The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทย์กาย ม.5 เทอม 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุทธิราช วงศ์คำ, 2024-01-30 04:59:44

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทย์กาย ม.5 เทอม 2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทย์กาย ม.5 เทอม 2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้น ม.5 โรงเรียนบ้านดุงวิทยา นายสุทธิราช วงศ์คำ รหัสประจำตัวนักศึกษา 63040112130 สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ทั่วไปและเคมี การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 รหัสวิชา ED16402 (INTERNSHIP IN SCHOOL 2) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


คำอธิบายรายวิชา รายวิชา ว32105 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วย กิต ศึกษาวิเคราะห์ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบเปรียบเทียบความเหมือนและแตกต่าง ของแบบจำลองอะตอมระบุจำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนจากอะตอมเขียนสัญลักษณ์ นิวเคลียร์ของธาตุระบุหมู่และคาบของธาตุว่าเป็นโลหะอโลหะหรือกึ่งโลหะเปรียบเทียบการนำไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุโลหะกับอโลหะระบุพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยวพันธะคู่ พันธะสามระบุสภาพขั้วของสารโมเลกุลระบุสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้างเขียนสูตร โครงสร้างของสารประกอบ ไอออนิก ระบุสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตัวพร้อมให้ เหตุผลว่าสารละลายที่ได้เป็นสาร ละลาอิเล็กโทรไลต์หรือนอนอิเล็กโทรไลต์ระบุสารประกอบ อินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวหรือ ไม่อิ่มตัวจากสูตรโครงสร้าง ระบุความเป็นกรด-เบสจาก โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์อธิบายสมบัติการละลายในตัวทำละลายชนิดต่าง ๆ ของสารสืบค้น ข้อมูลเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอเมอร์ของพอลิเมอร์ชนิดนั้น วิเคราะห์และอธิบายโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอพลาสติกและเทอร์มอเซตของพอลิเมอร์ สืบค้นข้อมูล นำเสนอผลกระทบการใช้ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับพอลิเมอร์ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมพร้อมแนวทาง ป้องกันและแก้ไข ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการ เคมีของปฏิกิริยาทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้นพื้นที่ผิวอุณหภูมิและตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีผลต่อ อัตราการเกิดปฏิกิริยาอธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ อธิบายสมบัติของสารกัมมันตรังสี คำนวณค่าครึ่งชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสีตลอดจนการสืบค้นข้อมูลนำเสนอตัวอย่าง ประโยชน์ของสารกัมมันตรังสีและการป้องกันอันตรายที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสำรวจตรวจสอบการ สังเกตการสืบค้นข้อมูลการเขียนรายงานการค้นคว้าแสวงหาความรู้การอภิปรายและการสรุป เพื่อให้เกิดทักษะการเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ แก้ไขปัญหา นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับโลกแห่งศตวรรษที่ 21 บนพื้นฐานของความเป็นไทยตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


รหัสตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/1,ม.5/2,ม.5/3,ม.5/4,ม.5/5,ม.5/6,ม.5/7,ม.5/8,ม.5/9,ม.5/10, ม.5/11, ม.5/12,ม.5/13,ม.5/14,ม.5/15,ม.5/16,ม.5/17,ม.5/18,ม.5/19,ม.5/20, ม.5/21,ม.5/22,ม.5/23,ม.5/24,ม.5/25 รวมทั้งหมด 25 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ว32105 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) 1. ว 2.1 ม.5/1 ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบและอยู่ในรูปอะตอมโมเลกุลหรือ ไอออนจากสูตรเคมี 2. ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบร์ กับแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก 3. ว 2.1 ม.5/3 ระบุจำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนของอะตอมและไอออนที่เกิด จากอะตอมเดียว 4. ว 2.1 ม.5/4 เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป 5. ว 2.1 ม.5/5 ระบุหมู่และคาบของธาตุและระบุว่าธาตุเป็นโลหะอโลหะกึ่งโลหะกลุ่มธาตุ เรพรีเซนเททีฟหรือกลุ่มธาตุแทรนซิซันจากตารางธาตุ 6. ว 2.1 ม.5/6 เปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟ้าการให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุใน กลุ่มโลหะกับอโลหะ 7. ว 2.1 ม.5/7 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรี เซนเททีฟและธาตุแทรนซิซัน 8. ว 2.1 ม.5/8 ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยวพันธะคู่พันธะสามและระบุจำนวนคู่ อิเล็กตรอนระหว่างคู่ร่วมพันธะจากสูตรโครงสร้าง 9. ว 2.1 ม.5/9 ระบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม 10. ว 2.1 ม.5/10 ระบุสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้าง


11. ว 2.1 ม.5/11 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูด ระหว่างโมเลกุลตามสภาพขั้วหรือการเกิดพันธะไฮโดรเจน 12. ว 2.1 ม.5/12 เขียนสูตรเคมีของสารไอออนและสารประกอบไอออนิก 13. ว 2.1 ม.5/13 ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตัวพร้อมให้เหตุผลและ ระบุว่าสารละลายที่ได้เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์หรือนอนอิเล็กโทรไลต์ 14. ว 2.1 ม.5/14 ระบุสารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว จากสูตรโครงสร้าง 15. ว 2.1 ม.5/15 สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอร์และ มอนอเมอร์ของพอลิเมอร์ชนิดนั้น 16. ว 2.1 ม.5/16 ระบุสมบัติความเป็นกรด-เบสจากโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ 17. ว 2.1 ม.5/17 อธิบายสมบัติการละลายในตัวทำละลายชนิดต่างๆของสาร 18. ว 2.1 ม.5/18 วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอ พลาสติกและเทอร์มอเซตของพอลิเมอร์และการนำพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ 19. ว 2.1 ม.5/19 สืบค้นข้อมูลและการนำเสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่ มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมพร้อมแนวทางป้องกันหรือแก้ไข 20. ว 2.1 ม.5/20 ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้นผลิตภัณฑ์และแปลความหมายของสัญลักษณ์ ในสมการเคมีของปฏิกิริยาได้ 21. ว 2.1 ม.5/21 ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้นพื้นที่ผิวอุณหภูมิและตัวเร่ง ปฏิกิริยาที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 22. ว 2.1 ม.5/22 สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำวันหรือในอุตสาหกรรม 23. ว 2.1 ม.5/23 อธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ 24. ว 2.1 ม.5/24 อธิบายสมบัติของสารกัมมันตรังสีและคำนวณครึ่งชีวิตและปริมาณของ สารกัมมันตรังสี 25. ว 2.1 ม.5/25 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์ของสารกัมมันตรังสีและการ ป้องกันอันตรายที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสี


โครงสร้างรายวิชา ลำดับ ที่ ชื่อ หน่วย การ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา ชั่วโมง น้ำหนัก คะแนน 1 อากาศ มาตรฐาน ว2.1 : เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและ ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/1- ม.5/7 อากาศจัดเป็นสารผสมแก๊สที่มีปริมาณมากที่สุด คือแก๊สไนโตรเจนรองลงมาคือแก๊สออกซิเจนซึ่ง มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดอากาศเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้ว ไม่หมดไปสามารถเกิดหมุนเวียนได้ตามวัฏจักร ของแก๊ส 15 15 2 น้ำ มาตรฐาน ว2.1 : เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและ ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/8 - ม.5/13 การละลายของสารในน้ำเกิดขึ้นเมื่อโมเลกุล ของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือ ไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่เป็นสาร เนื้อเดียวเรียกว่าสารละลายโดยการละลาย ของสารในน้ำมี2 ลักษณะคือการละลายแบบ แตกตัวและการละลายแบบไม่แตกตัว 15 15


โครงสร้างรายวิชา(ต่อ) ลำดับ ที่ ชื่อหน่วย การ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา ชั่วโมง น้ำหนัก คะแนน 3 อาหาร มาตรฐาน ว2.1 : เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและ ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/14 – ม.5/19 อาหารจัดเป็นปัจจัยที่มีสำคัญต่อการ ดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ โดยอาหารที่ มนุษย์บริภาคทั่วไปสามารถแบ่งออกได้ เป็น 5 หมู่ คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมันและน้ำมัน วิตามิน และเกลือแร่ ซึ่งการที่จะเข้าใจถึงองค์ประกอบ และ โครงสร้างของสารอาหารเหล่านี้จำเป็นที่ จะต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับ โครงสร้าง ของสารประกอบอินทรีย์ 20 25 4 พลังงาน มาตรฐานว 3.2 :เข้าใจหลัก การและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสารการเกิดสารละลายการ เกิด การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีเกี่ยวข้องกับ พลังงานหลายรูปแบบ เช่น พลังงานความ ร้อน พลังงานแสง พลังงานไฟฟ้า พลังงานที่ ได้จากสารเคมีนำมาใช้ประโยชน์อย่าง หลากหลายในชีวิตประจำวัน เช่น พลังงาน ความร้อนจากปฏิกิริยาการเผาไหม้เชื้อเพลิง 10 15


ปฏิกิริยาเคมีมีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนำไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/20– ม.5/25 พลังงานไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าของ โลหะบางชนิด พลังงานนิวเคลียร์จากสาร กัมมันตรังสี รวมคะแนนระหว่างเรียน 70 คะแนนทดสอบ กลางภาค 15 คะแนนทดสอบ ปลายภาค 15 รวมทั้งสิ้น 60 100


กำหนดการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2566 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง วัน/เดือน/ปี หน่วยการเรียนรู้/หน่วยย่อย จำนวนชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อากาศ 15 องค์ประกอบในอากาศ 3 อะตอม 3 ธาตุ 3 การใช้ประโยชน์จากอากาศ 3 มลพิษทางอากาศ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 น้ำ 15 โมเลกุลของน้ำ 3 สารโคเวเลนต์ 3 สารประกอบไอออนิก 3 การละลายของสารในน้ำ 3 การใช้ประโยชน์จากสาร อิเล็กโทรไลต์ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่3 อาหาร 20 ไขมันและน้ำมัน 3 คาร์โบไฮเดรต 3 การทดสอบแป้งมันสับปะหลัง 2 โปรตีน 3 การทดสอบโปรตีน ไบยูเรต 3 วิตามิและเกลือแร่ 3 บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร 3 หน่วยการเรียนรู้ที่4 พลังงาน 10 เชื้อเพลิงและการใช้ประโยชน์ 4 แบตเตอรี่ 3 สารกัมมันตรังสี 3


แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว32105 รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อากาศ จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง องค์ประกอบในอากาศ จำนวน 3 ชั่วโมง สอนโดย นายสุทธิราช วงศ์คำ 1.มาตรฐาน มาตรฐาน ว2.1 : เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะ ของสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/1 ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบและอยู่ในรูปอะตอมโมเลกุลหรือไอออน จากสูตรเคมี 3.สาระสำคัญ อากาศจัดเป็นสารผสมแก๊สที่มีปริมาณมากที่สุดคือแก๊สไนโตรเจนรองลงมาคือแก๊สออกซิเจนซึ่งมี ความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดอากาศเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมดไป สามารถเกิดหมุนเวียนได้ตามวัฏจักรของแก๊ส 4.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกชื่อและปริมาณของแก๊สต่าง ๆ ในอากาศ (K) 2. ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือ ไอออนจากสูตร เคมี(P) 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้(A)


5.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ 5 E ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 นักเรียนตอบคำถาม -นักเรียนคิดว่า อากาศที่อยู่รอบตัวเราเป็นสารบริสุทธิ์หรือไม่ (แนวคำตอบ – บริสุทธิ์ ไม่บริสุทธิ์) -ทำไมนักเรียนถึงคิดว่าอากาศมันไม่บริสุทธิ์(แนวคำตอบ-เพราะในอากาศมี มากกว่า 1 ชนิดไม่ได้มีแค่แก๊สออกซิเจน) -แล้วนักเรียนจะรู้ได้ยังไงว่าในอากาศ มีแก๊สอะไรบ้าง (ปล่อยให้นักเรียนสงสัย) ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นักเรียนแบ่งกลุ่ม 7 คนจำนวน 6 กลุ่ม 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่ม ทำกิจกรรมการทดลอง เรื่องเทียนวิเศษ 2.2.1 อุปกรณ์ 1.เทียนไข 2.จานรอง 3.น้ำเปล่า 4.ไม้ขีดไฟ -โดยมีครูผู้สอนคอยแนะนำขั้นตอนการทดลองที่ละขั้น ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 นักเรียนตอบคำถาม -สังเกตเห็นอะไรบ้างจากการทดลอง (แนวคำตอบ-น้ำถูกดูดขึ้น เทียนดับ มี ควัน) -เพราะเหตุใดเทียนจึงดับ (แนวคำตอบ-เพราะ เปลวไฟของเทียนนำ ออกซิเจนไปใช้ในการเผาไหม้) -ควันที่เกิดขึ้นในแก้วนักคิดว่าเป็นแก๊สชนิดใด (แนวคำตอบ-แก๊สจากการ เผาไหม้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์) 3.2นักเรียนบันทึกผลการทดลองในใบกิจกรรมการทดลอง เรื่องเทียนวิเศษ


ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 นักเรียนฟังครูอธิบาย องค์ประกอบของอากาศ ธาตุและสารประกอบที่พบใน อากาศผ่านสื่อ Power Point - ธาตุ (Element) คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยธาตุหรือสารชนิดเดียว ไม่สามารถ แยกหรือสลายออกเป็นสารอื่นได้ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุเรียกว่า อะตอม ซึ่งประกอบด้วย อิเล็กตรอนวิ่งวนรอบนิวเคลียสที่ประกอบด้วยโปรตอน และ นิวตรอน สารประกอบ (Compound) เป็นสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน ด้วยแรงยึดเหนี่ยวทางเคมี เกิดเป็นสารชนิดใหม่ เรียกว่าสารประกอบ ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation) 5.1 นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรื่ององค์ประกอบของอากาศ 6.สื่อการเรียนรู้ 6.1 สื่อ Power Point เรื่อง องค์ประกอบของอากาศ ธาตุและสารประกอบที่พบในอากาศ 6.2 ใบกิจกรรมการทดลอง เรื่องเทียนวิเศษ 6.3 นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรื่ององค์ประกอบของอากาศ


8.การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือการวัด เกณฑ์การประเมิน 1. บอกชื่อและปริมาณ ของแก๊สต่าง ๆ ในอากาศ (K) -ตรวจใบงานที่ 1 เรื่อง องค์ประกอบของอากาศ -ใบงานที่ 1 เรื่ององค์ประกอบ ของอากาศ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 2. ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือ สารประกอบ และอยู่ในรูป อะตอม โมเลกุล หรือ ไอออนจากสูตรเคมี(P) -นักเรียนตอบคำถามที่ คุณครูสุ่มถาม -คำตอบที่ นร ตอบจากการ ตอบคำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้ (A) สังเกตพฤติกรรมระหว่าง เรียนของนักเรียน -แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ระดับคุณภาพดี ผ่าน เกณฑ์


ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (นายประสิทธิ์ แก้วงาม) ครูพี่เลี้ยง ........./......../......... ความคิดเห็นของผู้บริหาร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (..................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา ........./......../.........


แผนการจัดการเรียนรู้ที่2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว32105 รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อากาศ จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง อะตอม จำนวน 3 ชั่วโมง สอนโดย นายสุทธิราช วงศ์คำ 1.มาตรฐาน มาตรฐาน ว2.1 : เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะ ของสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบร์กับ แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ว 2.1 ม.5/3 ระบุจำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนของอะตอมและไอออนที่เกิดจาก อะตอมเดียว ว 2.1 ม.5/4 เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป 3.สาระสำคัญ แบบจำลองอะตอมใช้อธิบายตำแหน่งของโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนในอะตอม โดย โปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส ซึ่งในแบบจำลอง อะตอมของโบร์อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นวง โดยแต่ละวงมีระยะห่างจากนิวเคลียสและมีพลังงาน ต่างกัน และอิเล็กตรอนวงนอกสุด เรียกว่า วาเลนต์อิเล็กตรอนแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก แสดงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสในลักษณะกลุ่มหมอก เนื่องจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็ก และเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลา จึงไม่สามารถระบุตำแหน่งที่แน่นอนได้


4.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบร์กับ แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกได้(K) 2. นักเรียนระบุจำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนของอะตอมและไอออนที่เกิดจาก อะตอมเดียวและเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทปได้(P) 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้(A) 5.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ 5 E ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 นักเรียนตอบคำถามทบทวนความรู้เดิม -ก่อนที่สสารต่างๆจะมาเป็นธาตุได้จะต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง ( แนวคำตอบอะตอม อนุภาคเล็กๆ) -หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุคืออไร (แนวคำตอบ-อะตอม) -นักเรียนคิดว่าภายในอะตอมจะประกอบไปด้วยอะไรบ้าง (ปล่อยให้นักเรียน สงสัย) ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นักเรียนศึกษาแบบจำลองอะตอมของธาตุ และแบบจำลองอะตอมของโบร์ แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก


2.2 นักเรียนตอบคำถาม -แบบจำลองอะตอมของโบร์ และแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก มี ความแตกต่างกันอย่างไร (แนวคำตอบ-โบร์ บอกระดับพลังงานอิเล็กตรน กลุ่มหมอกไม่สามารถ กำหนดทิศทางของอิเล็กตรอนได้) ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 นักเรียนศึกษาจำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนของอะตอมและไอออนที่ เกิดจากอะตอมเดียวและเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป จากสื่อ power point ที่ครูเตรียมมาและครูคอยให้คำแนะนำ ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 นักเรียนออกมาจัดเรียงวาเลนต์อิเล็กตรอนจากธาตุที่ครูกำหนดให้บนกระดาน โดยมีเงื่อนการเพิ่มคะแนนในชั้นเรียน


ตัวอย่างธาตุที่กำหนดให้บนกระดาน ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation) 5.1 นักเรียนทำใบงาน เรื่อง ส่วนประกอบอะตอม 5.2 นักเรียนทำใบงาน เรื่อง การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 6.สื่อการเรียนรู้ 6.1 สื่อ power point เรื่อง จำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนของอะตอมและไอออน ที่เกิดจากอะตอมเดียวและเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป 6.2 ทำใบงาน เรื่อง ส่วนประกอบอะตอม 6.3 ทำใบงาน เรื่อง การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 7.การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือการวัด เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนเปรียบเทียบ ความเหมือนและความ แตกต่างของแบบจำลอง อะตอมของโบร์กับ แบบจำลองอะตอมแบบ กลุ่มหมอกได้(K) -การตั้งคำถามกระตุ้น ความคิด -การตอบคำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 2. นักเรียนระบุจำนวน โปรตอนนิวตรอนและ อิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนที่เกิดจาก อะตอมเดียวและเขียน สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ ธาตุและระบุการเป็น ไอโซโทปได้(P) -ตวรจความถูกต้องของใบ งาน -นักเรียนออกมาจัดเรียงวา เลนต์อิเล็กตรอนจากธาตุที่ ครูกำหนดให้บนกระดาน -ใบงาน เรื่อง ส่วนประกอบ อะตอม -ใบงาน เรื่อง การเขียน สัญลักษณ์นิวเคลียร์ -ธาตุที่ครูกำหนดให้บน กระดาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้ (A) สังเกตพฤติกรรมระหว่าง เรียนของนักเรียน -แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ระดับคุณภาพดี ผ่าน เกณฑ์


ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (นายประสิทธิ์ แก้วงาม) ครูพี่เลี้ยง ........./......../......... ความคิดเห็นของผู้บริหาร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (..................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา ........./......../.........


แผนการจัดการเรียนรู้ที่3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว32105 รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อากาศ จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง ธาตุ จำนวน 3 ชั่วโมง สอนโดย นายสุทธิราช วงศ์คำ 1.มาตรฐาน มาตรฐาน ว2.1 : เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะ ของสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/5-6 ระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุ เรพรีเซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรนซิซัน จากตารางธาตุ ว 2.1 ม.5/7 เปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟ้าการให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่ม โลหะกับอโลหะ 3.สาระสำคัญ อากาศจัดเป็นสารผสมแก๊สที่มีปริมาณมากที่สุดคือแก๊สไนโตรเจนรองลงมาคือแก๊สออกซิเจนซึ่งมี ความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดอากาศเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมดไป สามารถเกิดหมุนเวียนได้ตามวัฏจักรของแก๊ส 4.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุ เรพรีเซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรนซิซัน จากตารางธาตุ(K) 2. นักเรียนเปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟ้าการให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะ กับอโลหะ(P) 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้(A)


5.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ 5 E ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 นักเรียนดูคริปวิดีโอข่าว ที่ครูเตรียมมาจาก https://www.youtube.com/watch?v=fp0sCogZKsQ เรื่อง เกี่ยวกับเหมืองแร่ 1.2 นักเรียนตอนคำถามต่อไปนี้ -นักเรียนเห็นอะไรบ้างจากวิดีโอ (แนวคำตอบ-การขุดเหมืองแร่ เจออุโมงค์ เจอแร่ทองคำ ) -นักเรียนคิดว่าบนโลกของเรามีแร่ธาตุกี่ชนิด (แนวคำตอบ-มากมายหลาย ชนิด) -นักเรียนรู้จักธาตุชนิดใดบ้าง (ตอบตามความรู้ของนักเรียน) ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นักเรียนแบ่งกลุ่ม 7 คนจำนวน 6 กลุ่ม แล้วทำการทดลองต่อไปนี้ 2.2 นักเรียนทำการทดลอง เรื่องสมบัติกายภาพของธาตุ -อุปกรณ์ -ตัวอย่างธาตุที่ใช้ทดลอง Mg Fe Cu C S -ชุดถ่านไฟฉาย -หลอดไฟ -สายไฟ ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 นักเรียนสรุปผลการทดลอง ในใบกิจกรรมการทดลอง เรื่อง เรื่องสมบัติกายภาพ ของธาตุ 3.2 นักเรียนตอบคำถาม -เพราะเหตุใดธาตุบางชนิดจึงนำไฟฟ้าและบางชนิดไม่นำไฟฟ้า (แนว คำตอบ-ตามผลการทดลองของกลุ่มตัวเอง)


- ธาตุโลหะ (metal) จะเป็นธาตุที่มีสถานะเป็นของแข็ง (ยกเว้นปรอท ที่เป็น ของเหลว ) มีผิวที่มันวาว นำความร้อน และไฟฟ้าได้ดี มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง (ช่วง อุณหภูมิระหว่างจุดหลอมเหลวกับจุดเดือดจะต่างกันมาก) -ธาตุอโลหะ มีได้ทั้งสามสถานะ สมบัติส่วนใหญ่จะตรงข้ามกับอโลหะ เช่น ผิวไม่ มันวาว ไม่นำไฟฟ้า ไม่นำความร้อน จุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ เป็นต้น ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 นักเรียนศึกษาความรู้จากสื่อ Power Point เรื่องตารางธาตุ สมบัติทางกายภาพ ของธาตุ 4.2 นักเรียนออกมานำเสนอผลการทดลองของกลุ่มตัวเองหน้าชั้นเรียน ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation) 5.1 นักเรียนทำใบงาน เรื่อง สมบัติการนำไฟฟ้าของธาตุ 6.สื่อการเรียนรู้ 6.1 สื่อ Power Point เรื่องตารางธาตุ สมบัติทางกายภาพของธาตุ 6.2 ใบกิจกรรมการทดลอง เรื่อง เรื่องสมบัติกายภาพของธาตุ 6.3 ใบงาน เรื่อง สมบัติการนำไฟฟ้าของธาตุ


7.การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือการวัด เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนระบุหมู่และ คาบของธาตุ และระบุว่า ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่ง โลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเท ทีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรนซิ ซัน จากตารางธาตุ (K) -ตรวจใบงาน เรื่อง สมบัติ การนำไฟฟ้าของธาตุ -ใบงาน เรื่อง สมบัติการนำ ไฟฟ้าของธาตุ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 2. นักเรียนเปรียบเทียบ สมบัติการนำไฟฟ้าการให้ และรับอิเล็กตรอนระหว่าง ธาตุในกลุ่มโลหะกับ อโลหะ (P) -ตรวจใบงาน เรื่อง สมบัติ การนำไฟฟ้าของธาตุ -การทดลอง เรื่องสมบัติ กายภาพของธาตุ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้ (A) สังเกตพฤติกรรมระหว่าง เรียนของนักเรียน -แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ระดับคุณภาพดี ผ่าน เกณฑ์


กิจกรรมการทดลอง เรื่อง เรื่องสมบัติกายภาพของธาตุ คำชี้แจง: ให้นักเรียนอ่านวิธีและขั้นตอนการทำการทดลองอย่างละเอียดก่อนลงมือทำการทดลอง จุดประสงค์การทดลอง : เพื่อศึกษาสมบัติทางกายภาพและการนำไฟฟ้าของธาตุบางชนิด อุปกรณ์การทดลอง -ตัวอย่างธาตุที่ใช้ทดลอง Mg Fe Cu C S -ชุดถ่านไฟฉาย -หลอดไฟ -สายไฟ ขั้นตอนการทดลอง 1. นักเรียนต่อวงจรไฟฟ้าให้ครบวงจร 2. นักเรียนนำธาตุตัวอย่างมาเชื่อมเข้ากับวงจรไฟฟ้าที่ละธาตุ 3. สังเกตและบันทึกผลการทดลอง ชนิดของธาตุ ลักษณะทางกายภาพ การนำไฟฟ้า


บันทึกผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................. ... ................................................................................ สมาชิกกลุ่ม ชื่อ.......................................................................สกุล.............................................. ...เลขที่............... ชื่อ.......................................................................สกุล.............................................. ...เลขที่............... ชื่อ.......................................................................สกุล.............................................. ...เลขที่............... ชื่อ.......................................................................สกุล.............................................. ...เลขที่............... ชื่อ.......................................................................สกุล.............................................. ...เลขที่............... ชื่อ.......................................................................สกุล.............................................. ...เลขที่............... ชื่อ.......................................................................สกุล.............................................. ...เลขที่...............


ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (นายประสิทธิ์ แก้วงาม) ครูพี่เลี้ยง ........./......../......... ความคิดเห็นของผู้บริหาร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (..................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา ........./......../.........


แผนการจัดการเรียนรู้ที่4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว32105 รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อากาศ จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง การใช้ประโยชน์และมลพิษทางอากาศ จำนวน 3 ชั่วโมง สอนโดย นายสุทธิราช วงศ์คำ 1.มาตรฐาน มาตรฐาน ว2.1 : เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะ ของสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/7 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรี เซนเททีฟและธาตุแทรนซิซัน 3.สาระสำคัญ อากาศจัดเป็นสารผสมแก๊สที่มีปริมาณมากที่สุดคือแก๊สไนโตรเจนรองลงมาคือแก๊สออกซิเจนซึ่งมี ความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดอากาศเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมดไป สามารถเกิดหมุนเวียนได้ตามวัฏจักรของแก๊ส 4.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกประโยชน์ของแก๊สในอากาศได้ (K) 2. นักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรน ซิซันได้ (P) 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้(A)


5.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ 5 E ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 นักเรียนดูวิดีโอที่ครูเตรียมมาให้เกี่ยวกับเรื่อง บอลลูน จาก https://www.youtube.com/watch?v=CjOC1CSPBW0 1.2 นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ -นักเรียนเห็นอะไรในวิดีโอ (แนวคำตอบ-บอลลูนยักษ์ เปลวไฟ ผู้คน บอลลูนลอยขึ้นฟ้า) -เพราะเหตุใดบอลลูนยักษ์ถึงลอยขึ้นบนฟ้าได้ (แนวคำตอบ-เกิดจากความ ร้อน เกิดจากอากาศ) -นักเรียนคิดว่าในบอลลูนบรรจุแก๊สอะไร (นักเรียนตอบตามความคิด) ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นักเรียนแบ่งกลุ่ม 7 คนจำนวน 6 กลุ่ม 2.2 นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง การใช้ประโยชน์และมลพิษทางอากาศ จากสื่อ Power point และมีครูเป็นผู้คอยแนะนำ


ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ ประโยชน์และมลพิษทางอากาศ ตามที่กลุ่ม ตัวเองสนใจหน้าชั้นเรียน(ทำลงในกระดาษ โฟซาต) -ตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากอากาศ เช่น การตัดการเชื่อมเหล็ก การถนอม อาหาร หลอดไฟ -ตัวอย่างมลพิษทางอากาศ เช่น แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ปรอท แก๊ส โอโซน ฝุ่นละออง ตะกั่ว ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 นักเรียนพิจารณาสิ่งต่อไปนี้ ซองขนม น้ำอัดลม โซดา นักเรียนคิดว่าสิ่งเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับแก๊สใดบ้าง ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation) 5.1 นักเรียนส่งชิ้นงานประโยชน์และมลพิษทางอากาศ ตามที่กลุ่มตัวเองสนใจหน้า ชั้นเรียน(ทำลงในกระดาษ โฟซาต)


6.สื่อการเรียนรู้ 6.1 วิดีโอที่ครูเตรียมมาให้เกี่ยวกับเรื่อง บอลลูน จาก https://www.youtube.com/watch?v=CjOC1CSPBW0 6.2 ซองขนม น้ำอัดลม โซดา 6.3 ชิ้นงานประโยชน์และมลพิษทางอากาศ ตามที่กลุ่มตัวเองสนใจหน้าชั้นเรียน(ทำลงใน กระดาษ โฟซาต) 7.การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือการวัด เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนบอกประโยชน์ ของแก๊สในอากาศได้ (K) -สังเกตการตอบคำถาม -ความถูกต้องของการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 2. นักเรียนยกตัวอย่าง ประโยชน์และอันตรายที่ เกิดจากธาตุเรพรีเซนเท ทีฟและธาตุแทรนซิซันได้ (P) -ความถูกต้องชิ้นงานที่ นำเสนอหน้าห้อง -ชิ้นงานที่นำเสนอหน้าห้อง ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้ (A) สังเกตพฤติกรรมระหว่าง เรียนของนักเรียน -แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ระดับคุณภาพดี ผ่าน เกณฑ์


ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (นายประสิทธิ์ แก้วงาม) ครูพี่เลี้ยง ........./......../......... ความคิดเห็นของผู้บริหาร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (..................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา ........./......../.........


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว32105 รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง น้ำ จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง โมเลกุลของน้ำ จำนวน 3 ชั่วโมง สอนโดย นายสุทธิราช วงศ์คำ 1.มาตรฐาน ว2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของ สาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/8 ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยวพันธะคู่พันธะสามและระบุจำนวนคู่ อิเล็กตรอนระหว่างคู่ร่วมพันธะจากสูตรโครงสร้าง ว 2.1 ม.5/9 ระบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม 3.สาระสำคัญ การละลายของสารในน้ำเกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออน ของตัวละลายได้สารผสมที่เป็นสารเนื้อเดียวเรียกว่าสารละลายโดยการละลายของสารในน้ำมี 2 ลักษณะคือการละลายแบบแตกตัวและการละลายแบบไม่แตกตัว 4.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนระบุจำนวนอะตอมของธาตุองค์ประกอบในโมเลกุลของสารโคเวเลนต์จากสูตร โมเลกุลหรือสูตร โครงสร้าง พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจำนวน คู่อิเล็กตรอน ระหว่างอะตอมคู่ร่วมพันธะ จากสูตรโครงสร้างได้ (K) 2. นักเรียนสร้างแบบจำลองอย่างง่าย ของสารโควาเลนต์ได้(P) 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้(A)


5.สาระการเรียนรู้ พันธะโคเวเลนต์เป็นการยึดเหนี่ยว ระหว่างอะตอมด้วยการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน เกิด เป็นโมเลกุล โดย การใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ เรียกว่าพันธะเดี่ยว เขียนแทนด้วยเส้นพันธะ 1 เส้นในโครงสร้างโมเลกุล ส่วน การใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอน ร่วมกัน 2 คู่และ 3 คู่ เรียกว่า พันธะคู่และ พันธะสาม เขียนแทนด้วยเส้นพันธะ 2 เส้น และ 3 เส้น ตามลำดับ 6.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ Design Thinking การคิดเชิงออกแบบ ขั้นที่ 1 Empathize เป็นการทำความเข้าใจต่อผู้ใช้งานหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อค้นหา ปัญหา 1.1 นักเรียนดูคลิปวิดีโอ เกี่ยวกับประโยชน์ของ น้ำ ในชีวิตประจำวัน 1.2 นักเรียนตอบถามเกี่ยวกับประโยชน์ ความสำคัญของน้ำ ในชีวิตประจำวัน สถานะ ที่พบในคลิปวิดีโอ แนวคำถาม-น้ำมีประโยชน์อย่างไรในชีวิตประจำวัน ( ช่วยให้พืช เจริญเติบโต เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของร่างกาย) คำถาม-นักเรียนคิดว่า พันธะโคเวเลนต์ โมเลกุลของน้ำประกอบไปด้วยธาตุ อะไรบ้าง และมีรูปร่างอย่างไร (ปล่อยให้นักเรียนเกิดความสงสัย) ขั้นที่ 2 Define เป็นการสังเคราะห์ข้อมูลโดยการอธิบายปัญหาของผู้ใช้งานว่ามีปัญหา อย่างไร ปัญหาที่แท้จริงคืออะไร เพื่อที่จะนําไปแก้ไขปัญหา 2.1 นักเรียน แบ่งกลุ่ม 7 คนจำนวน 8 กลุ่ม 2.2 นักเรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับโมเลกุลของน้ำเป็นเวลา 10 นาที ขั้นที่ 3 Ideate เป็นการระดมสมองหรือหาไอเดียเพื่อแก้ไขปัญหาโดยเน้นการหาแนวคิด ใน การแก้ปัญหาให้มากที่สุด 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มอธิบายความเข้าใจจากใบความรู้เกี่ยวกับโมเลกุลของน้ำ พร้อมบอกปัญหา หรือสอบถามในประเด็นที่ไม่เข้าใจจากครูผู้สอน 3.1 นักเรียนฟังครูผู้สอนอธิบายให้ความรู้ เกี่ยวกับอะตอมของธาตุองค์ประกอบใน โมเลกุลของสารโคเวเลนต์จากสูตรโมเลกุลหรือสูตร โครงสร้าง พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะ คู่ หรือพันธะสาม และระบุจำ นวนคู่อิเล็กตรอน ระหว่างอะตอมคู่ร่วมพันธะ จากสูตรโครงสร้าง และ ระบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม


ขั้นที่ 4 ขั้น Prototype เป็นการสร้างแบบจําลองหรือการสร้างต้นแบบ 4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มสร้างแบบจำลองอย่างง่าย ของสารโควาเลนต์ จากอุปกรณ์ที่ ครูเตรียมให้ -อุปกรณ์ 1. ดินน้ำมัน สีดำและสีแดง 2. ไม้จิ้มฟัน 3. กระดาษ 4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มสุ่มจับ สารโควาเลนต์ที่ครูเตรียมมาให้ ภายในเวลา 15 นาที ขั้นที่ 5 Test เป็นการทดสอบโดยนำชิ้นงานที่สร้างขึ้นมา มาทดสอบกับ ผู้ใช้งานหรือกลุ่มเป้าหมาย และประเมินผล 5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแบบจำลองสารโควาเลนต์ให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง 5.2 นักเรียนตอบคำถามที่ครูถามในชั้นเรียน คำถาม-โมเลกุลของน้ำ ประกอบไปด้วยธาตุอะไรบ้าง ( ออกซิเจน 1 อะตอม และไฮโดรเจน 2 อะตอม ) คำถาม-จำนวนคู่อิเล็กตรอน ระหว่างอะตอมคู่ร่วมพันธะ มีจำนวนเท่าไหร่ ( 2 คู่อิเล็กตรอน ) 7.สื่อการเรียนรู้ 7.1 คลิปวิดีโอ เกี่ยวกับประโยชน์ของ น้ำ ในชีวิตประจำวัน 7.2 ใบความรู้เกี่ยวกับโมเลกุลของน้ำ 7.3 แบบจำลองโมเลกุลของสารประกอบโควาเลนต์


8.การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือการวัด เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนระบุจำนวน อะตอมของธาตุ องค์ประกอบในโมเลกุล ของสารโคเวเลนต์จากสูตร โมเลกุลหรือสูตร โครงสร้าง พันธะโคเว เลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจำนวนคู่ อิเล็กตรอน ระหว่าง อะตอมคู่ร่วมพันธะ จาก สูตรโครงสร้างได้ (K) สังเกตความถูกต้องของ แบบจำลอง การสร้างแบบจำลอง -70% 2. นักเรียนสร้าง แบบจำลองอย่างง่าย โมเลกุลของน้ำได้(P) การตอบคำถาม ความถูกต้องในการตอบ คำถาม - 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้ (A) สังเกตพฤติกรรมระหว่าง เรียนของนักเรียน -แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึง ประสงค์ ระดับคุณภาพดี ผ่าน เกณฑ์


ใบความรู้เกี่ยวกับโมเลกุลของสารโควาเลนต์ การเกิดสารประกอบโควาเลนต์เกิดจากอะตอมของอโลหะทำปฏิกิริยากับอะตอมของ อโลหะโดยอะตอมของอโลหะจะนำอิเล็กตรอนวงนอกมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ ๆเพื่อให้อยู่สภาวะที่เสถียร และจะอยู่เป็นโมเลกุลชัดเจนว่า 1โมเลกุลมีกี่อะตอม ตัวอย่างที่1อะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม รวมกับอะตอมของธาตุออกซิเจน1อะตอมได้น้ำ1 โมเลกุล


ตัวอย่างที่2อะตอมของธาตุคาร์บอน 1 อะตอม รวมกับอะตอมของธาตุไฮโดรเจน4อะตอมได้แก๊ส มีเทน (CH4)1โมเลกุล สารประกอบโควาเลนต์ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. Homonuclear molecule (โมเลกุลของธาตุ) หมายถึงสารประกอบโคเวเลนต์ที่ในหนึ่ง โมเลกุลประกอบด้วยอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมายึดกันด้วยพันธะโควาเลนต์ เช่น H2, O2,Br2 ,N2 ,F2 ,Cl2เป็นต้น 2. Heteronuclear molecule (โมเลกุลของสารประกอบ) หมายถึง สารประกอบโคเวเลนต์ ที่ในหนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มายึดกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ เช่น HCl , CH4, H2O , H2SO4 ,HClO4เป็นต้น สมบัติของสารประกอบโควาเลนต์ 1. มีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส เช่น - สถานะของเหลว เช่น น้ำเอทานอลเฮ กเซน -สถานะของแข็ง เช่น น้ำตาลทราย (C12H22O11),แนพทาลีนหรือลูกเหม็น (C10H8) -สถานะแก๊ส เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2),แก๊สมีเทน (CH4),แก๊สโพ รเพน (C3H8) 2. มีจุดหลอมเหลวต่ำ หลอมเหลวง่ายเนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ไม่แข็งแรง สามารถถูกทำลายได้ง่าย 3. มีทั้งละลายน้ำและไม่ละลายน้ำ เช่น เอทานอลละลายน้ำ แต่เฮกเซนไม่ละลายน้ำ 4. สารประกอบโคเวเลนต์ไม่นำไฟฟ้าเนื่องจากมีประจุไฟฟ้าเป็นกลาง และอิเล็กตรอน ทั้งหมดถูกใช้เป็นอิเล็กตรอน 5. คูร่วมพันธะระหว่างอะตอม ทำให้ไม่มีอิเล็กตรอนอิสระช่วยนำไฟฟ้า แต่ยกเว้นใน ่ สารประกอบโคเวเลนส์ที่มีสภาพขั้วแรงมาก เช่น HCI, HBr, H2SO4


ตัวอย่างแบบจำลองสารโควาเลนต์ น้ำ แอมโมเนีย ยูเรีย กรดน้ำส้มสายชู


ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (นายประสิทธิ์ แก้วงาม) ครูพี่เลี้ยง ........./......../......... ความคิดเห็นของผู้บริหาร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ................................................................ (ลงชื่อ)…………………………………………………………….. (..................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา ........./......../.........


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว32105 รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง น้ำ จำนวน 15 ชั่วโมง เรื่อง โมเลกุลของน้ำ จำนวน 2 ชั่วโมง สอนโดย นายสุทธิราช วงศ์คำ 1.มาตรฐาน ว2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของ สาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.5/10 ระบุสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้าง ว 2.1 ม.5/11 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่าง โมเลกุลตามสภาพขั้วหรือการเกิดพันธะไฮโดรเจน 3.สาระสำคัญ การละลายของสารในน้ำเกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออน ของตัวละลายได้สารผสมที่เป็นสารเนื้อเดียวเรียกว่าสารละลายโดยการละลายของสารในน้ำมี 2 ลักษณะคือการละลายแบบแตกตัวและการละลายแบบไม่แตกตัว 4.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนระบุสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้าง(K) 2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตาม สภาพขั้วหรือการเกิดพันธะไฮโดรเจน (P) 3. นักเรียนมีวินัยใฝ่เรียนรู้(A)


Click to View FlipBook Version