The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยานิพนธ์ -เครือข่ายศีล ๕-พระครูทิพยบุญญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kusol57210, 2022-09-04 08:33:00

วิทยานิพนธ์ -เครือข่ายศีล ๕-พระครูทิพยบุญญ

วิทยานิพนธ์ -เครือข่ายศีล ๕-พระครูทิพยบุญญ

๓๘

ตัดสินใจ ร่วมติดตามตรวจสอบการดำเนินงาน รวมทั้งร่วมรับผลประโยชน์หรือผลกระทบจากการ
พฒั นา

๒.๕.๒ แนวคิดลักษณะการมีส่วนรว่ ม
การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนสามารถจำแนกตามลักษณะงานหรือกิจกรรมทดี่ ำเนินการได้
หลายลักษณะทั้งในด้านบริหารจัดการดา้ นการเมืองการพัฒนาชุมชนรวมถึงด้านบริบทของการมสี ่วน
รว่ มซงึ่ นกั วชิ าการหลายทา่ นได้ให้แนวคิดและทศั นะเกี่ยวกับลักษณะของการมสี ว่ นร่วมไว้หลากหลาย
ประการได้แก่ลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนทางด้านการเมือง Bryant and White๓๗ แบ่ง
กรณีการมีสว่ นรว่ มเป็น ๓ ประเภทคอื
๑) การมีส่วนร่วมในระดับแนวนอน (Horizontal forms of participation) เป็นการมี
ส่วนร่วมแบบดั้งเดิม ที่กำหนดโดยการเข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคการเมืองหรือพฤติกรรมทางการเมอื ง
เชน่ การเลอื กต้ังการรณรงค์หาเสียงกิจกรรมกลุ่มผลประโยชน์การแนะนาชักชวนการมีส่วนร่วมแบบน้ี
ประชาชนจะเขา้ มสี ว่ นในความพยายามท่ีจะมอี ทิ ธิพลต่อการตดั สินใจต่างๆ
๒) การมีส่วนร่วมในแนวตง้ั (Vertical forms of participation) เกิดในชว่ งตอ่ จากแบบที่
๑ การมีส่วนร่วมในแนวตัง้ เปน็ การที่ประชาชนมีความสัมพันธ์ในเรื่องต่างๆกับผู้นำหรอื เจ้าหน้าทีเ่ พื่อ
ไดร้ ับผลประโยชนจ์ ากกนั และกนั
๓) การมีส่วนร่วมในการบริหาร (Participation in administrative process) เป็นการมี
ส่วนร่วมที่เป็นทั้งแนวนอนและแนวตั้งอาจเป็นการออกแบบของกิจกรรมที่ก ลุ่มผลประโยชน์
กำหนดการตัดสินใจในการบริหารหรือแลกเปลย่ี นแต่มีการเข้าไปรว่ มมากกวา่ ๒ แบบข้างต้น เชน่ การ
ตัดสินใจยอมรับเทคโนโลยีการวางแผนทากิจกรรมมุงหลังคาบ้านร่วมกัน การวางแผนการตลาด การ
เขา้ รว่ มรบั การฝึกอบรม
ลักษณะการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนมดี งั น้ี
๑) ร่วมทำการศึกษาค้นคว้าปัญหาและสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนรวมทั้งความ
ต้องการของชมุ ชน
๒) ร่วมคิดหาสร้างรูปแบบและวิธีการพัฒนาเพื่อแก้ไขและลดปัญหาของชุมชนหรือเพื่อ
สรา้ งสรรคส์ ิ่งใหม่ท่ีเป็นประโยชน์ต่อชมุ ชนหรือสนองความต้องการของชมุ ชน
๓) ร่วมวางนโยบายหรือแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขจัดและแก้ไขปัญหา
ตลอดจนสนองความตอ้ งการของชุมชน

๓๗ Bryant and White, การมีส่วนร่วมของประชาชนทางด้านการเมือง, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยา
ทักษณิ , ๒๕๖๑), หนา้ ๒๑.

๓๙

๔) ร่วมการตดั สนิ ใจการใชท้ รพั ยากรท่มี ีจำกัดใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม
๕) รว่ มจดั หรอื ปรบั ปรุงระบบการบรหิ ารงานพฒั นาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล
๖) รว่ มการลงทุนในกิจกรรมหรอื โครงการของชมุ ชนตามขีดความสามารถของตนเอง
๗) ร่วมปฏิบัตติ ามนโยบายและแผนงานโครงการและกจิ กรรมใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมาย
๘) ร่วมควบคมุ ตดิ ตามประเมินผลและร่วมบำรุงรักษาโครงการและกิจกรรมท่ีได้ทำไว้โดย
เอกชนและรฐั บาลให้ใช้ประโยชนไ์ ด้ตลอดไป
อคนิ รพพี ฒั น์ ไดแ้ บง่ ลักษณะการมสี ่วนรว่ มของประชาชนออกเปน็ ๕ ระดับ คอื ๓๘
๑) ประชาชนมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและความต้องการของชุมชนตลอดจน
เรียงลำดับความสำคญั ของปญั หารว่ มกับผ้ปู ฏบิ ัติงานในสนาม (Organizer)
๒) ประชาชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์หาสาเหตุแห่งปัญหาและแนวทางต่างๆที่อาจ
นำมาใชใ้ นการแกป้ ัญหา
๓) ประชาชนมีส่วนร่วมในการพิจารณาแนวทางและวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหาและ
วางแผนเพือ่ แกป้ ญั หาร่วมกนั กับผู้ปฏบิ ัตงิ านสนาม
๔) ประชาชนมีส่วนรว่ มในการดำเนินงานตามแผนเพือ่ แก้ปญั หา
๕) ประชาชนมีส่วนร่วมในการติดตามผลการปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปฏิบัติงานในสนามใน
ขณะเดียวกัน

ชาติชาย ณ เชยี งใหม่ ได้กลา่ วถึงลักษณะหรือมติ ขิ องการมสี ว่ นรว่ มไว้ ๔ รูปแบบดังน้ี๓๙
๑. การมีส่วนรว่ มในการตดั สินใจ หมายถึงการร่วมคิดค้นหาและตดั สินใจหรอื การกำหนด
รายละเอยี ดของสงิ่ ท่ีจะดำเนินการ
๒. การมีส่วนร่วมปฏิบัติการในกิจกรรมโครงการ หมายถึงการที่มีส่วนเข้ามาร่วมดำเนิน
โครงการร่วมแรงร่วมสมทบค่าใช้จ่ายการให้ข้อมูลที่จำเป็นตลอดจนการเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ
คณะกรรมการทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การดำเนนิ โครงการร่วมในการบริหารงานหรือการประสานงาน
๓. การมีส่วนร่วมได้รับผลประโยชน์ หมายถึงการได้รับผลประโยชนจ์ ากการเข้ามามีส่วน
ร่วมในโครงการพัฒนาเช่น มีรายได้เพิ่มขึ้นมีการกระจายโอกาสทางการพัฒนา การรับความรู้
แนวความคิดและการชว่ ยเหลอื ด้านตา่ งๆมากข้นึ เปน็ ตน้

๓๘ อคนิ รพีพัฒน์, การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาทกั ษิณ, ๒๕๖๑), หนา้ ๒๑.
๓๙ ชาติชาย ณ เชยี งใหม,่ การมีส่วนรว่ มของประชาชน : มติ ิของการมีสว่ นรว่ ม, (กรงุ เทพฯ :
มหาวิทยาทกั ษิณ, ๒๕๖๑), หนา้ ๙๑.

๔๐

๔. การมีส่วนร่วมในการประเมินผล หมายถึงการที่ประชาชนเข้าร่วมเพื่อการประเมินผล
การดำเนินโครงการ โดยอาจดำเนนิ การผา่ นกระบวนการทางการเมอื ง หรอื ส่ือสารมวลชนต่าง ๆ

จากแนวคิดดังกล่าวสามารถแบ่งลักษณะการมีส่วนรว่ มของประชาชนเพื่อให้เป็นแนวทาง
ไปสู่การวิเคราะห์การมีส่วนร่วมแล้ว เมื่อมองในมิติของการมีส่วนร่วม Cohen and Uphoff (อ้างถึง
ในจรัญญา บรรเทิง, ๒๕๔๘)ได้เสนอแนวคิดเบื้องต้น ในการวิเคราะห์การมีส่วนร่วมว่ามี ๓ มิติ
(Dimensions) โดยมิตกิ ารมีส่วนร่วมจะประกอบดว้ ยประเด็นคาถามดงั นี้

๑) มสี ว่ นร่วมอะไรบ้าง (What) แบ่งเปน็ (Cohen and Uphoff, ๑๙๘๐)
๑.๑) การมสี ว่ นร่วมในการตดั สนิ ใจ (Decision Making)
๑.๒) การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ (Implementation)
๑.๓) การมีส่วนรว่ มในการรบั ผลประโยชน์ (Benefits)
๑.๔) การมีสว่ นรว่ มในการประเมนิ ผล (Evaluation)

๒) มีส่วนร่วมกบั ใครบา้ ง (Whose) ไดแ้ ก่ การมสี ว่ นรว่ มกบั ชาวบ้าน ผู้นำชุมชน เจา้ หน้าที่
ของรัฐบาล เจ้าหน้าที่ต่างชาต(ิ จากองคก์ รที่ใหท้ ุน)เป็นตน้ ทั้งนี้ใหพ้ ิจารณาคณุ ลักษณะทางประชากร
สังคมและเศรษฐกิจของผู้เข้ามีส่วนร่วมในเรื่องอายุ เพศ สถานภาพครอบครัว ระดับการศึกษา
ระดบั ช้นั ทางสงั คม อาชีพ ระดบั รายได้ ระยะเวลาทอี่ ยอู่ าศัย การถือครองทด่ี ิน

๓) มสี ว่ นร่วมอย่างไรบ้าง (How) โดยพจิ ารณาจาก
๓.๑) การมีสว่ นรว่ มเกดิ จากเบื้องบนหรือเบ้ืองลา่ ง
๓.๒) ถูกบังคับใหเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมหรือแรงจูงใจ
๓.๓) โครงสร้างชุมชน
๓.๔) ช่องทางการมีสว่ นรว่ มทีเ่ กดิ ข้ึน
- การมสี ว่ นร่วมโดยผ่านปจั เจกชนหรือผา่ นกลุ่ม
- การมีสว่ นร่วมโดยตรงหรอื โดยอ้อม(ผา่ นตัวแทน)
- การมีสว่ นร่วมอยา่ งเป็นทางการหรือไมเ่ ปน็ ทางการ
๓.๕) ระยะเวลา (Duration) ความตอ่ เนอื่ งของกจิ กรรม
๓.๖) ขอบขา่ ย (Scope) ความครอบคลมุ ของกิจกรรม
๓.๗) ผลท่ีเกดิ จากการมสี ่วนรว่ ม

จากแนวคดิ ดังกล่าวข้างตน้ สรปุ ได้ว่า ลกั ษณะการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนามี
ลกั ษณะแตกต่างกนั ไป ท้งั น้ขี น้ึ อย่กู บั กิจกรรมที่ดำเนนิ การโดยลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนที่
ปรากฏเช่น การร่วมคิด ร่วมศึกษา วางแผนดำเนิน การตัดสินใจ ควบคุมติดตามประเมินผล
ร่วมลงทุนและร่วมรับผลประโยชน์ ซึ่งสามารถดำเนินการโดยผ่านช่องทางทั้งทางตรงและทางอ้อม

๔๑

โดยทางตรงได้แก่ การเป็นสมาชิกกรรมการประธานหรือผู้นำผู้เข้าร่วมประชุมผู้ออกเงินเป็นต้น ส่วน
ทางอ้อมไดแ้ ก่ การเลอื กตั้งผแู้ ทนโดยสามารถแบง่ ระดบั การมสี ่วนรว่ มออกเปน็ ๓ ประเภท คอื

๑) การมสี ว่ นรว่ มในระดบั แนวนอน (Horizontal forms of participation)
๒) การมีสว่ นรว่ มในระดับแนวตั้ง (Vertical forms of participation)
๓) การมีส่วนร่วมในการบริหาร (Participation in administrative process) เป็นการมี
สว่ นร่วมทเ่ี ปน็ ท้งั แนวนอนและแนวต้งั
ลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลใน
การศกึ ษาวจิ ยั น้ี เปน็ ในเรอื่ งการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการพฒั นาท้องถ่นิ ขององคก์ ารบริหารส่วน
ตำบล ในกิจกรรมทางการบริหาร ๕ กิจกรรมหลัก คือการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน การจัดทำ
ขอ้ บัญญัติ การจัดทำงบประมาณ การประชมุ สภาและการจัดซ้ือจัดจ้างโดยลกั ษณะ การให้ประชาชน
มีส่วนร่วมในกระบวนการดังกล่าว ตั้งแต่การเริ่มดำเนินงานจนกระทั่งส้ินสุดกระบวนการโดยเริ่มจาก
การร่วมลำดับปญั หาวิเคราะหห์ าสาเหตุ ร่วมพิจารณาแนวทางแก้ปัญหาร่วมดำเนินการตามแผนและ
ร่วมตดิ ตามผลการปฏบิ ัติงาน

๒.๕.๓ รปู แบบการมสี ว่ นร่วมของประชาชน
รปู แบบการมีส่วนร่วมของประชาชนจำแนกตามมิตริ ะดบั การมสี ว่ นรว่ มใน ๓ รูปแบบดงั นี้
๑) การมีส่วนร่วมแบบชายขอบ (Marginal Participation) เป็นการมีส่วนร่วมที่เกิดจาก
ความสัมพันธเ์ ชิงอำนาจไม่เท่าเทียมกัน กล่าวคือฝ่ายหน่ึงรู้สึกด้อยอำนาจกว่ามีทรัพยากรหรือความรู้
ด้อยกวา่ อกี ฝ่ายหน่ึง เปน็ ตน้ ๔๐
๒) การมีส่วนรว่ มแบบบางส่วน (Partial Participation) เป็นการมสี ่วนร่วมทีเ่ กิดจากการ
กำหนดนโยบายของรัฐโดยไม่รู้ความต้องการของประชาชน ดังนั้นการมีส่วนร่วมจึงเป็นเพียง
ประชาชนไดร้ ่วมแสดงความคดิ เหน็ ในการดำเนินกจิ กรรมบางสว่ นบางเรอ่ื งเทา่ น้ัน
๓) การมสี ่วนรว่ มแบบสมบูรณ์ (Full Participation) เปน็ การมสี ว่ นรว่ มในทุกข้ันตอนของ
การพัฒนาด้วยความเท่าเทียมกันทุกฝ่าย จัดเป็นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างแท้จริงของ
ประชาชน ตามแนวความคิดและหลักการพัฒนาชุมชน เมื่อนำมาใช้ในการเรียนรู้จะสนับสนุนและ
ส่งเสรมิ ให้กระบวนการเรียนร้รู ว่ มกันของชมุ ชนดำเนนิ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
รปู แบบการมีสว่ นร่วม United Nation ได้จำแนกตามลักษณะการมสี ว่ นร่วมไว้ดงั น้ี

๔๐ นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์, แนวคิดแนวทางการพัฒนาชุมชน, (กรุงเทพฯ : กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๑), หนา้ ๒๑.

๔๒

๑) การมีส่วนร่วมแบบเป็นไปเอง (Spontaneous) ซึ่งโดยการอาสาสมัครหรอื การรวมตัว
กันเอง เพื่อแก้ไขปัญหาของตนเองโดยเป็นการกระทำไม่ได้รับการช่วยเหลือจากภายนอก ซึ่งเป็น
รูปแบบที่เปน็ เป้าหมาย

๒) การมีส่วนร่วมแบบชักนำ (Induced) ซึ่งเป็นการเข้าร่วมโดยความต้องการความ
เห็นชอบหรือสนบั สนนุ โดยรฐั บาลซึ่งเปน็ รูปแบบท่วั ไปของประเทศกาลงั พฒั นา

๓) การมีส่วนร่วมแบบบังคับ (Coercived) เป็นการเข้าร่วมโดยความต้องการความ
เห็นชอบหรือสนับสนุนโดยรัฐบาล ภายใต้การจัดการโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือโดยการบังคับโดยตรง
รูปแบบนี้เป็นรูปแบบที่ผู้กระทำได้รับผลทันทีแต่จะไม่ได้ผลในระยะยาวและมักจะมีผลเสียตรงที่ไมไ่ ด้
รบั การสนบั สนุนจากประชาชนในท่สี ดุ

นิรนั ดร์ จงวฒุ เิ วศย์ ได้สรุปรูปแบบของการมสี ว่ นร่วมมดี ังต่อไปน้ี
๑) การทปี่ ระชาชนมีสว่ นร่วมโดยตรง (Direct participation) โดยผ่านองค์กรทจ่ี ัดต้ังโดย
ประชาชน(Inclusive organization) การรวมกลุ่มเยาวชนต่างๆ
๒) การที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางอ้อม (Indirect participation) โดยผ่านองค์กรผู้แทน
ของประชาชน (Representative organization) กรรมการของกลุม่ หรอื ชุมชน
๓) การมีประชาชนมสี ว่ นรว่ มโดยเปิดโอกาสให้ (Open participation) โดยผ่านองค์กรที่
ไม่ใช่ผู้แทนของประชาชน (Non-representative organization) เช่นสถาบันหรือหน่วยงานที่เชิญ
ชวนหรอื เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนรว่ มเมือ่ ไรทไ่ี ดท้ ุกเวลา๔๑

๒.๕.๔ แนวคดิ เกีย่ วกับกระบวนการมสี ว่ นร่วม
โครงการพฒั นาใดๆที่เกี่ยวข้องกับการบรหิ ารกจิ การสาธารณะในกระบวนการที่รัฐบาลทำ
การสง่ เสริมชักนำและสร้างโอกาสให้ประชาชนได้มสี ว่ นรว่ มดำเนนิ งานทงั้ กระบวนการถือเปน็ หลักการ
สำคัญอย่างหนึ่ง ที่จะทำให้โครงการนั้นประสบผลสำเร็จได้ง่ายข้ึน ซึ่งกระบวนการมีส่วนร่วมเป็น
ขั้นตอนที่แสดงวิธีการและแนวทางการดำเนินงานที่ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม
ชุมชน ทั้งนี้มีองค์กรหน่วยงานนักวิชาการได้เสนอแนวคิดกระบวนการมีส่วนร่วมไว้ในประเด็นต่างๆ

๔๑ นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์,รูปแบบของการมีส่วนร่วม, (กรุงเทพฯ : กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๑), หนา้ ๖๑.

๔๓

หลายทัศนะแต่ก็เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ตั้งแต่ขั้นตอนเริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ ทั้งนี้องค์การ
อนามยั โลก ได้เสนอกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินกจิ กรรมไว้ ๔ ข้นั ตอน ดังน้ี๔๒

๑) การวางแผนประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหา จัดอันดับความสำคัญ
ตั้งเป้าหมาย กำหนดการใช้ทรัพยากร กำหนดวิธีติดตามประเมินผลและประการที่สำคัญคือ ต้อง
ตัดสนิ ใจด้วยตนเอง

๒) การดำเนินกิจกรรมประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการและบริหารการใช้
ทรัพยากรมีความรบั ผดิ ชอบในการจัดสรรควบคุมทางการเงิน

๓) การใช้ประโยชน์ประชาชนต้องมีความสามารถในการนำเอากิจกรรมมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ได้ซึ่งเป็นการเพม่ิ ระดับของการพง่ึ ตนเองและการควบคุมทางสงั คม

๔) การได้รบั ประโยชน์ประชาชนต้องได้รับการแจกจ่ายผลประโยชนจ์ ากชุมชนในพ้ืนฐาน
ที่เทา่ เทียมกนั ซ่งึ เป็นผลประโยชนส์ ่วนตวั สงั คมหรือในรูปวัตถกุ ไ็ ด้

กระบวนการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการพฒั นามีกระบวนการขนั้ ตอนดังนี้
๑) การมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาค้นปญั หาและสาเหตขุ องปญั หา
๒) การมีสว่ นรว่ มในการวางแผนดำเนนิ การ
๓) การมสี ว่ นร่วมในการลงทนุ รว่ มกนั ตัดสนิ ใจและปฏบิ ตั ิงาน
๔) การมสี ว่ นร่วมในการติดตามและประเมินผล
นอกจากนี้ ในแง่การพัฒนาท้องถิ่น กล่าวว่าประชาชนอาจเข้าไปมีส่วนร่วม
ในกระบวนการพฒั นาทอ้ งถน่ิ ได้ ๕ ลกั ษณะ คือ
๑) การค้นหาปัญหาสาเหตุของปัญหาตลอดจนแนวทางแก้ไข
๒) การตัดสนิ ใจเลือกแนวทางและวางแผนพัฒนาแกไ้ ขปัญหา
๓) การปฏบิ ัติงานในกจิ กรรมการพัฒนา
๔) การได้รับผลประโยชนจ์ ากการพฒั นา
๕) ประเมนิ ผลกจิ กรรมการพัฒนา
ตามที่นักวิชาการได้ให้แนวทางกระบวนการมีส่วนร่วมไว้ในประเด็นต่างๆสรุป ได้ว่า
กระบวนการมีส่วนร่วมเริ่มต้นจากการศึกษาข้อมูลสาเหตุของปัญหา การพิจารณาตัดสินใจเลือก
แนวทาง การวางแผนพัฒนาแก้ไขปัญหา การดำเนินการหรือปฏิบัติงานและสิ้นสุดที่การติดตาม
ประเมินผล โดยการดำเนินการที่ให้ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ในฐานะเจ้าของ

๔๒ ประภัสสร เตชะประเสริฐวิทยา,แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการมีส่วนร่วม, (กรุงเทพฯ : ภาควิชา
สง่ เสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, ๒๕๖๑), หนา้ ๖๑.

๔๔

ชุมชนหรือทรพั ยากร ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการพจิ ารณาจดั สรรทรัพยากรและมสี ่วนร่วมตามกระบวนการใน
ทุกขั้นตอนหรือมากขั้นตอนให้มากที่สุด มิใช่มีส่วนร่วมเพียงขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งก็จะช่วยลดความ
ขัดแย้งและสร้างการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ่งที่ทำให้การ
ดำเนนิ งานพฒั นาไปในทางท่ดี ปี ระสบผลสำเร็จไดแ้ ละเกิดผลดตี ่อชุมชน

๒.๕.๕ เงอ่ื นไขการมีส่วนร่วม
การที่ประชาชนจะเข้าไปมีบทบาทหรือมีส่วนร่วมหรือไม่เข้าร่วมนั้น มีเงื่อนไขหลาย
ประการที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้ามามีส่วนร่วมซึ่งอาจเป็นไปด้วยความเต็มใจหรือถูกบีบบังคับหรือ
ผลักดันให้เข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้นเงื่อนไขในการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนจึงขึ้นอยู่กับหลาย
ลกั ษณะดว้ ยกันโดยนักวชิ าการได้กลา่ วถึงเงื่อนไขการมสี ่วนรว่ มไว้ดังน้ี
พงษ์ธร จนั ทร์สวสั ดิ์ เสนอเงอ่ื นไขเบือ้ งตน้ ของการมสี ่วนร่วมไว้ ๕ ประการ คือ
๑) รัฐบาลจะต้องมีการยอมรับในแนวความคิดการมีส่วนร่วมของประชาชนก่อนใน
เบือ้ งตน้ และได้บรรจหุ ลักการน้ีไวใ้ นแผนหรอื นโยบายในระดับตา่ งๆด้วย๔๓
๒) ประชาชนต้องมีพ้นื ฐานองค์กรประชาชนที่สามารถเป็นตวั แทนในการเจรจาต่อรองกับ
กล่มุ ผลประโยชนแ์ ละบคุ คลอน่ื ๆได้
๓) ประชาชนต้องมีอิสระในความคิดริเร่ิมและในการตัดสินใจในระดับทอ้ งถิ่นเพื่อกำหนด
กิจกรรมของตนเอง
๔) ชุมชนตอ้ งมีการไหลเวียนของข่าวสารและความรู้ใหม่ๆโดยเฉพาะหลักการและปรัชญา
ของการพฒั นาเทคนิควิธกี าร ในการจดั สรรทรพั ยากรและความรทู้ างการบรหิ ารงาน
๕) ชุมชนจะต้องได้รับการสนับสนุนทางด้านสิ่งของและความคิดเทคนิคที่จำเป็น
(โดยเฉพาะในระยะแรก)
นิรันดร์ จงวุฒิเวศน์ ได้กล่าวเงื่อนไขการมสี ่วนร่วมของประชาชนในแนวทางกว้างๆไว้วา่
มีอยา่ งน้อย ๓ ประการ คอื ๔๔
๑) ประชาชนจะตอ้ งมีอสิ ระท่จี ะมีสว่ นร่วม
๒) ประชาชนตอ้ งสามารถทีจ่ ะมสี ่วนร่วม
๓) ประชาชนต้องเตม็ ใจทจ่ี ะมีสว่ นร่วม

๔๓ พงษ์ธร จันทร์สวัสดิ์, เงื่อนไขการมีส่วนร่วม, (กรุงเทพฯ : เครือข่ายของการเรียนรู้ในงานพัฒนา
ชุมชน, ๒๕๖๑), หนา้ ๓๒.

๔๕

อนุภาพ ถิรลาภ ได้กล่าวเงื่อนไขพื้นฐานของประชาชนในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการ
พัฒนามี ๔ ประการคอื ๔๕

๑) ประชาชนต้องมีความสามารถที่จะมีส่วนร่วมกล่าวคือ ประชาชนจะต้องมีศักยภาพท่ี
จะเข้าร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆเช่น ประชาชนจะต้องมีความสามารถในการค้นหาความ
ต้องการ วางแผนจดั การตลอดจนบริหารองค์กรและการใช้ทรพั ยากรในทีส่ ดุ

๒) ประชาชนต้องมีความพร้อมเข้ามีส่วนร่วมกล่าวคือ ประชาชนจะต้องมีสภาพทาง
เศรษฐกจิ วัฒนธรรมและกายภาพทีเ่ ปิดโอกาสให้มสี ่วนรว่ ม

๓) ประชาชนจะต้องมีความประสงค์ท่จี ะเข้ารว่ มกล่าวคือ ประชาชนจะต้องมีความเต็มใจ
เห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมจะต้องมิใช่เป็นการบังคับหรือผลักดันให้เข้าร่วมโดยที่ประชาชนมิได้
ประสงค์จะเขา้ ร่วมในนัยหนึง่ นัยใด

๔) ประชาชนจะต้องมีความเป็นไปได้ท่ีจะเขา้ ร่วมกล่าวคือ ประชาชนจะต้องมีโอกาสท่ีจะ
เข้าร่วม ซึ่งเป็นการกระจายอำนาจให้แก่ประชาชนในการตัดสินใจและกำหนดกิจกรรมพั ฒนาที่
ต้องการในระดับที่เหมาะสม ประชาชนจะต้องมีโอกาสและความเป็นไปได้ที่จะจัดการด้วยตนเองใน
ระบบพืน้ ฐานทางการเมอื งเปน็ สำคญั

ปาริชาติ วลัยเสถียร ได้สรุปเงื่อนไขที่จะทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
แบง่ ได้ ๖ ประเภท คอื ๔๖

๑) เงอ่ื นไขทางการเมอื งการปกครองสังคมเศรษฐกจิ และวัฒนธรรม
๒) เงือ่ นไขของโครงการพัฒนา
๓) เง่ือนไขของนกั พฒั นา
๔) เง่อื นไขของผ้นู ำ
๕) เงือ่ นไขทางการบรหิ ารจดั การ
๖) เงื่อนไขทางสงั คมและจิตวทิ ยา
เงือ่ นไขท่ปี ระชาชนไม่เข้ามามสี ว่ นร่วมทางการเมืองเทา่ ทีค่ วรนน้ั เปน็ เพราะเหตดุ งั น้ี
๑) ทัศนะของประชาชนท่มี ีต่อการเมืองคดิ ว่า การเมอื งเป็นเรอื่ งไกลตวั ไมต่ อบสนองความ
ตอ้ งการของคนในทอ้ งถิ่นมองการเมืองเป็นเรอ่ื งของนักการเมืองไม่ใชเ่ รือ่ งของประชาชน

.
๔๖ ปาริชาติ วลัยเสถียร, เงื่อนไขการมีส่วนร่วม, (กรุงเทพฯ : เครือข่ายของการเรียนรู้ในงานพัฒนา
ชุมชน, ๒๕๖๑), หนา้ ๒๐.

๔๖

๒) ความรู้สึกของประชาชนที่มีต่อท้องถิ่นและความเป็นท้องถิ่นกล่าวคือ คนไทยขาด
Civic Culture ขาดความรู้สึกผูกพันกับท้องถิ่น ไม่สนใจติดตามตรวจสอบกำกับดูแลให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่นิ ทำหน้าท่ีตอบสนองความตอ้ งการและพัฒนาทอ้ งถ่นิ ให้ก้าวหนา้

๓) วิถีชวี ติ ของประชาชนในแต่ละท้องถิน่ คือ ชาวบ้านจะมีความประนีประนอมสูง เพราะ
มีความสมั พันธ์ในเครอื ญาตแิ ละมีความเกรงใจประกอบกับชาวบา้ นมีการพดู คยุ กนั เม่ือเกดิ ปัญหา

๔) วัฒนธรรมการยึดตัวบุคคลเป็นผลมาจากสังคมไทยเป็นระบบอุปถัมภ์ประชาชนขาด
ความรู้ทแ่ี ทจ้ รงิ ทำให้ถกู ชน้ี าและขาดอิสระในการตดั สินใจ

จากแนวคิดทัศนะดังกล่าวข้างต้นกล่าวโดยสรุป การมีส่วนร่วมของประชาชนขึ้นอยู่กับ
เงือ่ นไข ๓ ประการคือ

๑) เงื่อนไขตัวบุคคลได้แก่ ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อส่วนบุคคล วิถีชีวิต ความรู้สึกและ
ความผกู พนั กับท้องถ่ิน ความรู้ ความสามารถและศักยภาพของประชาชน ความพงึ พอใจ ความเต็มใจ
และอสิ ระในการเข้ามีส่วนร่วม

๒) เงื่อนไขเกี่ยวกับโครงการได้แก่ ลักษณะของกิจกรรมโครงการพัฒนาการเข้าถึงการ
บริหารจัดการโครงการผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับระบบบริหารจดั การความยืดหยุ่นของโครงการ
ความต่อเน่อื งของโครง การความสลบั ซบั ซ้อนของเทคโนโลยที รัพยากรท่ีต้องการ

๓) เงื่อนไขสภาพแวดล้อมได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง
ชุมชนผู้นำ ผ้มู ีอิทธิพล การไหลเวียนของข่าวสารและความรู้ใหมๆ่ ในชุมชน การสนบั สนุนส่งเสริมจาก
หนว่ ยงาน เปน็ ต้น

๒.๕.๖ ประโยชน์ของการมีส่วนรว่ มของประชาชน
โดยทั่วไปแล้วกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการ
อย่างเป็นขั้นตอนต่อเนื่อง ซึ่งก่อให้เกิดต้นทุนในการดำเนินการมากพอสมควร๔๗ อย่างไรก็ตามข้อดี
ของการมีส่วนร่วมคือ การก่อให้เกิดการผลิตนโยบายและบริการสาธารณะที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของสาธารณชนเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากรของสาธารณะให้สูงข้ึน
โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนก่อให้เกิดประโยชน์ต่างๆดังนี้ เพิ่มคุณภาพของการตัดสินใจ
กระบวนการปรึกษาหารือกับสาธารณชนช่วยให้เกิดความกระจ่างในวัตถุประสงค์และความต้องการ
ของโครงการหรือนโยบายนั้นๆการลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา การให้ประชาชนมีส่วนร่วมมา
ตง้ั แตต่ ้นในการดำเนินงานสามารถท่ีจะลดความล่าช้าและลดค่าใช้จา่ ยทเ่ี กีย่ วข้องกบั ความขัดแย้งของ

๔๗ สนธยา พลศร,ี ประโยชนข์ องการมสี ่วนร่วมของประชาชน, (กรุงเทพฯ : เครือขา่ ยของการเรียนรู้ใน
งานพฒั นาชุมชน, ๒๕๖๑), หนา้ ๖.

๔๗

ประชาชนได้การสร้างฉันทามติ (Consensus Building) โครงการมีส่วนร่วมของประชาชนสามารถท่ี
จะสร้างข้อตกลงที่มั่นคงและยืนยาวและการยอมรับระหว่างกลุ่ม ลดความขัดแย้งทางการเมืองและ
สร้างให้เกิดความชอบธรรมในการตัดสินใจของรัฐความสำเร็จและผลในการปฏิบัติของโครงการ
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทำให้คนเรามีความรู้สกึ ถึงความเป็นเจ้าของ การตดั สินใจน้ันซ่ึงจะได้รับ
ความรว่ มมือจากประชาชน

๕) การหลีกเลี่ยงการเผชญิ หน้าหรอื หลีกเลี่ยงความขัดแยง้ ที่รุนแรง
๖) ความนา่ เช่ือถอื และความชอบธรรม การมสี ว่ นร่วมของประชาชนเปน็ วถิ ีทางที่
จะนำไปสู่ความชอบธรรมและการดำรงอยู่ของความชอบธรรม
การมีส่วนร่วมมีความสำคัญต่อการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนและการพัฒนาชุมชนหลาย
ประการ ได้แก่ เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญสอดคล้องกับปรัชญา
แนวความคิดและหลักการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน เป็นเครื่องชี้วัดความสำเร็จนโยบายของรัฐบาลใน
เร่อื งการกระจายอำนาจ นำไปสกู่ ารพ่ึงตนเองของชุมชน ทำให้ดำเนินการพัฒนาชุมชนได้ตรงกับความ
ต้องการที่แท้จริงของประชาชนและชุมชน เป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคคลกลุ่มและองค์กรใน
ชุมชนใหม้ ีประสิทธิภาพ เป็นการสร้างความพึงพอใจรว่ มกนั ทำให้การพัฒนามีความชอบธรรม ทำให้
เกิดความรักหวงแหนรบั ผดิ ชอบและเป็นเจ้าของชุมชน ถือว่าเป็นกระบวนการสำคัญในการสนับสนุน
ส่งเสริม การเรยี นรู้รว่ มกนั ของชมุ ชน ให้ประสบผลสำเรจ็ เพื่อช่วยแบง่ เบาภาระของรฐั บาล เพราะการ
พฒั นาแบบมีสว่ นรว่ มเป็นการพฒั นาของคนในชุมชนโดยคนในชุมชนและเพื่อคนในชมุ ชนอย่างแท้จริง
รฐั บาลเป็นเพยี งผ้สู นบั สนนุ ในบางส่วนเทา่ น้นั ๔๘
การมีส่วนร่วมของประชาชนทำให้เกิดประโยชน์ที่หลากหลาย ทั้งด้านตัวบุคคล สังคม
ชุมชนและหน่วยงานองค์การต่างๆ โดยเป็นไปตามวิถีการมีส่วนร่วมแต่ละประเด็น ซึ่งในภาพรวมก่อ
เกิดประโยชน์ต่อตัวบุคคลในการพัฒนาศักยภาพสังคมชุมชนเกิดการพึ่งพาตนเอง เกิดความรักหวง
แหนรับผิดชอบและเป็นเจ้าของชุมชน เพิ่มคุณภาพการตัดสินใจสร้างฉันทามติลดกระแสการต่อต้าน
หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง ลดค่าใชจ้ ่ายและการสูญเสียเวลา มีการรวมพลงั เกิดความสามัคคีเป็นการแบ่ง
เบาภาระของรัฐชาติ ซง่ึ จะทำให้บรรลุวตั ถุประสงคใ์ นการผ่องถา่ ยกระจายอำนาจสู่ประชาชนทอ้ งถิ่น
๒.๕.๗ ปจั จัยที่มผี ลตอ่ การมสี ว่ นร่วมของประชาชน
ในการดำเนนิ งานพฒั นาหรอื กิจกรรมโครงการใดๆกต็ าม สิง่ ทีส่ ำคัญต่อการตดั สนิ ใจเข้ามา
มีส่วนร่วมของประชาชนมีหลายประการ ทั้งด้านปัจจัยตัวบุคคล องค์กรและชุมชน ทั้งนี้ภาครัฐ

๔๘ ถวิลวดี บรุ ีกลุ , ปจั จัยท่ีมีผลต่อการมสี ว่ นร่วมของประชาชน, (กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพ์หมอชาวบา้ น,
๒๕๖๑), หนา้ ๖.

๔๘

จำเป็นต้องคำนึงถึงการส่งเสรมิ สนับสนุนชว่ ยเหลือประชาชน เพ่ือให้ประชาชนเขา้ มามีส่วนรว่ มในการ
ใหค้ วามรว่ มมอื ในกจิ กรรมการพฒั นาตา่ งๆของชมุ ชนเพอ่ื ให้ดำเนนิ งานบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์และเกิดการ
พัฒนาที่ดีเกิดผลดีต่อชุมชนปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม เกิดจากความศรัทธาที่มีต่อความเชื่อถือ
บคุ คลและสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ความเกรงใจที่มีต่อบุคคลทเี่ คารพนับถือ หรือมเี กียรติยศ ตำแหน่ง อำนาจบีบ
บังคบั ทเี่ กดิ จากคนท่มี อี ำนาจเหนอื กว่า ทำให้เกิดการบีบบังคบั ให้มสี ่วนรว่ มในการกระทำตา่ งๆ

ปจั จยั ทผี่ ลักดันให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นรว่ มในการพฒั นาท้องถิน่ ปรชั ญา ไดก้ ล่าวถึงดังน้ี
๑) ปัจจัยสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพเศรษฐกิจสังคมการเมืองการปกครองและความ
ปลอดภยั
๒) ปัจจัยผลกั ดนั จากบุคคลอ่ืนโดยเฉพาะผูน้ ำ
๓) ปัจจัยที่เปน็ รางวัลตอบแทนเชน่ คา่ ตอบแทนแรงงานเงินปันผลจากสหกรณ์ออมทรพั ย์
๔) ปัจจัยภายในตัวบุคคลได้แก่ ความคาดหวังในประโยชน์ส่วนรวมความรู้สึกเกรงใจไม่
กลา้ ปฏเิ สธเม่อื ถกู ชักชวนหรอื ความรู้สกึ ว่าเปน็ พันธะทีต่ อ้ งเขา้ รว่ มเพ่ือให้เกิดความสามคั คี
ในประเด็นเดียวกันอนุภาพ ถิรลาภ เห็นว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน
ได้แก่ ความเกรงใจผู้ที่มีสถานภาพที่สูงกว่าความต้องการเป็นกลุ่มเป็นพวกความเชื่อในตัวผู้นำความ
ใกลช้ ดิ กบั เจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐการคำนงึ ถึงผลประโยชนต์ อบแทน การยอมรับแบบอยา่ ง ความไม่พอใจต่อ
สภาพแวดล้อม การยอมรบั ในอำนาจรฐั และฐานะทางเศรษฐกิจ
ธวชั เบญจาธกิ ลุ เหน็ ว่าปจั จัยที่มีอิทธิพลต่อการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการพัฒนามี
๕ ประการได้แก่ ปัจจัยด้านสังคมเศรษฐกิจการเมืองวัฒนธรรม และด้านจิตวิทยาทางสังคม
นอกจากน๔้ี ๙
อรอนงค์ ธรรมกุล ยังได้สรุปปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของคนในชุมชนใน
กระบวนการพฒั นาทอ้ งถิน่ ไว้ดว้ ยกัน ๓ ประการไดแ้ ก่๕๐
๑) ดา้ นความผูกพนั เปน็ เครอื ญาติและความผูกพันในชุมชน
๒) ดา้ นการมีภาวะทางเศรษฐกจิ
๓) ดา้ นการสนบั สนนุ จากองค์กรภายในหม่บู า้ น

๔๙ ธวัช เบญจาธิกุล, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา, (กรุงเทพฯ :
สถาบนั พระปกเกลา้ และมูลนธิ ิเอเชยี , ๒๕๖๑), หน้า ๖.

๕๐ อรอนงค์ ธรรมกุล, ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของคนในชุมชนในกระบวนการพัฒนา
ทอ้ งถิ่น, (กรุงเทพฯ : เอก็ ซเปอร์เนท็ , ๒๕๖๑), หนา้ ๖.

๔๙

ในประเด็นเดียวกันจากการศึกษาของ Creighton พบว่าการที่คนเราจะพิจารณาว่าตน
ได้รบั ผลกระทบและเลือกท่จี ะมีสว่ นรว่ มในโครงการการมีส่วนร่วมของประชาชนหรือไม่นั้นอย่างน้อย
ข้ึนอยกู่ ับปัจจยั สำคัญ ๖ ประการ คือ

๑) ความใกลช้ ิดปัญหา
๒) ประโยชน์ทางดา้ นเศรษฐกจิ
๓) การเขา้ ถงึ ประโยชนใ์ ช้สอยหรอื บริการ
๔) ประเด็นทางด้านสังคม/สิ่งแวดล้อม
๕) ค่านิยม
๖) อำนาจที่ได้รบั การมอบหมายตามกฎหมาย
นอกจากนปี้ ระชาชนโดยท่วั ไปจะเข้ามามีสว่ นร่วมปัจจัยที่เปน็ สว่ นสำคัญคือ การให้ข้อมูล
ข่าวสารต่อสาธารณชนทั่วไปถึงผลที่จะติดตามมาของการมีส่วนร่วมหรือการไม่ทำตามกิจกรรมที่
นำเสนอและต้องแสดงให้เห็นชัดเจนเพื่อให้ประชาชนเห็นช่องทางในการเข้ามีส่วนร่วมได้ถ้าเขา
ต้องการทจี่ ะมีส่วนรว่ ม
สำหรับนักวิชาการต่างประเทศ World Health Organization ได้เสนอปัจจัยพื้นฐาน
ในการระดมการมสี ่วนร่วมของประชาชนไว้ ๒ ประการคือ
๑) ปัจจยั ของสง่ิ จูงใจในการเหน็ ว่าตนจะไดผ้ ลประโยชนต์ อบแทนในส่ิงทต่ี นทำไป
๒) ปจั จยั โครงสร้างของช่องทางในการเข้ามามีส่วนรว่ มควรเปิดโอกาสใหท้ ุกๆคนและทุกๆ
กลุ่มในชุมชนมีโอกาสเข้าร่วมในการพฒั นาในรูปแบบใดรูปแบบหนึง่ โดยการเข้าร่วมอาจอยู่ในรูปของ
การมีตัวแทนหรือเข้าร่วมโดยตรงควรมีเวลากำหนดที่ชัดเจนเพื่อผู้เข้าร่วมจะสามารถกำหนดเงื่อนไข
ของตนเองไดต้ ามสภาพเปน็ จริงของตนและกำหนดลักษณะของกจิ กรรมที่แนน่ อนว่าจะทำอะไร
Person ได้อธิบายว่าการกระทำของมนุษย์ ( Action of Anyone) จะขึ้นอยู่
กับบุคลิกภาพของแต่ละบุคคล ระบบสังคมที่บุคคลนั้นเป็นสมาชิกอยู่และวัฒนธรรมในสังคมที่บุคคล
น้นั เป็นสมาชิกซึง่ วัฒนธรรมนจี้ ะเป็นตวั กำหนดความคดิ ความเชือ่ ค่านิยมของบคุ คล๕๑
Kaufman พบว่า อายุ เพศ การศึกษาขนาดครอบครัว อาชีพรายได้และความยาวนาน
ในการอาศัยอยู่ในท้องถ่ิน มีความสัมพนั ธ์กับระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน๕๒

๕๑ Person, การเข้ามามีส่วนร่วมของคนในชุมชนในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น, (กรุงเทพฯ :
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, ๒๕๖๑), หนา้ ๖.

๕๒ Kaufman, ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของคนในชุมชนในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น,
(กรงุ เทพฯ : เอ็กซเปอรเ์ น็ท, ๒๕๖๐), หนา้ ๕.

๕๐

Alvin Bertrand ที่พบว่า ปัจจัยทางวัฒนธรรมของประชาชนที่มีความสัมพันธ์กับการมี
ส่วนร่วมได้แก่ ลักษณะของบุคคลคืออายุเพศ สถานภาพทางสังคม อาชีพ การศึกษา ถิ่นที่อยู่อาศัย
ระยะเวลาในทอ้ งถิน่ ค่านยิ มและทัศนคติ๕๓

John M. Cohen และ Norman T. Uphoff ได้กล่าวถงึ ภาวะแวดล้อมทีม่ ีผลต่อการมี
ส่วนร่วมของประชาชนคือ ปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางการเมือง
ปจั จยั ทางสงั คม ปจั จยั ทางวฒั นธรรมและปจั จยั ดา้ นประวตั ิศาสตร์๕๔

William W. Reeder๕๕ ยังกล่าวว่าปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการกระทำหรือพฤติกรรม
ของมนุษย์โดยมคี วามเชื่อว่าปัจจัยภายนอกคือสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมไม่มีอทิ ธิพลโดยตรง
ตอ่ การตัดสินใจ แตบ่ คุ คลจะแปลงสถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมเหล่านนั้ มาสู่ตัวบุคคลในรูปแบบ
ของความเช่อื (Beliefs)และความไม่เชื่อ (Disbeliefs) ซ่งึ จะเปน็ เหตุผลทจ่ี ะทำใหบ้ ุคคลตัดสินใจเลือก
กระทำพฤติกรรมซ่ึงขึน้ อยูก่ ับปัจจัยหลายด้านคอื

๑) ปัจจัยที่ดึงดูดให้เกิดการกระทำได้แก่เป้าหมาย (Goals) ความเชื่อ (Belieforientation)
คา่ นยิ ม (Value Standards) นสิ ยั และขนบธรรมเนียม (Habits and Custom)

๒) ปัจจัยผลักให้เกิดการกระทำได้แก่ความคาดหวัง (Expectations) ข้อผูกพัน
(Commitments) และการบังคับ (Force)

๓) ปัจจัยสนับสนุนได้แก่โอกาส (Opportunity) ความสามารถ (Ability) การสนับสนุน
(Support) เปน็ แรงกระตนุ้ ให้คนกระทาสิง่ หนง่ึ ส่ิงใดลงไป

Singh สรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางสังคมไว้ว่า มีปัจจัยถึง ๓๒ ตัวที่มีส่วน
รว่ มกำหนดระดับการมสี ่วนร่วมทางสังคมได้แก่ อายุ เพศสขุ ภาพ ระยะเวลาอาศัยในชุมชน ระยะห่าง
ของการตั้งบ้านเรือน ขนาดของครอบครัว มาตรฐานทางสังคมของประชาชน ระดับการศึกษา ระดับ
ความเป็นอยู่ การครอบครองที่ดิน ปัจจัยทางเศรษฐกิจ เชื้อชาติและสัญชาติ พื้นเพทางครอบครัว
ลำดับชั้นทางสังคม ปัจจัยส่วนบุคคล การปรับตัวทางสังคม ความสนใจ ความเฉลียวฉลาด การอบรม
ทางพฤติกรรม ทัศนคติ ข่าวสารและการติดต่อสื่อสาร ความเชื่อศาสนา ค่านิยมทางสังคม ความเช่ือ

๕๓ Alvin Bertrand, การจัดทำแผนพัฒนาและโครงสร้างขององค์การ, (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั , ๒๕๖๑), หน้า ๑๐.

๕๔ John M. Cohen, กระบวนการพัฒนาท้องถิ่น, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๖๑),
หน้า ๖.

๕๕ William W. Reeder, เทคนิคการมีส่วนร่วมของประชาชนและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง, (กรุงเทพฯ :
เอก็ ซเปอร์เนท็ , ๒๕๖๑), หน้า ๖.

๕๑

ในตนเอง ความเชื่อและการแสดงออกทางพฤติกรรม ความพึงพอใจการเป็นผู้นำและการตระหนกั ถงึ
ความสำคญั ของกจิ กรรม๕๖

Roger กล่าวว่าปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้นให้บุคคลเป็นตัวตัดสินใจเข้าร่วมกระทำกิจกรรม
ใหม่ๆในชุมชนหรอื ยอมรับสงิ่ ใหมๆ่ คอื การตดิ ตอ่ สื่อสารและลักษณะส่วนตัวของบุคคลนนั้ ๆ๕๗

๑) ปจั จัยชอ่ งทางการสอื่ สารเปน็ วิธีการท่ีผสู้ ง่ ข่าวสารไปยังผู้รบั สารใน ๒ ลกั ษณะคือ
๑.๑) ช่องทางการสื่อสารมวลชน (Mass Media Channel) เป็นวิถีการถ่ายทอด

ข่าวสารที่เกี่ยวกับการสื่อสารเช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารและหนังสือประเภทอื่นๆเช่น
ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ ซึ่งมีความสำคัญในการเพิ่มความรู้กระจายข่าวสารสามารถเปลี่ยนแปลง
ทัศนคตขิ องบุคคลได้

๑.๒) ช่องทางการสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Channel) เป็นการติดต่อ
ระหว่างบุคคลเพื่อถ่ายทอดข่าวสารระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารซึ่งมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง
ทศั นคตไิ ด้มากกว่าสื่อประเภทอ่ืนๆ

๒.๖ แนวคดิ เกย่ี วกับเครือข่ายทางสังคม

ในสาขาวิชาสงั คมวิทยา (Sociology) มแี นวคดิ และทฤษฎีจำนวนมากที่ถูกสรา้ งขึ้นเพ่ือใช้
ในการศึกษาและ วิเคราะห์ สังคมบางทฤษฎี เติบโตและพัฒนา มาเป็นทฤษฎีกระแสหลัก
(Main Stream Theory) ที่เป็นกรอบคิดอันทรงอิทธิพลอย่างยาวนานหลายทศวรรษ อันได้แก่
ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (Structural Functional Theory) บางทฤษฎกี ่อตัวจากแนวคิดที่ตรงกันข้าม
กับทฤษฎีอื่น เช่น ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) บางทฤษฎีเกิดจากความพยายามในการ
เติมเต็มช่องว่างของทฤษฎีอื่น เช่น ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน ( Exchange Theory) และทฤษฎี
ปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Interaction Theory) บางทฤษฎีเติบโตจากการวิพากษ์
(Critique) ทฤษฎีกระแสหลัก ทำให้เกิดเป็นทฤษฎีทางเลือก (Alternative Theory) เช่น ทฤษฎี
ปรากฏการณว์ ทิ ยา(Phenomenology) และกลมุ่ ทฤษฎีวพิ ากษ์ (Critical Theories) เปน็ ต้น๕๘

แนวคิดอุตสาหกรรมวฒั นธรรม (Culture Industry) ของสำนัก แฟรงค์เฟิร์ต (Frankfurt
School) แนวคิดหลังโครงสร้างนิ ยม (Post-Structuralism) โดยการนำของ Roland Barthes

๕๖ Singh, การมสี ว่ นรว่ มทางสังคม, (กรงุ เทพฯ : เอก็ ซเปอรเ์ น็ท, ๒๕๖๑), หน้า ๑๐.
๕๗ Roger, ปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้นให้บุคคลเป็นตัวตัดสินใจ, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
๒๕๖๑), หนา้ ๕.
๕๘ นิธิ เอียวศรวี งศ,์ ตน้ ทุนของสงั คม, (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ าสารักษาดินแดน, ๒๕๖๑), หนา้ ๗.

๕๒

ปรัชญาการรื้อสร้าง (Deconstruction)ของ Jacques Derrida ตลอดจนแนวคิดของกลุ่มปัญญาชน
แนวหลังทันสมยั (Postmodern) ที่ปฏิเสธการครอบงำของแนวคิดหลัก เช่น การปฏิเสธแนวคิดแบบ
ทวิลักษณ์( Anti-Dualism) ของMichelFoucault หรือการเรียกร้องให้ใช้วาทกรรมเล็ก (Little
Narrative) เป็นยุทธวิธีตอบโต้วาทกรรมหลัก (Grand Narrative) ที่ครอบงำสังคมของ Jean
Francois Lyotard และการวพิ ากษส์ ่ือในฐานะผูส้ ร้างภาพเสมือนจรงิ (Simulacra) ท่ีเหมอื นจริงมาก
(Hyper Reality) ของ Jean Baudrillard หรือแม้แต่การสร้างตำแหน่งกึ่งกลางระหว่างโครงสร้าง
(Structure) กับผู้กระทำการ (Agency) โดยแนวคิด Structuration Theory ของ Anthony
Giddens ขณะเดียวกันกม็ ีนักทฤษฎีทตี่ อบโต้แนวคดิ หลังสมยั ใหม่ (Postmodernism) วา่ เราสามารถ
สร้างทฤษฎีสากลเกี่ยวกับโลกทางสังคมได้ช่วยให้เราสามารถกำหนดรูปแบบของโลกได้มากและดี
ยิ่งขึ้น เช่น Jurgen Habermas ที่นำเสนอแนวคิดประชาธิปไตยและพื้นที่สาธารณะ(Democracy
and the Public Sphere), Ulrich Back ที่เสนอแนวคิดสังคมแห่งความเสี่ยง (Risk Society),
Manuel Castell กับแนวคิดเศรษฐกิจเครือข่าย(Network Economy) รวมไปถึง Anthony
Giddens กับแนวคิดการใคร่ครวญ/สะท้อนคิดทางสังคม(Social Reflexivity) เพื่อนำไปใช้ในวิถีชีวิต
ของพวกเราสาเหตุที่ทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่มีความหลากหลายดังกล่าวอาจเป็นผลมาจากความ
แตกต่างกันของฐานคติ(Assumption) และบริบท(Context) แวดล้อมของการก่อกำเนิดแนวคิด
ทฤษฎีนั้นๆรวมไปถึงการเกิดขึ้น ดำรงอยู่และเปลี่ยนแปลงของบรรดาทฤษฎี ล้วนแต่เกิดจาก
วิวัฒนาการทางความคิดที่แสดงบทบาทออกมาในหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถกเถียง
(Argument) และแสดงข้อโตแ้ ย้ง (Debate) ในจดุ ยนื ของตนต่อทฤษฎีอ่นื รวมถึงความพยายามในการ
เติมเต็ม (Fill-Full) ช่องว่างหรืออุดจุดอ่อนของทฤษฎีอื่นๆ ซึ่งบางคนอาจมองว่า เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิด
ความสับสนวุ่นวายในแวดวงสังคมวิทยาแต่ผู้เขียนกลับหาคิด เช่นนั้นไม่เพราะผู้เขียนคิดว่าการ
ถกเถียง หรอื โต้แย้งต่างๆ บนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล

เครือข่ายเป็นรูปแบบหนึ่งของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมการสร้างเครือข่ายนั้น
อาจจะแสดงออกหรือพัฒนาแบบแนวตั้งและแนวนอน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานภาพและฐานะของคนใน
เครือขา่ ยนนั้ ๆ เครอื ขา่ ยแบบแนวตั้ง คนในเครือข่ายจะเรยี งลำดับจากสงู ไปหาต่ำฝ่ายที่อยู่ในระดับสูง
จะมีฐานะอุปถัมภ์การแลกเปลี่ยนระหว่างชั้นมีลักษณะไม่เสมอภาคเท่าเทียมกันส่วนเครือข่ายแบบ
แนวนอนสถานภาพและฐานะของคนในกลุ่ม ที่เข้ามาเป็นเครือข่ายนั้นมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
การแลกเปล่ียนทรัพย์สนิ บริการหรือแมแ้ ตค่ วามรู้ มีลักษณะช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน ถ้อยทีถ้อยอาศัย ใน
กรณีที่ไม่ซับซ้อนไม่ต้องมีตัวกลางคอยประสานงาน แต่ในกรณีที่มีความซับซ้อนหรือมีสมาชิก ใน
เครอื ขา่ ยหลายกลุ่มอาจมแี ม่ข่ายเป็นตัวกลางในการประสานงานต่าง ๆ

๕๓

สุเทพ สุนทร์เภสัช๕๙ อธิบายว่าเครือข่ายเป็นรูปแบบทางด้านความสัมพันธ์ ของสมาชิก
ภายในสังคม ที่มีแบบแผนสายสัมพันธ์ต่างๆ ทั้งในระดับจุลภาคและมหาภาค ในลักษณะของการ
พึ่งพาอาศัยกันซ่ึงมหี ลกั การวา่ สายสัมพันธ์ ระหวา่ งตวั ผู้กระทำต่างๆ ปกติจะมีลกั ษณะควบคู่ขนานกัน
ในด้านเนื้อหาความเข้มข้น สนองสิ่งต่างให้แก่กันและกันโดยมีความเข้มข้นมากน้อยต่างกันและมี
ลกั ษณะการทอดต่อกัน หรือนำไปสูเ่ ครือข่ายชนิดตา่ งๆทเ่ี กิดโดยความจูงใจแต่มีข้อจำกัดว่าแนวโน้มท่ี
จะเกิดเครอื ข่ายตา่ งๆท่มี ีพรมแดนชัดเจนจะแบง่ กลมุ่ ออกจากกัน และสง่ ผลให้มีการรวมกลุ่มกันเพื่อน
าไปสูค่ วามร่วมมอื กนั

พิมพ์วัลย์ ปรีดาสวัสดิ์๖๐ กล่าวถึงเครือข่ายสังคมว่าหมายถึง สายสัมพันธท์ ัง้ ทางตรงและ
ทางอ้อมระหว่างบุคคลหนึ่งกบั บคุ คลอ่ืนๆอกี หลายคนในสังคม โดยต้องมีปฏิสัมพนั ธ์ การแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารเครื่องใช้ไม้สอย การบริการระหว่างบุคคลทั้งที่เป็นกลุ่มไม่เป็นทางการ องค์การทาง
สังคมต่างๆเปรียบเสมือนสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมของบุคคลนั้นๆ และ
ขณะเดียวกันบุคคลนั้นๆก็เปรียบเสมือนส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมทางสังคมของบุคคลอื่นๆ ใน
เครือขา่ ยสงั คม ซ่ึงมผี ลกระทบต่อพฤติกรรมของบคุ คลอื่นๆ เชน่ กนั

เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์๖๑ ได้อธิบายถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายว่า คือ การที่
ปัจเจกบุคคลหรือสถาบันมารวมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งต้องมีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกันอย่างไรก็
ตาม เพียงการรวมกลุ่มเท่าน้ันยังไม่อาจเปน็ เครือข่ายงานไดห้ ากจะให้เป็นเครือข่ายต้องมีปัจจัยอีกข้อ
คือ ความร่วมมือกันที่จะติดต่อสื่อสาร ความเต็มใจที่จะประสานงานกัน ข้อสำคัญสมาชิกต้องมีการ
ยอมรับที่จะทำ กิจกรรมร่วมกัน ไมใช่เป็นเพียงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเท่านั้นนอกจากนี้ยังให้
ความสำคญั กบั ข้นั ตอนของการพัฒนากระบวนการมีสว่ นรว่ มภายในเครือขา่ ยเพราะจะสะท้อนให้เห็น
ถึงความพยายามทจี่ ะร่วมมอื กนั ของเครือข่าย สว่ นหลักปฏบิ ัติในการสรา้ งเครอื ขา่ ยได้แก่

๑. ระบุกลมุ่ หรือบุคคล ทีส่ ามารถทำหนา้ ท่กี ระตนุ้ หรือทำให้เครือขา่ ยดำเนนิ ไปได้
๒. การจัดการเครือข่ายทีด่ ี ต้องมีศิลปะในการสานประโยชน์ ทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่
ละฝ่ายได้ประโยชนร์ ว่ มกนั

๕๙ สุเทพ สุนทร์เภสัช, เครือข่ายเป็นรูปแบบทางด้านความสัมพันธ์, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อาสารักษา
ดนิ แดน, ๒๕๖๑), หนา้ ๗.

๖๐ พมิ พ์วลั ย์ ปรดี าสวัสด์,ิ การบรกิ ารระหว่างบุคคลท้ังที่เป็นกลมุ่ ไมเ่ ป็นทางการ, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
อาสารักษาดินแดน, ๒๕๖๑), หน้า ๑๐.

๖๑ เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์, การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมภายในเครือข่าย, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
อาสารักษาดนิ แดน, ๒๕๖๑), หนา้ ๗.

๕๔

๓. ในการพฒั นา การปฏิบัตแิ ละติดตามผลของกิจกรรม หรอื โครงการต่างๆของเครือข่าย
จะตอ้ งมีการติดต่อส่ือสารกันอยา่ งใกล้ชดิ ระหว่างสมาชกิ เครอื ข่ายผูไ้ ด้รับผลประโยชน์และผูใ้ หท้ ุน

๔. จำเป็นตอ้ งมคี วามสนใจร่วมกนั วตั ถปุ ระสงค์และทัศนะร่วมกัน และมวี ธิ ี การทำงานท่ี
จะอำนวยให้เกิดการติดตอ่ สื่อสารระหว่างสมาชิก

Martin Kilduff และ Wenpin Tsai๖๒ ได้จำแนกกลุ่มงานวิจัยที่ใช้แนวคิดและทฤษฎี
ซึ่งมีความสัมพันธ์ กับแนวคิดเครือข่ายทางสังคม เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัย ซึ่งพบว่าสามารถ
จำแนกออกเป็น ๓ กลมุ่ ดังนี้

๑. กลุ่มงานวจิ ัยท่ใี ชท้ ฤษฎนี ำเขา้ (Import Theories) เป็นทฤษฎีที่หยบิ ยืมมาจากศาสตร์
สาขาอื่น เช่น คณิตศาสตร์ และจิตวิทยาสังคม ทฤษฎีที่นำมาจากคณิตศาสตร์ คือ ทฤษฎีกราฟ
(Graph theory) ซึ่งเป็นพื้นฐานของการวิจัยในด้านนี้ อย่างต่อเนื่อง ส่วนทฤษฎีที่นำมาจากศาสตร์
สาขาจิตวิทยาสังคม ได้แก่ ทฤษฎีสมดุล (Balance Theory) และทฤษฎีการเปรียบเทียบทางสังคม
(Social Comparison Theory) โดยทฤษฎีเหล่านี้ ตา่ งมีคุณูปการต่อกระบวนการศึกษาเครอื ข่ายทาง
สังคม ในกลุม่ สังคมในรปู แบบขององคก์ รตา่ งๆ

๒. กลุ่มงานวิจัยที่ใช้ทฤษฎีเติบโตจากภายใน (Home-grown Theories) สามารถแบ่งได้
เป็น ๒ ทฤษฎีหลกั ไดแ้ ก่

(๑) ทฤษฎี Heterophily Theory ซึ่งกล่าวถึงแนวคิดด้านจุดแข็งของการเกาะเกี่ยวกัน
อยา่ งหลวมๆ (The Strength of Weak Ties) และหลมุ ของโครงสร้าง (Structure Hole)

(๒) ทฤษฎีบทบาทเชิงโครงสร้าง (Structural Role Theory) ซึ่งกล่าวถึงแนวคิดด้าน
ความเท่าเทียมกันทางโครงสร้าง ความเหนียวแนน่ ในโครงสรา้ ง และความเท่าเทียมกันในบทบาท ซึ่ง
จะสามารถศึกษาให้รู้ได้ว่าผู้แสดง (Actors) ในเครือข่ายมีอิทธิ พลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของคน
อ่นื อยา่ งไร

๓. กลุ่มงานวิจัยที่ส่งออก (Exportation) ได้แก่ แนวคิด เร่ืองเครือข่าย (Network)ที่เป็น
ผลผลิตที่สรา้ งผลประโยชน์ ทางความรู้ให้แก่กลุ่มทฤษฎีองค์กร โดยใช้ทฤษฎีองค์การ(Organization
Theories) ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ องค์การภายใต้มุมมองของเครือข่ายทางสังคม และมี
การศึกษาค้นคว้าก้าวไกลออกไปเพื่อให้เห็นศักยภาพของความเก่ี ยวพันอย่างสำคัญระหว่างทฤษฎี
องค์การและแนวคิดด้านเครือข่ายทางสังคมซึ่งในภาคธุรกิจได้นำมาใช้เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่
องคก์ ารในเครือขา่ ย และการสรา้ งอำนาจการต่อรองให้แก่องค์การของตนเพื่อสามารถดำเนนิ ธุรกิจอยู่

๖๒ Martin Kilduff และ Wenpin Tsai, เครอื ข่ายเป็นรปู แบบทางด้านความสัมพันธ์, (กรงุ เทพฯ : โรง
พิมพ์อาสารกั ษาดนิ แดน, ๒๕๖๑), หน้า ๑๗.

๕๕

ใหไ้ ด้ท่ามกลางการแขง่ ขนั ท่สี งู มากในปัจจุบนั จะเห็นได้ว่ากลุม่ งานวิจัยทใี่ ช้ทฤษฎที ั้งสามกล่มุ ดังกล่าว
เปน็ ความพยายามท่จี ะอธิบายว่า พน้ื ฐานทางทฤษฎีเหล่า น้นั สามารถอธบิ ายถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง
บุคคล และระหว่าง องค์การว่า มีลักษณะอย่างไร เช่น ในขณะที่ทฤษฎีนำเข้า (Import Theories)
จะกล่าวถึงความสัมพันธ์ (Relation)หรือปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ในระดับจุลภาค (Micro Level)
ของปัจเจกบุคคลเป็นหลักนั้น ทฤษฎที ่ีเติบโตข้นึ จากภายใน (Home-grown Theories) กลับมงุ่ เน้นท่ี
จะดำเนินการในงานวิจยั ทง้ั ระดบั จลุ ภาคและมหภาค (Macro Level) ๖๓

แนวคดิ เกี่ยวกับเครือข่ายจัดเปน็ แนวคิดที่สำคัญและถูกนำมาใช้กนั อยา่ งแพร่หลายในการ
อธิบายภาพการเคลื่อนตัวจากกลุ่มสู่การรวมตัวเป็นเครือข่าย เพื่อสร้างพลังในการขับเคลื่อน
กระบวนการจัดการ หรือสร้างพลังในการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆได ้จากแนวคิดและความหมายของ
เครือข่ายทางสังคมของ นักวิชาการหลากหลาย สามารถสรุปได้ว่า เครือข่ายสังคมหมายถึง
ความสัมพันธ์ของบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่นๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในลักษณะความสัมพันธ์
ที่มีความหลากหลาย มีการแลกเปลี่ยนรวมตัวขององค์กรในชุมชนตางๆ โดยมีความเท่าเทียมกันเป็น
การจัดการที่เกิดจากการเรียนรู้และความร่วมมือระหว่างองค์กรต่างๆ เป็นการรวมกันเพื่อให้ได้มาซึง่
ทรพั ยากร เกิดความรว่ มมือและความขัดแย้งกัน ก่อนใหเ้ กิดการเปล่ยี นแลงรู ปแบบตา่ งๆให้เกิดความ
เหมาะสมในสังคม ซึ่งแนวคิดเครือข่ายทางสังคมเป็นแนวคิดที่จะช่วยในการอธิ บายภาพการเคลื่อน
ตวั จากกล่มุ สกู่ ารรวมตัวเป็นเครือขา่ ยเพ่ือสร้างอำนาจในการต่อรองในการจัดการหรือเปลี่ยนแปลงส่ิง
ต่างๆในชมุ ชน

อย่างไรก็ตาม ในการเข้าร่วมกิจกรรมของเครือข่ายนั้น ควรรู้ถึงประโยชน์ที่จะได้รับด้วย
ประโยชน์อย่างแรกที่จะได้ คือ แทนที่จะต้องทำงานคนเดียวหรื อกลุ่มย่อยๆ ก็ให้มาทำงานร่วมกลุม่
มาร่วมกันกำหนดประเด็นสำคัญ ทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค หรือระดับชาติ ซึ่งอาจจะมาจากการ
ประชุมเครือข่าย ประโยชน์อย่างหนึ่งก็คือ การได้รับข้อมูลใหม่ ความรู้ใหม่ ทำให้เกิดความเข้าใจ
รวมท้ังความเชอื่ ถือซ่งึ กันและกนั มากขนึ้

๒.๗ แนวคิดและทฤษฎเี กยี่ วกับแรงจงู ใจ

แรงจูงใจ (Motivation) คือ สิ่งซึ่งควบคมุ พฤติกรรมของมนษุ ย์ อันเกิดจากความต้องการ
(Needs) พลังกดดัน (Drives) หรือ ความปรารถนา (Desires) ที่จะพยายามดิ้นรนเพื่อให้บรรลุผล
สำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ ซง่ึ อาจจะเกิดมาตามธรรมชาติหรือจากการเรยี นรกู้ ็ได้ แรงจงู ใจเกิดจากส่ิงเร้า

๖๓ ประทาน คงฤทธศ์ิ กึ ษากร, เครอื ขา่ ยเป็นรูปแบบทางด้านความสมั พนั ธ์, (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์อาสา
รกั ษาดินแดน, ๒๕๖๑), หน้า ๗.

๕๖

ทั้งภายในและภายนอกตัวบุคคลนั้น ๆ เอง ภายใน ได้แก่ ความรู้สึกต้องการ หรือขาดอะไรบางอย่าง
จึงเป็นพลังชักจูง หรือกระตุ้นให้มนุษย์ประกอบกิจกรรมเพื่อทดแทนสิ่งที่ขาดหรือต้องการนั้น
ส่วนภายนอกได้แก่ สิ่งใดก็ตามที่มาเร่งเร้า นำช่องทาง และมาเสริมสร้างความปรารถนาในการ
ประกอบกจิ กรรมในตัวมนษุ ย์ ซ่งึ แรงจูงใจน้อี าจเกิดจากส่งิ เร้าภายในหรอื ภายนอก แตเ่ พยี งอยา่ งเดียว
หรือทั้งสองอย่างพร้อมกันได้ อาจกล่าวได้ว่า แรงจูงใจทำให้เกิดพฤติกรรมซึ่งเกิดจากความต้องการ
ของมนุษย์ ซง่ึ ความตอ้ งการเปน็ ส่งิ เรา้ ภายในท่สี ำคัญกบั การเกิดพฤติกรรม นอกจากนยี้ งั มสี ิง่ เร้าอื่น ๆ
เช่น การยอมรับของสังคม สภาพบรรยากาศที่เป็นมิตร การบังคับขู่เข็ญ การให้รางวัลหรือกำลังใจ
หรือการทำใหเ้ กดิ ความพอใจ ล้วนเป็นเหตุจูงใจใหเ้ กดิ แรงจงู ใจได้

๒.๗.๑ แนวคดิ ทฤษฏเี กีย่ วกบั แรงจูงใจ
สภาพสังคมในปัจจุบันเป็นสังคมพลวัต (Social Dynamics) มีกระแสของการ
เปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆตลอดเวลาทั้งสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ประกอบกับความ
เจรญิ ก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีได้สง่ ผลใหช้ ีวิตความเปน็ อย่ซู ับซอ้ นมากขน้ึ กวา่ ในอดตี พฤตกิ รรมของคน
รุ่นใหม่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้มากขึ้นและมีลักษณะแตกต่างไปจากเดิมหลายประการ อาทิ ความ
สนใจข้อมลู จากสอ่ื ออนไลนก์ ารใชอ้ นิ เทอร์เน็ต และการใช้เคร่อื งมอื ส่อื สารท่ีทนั สมยั ทำใหม้ ีโลกทัศน์ที่
กวา้ งไกลขน้ึ วิธีการสอนแบบดงั้ เดมิ ของครูอาจารย์อาจไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียน
ได้เพียงพอ โดยเฉพาะการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศผู้สอนจำเป็นต้องมีกลยุทธ์การสอนภาษาที่สร้าง
แรงจูงใจให้แกผ่ เู้ รยี นเพ่อื โน้มนา้ วให้กระบวนการเรยี นรมู้ ปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้ เป็นทย่ี อมรับในแวดวง
วิชาการมานานแล้วว่าแรงจูงใจเป็นองค์ประกอบด้านจิตวิทยาที่มีความสำคัญสำหรับการเรียนรู้
บุคคลที่มีแรงจูงใจจะเกิดความกระตือรือร้นและพยายามดิ้นรน เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย
แรงจูงใจเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอน แบ่งได้เป็น ๒ ลักษณะ๖๔ (Walker, Greene,
& Mansell, ๒๐๐๖) ได้แก่ ๑. แรงจงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation) เปน็ ส่ิงกระตุน้ หรอื ผลักดันมา
จากภายในตวั บุคคล ซึง่ อาจจะเปน็ เจตคตหิ รือทัศนคติ ความคิด ความสนใจ การเหน็ คณุ ค่าหรือความ
ตอ้ งการอยากรูอ้ ยากเห็นในสง่ิ ตา่ งๆ เป็นสภาวะที่บคุ คลตอ้ งการแสดงการกระทำหรือแสดงพฤติกรรม
ต่างด้วยตนเอง เพื่อให้ตนเองมีความรู้สึกว่า ตนมีความสามารถมีศักยภาพ โดยไม่ได้เกิดจากสิ่งเร้า
ภายนอก เช่น ต้องการเรียนรู้เพราะต้องการรู้และเข้าใจในสิ่งนั้น หรือต้องการทำงานที่ยาก
เพราะรสู้ ึกวา่ เป็นส่ิงทา้ ทาย หรอื ความต้องการไปท่องเที่ยวต่างแดน เพราะตอ้ งการสนกุ สนาน และทำ

๖๔ Walker, C. O., Greene, B. A., & Mansell, R. A. (๒ ๐ ๐ ๖ ). Identification with academics,
intrinsic/extrinsic motivation, and self-efficacy as predictors of cognitive engagement. Learning and
Individual Differences, ๑๖, ๑-๑๒.

๕๗

ให้มีโลกทัศน์ที่กว้างไกลขึ้น ๒. แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) เป็นสภาวะที่บุคคลได้รับ
การกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอกจนเกิดพฤติกรรมที่นำไปสู่เป้าหมาย เช่น เงิน ปริญญาบัตร รางวัล
เกียรตยิ ศ ช่ือเสียง ความกา้ วหน้า คำชมเชย การไดร้ ับการยอมรับนบั ถอื และสภาพแวดล้อมอื่นๆ เมื่อ
บุคคลเห็นเป้าหมายที่ต้องการ บุคคลนั้นก็จะถูกกระตุ้นหรือเร้าให้แสดงพฤติกรรมเพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย
นน้ั มผี ลการศึกษาจำนวนมากท่สี นับสนนุ ว่า การสร้างแรงจงู ใจท้ังภายในและภายนอกสามารถใช้เป็น
ตัวกำหนดความสำเร็จการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้ เสนอว่า แรงจูงใจเป็นตัวแปรที่ซับซ้อนแต่ก็
สามารถนำมาใช้ในพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อให้การเรียนภาษาต่างประเทศสัมฤทธิ์ผลดียิ่งขึ้น
เพราะแรงจูงใจเป็นการผสมผสานระหว่างความพยายามกับความต้องการที่จะบรรลุเป้าหมาย โดย
เสนอว่า แรงจูงใจ มี ๒ ประเภท คือ แรงจูงใจเชิงบูรณาการ (Integrative Motivation) หมายถึง
ความต้องการเรียนภาษาต่างประเทศสำหรับสื่อสารกับชาวต่างชาติ และแรงจูงใจเชิงเครื่องมือ
(Instrumental Motivation) หมายถงึ ความตอ้ งการเรียนภาษาตา่ งประเทศ เพอ่ื ความเจรญิ ก้าวหน้า
เช่น การได้ทำงานที่ดี มีรายได้ที่สูงขึ้น ซึ่งมีการวิจัยพบว่า แรงจูงใจเชิงเครื่องมือ เป็นปัจจัยสำคัญที่
ส่งผลโดยตรงกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ในสภาพความเป็นจริง การเรียนภาษาต่างประเทศใด ๆ ก็
ตาม ผู้เรียนต้องใช้ความพยายาม อดทน และเอาใจใส่ฝึกฝนมากเป็นพิเศษ จึงจะเกิดประสิทธิภาพ
อยา่ งเต็มท่ี ดังนน้ั การเรยี นร้ภู าษาองั กฤษ ผ้เู รยี นจำเป็นตอ้ งทบทวนและฝกึ ฝนทกุ ๆ ทักษะเพอ่ื ให้เกิด
ความชำนาญ ผู้สอนจึงจำเป็นต้องสร้างเสริมแรงจูงใจใหเ้ กิดขึ้นกับตวั ผู้เรยี นเสียก่อน เพื่อให้ผู้เรียนมี
เป้าหมายในการเรียนอย่างชัดเจน เพราะตามหลักการแล้ว ถ้าผู้เรียนมีแรงจูงใจ ย่อมปรารถนาที่จะ
ขยันหมั่นเพียร อดทน พร้อมที่จะฝึกฝน และขวนขวาย รวมทั้งตั้งใจที่จะเรียนรู้เพื่อให้ตนเองมี
ความสามารถในการใช้ภาษา

๒.๗.๒ ทฤษฎที เ่ี กย่ี วของกบั ประเภทของแรงจูงใจ
โดยธรรมชาติแลวมนุษยจะแสวงหาสถานภาพสมดุลอยูเสมอที่จะรักษา ความคงตัว
ภายในเปนตนวามนุษยแสวงหาอาหารรับประทานความหิว เปนแรงขับ (Drive) หรือ แรงจูงใจ
(Motiva) ใหเกิดพฤติกรรมทฤษฎีนี้ฮัล (Hull) ใหชื่อวา“ทฤษฎีลดแรงขับ” โดย ฮันดอลลาร และมิล
เลอรไดแบงแรงขับหรอื แรงจูงใจออกเปน ๒ ประเภทคอื
๑). แรงจูงใจทางสรีระ (Physiological Motives) แรงจูงใจประเภทนี้ประกอบดวยความ
หวิ ความกระหายและความตองการทางเพศ
๒). แรงจูงใจทางจิตวิทยา (Psychological Motives) ซึ่งเปนแรงจูงใจที่เกิดขึ้นจากการ
เรยี นรู ตวั อยางเชนแรงจูงใจใฝสมั ฤทธ์แิ รงจงู ใจท่อี ยากเปนสวนหนงึ่ ของหมูคณะ เปนตน
แรงจูงใจ (Motivation) คือสิ่งที่กําหนดทิศทางและ ระดับความตั้งใจที่จะกระทําหรือ
ประพฤติ(Direction and intensity) ในการเลอื กและการคงไวของ พฤติกรรมมนษุ ย แรงจูงใจเปนตัว

๕๘

กํากับพฤติกรรมของมนุษยที่จะใหถอยหนีหรือเผชิญหนาต อสถาน การณตางๆและความตั้งใจที่จะ
ประพฤติหรอื พยายามที่จะบรรลุตามเปาประสงค ใหความหมายของแรงจงู ใจวาหมายถึงกระบวนการ
ที่ อินทรียถูกกระตุนจากสิ่งเราใหมีพฤติกรรมมุงไปสูจุดหมายปลายทางถามีแรงจูงใจมากพฤติกรรม
กจ็ ะ มมี ากดังน้ันการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมของมนุษยจึงเกดิ จากแรงจูงใจเปนสาํ คัญ คดิ ด ไดกลาวถึง
“แรงจูงใจ” มาจาก คํากริยาในภาษาลาตินวา Movere ซึ่งมีความหมายตรงกับคําในภาษาอังกฤษวา
“to move” อนั หมายความวา“เปนสิ่งทีโ่ นมนาวหรือชักนําใหบุคคลเกิดการกระทําหรือปฏิบัติการ”

แรงจูงใจ (Motivation) ๖๕คือ สิ่งที่กําหนดทิศทางและ ระดับความตั้งใจที่จะกระทําหรือ
ประพฤต(ิ Direction and intensity) ในการเลือกและการคงไวของ พฤตกิ รรมมนุษย แรงจงู ใจเปนตวั
กํากับพฤติกรรมของมนุษยที่จะใหถอยหนีหรือเผชิญหนาต อสถาน การณตางๆและความตั้งใจที่จะ
ประพฤติหรือพยายามที่จะบรรลุตามเปาประสงค ใหความหมายของแรงจูงใจวาหมายถึงกระบวน
การที่ อินทรียถูกกระตุนจากสิ่งเราใหมีพฤติกรรมมุงไปสูจุดหมายปลายทางถามีแรงจูงใจมาก
พฤติกรรมก็จะ มีมากดังนั้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษยจึงเกิดจากแรงจูงใจเปนสําคัญ
คดิ ด ไดกลาวถึง“แรงจูงใจ” มาจาก คํากริยาในภาษาลาตินวา Movere ซ่ึงมีความหมายตรงกับคําใน
ภาษาอังกฤษวา“to move” อัน หมายความวา“เปนสิ่งที่โนมนาวหรือชกั นําใหบุคคลเกิดการกระทาํ
หรอื ปฏบิ ัติการ”

๒.๘ การส่งเสริมการรกั ษาศลี ๕ ของคณะสงฆจ์ งั หวดั เชยี งราย

เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชมีดำริที่จะ
สร้างความปรองดองและสมานฉันท์ของคนในชาติให้เกิดความสงบสุข สันติสุข มีความสามัคคี
กลมเกลียงกัน โดยให้พุทธศาสนิกชนได้น้อมนำหลักศีล ๕ มาประพฤติปฏิบัติในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน กอปรกับคณะรักษาความสงบแก่งชาติ ได้น้อมรับแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
ดว้ ยการใหท้ ุกภาคสว่ นร่วมมือดำเนนิ การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ และทำให้ประชาชนมีความ
รักความสามัคคี โดยเริ่มจากครอบครัว หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ซึ่งจะนำพาประเทศก้าวไป
ขา้ งหนา้ อย่างปลอดภยั และยั่งยืน ในการน้คี ณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายซง่ึ มภี ารกจิ ในการส่งเสริมให้สังคม
มีศีลธรรมและคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางของพระพุทธศาสนาจึงได้กำหนดกิจกรรม
ในการสนับสนุนให้เด็กเยาวชนและประชาชนทุกเพศทุกวัยได้นำหลักธรรมคำสอนในทาง
พระพุทธศาสนาไปพัฒนาชีวิตครอบครัว ชุมชนและสังคม โดยเน้นการรณรงค์ ส่งเสริมและสนับสนุน
ให้มีหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ในทุกส่วนของจังหวัดเชียงราย ตามดำริของสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์

๖๕ พงษพนั ธ พงษโสภา, แรงจงู ใจ, (กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์อาสารกั ษาดินแดน, ๒๕๖๑), หน้า ๗.

๕๙

ที่ได้ประทานโอวาทเมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ความว่าประชาชนย่อมจะอยู่เย็นเป็นสุข เม่ือ
เป็นไปได้ขอให้ชื่อหมู่บ้านนั้นว่าหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ซึ่งฝ่ายการคณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายและ
จังหวัดเชียงรายได้กำหนดพื้นที่เป้าหมายดำเนินการพร้อมกันทั้ง ๑๘ อำเภอ ในระยะเร่งด่วน
ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงสิงหาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา ทั้งด้านปริมาณในการจัดทำบันทึกข้อตกลงให้
ส่วนราชการ นายอำเภอ กำนัน ผใู้ หญบ่ ้าน ดำเนินการรณรงค์ให้ประชาชนเขา้ ร่วมโครงการครอบคลุม
ทุกพื้นที่และมีสถานศึกษาหน่วยงานเข้าร่วมเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ ๓๐ ส่วนในด้านคุณภาพได้จัดให้มี
กิจกรรมการรักษาศีล ๕ เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพะพุทธศาสนาและของชาติ รวมทั้งการบูรณา
การเข้ากับโครงการแผ่นดินธรรมแผ่นดินทองของกองทัพภาคที่ ๓ โดยใช้หลัก บวร ซึ่งได้รับความ
ร่วมมือและการสนับสนุนจากคณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชน ตอลดทั้งประชาชนทั่วทัง้ จงั หวัดเชียงราย
เป็นอย่างดี และคาดหวังว่าในปี ๒๕๖๓ หมู่บ้านละประชากรในจังหวัดเชียงรายจะเข้าร่วมโครงการ
ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๙๐ อยา่ งแนน่ อน

๒.๙ การสร้างเครือข่ายของหมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕ ของคณะสงฆใ์ นจังหวดั เชยี งราย

การสร้างเครือข่ายการพัฒนาชุมชนต้นแบบในจังหวัดเชียงราย เพื่อการพัฒนาคุณค่า
ความเป็นมนุษย์ตามหลักศีล ๕ จังหวัดเชียงราย มีรูปแบบกิจกรรมและโครงการต่างๆ ทั้งภาครัฐและ
คณะสงฆ์ ได้มีส่วนส าคัญในการสร้างความร่วมมือ ความเข้าใจ และพัฒนาแนวคิดของชุมชน เพ่ือ
ส่งเสริมความเข้าใจให้ชุมชนตระหนักถึงอัตลักษณ์ และสร้างความภูมิใจในชุมชนและคุณค่าของชีวิต
มนุษย์ โดยการจัดกิจกรรมทางศาสนา เป็นกระบวนการสร้างเครือข่ายการทำงานเพื่อนำไปสู่การ
ขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งในมิติของการอยู่ร่วมกัน ซึ่งจะต้องมีการประสานงานหลักเพ่ือ
แก้ปัญหาและนำมาซึ่งความต่อเนื่องและยั่งยืนของกิจกรรม มีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในระดับประชาชน
คือ ประชาชนมีความร่วมมือในการจัดกิจกรรมทางศาสนาที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตในครอบครัวได้มีส่วน
สำคญั ในการนำเดก็ และเยาวชนไดส้ รา้ งแรงจงู ใจในการสรา้ งเครือข่ายได้ง่ายและรวดเรว็ ย่ิงขึน้

๒.๑๐ งานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง

งานวิจัยเรื่อง การสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน ในจังหวดั เชียงราย มงี านวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งดังน้คี อื

พระครูศรีปริยัตยารักษ์ ได้ทำงานวิทยานิพนธ์เรื่อง รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้าน
รักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า หลักการทํางาน

๖๐

ของเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕๖๖ จากเครือข่ายคณะสงฆ์ สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
นครราชสีมา หมู่บ้าน/ชุมชน จังหวัดนครราชสีมา การปฏิบัติงานเชื่อมโยงเครือข่ายภายใต้ระเบียบ
กฎเกณฑ์ แนวทางการขับเคลื่อนภายใต้การผสมผสานความต้องการมีส่วนร่วมสร้างหมู่บ้านรักษาศีล ๕
โดยเครือข่ายคณะสงฆ์ และสํานักงานพระพุทธศาสนาเป็นกลไกขับเคล่ือน ในการสร้างแรงศรัทธาจูง
ใจให้หมู่บ้านและชุมชนเข้ามาร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายตาม ๑) หลักการสร้างความตระหนัก และ
รวมตัวเป็นเครือข่าย ๒) หลักการสร้างพันธกรณี และการบริหารเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕
๓) หลักการพัฒนาความสัมพันธ์ของเครือข่ายหมู่บา้ นรักษาศีล ๕ ๔)หลักการรกั ษาความสมั พันธ์และ
ความต่อเน่อื งของเครอื ข่ายหมบู่ า้ นรักษาศลี ๕

ความสัมพันธ์เชิงเครือข่ายแบบบูรณาการภารกิจเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ในจังหวัดนครราชสีมา ได้แก่ ๑) ความสัมพันธ์เครือข่ายเชิงอํานาจ
หน้าที่ เป็นเครือข่ายการทํางานบูรณาการภารกิจที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยง ในการทํางานร่วมกัน
ตามหน้าที่รับมอบหมาย ๒) ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ การดําเนินการเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็น
การดําเนินการตามสภาพการปกครอง ๓๒ อําเภอ มีคณะสงฆ์จังหวัดนครราชสีมา สํานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดนครราชสีมา หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นจัดตั้งเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ในเชิง
พื้นที่การปกครอง ๓) ความสัมพันธเ์ ชิงประเด็น มีการวางแผน มีการดําเนินงาน ช่วยเหลือ สนับสนนุ
ให้คําปรึกษาแก่กันและกัน มีการติดตามประเมินผล ตามประเด็นที่สนใจร่วมกัน ลงไปสู่พื้นที่การ
ทํางานระดับหมูบ่ ้าน วัด ชุมชน องค์กร หน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อจัดกิจกรรมต่างตามประเด็นท่ไี ด้
กาํ หนดไว้

พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ ได้ทำวิทยานิพนธ์เรื่อง หมู่บ้านรักษาศีล ๕ : รูปแบบและ
กระบวนการเสริมสร้าง วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของสังคมไทย ผลการวิจัยพบว่า ๑) แนวคิดในการ
ดำเนินงานของโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ โดยตรง ได้กำหนดไว้ใน ๒ ประการ คือ (๑) การสร้าง
เครือข่าย คือการดาเนินการเพ่ือเชิญชวนให้คนในหมู่บ้านมาร่วมกนั รักษาศลี ๕ เพื่อเชื่อมโยงกลุ่มคน
ที่สมัครใจที่จะมาร่วมกันรักษาศีล ๕ ภายใต้พื้นฐานของความเคารพสทิ ธิ เชื่อถือ เอื้ออาทรซึง่ กันและ
กัน โดยมีหลักการ คือ ความสัมพันธ์ของสมาชิกในเครือข่ายต้องเป็นโดยสมัครใจ มีการรับรู้และ
มุมมองที่เหมือนกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในเครือข่าย มีการเสริมสร้างซึ่งกัน และกันและ
การเกื้อหนุนพึ่งพากัน (๒) การประชาสัมพันธ์ส่งต่อความดี คือการประกาศ เชิญชวนให้บุคคล

๖๖ พระครูศรีปริยัตยารักษ์, “รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๖๐), หนา้ ๓๔.

๖๑

หมายถึงประชาชนชาวบา้ นหรือพทุ ธศาสนกิ ทง้ั หลายในชมุ ชน หม่บู ้าน ตำบล อำเภอ หรอื จังหวัดของ
ตนเองทาความดี ดว้ ยการรกั ษาศลี ๕ ในชีวิตประจาวนั ๒) แนวทางการสร้างวฒั นธรรมการอย่รู ว่ มกัน
ของชุมชนภายใต้โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ชุมชนจะต้องสร้าง (๑) ชุมชนต้องมีผู้นำที่ตั้งตนอยู่ใน
ศีล ๕ (๒) มีการสร้างกฎกติกาและมีการเคารพกฎกติกา (๓) อยู่ร่วมกันโดยใช้หลักความเมตตา
(๔) ไม่ตามกระแสวัตถุนยิ ม คือมีความพอเพียง ความพอใจในสง่ิ ที่มอี ยู่ (๕) มคี วามพรอ้ มเพยี ง มี
ความสามัคคีของหมู่คณะ ๓) การเสริมสร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของชุมชนในสังคมไทยทั้ง ๔
ภาค มีความสอดคล้องกัน๖๗ ในมิติการใช้ศีล ๕ เป็นพื้นฐานในการสร้างกิจกรรมที่ส่งผลต่อการเกิด
พฤตกิ รรมดขี องคนในชมุ ชน ดังโครงการสวดมนตว์ ันอาทิตพิชิตมาร อกี ท้ังไดบ้ ูรณาการหลกั ศลี ๕ เข้า
กับการดำเนินชีวิตประจำวันโดยที่ไม่ทำให้ศีล ๕ กระทบต่อวิถีชีวิตตามปกติ ๔) ผลการวิเคราะห์
เชิงยืนยันองค์ประกอบหลักศลี ๕ สาหรับสร้างเกณฑ์มาตรฐานการดำเนินชีวิตของชุมชนในสังคมไทย
ตามหลักศีล ๕ ผลการวิเคราะห์ยืนยันองค์ประกอบหลักศีล ๕ ปรากฏว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับ
ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์อยู่ในเกณฑ์ท่ีดี น้าหนักองค์ประกอบของมาตรฐานมีค่าเป็นบวก อยา่ งมีนัยสำคัญท่ี
ระดับ ๐.๐๕ ทุกตัว มาตรฐานที่มีน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด คือ ศีลข้อที่ ๑ กับศีลข้อที่ ๔
แสดงถึงพฤติกรรมการมีศลี ไม่มกี ารเบยี ดเบยี นผอู้ น่ื และผูต้ รงไปตรงมา รองลงมาคอื ศีลข้อที่ ๒ และ
ต่ำสุดคือศีลข้อที่ ๕ เนื่องจากสังคมส่วนหนึ่งมองว่าการดื่มสุรา หรือดื่มของมึนเมา หากไม่เมาถือว่า
ไมผ่ ิดศลี อีกทัง้ การด่ืมสรุ ายงั มผี ลตอ่ การบำรุงดูแลสุขภาพเปน็ อายวุ ัฒนะ ผลคา่ น้าหนกั อยู่ในระดับต่ำ
ตามความคดิ เหน็ ของผปู้ ฏิบัติ

พระราเชนทร์ วิสารโท ได้ทำวิทยานิพนธ์เรื่อง ศึกษารูปแบบการดำเนินงานขับเคลื่อน
โครงการ “หมู่บา้ นรกั ษาศลี ๕ ” ของคณะสงฆ์ จงั หวดั หนองคาย ผลการวจิ ัยพบว่า ๑. ศึกษาแนวคิด
ทฤษฎีและรูปแบบการดำเนินงานขับเคล่อื นโครงการ “หมู่บา้ น รักษาศลี ๕” พบวา่ “ศีล” (Morality)
หมายถงึ ความประพฤติชอบทางกาย และวาจาหรือ เรียกว่า ความเปน็ ปรกติ คือ ความมีระเบยี บวนิ ัย
ทางกาย และวาจา โดยอาศัยเจตนางดเว้นจึงละบาป คือ อกุศลได้ คือ กายทุจริต วจีทุจริต รูปแบบ
การดาเนินงานขับเคลื่อนโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล ๕”คือ รูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมของ
ปัจเจกบุคคล กลุ่มคน โดยการทำกิจกรรมร่วมกันตลอดจนมี เป้าหมายเดียวกัน หรือที่เรียกว่า
เครือข่ายทางสังคมน้ัน ซ่ึงหมายถึงการดาเนินการเพื่อเชิญชวนให้คน ในหมบู่ า้ นมารว่ มกันรกั ษาศีล ๕
จะตอ้ งมีการสร้างเครือข่าย เพื่อเช่ือมโยงกลุ่มคนที่สมัครใจจะรว่ มกัน รักษาศีล ๕ ภายใต้พ้ืนฐานของ

๖๗ พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ, “หมู่บ้านรักษาศีล ๕ : รูปแบบและกระบวนการเสริมสร้าง
วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของสังคมไทย”, วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒,(เมษายน-
มถิ นุ ายน ๒๕๖๐) : ๔๓๔-๔๔๘.

๖๒

ความเคารพสิทธิ เชื่อถือ เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน เพื่อนาไปสู่จุดหมายที่ เห็นพ้องต้องกัน ๒. ศึกษา
สภาพการดาเนินงานและกลไกของการขับเคลื่อนโครงการ “หมู่บ้านรักษา ศีล ๕” ในพื้นท่ี
จังหวัดหนองคาย๖๘ พบว่า คณะสงฆ์จังหวัดหนองคายได้ดำเนินการขับเคลื่อนหมู่บ้าน รักษาศีล ๕
โดยกรอบแนวคิดแบบวงจรคุณภาพ คือ Plan การวางแผน Do การปฏิบัติงานตามแผน Check
การตรวจสอบ และ Action การปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง (PDCA) สานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดหนองคาย เป็นแกนหลักในการประสานการขับเคลื่อน โดยความร่วมมือและ ให้การสนับสนนุ
จากทางคณะสงฆ์จงั หวัด สว่ นราชการ สถานศกึ ษา อาเภอท้องท่ีตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้นาชุมชนและภาคประชาชนร่วมขับเคลื่อนอย่างบูรณาการและเป็นภาคี เครือข่าย อีกทั้งมีแผนการ
ดำเนินงานและขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบซึ่งเป็นการดาเนินงานในเชิง คุณภาพควบคู่กับการ
ดำเนนิ งานเชงิ ปรมิ าณโดยมกี รอบแนวทางการดาเนินกิจกรรมหลกั ๓ แนวทาง ไดแ้ ก่ กจิ กรรมสง่ เสรมิ
การพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ กิจกรรมตามวิถีชาวพุทธ และกิจกรรมของหน่วย อบรมประชาชน
ประจำตำบล (อปต.) ๓. เพื่อเสนอรูปแบบการขับเคลื่อนโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ของคณะ
สงฆ์ จังหวัดหนองคาย พบว่า คณะสงฆ์จังหวัดหนองคายร่วมกับสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
และภาคี เครือขา่ ย ไดด้ าเนินงานขับเคลื่อนโครงการหมูบ่ ้านรักษาศีล ๕ โดยใช้ลาดับข้ันบันไดทั้งสาม
คือ ปริยัติ หรือเข้าใจข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีอยู่แล้ว ปฏิบัติ หรือการเข้าถึง เป็นเรื่องการเข้าใจ
กลุ่มเปา้ หมาย และ ปฏิเวธ หรอื การพัฒนาเรม่ิ ต้นดว้ ยตวั เอง เปน็ ตน้ แบบเผยแพรค่ วามรู้เพ่ือจะทำให้
ชุมชนมีความเปน็

เจ้าของท้องถิ่นและนำไปสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการ
พัฒนาชีวิตตาม หลักศีล ๕, กิจกรรมตามวิถีชาวพุทธ และกิจกรรมของหน่วยอบรมประชาชนประจำ
ตำบล จำนวน ๑๔ โครงการ ซึ่งประสบผลสำเร็จทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพมีหน่วยงานราชการ
ตน้ แบบรักษาศีล ๕, สถานศกึ ษาต้นแบบรักษาศลี ๕, ทท่ี ำการกานนั ต้นแบบรกั ษาศีล ๕ และทที่ ำการ
ผู้ใหญ่บ้านต้นแบบ รักษาศีล ๕ ที่ผ่านการคดั เลือก ซึ่งการคัดเลือกหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ต้นแบบ คณะ
สงฆ์จังหวัดหนองคาย ได้จัดโครงการเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” หนตะวันออกมีเกณฑ์การคัดเลือก ตามที่คณะกรรมการ
ขับเคลื่อนโครงการ หมู่บ้านรักษาศีล ๕ หนตะวันออก และส่วนราชการจากกรุงเทพมหานคร ได้
พจิ ารณาคดั เลอื กรายชอื่ หมูบ่ ้านรักษาศลี ๕ ตน้ แบบ จงั หวดั ละ ๑ หม่บู า้ น และพิจารณาคัดเลือกให้

๖๘ พระราเชนทร์ วิสารโท, “ศึกษารูปแบบการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ”
ของคณะสงฆ์ จังหวัดหนองคาย”, รายงานการวิจัย, (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
หนองคาย), ๒๕๖๐, หนา้ ๑.

๖๓

เหลือเพียง ๑ หมู่บ้าน ในเขตการปกครองของคณะสงฆ์ภาค ๘ ที่มีภาระงานครบตามภาระงาน ๘
ด้าน ๔๐ ตัวชีว้ ัด เป็นตัวแทน ของเขตปกครองคณะสงฆ์ ซึ่งได้กำหนดใหว้ ัดจำปาทอง บ้านหนองยาง
คำ อาเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย เปน็ ตัวแทนคณะสงฆภ์ าค ๘ ไปร่วมจัดนิทรรศการแสดงผลงานใน
งานมหกรรมหมู่บ้าน รักษาศีล ๕ ต้นแบบ ระดับประเทศ ระหว่างวันที่ ๑๖-๒๐ กันยายน ๒๕๖๐ ณ
วัดไรข่ ิง พระอาราม หลวง อาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม

พระมหากฤษฎา กติ ฺติโสภโณ ไดท้ ำวิทยานิพนธ์เรือ่ ง การสรา้ งความปรองดองสมานฉันท์
ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่า การสร้างความ
ปรองดองสมานฉันท์นั้น เริ่มจากการสร้างความปรองดองในจิตใจของแต่ละคนก่อน เพื่อสร้าง
สันติภาพสู่สังคมภายนอก โดยใช้หลักการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาส่วนกระบวนการสร้างความ
ปรองดองสมานฉนั ท์ ดว้ ยการขบั เคลื่อนโครงการหมูบ่ ้านศีล ๕ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ใช้หลักการ
บริหารโครงการอย่างมปี ระสทิ ธิภาพคือการวางแผน (Planning) การจัดหน่วยงาน(Organizing) การ
จัดสายงานและการจัดตัวบุคคล (Staffing) การอำนวยการ (Directing) การประสานงาน
(Coordinating) การรายงาน (Reporting) และงบประมาณ(Budgeting) โดยผู้นำชุมชนจะต้องยึด
หลักการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ๖ ประการคือ หลักความถูกต้อง หลักความเหมาะสม หลัก
ความบริสุทธิ์ หลักความยุติธรรม หลักพรหมวิหารธรรม และหลักความเสียสละจะทำให้เกิด
บรรยากาศแหง่ ความสมัครสมานสามัคคขี องคนในชมุ ชนอยา่ งแทจ้ ริง๖๙

แนวทางการสรา้ งความปรองดองสมานฉันท์ ดว้ ยการขับเคลอ่ื นโครงการหมู่บ้านรักษาศีล
๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาประกอบด้วย ๔ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่หนึ่ง จัดตั้งศูนย์อำนวยการกลาง
และศนู ย์อำนวยความสะดวกระดบั ชุมชนทม่ี ีประสิทธภิ าพเช่น มวี ัสดุอุปกรณ์ในการบันทึกและจัดเก็บ
ข้อมลู เปน็ ศนู ยป์ ระสานงานและขับเคล่ือนโครงการ มีการดำเนนิ กจิ กรรมอย่างต่อเน่ืองกลยุทธ์ที่สอง
จัดอบรมประชาชน สร้างความรู้ความเข้าใจในการรักษาศีล ๕ รวมถึงสถานศึกษา หน่วยงานราชการ
โรงงาน และชมุ ชนอย่างตอ่ เน่อื ง จัดทำเอกสาร แผ่นพับและส่ือการสอนเพื่อเผยแพร่โครงการให้ทั่วถึง
และขับเคลื่อนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ระดับ ๒ อย่างต่อเนื่องตามนโยบายของคณะสงฆ์ กลยุทธ์ที่สาม
พัฒนาศักยภาพของบุคลากรทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ และสร้างจิตอาสาในการปฏิบัติงานให้เพิ่มมาก
ขึ้น เน้นการประสานงานระหว่างบ้าน วัด และชุมชน (บวร) และ กลยุทธ์ที่สี่สร้างเครื่องมือในการ
กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการที่มีคุณภาพขอความร่วมมือจากสถาบันการศึกษา

๖๙ พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, “การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการ
หมบู่ า้ นรักษาศีล ๕ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา”, รายงานการวิจยั , (บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๙), หนา้ ๑-๒.

๖๔

ของจังหวัด เช่น มหาวิทยาลัย วิทยาลัย เป็นต้น ในการช่วยสร้างเครื่องมือในการกำกับติดตามและ
ประเมินผลที่มีคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ มีการรายงานผลการดำเนินงานทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
อยา่ งตอ่ เนื่อง

วณิฎา ศิรวิ รสกุล ไดท้ ำวิทยานพิ นธเ์ ร่ือง รปู แบบการขับเคลื่อนนโยบายหมู่บ้านรักษาศีล
๕ ให้ประสบความสำเร็จ ผลการวจิ ยั พบวา่ ๑) ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธิผลของนโยบายหมู่บ้านรักษา
ศีล ๕ ในภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ มคี า่ เฉล่ยี สูงสดุ อย่ใู นระดบั มาก คอื
ดา้ นวตั ถปุ ระสงค์ของนโยบายหมบู่ ้านรักษาศีล ๕ รองลงมา คือ ด้านทศั นคติหรือการยอมรับนโยบาย
หมบู่ ้านรกั ษาศีล ๕ และลำดับสุดท้าย คือ ดา้ นการมีสว่ นรว่ มในนโยบายหม่บู ้านรักษาศลี ๕ ๒)
ประสิทธิผลในการดำเนนิ งานและการขับเคล่ือนนโยบายหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ โดยรวม อยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่ามีค่าเฉลีย่ สูงสดุ อยูใ่ นระดบั มาก คือ ประชาชน ในชุมชนได้มีการสมัคร
เข้าร่วมโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ รองลงมา คือ หลังการดำเนินนโยบายหมู่บ้านรักษาศีล ๕
ประชาชนในชุมชนมีการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคมและ และลำดับสุดท้าย คือ หลังการดำเนิน
นโยบายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ประชาชนในชุมชนละเว้นการดื่มสุราเมรัยและเครื่องดองของมึนเมา
๓) รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ที่ประสบผลสำเร็จหัวใจสำคัญคือการการ
สื่อสารเป้าหมายของนโยบายให้ตัวแทนทุกภาคส่วนเกิดความรู้ความเข้าใจเกิดแรงจูงใจ และมีความ
ตระหนกั จะนำไปสู่การมีส่วนร่วมและความร่วมมือในการขบั เคลื่อนนโยบายทุกขั้นตอน๗๐

พระมหาโยธิน โยธิโก ได้ทำงานวิทยานิพนธ์เรื่อง การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ตามหลักศีล
๕ ผลการวิจัยพบว่า แนวคิด ทฤษฎี และการพัฒนาคุณค่าความเป็นมนุษย์ตามหลักศีล ๕ ก็คือ
กระบวนการพฒั นามนษุ ย์อย่างเป็นระบบทงั้ ในดา้ นรา่ งกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ตามหลกั เบญจศีล
(ไม่โหดร้าย ไม่ใจอยาก ไม่มากรัก ไม่ปากชั่ว ไม่มัวเมา) และเบญจธรรม (เมตตากรุณา สัมมาอาชีวะ
กามสัญญมะ สัจจวาจา สัมมาสติ) ซึ่งเป็นหลักพื้นฐานในการพัฒนาภาวนา ๔ ด้าน คือ กายภาวนา
ศีลภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา เพื่อให้บรรลุถึงจุดหมายของชีวิตคือ ความสุข อิสรภาพ
ความดี ความงามของชวี ติ

กระบวนการพฒั นาคณุ คา่ ความเปน็ มนุษย์ของชุมชนตน้ แบบตามหลักศลี ๕ จงั หวัดชยั ภมู ิ
ได้ด าเนินการผ่านกระบวนการทั้ง ๓ ด้าน คือ (๑) ด้านการพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ (๒) รูปแบบ
กิจกรรมการพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ และ (๓) รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมงานของหน่วยอบรม
ประชาชนประจำตำบลโดยใช้เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ งานบุญงานเหล้า งานเศร้า ปลอดหล้า

๗๐ วณิฎา ศิริวรสกุล, “รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ให้ประสบความสำเร็จ”,
รายงานการวิจยั , (บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙), หนา้ ๑.

๖๕

ปลอดอบายมุข หมู่บ้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมู่บ้านชุมชนคุณธรรม ลานบุญลานธรรมวิถีไทย
มูลนิธิธรรมดีได้ดี มีผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมในระดับองค์กร คือองค์กรของรัฐได้ร่วมกันจัดทำแผนงาน
และโครงการกิจกรรมทางศาสนาที่ยกระดับส่งเสริมคุณภาพชีวิตของมนุษย์ผ่านชุมชนด้วย
กระบวนการทงั้ หมดน้ัน๗๑

การสร้างเครือข่ายการพัฒนาชมุ ชนตน้ แบบในการพัฒนาคุณค่าความเปน็ มนุษย์ตามหลัก
ศีล ๕ จังหวัดชัยภูมิมีรูปแบบกิจกรรมและโครงการต่างๆ ทั้งภาครัฐและคณะสงฆ์ ได้มีส่วนสำคัญใน
การสร้างความร่วมมือ ความเข้าใจ และพัฒนาแนวคิดของชุมชน เพื่อส่งเสริมความเข้าใจให้ชุมชน
ตระหนักถึงอัตลักษณ์ และสร้างความภูมิใจในชุมชนและคุณค่าของชีวิตมนุษย์ โดยการจัดกิจกรรม
ทางศาสนา เป็นกระบวนการสร้างเครือข่ายการทำงานเพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรม
ท้ังในมติ ขิ องการอยู่ร่วมกนั ซงึ่ จะต้องมีการประสานงานหลักเพื่อแก้ปญั หาและนำมาซึ่งความต่อเน่ือง
และยั่งยืนของกิจกรรม มีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในระดับประชาชน คือ ประชาชนมีความร่วมมือในการจัด
กิจกรรมทางศาสนาที่สัมพันธก์ ับวถิ ีชวี ิตในครอบครัวไดม้ ีส่วนสำคัญในการนำเด็กและเยาวชนได้สร้าง
แรงจูงใจในการสร้างเครอื ข่ายไดง้ ่ายและรวดเรว็ ยิ่งข้ึน

พระวิมาน คมฺภีรปญฺโญ (ตรีกมล) ได้วิจัยเรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์ศีล ๕ ในฐานะเปน็
รากฐานของสันติภาพ” ผลการวิจัยพบว่า สันติภาพเป็นสภาวะที่ปราศจากความรุนแรงและเป็น
สภาวะที่ปราศจากการใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบทั้งความรุนแรงต่อตนเองหรือผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดเกี่ยวกับสันติภาพมีอยู่หลายประเภทนักการศาสนาจะมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับสันติภาพทาง
จิตที่ปราศจากความรุนแรงแต่นักเคลื่อนไหวทางสังคมมองว่าสันติภาพเป็นภาวะที่ไม่ถูกกดขี่หรือเอา
รัดเอาเปรียบในขณะที่นักปฏิบัติการทางสังคมจะมองว่าสันติภาพเป็นภาวะที่ไม่ใช้ความรุนแรงท้ัง
ทางตรงทางอ้อมทางโครงสร้างและทางวัฒนธรรมการสร้างสันติภาพท าได้โดยการควบคุมกิเลส
ภายในของแต่ละบุคคลการไม่ก่อความรุนแรงทั้งทางตรงและทางอ้อมการควบคุมพฤติกรรม
ด้วยการใช้ข้อกำหนดกฎเกณฑ์ทางสังคมการปรับโครงสร้างและค่านิยมเพื่อไม่ให้เอื้อหรือส่งเสริม
การใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ๗๒ ในส่วนการนำศีล ๕ มาเป็นรากฐานของสันติภาพนั้นสามารถทำได้
ด้วยการนำไปเป็นรากฐานของสันติภาพควบคู่ไปกับการปรับโครงสร้างสังคมแนวราบได้แก่การนำ

๗๑ พระมหาโยธิน โยธิโก, “การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ตามหลักศีล ๕”, รายงานการวิจัย, (บัณฑิต
วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙), หนา้ ๑.

๗๒ พระวมิ าน คมฺภรี ปญโฺ ญ (ตรีกมล), “การศึกษาวิเคราะหศ์ ลี ๕ ในฐาํ นะเป็นรากฐานของสันติภาพ”,
วทิ ยานิพนธพ์ ทุ ธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต, (บณั ฑติ วิทยาลัย : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๕), หนา้
๑๑๒.

๖๖

ไปสู่วัฒนธรรมแบบเมตตากรุณาและวัฒนธรรมแบบสันติวิธีส่วนโครงสร้างในแนวดิ่งได้แก่รากฐาน
ทางสังคมในรูปของปิรามิดโดยนำไปจัดโครงสร้างทางการเมืองเศรษฐกิจสังคมกระบวนการยุติธรรม
และการศึกษาเพ่ือใหเ้ อ้ือต่อการส่งเสรมิ โครงสร้างสังคมระดับจุลภาคจนถงึ ระดับมหัพภาคซ่ึงเป็นการ
เชื่อมโครงสร้างและสถาบันสังคมให้ยึดโยงอยู่กับศีล ๕ อันเป็นพื้นฐานของแนวทางสันติวิธีส่วนอีก
รูปแบบหนึ่งคือรากฐานของสันติภาพเชิงคุณค่าซึ่งเป็นมโนธรรมสำนึกที่ทำให้เกิดความตระหนัก
ถึงมนุษยธรรมและสิทธิมนุษยชนสากลทั้งความเสมอภาคความยุติธรรมภราดรภาพ สัมพันธภาพ
ดุลยภาพและเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ซึ่งจะทำให้สังคมเป็นแบบสวัสดิการที่ทุกคน มีสิทธิ
เท่าเทียมกัน มีความตระหนกั ถึงคุณค่าของชวี ิตและการไมใ่ ช้ความรนุ แรงทุกกรณีทำให้ชีวิตปราศจาก
ภยั คกุ คามรวมไปถึงการช่วยเหลือเก้ือกูลผู้ท่ีไดร้ ับความทุกข์ยากลำบากทำให้มีสวัสดภิ าพและคุณภาพ
ชีวิตที่ดีมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งจะทำให้เกิดสันติภาพเชิงบวกในขณะเดียวกันก็ยัง
เป็นแนวทางแก้ปัญหารากเหง้าของความขัดแย้งและความรุนแรง ในรูปของตัณหามานะทิฏฐิและ
อกุศลมูลคือ โลภะ โทสะ โมหะซึ่งศีล ๕ จะเป็นตัวสกัดกั้นและทำลายรากเหง้าของความขัดแย้งและ
ความรุนแรงโดยรากฐานเชิงโครงสร้างจะเข้าไปจัดโครงสร้างสังคมไม่ให้เอื้อต่อการใช้ความรุนแรง
ในขณะที่รากฐานเชิงคุณค่าจะปลุกเร้าให้ตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตเพื่อให้อยู่ร่วมกันตามหลัก
มนุษยชนซ่ึงเป็นรากฐานของมนุษย์นอกจากนีย้ งั เขา้ ไปจัดการกบั รากเหงา้ ที่ทำให้เกิดความขดั แย้งและ
ความรุนแรงโดยจะมีความเชื่อมโยงกันทั้งโครงสร้างคุณค่าของมนุษย์และการควบคุมกิเลสภายใน
ซึง่ จะทำใหส้ ันติภาพมีรากฐานทม่ี นั่ คงทัง้ ในระดับจลุ ภาคและมหัพภาคอย่างยง่ั ยนื ต่อไป

พระเทพสิงหวราจารย์ (โสภณ โสภโณ/ยอดคำปา) ได้ทำวิทยานิพนธ์เรื่อง การพัฒนา
กลไกการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า
กระบวนการของกลไกการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่
มีลักษณะการบริหารจัดการแบบแยกกันทำงาน เผยแผ่อุดมการณ์หลักการทางพระพุทธศาสนา
แก่ศาสนิกนับถือด้วยการสร้างความเข้าใจ มีการสร้างกลุ่มเครือข่าย สร้างความเข้าใจ ให้เห็น
ความสำคญั ของหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มีการทำงานแบบมสี ว่ นร่วม โดยทำบนั ทึกข้อตกลงต่อ
หน่วยงานส่วนราชการท้องถิน่ ให้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมและสนบั สนุนกิจกรรม โครงการหมู่บ้าน
รักษาศีล ๕ ให้บรรลุเป้าหมายต่อไป๗๓

๗๓ พระเทพสิงหวราจารย์ (โสภณ โสภโณ/ยอดคำปา), “การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนโครงการ
หม่บู า้ นรกั ษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์จงั หวัดเชียงใหม่”,วิทยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรดุษฎี, (บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕), หน้า ๗๙.

๖๗

การพฒั นากลไกการขับเคล่ือนโครงการหมู่บ้านรักษาศลี ๕ ของคณะสงฆจ์ ังหวัดเชียงใหม่
พบว่าในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ทำงานร่วมกันในระบบ หรือองค์กรเพื่อให้งานสำเร็จไปด้วยดีระบบ
หรือองค์กรที่มีบุคคลในระดับต่าง ๆ ทำงานประสานกันดุจเครื่องจักรระบบใด ๆ ที่จะช่วยให้งาน
สำเร็จลุล่วงไป โดยที่บุคคล กลุ่มคน และชุมชนนำหลักการในพระพุทธศาสนาแสดงให้เห็นแนวคิด
ที่มาของศีลกับการอยู่ร่วมกันในสังคมทำให้เกิดความสงบสุขของสังคมชุมชนและเป็นการพัฒนา
ตนเองตามหลักไตรสิกขา คือ ศลี สมาธิ ปัญญา ซง่ึ ศีล ๕ เป็นหนทางแหง่ การเกิดสนั ติภาพ

สุภาพร วัชรคุปต ได้ทำงานวิจยั เร่ือง พฤตกิ รรมการรักษาศลี ๕ ของประชาชนในหมู่บา้ น
รักษาศีล ๕ นําร่องอําเภอเมืองสระแก้วจังหวัดสระแก้ว ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการ รักษาศีล ๕
ของประชาชนในหมู่บ้านรักษาศีล ๕ นําร่องอําเภอเมืองสระแก้วจังหวัดสระแก้ว ในภาพรวมอยู่ใน
ระดบั มาก โดยประชาชนในหมู่บ้านรกั ษาศลี ข้อที่ ๓ เว้นจากการประพฤติผดิ ในกามมากที่สุดรองลงมา
คือการรักษาศีลข้อ ๒ เว้นจากการลักทรัพย์ การรักษาศีลข้อ ๕ เว้นจากการดื่มสุราเมรัยการรักษาศีล
ข้อ ๑ เว้นจากการฆา่ สัตว์และการรกั ษาศีลข้อท่ี ๔ เว้นจากการพูดปด

ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการรักษาศีล ๕ ของประชาชนในหมู่บ้านรักษาศีล ๕ นํา
ร่องอําเภอเมืองสระแก้วจังหวัดสระแก้ว โดยจําแนกตามเพศอายุระดับการศึกษาอาชีพและรายได้
เฉล่ยี ต่อเดือน พบว่า ประชาชนหมู่บา้ นรักษาศลี ๕ นาํ ร่องอาํ เภอเมอื งสระแก้วจังหวัดสระแก้ว ที่
มีเพศอายุการศึกษาอาชีพและรายได้แตกต่างกันจะมีพฤติกรรมการรักษาศีล ๕ แตกต่างกันอย่างมี
นยั สําคัญ ทางสถติ ิที่ .๐๕๗๔

พระดาวเหนือ บุตรสีทา ได้ทำงานวิทยานิพนธ์เรื่อง การสร้างเครือข่ายและการจัดการ
เครือขา่ ยในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของชุมชนบ้านพบธรรมนําสุขอาํ เภอทุ่งเสลยี ม จังหวัดสุโขทัย
ผลการวิจยั พบวา่ รูปแบบเครอื ข่ายของชุมชนบ้านพบธรรมนาํ สขุ มี ๒ รูปแบบ คอื ๑) เครือขา่ ยระดับ
ชุมชน/เครือข่ายเชิงพื้นทีและเครือข่ายระดับบุคคล โดยมีการรวมกลุ่มกันของบุคคล กลุ่มบุคคลที่มี
ความสนใจมาทํากิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่องมีเป้าหมายเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาร่วมกัน และ
เสริมสร้างความรัก ความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชุมชน สําหรับขั้นตอนการสร้างก่อรูปเครือข่ายนั้น ๕
ขั้นตอน ดังนี้ ๑) ตระหนักถึงปัญหาและสํานึกการรวมตัวเป็นเครือข่าย ๒) มีปฏิสัมพันธ์อันดีต่อกัน
๓) สร้างความไวว้ างใจ ๔) การแสวงหาแกนนําท่ีดี ๕) การสร้างแนวรว่ มสมาชิกเครอื ขา่ ย แนวทางการ
จดั การเครือข่ายมกี ารจัดการใน ๒ ขน้ ตอน คือ ขัน้ ท่ี ๑) การสร้างความเป็นองค์การเครอื ข่ายและการ

๗๔ สุภาพร วชั รคปุ ต, “พฤตกิ รรมการรักษาศลี ๕ ของประชาชน ในหมบู่ ้านรักษาศีล ๕ นําร่องอําเภอ
เมืองสระแก้วจังหวัดสระแก้ว”,วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๕), หน้า ๔๕.

๖๘

ทาํ ใหเ้ กิดความมัน่ คง ประกอบดว้ ย (๑) จัดบทบาทหนา้ ทขี่ องสมาชกิ ในเครือขา่ ย (๒) สรา้ งความรู้สึก
ร่วมในการทํางานร่วมกัน (๓) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (๔) จัดระบบข้อมูลขา่ วสารในการติดตอ่
ข่าวสารและ ขั้นที่ ๒) การรักษาความตอ่ เนื่องของการเป็นองคก์ ารเครือข่าย ประกอบด้วย (๑) มีการ
ดําเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง (๒) สร้างความเสมอภาคและเท่าเทียม (๓) รักษาสัมพันธภาพที่ดี
ระหว่างกนั (๔) การใหค้ วามช่วยเหลอื กนั ระหว่างเพือ่ นสมาชิก๗๕

ขนั ทอง วัฒนะประดิษฐ์ ได้ทำงานวทิ ยานพิ นธเ์ รือ่ ง พุทธวธิ สี รา้ งแรงจูงใจในการรกั ษาศีล
๕ ผลการวิจัยพบว่า คัมภีร์พระพุทธศาสนา ซึ่งทำให้เห็นถึงเหตุท่ีพระพุทธเจ้าสามารถสร้างแรงจงู ใจ
ในการรกั ษาศลี ๕ ไดน้ ้นั เพราะพระองคท์ รงเข้าใจแรงจูงใจพ้ืนฐานของมนุษย์ ลกั ษณะของแรงจูงใจท่ี
ปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระพุทธศาสนามีทั้งที่เป็นแรงจูงใจภายนอก ได้แก่ แรงจูงใจจากความศรัทธาใน
พระพุทธเจ้า และแรงจูงใจภายใน ได้แก่ แรงจูงใจที่เกิดจากความกลัว แรงจูงใจที่เกิดจากตัณหา
มานะ และทิฏฐิ แรงจูงใจที่เกิดจากกฎแห่งกรรม พระพุทธเจ้าทรงใช้ประโยชน์จากแรงจูงใจเหล่าน้ี
นำมาสร้างแรงจูงใจในการรกั ษาศลี ๕ พทุ ธวธิ ที ่พี ระองค์ใชใ้ นการสรา้ งแรงจงู ใจในการรักษาศีล ๕ คือ
ทรงใช้อภิญญากำราบผู้ดื้อรั้นและเอื้อประโยชน์แก่ผู้ฟัง ทรงนำประโยชน์ที่เกิดจากความปรารถนา
ความสขุ ของมนษุ ย์มาสรา้ งแรงจงู ใจที่มุ่งสำเร็จในสิ่งทปี่ รารถนาเปน็ ความสุขท่ีแท้จริงทรงใช้ประโยชน์
จากความกลัว นำมาสร้างแรงจูงใจให้เห็นโทษและภัยของการละเมิดศีล และทรงใช้ประโยชน์จาก
ความเชื่อเรอื่ งกรรม นำมาสรา้ งแรงจูงใจโดยจดุ มุ่งหมายเพื่อนำไปสู่การบรรลธุ รรม๗๖

แพรภทั ร ยอดแก้ว ไดท้ ำวิทยานพิ นธเ์ ร่ือง การถอดบทเรยี นการดำเนินงานหมบู่ า้ นศีล ๕
ของจังหวัดนครปฐม ผลการวิจัยพบว่า ๑) ผลการถอดบทเรียนการดำเนินงานได้แนวปฏิบัติที่ดี ๔
ด้าน ได้แก่ ด้านการเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีของผนู้ ำทัง้ ฝ่ายสงฆ์และผู้นำท้องถ่ิน ด้านการประชาสัมพันธ์ท่ีดี
โดยใชก้ ารประชาสัมพนั ธท์ ุกรูปแบบ ด้านการจดั กจิ กรรมท่ดี ซี ึ่งอาศัยทนุ เดมิ ของชุมชนที่มีอยู่ และการ
มีส่วนร่วมของภาคส่วนตา่ งๆ ในท้องถิ่นและ ด้านการส่งเสริมสนับสนุนที่ดี จากวัดซึ่งนำโดยพระสงฆ์
และจากหน่วยงานภาครัฐทั้งในส่วนสำนักงานพระพุทธศาสนาจั งหวัดนครปฐมและสำนั กง าน
วัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม ๒) การดำเนินงานหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดนครปฐมมีรูปแบบการ
ทำงานแบบเน้นการร่วมมือระหว่างคณะสงฆ์กับผู้นำท้องถิ่นตั้งแต่ระดับจังหวัดจนถึงระดับหมู่บ้านมี

๗๕ พระดาวเหนือ บุตรสีทา, “การสร้างเครือข่ายและการจัดการเครือข่ายในการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาของชุมชนบ้านพบธรรมนําสุขอําเภอทุ่งเสลียม จังหวัดสุโขทัย”,วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎี
บณั ฑติ , (บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕), หน้า ๗๘.

๗๖ ขันทอง วฒั นะประดษิ ฐ์, “พทุ ธวิธสี ร้างแรงจูงใจในการรกั ษาศลี ๕”,วทิ ยานพิ นธ์พุทธศาสตรดุษฎี
บณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕), หน้า ๖๗.

๖๙

แผนการดำเนินงาน ๓ ระยะตามแนวทางของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ไดแ้ ก่ ระยะเร่งด่วน
ระยะปานกลาง และระยะยาว มีแนวทางการดำเนินงานในลักษณะคณะกรรมการทุกระดับและมี
กิจกรรม ๒ ลักษณะ คือ กิจกรรมหลัก ได้แก่ การสวดมนต์ปฏิบัติธรรมและกิจกรรมเสริม ได้แก่
กจิ กรรมอนื่ ๆ ทีส่ ง่ เสริมการปฏิบัติศลี ๕ และการรณรงค์การรักษาศลี ๕๗๗

ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัย จะใช้หลัก การพัฒนามนุษย์ให้เป็นคนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น มี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มเี หตุผล มคี วามรบั ผิดชอบในหน้าท่กี ารงาน ตนเองและสงั คม และ พัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ โดย
การให้ประชาชนอันเป็นทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทางด้านร่างกาย พฤติกรรม สังคม สิ่งแวดล้อม และ
ปญั ญาเปน็ หลัก

๒.๑๑ กรอบแนวคิดในการวจิ ัย

เครือขา่ ยหมู่บา้ นรักษาศีล ๕ การสร้างเครอื ขา่ ยหมูบ่ า้ นรักษาศลี ๕
การมีสว่ นรว่ ม เพือ่ การพัฒนาคุณภาพชวี ติ

ของประชาชน ในจังหวัดเชียงราย

มเี ครอื ขา่ ยหมู่บา้ นรักษาศีล ๕
ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน

ในจงั หวัดเชียงราย

แผนภาพท่ี ๒.๑ กรอบแนวคิดการวิจัย

๗๗ แพรภัทร ยอดแก้ว, “การถอดบทเรียนการดำเนินงานหมู่บ้านศีล ๕ ของจังหวัดนครปฐม”,
วทิ ยานิพนธพ์ ทุ ธศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ , (บัณฑติ วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๕), หน้า
๙๗.

บทท่ี ๓

วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั

การวิจัยเรื่อง การสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน ในจงั หวดั เชียงราย โดยมีวธิ ดี ำเนนิ การวิจัยตามลำดบั ขัน้ ตอนดงั น้ี

๓.๑ รูปแบบการวจิ ยั

ในการวจิ ัยครง้ั นเ้ี ป็นวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) รวบรวมขอ้ มูลทั้งเอกสาร
และจากการสมั ภาษณโ์ ดยมผี ใู้ ห้ขอ้ มลู งานวิจยั เชน่ ประชาชนผู้รักษาศลี ๕ พระสังฆาธกิ าร สำนักงาน
พระพุทธศาสนา เครือข่าย ผู้นำชุมชน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือให้งานตก
ผลึก จนเกิดองค์ความรู้การสร้างเครือข่ายของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์ในจังหวัด เชียงราย
และชมุ ชนในจงั หวดั เชยี งรายสามารถนำไปเป็นตน้ แบบได้ โดยมวี ธิ ีการศึกษาใน ๒ ลกั ษณะ ได้แก่

๑. การศึกษาในเชิงเอกสาร (Documentary study) เพ่ือคน้ หาข้อมูลความรเู้ ก่ียว
แนวคิด หลักการในการเสรมิ สรา้ งความรับผิดชอบต่อสังคม ดังนี้

๑) ศึกษาแนวคิด หลักการ ประเภท รูปแบบ และกระบวนการของการส่งเสริมการ
รักษาศีล ๕ ของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จากเอกสาร งานวิจัย และแนวปฏิบัติในระดับสากลหรือ
นานาชาติ

๒) ศึกษาแนวคิด หลักพุทธธรรม และกระบวนการที่กล่าวถึงการส่งเสริมการรักษา
ศีล ๕ ของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎกี า และเอกสารทเี่ ก่ียวข้อง

๓) นำขอ้ มูลแนวคดิ การส่งเสรมิ การรักษาศลี ๕ ของหมบู่ า้ นรักษาศีล ๕ ทั้งสองส่วน
มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อให้เป็นรูปแบบการวิจัยเชิงเอกสารในการสร้างชุดความรู้ที่เหมาะสมต่อ
การปฏิบตั ิการในพน้ื ที่ในการสรา้ งเครอื ขา่ ย

๒. การศึกษาภาคสนามในเชิงคุณภาพ (Field Study) ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอน
และวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย ดงั นี้

๑) การสัมภาษณ์และการประชุมกลุ่มย่อย (Focus group) ร่วมกับกลุ่ม ประชาชน
ผู้รกั ษาศีล ๕ พระสงั ฆาธิการ สำนกั งานพระพทุ ธศาสนา เครือข่าย ผู้นำชุมชน

๒) การสัมภาษณ์ตัวแทนภาคีเครือข่าย คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย ปราชญ์ท้องถิ่น
และหน่วยงานของรัฐในระดับท้องถิ่นที่มีบทบาท หน้าที่ต่อการส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ของหมู่บ้าน
รกั ษาศีล ๕

๗๑

๓) ศึกษากิจกรรม รูปแบบ และการส่งเสริมการรักษาศลี ๕ ของหมู่บา้ นรักษาศีล ๕
ของหม่บู า้ นรกั ษาศลี ๕ ในจังหวดั เชยี งราย

๕) ศึกษาวิเคราะห์บทบาทและการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในการส่งเสริมการ
รักษาศลี ๕ ของหมูบ่ า้ นรกั ษาศีล ๕ ของหม่บู า้ นรกั ษาศลี ๕ ในจังหวดั เชียงราย

๓.๒ พ้นื ท่กี ารวจิ ัย ประชากรกลมุ่ ตัวอย่าง ผูใ้ ห้ข้อมูล

การวจิ ัยเรอื่ งนไี้ ดท้ ำการศึกษาจาก พ้นื ทก่ี ารวจิ ัย ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง ดงั นคี้ อื
๓.๒.๑ ขอบเขตด้านพนื้ ที่

๑. วัดบา้ นจ้อง อำเภอแม่สาย จงั หวดั เชียงราย
๒. วดั ปา่ ยาง อำเภอแมจ่ ัน จังหวดั เชยี งราย
๓. วดั หนองออ้ อำเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย
๔. วดั ปา่ แฝ อำเภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย
๓.๒.๒ ขอบเขตดา้ นบุคคล
บคุ คลทเี่ กย่ี วขอ้ งในการให้ขอ้ มูลในการวิจยั ได้แก่
๑. เจ้าอาวาส จำนวน ๔ รปู
๑. พระครสู ุวชิ านสุตสนุ ทร เจ้าอาวาสวัดบา้ นจ้อง อำเภอแมส่ าย
๒. พระครปู ระภาสพนารกั ษ์ เจา้ อาวาสวดั ป่ายาง อำเภอแมจ่ นั
๓. พระอธิการประเสรฐิ วรธมโฺ ม เจา้ อาวาสวดั หนองออ้ อำเภอแมส่ าย
๔. พระอธิการเกียรติดรุ งค์ ปภงฺกโร เจา้ อาวาสวดั ป่าแฝ อำเภอแมส่ าย
๒. พระสงฆผ์ ู้ปกครอง จำนวน ๕ รูป
๑. พระรัตนมุนี,ผศ.ดร. ที่ปรกึ ษาเจา้ คณะจงั หวัดเชยี งราย
๒. พระพทุ ธิญาณมุนี เจา้ คณะจังหวดั เชียงราย
๓. พระพทุ ธิวงศว์ วิ ัฒน์ ทีป่ รกึ ษาเจา้ คณะจงั หวัดเชยี งราย
๔. พระครูวสิ ุทธิธรรมภาณี เจา้ คณะอำเภอแม่สาย
๕. พระครูอปุ ถัมภ์วรการ เจา้ คณะอำเภอแม่จนั
๓. ผนู้ ำชมุ ชน จำนวน ๙ คน
๑. นายอาชัน สภุ าวรรณ์ ผใู้ หญบ่ ้าน บ้านจอ้ ง หมทู่ ี่ ๑ ตำบลโปง่ งาม อำเภอแม่สาย
จงั หวดั เชยี งราย
๒. นายเสฎฐวุฒิ ปญั ญาคำ ผู้ใหญ่บา้ น บ้านหนองอ้อ หมูท่ ่ี ๒ ตำบลโปง่ งาม อำเภอ
แม่สาย จังหวดั เชียงราย

๗๒

๓. นายสมคิด มหาวงศนันท์ กำนันตำบลโป่งงาม ตำบลโป่งงาม อำเภอแม่สาย
จังหวัดเชยี งราย

๔. นายเฉลิม กุณาเลย ผู้ใหญ่บ้าน บ้านน้ำจำ หมู่ที่ ๕ ตำบลโป่งงาม อำเภอแม่สาย
จังหวดั เชียงราย

๕. นายวีรากร ใจดว้ ง ผ้ใู หญ่บ้าน บา้ นสันทรายมลู หมทู่ ี่ ๖ ตำบลโป่งงาม อำเภอแม่สาย
จงั หวัดเชยี งราย

๖. นามสมผัด จันทาพูน ผู้ใหญ่บ้าน บ้านนาปง หมู่ที่ ๘ ตำบลโป่งงาม อำเภอแม่สาย
จังหวัดเชียงราย

๗. นางนภาสรณ์ ทาตุการ ผู้ใหญ่บ้าน บ้านจ้อง หมู่ที่ ๙ ตำบลโป่งงาม อำเภอแม่สาย
จังหวดั เชยี งราย

๘. นายจรัส นันตาวาง ผู้ใหญบ่ า้ น บ้านจ้อง หมู่ที่ ๑๐ ตำบลโป่งงาม อำเภอแม่สาย
จังหวดั เชียงราย

๙. นางทรงกมล กนั ทะดง ผใู้ หญบ่ ้าน บ้านนำ้ จำ หมู่ที่ ๑๒ ตำบลโปง่ งาม อำเภอแม่สาย
จังหวัดเชยี งราย

๔. หนว่ ยงานภาครฐั จำนวน ๗ คน
๑. สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาจังหวดั เชยี งราย
๑. นางเกลียวพรรณ์ ขำโนนงิ้ว ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุททธศาสนา

จังหวดั เชยี งราย
๒. นางสาวหน่อแกว้ อตุ โน สำนักงานพระพทุ ทธศาสนาจงั หวัดเชียงราย
๓. นายพิสนั ต์ จนั ทร์ศิลป์ วฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย
๔. นางอทติ าธร วนั ไชยธนวงศ์ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั เชียงราย
๕. นางณัชชา กนั ทะดง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโป่งผา
๖. เกยี รตยิ ศ เลศิ วรรธน์ ปลดั องคการบริหารสว่ นตำบลโปง่ ผา
๗. นายเกยี รตยิ ศ เลศิ ณวรรณธน์ ปลดั องคก์ ารบรหารส่วนตำบลโปง่ ผา
รวมทงั้ หมด จำนวน ๒๕ รูป/คน

๗๓

๓.๓ เครอ่ื งมือการวิจยั

เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ประกอบไปดว้ ยดังนีค้ ือ
๓.๓.๑ เครอื่ งทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ประกอบไปด้วย

แบบสมั ภาษณ์
- ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง
- กำหนดวัตถปุ ระสงค์ให้ชดั เจนตามวตั ถุประสงค์ของงานวจิ ยั
- กำหนดประเด็นทต่ี ้องการทราบ เช่น

ก. คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย มรี ปู แบบ และวธิ ีการ สง่ เสรมิ การรักษาศีล ๕
อยา่ งไรบา้ ง ?

ข. การสรา้ งเครือข่ายของหมู่บา้ นรกั ษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์ในจังหวดั
เชียงราย มคี วามสำคญั อย่างไรบา้ ง ?

ค. ภาคีเครอื ขา่ ยหมู่บา้ นรักษาศีล ๕ มสี ว่ นสำคญั อย่างไรบา้ งในการพฒั นา
คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในจังหวดั เชยี งราย

- นำแบบสมั ภาษณท์ ่รี ่างขึ้นไปใหผ้ ูท้ รงคุณวุฒิชว่ ยตรวจสอบความเที่ยงตรง
ของเนื้อหา เพอ่ื ให้เกดิ ความถกู ตอ้ ง และตรงประเดน็ มากยิ่งข้นึ

- ทดลองใช้เครื่องมือ เพื่อให้รู้ว่าผู้ให้ข้อมูลสัมภาษณ์ได้ตอบคำถามตรงประเด็น
หรือไม่ อย่างไรบา้ ง

- ปรบั ปรงุ แก้ไขแบบสัมภาษณ์

๓.๓.๒ ขนั้ ตอนการสรา้ งเครือ่ งมือในการวจิ ยั
ผวู้ ิจยั ได้สรา้ งเครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ยั คือ แบบสัมภาษณ์ เรอ่ื งการสรา้ งเครือข่ายหมู่บ้าน
รกั ษาศลี ๕ เพ่อื การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ของประชาชน ในจงั หวัดเชยี งราย เปน็ แบบสมั ภาษณ์แบบก่ึง
โครงสรา้ ง (Semi-structured or guided interviews) โดยมขี ้ันตอนการสรา้ งดงั น้ี
๑) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการสร้างเครือข่าย
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน ในจังหวัดเชียงราย เพื่อนำมาใช้เป็น
แนวทางและวิธีการให้ได้มาซึ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน ในจังหวัดเชียงราย
ประกอบไปด้วย แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการ
สรา้ งเครอื ข่าย แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกบั แรงจูงใจ แนวคดิ และทฤษฎีเก่ียวกับการส่งเสริมการเรียนรู้
การส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย การสร้างเครือข่ายของหมู่บ้านรักษาศีล ๕
ของคณะสงฆใ์ นจงั หวัดเชียงราย

๗๔

๓) กำหนดข้อคำถามการสัมภาษณ์ก่ึงโครงสรา้ ง และร่างข้อคำถามในแบบสัมภาษณ์แบบ
ก่งึ โครงสร้าง โดยแบง่ ออกเป็น ๓ ขอ้ คำถาม ประกอบดว้ ย

ก. คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย มรี ปู แบบ และวิธีการ สง่ เสริมการรักษาศีล ๕
อยา่ งไรบ้าง ?

ข. การสรา้ งเครือข่ายของหมูบ่ ้านรักษาศลี ๕ ของคณะสงฆใ์ นจังหวดั
เชียงราย มีความสำคัญอย่างไรบ้าง ?

ค. ภาคเี ครอื ข่ายหมบู่ า้ นรักษาศลี ๕ มสี ่วนสำคัญอย่างไรบ้างในการพัฒนา
คุณภาพชวี ิตของประชาชนในจังหวดั เชียงราย

๔) นำเครื่องมือที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เช่ียวชาญ จำนวน ๓ คน เพื่อตรวจสอบความตรงตาม
เน้อื หา ผลการวเิ คราะหห์ าค่าดชั นคี วามสอดคลอ้ งระหว่างขอ้ คำถามกับจุดประสงค์

๕) แก้ไขการพมิ พผ์ ิดและปรบั ปรงุ ตามคำแนะนำของผ้เู ชยี่ วชาญและนำไปใช้จริง

๓.๔ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

สำหรับการเก็บข้อมูลในการศึกษาเรื่อง การสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการ
พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ในจงั หวัดเชียงราย เป็นวจิ ัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
รวบรวมข้อมูลทั้งเอกสารโดยการใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์เชิงลึก(In-depth
Interview) การสนทนากลุม่ (Focus Group Discussion) ผ้วู ิจยั ได้ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลตาม
ขัน้ ตอน ดังนี้

ข้ันตอนการเก็บขอ้ มลู จากการสัมภาษณม์ ีข้ันตอนดังน้ี
๑) ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร ตำรา บทความ งานวิจัย ในลักษณะการวิจัยเอกสาร
(Documentary Research) ได้แก่ ส่วนที่เป็นคำอธิบายจากเอกสาร หนังสือ ตำรา ที่เป็นแนวคิด
ทฤษฎี รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการทบทวนแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดเกี่ยวกับ
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเครือข่าย
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการส่งเสริมการเรียนรู้ การส่งเสริม
การรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย การสร้างเครือข่ายของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของคณะ
สงฆ์ในจังหวัดเชยี งราย
๒) เก็บรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริงเพื่อให้เห็นถึงรูปแบบและกระบวนการพัฒนางานวิจัย
โดยสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key Informants) จากการมีส่วนร่วม
ของหน่วยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน เพื่อสรุปประเด็นการนำไปสู่การสนทนากลุ่มเฉพาะ
(Focus Group Discussion)

๗๕

๓) เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อหาข้อมูลสรุปในเชิงสถิติจากการวิจัยเชิงสำรวจ (Survry
Research) เพื่อนำไปสู่การประมวลผลข้อมูล และศึกษาเชิงความสัมพันธ์ถึงมุมมองของ การสร้าง
เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน ในจังหวัดเชียงราย
ซึ่งเก็บรวมรวมจากแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทางด้านพระพุทธศาสนา ปราชญ์
ทอ้ งถ่ิน ผู้นำชุมชน

๔) สรุปผลการวิจัยที่ได้คือ มีภาคีเครือข่ายของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ที่ช่วยส่งเสริม และ
สนบั สนุน ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในจงั หวัดเชยี งราย

๕) นำเสนอผลงานวจิ ยั ท้งั ในระดับชาติ

๓.๕ การวเิ คราะห์ข้อมลู

การวเิ คราะหข์ ้อมลู ประกอบไปดว้ ยดังนีค้ ือ
๑) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผู้วิจัยได้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์
ทั้งด้านเอกสารแบบสัมภาษณ์และภาคสนาม แล้วจับประเด็นเนื้อหาสาระไปพร้อมกับนำมาสรุปเป็น
ผลการวจิ ัยเปน็ รูปแบบความเรยี งตามวตั ถุประสงค์ของการวิจยั นำเสนอ
๒) การตรวจสอบข้อมลู หลงั จากทีผ่ วู้ ิจยั ไดท้ ำการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว จะต้องทำการ
ตรวจสอบขอ้ มลู และการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู โดยการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเสา้ (triangulation) ไดแ้ ก่

๒.๑ การตรวจสอบ ด้านข้อมูล โดยพิจารณาแหล่งเวลา แหล่งสถานท่ี และแหล่ง
บุคคลที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ถ้าข้อมูลต่างเวลากันจะเหมือนกันหรือไม่ ถ้าข้อมูลต่างสถานที่จะ
เหมอื นกันหรือไม่ และถา้ บคุ คลผู้ให้ขอ้ มลู เปลยี่ นไปขอ้ มูลจะเหมือนเดมิ หรือไม่

๒.๒ การตรวจสอบสามเส้าด้านผู้วิจยั โดยการเปลี่ยนตวั ผ้สู งั เกตหรือสัมภาษณ์
๒.๓ การตรวจสอบสามเส้าด้านวธิ ีรวบรวมข้อมลู โดยใชว้ ธิ ีเก็บรวบรวมข้อมลู ต่าง ๆ
กัน เพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่องเดียวกัน เช่น ใช้วิธีสังเกตควบคู่ไปกับการซักถาม กรณีการสัมภาษณ์ผู้ให้
ขอ้ มูล มรี ายละเอียดดังนี้

๓) สรุปแนวทางการพัฒนา การสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนา
คุณภาพชีวิต ของประชาชน ในจังหวัดเชียงราย รวมถึงปัญหาและข้อเสนอแนะที่ได้จากกลุ่มผู้ให้
ข้อมูลสำคัญสัมภาษณ์ มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ก่อนจะมีการประมวลผลและพัฒนาเป็นรูปแบบมี
ส่วนร่วมกงึ่ มาตรฐาน (ข้ันการพัฒนาตัวแบบ (Develop Model) เพ่ือนำเข้าสกู่ ารวจิ ัยเชงิ เอกสารและ
คุณภาพ นวัตกรรม

บทที่ ๔

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

การวิจัยเรื่อง การสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน ในจงั หวัดเชียงราย โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ศกึ ษาการส่งเสริมการรักษาศลี ๕ ของคณะสงฆ์
จังหวัดเชียงราย เพื่อศึกษาการสร้างเครือข่ายของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์ในจังหวัด
เชียงราย และเพื่อวิเคราะห์เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ กับพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ใน
จังหวัดเชยี งราย สรุปไดด้ ังนค้ี ือ

๔.๑ การสง่ เสรมิ การรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆจ์ ังหวดั

๔.๑.๑ นโยบายการส่งเสริมการรกั ษาศลี ๕
๔.๑.๒ ยุทธศาสตรก์ ารส่งเสริมการรกั ษาศลี ๕
๔.๑.๓ การส่งเสริมด้านความปรองดองการรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์ จังหวัด
เชยี งราย
๔.๑.๔ การส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม
๔.๒ การสรา้ งเครือขา่ ยของหมบู่ ้านรกั ษาศีล ๕ ของคณะสงฆใ์ นจงั หวดั
๔.๒.๑ รูปแบบการสร้างเครอื ข่ายหมู่บา้ นรักษาศลี ๕ เชงิ อำนาจ
๔.๒.๒ รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมบู่ ้านรกั ษาศีล ๕ เชงิ หน้าที่
๔.๒.๓ รปู แบบการสรา้ งเครือข่ายหมบู่ ้านรกั ษาศีล ๕ เชงิ พื้นท่ี
๔.๒.๔ รูปแบบการสร้างเครือขา่ ยหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ เชงิ ประเดน็
๔.๓ วิเคราะห์เครือขา่ ยหมบู่ า้ นรักษาศีล ๕ กบั พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในจังหวัด
เชยี งราย
๔.๓.๑ ความสัมพนั ธเ์ ครือข่ายเชงิ อำนาจหนา้ ที่
๔.๓.๒ ความสัมพนั ธ์เชิงพน้ื ที่
๔.๓.๓ ความสมั พันธเ์ ชิงประเดน็
๔.๔ องค์ความรู้ทไี่ ดจ้ ากการวจิ ยั

๗๗

๔.๑ การส่งเสรมิ การรกั ษาศีล ๕ ของคณะสงฆจ์ งั หวดั เชียงราย

จังหวัดเชียงราย และคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย ร่วมกับสำนักงานพระพุทธศาสนา
จงั หวัดเชยี งราย ไดท้ ำโครงการหม่บู ้านรักษาศลี ๕ ได้ดำเนินการเปน็ รูปแบบเครือข่ายจัดตั้ง โดย
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานขับเคลื่อนโครงการ หน่วยงานราชการ คณะสงฆ์ ภาครัฐ
สถานศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ องค์กรภาคเอกชน กํานัน ผ้ใู หญบ่ ้าน องคก์ ารเครือข่าย ชาว
พุทธ มีการลงบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เจ้าคณะ
จงั หวดั นเชยี งราย นายอำเภอทกุ อำเภอ เจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอ กาํ นนั ทุกตำบล เจา้ คณะตำบลทุก
ตำบล ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน เจ้าอาวาสทุกวดั ดำเนินการจดั ทำโครงการอบรม พระวิทยากรแกนนํา
โครงการเผยแผ่ธรรมของพระธรรมทูต โครงการตรวจการคณะสงฆ์ เพื่อขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้าน
รกั ษาศลี ๕ ให้ดำเนินการไปดว้ ยดี๑

เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชมีดำริที่จะ
สร้างความปรองดองและสมานฉันท์ของคนในชาติให้เกิดความสงบสุข สันติสุข มีความสามัคคี กลม
เกลียงกัน โดยให้พุทธศาสนิกชนได้น้อมนำหลักศีล ๕ มาประพฤติปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวัน
กอปรกับคณะรักษาความสงบแก่งชาติ ได้น้อมรับแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ด้วยการให้ทุก
ภาคสว่ นร่วมมอื ดำเนนิ การสรา้ งความปรองดองสมานฉันท์และทำให้ประชาชนมีความรักความสามัคคี
โดยเริ่มจากครอบครัว หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัดซึ่งจะนำพาประเทศก้าวไปข้างหน้าอย่าง
ปลอดภยั และยงั่ ยนื ในการน้ีคณะสงฆ์จงั หวัดเชยี งรายซึ่งมีภารกจิ ในการสง่ เสริมใหส้ งั คมมีศีลธรรมและ
คุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางของพระพุทธศาสนาจึงได้กำหนดกิจกรรมในการสนับส นุนให้เด็ก
เยาวชนและประชาชนทุกเพศทุกวัยได้นำหลักธรรมคำสอนในทางพระพุทธศาสนาไปพัฒนาชีวิต
ครอบครัว ชุมชนและสังคม โดยเน้นการรณรงค์ ส่งเสริมและสนบั สนุนให้มหี มูบ่ ้านรักษาศีล ๕ ในทุก
ส่วนของจังหวัดเชียงราย ตามดำริของสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ที่ได้ประทานโอวาทเมื่อวันที่
๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ความว่าประชาชนย่อมจะอยเู่ ย็นเป็นสุข เม่ือเป็นไปไดข้ อใหช้ ่ือหมู่บ้านน้ันว่า
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ซึ่งฝ่ายการคณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายและ จังหวัดเชียงรายได้กำหนดพื้นที่
เป้าหมายดำเนินการพร้อมกันทั้ง ๑๘ อำเภอ ในระยะเร่งด่วน ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงสิงหาคม

๑ มหาเถรสมาคม,(ร่าง) ระเบยี บมหาเถรสมาคม วา่ ดว้ ยการดำเนินงานโครงการหมบู่ า้ นรักษาศลี
๕, พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑. ในสำนักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ, (คมู่ อื การดำเนินงานโครงการสรา้ งความปรองดอง
สมานฉนั ทโ์ ดยใช้หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา “หม่บู ้านรกั ษาศีล ๕” พ.ศ. ๒๕๕๗, เอกสารเย็บเลม่ ), หนา้ ๔๕-
๔๙.

๗๘

๒๕๕๗ เป็นต้นมา ทั้งด้านปริมาณในการจัดทำบันทึกข้อตกลงให้ส่วนราชการ นายอำเภอ กำนัน
ผู้ใหญ่บ้าน ดำเนินการรณรงค์ให้ประชาชนเข้าร่วมโครงการครอบคลุมทุกพื้นที่และมีสถานศึกษา
หน่วยงานเข้าร่วมเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ ๓๐ ส่วนในด้านคุณภาพได้จัดให้มีกิจกรรมการรักษาศีล ๕ เนื่อง
ในโอกาสวันสำคัญทางพะพทุ ธศาสนาและของชาติ รวมทง้ั การบรู ณาการเข้ากบั โครงการแผ่นดินธรรม
แผ่นดินทองของกองทัพภาคที่ ๓ โดยใช้หลัก บวร ซึ่งได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจากคณะ
สงฆ์และพุทธศาสนิกชน ตอลดทั้งประชาชนทั่วทั้งจังหวัดเชียงรายเป็นอย่างดี และคาดหวังว่าในปี
๒๕๖๓ หมู่บ้านละประชากรในจังหวัดเชียงรายจะเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ อย่าง
แน่นอน

๔.๑.๑ นโยบายการสง่ เสรมิ การรักษาศีล ๕
จากการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ที่ผ่านมานั้นพบว่า จากพระบัญชา
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ที่อยากเห็นคนในชาติซึ่งกำลังมี
ความแตกแยกทางด้านความคิด กลับมาสมานฉันท์ปรองดอง ร่วมกันแก้ปัญหาสังคมที่เกิดขึ้น โดย
มอบนโยบายให้คณะสงฆ์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกันเผยแผ่และรณรงค์ให้ประชาชนคนไทย
ปฏิบัติตามแนวทางศีล ๕ โดยชื่อว่า หมู่บา้ นรกั ษาศลี ๕” ตอ่ มาคณะสงฆ์จงั หวดั เชียงราย โดย เจ้า
คณะจังหวัดเชียงราย และ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ร่วมกับ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย นายกเทศมนตรีเชียงราย พร้อมด้วย นายประสงค์ จักรคำ
ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย ตลอดถึงภาคีเครือข่าย และหน่วยงานที่
เกยี่ วขอ้ งทกุ ภาคส่วน ไดร้ ว่ มกนั ดำเนนิ โครงการหมูบ่ า้ นรักษาศลี ๕ โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดังน้ี

๑.ส่งเสรมิ สนับสนุนและสรา้ งความตระหนักให้พุทธศาสนิกชนนำหลักธรรม
คำสอนทางพระพทุ ธศาสนา การปฏบิ ัตติ ามหลักศลี ๕ สูช่ ีวติ ประจำวัน

๒.ขยายผลของการรักษาศีล ๕ จากระดับบุคคลและครอบครัวสู่ชุมชน
ระดับหมบู่ ้านโดยความรว่ มมือของบา้ น วัด โรงเรยี น และส่วนราชการ

๓.ให้เกิดกระแสแห่งการรณรงค์ชักชวนกัน สร้างความดีในสังคมอันจะ
นำมาซ่งึ ความสงบรม่ เย็นของประเทศชาติสบื ไป

ผลการดำเนนิ โครงการหมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕ ทำใหเ้ กิดเครือข่ายหมบู่ ้านรกั ษาศีล๕ ใน
จังหวัดเชียงราย เป็นการประสานความร่วมมือ ความสัมพันธ์ การดำเนินกิจกรรมร่วมกันของ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สถานศึกษา หมู่บ้าน ประกอบด้วย คณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายสำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชยี งราย หมู่บ้าน/ชุมชน แนวทางการปฏิบัตงิ านภายใตโ้ ครงหมู่บ้านรักษาศีล
๕ ร่วมกันเป็นภารกิจที่สำคัญของการรวมตัวกันเป็นเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีความสัมพันธ์กับ

๗๙

งาน และสัมพันธภาพระหว่างกัน ซึ่งงาน/ภารกิจ และความเป็นภาคีต่อกันนั้นมีหลักการทำงาน
รว่ มกนั ของเครอื ข่าย

จากการศึกษาเอกสาร การสมั ภาษณ์เชิงลึกในประเดน็ หลักการทำงานของเครือข่าย
หมบู่ ้านรักษาศลี ๕ จากเครือขา่ ยคณะสงฆ์ สำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั เชยี งราย หมู่บ้าน/ชุมชน
จังหวัดเชียงราย พบว่า การปฏิบัติงานเชื่อมโยงเครือข่ายภายใต้ระเบียบ กฎเกณฑ์แนวทางการ
ขับเคลื่อนภายใต้การผสมผสานความต้องการมีส่วนร่วมสร้างหมู่บ้านรักษาศีล ๕โดยเครือข่ายคณะ
สงฆ์ และสำนักงานพระพุทธศาสนาเป็นกลไกขับเคลื่อน ในการสร้างแรงศรัทธาจูงใจให้หมู่บ้านและ
ชุมชนเข้ามารว่ มเป็นสมาชิกเครอื ขา่ ย ตามหลกั การดงั นี้

๑. หลักการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนในการพัฒนาหมู่บ้านรักษาศีล ๕
เป็นกระบวนการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับองค์กรภาคีเครือข่ายอื่นๆในสังคมให้มีโอกาส
เข้ามามีส่วนร่วมรับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอแนะ ร่วมคิดแนวทาง ร่วมใน
กระบวนการตัดสินใจ ร่วมกระบวนการการพัฒนาสังคมในฐานะเจ้าของการพัฒนา และดำเนินการท่ี
เกิดจากร่วมแรงร่วมใจในการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานในฐานะที่เปน็ เจ้าของโครงการร่วมกัน และรับ
ผลประโยชน์อันเกิดจากผลของโครงการนี้ โดยจะเน้นการดำเนินประชาสัมพันธ์รณรงค์เชิญชวนให้
พุทธศาสนิกชน หมู่บ้าน สถานศึกษา และสมัครเข้าร่วมโครงการรักษาศีล ๕ และมีองค์กรเครือข่าย
ปกป้องพุทธศาสนาเกิดขึ้นทุกหมู่บ้านชุมชน ทุกภาคส่วนในประเทศไทย มีบทบาทหน้าที่ต่อการ
ขับเคลอื่ นโครงการ๒

๒. หลักการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรักษาศีล ๕ เป็นแนวทางการดำเนินโครงการ
หมูบ่ ้านรักษาศลี ๕ ในการจดั กจิ กรรมให้เกดิ ความร่วมมือ ระหว่างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ไม่ว่า
พระสงฆ์ หน่วยงาน ชุมชน ประชาชน ได้มาร่วมทำกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการรักษาศีล ๕ และการ
ดำเนินชวี ิตตามวิถีชาวพุทธ วัฒนธรรม ขนมธรรมเนียม ประเพณี อันดีงามของชาวพุทธที่ได้ประพฤติ
ปฏิบัติกันมาอย่างยาวนาน และเกี่ยวเนื่องกับสถานบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หล่อหลอม
ความเป็นชาวพทุ ธอย่างดีงาม๓

๓. หลักการการติดตามและประเมินผลหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็นแนวทางการ
ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานหมู่บ้าน หน่วยงาน และสถานศึกษารักษาศีล ๕ เป็น

๒ สมั ภาษณ์ นางเกลียวพรรณ์ ขำโนนง้ิว, ผอู้ ำนวยการสำนักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวดั เชยี งราย, ๒๔
มกราคม ๒๕๖๕.

๓ สัมภาษณ์ นางสาวหน่อแก้ว อุตโน, นักวชิ าการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดเชยี งราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.

๘๐

กระบวนการการรักษาความก้าวหน้าของการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายสร้างความปรองดอง
สมานฉันทไ์ ดใ้ ช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหมูบ่ ้านรักษาศลี ๕ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือรวบรวมผล
การดำเนินโครงการกิจกรรมของหมู่บ้าน หน่วยงาน และสถานศึกษารักษาศีล ๕ เพื่อทราบถึงปัญหา
อปุ สรรคในการปฏบิ ัตงิ านซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุงการดำเนินงานในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม เพ่ือควบคุม
กระบวนการดำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ และเพื่อเป็นข้อมูล
ประกอบการตัดสินใจ มีกลุ่มเป้าหมายในการติดตามประเมินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จำนวน ๓
กลุ่ม กลุ่มแรก เป็นหมู่บ้านรักษาศีล ๕ กลุ่มที่สอง หน่วยงานรักษา ศีล ๕ ได้แก่ หน่วยงานราชการ
หน่วยงานทหาร ตำรวจ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และเอกชน
กลุ่มสุดท้าย ได้แก่ สถานศึกษารกั ษาศีล ๕๔

๔.๑.๒ ยทุ ธศาสตร์การส่งเสรมิ การรักษาศลี ๕
เครอื ขา่ ยหมู่บา้ นรักษาศีล ๕ มหี ลักการ แผนการดำเนินการ ขั้นตอน และวิธีการให้
เกิดการนำหลักการของศีล ๕ ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของประชาชนในสังคม มีหลักการ
ดำเนินงานเครอื ข่าย มีดังนี้

๔.๑.๒.๑ หลักการทำงานของเครือข่ายหมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕ ของคณะสงฆ์
จังหวัดเชยี งราย

เครือข่ายคณะสงฆ์ เป็นการประสานความมือ เชื่อมโยง ร่วมใจของคณะ
สงฆ์จังหวัดเชียงรายทุกระดับ ทั้งนี้ได้ยึดหลักการ องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ ในการทำงานตาม
ระเบียบมหาเถรสมาคมว่าด้วยการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ พ.ศ. ๒๕๕๗ แบ่งตาม
ระดับการปกครองประกอบดว้ ย ระดบั จงั หวัด ระดบั อำเภอ ระดบั ตำบล ระดบั วัด

ระดับจังหวัด ประกอบด้วย เจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด ทั้งสองฝ่ายเป็นที่
ปรึกษาโครงการ มอี ำนาจหนา้ ท่ี ดังนี้

๑) ช่วยอำนวยการ ประสานงาน กำหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน เร่งรัดติดตาม
ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
เครือข่ายคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย นำโดย เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย พร้อมด้วยรองเจ้าคณะจังหวัด
เชยี งรายในฐานะเปน็ คณะกรรมการท่ปี รกึ ษาของโครงการ ถงึ อย่างนัน้ ยังได้เป็นผู้นำของคณะสงฆ์และ
ประชาชนในการดำเนินโครงการหมูบ่ ้านรักษาศลี ๕ ให้ดำเนินไปด้วยความเรยี บร้อย โดยอำนวยการ

๔ สัมภาษณ์ นางอทติ าธร วนั ไชยธนวงศ์, นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั เชยี งราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕.

๘๑

ประสานงาน กำหนดยุทธศาสตร์ ทำงานแผนงาน เพื่อเร่งรัดติดตามประเมินผล รายงานผลการ
ดำเนินการโครงการ ให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ๕ ในรูปของกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัด
ประชุมช้แี จงนโยบาย การประชมุ ตรวจการของคณะสงฆ์ เยย่ี มเยอื นวัด และประชาชนเพื่อขับเคลื่อน
โครกการสรา้ งความปรองดองสมานฉนั ท์ โดยใช้หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา“หมู่บ้านรักษาศีล ๕”
ประจำปี ๒๕๕๗ กำหนดลงพื้นที่ทุกอำเภอ จำนวน ๑๘ อำเภอ การลงนามบันทึกข้อตกลงความ
ร่วมมือ (MOU) ในการดำเนินการโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมูบ่ า้ นรักษา ศีล ๕” โดยมวี ัตถุประสงค์ ทจ่ี ะดำเนินโครงการฯเพื่อถวายเป็นพระ
ราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และมีเจตานา
รมณ์ที่จะร่วมกันสร้างสังคม ให้เป็นสังคมที่มีศีล มีสุข ปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้แนวทางตามหลัก
ของศีล ๕๖

๒) ร่วมแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ตามที่เห็นสมควร เพื่อให้การปฏิบัติงาน
บรรลุ วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมาย คณะสงฆร์ ะดบั จังหวัดเชยี งราย ไดเ้ ริ่มการขับเคลื่อนโครงการสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” จังหวัด
เชียงราย ในรูปของเครือข่ายภายใต้การออกคำสั่ง และประกาศจังหวัดเชียงราย เพื่อแต่งตั้ง
คณะอนุกรรมการ ดำเนินงาน และขับเคลื่อน เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย ได้ออกคำสั่งเจ้าคณะจังหวัด
เชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินและติดตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ระดับ
อำเภอ รวม ๑๘ อำเภอโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ได้ถูกกำหนดเป็นนโยบายของจังหวัดเชียงราย
ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ได้ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ และคณะกรรมการขับเคลื่อน
โครงการฯเร่งรัดให้คณะกรรมการระดบั อำเภอ ตำบล และหมู่บา้ นไดร้ ีบประชาสัมพันธใ์ ห้ประชาชนได้
สมัครเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ให้ได้ร้อยละ๕๐๒ โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็นการ
รณรงค์ให้ประชาชนได้หนั มานำเอาหลักธรรมมาประพฤติปฏิบตั ิ ทำตามหลักพระพุทธศาสนา เป็นคน
ดี ไม่เบียดเบียนตน และคนอื่น ลดปัญหาสังคม ได้นำเอานโยบายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็นนโยบาย
ของอำเภอ๗ ได้รับเอานโยบายจากเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย แล้วไปจัดประชุมเป็นวาระของคณะสงฆ์
อำเภอ เพ่ือขยายผลไประดบั ตำบล ระดับวดั ๔จงั หวัดเชียงราย มีการสร้างเครอื ขา่ ย “หมูบ่ ้านรกั ษาศีล
๕” โดยร่วมกันระหว่างคณะสงฆ์จังหวัดคณะสงฆ์อำเภอ ตำบล วัด ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ
กำนัน ผใู้ หญ่ และหน่วยงานอื่นๆ มีการกำหนดวตั ถุประสงค์ และแนวทางการดำเนินโครงการหมู่บ้าน

๕ สัมภาษณ์ นายเกยี รตยิ ศ เลศิ ณวรรธน์, ปลดั องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.
๖ สัมภาษณ์ นายพสิ นั ต์ จนั ทร์ศลิ ป,์ วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย, ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๗ สัมภาษณ์ นางณัชชา กนั ทะดง, นายกองค์การบรหิ ารส่วนตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕

๘๒

รักษาศีล ๕ อย่างชัดเจน ทำให้การดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เกิดความคล่องตัว รวดเร็ว มี
ประสิทธภิ าพและประสิทธิผล๘

๓) สง่ เสริม สนับสนนุ ให้คำปรกึ ษา และแนะนำ เก่ียวกบั การดำเนนิ งานโครงการแก่
คณะกรรมการระดบั อำเภอ ตำบล และหมู่บา้ น คณะสงฆ์จังหวดั เชยี งราย ร่วมกับ ผู้วา่ ราชการจงั หวัด
เชียงราย สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย ได้จัดกิจกรรมแถลงข่าว และลงนามบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือ(MOU) จงั หวัดเชียงราย ดำเนินการใหม้ ีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
ในการดำเนินการโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
“หมูบ่ ้านรักษาศลี ๕” ภายใต้นโยบายของจงั หวัดเชียงราย บันทึกข้อตกลงความร่วมมอื (MOU) ระยะ
ที่ ๑ ระดับจังหวัดเชียงราย ระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย กับเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย
(มหานิกายและธรรมยุต) การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ(MOU) ทำให้เกิดเครือข่ายการ
ทำงานหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ร่วมกัน ระหว่างจังหวัดเชียงราย และคณะสงฆ์ ขยายเครือข่ายไปยังผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ ภายใต้การทำงานตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕๙ การบันทึกข้อตกลงความ
ร่วมมือ (MOU) ระยะที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๐) ระดับจังหวัด ระหว่างเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย
(มหานิกายและธรรมยุต) ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย กองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดเชียงราย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑-๗ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย สำนักงาน
พัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงราย
สำนักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประจำจังหวดั เชยี งราย สำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย ถือว่าเป็นการลงนามครั้งใหญ่อีกครั้ง การดำเนินงานโครงหมู่บ้าน
รักษาศีล ๕ ต้องอาศัยการทำงานในรูปแบบเครือข่ายทำให้เกิดมีการประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูล
ขา่ วสาร มีเครือข่ายช่วยกันคิด ช่วยกนั ทำงาน มผี รู้ ว่ มรบั รู้รับผดิ ชอบ ตา่ งได้ทำหน้าที่ของตนเอง การ
มีเป้าหมายอย่างเดียวกัน ให้การดำเนินงานลุลวงสำเร็จเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว เพราะเป็นการแบ่งเบา
ภาระในการทำงาน๑๐

๘ สมั ภาษณ์ นายอมั พร สันชมพ,ู ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอแมส่ าย, ๒๖ มกราคม ๒๕๖๕
๙ สัมภาษณ์ นางสาวหน่อแก้ว อตุ โน, นักวิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนกั งานพระพุทธศาสนา
จงั หวดั เชยี งราย, ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๐ สมั ภาษณ์ นางเกลยี วพรรณ์ ขำโนนงิว้ , ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั เชียงราย,
๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.

๘๓

๔) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสให้
ประชาชนได้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วม
โครงการให้ครอบคลุมทกุ กลุม่ เปา้ หมาย

๕) กำหนดแนวทาง วิธีการให้ส่วนราชการต่างรัฐวิสาหกิจและองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น เขา้ มามีส่วนรว่ มในการขับเคลื่อนโครงการ

ระดับอำเภอ ประกอบด้วย เจ้าคณะอำเภอ รองเจ้าคณะอำเภอ ทั้งสองฝ่าย เป็นที่
ปรึกษา มีอำนาจหน้าท่ีดังน้ี

๑) ประสานงานดำ เนินงานตามแผนงานโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน
โครงการ

๒) ส่งเสรมิ สนบั สนุน ให้คำปรกึ ษา และแนะนำ เกี่ยวกับการดำเนนิ งานโครงการแก่
คณะกรรมการระดบั หมูบ่ ้าน

๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสให้
ประชาชนได้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วม
โครงการให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย

๔) พิจารณาดำเนนิ การอ่ืนๆ ตามท่เี หน็ สมควร๑๑
ในระดับวัด ประกอบด้วย เจ้าอาวาสวัดในหมู่บ้าน เป็นที่ปรึกษา มีอำนาจหน้าที่
ดงั นี้
๑) ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
๒) จัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพนั ธ์ สร้างกระแสให้ประชาชนได้เข้าใจรวมถึงเห็น
ความสำคัญและเห็นประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วมโครงการให้ครอบคลุมทุก
ครัวเรือน
๓) ติดตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ๑๒
๔.๑.๒.๒ หลักการทำงานของเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของสำนักงาน
พระพทุ ธศาสนาจังหวดั เชียงราย
สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย เป็นหน่วยงานหลักที่รบั ผดิ ชอบโครงการ
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย เป็นกรรมการและ

๑๑ สมั ภาษณ์ พระครอู ุปถัมภว์ รการ เจา้ คณะอำเภอแม่จัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๒ สัมภาษณ์ พระพุทธิวงศว์ วิ ัฒน์ ที่ปรึกษาเจา้ คณะจังหวดั เชียงราย, ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.

๘๔

เลขานุการ และมีเจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
มีอำนาจหน้าท่ี ขบั เคล่ือนดำเนนิ การในภาพรวมของจังหวดั ๑๓ ดังน้ี

๑) แต่งตั้งคณะกรรมการในระดับจังหวดั อำเภอ ตำบล และหมู่บา้ น ตามโครงสร้าง
ทกี่ ำหนด

๒) เปน็ เลขานุการจัดประชมุ คณะกรรมการฯ ระดบั จังหวัด เพ่ือวางแผนในการสร้าง
ความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ รณรงค์เชิญชวนประชาชนให้เข้าร่วมโครงการ และติดตาม
ความคบื หนา้ ในการดำเนินงานของในภาพรวมของจังหวัด

๓) ประสานงานกับคณะกรรมการทุกระดับ เพื่อร่วมมือในการดำเนินงานตาม
โครงการทกุ ขั้นตอน

๔) จัดประชุมชี้แจงหรือประสานงานให้มีการชี้แจงคณะสงฆ์ หน่วยงาน กลุ่มบุคคล
และบคุ คลที่เก่ียวข้อง ในจังหวัด เพื่อสรา้ งความเข้าใจเกย่ี วกับการขบั เคลอ่ื นโครงการกิจกรรม

๕) ขอความอนุเคราะห์ให้หน่วยงาน กลุ่มบุคคล และบุคคลที่ร่วมดำเนินงาน ให้
จดั ทำรายงานผลการดำเนินงาน สง่ ใหจ้ งั หวดั ตามขัน้ ตอนและกรอบระยะเวลา

๖) สนับสนุนส่งเสริม และรณรงค์ให้มีการจัดกิจกรรม การศึกษาอบรม และการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องอันเกี่ยวข้องกับการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ในชีวิตและ
สังคม เพ่ือสร้างความปรองดองสมานฉันท์ใหก้ บั ประชาชนในชาติ อยา่ งต่อเน่ือง

๗) สง่ เสริม สนบั สนุน ให้มกี ารประกาศยกยอ่ ง โดยการมอบใบประกาศเกยี รติบุคคล
ครอบครัว หมู่บ้าน ผนู้ ำชมุ ชน สถานศึกษา สว่ นราชการ และหนว่ ยงานเอกชน ทีม่ ผี ลการดำเนินงาน
ผา่ นเกณฑ์

๘) สนับสนุนหน่วยงานอื่นที่มีส่วนร่วมดำเนินการ และให้คอยดูแลช่วยเหลือแก่
หมู่บา้ น ตำบล และอำเภอทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ เพ่ือใหก้ ารดำเนินโครงการเปน็ ไปอย่างยั่งยืน

๙) ติดตามประเมินผลและรวบรวมผลการดำเนินงานในทุกระดับภายในจังหวัด
รายงานเป็นรายปักษ์ รายเดือน และรายปี ให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติทราบ ตามแบบ
รายงาน

๑๐) ประชาสัมพันธ์รณรงค์เชิญชวนให้ภาคส่วนต่างๆ ในจังหวัด อำเภอ ตำบล
หมู่บา้ น ให้การสนบั สนนุ และมีสว่ นร่วมในการดำเนนิ งานโครงการ

๑๓ สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ, คมู่ อื การดำเนินงานโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์
โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ”, (กรุงเทพมหานคร : สำนักงานพระพุทธศาสนา
แหง่ ชาติ, ๒๕๕๗), หน้า ๑๕-๑๘.

๘๕

๑๑) ประสานงานกับสื่อต่างๆ ภายในจังหวัด เช่น ประชาสัมพันธ์จังหวัด สถานี
วิทยุกระจายเสียงของจังหวัด วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เสียงตามสาย หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น เพื่อทำ
การประชาสัมพันธใ์ หค้ นในจงั หวัดได้รบั ทราบอยา่ งกว้างขวาง

๑๒) เผยแพร่ขา่ วสารโครงการกจิ กรรมส่สู าธารณชน เชน่ จดั ทำ ป้ายประชาสัมพันธ์
เผยแพร่ขอ้ มูลโครงการทางเวบ็ ไซตข์ องจังหวัด สำนกั งานพระพุทธศาสนาจงั หวดั และเครือขา่ ยต่าง ๆ

๔.๑.๒.๓ หลักการทำงานของเครอื ข่ายหมบู่ า้ นรักษาศีล ๕ ของหมบู่ ้าน/ชุมชน
เครือข่ายหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นการประสานความมือ ร่วมใจของ หน่วยงานภาครัฐ
เอกชน สถานศึกษา ประชาชน ภาคีเครือข่ายทุกระดับ ทั้งนี้ยังได้ยึดหลักการองค์ประกอบอำนาจ
หน้าที่ ในการทำงานตามระเบียบมหาเถรสมาคมว่าด้วยการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕
แบง่ ตามระดับการปกครองประกอบดว้ ย ระดับจงั หวดั ระดบั อำเภอ ระดบั ตำบลระดบั หมู่บา้ น

บทบาทหนา้ ท่ีหมู่บ้าน/ชมุ ชน
๑) ประสานงานกับวัด สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด หรือหน่วยงาน องค์กรที่
เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการฯ ประจำหมู่บ้าน เพื่อขับเคลื่อนการ
ดำเนินงาน และรายงานผลการแตง่ ตง้ั ให้อำเภอและสำนักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวดั ทราบ
๒) จัดประชุมคณะกรรมการประจำหมู่บ้าน เพื่อกำหนดกิจกรรม และการรณรงค์
เผยแพร่ให้ประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนเห็นคุณค่าของการรักษาศีล ๕ และการนำหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนามาปรับใช้ในชีวิต และสังคม เพื่อสร้างความปรองดองสมานฉันท์ให้กับประชาชนใน
ชุมชนหมูบ่ ้าน อย่างต่อเนอ่ื ง โดยประสาน การดำเนนิ งานกบั วดั หรอื สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัด
๓) เชิญชวนคนในชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วม และสนับสนุนการจัดกิจกรรมรณรงค์
ของวัด หมู่บ้าน ชุมชน เพื่อให้ดำเนินการไปได้ด้วยความเรียบร้อย เช่น ร่วมสนับสนุนอาหารน้ำด่ืม
และการบริการตา่ งๆ เปน็ ตน้
๔) ตรวจติดตามการดำเนินการโครงการฯ ของหมู่บ้านทร่ี บั ผิดชอบ โดยใช้รูปแบบท่ี
หมูบ่ ้านหรือชุมชนรว่ มกนั กำหนด เช่น ประชาคมหมูบ่ า้ น เปน็ ต้น
๕) ให้วัด ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หรือศาลาประชาคมหมู่บ้าน ชุมชน เป็นศูนย์กลางใน
การประสานงานหรือรับใบสมัครของชาวบ้านที่สมัครเข้าร่วมโครงการ และแจ้งรายงานผลการ
ดำเนนิ งานรอบ ๑๕ วัน และรอบ ๑ เดอื น ให้นายอำเภอ หรือสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดทราบ
๖) ประสานงานกับสื่อต่างๆ ภายในหมู่บ้าน เช่น สถานีวิทยุวิทยุชุมชน หอกระจาย
ข่าว เสียงตามสาย หรือ หนงั สอื พิมพท์ ้องถน่ิ เพือ่ ทำการประชาสัมพันธโ์ ครงการให้คนในหมู่บ้านหรือ
ชมุ ชนไดร้ ับทราบ อย่างตอ่ เนอื่ ง

๘๖

๗) จดั ทำแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์รณรงคเ์ ชญิ ชวนประชาชนในหมบู่ ้านหรอื ชุมชนเข้า
รว่ มโครงการ ณ บรเิ วณหนา้ วัด หรือหน้าท่ที ำการผูใ้ หญบ่ ้าน ผนู้ ำชมุ ชน หรอื ศาลาประชาคมหมบู่ า้ น

๘) เผยแพรโ่ ครงการฯ ให้เครือขา่ ย สถานศึกษา หนว่ ยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
หรอื ผา่ นเครือข่ายส่ือมวล ชนในหมู่บ้านหรือชมุ ชนได้รับทราบ และเชิญชวนใหไ้ ปเข้าโครงการ๑๔

จากข้อความข้างต้นจะเห็นได้ว่า เครือข่ายหมู่บ้าน/ชุมชน ได้แก่หน่วยงานภาครัฐ
สถานศึกษา ภาคเอกชน ภาคีเครือข่าย องค์กร ข้าราชการท้องที่ท้องถิ่น ประชาชน มีบทบาทหน้าท่ี
ในการดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ให้สำเร็จลุลวงตามแผนการปฏิบัติงาน แบ่งการทำงาน
ออกเปน็ ระดบั การปกครองประกอบด้วย ระดับจงั หวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบล ระดับหม่บู ้าน ดงั น้ี

ในระดับจังหวัด ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ นายก
องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นรองประธานกรรมการ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้แทนหน่วยงานองค์กร
สมาคม มูลนิธิ และผู้แทนภาคประชาสังคมในจังหวัด เป็นกรรมการ ให้คณะกรรมการโครงการ
หมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ ระดบั จังหวัด มีอำนาจหน้าท่ีดังน้ี

๑) อำนวยการ ประสานงาน กำหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน เร่งรดั ติดตามประเมินผล
และ

๒) รายงานผลการดำ เนินงานโครงการ เพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
๓) แตง่ ต้งั คณะอนกุ รรมการฝา่ ยต่างๆ ตามทเ่ี หน็ สมควร เพื่อใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานบรรลุ
วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมาย
๔) ส่งเสรมิ สนบั สนุน ให้คำปรกึ ษา และแนะนำ เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการแก่
คณะกรรมการระดบั อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน
๕) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสให้
ประชาชนได้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วม
โครงการใหค้ รอบคลมุ ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย
๖) กำหนดแนวทาง วิธีการให้ส่วนราชการต่างรัฐวิสาหกิจและองค์กรปกครองส่วน
ท้องถน่ิ เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการขับเคล่อื นโครงการ๑๕
ในระดับอำเภอ ประกอบด้วย นายอำเภอ เป็นประธานกรรมการ ผู้กำกับการสถานี
ตำรวจภูธรอำเภอ และนายกเทศมนตรี เป็นรองประธานกรรมการ ผู้แทนจากหน่วยงานองค์กร

๒๕๖๕. ๑๔ สัมภาษณ์ นางอทติ าธร วนั ไชยธนวงศ์, นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดเชยี งราย, ๑๐ กุมภาพันธ์
๑๕ สมั ภาษณ์ นายพสิ นั ต์ จนั ทรศ์ ลิ ป,์ วฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งราย, ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.

๘๗

สมาคม มูลนิธิ และผู้แทนภาคประชาสังคม เป็นกรรมการ ปลัดอำเภอที่นายอำเภอมอบหมาย เป็น
กรรมการและเลขานุการ มอี ำนาจหนา้ ทด่ี ังน้ี

๑) อำนวยการ ประสานงาน ดำเนินงานตามแผนงานโครงการและรายงานผลการ
ดำเนินงานโครงการ

๒) ส่งเสรมิ สนับสนุน ให้คำปรึกษา และแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการแก่
คณะกรรมการระดับตำบล และหมู่บ้าน

๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสให้
ประชาชนได้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วม
โครงการใหค้ รอบคลมุ ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย๑๖

ในระดับตำบล ประกอบด้วย กำนันในเขตตำบล เป็นประธานกรรมการ นายก
องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น เป็นรองประธานกรรมการ ผู้แทนจากหน่วยงาน หรือผู้นำชุมชนในเขต
ตำบล เป็นกรรมการ ให้ประธานกรรมการคัดเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งในตำบล เป็นกรรมการและ
เลขานกุ าร มอี ำนาจหนา้ ท่ดี งั นี้

๑) ประสานงานดำ เนินงานตามแผนงานโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน
โครงการ

๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ ำปรึกษา และแนะนำ เกย่ี วกับการดำเนินงานโครงการแก่
คณะกรรมการระดบั หม่บู า้ น

๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสให้
ประชาชนได้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วม
โครงการให้ครอบคลุมทุกกลมุ่ เป้าหมาย๑๗

ในระดับหมู่บ้าน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน เป็นประธานกรรมการ สมาชิกองค์การ
บริหารส่วนท้องถิ่นในหมู่บ้าน เป็นรองประธานกรรมการ ตัวแทนประชาชนที่ได้รับการคัดเลือก
จำนวนไม่ต่ำกว่า ๓ คน แต่ไม่เกิน ๕ คน เป็นกรรมการ มีอำนาจหน้าท่ดี งั นี้

๑) ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ

๒๕๖๕. ๑๖ สัมภาษณ์ นางอทิตาธร วันไชยธนวงศ์, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย, ๑๐ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕. ๑๗ สัมภาษณ์ นายเกียรติยศ เลิศณวรรธน์, ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลโป่งผา, ๒๘ มกราคม


Click to View FlipBook Version