๑๓๘
หมูบ่ า้ นดอนชมพูจะรว่ มกันงดเวน้ การเลี้ยงเหล้า เลย้ี งสุราในงานบญุ เนน้ ให้หมู่บา้ นเป็นหมู่บ้านปลอด
เหลา้ และการพนัน๑๐๘
ชาวบ้านมีการพัฒนาตนตามหลักศีล ๕ มีการประกอบอาชีพสุจิตเน้นกิจกรรม
ค้าขาย ผสมผสานกับการจัดกิจกรรมรองรับการท่องเที่ยวชุมชนมีความประพฤติที่ดี ต้อนรับผู้ซื้อ
ผลิตภัณฑ์ ต้อนรับนักทอ่ งเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาตคิ ุณภาพชีวิตที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
สุจริตตามหลักการของศีล ๕ ด้วยความสังวรระวังทางกายวาจา ใจ เช่น เป็นผู้มีน้ำใจ เมตตาเอื้อเฟื้อ
ตอ่ กัน ใหค้ วามเคารพนบั ถอื ผู้สูงอายุ ขยนั หม่นั เพียรเลีย้ งชีพด้วยการหม่ันประกอบการงาน เปน็ ผขู้ ยนั
ไม่เกียจคร้านในการงาน ใช้ปัญญาเป็นเครื่องสอดส่องอนั เป็นอุบายในการงานอาชีพนัน้ ให้สามารถทำ
ได้สำเร็จ รักษาคุ้มครองโภคทรัพย์เหล่านั้นไม่ให้ถูกลักหรือทำลายไปโดยภัยต่างๆ คบคนดี ไม่คบคบ
ชั่ว ดำรงตน เจรจา สนทนากับผู้มีสมาจารบริสุทธิ์ ผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา ที่เหมาะ
ต่อการแก้ไขปญั หา๑๐๙
๒. การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ดา้ นจิตใจตามหลกั ศลี ๕
มีการนำหลักศีล ๕ มาจัดกิจกรรมงานเลี้ยงปลอดเหล้า งานบุญปลอดเหล้า เป็นต้น
การจดั กิจกรรมดังกลา่ วอาศยั ความรว่ มมือรว่ มใจของสมาชิกในชุมชนเปน็ การพฒั นาคุณภาพชีวิตด้าน
จิตใจของสมาชิกของชุมชนทุกคนให้ห่างไกลอบายมุขตามหลักศีล ๕ นำไปสู่รายได้ที่เกิดจากการลด
รายจ่าย จากการไม่ใช้จ่ายในการดื่มสุรา จิตใจที่พร้อมเพรียง ใส่ใจที่พัฒนาตนด้วยความหมั่น เช่น
ขยันหมั่นเพียร เลี้ยงชีพด้วยการหมั่นประกอบการงานได้สำเร็จ โดยเฉพาะจิตใจที่เข้มแข็งจากความ
หมั่นเพียรนำมาตนเองห่างไกลจากอบายมุข ชาวบ้านมีความสำรวม กาย วาจาและใจ มีการสร้าง
ความดี ด้วยการไปทำบุญที่วดั ฟังเทศน์ ฟังธรรม และถือศีล ๕ เป็นปกตินิสัย มีศูนย์รวมจิตใจ ทำให้
สามารถอาศยั อย่รู ่วมกันอยา่ งสันตสิ ุข ไมม่ ีคดคี วาม ใดๆ เกิดขน้ึ ในหมบู่ า้ น๑๑๐
หมู่บ้าน มีการนำหลักศีล ๕ มาปรับใช้กับชุมชนได้เพียงบางส่วนทั้งนี้เพราะชุมชน
เป็นเส้นทางผ่านการเดินทางของประชาชนทั่วไป ร้านค้าจำนวนหนึ่งยังคงมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่
ขัดกับหลักศีล ๕ แต่ชุมชนที่ปฏิบัติตามหลักของศีล ๕ โดยวัดและโรงเรียนเป็นแกนนำสำคัญในการ
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของชุมชน ใหม้ จี ิตใจทเ่ี ขม้ แข็งตอ่ ตา้ นอบายมุข จดั ใหม้ ศี ูนยเ์ รยี นรแู้ ละทำกิจกรรม
ร่วมกันในวดั ด่านเกวยี น โรงเรยี นบ้านดา่ นเกวียน โดยเฉพาะมีการจัดใหว้ ัดงดกิจกรรมท่ีเก่ียวกับเหล้า
๑๐๘ สัมภาษณ์ นางสาวหน่อแก้ว อุตโน, นักวิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนักงาน
พระพทุ ธศาสนาจังหวดั เชียงราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๐๙ สัมภาษณ์ พระครูประภาสพนารกั ษ์, เจา้ อาวาสวดั ปา่ ยาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๑๐ สมั ภาษณ์ พระอธิการเกียรตดิ รุ งค์ ปภงฺกโร, เจา้ อาวาสวัดปา่ แฝ, ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๓๙
ได้แก่ วัดปลอดเหล้า จัดกิจกรรมงานเลี้ยงปลอดเหล้า งานบุญปลอดเหล้าเป็นต้น ความร่วมมือของ
สมาชิกในชุมชน ความเข้มแข็งทางด้านจิตใจเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านจติ ใจให้เกิดการต่อต้าน
อบายมุข ส่งเสริมให้จิตใจตนเองมีสติและสมาธิ ใส่ใจที่พัฒนาตนด้วยความหมั่น เช่น ขยันหมั่นเพียร
เลี้ยงชีพด้วยการหมั่นประกอบการงานได้สำเร็จ โดยเฉพาะจิตใจที่เข้มแข็งจากความหมั่นเพียรนำมา
ตนเองหา่ งไกลจากอบายมุข และเข้าร่วมกจิ กรรมทีว่ ัดดา่ นเกวยี นจดั ขน้ึ อย่างตอ่ เน่ือง๑๑๑
๓. การพัฒนาคุณภาพชวี ิตดา้ นความสัมพันธ์ทางสงั คมตามหลักศลี ๕
หมบู่ ้าน มกี ารจดั ประชุมโครงการรักษาศลี ๕ อย่างต่อเนือ่ งการพัฒนาชีวิตตามหลัก
ศีล ๕ โดยการปฏิบตั ิธรรมทุกวนั อาทติ ย์ สง่ เสริมให้พทุ ธศาสนิกชนถอื ศีล ๕ ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการ
ทำบุญตักบาตรในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีการตามรอยวิถีชาวพุทธ เช่น การ
ทำบุญตักบาตรของพุทธศาสนิกชนในทุก ๆ เช้าของวัน การไปวัดทำบุญ ฟังธรรม ทุกวันพระ การจัด
กิจกรรมปริวาสกรรม คุณภาพชีวิตที่เกิดจากความผูกพันและการร่วมกิจกรรมกันในทางสังคมตาม
หลักการศีล ๕ การอยู่ร่วมกันโดยปกติสุขความสัมพันธ์ของสังคมในลกั ษณะการช่วยสนับสนุนการทำ
กจิ กรรมของชาวพทุ ธแสดงออกถึงความเป็นกลั ยาณมิตรในสังคมบา้ นดอนชุมพู หมัน่ ประกอบการงาน
ร่วมกัน สามารถทำเกิดความร่วมมือสมาชิกในชุมชนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ก่อให้เกิดการระดมเงินทุน
ระดมสมาชิกใหมเ่ ข้าร่วมโครงการรกั ษาศลี ๕ พฒั นาสังคมรว่ มกนั ๑๑๒
หมู่บ้านมีความสัมพันธ์ทางสังคม ทางเครือญาติและสังคมทางการประกอบอาชีพ
ของคนต่างพื้นที่ที่หลากหลายเข้ามาอยู่ในตำบลด่านเกวียน คุณภาพชีวิตที่ปรับเปลี่ยนไปในเชิง
อุตสาหกรรมได้รับความยากลำบากในการแข่งขัน แต่คุณภาพชีวิตความสัมพันธ์ในชุมชนดีขึ้นผ่าน
ความร่วมมือร่วมใจตามหลักของศีล ๕ การมีเมตตาต่อกันสนับสนุนกิจกรรมซึ่งกันและกันสามารถ
สงั เกตเหน็ ไดจ้ ากการเปน็ จติ อาสาพฒั นาชุมชนในมติ ติ า่ ง ๆ บ้าน วัด โรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียนและ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะมจี ิตอาสารว่ มกนั พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ประชาชนจะเสียสละเวลา
และสนับสนุนกิจกรรมที่วัดจัดขึ้นเป็นศูนย์ร่วมสร้างความสัมพันธ์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
สมาชิกในสงั คม๑๑๓
๔. การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตดา้ นสิ่งแวดล้อมตามหลักศีล ๕
หมู่บ้าน มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตเน้นการจัดการสิ่งแวดล้อมสรา้ งคนดใี นสังคมของ
หมู่บ้านผสมผสานกับการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมของชุมชนให้น่าอยู่ส่งเสริมการมีรายได้และ
๑๑๑ สมั ภาษณ์ พระอธกิ ารเกียรตดิ รุ งค์ ปภงกฺ โร, เจา้ อาวาสวัดปา่ แฝ, ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๑๒ สมั ภาษณ์ พระครปู ระภาสพนารกั ษ์, เจ้าอาวาสวดั ปา่ ยาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๑๓ สัมภาษณ์ พระพทุ ธวิ งศ์ววิ ัฒน์, ทป่ี รึกษาเจ้าคณะจังหวดั เชียงราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๔๐
จดั ตง้ั กองทุนพฒั นาชุมชนใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพชวี ติ ที่ดีข้ึนเปน็ ชุมชนที่น่าอยู่ มีกองทุน
สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน เช่น กองทุนหมู่บ้าน กองทุนผู้สูงอายุ เป็นต้นร่วมรักษาโภคทรัพย์
สิ่งแวดล้อมทั้งที่เกิดในครอบครัว ชุมชน ซึ่งหามาได้ด้วยความขยันหมั่นเพียรของสมาชิก ไปใช้โดย
ชอบธรรม และสมาชิกร่วมเป็นส่วนหนึ่งรักษาคุ้มครองโภคทรัพย์เหล่านั้น และสมาชิกในชุมชนยัง
แสดงออกตามหลักการของศีล ๕ ไม่เบียดเบียนกัน เป็นกัลยาณมิตรซึ่งกันและกันได้รับผลการ
เปลี่ยนแปลงหลังร่วมมือกับสมาชิกท่านอื่น ๆ คบคนดี ไม่คบคบชั่ว ดำรงตน เจรจาสนทนาแก้ไข
ปญั หาและร่วมกันพฒั นาบทบาทสตรใี นการรักษาสง่ิ แวดล้อมของชมุ ชน๑๑๔
หมู่บ้านมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตเน้นการจัดการสิ่งแวดล้อมสร้างคนดีในสังคมของ
หมู่บ้านผสมผสานกับการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมของชุมชนให้นา่ อยเู่ ปน็ แหล่งท่องเท่ียวชุมชน
อีกทั้งยงั สง่ เสริมการมีรายได้และจัดต้ังกลุ่มพัฒนาอาชีพชุมชนด่านเกวียนให้เกดิ การเปล่ียนแปลงด้าน
คณุ ภาพชีวติ ทด่ี ขี ้ึนเป็นชุมชนทน่ี ่าอยู่ ปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มภายในหมู่บ้านใหม้ ีความสวยงามรองรับ
การเข้ามาท่องเที่ยวในชุมชน ปรับแต่งร้านให้มีความสวยงาม งดเว้นการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ขัดกับ
หลักการของศีล ๕ และมีกองทุนสนับสนุนกิจกรรมของชุมชน เช่นกองทุนหมู่บ้าน กองทุนผู้สู งอายุ
เป็นต้น ร่วมรักษาโภคทรัพย์สิ่งแวดล้อมทั้งที่เกิดในครอบครัวชุมชน ซึ่งหามาได้ด้วยความ
ขยนั หมั่นเพียรของสมาชิก ไปใชโ้ ดยชอบธรรม และสมาชิกร่วมเป็นส่วนหนง่ึ รักษาคุ้มครองโภคทรัพย์
เหล่านั้น และสมาชิกในชุมชนยังแสดงออกตามหลักการของศีล ๕ ไม่เบียดเบียนกัน เป็นกัลยาณมติ ร
ซงึ่ กันและกันไดร้ บั ผลการเปล่ียนแปลงหลังรว่ มมือกับสมาชกิ ทา่ นอื่น ๆ คบคนดี ไม่คบคบชัว่ ดำรงตน
เจรจา สนทนาแกไ้ ขปัญหาและรว่ มกนั พฒั นาบทบาทสตรีในการรักษาสง่ิ แวดล้อมของชุมชน
ผลการพฒั นาคุณภาพชวี ติ พบว่า
ประชาชนที่เข้าร่วมหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีวิถีชีวิตและกิจกรรมดำเนินการชีวิตแบบ
ดั้งเดิมอยู่ก่อนแล้ว การดำเนินชีวิตเข้าไปเกี่ยวข้องกับอบายมุข หรือสมาชิกในชุมชนเกี่ยวข้องกับ
อบายมุขส่งผลใหก้ ารดำเนนิ ชีวิตตกต่ำ การปฏิบัติตามหลักศีล ๕ ในรูปแบบบูรณาการ หรือปฏิบัติได้
บางขอ้ สง่ ผลให้คณุ ภาพชีวติ ดขี น้ึ ดังน้ี
คุณภาพชีวิตของชุมชน วัดน้ำจำ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีความสำรวม
กาย วาจาและใจ มีการสร้างความดีด้วยการไปทำบุญที่วัด ฟังเทศน์ ฟังธรรม และถือศีล ๕ เป็นปกติ
นิสัย มีศูนย์รวมจิตใจ ทำให้สามารถอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ไม่มีคดีความใด ๆ เกิดขึ้นใน
หมู่บ้าน๑๑๕
๑๑๔ สัมภาษณ์ พระอธกิ ารประเสรฐิ วรธมฺโม เจ้าอาวาสวดั หนองออ้ , ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๑๕ สมั ภาษณ์ พระอธกิ ารเกยี รติดรุ งค์ ปภงฺกโร เจ้าอาวาสวดั ปา่ แฝ, ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๔๑
คุณภาพชีวิตของชุมชน วัดบ้านจ้อง อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ความร่วมมือ
และการมีส่วนร่วมของ บ้าน วัดโรงเรยี น (บวร) ทำให้การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมการพัฒนา
หมู่บ้าน ชุมชน และโรงเรียนเป็นต้น ประสบความสำเร็วและบรรลุตามวัตถุประสงค์ทุกประการ
รวมทั้งสถิติคดีที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านลดลง และไม่มีคดีทีร้ายแรง ส่งผลให้เกิดความสุขสงบ และความ
เจริญรุ่งเรืองในหมบู่ า้ นอย่างรวดเร็ว๑๑๖
คุณภาพชีวิตของชุมชน วัดป่ายาง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย คือ พลังสามัคคี
ของชาวบ้าน และโรงเรียนในพื้นที่ โดยมีวัดเป็นศูนย์รวมและเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรม ซึ่งยึด
หลัก “บวร” (บ้าน วัด โรงเรียน) และหลักศีล ๕ เข้ามาใช้ ทำให้ชุมชนเกิดความรัก ความสามัคคี
ความร่วมมือ ความเข้าใจและหวังดีต่อกัน ส่งผลให้สังคมมีความมั่นคง เกิดความสงบสุข อย่างยั่งยืน
และไม่มีคดีความใด ๆ เกิดขึ้นในหมู่บ้านดำรงชีวิตอยู่บนพื้นฐานความพอเพียง ตามแนวทาง
พระราชดำรเิ ศรษฐกิจพอเพยี ง ของรชั กาลที่ ๙๑๑๗
คุณภาพชีวิตของชุมชน วัดหนองอ้อ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายมีความรัก
ความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีศีลธรรม เอาใจใส่ช่วยเหลือสังคมและ
สว่ นรวม ทำใหส้ งั คมมีความสงบเรยี บร้อย ไม่มปี ัญหาใด ๆ และไมม่ คี ดีความเกิดขึ้นภายในหมู่บ้านแต่
อย่างใด๑๑๘
คุณภาพชีวิตของชุมชน วัดป่าแฝ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีความสงบสุข
ชาวบา้ นมีความสมัครสมานสามัคคีกนั ถอ้ ยทถี ้อยอาศัยกนั ชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกัน ช่วยกนั ปฏิบัติงาน
ภายในหมู่บ้าน วัดและโรงเรียน เป็นอย่างดี และที่สำคัญประชาชนส่วนใหญ่ของหมู่บ้าน จะมีศีล มี
ธรรม นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ศีล ๕ มาใช้ในชีวิตประจำวัน ทำให้ไม่มีคดีใด ๆ เกิดข้ึน
ภายในหมบู่ า้ น ในรอบ ๓– ๔ ปที ผ่ี า่ นมา๑๑๙
๔.๔ องค์ความรูท้ ่ีได้จากการวิจัย
การพัฒนาคุณภาพชีวติ ทางเศรษฐกจิ และสังคม การปฏบิ ตั ิตน ตอ้ งมาจากรากฐาน ศลี ๕
เป็นธรรมะพื้นฐานของมนุษย์ ไม่เลือกชั้นวรรณะ เชื้อชาติศาสนามีสาระเดียวกัน หากแต่เรียกชื่อ
ต่างกันเท่านั้น เรียกว่านิจศีล สังคมย่อมสงบสุข ชาวโลกย่อมร่มเย็นกันทั่วหน้า หลักคำสอนทาง
พระพุทธศาสนา ศีล ๕ เป็นหลักธรรมเกี่ยวกับความประพฤติดีงาม และการหาเลี้ยงชีพในทางสุจริต
๑๑๖ สัมภาษณ์ พระครูสวุ ิชานสุตสนุ ทร, เจา้ อาวาสวดั บ้านจ้อง, ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๑๑๗ สมั ภาษณ์ พระครูประภาสพนารกั ษ์, เจ้าอาวาสวดั ปา่ ยาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๑๘ สัมภาษณ์ พระอธิการประเสรฐิ วรธมโฺ ม, เจา้ อาวาสวดั หนองออ้ , ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๑๙ สัมภาษณ์ พระอธิการเกยี รตดิ รุ งค์ ปภงกฺ โร, เจา้ อาวาสวดั ป่าแฝ, ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๔๒
ไดแ้ ก่ศลี มุ่งเนน้ ท่ีประโยชน์เก้ือกูลแก่สงั คม ในการอย่รู ่วมกนั เป็นหมู่บา้ น ชุมชน เพ่ือให้เกิดประโยชน์
ในการปฏิบัติโดยตรงแก่บุคคลและสังคม บุคคลต้องการรักษาศีลให้ดียิ่งขึ้นไปในวันอุโบสถก็สามารถ
รักษาศลี ๘ หรืออุโบสถศลี ได้ ดังน้ัน คฤหัสถผ์ ู้รกั ษาศลี สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ
๑. ศีล ๕ เป็นสิกขาบทที่คฤหัสถ์รักษาอยู่เป็นประจำ เรียกว่า นิจจศีล มีสิกขาบทไว้
สำหรับเป็นข้อฝึกความประพฤติกายวาจาใหเ้ รยี บรอ้ ย ๕ ประการ ได้แก่
๑) เว้นจากปลงชวี ติ ของสัตว์ทม่ี ชี วี ิต (ปาณาติปาตา เวรมณ)ี
๒) เว้นจากการถือเอาสิ่งของท่ีเขามิไดใ้ ห้ (อทินนาทานา เวรมณ)ี
๓) เว้นจากการประพฤตผิ ิดในกาม (กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี)
๔) เวน้ จากการพดู เท็จ (มุสาวาทา เวรมณ)ี
๕) เว้นจากการดื่มของมึนเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท (สุรา
เมรยมชั ชปมาทฏั ฐานา เวรมณี)
หลักของความประพฤติพื้นฐานของชุมชนในหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีจุดหมายที่เหมือนกัน
คือ การมีชีวิตท่ีไม่มีโทษภัยอยู่ในสังคมที่เป็นปกติสุข จึงสร้างกฎระเบียบขึ้นในสังคม ศีล ๕จึงปรากฏ
ชัดเจนในสังคม เป็นระเบียบปฏิบัติของสังคม ได้ทำให้ประชาชนอยู่ร่วมกันโดยความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย และเป็นที่รองรับของธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล ซึ่งมีประโยชน์และมีอานิสงส์อย่างต่อเนื่อง
ปญจสีลํ สพฺพกาลิกํ หมายความว่า ศีล ๕ เป็นของมีอยู่ตลอดกาลทกุ ยุคทุกสมัยตรงกันข้ามหมู่บ้านท่ี
ไม่รักษาศีล ๕ จะมีความประพฤติพื้นฐานของสังคม ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งการประทุษร้ายซึ่ง
กันละกนั มคี วามไม่สงบสุข เกดิ ความวนุ่ วายขนึ้ ในสังคม ชุมชน
ศีล ๕ จึงเป็นหลักการสำหรับประพฤติขั้นพื้นฐานของคนในสังคม สถานศึกษา วัด
หน่วยงานราชการ ที่เกี่ยวข้องกับหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ควรสนับสนุนให้สมาชิกในชุมชนทุกเพศทุกวัย
รักษาศีล ๕ มีการประพฤติตนให้มีเบญจธรรมทั้ง ๕ อันได้แก่ เมตตากรุณา คือความรัก ความ
ปรารถนาดีต่อผู้อ่ืน สัมมาอาชีวะ คือการประกอบสัมมาอาชีวะ กามสังวร คือการสำรวมในกามสัจจะ
คือการพดู ความจริง สติสมั ปชัญญะ คอื ความระลึกได้และความรตู้ วั เป็นเครอื่ งสง่ เสรมิ คุณธรรมความ
ดี มีจรรยามารยาทที่เรียบร้อย เป็นหลักความพฤติตามหลักสากล ไม่เกี่ยวกับสมัยนิยมของยุคหรือ
ท้องถิ่นหรือข้อห้ามต่าง ๆ ของขนบธรรมเนียมประเพณี จึงถือได้ว่าหลักความประพฤติที่เรียกว่า ศีล
๕ น้เี ป็นมาตรฐานวัดความเจริญและเส่ือมโทรมของสังคมไดเ้ ปน็ อย่างดหี ลักการของศีล ๕ ยังสามารถ
พัฒนาตอ่ ยอดส่กู ารพัฒนาบคุ คลตน้ แบบในชุมชน โดยจากการมเี พียงศลี ๕ พัฒนาสกู่ ารมีศลี ๘ ตอ่ ไป
การประพฤตนของบุคคลต้นแบบ ยังคงดำเนินชีวิต และทำกิจกรรมร่วมกับชุมชนได้
ตามปกติ เหมือนบุคคลที่รักษาสีล ๕ สำหรับกลุ่มบุคคลที่มิได้รักษาศีล ๕ ไม่สามารถเข้าร่วมดำเนิน
๑๔๓
กจิ กรรมต่างๆ ร่วมกนั ได้ทง้ั นี้ เพราะวิถีแห่งความเปน็ คนต้นแบบที่ดีงาม จะแตกต่างจากวถิ ีการใช้ชีวิต
อยกู่ บั อบายมุข
การดำเนินงานเชิงบูรณาการหลักศีล ๕ กับการดำเนินชีวิตของประชาชน มีลักษณะการ
ดำเนินงานภายใต้การจัดตั้งเครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕
และเครือข่ายมีรูปแบบการดำเนินงานเป็นเครือข่ายที่จัดตั้งโดยภาครัฐเป็นแกนกลางประกอบด้วย
จังหวัดเชียงราย เป็นแกนกลางเชื่อมเครือข่าย ภายใต้สายงานบังคับบัญชาของจังหวัดเชียงราย
เครือข่ายคณะสงฆ์ มีคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย ทั้งสองนิกาย เป็นแกนกลางเชื่อมไปยังกลุ่มเครือข่าย
องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนไปยังพื้นที่ มีการขับเคลื่อนโครงการและเชื่อมโครงการลักษณะการออก
คำสั่ง การขอความร่วมมือสนับสนุนให้เกิดการใช้หลักธรรมพระพุทธศาสนา หลักศีล ๕ กิจกรรมการ
ดำเนนิ ชีวิตบรู ณาการใหเ้ กิดการพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชน
ดา้ นผลการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
ประชาชนที่เข้าร่วมหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีวิถีชีวิต กิจกรรมดำเนินการชีวิตแบบดั้งเดิมอยู่
ก่อนแล้ว โดยการดำเนินชีวิตเข้าไปเกี่ยวข้องกับอบายมุข หรือสมาชิกในชุมชนเกี่ยวข้องกับอบายมุข
ส่งผลให้การดำเนินชีวิตตกต่ำ ทั้งนี้การหันมาตนปฏิบัติตามหลักศีล ๕ ในรูปแบบบูรณาการ หรือ
ประพฤติปฏบิ ัตไิ ดบ้ างขอ้ ส่งผลใหค้ ุณภาพชวี ติ ดีขึ้น ดังรายละดงั น้ี
กรณีวัดป่ายาง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงรายมีความสำรวม กาย วาจาและใจมีการสร้าง
ความดี ด้วยการไปทำบุญที่วัด ฟังเทศน์ ฟังธรรม และถือศีล ๕ เป็นปกตินิสัย มีศูนย์รวมจิตใจ คือ
หลวงพ่อใหญ่ (พระพุทธศีลบัญชร) และพระอุโบสถ ทำให้สามารถอาศัยอยูร่ ่วมกันอย่างสันตสิ ขุ ไม่มี
คดคี วามใด ๆ เกิดขน้ึ ในหมู่บ้าน มีการสรา้ งสมั มาอาชีพ มีผลติ ภัณฑ์ในท้องถิ่น คือการทำปลาส้มปลา
ตะเพียนไรก้ า้ ง มกี ารรวมกลุม่ แมบ่ า้ นเพ่ือจดั ทำและจัดจำหน่าย รวมทั้งมีการจัดทำบญั ชีแสดงรายรับ-
รายจา่ ย และแบ่งผลกำไรให้กับสมาชกิ เปน็ อยา่ งดดี ว้ ย
กรณี วัดน้ำจำ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของบ้าน
วดั โรงเรียน (บวร) ทำใหก้ ารจดั กิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมการพฒั นาหมูบ่ ้าน ชมุ ชน และโรงเรียน
เป็นต้น ประสบความสำเร็วและบรรลุตามวตั ถุประสงคท์ ุกประการ รวมท้ังสถิตคิ ดีที่เกิดข้ึนในหมู่บ้าน
ลดลง และไม่มีคดีที่ร้ายแรง ส่งผลใหเ้ กดิ ความสุขสงบ และความเจริญรุ่งเรอื งในหมู่บ้านอย่างรวดเร็ว
ประกอบสมั มาอาชพี มีผลติ ภณั ฑใ์ นท้องถน่ิ
กรณีวัดบ้านจ้อง อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายคือ พลังสามัคคีของ ซึ่งยึดหลัก “บวร”
(บ้าน วัด โรงเรียน) และหลักศีล ๕ เข้ามาใช้ ทำให้ชุมชนเกิดความรัก ความสามัคคี ความร่วมมือ
ความเข้าใจและหวังดีต่อกัน ส่งผลให้สังคมมีความมั่นคง เกิดความสงบสุข อย่างยั่งยืน และไม่มีคดี
๑๔๔
ความใด ๆ เกิดขึ้นในหมู่บ้านดำรงชีวิตอยู่บนพื้นฐานความพอเพียง ตามแนวทางพระราชดำริ
เศรษฐกจิ พอเพียง ของรัชกาลท่ี ๙ ผลติ ภณั ฑใ์ นท้องถน่ิ
กรณีวัดหนองอ้อ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชยี งรายมีความรัก ความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ต่อกนั ช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกัน มศี ลี ธรรม เอาใจใส่ช่วยเหลอื สังคมและสว่ นรวม ทำให้สังคมมีความสงบ
เรียบรอ้ ย ไมม่ ปี ญั หาใด ๆ และไมม่ คี ดีความเกิดขึน้ ภายในหมู่บ้านแต่อยา่ งใด
กรณีวัดป่าแฝ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เป็นหมู่บ้านที่มีความสงบสุข ชาวบ้านมี
ความสมัครสมานสามัคคีกัน ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ช่วยกันปฏิบัติงานภายใน
หมู่บา้ น วดั และโรงเรียน เปน็ อยา่ งดี และทีส่ ำคญั ประชาชนส่วนใหญ่ของหม่บู ้าน จะมศี ีล มีธรรม นำ
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ศลี ๕ มาใชใ้ นชีวิตประจำวัน ทำให้ไม่มีคดใี ด ๆ เกดิ ขนึ้ ภายในหมู่บ้าน
ในรอบ ๓ - ๔ ปีท่ีผา่ นมา
โดยผลสรุปแล้ว คือหมู่บ้านและชุมชนที่รักษาศีล ๕ ได้รับผลแห่งการพัฒนาชีวิตใน ๕
ด้านหลกั และ ๔ ด้านรองดงั นี้
๕ ด้านหลกั คือ
๑. ด้านหลักประกันชีวิต ชีวิตมีความปลอดภัย จากการทำร้ายฆ่ากันด้วยวิธีการต่างๆ
ทำให้ผูค้ นมีอายุยืนยาว และเป็นมติ รสหายระหว่างกนั ทงั้ ชมุ ชนตนและชมุ ชนใกล้เคียง
๒. ด้านหลักประกันทรัพย์สิน มีความปลอดภัยและมั่นคงในทรัพย์สิน ลดการฉ้อโกง
หลอกลวง เออ้ื เฟื้อเผ่ือแผ่ สง่ เสริมกันในด้านเศรษฐกิจ รวมไปถงึ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินด้วย
๓. ด้านหลักประกันครอบครัว ทำให้ปัญหาครอบครัวและการหย่าร้าง ภาวะไร้พ่อแม่
เดก็ กำพรา้ ในชมุ ชนลดลง คูส่ ามภี รรยามคี วามเข้าใจและปรับตัวเขา้ หากนั ได้ดีข้ึน ตลอดถึงการทำร้าย
คู่ชีวติ นอ้ ยลง ครอบครวั มีความเติบโตและอบอุน่ ยงิ่ ขึ้น
๔. ดา้ นหลักประกนั สังคม ทุกคนในชมุ ชนสามารถเข้าใจปรึกษารับฟังกันได้อยา่ งสนิทใจ
มกี ารใหก้ ำลงั ใจกนั ยามมปี ญั หาหรือวกิ ฤติแม้กระทั้งในชว่ งโรคระบาดโควดิ ๑๙ เป็นภูมคิ ุ้มกันอยา่ งดี
๕. ด้านหลักประกันสุขภาพ โรคภัยไข้เจ็บลดลง อายุยืนยาว และค่าใช้จ่ายที่ไม่เป็น
ลดลงทำให้มีรายจ่ายที่ไม่เกินตัว สามารถเก็บเงินไว้ใช้ในสิ่งจำเป็น และมีเวลามากขึ้นในการพัฒนา
คุณภาพชวี ติ ในทุกดา้ น รวมไปถงึ ทรัพย์สนิ และครอบครัว รวมไปถงึ หม่บู ้าน ชมุ ชน และสงั คม
๔ ด้านรองคือ
๑. ด้านการพัฒนาร่างกาย คือ การมีความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
หรือทางวัตถุ ให้รู้จักกิน อยู่ ดู ฟังเป็น สามารถเสพสิ่งเหล่านั้นในทางที่เป็นคุณที่ไม่ให้เกิดโทษ รู้จัก
๑๔๕
ควบคุมไม่ให้เกิดความต้องการที่พุ่มเฟือยหรือเกินความจำเป็น ที่บุคคลจะใช้ คือมีสุขภาพกายดี
เศรษฐกจิ พอเพยี งต่อการดำเนนิ ชวี ิตอย่างถูกต้อง
๒. ด้านการพฒั นาศีลพฤติกรรม คอื การมีความสมั พันธท์ ี่เกื้อกลู กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม
คือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน โดยตั้งอยู่ในกฎระเบียบ เพื่อให้การตอบสนองความต้องการของตนนั้น ไม่ไป
เบียดเบียนหรือก่อความเดือดร้อนเสียหายกับผู้อื่นสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นแล ะเกื้อกูลกันได้ด้วยดีมี
ความสขุ และรกั ใคร่กัน
๓. ด้านการพัฒนาจิตใจ คือ การมีจิตที่สมบูรณ์ด้วยคุณธรรม ความดีงามสมบูรณ์ด้วย
สมรรถภาพ มีความเข้มแข็งมั่นคง และสมบูรณ์ด้วยสุขภาพ มีความเบิกบาน ผ่องใสสงบสุข แม้เจอ
ปญั หาก็สามารถสงบเยน็ แกไ้ ด้ดว้ ยจติ ทีเ่ บกิ บานและม่นั คง
๔. ด้านการพัฒนาปัญญา คือ การเสริมสร้างความรู้ความคิดความเข้าใจ อย่างเป็นนาย
ความคิด และการหย่งั รู้ถึงความจริง รู้เห็นอยา่ งเทา่ ทันโลกและชวี ิตตามความเปน็ จรงิ สามารถยอมรับ
ความจริงของสรรพสิ่งและอยู่อย่างมีคุณค่าได้ประโยชน์ของชีวิต คือสามารถปรับตัวและอยู่กับ
สง่ิ แวดล้อมไดอ้ ย่างสร้างสรรค์
บทที่ ๕
สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
งานวิจัย เรื่อง การสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชน ในจงั หวดั เชยี งราย มีวตั ถุประสงค์ ๑) เพื่อศกึ ษาการสง่ เสริมการรักษาศีล ๕ ของคณะ
สงฆ์จงั หวดั เชยี งราย ๒) เพ่อื ศึกษาการสร้างเครอื ขา่ ยของหมู่บา้ นรักษาศลี ๕ ของคณะสงฆ์ในจังหวัด
เชียงราย ๓)เพื่อวิเคราะห์เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ กับพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
ในจังหวัดเชียงราย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือที่ใช้
เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้แกร่ วบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Document) และจากการสัมภาษณ์ ผลการวิจัย
พบว่า
๕.๑ สรุปผลการวิจยั
ผลการวจิ ัยสรปุ ผลได้ดังนี้
๕.๑.๑ การส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย พบว่า คณะสงฆ์
จังหวัดเชียงรายและ จังหวัดเชียงรายได้กำหนดพื้นที่เป้าหมายดำเนินการพร้อมกันทั้ง ๑๗ อำเภอ
ในระยะเร่งด่วนระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงสิงหาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา ทั้งด้านปริมาณในการจัดทำ
บันทึกข้อตกลงให้ส่วนราชการ นายอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ดำเนินการรณรงค์ให้ประชาชนเข้ารว่ ม
โครงการครอบคลุมทุกพื้นที่และมีสถานศึกษาหน่วยงานเข้าร่วมเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ ๓๐ ส่วนในด้าน
คุณภาพได้จัดให้มีกิจกรรมการรักษาศีล ๕ เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและของชาติ
รวมทั้งการบูรณาการเข้ากับโครงการแผ่นดินธรรมแผ่นดินทองของกองทัพภาคที่ ๓ โดยใช้หลัก
บวร ซึ่งได้รับความร่วมมือและการสนับสนนุ จากคณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชน ตอลดทั้งประชาชนท่ัว
ทั้งจังหวดั เชยี งรายเปน็ อย่างดี และคาดหวังว่าในปี ๒๕๖๕ หมบู่ า้ นละประชากรในจงั หวัดเชียงรายจะ
เขา้ รว่ มโครงการไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ อย่างแน่นอน
๕.๑.๒ การสร้างเครือข่ายของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์ในจังหวัดเชียงราย
พบว่า การสรา้ งเครอื ขา่ ยการพฒั นาชุมชนต้นแบบในจงั หวัดเชยี งราย เพ่อื การพัฒนาคุณภาพชีวิตตาม
หลักศีล ๕ จังหวัดเชียงราย มีรูปแบบกิจกรรมและโครงการต่างๆ ทั้งภาครัฐและคณะสงฆ์ ได้มีส่วน
สำคัญในการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือ ความเข้าใจ และพัฒนาแนวคิดของชุมชน เพื่อส่งเสริม
ความเข้าใจให้ชุมชนตระหนักถึงอัตลักษณ์ และสร้างความภูมิใจในชุมชนและคุณค่าของชีวิตมนุษย์
๑๔๗
โดยการจัดกิจกรรมทางศาสนา เป็นกระบวนการสร้างเครือข่ายการทำงานเพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อน
อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งในมิติของการอยู่ร่วมกัน ซึ่งจะต้องมีการประสานงานหลักเพื่อแก้ปัญหาและ
นำมาซึ่งความต่อเนื่องและยั่งยืนของกิจกรรม มีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในระดับประชาชน คือ ประชาชนมี
ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมทางศาสนาที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิ ตในครอบครัวได้มีส่วนสำคัญใน
การนลดก็ และเยาวชนไดส้ ร้างแรงจูงใจในการสรา้ งเครอื ขา่ ยได้ง่ายและรวดเรว็ ยง่ิ ขน้ึ
๕.๑.๓ การวิเคราะห์เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน ในจังหวัดเชียงราย พบว่า หมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงการ
อยู่ร่วมกันของคนในสังคมเป็นรูปแบบของการสร้างสังคมตามแนววิถีพุทธได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีความเคารพในสิทธิของกันและกัน ทําให้ประชาชนมีความรักความสามัคคี โดยเริ่มจากครอบครัว
หมู่บ้าน ตําบล อาํ เภอ ไปจนถึงจงั หวัด ได้มีส่วนร่วมในการสร้างเครือขา่ ยเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ตนกว้างไปถึงชุมชนสังคม ในด้านต่างๆคือด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม และ
ด้านสิ่งแวดล้อม ในส่วนการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านร่างกายตามหลักศีล ๕ ชาวบ้านมีการพัฒนาตน
ตามหลักศีล ๕ ด้วยความสงั วรระวงั ทางกายวาจา ใจ เชน่ เปน็ ผมู้ ีน้ำใจ เมตตาเอือ้ เฟอื้ ต่อกัน ให้ความ
เคารพนับถือผู้สูงอายุ ขยันหมั่นเพียรเลี้ยงชีพด้วยการหมั่นประกอบการงาน เป็นผู้ขยันไม่เกียจคร้าน
ในการงาน ใช้ปัญญาเป็นเครื่องสอดส่องอันเป็นอุบายในการงานอาชีพนั้นให้สามารถทำได้สำเร็จ
รักษาคุ้มครองโภคทรพั ย์เหล่านัน้ ไมใ่ ห้ถูกลักหรือทำลายไปโดยภัยต่างๆ คบคนดี ไม่คบคบช่ัว ดำรงตน
เจรจา สนทนากับผู้มีสมาจารบริสุทธิ์ ผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา ที่เหมาะต่อการแก้ไข
ปัญหา ละเว้นการประพฤติผิดในกามสำหรับผู้มีคู่ครอง และละเวน้ การล่วงละเมดิ ทางเพศต่อผู้อื่น ท้ัง
ชาย และหญิงด้วยการใชก้ ำลังหรือการบบี บังคับไม่ว่าจะด้วยวิธกี ารใดๆ ละเว้นการพูดเท็จ การกล่าว
โกหกเพอื่ หลอกลวงใหผ้ อู้ ื่นเช่อื ควรกล่าวคำสตั ย์ทเี่ ป็นจรงิ เพื่อให้เกิดประโยชนแ์ ก่ผู้อ่นื และตนเอง ละ
เว้นการพูดสอ่ เสียด การพดู ให้รา้ ยแก่ผู้อื่น รวมถึงละเวน้ การพูดยุยงให้ผู้อ่ืนเกดิ ความบาดหมางกัน ละ
เว้นการพูดคำหยาบ คำไม่สุภาพที่จะทำให้ผู้อื่นเกิดโทสะ เกิดความไม่สบาย ควรพูดแต่คำที่สุภาพ
นุ่มนวลที่ทำให้คนฟังเกิดความรู้สึกดีหรือสบายใจละเว้นการพูดโอ้อวด พูดเกินความเป็นจริง พูด
เหลวไหลเพ้อเจ้อเพื่อให้คนอื่นหลงเชื่อหรือชื่นชอบในตัวตน หมู่บ้านดอนชมพูจะร่วมกันงดเว้นการ
เลยี้ งเหล้า เลย้ี งสุราในงานบญุ เนน้ ให้หมบู่ ้านเป็นหมู่บ้านปลอดเหล้า และการพนัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านจิตใจตามหลักศีล ๕ มีการนำหลักศีล ๕ มาจัดกิจกรรมงาน
เลี้ยงปลอดเหล้า งานบุญปลอดเหล้า เป็นต้น การจัดกิจกรรมดังกล่าวอาศัยความร่วมมือร่วมใจของ
สมาชกิ ในชมุ ชนเปน็ การพัฒนาคุณภาพชวี ิตดา้ นจิตใจของสมาชิกของชมุ ชนทุกคนให้ห่างไกลอบายมุข
ตามหลักศีล ๕ นำไปสู่รายได้ที่เกิดจากการลดรายจ่าย จากการไม่ใช้จ่ายในการดื่มสุรา จิตใจที่พร้อม
เพรยี ง ใส่ใจท่พี ัฒนาตนด้วยความหมั่น เชน่ ขยันหม่นั เพียร เลยี้ งชพี ด้วยการหมั่นประกอบการงานได้
สำเร็จ โดยเฉพาะจิตใจที่เข้มแข็งจากความหมั่นเพียรนำมาตนเองห่างไกลจากอบายมุข ชาวบ้านมี
๑๔๘
ความสำรวม กาย วาจาและใจ มีการสร้างความดี ด้วยการไปทำบุญที่วัด ฟังเทศน์ ฟังธรรม และถือ
ศีล ๕ เป็นปกตินิสัย มีศูนย์รวมจิตใจ ทำให้สามารถอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสันติสขุ ไม่มีคดีความ ใดๆ
เกิดขน้ึ ในหมบู่ ้าน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านความสัมพันธ์ทางสังคมตามหลักศีล ๕ หมู่บ้าน มีการจัด
ประชุมโครงการรักษาศีล ๕ อย่างต่อเนื่องการพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ โดยการปฏิบัติธรรมทุกวัน
อาทิตย์ ส่งเสรมิ ใหพ้ ุทธศาสนิกชนถือศีล ๕ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการทำบุญตักบาตรในวันสำคัญทาง
พระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีการตามรอยวิถชี าวพุทธ เช่น การทำบุญตักบาตรของพุทธศาสนิกชน
ในทุก ๆ เชา้ ของวนั การไปวัดทำบญุ ฟังธรรม ทุกวนั พระ การจดั กิจกรรมปรวิ าสกรรม คณุ ภาพชีวิตที่
เกิดจากความผูกพันและการร่วมกิจกรรมกันในทางสังคมตามหลักการศีล ๕ การอยู่ร่วมกันโดยปกติ
สุขความสัมพันธ์ของสังคมในลักษณะการช่วยสนับสนุนการทำกิจกรรมของชาวพุทธแสดงออกถึง
ความเป็นกัลยาณมิตรในสังคมบ้านดอนชุมพู หมั่นประกอบการงานร่วมกัน สามารถทำเกิดความ
ร่วมมือสมาชิกในชุมชนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ก่อให้เกิดการระดมเงินทุน ระดมสมาชิกใหม่เข้าร่วม
โครงการรักษาศลี ๕ พัฒนาสงั คมร่วมกนั
การพฒั นาคุณภาพชีวติ ด้านสง่ิ แวดล้อมตามหลักศลี ๕ หมบู่ า้ น มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต
เน้นการจัดการสิ่งแวดล้อมสร้างคนดีในสังคมของหมู่บ้านผสมผสานกับการพัฒนาปรับปรุง
สภาพแวดล้อมของชุมชนให้น่าอยู่ส่งเสริมการมีรายได้และจัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชนให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเป็นชุมชนที่น่าอยู่ มีกองทุนสนับสนุนกิจกรรมของชุมชน เช่น
กองทุนหมู่บ้าน กองทุนผู้สูงอายุ เป็นต้นรว่ มรักษาโภคทรพั ย์สิง่ แวดล้อมทั้งที่เกิดในครอบครัว ชุมชน
ซึ่งหามาได้ด้วยความขยันหมั่นเพียรของสมาชิก ไปใช้โดยชอบธรรม และสมาชิกร่วมเป็นส่วนหน่ึง
รักษาคุ้มครองโภคทรัพย์เหล่านั้น และสมาชิกในชุมชนยังแสดงออกตามหลักการของศีล ๕ ไม่
เบียดเบียนกัน เป็นกัลยาณมิตรซึ่งกันและกันได้รับผลการเปลี่ยนแปลงหลังร่วมมือกับสมาชิกท่านอนื่
ๆ คบคนดี ไม่คบคบชั่ว ดำรงตน เจรจาสนทนาแก้ไขปัญหาและร่วมกันพัฒนาบทบาทสตรีในการ
รักษาส่ิงแวดลอ้ มของชุมชน
๕.๒ การอภปิ รายผล
การอภิปรายผลครั้งนี้ ผู้วิจัยได้อภิปรายผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยโดยใช้
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้องท่ีได้รวบรวมมาแล้วมาดำเนินการอภปิ รายผล ดงั นี้
การส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ของจังหวัดเชียงรายนั้น มีการส่งเสริมดังนี้คือ ๑) ส่งเสริม
สนับสนุนและสร้างความตระหนักให้พุทธศาสนิกชนนำหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติ
ตามหลักศีล ๕ สู่ชีวิตประจำวัน ๒) ขยายผลของการรักษาศีล ๕ จากระดับบุคคลและครอบครัวสู่ชุมชน
ระดับหมู่บ้านโดยความร่วมมือของบ้าน วัด โรงเรียน และส่วนราชการ ๓) ให้เกิดกระแสแห่งการรณรงค์
๑๔๙
ชักชวนกัน สร้างความดีในสังคมอันจะนำมาซึ่งความสงบร่มเย็นของประเทศชาติสืบไป ด้านการสร้าง
เครือข่ายของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์ในจังหวัดเชียงราย มีการสร้างภาคีเครือข่ายดังนี้คือ
เครือข่ายระดับจังหวัด ประกอบด้วย เจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด เครือข่ายระดับอำเภอ
ประกอบดว้ ย เจา้ คณะอำเภอ รองเจา้ คณะอำเภอ เครอื ข่ายในระดับวดั ประกอบด้วย เจ้าอาวาสวดั ใน
หมู่บ้าน เครือข่ายหมูบ่ ้านรักษาศลี ๕ ของหมู่บ้าน/ชุมชน และในด้านหมู่บ้านรกั ษาศลี ๕ เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชน นั้นเครือข่ายการทำงานโครงหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดเชียงราย มีการ
ประสานงาน ทำความร่วมมือ แลกเปลี่ยน การติดตามและประเมินผล ตลอดถึงการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนด้านปัจเจกและชุมชน ในด้านต่างๆสอดคล้องกับภาวนา ๔ คือ ด้านร่างกาย มี
โรคภัยไขเ้ จบ็ นอ้ ย มีอายุยนื ชีวิตปราศจากการทำร้ายทำลายกัน อยู่กนั อย่างมีเมตตารักใค่รเก้ือกูลกัน
ฉันพี่น้องมิตสหาย ด้านจิตใจ มีความอดทนอดกลั้นได้ดีขึ้น มีภูมิคุ้มกันยอมรับในสิ่งที่เปลี่ยนแปลงที่
เกิดข้นึ อย่างสงบเย็น ไม่ตน่ื เตน้ กับสงิ่ ที่ได้ ไมก่ ังวลกบั ส่ิงที่เสียไป ด้านความสัมพันธ์ทางสังคมมีความ
สามัคคีอยู่ร่วมกันได้อย่างเกื้อกูลกันมีการทะเลาะและบาดหมางกันน้อยลง ทั้งพ่อแม่กับลูก สามีกับ
ภรรยา รวมไปถึงบ้านใกล้เคียง ด้านสิ่งแวดล้อม มีการร่วมมือมือกันทุกฝ่ายทั้งเครือข่ายภายในและ
ภายนอก ในกันจัดการบริหารบ้านของตนชุมชน และสังคมอย่างเป็นมิตรกับธรรมชาติและ ด้าน
ปัญญา ใช้ชีวิตไม่ประมาทและยอมรับความจริงมีความสุขสงบกับปัจจุบัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย
ของ พระครูศรปี ริยัตยารักษ์ ไดท้ ำงานวิทยานิพนธ์เร่ือง รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมบู่ ้านรกั ษาศีล ๕
เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า หลักการทํางานของเครือข่าย
หมูบ่ า้ นรกั ษาศีล ๕๑ จากเครอื ข่ายคณะสงฆ์ สํานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครราชสีมา หมู่บ้าน/
ชุมชน จังหวัดนครราชสีมา การปฏิบัติงานเชื่อมโยงเครือข่ายภายใต้ระเบียบ กฎเกณฑ์ แนวทางการ
ขับเคลื่อนภายใต้การผสมผสานความต้องการมีส่วนร่วมสร้างหมู่บ้านรักษาศีล ๕ โดยเครือข่ายคณะ
สงฆ์ และสํานักงานพระพุทธศาสนาเป็นกลไกขับเคล่ือน ในการสร้างแรงศรัทธาจูงใจให้หมู่บ้านและ
ชุมชนเข้ามารว่ มเป็นสมาชิกเครือข่ายตาม ๑) หลักการสร้างความตระหนัก และรวมตัวเป็นเครือข่าย
๒) หลักการสร้างพันธกรณี และการบริหารเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ๓) หลักการพัฒนา
ความสัมพันธ์ของเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ๔)หลักการรักษาความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของ
เครือขา่ ยหม่บู ้านรักษาศลี ๕
๑ พระครศู รีปริยตั ยารกั ษ์, “รูปแบบการสรา้ งเครอื ข่ายหมบู่ า้ นรักษาศลี ๕ เพื่อการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
ของประชาชน จังหวดั นครราชสีมา”,วิทยานิพนธศาสนาศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑติ วทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๖๐). หน้า ๑๖๓.
๑๕๐
ความสัมพันธ์เชิงเครือข่ายแบบบูรณาการภารกิจเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ในจังหวัดนครราชสีมา ได้แก่ ๑) ความสัมพันธ์เครือข่ายเชิงอํานาจ
หน้าที่ เป็นเครือข่ายการทํางานบูรณาการภารกิจที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยง ในการทํางานร่วมกัน
ตามหน้าที่รับมอบหมาย ๒) ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ การดําเนินการเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็น
การดําเนินการตามสภาพการปกครอง ๓๒ อําเภอ มีคณะสงฆ์จังหวัดนครราชสีมา สํานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดนครราชสีมา หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นจัดตั้งเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ในเชิง
พื้นที่การปกครอง ๓) ความสัมพันธ์เชิงประเด็น มีการวางแผน มีการดําเนินงาน ช่วยเหลอื สนับสนุน
ให้คําปรึกษาแก่กันและกัน มีการติดตามประเมินผล ตามประเด็นที่สนใจร่วมกัน ลงไปสู่พื้ นที่การ
ทํางานระดับหมู่บ้าน วัด ชุมชน องค์กร หน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อจัดกิจกรรมต่างตามประเด็นท่ไี ด้
กาํ หนดไว้
และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ ได้ทำวิทยานิพนธ์เรื่อง
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ : รูปแบบและกระบวนการเสริมสร้าง วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของสังคมไทย
ผลการวจิ ัยพบว่า ๑) แนวคดิ ในการดำเนินงานของโครงการหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ โดยตรง ได้กำหนดไว้
ใน ๒ ประการ คือ (๑) การสร้างเครือข่าย คือการดาเนินการเพื่อเชิญชวนให้คนในหมู่บ้านมาร่วมกนั
รักษาศลี ๕ เพอ่ื เชื่อมโยงกลุ่มคนท่สี มัครใจทจ่ี ะมารว่ มกันรักษาศีล ๕ ภายใต้พ้ืนฐานของความเคารพ
สทิ ธิ เชือ่ ถอื เออ้ื อาทรซงึ่ กนั และกนั โดยมีหลักการ คอื ความสมั พนั ธข์ องสมาชิกในเครือข่ายต้องเป็น
โดยสมัครใจ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในเครือข่าย มีการ
เสริมสร้างซึ่งกัน และกันและการเกื้อหนุนพึ่งพากัน (๒) การประชาสัมพันธ์ส่งต่อความดี คือการ
ประกาศ เชิญชวนให้บุคคล หมายถึงประชาชนชาวบ้านหรือพุทธศาสนิกทั้งหลายในชุมชน หมู่บ้าน
ตำบล อำเภอ หรือจังหวัดของตนเองทาความดี ดว้ ยการรกั ษาศีล ๕ ในชวี ติ ประจาวนั ๒) แนวทางการ
สร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของชุมชนภายใต้โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ชุมชนจะต้องสร้าง (๑)
ชุมชนต้องมผี ้นู ำทีต่ ้ังตนอยใู่ นศีล ๕ (๒) มีการสร้างกฎกติกาและมีการเคารพกฎกติกา (๓) อยู่ร่วมกัน
โดยใชห้ ลักความเมตตา (๔) ไมต่ ามกระแสวตั ถุนยิ ม คอื มคี วามพอเพียง ความพอใจในสิ่งท่ีมีอยู่ (๕) มี
ความพรอ้ มเพียง มีความสามัคคีของหมู่คณะ ๓) การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมการอยรู่ ่วมกันของชุมชนใน
สังคมไทยทงั้ ๔ ภาค
๑๕๑
๕.๓ ข้อเสนอแนะ
๕.๓.๑ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
งานวจิ ยั เรอื่ งนี้ ผ้วู ิจยั มีข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย ดังน้ี
ก. องค์กรพระพุทธศาสนาและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ควรร่วมกันสร้างกลยุทธ์การฝัง
จิตสำนึกด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมดว้ ยโครงการหมบู่ า้ นรักษาศลี ๕ สู่การพัฒนาคุณภาพชีวติ ท่ยี ั่งยืนของ
สถาบันการศกึ ษาที่มงุ่ ประเดน็ การบูรณาการกับศาสตรว์ ิชาชีวิตเพือ่ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ท่ียัง่ ยืน
ข. องค์กรพระพุทธศาสนาและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ควรสร้างเป็นนโยบายวิสัยทัศน์พันธ
กิจของหน่วยงาน เพื่อให้ทุกคนในหน่วยงานรู้สึกถึงความมีส่วนร่วม หรือการมีความรู้สึกต้องการ
พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ผ่านโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อที่จะสร้างสรรค์การพัฒนาทีมงาน
ในการท่จี ะนำพาองคก์ รไปสู่ความสำเรจ็
ค. องค์กรพระพุทธศาสนา ควรพิจารณากระบวนการและปัจจัยในการพัฒนาโครงการ
หมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕ การสง่ เสรมิ จรยิ ธรรมเพื่อการพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนุษย์อย่างเปน็ รปู ธรรม
๕.๓.๒ ขอ้ เสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้
ในการดำเนินงานโครงการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” การดำเนินงานในระดับจังหวัดขาดการดำเนินงานอย่าง
ต่อเนื่องระหว่างระยะที่ ๑ กับระยะที่ ๒ ส่งผลให้ การดำเนินงานในระดับอำเภอ และระดับตำบล
ขาดความต่อเนื่องเช่นกัน รวมทั้งในระยะที่ ๒ มีความ ไม่ชัดเจนในการดำเนินงานในระดับจังหวัด
ดังนั้นในระดับตำบลการดำเนินงานจึงเป็นไปตามบทบาทหน้าที่ และการจัดกิจกรรมตาม
ขนบธรรมเนียมประเพณี และกจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนาท่ี ดำเนนิ การตามปกตแิ ละเป็นประจำ
๕.๓.๓ ข้อเสนอแนะสำหรับการวจิ ยั ครง้ั ต่อไป
๑) ในปัจจุบันการดำเนินงานตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีการดำเนินงานในระยะท่ี
๓ ดงั นั้นควรมีการศึกษาผลสมั ฤทธิ์ในการดำเนินงานโครงการฯ ในระยะท่ี ๓ โดยมกี ารกำหนดรูปแบบ
การติดตามผลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ ที่แท้จริง โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์เชิง
คณุ ภาพ
๒) ควรมีการดำเนินการวิจัยที่เจาะลึกไปถึงผลลัพธ์ของการดำเนินงานโครงการหมู่บ้าน
รักษาศีล ๕ โดยเฉพาะการติดตามประเมินผลด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการรักษาศีล ๕
สภาพครอบครัวเข้มแขง็ สภาพสังคมสงบสขุ เปน็ ต้น
๑๕๒
บรรณานกุ รม
๑. ภาษาไทย
ก. ข้อมูลปฐมภูมิ
พระไตรปฎิ กภาษาบาลี ฉบับมหาจฬุ าเตปฏิ กํ ๒๕๐๐. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๓๕.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙.
(๑) หนงั สือ:
กรมการศาสนา. ศีล. กรงุ เทพมหานคร: พมิ พล์ กั ษณ์, ๒๕๒๕.
แก้ว ชิดตะขบ. กระบวนการส่งเสริมการรักษาศีล ๕ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต. กรุงเทพมหานคร:
โรงพมิ พ์ พระพุทธศาสนา แหง่ ชาติ, ๒๕๕๐.
__________. รวมวิชาธรรมศึกษาชั้นตรี ตามหลักสูตรของสนามหลวงแผนกธรรม
พ.ศ. ๒๕๔๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๗.
ชาติชาย ณ เชียงใหม่. การมีส่วนร่วมของประชาชน : มิติของการมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ, ๒๕๖๑.
ไชยวฒั น์ กปลิ กาษจน.์ ศลี . กรงุ เทพมหานคร : พิมพ์ลักษณ,์ ๒๕๔๒.
ดนัย เทียนพุฒ. ส่องโลกทรรศน์นักบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย,
๒๕๔๒.
เติมศักดิ์ ทองอินทร์. เอกสารประกอบสอน : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. ภาควิชารัฐศาสตร์คณะ
สงั คมศาสตร์ : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๗.
ถวิลวดี บุรีกุล. ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
หมอชาวบา้ น, ๒๕๖๑.
ธวัช เบญจาธิกุล. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร:
สถาบนั พระปกเกล้า และมลู นธิ ิเอเชยี , ๒๕๖๑.
นรินทร์ชัย พัฒนพงศา. แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว, ๒๕๖๑.
นธิ ิ เอียวศรีวงศ.์ ตน้ ทุนของสังคม. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์อาสารักษาดนิ แดน, ๒๕๖๑.
นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักอนามัย
สิง่ แวดลอ้ ม, ๒๕๖๑.
๑๕๓
ประทาน คงฤทธิ์ศึกษากร. เครือข่ายเป็นรูปแบบทางด้านความสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
อาสารกั ษาดนิ แดน, ๒๕๖๑.
ประภัสสร เตชะประเสริฐวิทยา. แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชา
ส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, ๒๕๖๑.
ปรัชญา เวสารัชช์. แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยทักษิณ,
๒๕๖๑.
ปาริชาติ วลยั เสถยี ร. เงอ่ื นไขการมีส่วนร่วม. กรงุ เทพมหานคร : เครือขา่ ยของการเรยี นรู้ในงานพัฒนา
ชุมชน, ๒๕๖๑.
ปน่ิ มุทุกันต.์ จรยิ ศาสตร.์ พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๖. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพ์ คลังวิทยา, ๒๕๔๑.
พงษ์ธร จนั ทรส์ วสั ด.์ิ เงื่อนไขการมสี ่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร: เครือขา่ ยของการเรียนรู้ในงานพัฒนา
ชุมชน, ๒๕๖๑.
พงษพนั ธ พงษโสภา. แรงจงู ใจ. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพอ์ าสารกั ษาดินแดน, ๒๕๖๑.
พระธรรมปฏิ ก (ป.อ.ปยตุ โต). ศลี . กรุงเทพมหานคร : พมิ พ์ลักษณ,์ ๒๕๔๒.
__________. แนวคิดเก่ียวกบั การพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สาํ นกั พิมพ์เสมาธรรม, ๒๕๖๑.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). หยาดเพชรหยาดธรรม : ภูมิปัญญาเพื่อการศึกษาไทย
กรงุ เทพมหานคร : เฟอื่ งฟ้าการพมิ พ,์ ๒๕๔๗.
พระไพศาล วิสาโล. พุทธศาสนาในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤติ. กรุงเทพมหานคร:
มูลนธิ ิสดศรีสฤษดว์ิ งศ์, ๒๕๔๖.
พระมหาธเนศร์ รามางกูร. ธรรมกับชีวิตประจำวัน. ขอนแก่น: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,
๒๕๔๗.
พิมพ์วัลย์ ปรีดาสวัสดิ์. การบริการระหว่างบุคคลทั้งที่เป็นกลุ่มไม่เป็นทางการ. กรุงเทพมหานคร: โรง
พมิ พ์อาสารักษาดินแดน, ๒๕๖๑.
พทุ ธทาสภิกข.ุ ศีล. พิมพค์ รัง้ ท่ี ๒. กรงุ เทพมหานคร: พมิ พล์ ักษณ์, ๒๕๓๙.
เพิ่มศกั ด์ิ มกราภริ มย.์ การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมภายในเครือข่าย. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์
อาสารักษาดนิ แดน, ๒๕๖๑.
ไพรัตน์ เดชะรินทร์. แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์เสมาธรรม,
๒๕๖๑.
ฟาฏินา วงศ์เลขา. พฤติกรรมมนุษยก์ ับการพฒั นาตน. กรุงเทพมหานคร: อักษราพพิ ฒั น์, ๒๕๔๓.
ยวุ ฒั น์ วุฒเิ มธ.ี แนวคดิ การมีสว่ นร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยทักษณิ , ๒๕๖๑.
วศิน อินทสระ. ไตรลกั ษณ์. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๙.
๑๕๔
วันรกั ษ์ มงิ่ มณนี าคิน. แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงวทิ ยาศาสตร,
๒๕๖๑.
วนิ ยั เพชรช่วย. หลักการพัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พเ์ ลย่ี งเชียง, ๒๕๓๒.
สงวน สุทธิเลิศอรณุ . พฤตกิ รรมมนษุ ยก์ ับการพฒั นาตน. กรงุ เทพมหานคร: อกั ษราพพิ ฒั น์, ๒๕๔๓.
สนธยา พลศรี. ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: เครือข่ายของการ
เรียนรใู้ นงานพัฒนาชมุ ชน, ๒๕๖๑.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. ศีล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สุรวัฒน์,
๒๕๓๘.
สฤษดิ์ ธัญกิจจานุกิจ. แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยทักษิณ,
๒๕๖๑.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร : สำนกั นายกรัฐมนตร,ี ๒๕๕๙.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. คู่มือการดำเนินงาน โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์
โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ”. กรุงเทพมหานคร:
สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ, ๒๕๕๗.
สุคนธ์ ภูริเวทย์.หลักสูตรเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย
รามคำแหง, ๒๕๔๓.
สุเทพ สุนทร์เภสัช. เครือข่ายเป็นรูปแบบทางด้านความสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อาสา
รักษาดินแดน, ๒๕๖๑.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. คำบรรยายพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและ
สถาบันบนั ลือธรรม, ๒๕๔๓.
ไสว มาลาทอง. คูม่ อื การศึกษาจรยิ ธรรม. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ กรมการศาสนา, ๒๕๔๒.
อคิน รพพี ัฒน.์ การมีส่วนรว่ มของประชาชน. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ , ๒๕๖๑.
อรอนงค์ ธรรมกุล. ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของคนในชุมชนในกระบวนการพัฒนา
ทอ้ งถ่ิน. กรงุ เทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เนท็ , ๒๕๖๐.
Alvin Bertrand. การจัดทำแผนพัฒนาและโครงสร้างขององค์การ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๙.
Bryant and White. การมสี ่วนร่วมของประชาชนทางด้านการเมือง. กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัย
ทกั ษณิ , ๒๕๖๑.
John M. Cohen. กระบวนการพัฒนาท้องถ่ิน. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๖๑.
๑๕๕
Kaufman. ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของคนในชุมชนในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น.
กรุงเทพมหานคร: เอก็ ซเปอร์เนท็ , ๒๕๖๐.
Martin Kilduff และ Wenpin Tsai. เครือข่ายเป็นรูปแบบทางด้านความสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์อาสารักษาดนิ แดน, ๒๕๖๑.
Person. การเข้ามามีส่วนร่วมของคนในชุมชนในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, ๒๕๖๑.
Roger. ปัจจัยทีเ่ ป็นแรงกระตนุ้ ให้บคุ คลเปน็ ตัวตัดสินใจ. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
, ๒๕๖๑.
Singh. การมสี ่วนร่วมทางสงั คม. กรงุ เทพมหานคร: เอก็ ซเปอรเ์ น็ท, ๒๕๖๑.
William W. Reeder. เทคนิคการมีส่วนร่วมของประชาชนและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง .
กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท, ๒๕๖๑.
(๒) ดษุ ฎนี ิพนธ/์ วทิ ยานิพนธ์:
ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์. “พุทธวิธีสร้างแรงจูงใจในการรักษาศีล ๕”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราช
วทิ ยาลยั , ๒๕๕๕.
พระครูศรีปริยัตยารักษ์. “รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมูบ่ ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวติ
ของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา”. วิทยานิพนธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
พฒั นาสงั คม. บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๖๑.
พระดาวเหนือ บุตรสีทา. “การสร้างเครือข่ายและการจัดการเครือข่ายในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ของชุมชนบ้านพบธรรมนําสุขอำเภอทุ่งเสลียม จังหวัดสุโขทัย” . วิทยานิพนธ์
ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต.: สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร,์ ๒๕๕๗.
พระเทพสิงหวราจารย์ (โสภณ โสภโณ). “การพฒั นากลไกการขับเคล่ือนโครงการหมูบ่ ้านรักษาศีล ๕
ของคณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่”. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๖๑.
พระวิมาน คมภฺ รี ปญโฺ ญ. “การศึกษาวเิ คราะหศ์ ีล ๕ ในฐานะเปน็ รากฐานของสนั ตภิ าพ”. วทิ ยานิพนธ์
พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๕๕.
สุภาพร วัชรคุปต. “พฤติกรรมการรักษาศีล ๕ ของประชาชน ในหมู่บ้านรักษาศีล ๕ นําร่องอําเภอ
เมืองสระแก้วจังหวัดสระแก้ว”. วิทยานิพนธ์รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชา
การบริหารท่วั ไป. วทิ ยาลยั การบรหิ ารรรฐั กจิ : มหาวทิ ยาลัยบรู พา, ๒๕๕๘.
๑๕๖
(๓) รายงานวิจัย:
พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการ
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. รายงานวิจัย. คณะสังคมศาสตร์:
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๘.
พระมหาโยธิน โยธิโก. “การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ตามหลักศีล ๕”. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยมหา
จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น, ๒๕๕๙.
พระราเชนทร์ วิสารโท. “ศึกษารูปแบบการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ”
ของคณะสงฆ์ จังหวัดหนองคาย”. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย วทิ ยาเขตหนองคาย, ๒๕๖๐.
แพรภัทร ยอดแก้ว. “การถอดบทเรียนการดำเนินงานหมู่บ้านศีล ๕ ของจังหวัดนครปฐม”. รายงาน
วิจัย. นครปฐม : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม,
๒๕๕๕.
วณิฎา ศิริวรสกุล. “รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ให้ประสบความสำเร็จ”.
รายงานวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร,
๒๕๖๐.
(๔) บทความ:
พระมหาบุญเลิศ อินฺทปฺโญ. หมู่บ้านรักษาศีล ๕ : รูปแบบและกระบวนการเสริมสร้างวัฒนธรรมการ
อยู่ร่วมกันของสังคมไทย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒
(เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐): ๔๓๕-๔๔๘.
(๕) สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์:
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). “ลักษณะแห่งพุทธศาสนา”. ข่าวสด.[ออนไลน์]. แหล่งที่มา:
https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/612_CharacteristicsT
E.pdf [๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔].
(๖) สมั ภาษณ:์
สมั ภาษณ์ พระพุทธวิ งศ์วิวัฒน์. ที่ปรกึ ษาเจา้ คณะจงั หวัดเชยี งราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
สัมภาษณ์ พระรตั นุน,ี ผศ.ดร. ทป่ี รึกษาเจ้าคณะจงั หวัดเชียงราย, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ พระพุทธิญาณมนุ .ี ท่ีปรึกษาเจา้ คณะจังหวัดเชียงราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นางสาวหนอ่ แก้ว อตุ โน. นักวชิ าการศาสนาชำนาญการพเิ ศษสำนักงานพระพุทธศาสนา
จงั หวัดเชยี งราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๕๗
สัมภาษณ์ นางเกลียวพรรณ์ ขำโนนงิ้ว. ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย, ๒๔
มกราคม ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นายอมั พร สนั ชมพู. ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอแม่สาย, ๒๖ มกราคม ๒๕๖๕
สมั ภาษณ์ นางณชั ชา กันทะดง. นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นายเกียรติยศ เลศิ ณวรรธน์. ปลัดองคก์ ารบริหารส่วนตำบลโป่งผา, ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ พระครูอุปถมั ภ์วรการ . เจ้าคณะอำเภอแมจ่ ัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ พระครปู ระภาสพนารักษ์ เจ้าอาวาสวดั ป่ายาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นายพิสนั ต์ จนั ทร์ศิลป์. วัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งราย, ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สัมภาษณ์ นายสมคิด มหาวงศนันท์. กำนนั ตำบลโปง่ ผา, ๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สัมภาษณ์ นายสมผดั จันทาพูน. ผ้ใู หญ่บา้ นนาปง, ๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ พระอธิการเกยี รติดุรงค์ ปภงกฺ โร. เจา้ อาวาสวัดปา่ แฝ, ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นายเฉลิม กุณาเลย. ผใู้ หญ่บา้ นนำ้ จำ หมูท่ ่ี ๕, ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นายเสฎฐวุฒิ ปญญฺ าคำ. ผู้ใหญ่บ้านหนองอ้อ, ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นางอทิตาธร วนั ไชยธนวงศ์. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั เชียงราย, ๑๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สัมภาษณ์ พระอธกิ ารประเสรฐิ วรธมฺโม. เจ้าอาวาสวัดหนองอ้อ, ๑๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สัมภาษณ์ พระครสู ุวชิ านสุตสนุ ทร. เจา้ อาวาสวดั บา้ นจ้อง, ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สัมภาษณ์ นายวีรากร ใจด้วง. ผ้ใู หญ่บ้านสันทรายมลู , ๑๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นายอาชนั สุภาวรรณ์. ผใู้ หญบ่ ้าน บ้านจ้องหมู่ท,่ี ๑๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สัมภาษณ์ นายจรสั นันตาวาง. ผู้ใหญบ่ า้ น บา้ นจอ้ ง หมทู่ ่ี ๑๐, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ พระครูวสิ ุทธิธรรมภาณี. เจ้าคณะอำเภอแม่สาย, ๒๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สมั ภาษณ์ นางหรกมล กันทะดง. ผใู้ หญ่บา้ น บา้ นน้ำจำ หมู่ท่ี ๑๒, ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
สัมภาษณ์ นางนภาสรณ์ หาตุการ. ผู้ใหญบ่ า้ น บ้านจอ้ ง หมู่ท่ี ๙, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๒. ภาษาอังกฤษ
(I) Books:
Walker. C. O.. Greene. B. A.. & Mansell. R. A. (2 0 0 6 ). Identification with academics.
intrinsic/extri nsic motivation. and self-efficacy as predictors of cognitive
engagement. Learning and Individual Differences. 16. pp.1-12
A.H. Maslow. A Theory of Human Motivation. Psychological Review 50. (London :
Blackie Academic & Professional. 1993. pp. 20
ภาคผนวก
๑๕๙
ภาคผนวก ก.
แบบสัมภาษณ์
๑๖๐
๑๖๑
๑๖๒
ภาคผนวก ข.
รายนามผูใ้ หข้ ้อมลู เพื่อการวิจัย (สัมภาษณ)์
๑๖๓
๑๖๔
๑๖๕
๑๖๖
ภาคผนวก ค.
หนงั สอื ขอความอนเุ คราะหเ์ ก็บข้อมลู เพื่อการวจิ ัย (สัมภาษณ์)
๑๖๗
๑๖๘
๑๖๙
๑๗๐
๑๗๑
๑๗๒
๑๗๓
๑๗๔
๑๗๕
๑๗๖
๑๗๗
๑๗๘
๑๗๙
๑๘๐
๑๘๑
๑๘๒
๑๘๓
๑๘๔
๑๘๕
๑๘๖
๑๘๗