The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปอาเซียนศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Parker W., 2019-07-27 10:10:42

อาเซียนศึกษา

สรุปอาเซียนศึกษา

1. ภาพรวม

ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น เปน็ กลไกสบื เนอ่ื งจากปฏญิ ญาบาหลี 2
(Bali Concord II) (ซึ่งเดิมทีกลไกใช้คำว่า ASEAN Security Community) แต่ได้รับ
การกอ่ ตง้ั เปน็ ทางการภายหลงั จากทก่ี ฎบตั รอาเซยี นมผี ลบงั คบั ใชใ้ นเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2551
แม้ว่าประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ไม่เน้นการมีนโยบายต่างประเทศและ
ความมั่นคงร่วมกันเหมือนสหภาพยุโรป แต่ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
พยายามที่จะหาจุดยืนร่วมกันในหลายเรื่อง เพื่อสร้างรากฐานที่มั่นคงสำหรับสันติภาพและ
เสถียรภาพในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้

2. เปา้ หมายของประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น

ตามเอกสารแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลงที่จะให้ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
มีเปา้ หมายสำคัญ 3 ประการ ดังนี้
ประชาคมที่มีกติกาและมีการพัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐานร่วมกัน
(A rules-based community of shared values and norms) ซึ่งเป็น 2 หลักการ
ท่ีถ่วงดลุ ซ่งึ กันและกนั กลา่ วคอื
• การไมแ่ ทรกแซงกิจการภายใน
• สง่ เสริม Community values
ประชาคมทท่ี ำใหภ้ มู ภิ าคมคี วามเปน็ เอกภาพ มคี วามสงบสขุ มคี วามแขง็ แกรง่
พร้อมทั้งมีความรับผิดชอบร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิต ิ
(A cohesive, peaceful and resilient region with shared responsibility for
comprehensive security) ซึง่ เป็นความพยายามทจ่ี ะสง่ เสรมิ ให้อาเซียนพึ่งพาอาศยั กลไก
ของตนมากขึ้น ในการแกไ้ ขปญั หาและความทา้ ทายต่างๆ ในภูมภิ าค
ประชาคมที่ทำให้เป็นภูมิภาคที่มีพลวัตและมองไปยังโลกภายนอกที่มี
การรวมตวั และลกั ษณะพึง่ พาซงึ่ กันและกนั มากย่ิงขึ้น (A dynamic and outward looking
region in an increasingly integrated and interdependent world) ซึ่งสะท้อน
ถงึ การทอ่ี าเซยี นยอมรบั วา่ ไมค่ วรมงุ่ เพยี งเรอ่ื งภายใน แตเ่ นน้ การสรา้ งหนุ้ สว่ นกบั โลกภายนอก
ใหบ้ รรลุเปา้ หมายร่วมกัน

50

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY : APSC

3. สถานะล่าสุด

ปัจจุบันเสาการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความคืบหน้าในการส่งเสริม
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสานท่าทีมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่มีนัยทางนโยบายและการเมือง
ของภูมิภาค โดยการดำเนินการขับเคลื่อนเสาการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จัดตั้งโดย
คณะมนตรปี ระชาคมการเมอื งและความมนั่ คง ซึง่ ประชมุ ปลี ะ 2 ครัง้ เป็นอยา่ งน้อย
ประเด็นที่ไทยผลักดันให้มีการหารือในการประชุมคณะมนตรีประชาคม
การเมืองและความมั่นคง คือ การส่งเสริมให้กลไกอาเซียนต่างๆ ในเสาการเมืองและ
ความมั่นคงเสาเศรษฐกิจ และเสาสังคมและวัฒนธรรม มีการประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหา
ของ Cross - Cutting Issues ซึง่ เปน็ ประเดน็ ทค่ี าบเกยี่ วระหวา่ งกลไกต่างๆ และการจดั การ
กบั ความเสี่ยงของการส่งเสรมิ ความเชือ่ มโยงในภมู ภิ าคหรอื Inherent Risks of Enhanced
ASEAN Connectivity ซึ่งรวมถงึ อาชญากรรมขา้ มชาติ และผลกระทบทางดา้ นลบตา่ งๆ เช่น
ผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม และปญั หาสาธารณสขุ เปน็ ต้น

4. พัฒนาการล่าสุดในประเดน็ ท่สี ำคญั

สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้
(Southeast Asia Nuclear Weapon - Free Zone : SEANWFZ) อาเซียนอยู่ระหว่าง
การหาขอ้ สรปุ การเจรจากบั ประเทศผมู้ อี าวธุ นวิ เคลยี ร์ (NWS) เพอ่ื ให้ NWS ลงนามในพธิ สี าร
แนบทา้ ยสนธสิ ัญญาฯ ตอ่ ไป
สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty
of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ได้รบั ความสนใจจากประเทศ
นอกภูมภิ าคมากข้ึน ปจั จบุ ันมปี ระเทศภาคีทัง้ สนิ้ 30 ประเทศ และสหภาพยุโรป
อาชญากรรมข้ามชาติ ไทยมีส่วนสำคัญริเริ่มให้อาเซียนให้ความสำคัญ
มากยิ่งขึ้นกับการหามาตรการแก้ไขปัญหา อันเนื่องจากผลกระทบทางลบจากการส่งเสริม
ความเชื่อมโยงในอาเซียน เช่น ความท้าทายจากอาชญากรรมข้ามชาติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น
ปัญหายาเสพติด การคา้ มนุษย์ และการฟอกเงิน ทัง้ น้ี เปา้ หมายระยะยาว คือ การมีระบบ
การคุ้มกันประชาคมอาเซียนที่มีความเชื่อมโยงมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบทางลบหรือ
ผลข้างเคียงจากความเชือ่ มโยง

51

การสง่ เสรมิ สนั ตภิ าพในภมู ภิ าค ผนู้ ำอาเซยี นไดป้ ระกาศเปดิ ตวั สถาบนั อาเซยี น
เพื่อสันติภาพและความสมานฉันท์ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 21 เมื่อเดือน
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2555
ความมั่นคงทางทะเล เป็นประเด็นที่ประเทศนอกภูมิภาคให้ความสนใจ
ซ่งึ อาเซยี นเองจะต้องรกั ษาความเปน็ แกนหลกั ในเรื่องนใ้ี หไ้ ด้
สิทธิมนุษยชน คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
(ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights : AICHR) ซงึ่ เป็นองค์กร
ที่ไทยมีส่วนร่วมสำคัญในการจัดตั้งได้ยกร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เพื่อ
จะนำไปสู่การสร้างกลไก เช่น สนธิสัญญาและอนุสัญญาที่เกี่ยวข้องในอนาคต โดยเมื่อวันที่
18 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2555 ผนู้ ำอาเซยี นไดใ้ หก้ ารรบั รองปฏญิ ญาอาเซยี นวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชน
ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 ควบคู่กับการลงนามในแถลงการณ์พนมเปญ
เพ่ือรบั รองปฏิญญาอาเซยี นว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

5. ประเด็นสำคัญที่ไทยผลักดันในการสร้างประชาคมการเมือง
และความมนั่ คงอาเซียน

ส่งเสริมค่านิยมของประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และหลักการนิติธรรม
ในอาเซยี น โดยมุ่งเน้นประโยชน์ของประชาชนเปน็ ที่ต้งั
ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคประชาสังคมในงานของประชาคมการเมืองและ
ความมั่นคงอาเซียน โดยใช้หัวข้อการหารือเป็นตัวตั้งในการเชิญองค์กรที่มิใช่ของรัฐบาล
ในการแก้ไขปัญหา Non - Traditional Threats เช่น เรื่องการบริหารจัดการภัยพิบัติ
อาชญากรรมขา้ มชาติ เชน่ การคา้ ยาเสพตดิ และการคา้ มนษุ ย์ เปน็ ต้น และมุง่ ดำเนนิ ภารกจิ
ทางมนุษยธรรมมากกว่าด้านการเมือง
สง่ เสรมิ ใหม้ คี วามโปรง่ ใสมากขน้ึ ระหวา่ งฝา่ ยกลาโหมอาเซยี น โดยการแลกเปลย่ี น
ขอ้ มลู เรอ่ื ง Arms Modernization และการสง่ ผสู้ งั เกตการณใ์ นการซอ้ มรบ ควรมคี วามรว่ มมอื กนั
ใหม้ ากย่งิ ขนึ้ ในเรื่องการบรหิ ารจดั การภัยพบิ ัติและการปฏบิ ัติการรกั ษาสันติภาพ

52

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ

ส่งเสริมความร่วมมือของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น การรักษาสันติภาพ
การบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิ โดยเฉพาะการจดั ทำระบบและยทุ ธศาสตรบ์ รู ณาการโดยประสาน
การทำงานของฝ่ายพลเรือน ฝ่ายกลาโหมอาเซียน และสำนักเลขาธิการอาเซียน และ
การส่งเสรมิ ความมัน่ คงทางทะเล เปน็ ตน้

องคก์ รเฉพาะสาขาภายใตป้ ระชาคมการเมอื งและความมั่นคงอาเซยี น ASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY : APSC
และหนว่ ยงานราชการไทยที่รบั ผดิ ชอบ

1. ASEAN Foreign Ministers Meeting (AMM)
• ASEAN Senior Officials Meeting (ASEAN SOM)
• ASEAN Standing Committee (ASC)
• Senior Officials Meeting on Development Planning (SOMDP)

หน่วยราชการไทยท่รี ับผิดชอบ : กระทรวงพาณิชย์

2. Commission on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone
(SEANWFZ Commission)
• Executive Committee of the SEANWFZ Commission

หนว่ ยราชการไทยท่รี บั ผดิ ชอบ : กระทรวงการต่างประเทศ

3. ASEAN Defence Ministers Meeting (ADMM)
• ASEAN Defence Senior Officials Meeting (ADSOM)

หน่วยราชการไทยทร่ี ับผดิ ชอบ : กระทรวงกลาโหม

4. ASEAN Law Ministers Meeting (ALAWMM)
• ASEAN Senior Law Officials Meeting (ASLOM)

หนว่ ยราชการไทยทร่ี บั ผดิ ชอบ : สำนกั งานอยั การสูงสดุ และกระทรวงยุตธิ รรม

5. ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC)

• Senior Officials Meeting on Transnational Crime (SOMTC)

• ASEAN Senior Officials on Drugs Matters (ASOD)

• Directors-General of Immigration Departments and Heads of Consular Affairs

Divisions of Ministries of Foreign Affairs Meeting (DGICM)

หน่วยราชการไทยที่รบั ผดิ ชอบ : สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ สมช/ปปส./สตม./กระทรวงการต่างประเทศ

6. ASEAN Regional Forum (ARF)
• ASEAN Regional Forum Senior Officials Meeting (ARF SOM)

หนว่ ยราชการไทยทร่ี บั ผิดชอบ : กระทรวงการตา่ งประเทศ

53

໹š µÅÒ´ àร»อย´ลลดàะÊภÃ0าษÕ¡ใีเนหÒปÃลือ¤25ÒŒ 58

áÅаҹ¡ÒÃ¼ÅµÔ Ã‹ÇÁ ແ´àÊÃÕ¡ÒäҌ ºÃÔ¡ÒÃ(e-ASEเปAดNเสสรขุ บี ภรากิ พารทเรอ ง งรเดัท่ีย4วสโาลขจาิสติกส)
à»´ àÊÃÕ¡ÒÃŧ·Ø¹ปสNรงกaะเาtสเiทรรoลศมิnงอแaทาลlนุเะซTรคียrะุมeนหaคภวtราาmอยงงeใตnt
เคลอ่ื นยา ยสินคา เสรี
เคลื่อนยา ยบริการอยางเสรี แàแส»ลลงะ´เะสมพàราÊฒัมิตÃกนรากาÕ¡รตาÒเรลชÃเาือ่ปàดมด¤พโเÅยสันงรè×Íธตบี บ¹ลญั ัตาÂรชดÒŒีททÂนุนุ àร§ะÔ¹หว·า ¹Øงกัน
เคลอ่ื นยา ยการลงทนุ อยาเสรี
เคลอ่ื นยา ยแรงงานมีฝม ืออยางเสรี
เคล่อื นยา ยเงินทุนอยางเสรมี ากขน้ึ

ลดชอ งวางการพัฒนา
ระหวา งสมาชกิ เกา -ใหม
สนับสนุนการพฒั นา SMEs

e-ASEAN
นโยบายภาษี
นโยบายการแขง ขนั
สิทธทิ รพั ยส นิ ทางปญ ญา
การคุมครองผูบริโภค
พฒั นาโครงสรางพ้นื ฐาน

ปรับประสานนโยบายเศรษฐกจิ
สรา งเครือขายการผลิต จำหนา ย
จัดทำ FTA กบั ประเทศนอกภูมภิ าค

54

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ

¡ÒÃáàä§Å§×Íè Ò¹¹Â½ŒÒÁ‚ÂÍ×ลงนามขนอกั วบนตศิ วญัักกวชิสลชกำารีแงรชยลวพพีะอจยม1าแ7บรพสับาสาทลรขายวาขส ทบมถานัรา(ิกปตMาแนรพRิก(ททAอย)ง เทย่ี ว) ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC

Áã¹Õ¢¡Õ´Ò¤ÃÇáÒ¢Á§‹ Ê¢ÒѹÁÊÒÃÙ§¶กกกากาเารนารรพรนคพแฒัมุกฒัขาคนงรนราขดอาันำIโงCคเนeทTร-นิงรAสพันSรโยEายสAงบินพNาท้ืนยาฐงาปนญญา สÁกง ¾ÕเใาสหรเѲพรขค มิ อ่ืยว¹กลาาÒามยด·¡รตชชàÕèมÒ·วัวอÃสี ข‹Òยงว·àวอเ·นหÒางÕÂร§ลงSวขือÁàMÈมอแ¡แÃงกEѹรลสsÉะะม°ดา¡ับช¨Ôกิกาใรหพมฒั  (นCLาMV)

55

ÊÔ§è ·è¨Õ Ðà¡Ô´¢Ö¹é ã¹
»ÃЪҤÁàÈÃÉ°¡Ô¨
»‚ 2558

Ê¹Ô ¤ŒÒ ภาษีนำเขาเปนศนู ย/อุปสรรคนำเขา ¸ØáԨ ถือหุนในธุรกจิ บริการในอาเซยี น
ŧ·Ø¹ ระหวา งอาเซียนดวยกันหมดไป ºÃÔ¡Òà ไดอ ยางเสรี
วไดิชอ ายชา ีพง/เสแรรงใี นงาอนาฝเซม ยี ือนเคลอ่ื นยาย
ตลาด 10 ประเทศรวมเปน หนึ่ง

ลงทนุ ในอาเซียนไดอยางเสรี áç§Ò¹

ÊÒ¢Òà˧ÃÑ´¡ÒÃÃÇÁµÑÇ 12 ÊÒ¢Ò
• ทองเท่ยี ว • สินคา เกษตร • สนิ คาประมง • ยานยนต • ผลติ ภณั ฑไม • ยาง • สงิ่ ทอ
• การบิน • อเิ ลก็ ทรอนกิ ส • เทคโนโลยีสารสนเทศ • สขุ ภาพ • ลอจิสติกส

ÍÒà«ÂÕ ¹

ä´ÃŒ Ѻ¡ÒÃÍӹǤÇÒÁÊдǡ㹡ÒûÃСͺÇÔªÒªÕ¾ÁÒ¡¢¹Öé

MRA ไมไ ดเปน สาขาวิศวกรรม สาขานกั สำรวจ สาขานกั บัญชี สาขาสถาปต ยกรรม

การเปด ตลาด
แตเปน เพยี งการอำนวย
ความสะดวกในขั้นตอน สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย สาขาแพทย

การขอใบอนญุ าต +1 ÊÒ¢ÒºÃ¡Ô Ò÷‹Í§à·ÂÕè Ç
โดยลดข้ันตอนการตรวจสอบ/
รบั รองวุฒิการศกึ ษา
หรือหาความรูทางวิชาชีพ MRAs ขอ ตกลงยอมรบั รว มนกั วชิ าชพี ในอาเซยี นสามารถ
จดทะเบียนหรอื ขอใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ในประเทศ
อาเซียนอ่นื ได แตย งั ตอ งปฎบิ ัตติ ามกฎระเบยี บภายใน
56 ของประเทศนนั้ ๆ

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC

1. ภมู ิหลงั

อาเซียนมีการพัฒนาการด้านการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเรื่อยมา เริ่มตั้งแต่
การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Agreement : AFTA) ตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2535 และพยายามสง่ เสรมิ ใหม้ คี วามรว่ มมอื ครอบคลมุ ดา้ นอน่ื ๆ ดว้ ย เชน่ การคา้ บรกิ าร
การลงทุน ซึ่งได้มีการจัดทำกรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN
Framework Agreement on Services : AFAS) และกรอบความตกลงวา่ ดว้ ยเขตการลงทนุ
อาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area : AIA) เมื่อป ี
พ.ศ. 2538 และปี พ.ศ. 2541 ตามลำดบั (ปัจจุบัน ความตกลง AIA ผนวกเขา้ กับความตกลง
ว่าด้วยการคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (Asean Investment Guarantee Agreement
: AIGA) และมชี อ่ื ใหมว่ า่ ความตกลงการลงทุนของอาเซียน หรอื ASEAN Comprehensive
Investment Agreement : ACIA)
ผู้นำอาเซียนได้เห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ซง่ึ ประกอบดว้ ย 3 เสาหลกั ไดแ้ ก่ ประชาคมการเมอื งความมน่ั คงอาเซยี น ประชาคมเศรษฐกจิ
อาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และได้ประกาศปฏิญญาเซบูว่าด้วย
การเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้บรรลุผลจากเดิมที่กำหนดไว้ในปี พ.ศ. 2563
(ค.ศ. 2020) เปน็ ปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยในส่วนประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น ไดจ้ ัดทำ
แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เป็นแผนงานบรูณาการ
การดำเนินงานด้านเศรษฐกิจตา่ งๆ เพอ่ื ให้เหน็ การดำเนินงานในภาพรวมที่จะนำไปส่กู ารเปน็
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558
แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประกอบด้วยเป้าหมายสำคัญ
4 ประการ ไดแ้ ก่
• การเป็นตลาดและฐานการผลติ เดยี ว
• การสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน
• การพฒั นาเศรษฐกจิ อยา่ งเสมอภาค
• การบรูณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก

57

2. พฒั นาการสำคญั ของการเตรยี มการไปสกู่ ารเปน็
ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น

ที่ประชุมคณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 8 เมื่อเดือนสิงหาคม
พ.ศ. 2555 ณ เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ได้รับทราบการดำเนินงานตามแผนงาน
การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งวัดผลโดย AEC Scorecard ว่ามีความคืบหน้า
มากพอควร โดยในช่วงปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2552 อาเซียนดำเนินการไดร้ อ้ ยละ 87.6 ของ
แผนทจ่ี ะตอ้ งดำเนนิ การในชว่ งดงั กลา่ ว และในชว่ งปี พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2554 อาเซยี นดำเนนิ การ
ไดร้ ้อยละ 63.4 โดยความล่าช้าสว่ นใหญเ่ ปน็ เร่ืองการรวมตัวกลุ่มดา้ นศุลกากร การคา้ บรกิ าร
และมาตรฐานและความสอดคล้อง ทั้งนี้ ในภาพรวมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555
(เดอื นสงิ หาคม) อาเซียนสามารถดำเนินการตามแผนไดร้ อ้ ยละ 72.6
อาเซียนได้มอบหมายให้สถาบันวิจัยทางเศรษฐกิจเพื่ออาเซียนและเอเชีย
ตะวนั ออก (Economic Research Institute for ASEAN and East Asia : ERIA) จัดทำ
รายงานการประเมนิ ผลแผนงานการจดั ต้ังประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนในระยะครึง่ ทาง (AEC
Blueprint Midterm Review) โดย ERIA ได้เสนอมาตรการที่อาเซียนควรให้ความสำคัญ
ในลำดบั ตน้ จากปจั จบุ นั จนถึงปี พ.ศ. 2558 ได้แก่ การลด / ยกเลิกภาษีศุลกากร การแกไ้ ข
ปญั หา / อปุ สรรคจากมาตรการทไ่ี มใ่ ชภ่ าษี การอำนวยความสะดวกทางการคา้ และการลงทนุ
การเปิดการค้าบริการ การเปิดเสรีการลงทุน การอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง
การดำเนินการเพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก การพัฒนา
และสง่ เสรมิ SMEs และการเจรจาจดั ทำความตกลงการเปน็ หนุ้ สว่ นทางเศรษฐกจิ อยา่ งรอบดา้ น
ในระดับภมู ิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP)
ปัจจุบัน อาเซียนกำลังอยู่ระหว่างการจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม
และมาตรการที่สำคัญต่างๆ ที่จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 เพื่อให ้
การกา้ วส่กู ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นบรรลุผลสำเรจ็ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยทป่ี ระชมุ
คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 8 ได้ให้แนวทางการจัดลำดับความสำคัญว่า
จะต้องเป็นมาตรการท่มี ีผลสำคญั ต่อการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ อาทิ แนวคิดการจดั ตั้งกลไก
เพื่อดูแลเรื่องการยกเลิกมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี การจัดตั้งระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว

58

กรมอาเซยี น กระทรวงการต่างประเทศ ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC

ของอาเซยี น (ASEAN Single Window : ASW) การจัดตัง้ คลงั ข้อมูลอาเซยี น (ASEAN Trade
Repository : ATR) เพอ่ื สง่ เสรมิ การทำธรุ กจิ ของภาคเอกชนใหม้ คี วามคลอ่ งตวั มากขน้ึ รวมทง้ั
การปฏิรูปกฎระเบียบและกฎหมายซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการผลักดันให้การดำเนินการ
ตามแผนงานการจดั ตง้ั ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นเปน็ รูปธรรมไดเ้ รว็ ยิ่งขนึ้
ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 และการประชุมสุดยอดอื่นๆ
ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ระหวา่ งวนั ที่ 17 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ณ กรงุ พนมเปญ ประเทศกัมพชู า
ผนู้ ำประเทศสมาชกิ อาเซียนและประเทศคู่เจรจา (จีน ญป่ี ุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย
และนิวซีแลนด์) ได้ร่วมประกาศเปิดการเจรจา RCEP อย่างเป็นทางการ และได้รับมอบ
หมายให้มีการเริ่มต้นการเจรจาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2556 โดยมุ่งหมายให้การเจรจาแล้วเสร็จ
ภายในสิ้นปี พ.ศ. 2558 บนพื้นฐานของหลักการทั่วไปและวัตถุประสงค์ของการเจรจา
ตามทร่ี ฐั มนตรเี ศรษฐกจิ อาเซยี นไดร้ บั รองแลว้ เมอ่ื เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2555 ทเ่ี มอื งเสยี มราฐ
(อาทิ การเจรจาที่สอดคล้องกับมาตราที่เกี่ยวข้องต่างๆ ของ GATT การเปิดความสัมพันธ์
ทก่ี วา้ งและลกึ มากขน้ึ จาก FTA+1 ทม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั การพจิ ารณามาตรการอำนวยความสะดวก
ทางการค้าและการลงทุน และเพิ่มความโปร่งใสในความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุน
ระหวา่ งประเทศผ้เู ข้ารว่ ม รวมถึงใหค้ ำนงึ ถงึ ระดบั การพฒั นาท่ีแตกตา่ งและสถานการณข์ อง
ประเทศผู้เขา้ รว่ ม เป็นตน้ )
นอกจากน้ี ประเทศสมาชกิ อาเซยี นยงั ไดล้ งนามความตกลงวา่ ดว้ ยการเคลอ่ื นยา้ ย
บคุ คลธรรมดาของอาเซยี น (ASEAN Agreement on Movement of Natural Persons :
ASEAN MNP Agreement) เพอ่ื อำนวยความสะดวกกบั การเคลอ่ื นยา้ ยบคุ ลากรทป่ี ระสงค ์
จะให้บริการในประเทศสมาชิกในสาขาที่เกี่ยวกับการค้าสินค้า การค้าบริการและการลงทุน
โดยความตกลงฯ จะครอบคลุมเฉพาะมาตรการที่เกี่ยวกับการเข้าเมืองชั่วคราว การพำนัก
ชั่วคราว และการทำงานของบุคลากรตามประเภทที่ระบุไว้ในข้อผูกพัน ไทยจะได้สิทธิ
ประโยชน์ภายใต้ความตกลงฯ เฉพาะกับบุคลากร 2 ประเภท คือ ผู้เยี่ยมเยือนทางธุรกิจ
(Business Visitor) และผโู้ อนยา้ ยภายในบรษิ ทั (Intra - Corporate Transferee) ทม่ี สี ญั ชาต ิ
ประเทศสมาชิกอาเซียนเท่านั้นและไม่รวมถึงผู้มีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Resident)
ทอ่ี ยูใ่ นประเทศอาเซยี น

59

3. การดำเนนิ การของประเทศไทย

มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2555 มอบหมายให้สำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ จดั ทำแผนแมบ่ ทในการดำเนินการเตรียม
ความพรอ้ มในการเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น โดยในการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การเขา้ สปู่ ระชาคม
อาเซยี น พ.ศ. 2558 (ASEAN Economic Community : AEC) ครง้ั ท่ี 2 เมอ่ื วนั ท่ี 24 ตลุ าคม
พ.ศ. 2555 ท่ีมนี ายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ได้กำหนดยทุ ธศาสตร์ 8 ประการ ดังน้ี

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 - การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ

การค้าและการลงทุน ที่ครอบคลุมตั้งแต่การส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ
การอำนวยความสะดวก การตลาด การพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน การพัฒนา /
ปรับปรงุ มาตรฐาน การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 - การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม เพื่อให้

ประชาชนได้รับการค้มุ ครองทางสังคม มีสภาพแวดลอ้ มความเปน็ อย่ทู ีม่ นั่ คงปลอดภยั

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิกติกส์เพื่อให้โครงสร้าง

พื้นฐานมีความเชื่อมโยงและมีขีดความสามารถในการรับรองและมีกฏระเบียบที่อำนวย
ความสะดวกท้งั การคา้ และการลงทนุ

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐานการศึกษา

อาเซียน รวมทั้งทักษะฝีมือและภาษา โดยนายกรัฐมนตรีย้ำใน 3 ด้าน คือ ภาคการศึกษา
ภาคแรงงานและผปู้ ระกอบการ และภาครัฐ พรอ้ มมอบหมายให้ สำนกั งาน กพ. เตรียมจัดทำ
แผนการพฒั นาดงั กล่าว

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 - การพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบ เพื่ออำนวยความสะดวก

ดา้ นการคา้ การลงทนุ รวมทง้ั สามารถปกปอ้ งผลประโยชนแ์ ละเพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขนั
ของประเทศ

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 - การสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และความตระหนกั ถงึ ความสำคญั

ของอาเซยี น เพื่อใหป้ ระชาชนทวั่ ไป ผู้ประกอบการ เจ้าหน้าทข่ี องรฐั เข้าใจและตระหนักถึง
การเปน็ ประชาคมอาเซยี น

60

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 - การเสรมิ สรา้ งความมน่ั คง เนน้ สรา้ งความรว่ มมอื สรา้ งพนั ธมติ ร

การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนทั้งทางบก ทางทะเล รวมถึงการสร้างปัจจัยสนับสนุนต่างๆ
เชน่ ฐานขอ้ มูล

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 8 - การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน

เพอ่ื ทำใหเ้ มอื งมศี กั ยภาพทจ่ี ะเชอ่ื มโยงกบั สมาชกิ อาเซยี น ทง้ั ในดา้ นอตุ สาหกรรม การทอ่ งทย่ี ว
การลงทุน และการค้าชายแดน ซึ่งนายกรัฐมนตรีได้เสนอให้มีการกำหนดยุทธศาสตร์
ของเมืองสำคญั ในด้านตา่ งๆ อาทิ เมอื งหลวง เมืองเกษตร เมอื งอุตสาหกรรม เมอื งท่องเทยี่ ว
เมอื งการคา้ ชายแดน ตลอดจน Green City เน่ืองจากถอื เปน็ ยทุ ธศาสตรส์ ำคญั ในการสร้าง
จดุ ขาย (Branding)

61

4. จดุ แขง็ และจดุ ออ่ นของไทย
จุดแข็ง ผู้ประกอบการไทยสามารถขยายตลาดการค้าสินค้าและการบริการที่มี

คณุ ภาพไปยังตลาดอาเซยี นซง่ึ มีประชากรกว่า 590 ล้านคน โดยจำแนกได้ดังน้ี
สนิ คา้ อตุ สาหกรรม เชน่ รถยนต์ อปุ กรณแ์ ละสว่ นประกอบ สง่ิ ทอและเครอ่ื งนงุ่ หม่
เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วัสดุก่อสร้าง ผลิตภัณฑ์ยาง รวมถึง สินค้า
อุปโภคบริโภค
สินค้าเกษตร เช่น ขา้ ว ยางพารา ผกั ผลไม้สด รวมถงึ สนิ คา้ เกษตรแปรรปู เช่น
อาหารสำเรจ็ รปู
ธรุ กจิ บรกิ าร เชน่ การทอ่ งเทย่ี ว และบรกิ ารทเ่ี กย่ี วเนอ่ื ง (เชน่ โรงแรม รา้ นอาหาร
ภัตตาคาร) บรกิ ารสขุ ภาพ (สปา นวดแผนโบราณ)
ทตี่ ้ังเอือ้ ตอ่ การเปน็ ศนู ย์กลางโครงขา่ ยเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ
สาธารณูปโภคพื้นฐานท่ัวถึง
ระบบธนาคารค่อนข้างเขม้ แขง็

จดุ ออ่ น สินค้าของประเทศอาเซียนอื่นอาจเข้ามาในตลาดในประเทศไทยมากขึ้น

ในราคาทต่ี ่ำกว่า หรอื คณุ ภาพดีกวา่
สนิ ค้าอตุ สาหกรรม เชน่ ปโิ ตรเลียม (จากมาเลเซยี และเมยี นมาร์) เคมภี ัณฑ์ ยาง
และพลาสตกิ (จากมาเลเซีย)
สินค้าเกษตร เช่น ข้าว (จากเวียดนาม) น้ำมันปาล์ม (จากมาเลเซีย) กาแฟ
(จากเวยี ดนามและอนิ โดนเี ซยี ) ชา (จากอนิ โดนเี ซยี ) และมะพรา้ ว (จากฟลิ ปิ ปนิ ส)์
เป็นต้น
ธรุ กจิ บรกิ าร เชน่ ธรุ กจิ โรงพยาบาล โทรคมนาคม และโลจสิ ตกิ ส์ (จากสงิ คโปร์
และมาเลเซีย)

62

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ

องคก์ รเฉพาะสาขาภายใต้ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน
และหน่วยงานราชการไทยท่รี ับผดิ ชอบ

1. ASEAN Economic Ministers Meeting (AEM)
• High Level Task Force on ASEAN Economic Integration (HLTF-EI)

• Senior Economic Officials Meeting (SEOM)

หนว่ ยราชการไทยทร่ี บั ผิดชอบ : กระทรวงพาณชิ ย์

2. ASEAN Free Trade Area (AFTA) Council

หนว่ ยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงพาณิชย์

3. ASEAN Investment Area (AIA) Council ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC

หนว่ ยราชการไทยทร่ี ับผิดชอบ : สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการลงทนุ กระทรวงพาณิชย์

4. ASEAN Finance Ministers Meeting (AFMM)
• ASEAN Finance and Central Bank Deputies Meeting (AFDM)
• ASEAN Director-General of Customs Meeting (Customs DG)

หนว่ ยราชการไทยที่รบั ผิดชอบ : กระทรวงการคลัง

5. ASEAN Ministers Meeting on Agriculture and Forestry (AMAF)
• Senior Officials Meeting of the ASEAN Ministers on Agriculture and Forestry

(SOM-AMAF)

• ASEAN Senior Officials on Forestry (ASOF)

หน่วยราชการไทยทีร่ ับผดิ ชอบ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

6. ASEAN Ministers on Energy Meeting (AMEM)
• Senior Officials Meeting on Energy (SOME)

หนว่ ยราชการไทยทร่ี ับผดิ ชอบ : กระทรวงพลงั งาน

7. ASEAN Ministerial Meeting on Minerals (AMMin)
• ASEAN Senior Officials Meeting on Minerals (ASOMM)

หนว่ ยราชการไทยที่รบั ผิดชอบ : กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

8. ASEAN Ministerial Meeting on Science and Technology (AMMST)
• Committee on Science and Technology (COST)

หนว่ ยราชการไทยทร่ี บั ผิดชอบ : กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

9. ASEAN Telecommunications and Information Technology Ministers

Meeting (TELMIN)
• Telecommunications and Information Technology Senior Officials Meeting (TELSOM)

• ASEAN Telecommunication Regulators’ Council (ATRC)

หนว่ ยราชการไทยที่รบั ผิดชอบ : กระทรวง ICT สำนกั งาน กสทช.

10. ASEAN Transport Ministers Meeting (ATM)
• Senior Transport Officials Meeting (STOM)

หนว่ ยราชการไทยทร่ี บั ผิดชอบ : กระทรวงคมนาคม

11. Meeting of the ASEAN Tourism Ministers (M-ATM)
• Meeting of the ASEAN National Tourism Organisations (ASEAN NTOs)

หน่วยราชการไทยท่รี ับผิดชอบ : กระทรวงท่องเทีย่ วและกฬี า การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย

12. ASEAN Mekong Basin Development Cooperation (AMBDC)
• ASEAN Mekong Basin Development Cooperation Steering Committee (AMBDC SC)

• High Level Finance Committee (HLFC)

หนว่ ยราชการไทยที่รับผดิ ชอบ : สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

13. ASEAN Centre for Energy

หนว่ ยราชการไทยที่รบั ผิดชอบ : กระทรวงพลงั งาน

14. ASEAN-Japan Centre in Tokyo 63

หน่วยราชการไทยทรี่ บั ผิดชอบ : กระทรวงพาณิชย์



໇ÒËÁÒÂ
à¾Á¾Õ¤Ñ²×èÍǹãÒËÁҌͷàÍØÒ¡à×éÍ´«ÍŒÒÕ¹ҹ·àáûŵš¹Ð‹ÍÊÁ¡Ñ§Õ¤Ñ¹¤ÇÁÒÁÁ·Õ¤ÁÕèÁÇÑè¹ÕàÍÒ¤Á¡§àÀ»·ÒšÒ¹¾§ÍÊÂѧً´¤Õ Á

¡ÒþѲ¹ÒÁ¹ÉØ Â ʧ‹ àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÂèѧÂ×¹
´ŒÒ¹Ê§èÔ áÇ´ÅÍŒ Á
เนนการบูรณาการดานการศึกษา
สรา งสังคมความรู พฒั นาทรัพยากรมนษุ ย การจดั การปญหาส่งิ แวดลอ มของโลก
สง เสริมการจางงานทเ่ี หมาะสม ปญหามลพษิ ทางส่งิ แวดลอ มขามแดน
สงเสริม ICT การเปล่ียนแปลงทางสภาพภมู อิ ากาศ
สงเสรมิ การจัดการทางทรัพยากรธรรมชาติ

á¡ÅÒÃÐʤÇÁŒØ ÊѤ´Ã¡ÔÍÒ§ÃÊѧ¤Á Í¡ÒѵÃÅÊÑ¡ÃÉÒŒ ³§ ÍÒà«ÂÕ ¹

ขจัดความยากจน สรางเครอื ขา ย สรา งความรสู ึกเปนเจาของ
ความปลอดภยั ทางสงั คม อนรุ ักษม รดกทางวฒั นธรรมของ
สง เสรมิ ความมน่ั คง อาเซยี น และสง เสรมิ ความรูสึก
และความปลอดภยั ดา นอาหาร ของการเปนประชาคมอาเซียน
การควบคมุ โรคตดิ ตอ
ʤ¡ÒÇ·Ô ÃÒ¸ÁÊԷ‹§ÒµØ§àÊÊÔ¸ÃÃ§Ñ ÔÁäÁÁáÅÐ
¡ÒÃÅ´ªÍ‹ §Ç‹Ò§
¡ÒþѲ¹Ò คมุ ครองสทิ ธผิ ูดอ ยโอกาส
แรงงานยายถ่นิ ฐาน สง เสรมิ
เสรมิ สรางความรว มมอื เพ่ือลดชอ งวา ง ความรบั ผดิ ชอบตอสังคมขององคก รธรุ กิจ
การพฒั นาระหวางประเทศสมาชกิ เกา
6 ประเทศ และกลุม CLMV
(กัมพูชา ลาว เมียนมาร และเวียดนาม)

1. ภาพรวม

อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จาการรวมตัวกันเพื่อทำให้ประชาชนมีการอยู่ดีกินดี
ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มสี ่ิงแวดล้อมที่ดี มคี วามรสู้ กึ เป็นอันหน่ึงอันเดยี ว โดยมคี วามรว่ มมือ
เฉพาะดา้ น (Functional Cooperation) ภายใตป้ ระเดน็ เชงิ สงั คมและวฒั นธรรมทค่ี รอบคลมุ
ในหลายดา้ น ไดแ้ ก่ เยาวชน การศกึ ษา และการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ สทิ ธมิ นษุ ยชน สาธารณสขุ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สง่ิ แวดลอ้ ม สตรี แรงงาน การขจดั ความยากจน สวสั ดกิ ารสงั คม
และการพัฒนา วัฒนธรรมและสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเข้าเมืองและกงสุล
ยาเสพติด การจัดการภัยพิบัติ และสิทธิมนุษยชน โดยมีคณะทำงานอาเซียนรับผิดชอบ
การดำเนนิ ความรว่ มมอื ในแตล่ ะดา้ น
อาเซียนได้ตั้งเป้าหมายการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี
พ.ศ. 2558 โดยมงุ่ หวงั ใหอ้ าเซยี นเปน็ ประชาคมทม่ี ปี ระชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง มสี งั คมทเ่ี ออ้ื อาทร
และแบง่ ปนั ประชากรอาเซยี นมสี ภาพความเปน็ อยทู่ ด่ี แี ละมกี ารพฒั นาในทกุ ดา้ น เพอ่ื ยกระดบั
คุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริม
อตั ลักษณอ์ าเซียน (ASEAN Identity)
เพอ่ื รองรบั การเปน็ ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น อาเซยี นไดจ้ ดั ทำแผนงาน
การจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community
Blueprint) ซง่ึ ประกอบด้วยคุณสมบตั หิ ลกั ทีส่ ำคญั 6 ด้าน ไดแ้ ก่
1. การพฒั นามนษุ ย์ (Human Development)
2. การค้มุ ครองและสวัสดิการสงั คม (Social Welfare and Protection)
3. สทิ ธแิ ละความยตุ ิธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)
4. ความย่งั ยืนดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม (Environmental Sustainability)
5. การสรา้ งอัตลกั ษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity)
6. การลดชอ่ งว่างทางการพฒั นา (Narrowing the Development Gap)

66

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ

2. กลไกการดำเนนิ งานของประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY : ASCC
แบง่ เปน็ 3 ระดบั

คณะมนตรปี ระชาคมสงั คมและวฒั นธรรม (ASEAN Socio Cultural Community

Council : ASCC) มกี ารประชมุ ปลี ะครง้ั และรายงานผลความคบื หนา้ ในการดำเนนิ การตาม
แผนงาน ASCC ตอ่ ผนู้ ำในการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น ในสว่ นของประเทศไทย รฐั มนตรวี า่ การ
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์เป็นผแู้ ทนในคณะมนตรฯี

คณะกรรมการเจา้ หนา้ ทอ่ี าวโุ สดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม (SeniorOfficialsCommittee

for ASCC : SOCA) เป็นการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสซึ่งจัดขึ้นประมาณ 3 ครั้งต่อป ี
เพอ่ื ตดิ ตามความคบื หนา้ ในการดำเนนิ มาตรการตา่ งๆ ขององคก์ รเฉพาะดา้ น (Sectoral Bodies)
ใน ASCC ตามแผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และสรุปรายงานผล
การดำเนินการต่อคณะมนตรีฯ ในส่วนของประเทศไทย ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ เป็นผู้แทนไทยใน SOCA

องคก์ รเฉพาะสาขา (Sectoral bodies) มีหนา้ ที่จดั ทำแผนงานเพอ่ื ใหป้ ระเทศสมาชิก

อาเซยี นดำเนินการตามแผนงานจดั ตั้งประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน

STEP 3

STEP 1 STEP 2 SEAN
ocio
ͧ¤¡ Ã੾ÒÐÊÒ¢Ò enior ultural
fficials ommunity
ommittee for
SCC ¤³ÐÁ¹µÃ»Õ ÃЪҤÁ椄 ¤Á
áÅÐÇ²Ñ ¹¸ÃÃÁ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃà¨ÒŒ ˹Ҍ ·ÕÍè ÒÇâØ Ê
´ŒÒ¹Êѧ¤ÁáÅÐÇ²Ñ ¹¸ÃÃÁ

67

3. การดำเนนิ การทส่ี ำคญั
การศึกษา ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 15 ที่อำเภอหัวหิน จังหวัด

ประจวบคีรีขันธ์ เมื่อปี พ.ศ. 2553 ผู้นำอาเซียนได้ให้การรับรองปฏิญญาชะอำ - หัวหิน
ว่าด้วยการเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื อาเซยี นด้านการศึกษา (Cha-am Hua Hin Declaration
on Strengthening Cooperation on Education to Achieve ASEAN Caring and Sharing
Community) ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ กรอบการดำเนนิ งานดา้ นการศกึ ษาฉบบั แรกของอาเซยี น โดยเนน้
บทบาทของการศึกษาในการสร้างประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสาหลัก นอกจากนี้ ที่ประชุม
รัฐมนตรีศึกษาอาเซียน (ASEAN Education Ministers Meeting หรือ ASED) ครั้งที่ 6
ได้รับรองแผนงานด้านการศึกษา 5 ปี ของอาเซียน (ASEAN 5 - Year Work Plan on
Education 2011 - 2015) โดยกำหนดสาระสำคัญไว้ 5 ประการ คือ
1. การรว่ มมอื กันสร้างความตระหนักรู้ (Promoting ASEAN Awareness)
2. การเพมิ่ การเขา้ ถงึ การศกึ ษาในระดับประถมและมัธยมศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ
(Increasing Access to Quality Primary and Secondary Education)
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา เพิ่มมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมการเรียนร ู้
ตลอดชวี ติ และการพัฒนาสาขาอาชีพ
(Increasing Quality of Education - Performance Standards, Lifelong
Learning and Professional Development)
4. การสง่ เสรมิ การแลกเปลย่ี นดา้ นการขา้ มแดนและความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ
ด้านการศกึ ษา
(Strengthening Cross-Border Mobility and Internationalisation of Education)
5. การสนบั สนุนองคก์ รเฉพาะสาขาอ่ืนๆ
(Support for other ASEAN sectoral bodies with an interest in education

การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน มีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการระหว่าง

รัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on
Human Rights หรอื AICHR) เมื่อเดือนตลุ าคม พ.ศ. 2552 เพ่อื ส่งเสรมิ และปกป้องสิทธิ
มนษุ ยชนและเสรีภาพขัน้ พนื้ ฐาน ซ่ึงชว่ ยเกื้อหนุนกระบวนการสรา้ งประชาคมอาเซยี น
ปจั จบุ นั ดร. เสรี นนทสตู ิ รองเลขาธกิ ารมลู นธิ สิ ถาบนั วจิ ยั และพฒั นาองคก์ รภาครฐั
ดำรงตำแหน่งผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ ผู้นำอาเซียนได้ลงนามรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

68

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY : ASCC

(ASEAN Human Rights Declaration) ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21
ทก่ี รงุ พนมเปญ ประเทศกัมพูชา เม่อื เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ซึง่ ถอื เป็นเอกสารสำคัญ
ท่แี สดงเจตนารมณข์ องอาเซียนในการสง่ เสริมและคุ้มครองสิทธิมนษุ ยชน
นอกจากน้ี มกี ารจดั ตง้ั คณะกรรมาธกิ ารวา่ ดว้ ยการปกปอ้ งและสง่ เสรมิ สทิ ธขิ องสตรี
และเดก็ (ASEAN Commission for the Promotion and Protection of the Rights of
Women and Children หรือ ACWC) เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 เพื่อเป็นกลไก
ในการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนและเสรภี าพขน้ั พน้ื ฐานของสตรแี ละเดก็ ในอาเซยี น
โดยผแู้ ทนไทยใน ACWC คอื ดร. สายสรุ ี จตุ กิ ลุ (ดา้ นสทิ ธเิ ดก็ ) และ นางกานดา วชั โรทยั
(ด้านสิทธิสตรี) โดยปัจจุบัน นางกานดาฯ ดำรงตำแหน่งประธาน ACWC นอกจากนี้
ประเทศไทยยังได้ผลักดันให้มีการประกาศทศวรรษคนพิการอาเซียน (ค.ศ. 2011 - 2020)
เพื่อส่งเสริมความสามารถและศักยภาพของคนพิการ รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ของคนพกิ ารในสงั คมมากข้นึ

การจัดการภัยพิบัติ มีการลงนามข้อตกลงการจัดตั้งศูนย์การให้ความช่วยเหลือ

ดา้ นมนษุ ยธรรมของอาเซยี น ( ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance
on Disaster Management หรือ AHA Centre) ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน
ครั้งที่ 19 ที่เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็นกลไกความร่วมมือการจัดการ
ภัยพิบัติในภูมิภาค โดยมีการเปิดศูนย์ AHA Center ซึ่งตั้งอยู่ ณ กรุงจาการ์ตา
ประเทศอินโดนีเซีย อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 นอกจากนี้
ที่ประชุมฯ ยังได้ตกลงที่จะเพิ่มบทบาทให้กับเลขาธิการอาเซียนในการทำหน้าที่เป็น
ผปู้ ระสานงานความชว่ ยเหลอื ดา้ นมนุษยธรรม (Humanitarian Assistance Coordinator)

แรงงานขา้ มชาติ ผนู้ ำอาเซยี นไดล้ งนามในปฏญิ ญาอาเซยี นวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองและ

ส่งเสริมแรงงานต่างด้าว (ASEAN Declaration on the Protection and Promotion
of the Rights of Migrant Workers) เมือ่ วนั ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2550 ระหว่างการประชมุ
สดุ ยอดอาเซยี น ท่ีเมอื งเซบู ประเทศฟิลปิ ปนิ ส์ โดยมีการจดั ตัง้ คณะกรรมการอาเซยี นวา่ ด้วย
การปฏิบัติให้เป็นไปตามปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานต่างด้าว
(ASEAN Committee on the Implementation of the ASEAN Declaration on the
Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers : ACMW) เพ่อื กำกับ
ดูแลและติดตามการยกร่างตราสารอาเซียนว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงาน
ต่างด้าว ซึ่งมีกำหนดดำเนินการใหแ้ ลว้ เสร็จภายในปี พ.ศ. 2558

69

สง่ิ แวดลอ้ ม มีการจัดตั้งศูนย์อาเซียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (ASEAN

Centre for Biodiversity : ACB) เม่ือปี พ.ศ. 2548 ระหวา่ งการประชมุ รัฐมนตรอี าเซียน
ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการครง้ั ท่ี 9 ทป่ี ระเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ ทง้ั น้ี ศนู ย์ ACB มวี วิ ฒั นาการ
มาจาก ASEAN Regional Centre for Biodiversity Conservation (ARCBC) ซ่ึงได้รบั
การสนบั สนนุ ทางการเงนิ จากคณะกรรมมาธกิ ารยโุ รป (European Commission) การจดั ตง้ั
ACB แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของอาเซียนในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
ของความหลากหลายทางชีวภาพในภูมิภาคอาเซียน และความพยายามในการประสาน
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างประเทศสมาชิก
อาเซียน นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งกองทุนความหลากหลายทางชีวภาพแห่งอาเซียน
(ASEAN Biodiversity Fund) เพื่อใช้สำหรับสนับสนุนการดำเนินงานของ ACB ทั้งนี ้
ศนู ย์ ACB ตง้ั อยู่ ณ เมอื ง Los Banos ประเทศฟิลปิ ปนิ ส์

การสรา้ งอตั ลกั ษณอ์ าเซยี น ระหว่างดำรงตำแหน่งประธานอาเซียนเม่อื ปี พ.ศ. 2551

ประเทศไทยได้ริเริ่มการจัดการหารือระหว่างผู้นำอาเซียนกับภาคประชาชน เพื่อส่งเสริม
การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมต่อกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน และเป็นสังคม
ที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่อำเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้เห็นชอบกับข้อเสนอของประเทศไทยในการจัดตั้งสมาคม
อาเซยี น - ประเทศไทย (ASEAN Association - Thailand) เพอ่ื ชว่ ยส่งเสริมการดำเนนิ งาน
ของภาครัฐในการสร้างประชาคมอาเซียน และเป็นเวทีปฏิสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ สถาบัน
การศึกษา และภาคประชาชน รวมทั้งสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง
ของประชาชนเกีย่ วกบั อาเซียนและความร่วมมอื ในกรอบต่างๆ ของอาเซยี น
นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2551 อาเซียนได้จัดให้มีการประกวดเพลงประจำอาเซียน
ซึ่งเป็นการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามกฎบัตรอาเซียน บทที่ 40 ซึ่งระบุให้อาเซียนมีเพลง
ประจำอาเซียน โดยเพลง “The ASEAN Way” จากประเทศไทย ไดร้ ับการตัดสินให้เปน็
เพลงชนะเลิศ ซ่งึ เป็นผลงานการประพันธเ์ นื้อรอ้ งของ นายพยอม วลยั พัชรา และแต่งทำนอง
และเรียบเรียง โดยนายกิตติคุณ สดประเสริฐ ร่วมกับ นายสำเภา ไตรอุดม โดยอาเซียน
สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารใชเ้ พลงประจำอาเซยี น “The ASEAN Way” ในโอกาสและกจิ กรรมสำคัญ
เกี่ยวเนื่องกับอาเซียน และประเทศคู่เจรจา โดยมกี ารแปลเนื้อร้องเป็นภาษาต่างๆ เพื่อช่วย
เสริมสร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียน สร้างความรู้สึกนึกคิดและจิตสำนึก ค่านิยม และ
หลกั การร่วมกันในหมู่พลเมอื งอาเซยี น

70

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ

องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ประชาคมสังคมและวฒั นธรรมอาเซยี น
และหนว่ ยราชการไทยที่รับผดิ ชอบ

1. ASEAN Ministers Responsible for Information (AMRI)

• Senior Officials Meeting Responsible for Information (SOMRI)

หนว่ ยราชการไทยท่รี ับผิดชอบ : กรมประชาสัมพนั ธ์
2. ASEAN Ministers Responsible for Culture and Arts (AMCA)

• Senior Officials Meeting for Culture and Arts (SOMCA)

หนว่ ยราชการไทยทร่ี บั ผิดชอบ : กระทรวงวัฒนธรรม
3. ASEAN Education Ministers Meeting (ASED)

• Senior Officials Meeting on Education (SOM-ED) ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY : ASCC

หน่วยราชการไทยที่รบั ผิดชอบ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
4. ASEAN Ministerial Meeting on Disaster Management (AMMDM)

• ASEAN Committee on Disaster Management (ACDM)

หน่วยราชการไทยที่รับผดิ ชอบ : กระทรวงมหาดไทย
5. ASEAN Ministerial Meeting on the Environment (AMME)

• ASEAN Senior Officials on the Environment (ASOEN)

หน่วยราชการไทยท่ีรับผดิ ชอบ : กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
6. Conference of the Parties to the ASEAN Agreement on Transboundary

Haze Pollution (COP)
• Committee (COM) under the COP to the ASEAN Agreement on Transboundary Haze

Pollution

หน่วยราชการไทยทร่ี บั ผดิ ชอบ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
7. ASEAN Health Ministers Meeting (AHMM)

• Senior Officials Meeting on Health Development (SOMHD)

หน่วยราชการไทยที่รบั ผดิ ชอบ : กระทรวงสาธารณสุข

8. ASEAN Labour Ministers Meeting (ALMM)

• Senior Labour Officials Meeting (SLOM)

• ASEAN Committee on the Implementation of the ASEAN Declaration on the Protection

and Promotion of the Rights of Migrant Workers

หน่วยราชการไทยทร่ี ับผดิ ชอบ : กระทรวงแรงงาน
9. ASEAN Ministers on Rural Development and Poverty Eradication (AMRDPE)

• Senior Officials Meeting on Rural Development and Poverty Eradication (SOMRDPE)

หน่วยราชการไทยทร่ี บั ผดิ ชอบ : กระทรวงมหาดไทย
10. ASEAN Ministerial Meeting on Social Welfare and Development (AMMSWD)

• Senior Officials Meeting on Social Welfare and Development (SOMSWD)

หน่วยราชการไทยทร่ี บั ผดิ ชอบ : กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงมนุษย์
11. ASEAN Ministerial Meeting on Youth (AMMY)

• Senior Officials Meeting on Youth (SOMY)

หน่วยราชการไทยที่รบั ผดิ ชอบ : กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงมนุษย์
12. ASEAN Conference on :Cสivำiนl กัSงeาrนvicกe.พM. atters (ACCSM)

หน่วยราชการไทยทร่ี ับผิดชอบ

13. ASEAN Biodiversity Centre

หน่วยราชการไทยทร่ี ับผิดชอบ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
14. ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance in Disaster Management

(AHA Centre)

หน่วยราชการไทยที่รบั ผดิ ชอบ : กระทรวงมหาดไทย
1 5. ASหEน่วAยNราชEกaาrรtไทhยqทu่ีรaับผkดิ eชsอบInf:oกrmระaทtรiวoงnมCหาeดnไtทrยe
16. ASEAN Specialised Meteorological Centre

หน่วยราชการไทยทรี่ ับผดิ ชอบ : กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
1 7. ASหEน่วAยNราชUกnารivไทeยrทsร่ี iับtyผิดNชอeบtw:oกrkระ(ทAรUวงNศ)กึ ษาธกิ าร
18. ASEAN Ministerial Meeting on Sports (AMMS)
71
หนว่ ยราชการไทยทร่ี ับผิดชอบ : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา

ความคืบหนา้

ของการเตรียมพรอ้ มเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ในแต่ละด้าน

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซยี น

(กระทรวงการต่างประเทศเป็นหน่วยประสานงานหลัก โดยดำเนินงานร่วมกับ
หน่วยงานความมั่นคงอื่นๆ ของประเทศไทย คือ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย
และกระทรวงยตุ ิธรรม)

ภาพรวม ในปี พ.ศ. 2555 อาเซียนได้มีพัฒนาการที่ดีในการดำเนินการตามแผน

การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โดยมีการสร้างกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน
และความรว่ มมือกบั ต่างประเทศ อาทิ

72

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015

การจัดตั้งสถาบันอาเซียนเพอื่ สันติภาพและความสมานฉนั ท์
(ASEAN Institute of Peace and Reconciliation) อยา่ งเปน็ ทางการ มสี ำนักงานอย่ทู ี่
กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย มีภารกิจในการวิจัยและรับฟังความคิดเห็นเพื่อส่งเสริม
สนั ติภาพในภูมภิ าค และมีหนา้ ทใี่ นการไกล่เกลยี่ ข้อพิพาทระหว่างกันในอาเซียน
ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชน มกี ารจดั ทำปฏญิ ญาอาเซยี นวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชน (ASEAN
Human Rights Declaration : AHRD) นับเป็นเอกสารสำคัญด้านสิทธิมนุษยชน
ฉบับแรกของอาเซียน แสดงให้เห็นถึงมาตรฐานของอาเซียนในด้านการส่งเสริมและคุ้มครอง
สิทธิมนุษยชนให้กบั ประชาชนอาเซียน
ดา้ นการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ประเทศไทยมบี ทบาทสำคญั ในการเปน็ เจา้ ภาพ
จัดการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านยาเสพตดิ สมัยพิเศษ เมอ่ื วนั ท่ี 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2555
ซึ่งก่อนหน้านี้ไม่เคยมีการประชุมระดับรัฐมนตรี มีแต่การประชุมในระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส
เท่านั้น โดยที่ประชุมย้ำถึงความสำคัญที่จะทำให้อาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพติดภายในป ี
พ.ศ. 2558 ซง่ึ จะเขา้ สกู่ ารเปน็ ประชาคมอาเซยี น รวมถงึ การสกดั กน้ั การลกั ลอบขนยาเสพตดิ
ข้ามพรมแดน
ด้านการค้ามนุษย์ ประเทศไทยผลักดันให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการระดับ
ภูมิภาค (Regional Plan of Action) ควบคู่ไปกับการจัดทำอนุสัญญาอาเซียนว่าด้วย
การต่อต้านการค้ามนุษย์ (ASEAN Convention on Trafficking in Persons) เพื่อเป็น
กรอบความร่วมมอื ในการแกไ้ ขปัญหาการคา้ มนษุ ยใ์ นระดบั ภูมภิ าค
ประเด็นทะเลจีนใต้ อาเซียนยังเผชิญกับความท้าทายในการแก้ไขปัญหา
ดังกลา่ ว ประเทศไทยในฐานะประเทศผู้ประสานงานความสมั พนั ธอ์ าเซียน - จีน ได้ผลกั ดัน
ให้มีการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน - จีน เพื่อรักษาพลวัตการเจรจาที่สร้างสรรค์และ
พิจารณาแนวทางการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน - จีน ในด้านต่างๆ ที่จะเป็น
ผลประโยชน์ร่วมของทั้งสองฝ่าย รวมถึงการหารือแนวทางในการจัดทำแนวปฏิบัต ิ
ในทะเลจีนใต้ (Code of Conduct in the South China Sea) ซึ่งเป็นกระบวนการ
สรา้ งความไวเ้ น้อื เช่ือใจและการเจรจาหารอื ระหว่างประเทศทีเ่ กี่ยวข้อง

73

ในสว่ นการดำเนนิ การของประเทศไทย มพี ฒั นาการทส่ี ำคญั อาทิ

การจัดทำแนวปฏิบัติและแผนปฏิบัติการ 3 ปี (พ.ศ. 2556 - พ.ศ.2558)
ของกระทรวงกลาโหม เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มสกู่ ารเปน็ ประชาคมอาเซยี น โดยในปี พ.ศ. 2556
กระทรวงกลาโหมจะดำเนินกิจกรรมในด้านต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยเฉพาะการฝึก
ร่วมผสมกบั กลุ่มประเทศอาเซียน อาทิ ความมั่นคงทางทะเล การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
และบรรเทาภัยพิบัติ การแพทย์ทหาร การรักษาสันติภาพ และการต่อต้านการก่อการร้าย
เปน็ ต้น
การเสริมสร้างความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติ ซึ่งมีกรมป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยประสานหลักของประเทศ
และมหี นา้ ทเ่ี ปน็ ประธานคณะกรรมการอาเซยี นดา้ นการจดั การภยั พบิ ตั ิ (ASEAN Committee
on Disaster Management : ACDM) ดว้ ย
การจัดการฝึกซ้อมการบรรเทาภัยพิบัติภายใต้กรอบ ARF (ASEAN
Regional Forum Disaster Relief Exercise : ARF DiREx) โดยประเทศไทยและสาธารณรฐั
เกาหลี รว่ มกนั จดั ขน้ึ ในเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ทจ่ี งั หวดั เพชรบรุ ี เพอ่ื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ
ในการเตรียมความพร้อมของไทยร่วมกับประเทศสมาชิก ARF ในการจัดการกับภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติ และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหารในการจัดการ
ภัยพิบัติ และสร้างเครือข่ายกับประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ ซึ่งมีความก้าวหน้า
ดา้ นการบริหารจัดการภัยพบิ ัติ

74

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015

ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น

(กระทรวงพาณิชย์เป็นหน่วยประสานงานหลัก โดยดำเนินงานร่วมกับหน่วยงาน
ด้านเศรษฐกจิ อนื่ ๆ ของประเทศไทย อาทิ กระทรวงการคลงั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงพลังงาน และกระทรวงการท่องเที่ยวและ
กีฬา เปน็ ต้น)

ภาพรวม อาเซียนมีพัฒนาการในการดำเนินการตามแผนการจัดตั้งประชาคม

เศรษฐกจิ อาเซยี น อาทิ

ปัจจุบันอาเซียนอยู่ระหว่างการจัดทำตัวชี้วัดผลการดำเนินงานตามแผน
การจดั ต้งั ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC Scorecard) ระยะที่ 3 (ปี พ.ศ. 2555 - 2556)
ซึ่งประเทศไทยสามารถดำเนินการไปได้ร้อยละ 84.6 และอยู่ระหว่างการดำเนินการปรับ
มาตรฐานและความสอดคล้องในเรื่องพิกัดศุลกากร การอำนวยความสะดวกทางการค้า
ระบบการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตัวเอง มาตรฐานของ SME และการจัดทำ
ระบบขอ้ มูลศลุ กากรทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ณ จุดเดยี ว หรือ “ASEAN Single Window”

อาเซียนประสบความสำเร็จในการจัดทำความตกลงอาเซียนว่าด้วย
การเคลอ่ื นยา้ ยบุคคลธรรมดา (ASEAN Agreement on the Movement of Natural
Persons) ได้ตามเปา้ หมายท่กี ำหนดไว้ในปี พ.ศ. 2555 เพอื่ สง่ เสริมและอำนวยความสะดวก
ให้เกิดการเคลื่อนย้ายบุคลากรที่ประสงค์จะให้บริการในประเทศสมาชิกในสาขาที่เกี่ยวกับ
การคา้ สินค้า การค้าบริการ และการลงทนุ โดยข้อผูกพนั ของไทยจะอนญุ าตให้มกี ารเคล่ือน
ยา้ ยบคุ ลากร2ประเภทคอื ผเู้ ยย่ี มเยอื นทางธรุ กจิ (BusinessVisitor)และผโู้ อนยา้ ยภายในบรษิ ทั
(Intra - Corporate Transferee) โดยครอบคลมุ การเคล่ือนยา้ ยบุคลากรใน 25 สาขา อาทิ
บริการวิศวกรรม บริการคอมพิวเตอร์ บริการวิจัยและการพัฒนา บริการด้านการเงิน
บริการด้านโทรคมนาคม บริการดา้ นสขุ ภาพ และบริการดา้ นโรงแรม เปน็ ตน้

75

การดำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยการค้าบริการ (ASEAN
Framework Agreement on Trade in Services : AFAS) อาเซยี นได้ผูกพนั เปิดเสรีการค้า
บรกิ ารชุดท่ี 8 แล้วเม่อื เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2555 โดยนักลงทนุ อาเซียนสามารถมหี ุ้นสว่ น
ของผู้ถือหุ้นต่างชาติได้ไม่เกินร้อยละ 70 ในสาขาบริการ อาทิ บริการด้านวิชาชีพ
บริการด้านคอมพิวเตอร์ บริการด้านโทรคมนาคม บริการด้านการวิจัยและการพัฒนา
บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ บริการด้านการก่อสร้าง บริการด้านการจัดจำหน่าย บริการ
ดา้ นการศกึ ษา บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ บรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว บรกิ ารดา้ นนนั ทนาการและกฬี า
เปน็ ตน้ ทง้ั นี้ ในบางสาขาอาจเป็นการเปิดเสรเี ฉพาะบางสาขายอ่ ย (Sub - Sector) และมอี กี
2 - 3 สาขาทเ่ี ปดิ ใหผ้ ถู้ อื หนุ้ เปน็ ชาวตา่ งชาตไิ มเ่ กนิ รอ้ ยละ 51 อาทิ บรกิ ารดา้ นการขนสง่ ทางนำ้
ทางรถไฟ และทางอากาศ นอกจากนี้ ยังมีเงื่อนไขว่าจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายในแต่ละ
สาขาด้วย

การจดั ทำข้อตกลงยอมรับรว่ ม (Mutual Recognition Agreement : MRA)
เพ่อื อำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายแรงงานวชิ าชพี นน้ั ปัจจุบนั อาเซียนไดจ้ ดั ทำ MRA
แลว้ 7 สาขาวชิ าชพี ไดแ้ ก่ แพทย์ ทนั ตแพทย์ พยาบาล วศิ วกรรม สถาปัตยกรรม นักบญั ชี
และชา่ งสำรวจ และ 1 สาขาบรกิ าร คือ บรกิ ารการท่องเท่ยี ว ประเทศไทยไดล้ งนาม MRA
ในสาขาการบรกิ ารการทอ่ งเท่ียวแลว้ เมื่อเดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2555

พัฒนาการที่สำคัญยิ่งในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 เมื่อเดือน
พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 คือ การที่ผู้นำอาเซียน 10 ประเทศ กับผู้นำจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้
ออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนด์ และอนิ เดยี ประกาศใหม้ กี ารเรม่ิ เจรจาการเปน็ หนุ้ สว่ นทางเศรษฐกจิ
อย่างรอบด้านในภมู ิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP)
โดยจะเริ่มการเจรจาในต้นปี พ.ศ. 2556 เพื่อให้บรรลุผลได้ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นปีที่จะ
เขา้ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน ทง้ั น้ี โดยเหน็ วา่ RCEP จะช่วยปรบั ให้ FTA ระหวา่ งอาเซยี น
กบั ท้ัง 6 ประเทศดงั กลา่ ว มกี ฎระเบียบทสี่ อดคล้องกัน

76

กรมอาเซยี น กระทรวงการต่างประเทศ TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015

ในสว่ นการดำเนนิ การของประเทศไทย มพี ฒั นาการทส่ี ำคญั อาทิ

การจัดทำมาตรฐานสินค้าเกษตรและอินทรีย์ อาทิ ผกั ผลไม้อาเซยี น จำนวน
28 รายการ และอยู่ระหว่างการจัดตั้งกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเพื่อศึกษาและปรับปรุงกฎหมาย
เกี่ยวกับสินค้าเกษตรและสินค้าประมง เพื่อให้สอดคล้องกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซยี น รวมถงึ การจดั สมั มนาสรา้ งความตระหนกั รใู้ หแ้ กเ่ กษตรกรไทยโดยเฉพาะการจดั แสดง
และจำหน่ายสินค้าของกลุ่มสหกรณ์ และการเชื่อมโยงเครือข่ายเรื่องการตลาดของสินค้า
เกษตร ซง่ึ เปน็ หนง่ึ ในเรอ่ื งทร่ี ฐั มนตรอี าเซยี นดา้ นการเกษตรและป่าไมไ้ ดต้ กลงกนั โดยเฉพาะ
การขบั เคล่ือนกลมุ่ สหกรณ์ และในการประชุมรัฐมนตรอี าเซียน+3 ด้านการเกษตรและปา่ ไม้
(ASEAN+3 Ministers Meeting on Agriculture and Forestry : AMAF+3) เมอ่ื เดอื นกนั ยายน
พ.ศ. 2555 ทป่ี ระเทศลาว ประเทศไทยไดเ้ สนอเปน็ เจา้ ภาพในการจดั ตง้ั สำนกั งานเลขานกุ าร
โครงการสำรองขา้ วฉกุ เฉนิ ของอาเซยี น+3 (ASEAN Plus Three Emergency Rice Reserve :
APTERR) และได้รับฉันทามติจากที่ประชุมฯ แล้ว และกำลังอยู่ระหว่างการดำเนินการ
เกย่ี วกบั กระบวนการภายใน เพอ่ื หาแนวทางรองรบั สถานะของสำนกั งานเลขานกุ าร APTERR
การลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วม (MRA) เพื่ออำนวยความสะดวกในการ
เคลื่อนย้ายแรงงานมีทักษะในสาขาการบริการการท่องเที่ยวเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2555 และพฒั นาการการเตรยี มความพรอ้ มในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื รองรบั การเคลอ่ื นยา้ ย
แรงงานมที ักษะในสาขาบริการการทอ่ งเทย่ี ว อาทิ การจดั ต้ังคณะกรรมการบคุ ลากรวิชาชพี
ท่องเที่ยวแห่งชาติ และการจัดตั้งคณะกรรมการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว
รวมถงึ การจดั ทำหลกั สตู รฝกึ อบรมและสอ่ื การเรยี นรใู้ นลกั ษณะตา่ งๆ รวมถงึ มาตรฐานสำหรบั
32 วชิ าชพี
การเตรยี มความพรอ้ มในการอำนวยความสะดวกในการเคลอ่ื นยา้ ยแรงงาน
มที ักษะใน 7 สาขาวชิ าชีพและ 1 การบรกิ ารของกระทรวงแรงงาน ท่ีผา่ นมา มีการประชุม
ระดมความเห็นเพื่อประเมินว่าการเคลื่อนย้ายแรงงานมีทักษะจะมีผลกระทบต่อคนไทย
และต่อการแข่งขันของประเทศไทยในด้านแรงงานมีทักษะอย่างไร ซึ่งสรุปผลได้ว่ายังไม่มี
ผลกระทบมากนัก เนื่องจากแต่ละสาขาวิชาชีพยังมีสภาวิชาชีพของไทยคอยกำกับดูแลอยู่
นอกจากนี้ ยังมีการดำเนินการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับผลกระทบจากการเคลื่อนย้าย
แรงงานดว้ ย

77

การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันด้านการค้าสินค้า บริการ และ
การลงทุน โดยกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีได้จัดทำแผนงาน 4 ดา้ นสำคัญ ได้แก่
• การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลังงาน
ทดแทน
• การพฒั นาศกั ยภาพดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมของผปู้ ระกอบการ SME
เพือ่ เขา้ สู่การเป็นประชาคมอาเซยี น
• การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ดว้ ยการวจิ ยั และพฒั นา รวมถงึ การถา่ ยโอน
เทคโนโลยี
• การพัฒนาปรับปรงุ มาตรฐานสินคา้ ด้วยการทดสอบทางหอ้ งปฏิบตั ิการ
การดำเนินการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในส่วนของ
ICT ตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอาเซียน (ASEAN ICT
Masterplan 2015 : AIM 2015) โดยโครงการทปี่ ระเทศไทยรับผิดชอบ ได้แก่ การจดั ทำ
มาตรฐานและนิยามทักษะบุคลากรด้าน ICT อาเซยี น (ASEAN ICT Skills Standard and
Definition) และการจัดทำแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อาเซียน
(ASEAN e - Government Strategic Action Plan) โดยประเทศไทยให้ความสำคัญ
กบั การวางโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ น ICT รวมทง้ั การจดั สมั มนาเพอ่ื เผยแพรก่ ารเปดิ ตลาดการคา้
บริการในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และโครงการ Smart Thailand
เป็นต้น

78

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015

ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น

(กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ เป็นหน่วยประสานงานหลัก
โดยดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานด้านสังคมและวัฒนธรรมอื่นๆ ของประเทศไทย อาทิ
กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงสาธารณสขุ และสำนกั งาน กพ. เปน็ ตน้ )

ภาพรวม อาเซียนมีพัฒนาการในการดำเนินการตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคม

และวฒั นธรรมอาเซียนหลายดา้ น อาทิ
การจดั ทำตวั ชว้ี ดั ผลการดำเนนิ งานตามแผนการจดั ตง้ั ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Scorecard) โดยจะนำมาใช้ในการประเมินผลในเดือน
มิถุนายน พ.ศ. 2556
การจัดตั้งกลไกใหม่ ได้แก่ รัฐมนตรีอาเซียนด้านกีฬาซึ่งจะมีการประชุม
เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2556 และรัฐมนตรีอาเซียนด้านสตรีซึ่งมีการประชุมครั้งแรกไปแล้ว
เม่ือเดือนตลุ าคม พ.ศ. 2555
การจัดทำเอกสารคู่มือหลักสูตรอาเซียน ในการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน
ดา้ นการศกึ ษา (ASEAN Ministers Meeting on Education) ครั้งท่ี 7 เม่อื เดอื นกรกฎาคม
พ.ศ. 2555 ได้ออกเอกสารคู่มือหลักสูตรอาเซียน (ASEAN Curriculum Sourcebook)
เพอ่ื ใหป้ ระเทศสมาชกิ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั หลกั สตู รการเรยี นการสอนระดบั ประถมศกึ ษา
และมัธยมศึกษาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และให้เยาวชนเรียนรู้อาเซียนและประเทศ
สมาชิกในแง่มุมต่างๆ เพ่อื เตรียมความพรอ้ มสูก่ ารเปน็ ประชาคมอาเซียน
นอกจากนี้ ประเทศสมชิกอาเซียนได้รับรองแผนงานด้านการศึกษา 5 ปี
(ASEAN 5 - Year Work Plan on Education 2011 - 2015 ) ซง่ึ เปน็ แนวทางความรว่ มมอื
อาเซียนดา้ นการศกึ ษา มีสาระสำคัญ 5 ประการ คือ
1. การร่วมมือกันสร้างความตระหนกั รู้ (Promoting ASEAN Awareness)
2. การเพ่ิมการเขา้ ถึงการศึกษาในระดบั ประถมและมัธยมศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพ
(Increasing Access to Quality Primary and Secondary Education)

79

3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา เพิ่มมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้
ตลอดชีวิต และการพัฒนาสาขาอาชพี (Increasing Quality of Education - Performance
Standards, Lifelong Learning and Professional Development)
4. การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนด้านการข้ามแดนและความร่วมมือระหว่างประเทศ
ดา้ นการศกึ ษา (Strengthening Cross - Border Mobility and Internationalisation of
Education)
5. การสนบั สนนุ องค์กรเฉพาะสาขาอน่ื ๆ (Support for other ASEAN sectoral
bodies with an interest in education)
การสง่ เสรมิ บทบาทของภาคประชาสงั คม โดยการจดั ตง้ั GO - NGO Forum
ซึ่งเป็นข้อริเริ่มของประเทศไทยเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการ
ขับเคลื่อนและผลักดันการดำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซยี น
นอกจากน้ี ยงั มกี ารจดั ตง้ั กลไกดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนทด่ี แู ลสทิ ธสิ ตรแี ละสทิ ธเิ ดก็
คือ คณะกรรมาธิการอาเซยี นวา่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ และคมุ ครองสิทธสิ ตรแี ละสทิ ธเิ ดก็ (ASEAN
Commission on the Promotion and Protection of the Rights of Women and
Children : ACWC)

ในสว่ นการดำเนนิ การของประเทศไทย มพี ฒั นาการทส่ี ำคญั อาทิ

ประเทศไทยได้ผลกั ดันให้หลักประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ (Universal Health
Coverage : UHC) เป็นวาระสำคัญของการประชุมรัฐมนตรีสาธารณสุขอาเซียน (ASEAN
Health Ministerial Meeting : AHMM) ครั้งที่ 11 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อสร้างระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าทั่วภูมิภาคอาเซียนซึ่งจะมีผลให้ประชาชนของแต่ละ
ประเทศสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม และลดผลกระทบ
ในบรเิ วณชายแดนท่ีมกี ารข้ามพรมแดนมารับการรักษาในประเทศไทย
การกำหนดยทุ ธศาสตรก์ ารศกึ ษา เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคม
อาเซียนและความคืบหน้าในการสร้างระบบถ่ายโอนหน่วยกิต ซึ่งดำเนินการโดยเครือข่าย
มหาวิทยาลัยอาเซยี น (ASEAN University Network : AUN) ทง้ั น้ี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

80

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015

ไดก้ ำหนดยทุ ธศาสตร์การเขา้ สูป่ ระชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2546 - 2561 5 ด้าน ซ่งึ สอดคล้อง
กบั นโยบายของรัฐบาล ประกอบด้วย
• การใหค้ วามสำคญั กบั การศกึ ษา
• การลงทนุ ในการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์
• การส่งเสรมิ การจ้างงานที่เหมาะสม
• การส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ
• การอำนวยความสะดวกในการเขา้ ถงึ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ชงิ ประยกุ ต์
การพัฒนาองค์ความรู้และการจัดการความรู้ทางด้านมรดกวัฒนธรรมและ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมในอาเซียน โดยเผยแพร่องค์ความรู้ดงั กลา่ วผา่ นสอ่ื ตา่ งๆ
รวมถงึ การพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานดา้ นวฒั นธรรม ทั้งในระดับผู้บริหาร
ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ผเู้ ชย่ี วชาญ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ศลิ ปนิ พน้ื บา้ น ชา่ งหตั ถกรรม นกั เรยี น นกั ศกึ ษา
เยาวชน และประชาชน เป็นต้น ทั้งนี้ การดำเนินงานของไทยภายใต้ประชาคมสังคม
และวฒั นธรรม มี 3 ระดบั ได้แก่ ระดบั จังหวัด ระดบั ประเทศ และระดับภมู ภิ าค
การกำหนดให้ปี ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556) เป็นปี ASEAN Sports Industry
Year โดยประเทศสมาชิกอาเซียนจะร่วมกันจัดกิจกรรมเพื่อเฉลิมฉลอง โดยการกีฬา
แหง่ ประเทศไทย ซง่ึ เปน็ หนว่ ยประสานงานหลกั ในการจดั กจิ กรรม แสดงความสนใจทจ่ี ะเพม่ิ
กีฬาประเภทตะกร้อหรือมวยในอนาคต เนื่องจากเป็นกีฬาที่ประเทศสมาชิกอาเซียน
มีความเชี่ยวชาญ
การพฒั นาชนบทและขจัดความยากจน ซ่ึงมกี รมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวง
มหาดไทย ซง่ึ เปน็ หนว่ ยประสานงาน กำหนดจดั โครงการตา่ งๆ อาทิ การแสดงและจำหนา่ ย
ผลิตภัณฑ์ในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระหว่างประเทศไทยกับประเทศ
สมาชิกอาเซียน โครงการพัฒนาทีมวิทยากรโดยให้ตัวแทนชุมชนมารับความรู้จากส่วนกลาง
แล้วนำไปขยายผลต่อในชุมชน โครงการถ่ายทอดวีดีทัศน์ทางไกลจากส่วนกลางไปยัง
ศาลากลางจังหวัดในจงั หวัดต่างๆ และการจัดตง้ั ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารร่วมกลุ่มจังหวดั (Regional
Cooperation Center : RCC) ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากที่สนใจและมีความพร้อม
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนและประชาคมอาเซียนแก่จังหวัดและกลุ่ม
จงั หวดั ตา่ งๆ เปน็ ตน้

81

AUS»‚ T¾R.È.A2L5I1A7 »C‚ H¾.IÈN. 2A534

UN C»‚ A¾N.È.A2D52A0

»‚ ¾.È. 2520

USA EU

»‚ ¾.È. 2520 »‚ ¾.È. 2520

RUSSIA »‚ ¾I.NÈ. D25I3A5

»‚ ¾.È. 2539

NEW ZEALAND JAPAN

»‚ ¾.È. 2518 »‚ ¾.È. 2516

ROK

»‚ ¾.È. 2532

82

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ

External Relations ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS

IndiaASEAN’s

Brunei

83

ASEAN - AUSTRALIA

อาเซยี น - ออสเตรเลยี

ออสเตรเลยี เปน็ ประเทศคเู่ จรจาประเทศแรกของอาเซยี น โดยออสเตรเลยี ไดส้ ถาปนา
ความสมั พนั ธ์กบั อาเซยี นในปี พ.ศ 2517 (ค.ศ. 1974) และจะมคี วามสมั พนั ธ์ครบรอบ 40 ปี
ในปี พ.ศ 2557 (ค.ศ. 2014) ออสเตรเลียและอาเซยี นดำเนนิ ความสมั พันธ์กนั อย่างราบรน่ื
มีการปรับเปลี่ยนลำดับความสำคัญของความร่วมมือในสาขาต่างๆ ไปตามพัฒนาการ
ทางเศรษฐกิจและความจำเป็นอื่นๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของทั้งสองฝ่าย ปัจจุบัน
ความสัมพันธ์อาเซียน - ออสเตรเลีย ครอบคลุมความร่วมมือด้านการเมือง ความมั่นคง
เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม

ในด้านการเมืองและความมั่นคง ออสเตรเลียเข้าเป็นภาคีความตกลงสนธิสัญญา

มิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and
Cooperation : TAC) ในปี พ.ศ. 2548 และได้ร่วมรับรองเอกสารแผนงานโครงการ
ในการปฏิบัติตามปฏิญญาร่วมอาเซียน - ออสเตรเลีย เพื่อต่อต้านการก่อการร้ายสากล
(ASEAN - Australia Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism)

ในด้านเศรษฐกิจ อาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ได้ลงนามความตกลง

เพอ่ื จดั ตง้ั เขตการคา้ เสรอี าเซยี น - ออสเตรเลยี - นวิ ซแี ลนด์ (ASEAN - Australia - New Zealand
Free Trade Agreement : AANZFTA) เม่ือปี พ.ศ. 2552 ส่งผลใหก้ ารค้าสนิ คา้ ระหว่าง
อาเซยี นกบั ออสเตรเลยี ในปี พ.ศ. 2554 เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 23.02 จากปี พ.ศ. 2553 มมี ูลคา่ รวม

84

กรมอาเซยี น กระทรวงการต่างประเทศ ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS

70,789.20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยอาเซียนได้ดุลการค้าออสเตรเลียเป็นมูลค่า 15,387.62
ลา้ นดอลลารส์ หรฐั (อาเซยี นสง่ สนิ คา้ ไปยงั ออสเตรเลยี เปน็ มลู คา่ 43,088.41 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั
และออสเตรเลยี สง่ สนิ คา้ ไปยงั อาเซยี นเปน็ มลู คา่ 27,700.79 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ) ออสเตรเลยี
จะเข้าร่วมการเจรจาจัดทำความตกลงพันธมิตรทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional
Comprehensive Economic Partnership : RCEP) ซึ่งอาเซียนจะเริ่มการเจรจาในปี
พ.ศ. 2556 ด้วย

ในด้านความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ออสเตรเลียกับอาเซียนมีความร่วมมือด้าน

การศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัยในเครือข่าย ASEAN University Network : AUN โดยม ี
โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างอาเซียนและออสเตรเลียในปี พ.ศ. 2554 มีนักศึกษา
จากออสเตรเลียสู่ประเทศสมาชิกอาเซียน 239 คน และจากประเทศสมาชิกอาเซียนสู่
ออสเตรเลยี 61 คน นอกจากนั้น ในเรื่องการจัดการภัยพิบัติ ออสเตรเลียประกาศให้การ
สนบั สนนุ การดำเนนิ การ ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency
Response (AADMER) และ ASEAN Coordinating Center for Humanitarian Assistance
on Disaster Management (AHA Center) เป็นเงนิ จำนวน 2 ลา้ นดอลลารอ์ อสเตรเลีย
นอกจากนั้น ในคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ (ASEAN Committee on
Disaster Management : ACDM) ออสเตรเลียยังเป็นคณะทำงาน Working Group
เพ่อื พิจารณาความเชือ่ มโยงระหว่าง ASEAN Agreement on Disaster Management and
Emergency Response (AADMER) Work Program และ EAS Work Plan on Disaster
Management
ออสเตรเลยี ใหค้ วามชว่ ยเหลอื อาเซยี นในดา้ นการพฒั นาภายใต้ ASEAN - Australia
Development Cooperation Program (AADCP) โดยในระยะแรก (ปี พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2551)
มีมูลค่าความช่วยเหลือประมาณ 45 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย และในระยะที่สอง
(ปี พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2558) ออสเตรเลยี มีเป้าหมายจะขยายความชว่ ยเหลือใหแ้ ก่อาเซียน
เป็นเงิน 57 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย และได้ตัดสินใจขยายระยะเวลากรอบความร่วมมือ
AADCP II ออกไปจนถงึ ปี พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019)

85

ASEAN - CANADA

อาเซยี น - แคนาดา
1. ภมู หิ ลงั

ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนและแคนาดาเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในปี
พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) แต่ได้ประสบภาวะชะงักงันนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 (1997)
เมื่ออาเซียนรับเมียนมาร์เข้าเป็นสมาชิก ซึ่งแคนาดาไม่ประสงค์ให้เมียนมาร์เข้าเป็นภาค ี
ความตกลงวา่ ด้วยความร่วมมือดา้ นเศรษฐกิจฯ หลังจากนนั้ ไดม้ ีความพยายามหาทางรื้อฟน้ื
ความสัมพันธ์ฯ จนกระทง่ั ในวนั ท่ี 19 มกราคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ทง้ั สองฝา่ ยเหน็ ชอบ
ใหจ้ ดั การประชมุ ASEAN - Canada Dialogue ครง้ั แรก ซง่ึ นบั เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการกลบั มา
ดำเนินความสมั พันธร์ ะหว่างกนั อกี คร้ัง
ทป่ี ระชมุ รฐั มนตรตี า่ งประเทศอาเซยี น (Post Ministerial Conference - PMC+1)
กบั แคนาดา เมอ่ื วนั ท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ณ ประเทศสงิ คโปร์ ไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบปฏญิ ญา
ร่วมว่าด้วยความเปน็ หุน้ สว่ นท่เี พิ่มพนู ระหวา่ งอาเซยี นกับแคนาดา (Joint Declaration on
the ASEAN - Canada Enhanced Partnership) ซึ่งเป็นแผนแม่บทในการดำเนิน
ความสัมพันธ์ระหว่างกันในอนาคต โดยประเทศไทยทำหน้าที่ประเทศผู้ประสานงาน
(Country Coordinator) ความสมั พนั ธอ์ าเซยี น - แคนาดา ระหวา่ งเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2552-
กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ปัจจุบัน ประเทศสิงคโปร์ทำหน้าที่เป็นประเทศผู้ประสานงาน
ความสมั พนั ธอ์ าเซยี น - แคนาดา ระหวา่ งเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2555 - กรกฎาคม พ.ศ. 2558

86

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS

ทป่ี ระชมุ PMC+1 กบั แคนาดา เมอ่ื วนั ท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ณ กรงุ ฮานอย
ประเทศเวียดนาม ได้ให้การรับรองอย่างเป็นทางการต่อแผนปฏิบัติการเพื่อดำเนินการ
ใหเ้ ป็นไปตามปฏญิ ญาร่วมฯ (Plan of Action to Implement the Joint Declaration on
the ASEAN - Canada Enhanced Partnership 2010 - 2015 ) เพอ่ื เปน็ แนวทางในการ
ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันไปอีก 5 ปี (พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2558) ซึ่งสอดคล้องกับ
แผนการสร้างประชาคมอาเซียนภายในปี ค.ศ. 2015 นอกจากนี้ แคนาดาได้ภาคยานุวัติ
สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and
Cooperation in Southeast Asia : TAC) ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของแคนาดา
ต่อการส่งเสรมิ สนั ตภิ าพและความมัน่ คงในภูมิภาค

2. กลไกความรว่ มมอื

การประชมุ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน - แคนาดา (PMC+1)
อาเซียนได้จดั การประชุม PMC+1 กับแคนาดาครง้ั ลา่ สดุ เม่อื วันท่ี 22 กรกฎาคม
พ.ศ. 2554 ณ เมอื งบาหลี ประเทศอินโดนีเซยี
การประชมุ ASEAN - Canada Dialogue
แคนาดาได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ASEAN - Canada ครั้งที่ 8 ซึ่งเป็น
การประชุมระดบั เจา้ หน้าทีอ่ าวุโส ระหว่างวนั ที่ 2 - 3 มถิ ุนายน พ.ศ. 2554 ทีน่ ครแวนคเู วอร์
โดยที่ประชุมได้ทบทวนพัฒนาการที่สำคัญทั้งในอาเซียนและแคนาดา และความคืบหน้า
ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับแคนาดา รวมทั้งหารือและแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นในประเด็นทางยุทธศาสตร์ทั้งในด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ
ประเด็นปัญหาท้าทายอื่นๆ ในภูมิภาค และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาต่างๆ นอกจากนี ้
แคนาดายังได้ริเริ่มจัดการหารือกับภาคเอกชนและวิชาการของแคนาดาเกี่ยวกับแนวทาง
การขยายความร่วมมืออาเซียน - แคนาดา ภายหลังจากการประชุม ASEAN - Canada
Dialogue ครั้งที่ 8 ด้วย

87

ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ASEAN - Canada Dialogue ครั้งที่ 9 ซึ่งเป็น
การประชมุ ระดบั เจา้ หนา้ ทอ่ี าวโุ สประจำปี ระหวา่ งวนั ท่ี 7 - 8 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2555 ทก่ี รงุ เทพฯ
โดยการประชุม ASEAN - Canada Dialogue ครั้งที่ 10 จัดขึ้นที่นครโตรอนโต ระหว่าง
วันท่ี 6 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
ASEAN - Canada Joint Coordination Committee (JCC)
อาเซยี นและแคนาดาไดจ้ ดั การประชมุ ASEAN - Canada Informal Coordinating
Mechanism (ICM) คร้งั ท่ี 6 ซ่งึ เปน็ การประชมุ ในระดบั เอกอคั รราชทูตผแู้ ทนถาวรประจำ
อาเซียน เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ณ สำนักเลขาธิการอาเซียน กรุงจาการ์ตา
เพอ่ื ตดิ ตามพฒั นาการในอาเซยี นและแคนาดา รวมทง้ั ความสมั พนั ธแ์ ละกจิ กรรมความรว่ มมอื
ในดา้ นตา่ งๆ ระหวา่ งอาเซยี นและแคนาดา ทง้ั น้ี ทป่ี ระชมุ ฯ ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบใหป้ รบั กลไก ICM
เปน็ กลไกทางการโดยใชช้ อ่ื ใหมว่ า่ ASEAN - Canada Joint Coordination Committee (JCC)
โดยจะยงั คงเป็นการประชมุ ระดับเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรฯ เช่นเดยี วกับ ICM และจะจดั
การประชมุ JCC ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2556

3. ทา่ ทขี องแคนาดา

แคนาดาได้เน้นการให้ความร่วมมือแก่อาเซียนในการดำเนินงานด้านต่างๆ ได้แก่
สทิ ธมิ นษุ ยชน โดยสนบั สนนุ การดำเนนิ งานของ ASEAN Intergovernmental Commission
on Human Rights (AICHR) และ ASEAN Commission for the Promotion and
Protection of the Rights of Women and Children (ACWC) อย่างตอ่ เน่ือง การตอ่ ตา้ น
การก่อการร้ายและอาญชากรรมข้ามชาติ โดยเฉพาะการต่อต้านการลักลอบขนคนเข้าเมือง
การสง่ เสรมิ การคา้ การลงทนุ ความรว่ มมอื ดา้ นสาธารณสขุ โดยเนน้ เรอ่ื งการเตรยี มความพรอ้ ม
เพอ่ื รบั มอื กบั โรคระบาด เปน็ ตน้ อยา่ งไรกด็ ี ประเดน็ ความรว่ มมอื อน่ื ๆ ทป่ี ระเทศสมาชกิ อาเซยี น
ไดเ้ นน้ ยำ้ และผลกั ดนั ไดแ้ ก่ การเสรมิ สรา้ งความเชอ่ื มโยง การศกึ ษาและการพฒั นาทรพั ยากร
มนุษย์ รวมท้งั การฝึกอบรมภาษาอังกฤษ กิจกรรม Inter - Faith Dialogue และ การบรหิ าร
จดั การภยั พบิ ัติ
ปัจจุบัน แคนาดาให้ความสนใจพัฒนาการในอาเซียนมากขึ้น รวมทั้งติดตาม
พัฒนาการของสถาปตั ยกรรมในภมู ภิ าคเอเชียท่มี ีอาเซยี นเปน็ แกนกลาง ท้งั นี้ ความสัมพนั ธ์

88

กรมอาเซยี น กระทรวงการต่างประเทศ

อาเซียน - แคนาดา ในชว่ ง 3 - 4 ปีทผ่ี า่ นมา มพี ฒั นาการเชงิ บวกท่สี ่งสัญญาณว่าแคนาดา ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
นา่ จะมคี วามรว่ มมอื กบั อาเซยี นอยา่ งเปน็ รปู ธรรมมากยง่ิ ขน้ึ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การภาคยานวุ ตั ิ
TAC และการเข้าร่วมพิธีสารท่ี 3 แก้ไขเพมิ่ เติม TAC การรบั รองแผนปฏิบัตกิ ารฯ นอกจากน้ี
แคนาดายังได้แต่งตัง้ เอกอคั รราชทตู ประจำอาเซยี นและจัดตง้ั Canada’s ASEAN Network
ซึ่งเป็นเครือข่ายเอกอัครราชทูตแคนาดาในประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเป็นกลไกกำหนด
และขับเคล่ือนนโยบายตอ่ อาเซียน
อยา่ งไรกด็ ี แมว้ ่าอาเซยี น - แคนาดา จะมีปฏิญญาฯ และแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ซง่ึ ระบุ
แนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันโดยละเอียด การดำเนินความร่วมมือ
ในช่วงที่ผ่านมายังไม่มีความคืบหน้าเท่าที่ควร ทั้งนี้ แคนาดายังคงไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์
กับอาเซียนได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากยังมีข้อจำกัดเกี่ยวกับเมียนมาร์ ถึงแม้ความสัมพันธ์
ทวภิ าครี ะหวา่ งแคนาดาและเมยี นมารเ์ รม่ิ มแี นวโนม้ ดขี น้ึ หลงั จากทร่ี ฐั บาลเมยี นมารป์ ลอ่ ยตวั
นางออง ซาน ซู จี และเมียนมาร์และแคนาดาต่างให้ความเห็นชอบต่อการแต่งตั้ง
เอกอัครราชทูตระหว่างกนั
นอกจากน้ี ในชว่ ง 2-3 ปที ผี่ า่ นมา แคนาดาตอ้ งประสบกับปัญหาสภาวะเศรษฐกจิ
และมีข้อจำกดั ดา้ นงบประมาณ ซง่ึ ส่งผลกระทบตอ่ โครงการความร่วมมอื กับอาเซยี น รวมทั้ง
แคนาดาก็ยังไมม่ ีนโยบายทีจ่ ะจดั ตั้งกองทุนความร่วมมอื กบั อาเซียน ในขณะท่แี คนาดายังคง
ยืนยันว่าได้ดำเนินกิจกรรมความร่วมมือกับอาเซียนมาโดยตลอด แต่จะใช้วิธีประสานงาน
ระดับทวภิ าคีเปน็ ส่วนใหญ่

4. การดำเนนิ งานตอ่ ไป

ไทยไดต้ ดิ ตามความคบื หนา้ ในการจดั ทำขอ้ ตกลงดา้ นการคา้ และการลงทนุ ระหวา่ ง
อาเซียนกับแคนาดาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นกลไกในการส่งเสริมการค้าและการลงทุน
ระหว่างกัน โดยก่อนหน้านี้ได้มีการหารือเพื่อจัดทำกรอบความร่วมมือที่เรียกว่า
ASEAN - Canada Trade and Investment Framework Agreement : TIFA และทป่ี ระชมุ
เจา้ หนา้ ท่อี าวุโสด้านเศรษฐกจิ อาเซียน - แคนาดา ครัง้ ท่ี 15 เมื่อวันท่ี 25 มีนาคม พ.ศ. 2554
ที่ประเทศสิงคโปร์ สามารถสรุปการเจรจาจัดทำ TIFA ได้โดยเปลี่ยนรูปแบบเอกสารเป็น
ASEAN - Canada Joint Declaration on Trade and Investment ซง่ึ จะเปน็ กรอบแนวทาง
ความรว่ มมือด้านการค้าและการลงทนุ ระหว่างกนั ตอ่ ไป
89

ASEAN - CHINA

อาเซยี น - จนี

จีนเรม่ิ มีความสัมพันธก์ ับอาเซยี นเมอ่ื ปี พ.ศ. 2534 ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 จนี ไดร้ บั
สถานะค่เู จรจาของอาเซยี นอยา่ งเต็มรปู แบบ โดยทง้ั สองฝา่ ยมคี วามร่วมมือกันในหลากหลาย
สาขา อาทิ การเกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพฒั นาลมุ่ น้ำโขง การลงทนุ พลงั งาน การขนส่ง วัฒนธรรม สาธารณสขุ การทอ่ งเท่ียว
และสิ่งแวดล้อม และมีกลไกการประชุมระดับผู้นำเป็นประจำทุกปีในช่วงเดียวกันกับ
การประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นในชว่ งปลายปี รวมทง้ั มกี ลไกระดบั รฐั มนตรี เจา้ หนา้ ทอ่ี าวโุ ส อธบิ ดี
และคณะทำงานในสาขาตา่ งๆ

ในดา้ นเศรษฐกจิ อาเซยี นและจนี ได้ร่วมลงนามกรอบความตกลงทางเศรษฐกิจแบบ

รอบด้าน เมื่อปี พ.ศ. 2545 และต่อมาในปี พ.ศ. 2553 ความตกลงเขตการค้าเสร ี
อาเซียน - จีน มีผลบังคับใช้ส่งผลให้การค้าอาเซียน - จีน ขยายตัว และจีนกลายเป็นคู่ค้า
อนั ดบั 1 ของอาเซยี นตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2553 เปน็ ตน้ มา

เมอ่ื ปี พ.ศ. 2554 ในโอกาสทค่ี วามสมั พนั ธอ์ าเซยี น - จนี ครบรอบ 20 ปี ทง้ั สองฝา่ ย
ไดป้ ระกาศใหเ้ ปน็ ปแี หง่ การแลกเปลย่ี นและมติ รภาพ (Year of Exchange and Friendship)
และได้มีการเปิดศูนย์อาเซียน - จีน (ASEAN - China Centre) ที่กรุงปักกิ่ง ซึ่งมีหน้าที ่
ส่งเสริมการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว การแลกเปลี่ยนในระดับประชาชน การสร้าง

90

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS

ความตระหนักรู้ของสาธารณชน รวมทั้งส่งเสริมความเข้าใจซึ่งกันและกันระหว่างประชาชน
อาเซียนกับจีน ผ่านการแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรมและการศึกษา (www.asean-china-
centre.org)

ในระหวา่ งเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2555 - เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ไทยทำหน้าที่
ประเทศผ้ปู ระสานงานความสมั พันธอ์ าเซียน - จีน ซ่งึ ไทยให้ความสำคัญตอ่ 3Cs ไดแ้ ก่
(1) Community หรือการสร้างประชาคม ด้วยการส่งเสริมให้จีน ในฐานะ
ประเทศมหาอำนาจในภมู ภิ าค แสดงบทบาทอยา่ งแขง็ ขนั และสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื สรา้ งความพรอ้ ม
ของอาเซียนในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558
(2) Connectivity หรือความเชื่อมโยง ด้วยการส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชน
ของจีนมีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายความเชื่อมโยงในภูมิภาคในทุกมิติ
(โครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบ และประชาชนตอ่ ประชาชน)
(3) Regional Code of Conduct in the South China Sea (COC) หรือ
แนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้ โดยไทยพยายามผลักดันให้มีการเจรจาจัดทำแนวปฏิบัต ิ
ในทะเลจนี ใต้ ควบคไู่ ปกบั การปฏิบัติตามและดำเนนิ กจิ กรรม / โครงการความรว่ มมือตา่ งๆ
ภายใต้ปฏญิ ญาว่าดว้ ยการปฏิบัตขิ องภาคีในทะเลจนี ใต้ (Declaration on the Conduct of
Parties in the South China Sea : DOC) โดยม่งุ เสรมิ สรา้ งความเชอ่ื มน่ั และความไวเ้ นือ้
เช่อื ใจ (Trust and Confidence) และความเขา้ ใจอันดรี ะหวา่ งอาเซียนกับจีน

91

ASEAN - EUROPEAN UNION

อาเซยี น - สหภาพยโุ รป
1. ความเปน็ มา

อาเซียนและสหภาพยุโรป มีความสัมพันธ์ในระดับกลุ่มระหว่างกันมาเป็น
เวลานาน โดยสหภาพยุโรปเป็นคู่เจรจา (dialogue partner) อย่างไม่เป็นทางการของ
อาเซียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) และได้พัฒนาเป็นคู่เจรจาอย่างเป็นทางการ
ในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) ปัจจุบัน เวียดนามเป็นประเทศผู้ประสานงานความสัมพันธ ์
อาเซียน - สหภาพยุโรป โดยมีวาระ 3 ปี (กรกฎาคม พ.ศ. 2555 - กรกฎาคม พ.ศ. 2558)
ปัจจุบัน การดำเนินความสัมพันธ์อาเซียน - สหภาพยุโรป เป็นไปตาม
Bandar Seri Begawan Plan of Action to Strengthen the ASEAN - EU Enhanced
Partnership (ค.ศ 2013 - ค.ศ. 2017) ซ่ึงไดร้ ับการรับรองในทีป่ ระชมุ รฐั มนตรีอาเซียน -
สหภาพยุโรป ครั้งที่ 19 เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2555 เพื่อเป็นแนวทางความร่วมมือ
ในอีก 5 ปีข้างหน้า โดยครอบคลุมความร่วมมือที่จะสนับสนุน 3 เสาหลักของการเป็น
ประชาคมอาเซียน และแผนแมบ่ ทวา่ ดว้ ยการเชือ่ มโยงระหวา่ งกันในอาเซยี น

92

กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS

ในช่วงการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน - สหภาพยุโรป ณ กรุงพนมเปญ
เมอ่ื เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2555 ไทยไดย้ ำ้ ความสำคญั ของการดำเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั กิ าร
Bandar Seri Begawan อย่างมีประสิทธิภาพและขอให้สหภาพยุโรปพิจารณามีบทบาท
ทส่ี รา้ งสรรคย์ ง่ิ ขน้ึ ในเรอ่ื งการเชอ่ื มโยง (Connectivity) ทง้ั 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
ด้านสถาบัน และประชาชน การลดช่องว่างเพื่อการพัฒนา รวมถึงความร่วมมือด้าน
วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี การศกึ ษา และการทอ่ งเทย่ี ว ซง่ึ เปน็ ประเดน็ ทไ่ี ทยผลกั ดนั ในระหวา่ ง
การเจรจารา่ ง Bandar Seri Begawan Plan of Action ดงั กลา่ ว นอกจากน้ี อาจใหส้ หภาพยโุ รป
พจิ ารณาตอ่ ความรว่ มมอื ดา้ นการเมอื งและความมน่ั คงผา่ น Organization for security and
Cooperation in Europe : OSCE ในเรื่องมาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและ
การทตู เชงิ ปอ้ งกนั การตอ่ ตา้ นการกอ่ การรา้ ยและอาชญากรรมขา้ มชาติ การลกั ลอบคา้ มนษุ ย์
การย้ายถน่ิ ฐาน และยาเสพติด เปน็ ต้น

2. พฒั นาการความรว่ มมอื ทส่ี ำคญั

ความสัมพันธ์อาเซียน - สหภาพยุโรป มีพัฒนาการมากขึ้นในมิติต่างๆ
โดยเฉพาะในบริบทพัฒนาการในเมียนมาร์และการผ่อนคลายมาตรการคว่ำบาตรชั่วคราว
ของสหภาพยุโรปต่อเมียนมาร์ โดยสหภาพยุโรปมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือเพื่อเสริมสร้าง
ศักยภาพของเมียนมาร์ และสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
ของอาเซียน เพื่อสร้างความพร้อมที่อาเซียนจะก้าวไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในป ี
พ.ศ. 2558 ทงั้ น้ี ทปี่ ระชมุ รัฐมนตรอี าเซียน - สหภาพยโุ รป ครงั้ ท่ี 19 ได้ออกแถลงขา่ วรว่ ม
35 ปี แห่งมิตรภาพและความร่วมมือ ซึ่งสหภาพยุโรปประกาศสนับสนุนการรวมตัวของ
อาเซียนเป็นจำนวนเงิน 20 ล้านยูโร ภายใต้โครงการ ASEAN Regional Integration
Supported by the EU : ARISE และโครงการ Regional EU - ASEAN Dialogue Instrument
: READI

93

ด้านการเมืองและความมั่นคง อาเซียนยินดีที่สหภาพยุโรปได้ภาคยานุวัต ิ
สนธสิ ญั ญามติ รภาพและความร่วมมือแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and
Cooperation in Southeast Asia : TAC) ของสหภาพยโุ รป โดยสหภาพยโุ รปไดภ้ าคยานวุ ตั ิ
TAC แล้วในช่วงการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน และการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน
กับประเทศคู่เจรจาเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา
สหภาพยโุ รปยงั มคี วามรว่ มมอื อยา่ งแขง็ ขนั ใน ASEAN Regional Forum (ARF) และสนบั สนนุ
การเป็นแกนกลางของอาเซียน (ASEAN Centrality) ในโครงสร้างความสัมพันธ์ในภูมิภาค
รวมทง้ั แสดงความสนใจเขา้ รว่ มการประชมุ สดุ ยอดเอเชยี ตะวนั ออก (East Asia Summit : EAS)
และ ASEAN Defence Ministers Meeting Plus (ADMM Plus) ดว้ ย

ด้านเศรษฐกิจ สหภาพยุโรปเห็นว่าการจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับ
ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นรายประเทศ เป็นการปูทางไปสู่การจัดทำความตกลงในกรอบ
ภูมิภาคต่อไป ในการนี้ ในการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน - สหภาพยุโรป ครั้งที่ 19
บารอนเนสแคทเธอรีน แอชตัน (Baroness Catherine Ashton) ซึ่งเป็นประธานร่วม
ฝ่ายสหภาพยุโรปได้กลา่ ววา่ ปี พ.ศ. 2558 ซึ่งอาเซยี นจะบรรลุการเปน็ ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน หรือ AEC อาจเป็นโอกาสดีท่ีจะฟืน้ ฟกู ารเจรจาจดั ทำความตกลงการคา้ เสรีระหว่าง
อาเซยี นกับสหภาพยุโรปอีกครัง้

ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม มี Regional EU - ASEAN Dialogue Instrument
(READI) เปน็ กลไกด้านนโยบายสนบั สนนุ ความสัมพันธ์อาเซียน - สหภาพยโุ รป ในประเด็น
ที่ไม่เกี่ยวกับการค้า และดูแลความสัมพันธ์ อาทิ สุขอนามัยสัตว์ การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศ และโรคติดตอ่ เป็นต้น

94

กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS

นอกจากนี้ สหภาพยโุ รปไดจ้ ัดสรรกรอบงบประมาณเพื่อสนบั สนนุ อาเซียน ไดแ้ ก่
(1) ARISE ช่วงปี พ.ศ. 2553 - 2558 จำนวน 15 ล้านยูโร สนบั สนุนการรวมตัว
ทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี นโดยเฉพาะภายใตก้ รอบประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
(2) EU - ASEAN Multi - Annual Indicative Programme : MIP ช่วงป ี
พ.ศ. 2554 - พ.ศ. 2556 จำนวน 30 ลา้ นยูโร แบ่งเปน็ สนับสนุนการเช่อื มโยง
ในอาเซียน (การบริหารจัดการชายแดน โดยรวมการผ่านแดนทางบกและ
การบงั คบั ใชพ้ ธิ กี ารศลุ กากร และการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา) จำนวน 18 ลา้ นยโู ร
สิทธิมนุษยชน จำนวน 4.5 ล้านยูโร และการเสริมสร้างความสามารถ
ด้านสถาบันโดยรวมและการจัดทำฐานข้อมูลเชิงสถิติในอาเซียน จำนวน
7.5 ลา้ นยูโร
ประเด็นสถานการณ์ในภูมิภาคและระหว่างประเทศ ที่เป็นความสนใจร่วม
ระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป อาทิ ปัญหาทะเลจีนใต้ สถานการณ์ในตะวันออกกลาง
และแอฟริกาเหนือ สถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจโลก วิกฤตการณ์หนี้ในสหภาพยุโรป
บทบาทของ G-20 การปฏิรูปสถาบันการเงิน การส่งเสริมการเติบโตระดับโลก การลด/
ขจดั อปุ สรรคทางการคา้ การตอ่ ตา้ นการกอ่ การรา้ ย การตอ่ ตา้ นการกดี กนั ทางการคา้ รวมทง้ั
ประเด็นการสง่ เสรมิ และคุ้มครองสทิ ธิมนษุ ยชนในอาเซยี น เป็นต้น

95

ASEAN - INDIA

อาเซยี น - อนิ เดยี
อนิ เดยี เรม่ิ ตน้ ความสมั พนั ธอ์ ยา่ งเปน็ ทางการกบั อาเซยี น เมอ่ื ปี พ.ศ. 2535 ในฐานะ

คเู่ จรจาเฉพาะดา้ น และไดย้ กระดบั ความสมั พนั ธข์ น้ึ เปน็ คเู่ จรจาอยา่ งสมบรู ณใ์ นปี พ.ศ. 2538
และได้มีการประชุมสุดยอดกับอาเซียนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2545 อาเซียนและอินเดีย
มีเอกสาร ASEAN - India Partnership for Peace, Progress and Shared Prosperity
เปน็ พน้ื ฐานกำหนดแนวทางในการดำเนนิ ความสมั พนั ธแ์ ละความรว่ มมอื ระหวา่ งกนั ในโอกาส
การครบรอบ 20 ปีของความสัมพันธ์อาเซียน - อินเดีย ในฐานะประเทศคู่เจรจาเมื่อปี
พ.ศ. 2555 อินเดียได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน - อินเดีย สมัยพิเศษ
ณ กรงุ นวิ เดลี เมอ่ื วันที่ 21 ธนั วาคม พ.ศ. 2555 ซ่ึงผู้นำทงั้ สองฝา่ ยได้ให้การรบั รองเอกสาร
วสิ ัยทัศน์ผู้นำอาเซียน - อินเดีย (ASEAN - India Vision Statement) ซ่งึ จะเปน็ แนวทาง
ในการดำเนินความสัมพันธ์อาเซียน - อินเดีย ในทศวรรษหน้า โดยได้ประกาศยกระดับ
ความสมั พนั ธเ์ ปน็ หนุ้ สว่ นทางยทุ ธศาสตร์ และจะดำเนนิ ความรว่ มมอื ดา้ นการเมอื ง เศรษฐกจิ
สังคมและการพัฒนา และการเชื่อมโยงระหว่างกันในทิศทางที่เกื้อหนุนต่อการเป็นหุ้นส่วน
ทางยทุ ธศาสตร์ดงั กล่าว รวมท้ังเออ้ื ตอ่ การสร้างประชาคมอาเซยี น

ในด้านการเมืองและความมั่นคง อินเดียได้เข้าร่วม ASEAN Regional Forum

: ARF ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 โดยมีบทบาทในเรื่องความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเล
อีกทั้งได้รับรองแถลงการณ์ร่วมกับอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือเพื่อต่อต้านการก่อการร้าย
สากลในปีเดียวกัน และได้เป็นภาคีความตกลงสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อปี พ.ศ. 2546 นอกจากนั้น อินเดียยังเป็นสมาชิกของ
การประชุมสดุ ยอดอาเซยี นตะวนั ออก (EAST ASIA SUMMIT : EAS) ในปี พ.ศ. 2548

96

กรมอาเซยี น กระทรวงการต่างประเทศ ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS

ในดา้ นเศรษฐกจิ อาเซยี นและอนิ เดยี ไดล้ งนามกรอบความตกลงวา่ ดว้ ยความรว่ มมอื

ทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้าน เมื่อปี พ.ศ. 2546 โดยได้ลงนามความตกลงด้านการค้าสินค้า
เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 และมี
เปา้ หมายจะลงนามความตกลงด้านการคา้ บริการและการลงทุนภายในปี พ.ศ. 2556
ในปี พ.ศ. 2554 อาเซยี นและอินเดีย มีมูลคา่ การค้าสองฝา่ ยประมาณ 76,442.97
ล้านดอลลาร์สหรัฐ สูงกว่าเป้าหมายที่ผู้นำของทั้งสองฝ่ายกำหนดไว้ในการประชุม
สุดยอดอาเซียน - อินเดีย ครั้งที่ 7 เมื่อตุลาคม พ.ศ. 2552 ให้ขยายมูลค่าการค้าเป็น
70,000 ลา้ นดอลลารส์ หรัฐ ภายใน ปี พ.ศ. 2555
ผนู้ ำอาเซยี น - อนิ เดยี ไดก้ ำหนดเปา้ หมายในเอกสารวสิ ยั ทศั นผ์ นู้ ำอาเซยี น - อนิ เดยี
ว่าจะขยายมูลค่าการคา้ สองฝ่ายเป็น หนึง่ แสนล้านดอลลารส์ หรัฐ ภายในปี พ.ศ. 2558

ในด้านความร่วมมือเพื่อการพัฒนา อินเดียส่งเสริมความร่วมมือกับอาเซียน

ในสาขาที่อินเดียมีศักยภาพ เช่น ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี IT รวมทั้งการแพทย์และ
เภสัชกรรม นอกจากนั้น อินเดียให้ความสำคัญแก่การสร้างประชาคมอาเซียน โดยให้
ความช่วยเหลือแกป่ ระเทศ CLMV ในการลดช่องวา่ งทางการพฒั นา อนิ เดยี ยังให้ความสำคัญ
กับการกระชบั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประชาชนกับประชาชน โดยจัดใหม้ โี ครงการแลกเปลีย่ น
การเยอื นระหว่างเยาวชน นักศกึ ษา ผู้ส่อื ข่าว นกั การทตู และสมาชิกรัฐสภา

ด้านการเชื่อมโยงกับอาเซียน อินเดียให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงกับอาเซียน

แบบรอบดา้ น ท้ังทางบก เรือ และอากาศ อินเดยี ส่งเสริมการเชอ่ื มโยงกับอาเซียนผา่ นทะเล
อันดามัน โดยมีทะวายของพม่าเป็นประตูสำคัญ สนับสนุนการสร้างทางหลวงสามฝ่าย
ไทย - พม่า - อนิ เดยี และการพฒั นา Mekong - India Economic Corridor (โฮจิมนิ ห์ -
พนมเปญ - กรุงเทพ - ทะวาย - เจนไน) เพื่อเป็นเส้นทางลัดเชื่อมโยงภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
กบั อนิ เดียฝ่งั ตะวันออก

97

ASEAN - JAPAN

อาเซยี น - ญป่ี นุ่

ญี่ปุ่นเริ่มมีความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการกับอาเซียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 และ
พฒั นาไปสกู่ ารเปน็ ประเทศคเู่ จรจาของอาเซยี นในปี พ.ศ. 2520 โดยในปี พ.ศ. 2524 อาเซยี น
และญป่ี นุ่ ไดจ้ ดั ตง้ั ศูนย์อาเซียน - ญ่ีปนุ่ (ASEAN - Japan Centre) ทกี่ รงุ โตเกยี ว เพือ่ ส่งเสรมิ
การคา้ การลงทุน และการท่องเท่ียว ระหว่างกนั (www.asean.or.jp)

ในปี พ.ศ. 2546 ญี่ปุ่นได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน - ญี่ปุ่น

สมยั พิเศษ (ASEAN - Japan Commemorative Summit) ทกี่ รงุ โตเกียว ในโอกาสครบรอบ
30 ปีของความสมั พนั ธอ์ าเซียน - ญ่ปี นุ่ และไดม้ ีการลงนาม Tokyo Declaration for the
Dynamic and Enduring ASEAN - Japan Partnership เพอ่ื ส่งเสรมิ ความร่วมมอื ระหวา่ ง
สองฝ่ายบนพื้นฐานของห้นุ สว่ นทางยุทธศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 ญีป่ ุ่นได้เข้าเป็นภาค ี
สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and
Cooperation in Southeast Asia : TAC) และเป็นประเทศแรกท่จี ัดต้ังกรอบการประชุม
ความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (Counter Terrorism Dialogue) อย่างเป็น
ทางการกับอาเซยี นในปเี ดียวกนั

98

กรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS

ในปี พ.ศ. 2549 ญีป่ ุน่ ได้จดั ต้ังกองทุนรวมอาเซยี น - ญป่ี ุ่น (Japan - ASEAN

Integration Fund : JAIF) เพื่อสนับสนุนการบูรณาการของอาเซียน และเป็นผู้สนับสนุน
รายใหญท่ ส่ี ดุ ในกรอบขอ้ รเิ รม่ิ เพอ่ื การรวมตวั ของอาเซยี น (Initiative for ASEAN Integration : IAI)

ในปี พ.ศ. 2551 อาเซียนและญี่ปุ่นได้ลงนามความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจ

อาเซยี น - ญ่ปี ่นุ (ASEAN - Japan Closer Economic Partnership : AJCEP) เพอ่ื สง่ เสรมิ
ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจใหใ้ กล้ชิดกันย่ิงขึ้น และในปี พ.ศ. 2554 ญ่ปี ุ่นไดจ้ ดั ต้งั คณะผู้แทน
ถาวรญี่ปุ่นประจำอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา เป็นประเทศแรก และร่วมกันรับรองแผน
ปฏบิ ตั กิ ารอาเซียน - ญ่ีปุน่ ฉบับใหม่ (ปี พ.ศ. 2554 - พ.ศ.2558) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2554
ญป่ี นุ่ ยงั ไดจ้ ดั ตง้ั คณะทำงานเฉพาะกจิ วา่ ดว้ ยความเชอ่ื มโยงของอาเซยี น (Japan’s Taskforce
on connectivity) เพื่อเป็นกลไกประสานงานกบั คณะกรรมการประสานงานอาเซยี นว่าดว้ ย
ความเชอื่ มโยงระหวา่ งกนั ในภูมภิ าค (ASEAN Connectivity Coordinating Committee
: ACCC) เพื่อส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน ญี่ปุ่นให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยน
ระหวา่ งประชาชน โดยเฉพาะในระดับเยาวชน โดยได้จัดตัง้ กองทนุ Japanese Scholarship
Fund for ASEAN Youth เพื่อส่งเสริมการศึกษาและการพัฒนาบุคลากรของอาเซียน
รวมทั้งจัดโครงการแลกเปลย่ี นเยาวชนญ่ปี ุน่ - เอเชียตะวนั ออก ในศตวรรษท่ี 21 (JENESYS)
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2555) และดำเนนิ การตอ่ ระยะสอง (JENESYS 2.0) โดยม ี
เป้าหมายแลกเปล่ียนเยาวชนระหว่างกนั 30,000 คน

ในปี พ.ศ. 2556 ญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน - ญี่ปุ่น

สมยั พิเศษ ทก่ี รุงโตเกียว เพอ่ื ฉลองครบรอบ 40 ปี ความสัมพันธอ์ าเซียน - ญีป่ ุ่น

99


Click to View FlipBook Version