3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils)

คณะมนตรีประชาคมอาเซียนประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก
อันได้แก่ คณะมนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศ
สมาชิกแต่งตั้งให้เป็นผู้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอำนาจหน้าที่ในการประสานงานและ
ติดตามการทำงานตามนโยบาย โดยเสนอรายงานและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมผู้นำ
โดยมกี ารประชุมอยา่ งน้อยปีละ 2 ครัง้ ประธานการประชุมเปน็ รฐั มนตรจี ากประเทศสมาชิก
ซึ่งเป็นประธานอาเซยี น

41

4. องคก์ รระดบั รฐั มนตรอี าเซยี นเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial Bodies)

องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาธารณสุข ด้านกลาโหม
ด้านการศึกษา ฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและ
ขอ้ ตดั สนิ ใจของทป่ี ระชมุ สดุ ยอดอาเซยี น ทอ่ี ยใู่ นขอบขา่ ยการดำเนนิ งานของตน และเสรมิ สรา้ ง
ความรว่ มมอื ในสาขาของแตล่ ะองคก์ รใหเ้ ขม้ แขง็ ขน้ึ เพอ่ื สนบั สนนุ การรวมตวั ของประชาคม
อาเซยี น

5. เลขาธกิ ารอาเซยี นและสำนกั เลขาธกิ ารอาเซยี น
(Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat)

สำนักเลขาธิการอาเซียนเป็นหน่วยงานกลางถาวรของอาเซียน โดยมีเลขาธิการ
อาเซียนเป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร และมีเจ้าหน้าที่ประจำรับผิดชอบงานเลขานุการ
ของอาเซยี น

เลขาธิการอาเซียน ได้รับการแต่งตั้งโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียนและมีวาระ

การดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยไม่มีการต่ออายุ เลขาธิการอาเซียนจะคัดเลือกจากคนชาต ิ
ของประเทศสมาชิกอาเซียนหมุนเวียนกันไปตามตัวอักษรของชื่อประเทศในภาษาอังกฤษ
ตำแหนง่ เลขาธกิ ารอาเซียนมศี ักดิ์ศรแี ละสถานะเทยี บเท่ากับรัฐมนตรี

รองเลขาธกิ ารอาเซียน มีจำนวน 4 คน ซึ่งมีสัญชาติแตกต่างจากเลขาธิการและ

คัดเลือกมาจากประเทศสมาชิกอาเซียน 4 ประเทศที่แตกต่างกัน โดยรองเลขาธิการ 2 คน
จะคัดเลือกมาจากคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนหมุนเวียนกันไปตามลำดับตัวอักษรของ
ชือ่ ประเทศในภาษาอังกฤษ และมวี าระการดำรงตำแหนง่ 3 ปี โดยไม่มกี ารตอ่ อายุ สว่ นรอง
เลขาธิการอีก 2 คน จะมาจากการคัดเลือกทั่วไปบนพื้นฐานของความรู้ ความสามารถ
และมีวาระการดำรงตำแหนง่ 3 ปี และสามารถตอ่ อายไุ ด้อกี 3 ปี

42

กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ASEAN STRUCTURE

6. คณะกรรมการผแู้ ทนถาวรประจำอาเซยี น
(Committee of Permanent Representatives to ASEAN)

คณะกรรมการผแู้ ทนถาวรประจำอาเซยี น เปน็ ผแู้ ทนระดบั เอกอคั รราชฑตู ทแ่ี ตง่ ตง้ั
จากประเทศสมาชิกให้ประจำที่สำนักงานใหญ่อาเซียน กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย
มีหน้าที่สนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรระดับรัฐมนตรี
เฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการสำนักงานอาเซียนและสำนักงานเลขาธิการอาเซียน
ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและประสานงานกับสำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติและองค์กรระดับ
รัฐมนตรอี าเซยี นเฉพาะสาขา

7. สำนกั งานอาเซยี นแหง่ ชาติ (ASEAN National Secretariat)

เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน
ซึ่งแต่ละประเทศได้จัดตั้งเพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและ
ความร่วมมือต่างๆ เกี่ยวกับอาเซียนในประเทศนั้นๆ สำหรับประเทศไทยหน่วยงาน
ทีท่ ำหน้าที่เป็นสำนักงานอาเซียนแหง่ ชาติ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ

8. องคก์ รสทิ ธมิ นษุ ยชนอาเซยี น (ASEAN Human Rights Body)

เป็นองค์กรที่จัดตั้งโดยความประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับ
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทำงานและอำนาจ
หนา้ ท่ี จะไดก้ ำหนดโดยท่ีประชมุ รัฐมนตรีตา่ งประเทศอาเซียน

9. มลู นธิ อิ าเซยี น (ASEAN Foundation)

มลู นธิ อิ าเซยี นสนบั สนนุ เลขาธกิ ารอาเซยี นและดำเนนิ การรว่ มกบั องคก์ รของอาเซยี น
ทเ่ี ก่ียวขอ้ งในการสนบั สนนุ การสร้างประชาคมอาเซยี น โดยการสง่ เสริมความสำนกึ ทเี่ พิม่ ขนึ้
เกี่ยวกับอัตลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน การดำเนินงานร่วมกัน
ที่ใกล้ชิดระหว่างภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ
ในอาเซียน

43

ประชาคมอาเซยี น

(ASEAN COMMUNITY)

เสาการเมอื ง เสาเศรษฐกจิ เสาสงั คม

และความมั่นคง และวัฒนธรรม

มน่ั คง มงั่ คัง่ เอื้ออาทร
และแบง่ ปนั

ประชาคมอาเซยี น
ภายในปี 2558

44

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN COMMUNITY

ประเทศสมาชกิ “สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้”
10 ประเทศ หรอื “อาเซยี น” มเี ปา้ หมายจะกา้ วไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมอาเซยี น
ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ซงึ่ ประกอบด้วย 3 ด้านหลกั ได้แก่
• ประชาคมการเมืองและความม่นั คงอาเซยี น
(ASEAN Political-Security Community : APSC)
• ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน
(ASEAN Economic Community : AEC) และ
• ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC)

วิสัยทัศน์ร่วมของผู้นำอาเซียน คอื การสรา้ งประชาคมอาเซยี นทม่ี ขี ดี ความสามารถ

ในการแขง่ ขนั สงู มกี ฎกตกิ าในการทำงาน และมปี ระชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง (ประชาชนมสี ว่ นรว่ ม
ในการสรา้ งประชาคมอาเซยี น)

เปา้ หมายหลกั ของการรวมตวั เปน็ ประชาคมอาเซยี น คือ การสร้างประชาคมที่มีความ

แข็งแกร่ง มีความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ สามารถสร้างโอกาสและรับมือสิ่งท้าทาย
ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ได้อย่างรอบด้าน โดยให ้
ประชาชนมคี วามเปน็ อยทู่ ด่ี ี สามารถประกอบกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ไดอ้ ยา่ งสะดวกมากยง่ิ ขน้ึ
และประชาชนในอาเซียนมีความรูส้ ึกเป็นอนั หนง่ึ อันเดียวกัน

อาเซียนให้ความสำคัญกับการเร่งรัดการปฏิบัติตามแผนงานการจัดตั้งประชาคม
อาเซียน โดยเฉพาะการเร่งรัดการรวมตัวทางเศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตภายใน
ภมู ิภาคเป็นหลกั และลดการพ่งึ พาเศรษฐกิจโลกท่ผี นั ผวน ในขณะเดยี วกนั กใ็ หค้ วามสำคัญ
กบั การพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหม้ คี วามเสมอภาคกนั ระหวา่ งสมาชกิ มากขน้ึ ทง้ั น้ี ในการประชมุ
สุดยอดอาเซยี น คร้ังที่ 21 เมื่อเดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2555 ทีก่ รุงพนมเปญ ประเทศกัมพชู า
ผู้นำอาเซียนได้ตกลงที่จะกำหนดวันที่อาเซียนจะเป็นประชาคมอาเซียนอย่างเป็นทางการ
ในวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

45

สามเสาหลกั ของประชาคมอาเซยี น
1. ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น มเี ป้าหมายท่สี ำคัญ ได้แก่

• มีกติกาและมีการพัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐานร่วมกัน โดยยึดมั่นหลักการของ
การไม่แทรกแซงกิจการภายใน และการส่งเสรมิ คา่ นิยมของประชาคมควบคู่กันไป
• มคี วามเปน็ เอกภาพ ความสงบสขุ ความแขง็ แกรง่ และมคี วามรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั
เพื่อแก้ไขปัญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ เพื่อส่งเสริมให้อาเซียนพึ่งพาอาศัยกลไก
ของตนมากข้นึ ในการแกไ้ ขปญั หาและความทา้ ทายต่างๆ ในภมู ภิ าค
• มพี ลวัตและมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั นอกภมู ิภาคอาเซียน

2. ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น มเี ป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ได้แก่

• การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวสำหรับประชากร 600 ล้านคนในอาเซียน
โดยมีการเคลื่อนย้ายสนิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ และบคุ ลากรวิชาชีพตา่ งๆ อยา่ งสะดวกมากข้นึ
และมกี ารไหลเวียนอยา่ งเสรยี ง่ิ ข้ึนสำหรบั เงนิ ทนุ
• การสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ของอาเซียน โดยใหค้ วาม
สำคญั กบั ประเดน็ ดา้ นนโยบายทจ่ี ะชว่ ยสง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในเรอ่ื งตา่ งๆ ไมว่ า่
จะเป็นนโยบายการแข่งขันที่เป็นธรรม การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา
และนโยบายภาษี รวมท้งั การพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน เปน็ ต้น
• การพฒั นาเศรษฐกจิ อยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั โดยการสง่ เสรมิ SMEs และ
การเสริมสร้างขดี ความสามารถของประเทศสมาชิกอาเซยี นผา่ นโครงการ อาทิ โครงการรเิ ริ่ม
เพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) เพื่อลดช่องว่าง
ทางการพัฒนา รวมถึงการสง่ เสริมความรว่ มมือดา้ นธุรกิจระหว่างภาครฐั และภาคเอกชน
• การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก โดยเน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
ของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน รวมทั้ง
สง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยในดา้ นการผลติ / จำหนา่ ย ภายในภมู ภิ าคใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั เศรษฐกจิ โลก


46

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ

3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นประชาคม ASEAN COMMUNITY

ที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีความเป็นอย ู่ r
ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน รวมทงั้ ส่งเสรมิ อตั ลักษณข์ องอาเซียน โดยใหค้ วามสำคัญกับ
การดำเนนิ การใน 6 ด้าน ได้แก่
• การพฒั นามนษุ ย์
• การคุม้ ครองและสวสั ดิการสงั คม
• สทิ ธแิ ละความยุตธิ รรมทางสงั คม
• ความยัง่ ยนื ด้านส่งิ แวดลอ้ ม
• การสร้างอตั ลกั ษณ์อาเซยี น
• การลดช่องวา่ งทางการพฒั นา

SEAN Charte
A


กฎบัตรอาเซีย
 
ประชาคมการเมอื ง 
และความมน่ั คงอาเซียน ประชาคม 
เศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคม
สงั คม-วัฒนธรรมอาเซยี น

47

48

กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY : APSC

໇ÒËÁÒÂ

1. »ÃЪҤÁ·ÁèÕ Õ¡µÔ¡ÒáÅСÒþ²Ñ ¹Ò¤‹Ò¹ÂÔ ÁáÅÐÁºÕ Ã÷´Ñ °Ò¹ÃÇ‹ Á¡¹Ñ
2. ÀÙÁÔÀÒ¤·ÁÕè Õ¤ÇÒÁ໹š àÍ¡ÀÒ¾ Á¤Õ ÇÒÁʧºÊ¢Ø ¤ÇÒÁá¢ç§á¡Ã§‹

¾ÃŒÍÁ·é§Ñ Á¤Õ ÇÒÁÃѺ¼´Ô ªÍºÃ‹ÇÁ¡Ñ¹ à¾×Íè á¡äŒ ¢»Þ˜ ËÒ¤ÇÒÁÁèѹ¤§
·è¤Õ Ãͺ¤ÅØÁ·Ø¡ÁµÔ Ô
3. ÀÁÙ ÀÔ Ò¤·èÕÁ¾Õ ÅÇµÑ Áͧä»ÂѧâÅ¡ÀÒ¾¹Í¡·ÕÁè ¡Õ ÒÃÃÇÁµÇÑ áÅÐÁÅÕ ¡Ñ ɳÐ
¢Í§¡ÒÃ¾Ö§è ¾Ò«Ö觡¹Ñ áÅСѹÁÒ¡¢é¹Ö

1. Treaty of Amity and Cooperration in Southeast Asia (TAC)

สนธสิ ัญญามิตรภาพและความรว มมือในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต
• ลงนามเมอื่ ป 2519
• เปน เอกสารแสดงความมั่นคง ความเจรญิ ดานเศรษฐกจิ และความรว มมือ
ระหวางกนั ในภมู ภิ าค รวมทง้ั การระงับขอพิพาทโดยสนั ติวธิ ี
• ปจ จุบนั มีประเทศนอกภมู ิภาคเขารวมเปนภาคี 20 ประเทศ

2. The Southeast Asia Nuclear - Weapon - Free Zone (SEANWFZ)

สนธสิ ัญญาเขตปลอดอาวธุ นิวเคลยี รในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต

3. ASEAN Regional Forum (ARF)

การประชุมวา ดว ยความรวมมือดานการเมืองและความม่นั คงในภมู ภิ าค
เอเชีย - แปซิฟก

4. á¼¹§Ò¹¡ÒÃÊÃÒŒ §»ÃЪҤÁ¡ÒÃàÁÍ× §áÅФÇÒÁÁ¹èÑ ¤§ÍÒà«ÂÕ ¹ (APSC Blueprint)

ไดรับการรบั รองในทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียนครั้งท่ี 14 ป 2552 ที่ชะอำ - หวั หิน

49


Click to View FlipBook Version