๘๘
๒) จดั กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพนั ธ์ สร้างกระแสใหป้ ระชาชนได้เข้าใจรวมถึงเห็น
ความสำคัญและเห็นประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วมโครงการให้ครอบคลุมทุก
ครัวเรอื น
๓) ตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ๑๘
๔.๑.๓ การส่งเสริมด้านความปรองดองการรักษาศีล ๕ ของคณะสงฆ์จังหวัด
เชยี งราย
โครงการสร้างความปรองดองสมานฉัน โดยใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนา “การรักษาศีล
๕”ของคณะสงฆ์ จังหวัดเชียงราย เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการสาธารณะซึ่งต้องได้รับความ
รว่ มจากภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เข้ามีส่วนรว่ มดำเนนิ การตามโครงการในการแก้ไข ปัญหา
อุปสรรคจึงเป็นเร่ืองของปัจเจกบุคคลแนวทางปฏิบัติตามหลักศีล ๕ ที่ยังไม่ชัดเจนไม่สามารถเข้าถึง
หลักธรรมของพระพุทธเจ้าอย่างแท้จริงซึ่งเห็นได้จากการที่ผู้เข้าร่วมโครงการสร้างความปรองดอง
สมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” มีกิจกรรมที่ร่วมกันทำเป็น
เพียงกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาชีวิตยังไม่ได้มีการฝึกปฏิบัติตามหลักการรักษาศีล ๕ ตามนัยของ
พระพุทธเจ้า ซ่งึ เป็นการพฒั นาทง้ั กาย วาจา ใจ ใหบ้ ริสุทธ์ิ
จากการสมั ภาษณ์ นายเกียรตยิ ศ เลิศณวรรธน์ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลโป่งผา กล่าวว่า
กรมสง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถ่นิ ได้มีหนังสือส่งั การให้ราชการสว่ นท้องถิน่ ทกุ แห่ง ดำเนินการตาม
โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕”
เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ
เพอ่ื เสริมสร้างความปรองดองสมานฉนั ท์ ลดปญั หาความขัดแย้ง สร้างความมั่นคง ความปลอดภัย ใน
ชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชน เพื่อให้ประชาชนนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ในการ
ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข และเพื่อปลูกฝังจิตสำนึกและสร้างความตระหนักรักและเชิดชูสถาบัน
ศาสนาพระมหากษัตริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประเทศอย่างมั่นคง ประกอบกับเป็นหน้าที่ของ
องค์การบริหารส่วนตำบลที่จะสนับสนุน บำรุงส่งเสริมให้ประชาชนในตำบลมีความเป็นอยู่ที่ดีมี
ความสขุ สงบ เพยี บพร้อมด้วยความสะดวกสบายด้านความเป็นอยู่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและ
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ (แก้ไข ๒๕๖๒)ส่วนการดำเนนิ การตามโครงการไม่มปี ัญหาใด ๆ ๑๙
๑๘ สัมภาษณ์ นางณชั ชา กนั ทะดง, นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลโปง่ ผา , ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๙ สัมภาษณ์ นายเกยี รตยิ ศ เลศิ ณวรรธน์, ปลดั องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม
๒๕๖๕.
๘๙
จากการสมั ภาษณ์ นางอทิตาธร วันไชยธนวงศ์ องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั เชียงราย ได้รับ
มอบให้เป็นผู้รับผิดชอบและประสานงานติดตามการดำเนินการตามโครงการสร้างความปรองดอง
สมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” เริ่มดำเนินการตามโครงการ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐ องค์การบริหารส่วนตำบลเวียง ได้ประสานงานระหว่าง กำนัน
ผู้ใหญ่บ้าน ส่วนการดำเนินการตามโครงการ ส่วนใหญ่จะร่วมกันจัดกิจกรรมระหว่างหน่วยงาน
ราชการ วัดและประชาชนในตำบลจะมกี จิ กรรมส่งเสริมการพฒั นาชวี ติ ตามหลกั ศีล ๕ คือ๒๐
หลกั ศีลขอ้ ๑ กจิ กรรมไถ่ชีวติ โค-กระบอื และกิจกรรมปลอ่ ยปลาคืนสูธ่ รรมชาติ
หลักศีลข้อ ๒ กิจกรรมฝึกอาชีพแก่คนในชุมชน เช่น อบรมการปลูกข้าวอินทรีย์ ปลูกผัก
ปลอดสารพิษ และนำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรปู สร้างมูลค่าเพิม่ และกิจกรรมการจัดตัง้ กองทนุ
ชมุ ชนกลุ่มออมทรัพยใ์ หม้ นี สิ ัยรักการออมทรพั ยเ์ พ่ือความมน่ั คงและประสบความสำเรจ็ ในครอบครวั
หลักศีลข้อ ๓ กิจกรรมป้ องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น โดยปรับ
ทัศนคติหรือมุมมองให้พ่อแม่และบุตรวัยรุ่น เสริมสร้างทักษะการสื่อสารและรับความคิดเห็นลด
ช่องว่างระหว่างบุคคลภายในครอบครัว สามารถเข้าใจบทบาทของชีวิตของสมาชิกในครอบครัวได้
อยา่ งเหมาะสม
หลกั ศลี ขอ้ ๔ กิจกรรมตงั้ สจั จะอธิฐาน ทจี่ ะต้ังม่ันในการทำความดี ลด ละ เลกิ อบายมุข
ต่อหน้าพระรัตนตรัย และกิจกรรมโตไปไม่โกง เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและปลูกจิตสำนึกให้เห็น โทษ
ของการทจุ รติ คดโกง
หลักศีลข้อ ๕ กิจกรรมปณิธานตนงดเหล้าเข้าพรรษา อสม. (อาสาสมัคร) นำในปฏิญาน
ตนงดเหล้าเข้าพรรษาช่วงเดือนกรกฎาคมก่อนเข้าพรรษาทุกปี ผู้สนใจจะมาร่วมพิธีกิจกรรมการ
แขง่ ขันกฬี าต้านยาเสพติด องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล เยาวชน ผูน้ ำชุมชนผู้สงู อายุ ร่วมกันแข่งขันกีฬา
ฟุตบอล กฬี าพ้นื บา้ น
จากการสัมภาษณ์ นายอนันตชัย นาระถี องค์การบริหารส่วนตำบลแม่จัน มีประชากร
เขา้ ร่วมโครงการสรา้ งความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมบู่ ้านรักษา
ศีล ๕” มกี ารรับสมัครประชาชนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการตามความสมัครใจของประชาชน ผู้ท่สี มัครแล้วไม่มี
ผู้ใดลาออกและมีความสามัคคีในการร่วมกิจกรรมตามโครงการ มีกิจกรรมหลายอย่างเพื่อสร้างความ
ตระหนักให้พุทธศาสนิกชนนำหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติตามหลักศีล ๕ สู่วิถี
ชวี ติ ประจำวนั กิจกรรมทเ่ี ด่นของหมู่ที่ ๔ คอื กิจกรรมการจัดตงั้ กองทนุ ชุมชน กลมุ่ ออมทรพั ย์ เพ่ือให้
๒๐ สัมภาษณ์ นางอทติ าธร วันไชยธนวงศ,์ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั เชียงราย, ๑๐ กุมภาพนั ธ์
๒๕๖๕
๙๐
ชาวบ้านในชุมชนกู้ยืมเงินไปลงทุนในการประกอบอาชีพเป็นหมู่บ้านที่ได้ดำเนินการ และประสบ
ความสำเร็จคอื หมู่บา้ นหนองฮา่ ง หมู่ที่ ๔ และกจิ กรรมอื่นๆตามโครงการทุกกิจกรรม๒๑
หลังจากทีป่ ระชาชนเขา้ ร่วมกิจกรรมของโครงการสร้างความปรองดองสมานฉนั ท์ โดยใช้
หลักธรรมทางพุทธศาสนา ประชาชนในหมู่บ้านมีความรักสามัคคีกันมากขึ้น ไม่มีคดีความทำให้
ประชาชนอยู่กันอย่างมีความสุข สงบ มีความปลอดภัย เป็นที่น่าพอใจ ปัจจุบันกิจกรรมทางพุทธ
ศาสนา และกิจกรรมส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ยังดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ไม่พบปัญหาและอุปสรรคใด ๆ
ในการดำเนินการ
จากการสัมภาษณ์ นางทรงศรี คมขำ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย มีประชากร
ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ เป็นหมู่บ้านที่สมัครเข้าร่วมโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ” มากที่สุด ในตำบล เพราะมีความพร้อม
ทางด้านจิตใจและเศรษฐกิจประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม มีกิจกรรมฝึกอาชีพให้แก่ชุมชน
เช่น การอบรมการปลูกข้าวอินทรี การเกษตร การปลูกผักปลอดสารพิษ และนำผลผลิตทางการ
เกษตรมาแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่มประชาชนในหมู่ที่ ๘ ได้เข้าร่วมทำกิจกรรมตามโครงการทุกกิจกรรม
กจิ กรรมทางพระพุทธศาสนาและกิจกรรมสนับสนนุ โครงการฯ“หมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ ” ทำใหป้ ระชาชน
ในหมู่บ้าน มีความสุข ความสามัคคีกลมเกลียวกันมากกว่าแต่ก่อน ปัจจุบันก็ยังดำเนินการตาม
โครงการอยา่ งต่อเนอ่ื ง๒๒
จากการสัมภาษณ์ พระครูประภาสพนารักษ์ เจ้าอาวาสวัดป่ายาง ได้เข้าร่วมดำเนินการ
ตามโครงการฯ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๗ เป็นต้นมาโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรม
ทางพุทธศาสนา “ หมู่บ้านรักษาศีล ๕”ร่วมกับประชาชนทั้งตำบล มีการจัดกิจกรรมวันสำคัญทาง
พุทธศาสนา เช่น กิจกรรมปฏิบัติธรรมทำบุญตักบาตร เวียนเทียนในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีและกิจกรรมรดน้ำดำหัวตามประเพณีไทย คณะสงฆ์ ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน
ร่วมกนั สรงนำพระ ฯลฯ วัดจะให้คำปรกึ ษาช้แี นะในการดำเนนิ การสนบั สนนุ กิจกรรมตามโครงการทุก
กิจกรรม และเป็นแกนนำจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาจัดทำโครงการบรรพชาอุปสมบทภาคฤดู
ร้อน๒๓
๒๑ สมั ภาษณ์ นางณัชชา กันทะดง, นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลโปง่ ผา , ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.
๒๒ สมั ภาษณ์ นางอทติ าธร วนั ไชยธนวงศ,์ นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เชียงราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕
๒๓ สัมภาษณ์ พระครูประภาสพนารกั ษ์ เจา้ อาวาสวัดปา่ ยาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๙๑
นับว่าประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ประชาชนมีความสามัคคีกันคน
หนุ่มสาวเข้าวัดมากขึ้น ชุมชนมีความสุขสงบมากขึ้นในการดำเนินการตามโครงการสภาพรวมๆไม่มี
ปัญหาและอุปสรรคใดๆ แต่ปัจจุบันเป็นช่วงที่ประเทศไทยประสบวิกฤตปัญหาโควิค-๑๙ กิจกรรมท่ี
เคยดำเนินการตามโครงการฯตลอดมาต้องหยุดพักไว้ก่อนแต่ได้เปลี่ยนแปลงกิจกรรมไปตาม
สถานการณ์บ้านเมืองเช่น ทางวัดได้มีการแจกอาหาร ข้าวของเครื่องใช้จำเป็น เป็นการแบ่งปันให้แก่
ประชาชนผทู้ ไี่ ด้รับความเดอื ดร้อน
ปญั หาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการภาคีสาธารณะแนวใหม่ เนื่องจากการจัดการภาคี
สาธารณะแนวใหม่ เป็นพัฒนาการของแนวคิดในการศีกษารัฐประศาสนศาสตร์ ที่เริ่มต้นจากแนวคิด
ระบอบการบริหารสาธารณะแบบดั้งเดิม ความแตกต่างระหว่างการจัดการสาธารณะแนวใหม่กับธรร
มาภิบาล ระบอบการบริหารสาธารณะแบบดั้งเดิม องค์การของรัฐนั้นจะต้องจัดโครงสร้างองค์การ
แบบรวมศูนย์อำนาจ เน้นทำงานโดยยึดถือกฎระเบียบอย่างเข้มงวด เป็นแนวคิดที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์
อย่างรุนแรงว่าไร้ประสิทธิภาพ ขาดความยืดหยุ่น ขาดนวัตกรรม และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
ภายใตบ้ รบิ ทของกระแสโลกาภิวัตน์ไม่ได้ แนวคิดในการจดั การภาคสี าธารณะแนวใหม่ จึงไดพ้ ัฒนามา
จนเกิดภายใต้บริบทที่ภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ ชุมชน องค์การพัฒนาเอกชน และกลุ่ม
ผลประโยชน์ทางวิชาชีพต่างๆ ได้เข้าร่วมดำเนินการ ในรูปของการจัดการภาคีหลากหลาย เช่น ภาค
ธุรกิจ และภาคประชาสังคมเข้าร่วมกับหน่วยงานปกครองในการวางแผนพัฒนาระดับภูมิภาคและ
ทอ้ งถนิ่ ชมุ ชนเข้ารว่ มเปน็ ภาคีกบั รฐั ในการจัดการสาธารณะ
จากการสัมภาษณ์ สัมภาษณ์ นายเกียรติยศ เลิศณวรรธน์ องค์การบริหารส่วนตำบลโป่ง
ผา กล่าวว่าด้านปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการตามโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์
โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล๕” ของตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัด
เชียงราย ประชาชน วดั ศรีเมอื งมูล และผู้นำชมุ ชน กำนนั ผู้ใหญ่บ้าน ในตำบลให้ความรว่ มมือดีจึงไม่มี
ปัญหาและอุปสรรคใด ๆ๒๔
จากการสัมภาษณ์ นางอทิตาธร วันไชยธนวงศ์ องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั เชียงรายเป็นผู้
ประสานงานตามโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
“หมู่บ้านรักษาศีล ๕” จากการดำเนินการที่ผ่านมาพบว่ามีการเข้าถึง เข้าใจปัญหาของชุมชน มี
ความสัมพันธ์ที่ดีเพื่อที่จะได้ทราบปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่าง ภาครัฐกับภาค
๒๔ สมั ภาษณ์ นายเกียรตยิ ศ เลิศณวรรธน์, ปลดั องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโป่งผา, ๒๘ มกราคม
๒๕๖๕.
๙๒
ประชาชน จึงทำให้โครงการนี้ยังคงดำเนินการอยู่ในปัจจุบันเพื่อช่องทางการเข้าถึงประชาชนได้ท้ัง
ตำบลด้านคดีความ ก่อนที่จะมีโครงการนี้มีปัญหามากมายทั้งด้านอาชญากรรม ยาเสพติด สิ่งมึนเมา
แต่ปัจจุบันเหลือเพียงเรื่อง ยาเสพติดและสิ่งมึนเมา ที่ยังพบอยู่บ้างแต่น้อยลงแทบไม่เหลือ ส่วน
อาชญากรรมในชุมชนปัจจุบันไม่มีมาติดต่อกันเป็นเวลาประมาณ ๒ ปีแล้ว โดยมีศูนย์วัฒนธรรมเก็บ
ขอ้ มูล๒๕
จากการสัมภาษณ์ นายอนันตชัย นาระถี องค์การบริหารส่วนตำบลแม่จัน ผู้เข้าร่วม
โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “การรักษาศีล ๕” ทั้ง
หน่วยงานราชการ และประชาชน ให้ความรว่ มมือดีไมม่ ปี ัญหาและอปุ สรรคใดเลย๒๖
จากการสัมภาษณ์ พระครูประภาสพนารักษ์ เจ้าอาวาสวัดป่ายาง ด้านปัญหาและ
อุปสรรคในการดำเนินการตาม โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพุทธ
ศาสนา “ หมู่บ้านรักษาศีล ๕” โดยส่วนรวมตั้งแต่ปี ๒๕๕๗-๒๕๖๒ ไม่มีปัญหาและอุปสรรคใดๆ
เนื่องจากทางวัดศรีเมืองมูลได้รับความร่วมมือจากองค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม ผู้นำชุมชนกำนัน
ตำบลหัวง้มผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน ในการประสานงานร่วมกับประชาชน แต่ธรรมดาของการ
ปฏิบัติงานย่อมมีปัญหาไม่มากก็น้อย ปัจจุบันประสบปัญหาเศรษฐกิจที่มาพร้อมกับปัญหาโรคระบาด
โควดิ -๑๙ การดำเนินการตามโครงการฯ ช่วงน้ตี ้องชะลอไวก้ อ่ น๒๗
๔.๑.๔.การสง่ เสรมิ การรกั ษาศีล ๕ ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม
แผนการส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีการกำหนดแผนการ
ส่งเสริมเพื่อให้ประชาชนในแต่ละหมู่บ้านรักษาศีล ๕ อย่างจริงจังในชีวิตประจำวัน โดยสามารถ
ดำเนินงานตามแผนการ ดงั น้ี
๑) ให้ผู้นำตามธรรมชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ เข้าพื้นที่สร้างความคุ้นเคยให้คำปรึกษาใน
เรือ่ งต่างๆ และศลี ๕ แกช่ ุมชนอยา่ งเอือ้ อาทรเกิดความผูกพัน
๒) เชิญชวนผู้ปกครองพาลูกเขา้ วดั ทำบุญในทกุ วันอาทิตย์หรอื วนั พระ
๓) มีการสวดมนต์เยน็ /นั่งสมาธปิ ฏิบัติธรรมในวดั
๔) มกี ารแสดงตนเปน็ พุทธมามกะทั้งหมูบ่ า้ น
๕) มีการสมาทานรกั ษาศลี ๕ ตลอดพรรษา
๒๕ สัมภาษณ์ นางอทิตาธร วันไชยธนวงศ,์ นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั เชยี งราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕
๒๖ สัมภาษณ์ นางณชั ชา กนั ทะดง, นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลโป่งผา , ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.
๒๗ สัมภาษณ์ พระครปู ระภาสพนารกั ษ์ เจา้ อาวาสวดั ป่ายาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๙๓
๖) มีเทศนาธรรมเร่ืองศลี ๕ ตามเสียงตามสายทุกเย็น
๗) มกี ารปฏญิ าณตน ลด ละ เลกิ อบายมุขในหมู่บ้าน
๘) ลงช่ือในแผ่นผา้ ร่วมรักษาศีล ๕ ท้ังหมูบ่ ้าน
๙) ในงานบวช งานศพ งานทอดกฐิน ไม่เลยี้ งสรุ า
๑๐) สอดแทรกเรอื่ งศลี ๕ ในขณะทำงาน เชน่ ทอผ้า สานเสอื่
๑๑) ส่งเสริมคนในชุมชนให้มีอาชีพสุจริต ไม่เบียดเบียนกันมีการพึ่งพาอาศัยกันใน
ชุมชนมีการสอดแทรกความร้ใู นอาชีพท่ีเปน็ ภูมิปญั ญาท้องถิน่
๑๒) มีการตั้งกลุ่มอาชีพเสริมหรือกลุ่มต่าง ๆ ขึ้นในชุมชน เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่
คนในชุมชนให้มีรายได้เสริม มีโอกาสพบปะกัน พูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ดูแลกัน
ภายในชมุ ชนอยู่รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข
๑๓) ในโรงเรียนของชุมชนมีการรักษาศีล มีการสวดมนต์ สมาทานศีล ๕ และกล่าว
แสดงตนเปน็ พุทธมามกะหนา้ เสาธงทุกวันหลงั เคารพธงชาติ
๑๔) จัดต้ังชมรมรกั ษาศลี ๕ ในโรงเรยี น
๑๕) จัดให้มีการปฏิบัติธรรมในโรงเรียนใกล้วัด ทำบุญประจำปีกลางหมู่บ้าน ในทุก
วันอาทิตย์ หรือวนั ธรรมสวนะ
๑๖) ใหม้ กี ารตกั บาตรทกุ เชา้ วันพธุ ในโรงเรยี น / การทำบญุ กลางหม่บู ้าน
๑๗) ให้มีต้นไม้สอนธรรม (ติดป้ายหลักธรรมคำสอนทางศาสนา) ตามต้นไม้ใน
หมบู่ ้าน/วดั /สถานศกึ ษา
๑๘) ให้นกั เรียนเดนิ รณรงคใ์ ห้รกั ษาศลี ๕ ทง้ั ชุมชน
๑๙) จดั กิจกรรมให้ผูเ้ ฒ่าสอนหลานเก่ียวกับภมู ิปญั ญา
๒๐) จัดกิจกรรมธรรมวันละคำให้เยาวชนสืบค้นหลักคำสอนทางศาสนาและนำมา
เผยแพรผ่ ่านเสยี งตามสายของโรงเรยี น/วดั
๒๑) ให้ผูน้ ำชุมชน/ผู้ใหญ่บา้ น/พระสงฆ์ ไดม้ ีโอกาสพูดคุยถามทุกข์สุขซ่งึ กันและกนั
๒๒) ตักเตือนและเฝ้าระวังสิ่งไม่ดีไม่งามที่อาจจะเกิดขึ้นในชุมชน เคารพในระบบ
อาวโุ สในชมุ ชน
๒๓) จัดวันถ่ายทอดภูมิปัญญาจากปราชญ์ของชุมชนที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้
ด้านตา่ งๆ สูเ่ ด็กและเยาวชนและประชาชนในชมุ ชน
๒๔) จัดกิจกรรมบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่างๆ อาทิ ทำความสะอาดภายใน
หมูบ่ ้าน/โรงเรยี น
๙๔
๒๕) ส่งเสริมคนในชุมชนมีจิตสาธารณะ มีความกระตือรือร้นเสียสละต่อส่วนรวม
เป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกันของชมุ ชน
๒๖) ให้มีการเทศนาธรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกในเรื่องความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
สง่ เสริมให้การสบื ทอดรักษาไว้ซ่ึงประเพณีวัฒนธรรมท่ีดงี าม
กระบวนการทำงาน
กระบวนการในการดำเนินงานตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ สามารถจำแนก
ออกเป็น๓ ขนั้ ตอน ได้แก่
ขั้นตอนที่ ๑ การแต่งตั้งคณะกรรมการ มีการแต่งตั้งในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล
และหมูบ่ า้ น เพือ่ ขับเคลือ่ นการดำเนินงานโครงการหม่บู า้ นรักษาศลี ๕ ให้เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
ขัน้ ตอนที่ ๒ การปฏบิ ตั ติ ามหน้าทีข่ องคณะกรรมการแต่ละระดบั ทกี่ ำหนดไว้แล้ว
ก. เครือข่ายคณะกรรมการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ระดับในจังหวัด มีอำนาจ
หน้าท่ดี งั นี้
๑) อำนวยการ ประสานงาน กำหนดยทุ ธศาสตร์ แผนงาน เร่งรดั ติดตามประเมินผล
และรายงานผลการดำเนินงานโครงการ เพื่อให้บรรลุเปา้ หมายอย่างมีประสิทธภิ าพ
๒) แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ตามท่เี หน็ สมควร เพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ัติงานบรรลุ
วัตถุประสงค์และเปา้ หมาย
๓) สง่ เสริม สนับสนุน ใหค้ ำปรึกษา และแนะนำ เกีย่ วกบั การดำเนินงานโครงการแก่
คณะกรรมการระดบั อำเภอ ตำบล และหมบู่ า้ น
๔) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสให้
ประชาชนได้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วม
โครงการใหค้ รอบคลุมทกุ กลุ่มเป้าหมาย
๕) กำหนดแนวทาง วิธีการให้ส่วนราชการต่างรัฐวิสาหกิจและองค์กรปกครองส่วน
ท้องถน่ิ เข้ามามสี ่วนรว่ มในการขับเคลอื่ นโครงการ
ข. เครอื ข่ายคณะกรรมการโครงการหมบู่ า้ นรกั ษาศีล ๕ ระดบั อำเภอ มีอำนาจหนา้ ท่ี
ดงั นี้
๑) อำนวยการ ประสานงาน ดำเนินงานตามแผนงานโครงการและรายงานผลการ
ดำเนินงานโครงการ
๒) ส่งเสรมิ สนับสนุน ให้คำปรึกษา และแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการแก่
คณะกรรมการระดับตำบล และหมบู่ ้าน
๙๕
๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสให้
ประชาชนได้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วม
โครงการใหค้ รอบคลมุ ทุกกลุ่มเปา้ หมาย
ค. เครอื ข่ายคณะกรรมการโครงการหมบู่ า้ นรักษาศีล ๕ ระดับตำบล มีอำนาจหน้าท่ี
ดังน้ี
๑) ประสานงานดำเนินงานตามแผนงานโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน
โครงการ
๒) ส่งเสรมิ สนบั สนุน ให้คำปรกึ ษา และแนะนำ เกยี่ วกบั การดำเนินงานโครงการแก่
คณะกรรมการระดับหม่บู ้าน
๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสให้
ประชาชนได้เข้าใจ รวมถึงเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อม ทั้งสมัครเข้าร่วม
โครงการใหค้ รอบคลมุ ทกุ กลุม่ เปา้ หมาย
๔) พิจารณาดำเนินการอน่ื ๆ ตามทเี่ หน็ สมควร
ง. เครือข่ายคณะกรรมการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ระดับหมู่บ้าน มีอำนาจ
หน้าที่ดังน้ี
๑) ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
๒) จัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสมั พันธ์ สรา้ งกระแสให้ประชาชนไดเ้ ขา้ ใจ รวมถึงเหน็
ความสำคัญและเห็นประโยชน์ในการรักษาศีล ๕ พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วมโครงการให้ครอบคลุมทุก
ครวั เรือน
๓) ติดตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ
ขั้นตอนที่ ๓ การประเมินผลและรายงานผล การประเมินผลและรายงานผลการ
ดำเนนิ งานในระดบั จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บา้ น ให้ดำเนินการตามเกณฑ์ชวี้ ดั ของโครงการและ
แบบของโครงการทกี่ ำหนดไวแ้ ลว้
๔.๒ การสร้างเครอื ข่ายของหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ ของคณะสงฆใ์ นจังหวัดเชยี งราย
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือบนพื้นฐานของความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการ
ทำงานร่วมกัน การแบ่งงานกันทำ การแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ร่วมกัน บทบาทของความ
ร่วมมือจะขยายออกไป นอกจากการใหค้ วามรว่ มมือทางดา้ นข้อมูลจะนําไปสูค่ วามรว่ มมือในการสร้าง
ความเข้มแข็งในด้านอื่นๆ อีกด้วย สมาชิกหมู่บ้านรักษาศีล ๕ สมควรจัดกลุ่มบุคคลหรือหน่วยงาน/
องค์กรที่สมัครใจ ที่จะทำกิจกรรมร่วมกัน ในลักษณะเครือข่ายความร่วมมือภายใต้หลักการกระจาย
๙๖
อำนาจ โดยมีผนู้ าํ ชุมชนทง้ั ท้องท่ี ท้องถิ่น เพอ่ื ให้เป็นไปได้อย่างเหมาะสม คล่องตัว สมบูรณ์ เรยี บรอ้ ย
มีคุณภาพและประสิทธภิ าพตามเจตนารมณข์ องการโครงการ และควรคำนึงถึงองค์ประกอบหลักของ
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ได้แก่ การมีสมาชิก ผู้นําเครือข่าย การมีส่วนร่วมของสมาชิก การ
เรยี นรรู้ ว่ มกนั การลงทนุ การส่ือสาร การมีผลประโยชนร์ ่วมกนั และความสนใจร่วมกัน รวมท้ังสมาชิก
ต้องพ่งึ พาซึง่ กนั และกัน มคี วามเสมอภาค มคี วามสมคั รใจ มกี ารแลกเปลย่ี น มกี ารบรหิ ารจัดการ และ
การปฏิบัติงานโดยมีจุดหมายร่วมกัน อันจะเป็นประโยชน์ในการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล
๕ ให้ประสบความสำเรจ็
รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนจังหวดั เชียงราย เป็นรูปแบบเครือขา่ ยจากการจัดต้ังของหน่วยงานภาครฐั โดยความร่วมมือ
กันระหว่าง คณะสงฆ์ สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด หมู่บ้าน/ชุมชน ในจังหวัดเชียงราย ได้
รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัด
เชียงราย พบว่า กระบวนการทำงานของเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ประกอบด้วยคณะสงฆ์
สำนักงานพระพุทธศาสนา หมู่บ้าน/ชุมชน องค์กรเครือข่าย ภาคี พันธมิตรอื่นๆ มี ๔ รูปแบบ คือ
รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เชิงอำนาจ รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล
๕ เชิงหน้าที่ รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เชิงพื้นที่รูปแบบการสร้างเครือข่าย
หม่บู ้านรกั ษาศีล ๕ เชงิ ประเดน็ ดังนี้๒๘
๔.๒.๑ รูปแบบการสร้างเครอื ขา่ ยหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ เชงิ อำนาจ
รูปแบบเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีลเชิงอำนาจ คือ รูปแบบเครือข่ายประสานความ
ร่วมมือ โดยการจัดตั้งเครือข่าย โดยมีผู้นำเป็นผู้ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการในการขับเคลื่อน
โครงการหมู่บ้านรักษาศีล โดยมสี มาชกิ องคก์ รเครือขา่ ย เขา้ มามีสว่ นรว่ ม ชว่ ยกนั ประสานปฏิบัติงาน
ตามโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา“หมู่บ้านรักษาศีล
๕” ระยะที่ ๑-๓ (ปี ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐) จังหวัดเชียงราย กำหนดรูปแบบการบูรณาการความร่วมมือ
จากคณะสงฆ์ ส่วนราชการ องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ผนู้ ำชุมชน ภาคเอกชน องคก์ รสมาคม มูลนิธิ
และประชาชน รวมทั้งองค์กรเครือข่ายความร่วมมือทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้ทุกภาคส่วนในสงั คม
มสี ว่ นร่วมในการสรา้ งความปรองดองสมานฉันท์ ร้รู ักสามัคคีและเพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนโดยมี
ขัน้ ตอนในการดำเนินการ ดงั นี้๒๙
๒๘ สัมภาษณ์ นางเกลียวพรรณ์ ขำโนนงว้ิ , ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัดเชยี งราย,
๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๒๙ สัมภาษณ์ นายพิสนั ต์ จนั ทรศ์ ลิ ป,์ วัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งราย, ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕
๙๗
แผนภาพที่ ๔.๑ รูปแบบการสรา้ งเครือขา่ ยหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ เชิงอำนาจ
๔.๒.๒ รูปแบบการสร้างเครอื ขา่ ยหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เชิงหน้าท่ี
รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เชิงหน้าที่ คือ รูปแบบการประสาน
ความร่วมมือ ภายใต้การออกคำสั่งและประกาศจังหวัดเชียงราย ตามหน้าที่ ๆ ได้รับหมอบหมายโดย
แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน และขับเคลื่อน ตามประกาศจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งต้ัง
คณะกรรมการดำเนินงานโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” จังหวัดเชียงราย ประกาศจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้ง
คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
“หมู่บ้านรักษาศีล ๕” จังหวัดเชียงราย คำสั่งจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนิน
โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕”
(ระยะที่ ๒) คำสั่งสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕”
(ระยะที่ ๒) คำสั่งเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินและติดตาม
โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินและติดตามโครงการหมู่บ้าน
รักษาศีล ๕ ระดบั อำเภอ รวม ๑๘ อำเภอ๓๐
๓๐ สมั ภาษณ์ พระพทุ ธวิ งศ์ววิ ฒั น์ ที่ปรึกษาเจา้ คณะจังหวดั เชียงราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๙๘
รูปแบบการสร้างเครือขา่ ย “หม่บู า้ นรกั ษาศีล ๕” โดยความร่วมมือกันระหว่างคณะ
สงฆ์จังหวัด คณะสงฆ์อำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ และหน่วยงานอื่นๆ โดยมีการกำหนด
วัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ อย่างชัดเจนแล้ว จึงเป็นเหตุทำให้
การดำเนินโครงการหม่บู า้ นรักษาศีล ๕ เกดิ ความคลอ่ งตัว รวดเร็ว มีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ได้
รูปแบบการสรา้ งเครือข่ายหมูบ่ ้านรักษาศลี ๕ เชงิ หน้าท่ี ดังน้ี๓๑
ผวู้ า่ ราชการราชการ คณะสงฆ์ - ทีป่ รึกษา
จังหวัดเชียงราย -ร่วมขับเคล่อื น
สำนักงานพุทธ - ร่วมตดิ ตามประสานงาน
- ประสานตรวจสอบร่วม
ทำงานขบั เคลอ่ื น
- ติดตามประเมินผล
สรปุ ผล
- คดั เลอื กหม่บู า้ นต้นแบบ
ชมุ ชน/หมูบ่ ้าน - ตั้งคณะกรรมการ
หม่บู า้ น
- ปฏบิ ตั ิการตามแผน
แผนภาพที่ ๔.๒ รูปแบบการสรา้ งเครอื ข่ายหม่บู า้ นรักษาศีล ๕ เชงิ หน้าท่ี
๔.๒.๓ รูปแบบการสรา้ งเครือขา่ ยหม่บู ้านรักษาศีล ๕ เชิงพ้ืนที่
รูปแบบการสร้างเครือข่ายหม่บู ้านรักษาศลี ๕ เชิงพนื้ ที่ เป็นเครือข่ายหมบู่ ้านรักษาศีล ๕
ในจังหวัดเชียงราย ที่ครอบคลุม ๑๘ ที่สมัครเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ อาศัยพื้นที่ติดต่อ
ประสานงานสะดวก เพื่อทำกิจกรรมส่งเสริมการรักษาศีล ๕ โดยอาศัยสภาพสถานที่ตั้งของหมู่บ้าน
รกั ษาศลี ๕ ในการปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั สง่ เสริมให้เกิดการขับเคลอ่ื นตามแนวทางการดำเนนิ การหมู่บ้าน
รักษาศีล ๕ มีการร่วมมือจากคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย สำงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย
หมู่บ้าน/ชุมชน องค์กรภาคี เครือข่ายพันธมิตรอื่นๆ โครงสร้างความสัมพันธ์ขององค์กร ชุมชน และ
๓๑ แนวทางการดำเนินงานโครงการหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ : ชาวประชาเป็นสุข, หน้า ๑๒๕ – ๑๒๖.
๙๙
เครือข่ายเชิงพื้นที่นั้น มีความสะดวกในการจัดทำโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ร่วมกัน โดยมี
กระบวนการทำงานแนวด่ิง มกี ารรวมศูนย์กิจกรรมหมู่บา้ นรักษาศลี ๕ เข้าสศู่ นู ยก์ ลาง คือ สำนักงาน
เจา้ คณะอำเภอ ทง้ั ๑๘ อำเภอ และมีศนู ย์ประสานงานย่อยในพนื้ ท่ีคือ สำนักงานเจ้าคณะตำบล และ
วดั เพ่ือใหเ้ กดิ การสื่อสารกจิ กรรมหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ ร่วมกัน๓๒
รูปแบบเครือข่ายเชิงพื้นที่ เป็นการประสานความร่วมมือ ระหว่างคณะสงฆ์ ภาครัฐ
ประชาชน ในการดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดเชียงราย โดยกำหนดพื้นที่โครงการและ
คณะกรรมการทำโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ประกอบหน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาชนสนับสนุน
ชว่ ยเหลอื สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชยี งราย ในฐานะผู้ดำเนินการโครงการได้รายงานจำนวน
ผู้สมคั รเขา้ ร่วมโครงการหมู่บา้ นรกั ษาศลี ๓๓
การในดำเนินโครงการเชิงคุณภาพ คณะกรรมการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัด
เชยี งราย (ระดับหมูบ่ า้ น ตำบล อำเภอ จังหวัด) ได้มมี ตคิ ัดเลือก “หมบู่ า้ นรักษาศีล ๕” แยกออกเป็น
หมบู่ ้านรักษาศีล หน่วยงานรกั ษาศีล ๕ และสถานศึกษารกั ษาศลี ๕
เครอื ข่ายคณะกรรมการโครงการหมูบ่ า้ นรกั ษาศีล ๕ ไดอ้ อกตดิ ตามวดั ผลและประเมินเชิง
คุณภาพ เพื่อติดตามการทำงาน และประเมินผลการดำเนินโครงการ ทำให้ได้หมู่บ้านรักษาศีล ๕
หน่วยงานรกั ษาศลี ๕ และสถานศกึ ษารกั ษาศลี ๕ ตน้ แบบ ดเี ด่น
จากการที่เครือข่ายระดับหมู่บ้าน/ชุมชน สมัครเข้าเป็นสมาชิกโครงการหมู่บ้านรักษาศีล
๕ ได้รับทราบนโยบายจากจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน/ชุมชน แล้วได้จัดประชุมชี้แจง แล้ว
ดำเนินการแต่งคณะกรรมการระดับหมู่บ้าน รับสมัครสมาชิกหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ขอรับป้ายจาก
สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย เป็นอันบรรลุเป้าหมายเชิงปริมาณ คณะกรรมการ
เครือข่ายสมาชิกหมู่บ้านรักษาศีล ได้คัดเลือกหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ต้นแบบรายงานผลการจัดกิจกรรม
ตามแบบรายงานที่คณะกรรมากำหนด มีการลงพื้นที่ติดตามประเมินผลจนได้พิจารณาเลือกให้เป็น
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ดีเด่น ที่ส่งเสริมกิจกรรมรักษาศีล ๕ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน และสง่ เสรมิ กิจกรรมเผยแผ่ของหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลผ่านเกณฑ์การประเมิน
เป็นหมู่บ้านรักษาศีล ๕ สถานศึกษาศีล ๕ และหน่วยงานรักษา ดีเด่น เป็นต้นแบบของหมู่บ้าน ใน
จังหวัดเชียงราย๓๔
๓๒ สมั ภาษณ์ นางสาวหนอ่ แก้ว อตุ โน, นกั วิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนักงานพระพุทธศาสนา
จังหวดั เชยี งราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๓๓ สัมภาษณ์ นางเกลยี วพรรณ์ ขำโนนงิว้ , ผูอ้ ำนวยการ สำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั เชียงราย,
๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๓๔ สัมภาษณ์ นายพสิ ันต์ จันทร์ศลิ ป,์ วฒั นธรรมจังหวัดเชยี งราย, ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๑๐๐
๔.๒.๔ รปู แบบการสรา้ งเครอื ข่ายหมบู่ า้ นรักษาศลี ๕ เชิงประเด็น
รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เชิงประเด็น เป็นรูปแบบการดำเนินการ
ร่วมกัน และประสานติดต่อทำกิจกรรมร่วมกันภายใต้ประเด็นที่ คณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายสำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย หมู่บ้าน/ชุมชน เครือข่าย ได้กำหนดประเด็นร่วมกันในการดำเนิน
โครงการหมบู่ ้านรักษาศีล ๕ ในระดับหมบู่ ้าน หน่วยงาน สถานศกึ ษา ได้แก่ ประเด็นกิจกรรมส่งเสริม
การพัฒนาชีวติ ตามหลักศลี ๕ ประเด็นกจิ กรรมสง่ เสริมตามวิถชี าวพุทธ และประเด็นกจิ กรรมส่งเสริม
งานของหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต.) เชื่อมโยงเครือข่าย ประชาชนมามีส่วนร่วมทำ
กจิ กรรมต่าง ในหมู่บา้ นรกั ษาศีล ๕๓๕
ประเด็นกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ เป็นกิจกรรมที่ประยุกต์เอาหลัก
ศีล ๕ มาใชบ้ รู ณาการในกจิ กรรมต่าง ยกตวั อย่าง กจิ กรรมส่งเสรมิ การพฒั นาชีวิตตามหลักศีลข้อท่ี ๑
เช่น การปล่อยนก การปล่อยปลา กิจกรรมถ่ายชีวิตโคกระบือ การจัดเขตอภัยทาน จัดกลุ่มตำรวจ
บ้าน เป็นต้น ประชาชนจะได้เข้ามาร่วมทำกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ เป็นการส่งเสริมการรักษาศีล
ข้อที่ ๑๓๖
ประเด็นกิจกรรมส่งเสริมวิถีชาวพุทธ เป็นกิจกรรมที่เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ได้มี
ความสนใจประยุกต์เอาหลักธรรมศีล ๕ ประยุกต์ใช้ตามวิถีชีวิตความเป็นคนไทย ความเป็นชาวพุทธ
และความรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตัวอย่าง กิจกรรมส่งเสริมตามวิถีชาวพุทธ
ตัวอย่าง กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชาวัน
เข้าพรรษาวนั ออกพรรษา วันเทโวโรหณะ กิจกรรมตามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และวัฒนธรรมไทย
เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันตรุษ วันสงกรานต์ วันครอบครัว วันผู้สูงอายุ วันสารท วันลอยกระทงการสวด
มนต์ข้ามปี กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ วันพ่อแห่งชาติ
วันแม่แห่งชาติ วันพระราชสมภพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารวันพระราชสมภพ
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า สยามบรมราชกมุ ารี วันจกั รี วันปยิ มหาราช เปน็ ต้น๓๗
ประเด็นกิจกรรมส่งเสริมงานหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต.) เป็นการ
ประสานความร่วมมือ ในประเด็นที่มีความสนใจร่วมกันอันจะส่งเสริมให้หมู่บ้านรักษาศีล ๕
สถานศึกษารักษาศีล ๕ และหน่วยงานรักษาศีล ๕ ในระดับตำบลและหมู่บ้าน ได้จัดกิจกรรมบูรณา
๒๕๖๕. ๓๕ สัมภาษณ์ นายเกยี รตยิ ศ เลิศณวรรธน์, ปลดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลโป่งผา, ๒๘ มกราคม
๓๖ สมั ภาษณ์ พระครวู สิ ุทธธิ รรมภาณี เจา้ คณะอำเภอแมส่ าย, ๒๙ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๓๗ สมั ภาษณ์ พระครูอุปถัมภว์ รการ เจ้าคณะอำเภอแมจ่ ัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๐๑
การโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ส่งเสริมการเผยแผ่ธรรมของหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลโดย
มีกิจกรรมเชิงประเด็น ๘ อย่างดังนี้ ๑) ศีลธรรมและวัฒนธรรม ๒) สุขภาพอนามัย ๓) สัมมาชีพ๔)
สันตสิ ขุ ๕) ศกึ ษาสงเคราะห์ ๖) สาธารณสงเคราะห์ ๗) กตัญญูกตเวทิตาธรรม ๘) สามัคคีธรรม๓๘
การดำเนินงานเชิงบูรณาการหลักศีล ๕ กับการดำเนินชีวิตของประชาชน มีลักษณะการ
ดำเนินงานภายใต้การจัดตั้งเครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕
และเครือข่ายมีรูปแบบการดำเนินงานเป็นเครือข่ายที่จัดตั้งโดยภาครัฐเป็นแกนกลางประกอบด้วย
จังหวัดเชียงราย เป็นแกนกลางเชื่อมเครือข่าย ภายใต้สายงานบังคับบัญชาของจังหวัดเชียงราย
เครือข่ายคณะสงฆ์ มีคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย ทั้งสองนิกาย เป็นแกนกลางเชื่อมไปยังกลุ่มเครือข่าย
องค์กรทั้งภาครัฐแลเอกชนไปยังพื้นที่ มีการขับเคลื่อนโครงการและเชื่อมโครงการลักษณะการออก
คำสั่ง การขอความร่วมมือสนับสนุนให้เกิดการใช้หลักธรรมพระพุทธศาสนาหลักศีล ๕ กิจกรรมการ
ดำเนินชวี ิตบรู ณาการให้เกิดการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน มดี ังนี้๓๙
การสร้างเครือข่าย ทำให้เกิดการพัฒนาอาชีพบนพื้นฐานความสมัครสมานสามัคคีการ
ทำงานกิจกรรมร่วมกัน เน้นการสร้างงานสร้างอาชีพในชุมชน เช่น เครือข่ายของวัดบ้านจ้อง อำเภอ
แม่สาย จังหวัดเชียงรายประกอบดว้ ย ประเดน็ ในการเชอ่ื มโยง ต้องการสรา้ งรายได้ สร้างอาชีพให้เกิด
ในชมุ ชน การจดั ตงั้ การดำเนินกจิ กรรมหมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕ วัดบ้านจ้องเป็นศูนยร์ วมและเปน็ ศูนยก์ ลาง
ในการจัดกิจกรรม ซึ่งยึดหลัก “บวร” (บ้าน วัด โรงเรียน) และหลักศีล๕ เข้ามาใช้ ทำให้ชุมชนเกิด
ความรัก ความสามัคคี ความร่วมมือ ความเข้าใจและหวังดีต่อกัน ส่งผลให้สังคมมีความมั่นคง เกิด
ความสงบสุข อย่างยั่งยืน และไม่มีคดีความใด ๆ เกิดขึ้นในหมู่บ้านดำรงชีวิตอยู่บนพื้นฐานความ
พอเพียง ตามแนวทางพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ของรัชกาลที่ ๙ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน
คณะสงฆ์ ประชาชน มีคณุ ภาพชีวิตที่ดี โดยพลังของประชาชน โดยสามารถผลติ ภัณฑ์ในท้องถิ่น ดังน้ี
๑. การทอผ้าซิ่น (ผ้าถุง) เป็นผ้าฝา้ ยเนื้อดี ปลูกเองในชุมชน นำมาย้อม มากอด้าย ทอเป็นผ้าซิ่น โดย
ใช้เครื่องมือแบบโบราณ ๒. การปลูกผัก ผลไม้ ตามฤดูกาล เช่นผักชี ต้นหอม หัวหอมแดง ฟัก แฟง
กล้วย เป็นต้น ๓. การจักสานตะกร้าจากไม้ไผ่ ๔. การแปรรูปปลาร้า/ปลาร้าบอง ๕. การทอเสื่อจาก
ต้นกก/ต้นไหล ๖. การผลิตหมอน เพื่อใช้ในเทศกาลงานบวชหรือแต่งงาน ๗. การทำพรมเช็ดเท้า ๘.
การทำขนมแปง้ จี่ ซึ่งรูปแบบการนำโครงการมาปฏบิ ัติใหเ้ กิดการประสานเครือข่ายขบั เคล่ือนโครงการ
หมบู่ า้ นรักษาศีล ๕ มีลกั ษณะของการทำกิจกรรมทางอาชีพ และการดำรงชวี ติ และพ่งึ พาตนเอง
๓๘ สมั ภาษณ์ นางอทิตาธร วันไชยธนวงศ,์ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดเชียงราย, ๑๐ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕
๓๙ สมั ภาษณ์ พระครูสวุ ชิ านสุตสนุ ทร เจ้าอาวาสวดั บา้ นจอ้ ง, ๑๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓.
๑๐๒
จากการที่เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ได้ดำเนินการตามประเด็นที่สนใจร่วมกัน ในการ
ทำกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ กิจกรรมตามวิถีชาวพุทธ และส่งเสริมงานหน่วย
อบรมประชาชนประจำตำบล ภายใต้โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ แล้ว จึงได้เป็นรูปแบบการสร้าง
เครือข่ายหม่บู ้านรกั ษาศีล ๕ เชิงประเดน็ ดงั ภาพ
แผนภาพท่ี ๔.๓ รูปแบบการสร้างเครือข่ายหมูบ่ า้ นรกั ษาศีล ๕ เชงิ ประเดน็
๔.๓ วิเคราะห์เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
ในจังหวัดเชียงราย
การสร้างเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน ใน
จงั หวดั เชียงรายผูว้ จิ ยั ได้ นำการดำเนินการของเครือข่ายหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ การเกิดข้ึนของเครือข่าย
แบบจัดต้ัง รปู แบบส่อื สารมาวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธเ์ ชงิ เครือแบบบูรณาการภารกิจ
เครอื ข่ายจัดต้ัง
เครือข่ายจดั ต้ัง มักจะมีความเกี่ยวพันกบั นโยบายหรือการดำเนนิ งานของภาครัฐเปน็ ส่วน
ใหญ่ การจัดตั้งอยู่ในกรอบความคิดเดิมที่ใช้กลไกของรัฐผลักดันให้เกิดงานที่เป็นรปู ธรรมโดยเร็วและ
สว่ นมากภาคหี รือสมาชิกท่ีเข้ารว่ มเครือข่ายมักจะไม่ได้มีพ้ืนฐาน ความต้องการ ความคิด ความเข้าใจ
หรือมุมมองในการจัดตั้งเครือข่ายที่ตรงกันมาก่อนที่จะเข้ามารวมตัวกัน เป็นการทำงานเฉพาะกิจ
ชั่วคราวที่ไม่มีความต่อเนื่อง และมักจะจางหายไปในที่สุด เว้นแต่ว่าเครือข่ายจะได้รับการชี้แนะที่ดี
ดำเนินงานเป็นขั้นตอนจนสามารถสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง เกิดเป็นความผูกพันระหว่างสมาชิกจน
๑๐๓
นำไปสู่การพัฒนาเป็นเครือข่ายทแ่ี ทจ้ ริง อย่างไรกต็ าม แม้วา่ กลุ่มสมาชกิ จะยงั คงรักษาสถานภาพของ
เครอื ขา่ ยไวไ้ ด้ แต่มแี นวโน้มทจี่ ะลดขนาดของเครือขา่ ยลงเมื่อเปรยี บเทยี บระยะก่อตั้ง
เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ได้เกิดความร่วมกันของเครือข่าย จากนโยบายของมหาเถร
สมาคมภายใต้การนำของ เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จ
พระสังฆราช ได้ประทานโอวาท เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ความว่า “อันว่าศีล ๕ เป็นการ
สำคัญมนุษย์ เมื่อทุกคนมีศีล ๕ ด้วยกัน สังคมนั้น ๆ คือ ประชาชนย่อมจะอยู่เย็นเป็น สุข เมื่อเป็นไป
ได้ ขอใหช้ อ่ื หมู่บ้าน นน้ั ว่า “หม่บู ้านรักษาศีล ๕” ประกอบกบั คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)ได้
ให้แนวทางในการแก้ไขปัญหาของประเทศด้วยการให้ทุกภาคส่วนในประเทศร่วมมือกันดำเนินการ
สร้างความปรองดองสมานฉันท์ และทำให้เกิดความรักความสามคั คีกัน ศีล ๕ จึงเป็นพื้นฐานสำคญั ท่ี
จะทำให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน เสริมสร้าง ความปรองดอง ทำให้
เกิดความสามัคคี การให้อภัยซึ่งกันและกัน อีกทั้งเป็นพื้นฐานของการสร้างคนดีจะช่วยให้สังคมเกิด
ความสงบและมสี ันตสิ ขุ ๔๐
จังหวัดเชยี งราย เป็นจังหวดั ที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นที่การปกครองที่กว้างขวาง ประชาชนใน
จังหวัดส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ เนื่องจากเป็นจังหวัดใหญ่จึงมีประชาชนจากภูมิภาคต่าง ๆ มา
ประกอบอาชีพและอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเกิดความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ความเช่ือ
คา่ นยิ ม รวมทั้งความแตกต่างระหว่างบุคคล ทำใหเ้ กิดปัญหาทางด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และการอยู่
รว่ มกนั จังหวดั เชียงรายมีความเห็นสอดคล้องตรงกันว่าการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอันได้แก่
ศีล ๕ เป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมและสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างแท้จริง จึงจัดทำโครงการ
สรา้ งความปรองดองสมานฉนั ท์โดยใช้หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศลี ๕” ขน้ึ ๔๑
การจัดทำโครงการครั้งนี้ ได้อาศัยเครือข่ายการทำงานหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัด
เชียงราย ซึ่งเป็นเครือข่ายที่ดำเนินการจัดตั้งขึ้นรูปลักษณะของคณะกรรมการ ตามระเบียบมหาเถร
สมาคม ว่าด้วยการดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ พ.ศ.๒๕๕๗ ขับเคลื่อนโครงการสร้างความ
ปรองดองสมานฉันทโ์ ดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศลี ๕” ระยะที่ ๑-๓ จงั หวดั
เชียงราย ซึ่งยึดหลักการและวิธีการดำเนินงานตามมติมหาเถรสมาคม เพื่อนำไปสู่การดำเนินชีวติ ตาม
วิถีชาวพุทธของประชาชนคนไทยอย่างยั่งยืนถาวร โดยมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุก
หมู่บ้านในจังหวัดเชียงราย มีความปรองดองสมานฉันท์ รักและเทิดทูนไว้ซึ่งสถาบันชาติ
๔๐ สมั ภาษณ์ นายพสิ ันต์ จนั ทร์ศลิ ป,์ วัฒนธรรมจงั หวัดเชียงราย, ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๔๑ สมั ภาษณ์ นางเกลยี วพรรณ์ ขำโนนงว้ิ , ผู้อำนวยการสำนักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวัดเชยี งราย, ๒๔
มกราคม ๒๕๖๕.
๑๐๔
พระพทุ ธศาสนา และพระมหากษัตริย์ ซง่ึ เปน็ เปน็ นโยบายสำคญั ของเจา้ ประคุณสมเด็จพระมหารัชมัง
คลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ที่ดำริให้กับคณะสงฆ์ทุกจังหวัดและสำนักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้ร่วมในการนำหลักของศีล ๕ ให้เข้าถึงประชาชนทุกระดับครอบคลุมทุก
พ้นื ท๔่ี ๒
เครอื ขา่ ยหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็นเครอื ข่ายจดั ตั้ง ประกอบด้วย ๑. เครือขา่ ยคณะสงฆ์ ๒.
เครือข่ายภาครัฐ และประชาชน ประกอบด้วยหน่วยงานที่เข้ามาเป็นเครือข่าย สำนักงานเจ้าคณะ
จังหวัดเชียงราย ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงราย ภายใต้ส่วนราชการจังหวัดเชียงราย มีสำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย และวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เข้ามาเชื่อมกับคณะสงฆ์เกิดการ
ดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ คณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายประสานไปยังภาคประชาชนที่รู้จักกัน
กลุ่มพุทธสมาคม กลุ่มสมาคมเปรียญธรรม ลูกเสือชาวบ้านชมรมผู้สูงอายุ ชมรมพระเครื่อง การ
เกดิ ขน้ึ ของเครือขา่ ยหมรู่ ักษาศลี ๕ สอดคล้องกบั แนวคิดการสร้างเครือขา่ ย ลักษณะเครอื ข่ายเกิดจาก
การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันของผู้คนในสังคมที่มารวมตัวกันเปน็ กลุ่ม องค์กร และเครือข่าย เพื่อการ
พัฒนา การแก้ไขปัญหา และการสร้างสรรค์ในสิ่งที่เป็นประโยชน์ทั้งต่อปัจเจกบุคคลและสังคม กลุ่ม
กับกลุ่ม คณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายกับกลุ่มของสำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย และสำนักงาน
วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย โดยกลุ่มนี้มีหน้าที่ในการบูรณาการงานของคณะสงฆ์ และหน่วยงาน
จังหวัดเชยี งราย และกลุ่มกบั เครือขา่ ย เช่นกลมุ่ ผ้สู งู อายุ ได้เขา้ รว่ มกิจกรรมเครอื ข่ายทางการปกครอง
ที่ประจำอยู่ในแต่ละอำเภอ โดยเข้าไปร่วมกิจกรรมกับการส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ยกตัวอย่าง การ
ดำเนินการเครือข่ายหมู่รักษาศีล ๕ ของชาวบ้านวัดน้ำจำ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย กลุ่ม
เครอื ขา่ ยคณะสงฆ์วัดบ้านจ้อง อำเภอแมส่ าย จังหวดั เชียงราย โรงเรยี นบ้านจ้อง โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพประจำตำบล ภาคประชาชน ชมรมผสู้ งู อายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ ้าน อาสาสมัคร
ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มาร่วมทำงานหลักของแต่ละองค์กร ภายใต้การดำเนิน
กจิ กรรมการพฒั นาชวี ิตตามหลกั ศลี ๕ คอื
๑) จดั กจิ กรรมการปฏิบตั ธิ รรมทุกวนั อาทติ ย์ จดั ใหเ้ ยาวชน อุบาสก อบุ าสิกา เข้ามา
ปฏบิ ตั ิธรรม มีการทำวัตรเชา้ -เยน็ (แปล) นง่ั สมาธบิ ำเพ็ญจิตภาวนา ฟังการบรรยายธรรม
๒) สง่ เสรมิ ให้พทุ ธศาสนกิ ชนถอื ศลี ๕
๓) สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การทำบญุ ตกั บาตรในวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา
การจัดกจิ กรรมตามวิถชี าวพทุ ธ
๔๒ สมั ภาษณ์ นางสาวหน่อแกว้ อตุ โน, นกั วิชาการศาสนาชำนาญการพเิ ศษ สำนักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดเชียงราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๐๕
๑) การทำบุญตกั บาตรของพทุ ธศาสนกิ ชนในทุก ๆ เชา้ ของวัน
๒) การไปวดั ทำบญุ ฟงั ธรรม ทกุ วันพระ
๓) การจดั กจิ กรรมปริวาสกรรม ทุกวันที่ ๕-๑๕ มกราคม ของทุกปี
รปู แบบการสอื่ สารเครือขา่ ย
ระบบความสมั พันธ์เครือขา่ ยเกย่ี วข้องกับการทำกิจกรรม การสอ่ื สาร การร่วมมอื การ
พึ่งพาอาศัย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีโครงสร้างรูปแบบความสัมพันธ์ที่หลากหลาย และมีการ
กระจายตัวไปตามหน่วยย่อยหรือปัจเจกบุคคลในสังคม โดยเครือข่ายนั้นเริ่มต้นจากการอธิบาย
ความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล กลุ่ม หรือชุมชน เพ่ือแลกเปลี่ยน เรียนรู้
ช่วยเหลือพึ่งพา จนกระทั่งสามารถสร้างพลงั และอำนาจต่อรอง และต่อมาก็มีการขยายความสัมพันธ์
น้ันไปสูร่ ะดับที่กว้างขึน้ โดยมีการเชื่อมโยงกับองค์กร เครือขา่ ยพันธมิตรอน่ื ๆ ประเด็นปัญหานำมาซ่ึง
ความต้องการแก้ปัญหาร่วมกันของเครอื ข่าย คือ ความขัดแย้ง ความไม่ปรองดองของสังคมในจังหวดั
เชียงราย การต้องการให้ประชาชนในจังหวัดเชียงราย อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข นำซึ่งการสร้าง
ความสัมพันธ์ของสมาชิกในเครือข่าย โดยบูรณาการภารกิจของเครือข่าย ภายใต้โครงการหมู่บ้าน
รกั ษาศลี ๕ อย่างเดียวกัน๔๓
การสมคั รเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มหี นว่ ยงานภาครัฐ และเอกชน ประชาชน
ในพ้ืนท่ี สมัครเขา้ รว่ มโครงการ การดำเนนิ การภายใต้หลักการศีล ๕ นำไปบรู ณาการกบั กจิ กรรม การ
ดำเนินการของหน่วยงานและการดำเนนิ ชีวิตของประชาชนในหมู่บ้านให้เกดิ การรักษาศลี ๕ เกิดเป็น
เครือข่ายการปฏิบัติตนตามหลักศีล ๕ และบูรณาการกิจกรรมให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน ผ้วู ิจัยได้วิเคราะห์ ความสมั พันธเ์ ชิงเครือข่ายแบบบรู ณาการภารกิจเพ่ือการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ ในจงั หวดั เชียงราย๔๔
ลักษณะความสมั พันธข์ องเครือข่าย
ความสมั พันธข์ องเครือขา่ ยหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ เพอ่ื การพัฒนาคุณภาพชวี ิตของประชาชน
ในจังหวัดเชียงราย มีความสัมพันธ์เชิงเครือข่าย ประกอบด้วย ความสัมพันธ์เชิงอำนาจหน้าท่ี
ความสมั พันธเ์ ชิงพ้ืนที่ และความสมั พนั ธ์เชิงประเด็น ดงั น้ี
๔๓ สมั ภาษณ์ นางสาวหนอ่ แก้ว อตุ โน, นักวิชาการศาสนาชำนาญการพเิ ศษ สำนกั งานพระพทุ ธศาสนา
จังหวดั เชียงราย, , ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๔๔ สัมภาษณ์ นายพสิ ันต์ จันทรศ์ ลิ ป์, วฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งราย, ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๑๐๖
๔.๓.๑ ความสมั พนั ธเ์ ครือข่ายเชงิ อำนาจหน้าท่ี
เครือข่ายคณะสงฆจ์ งั หวดั เชียงราย สำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัดเชียงราย หมู่บ้าน /
ชุมชน ได้เริ่มการขับเคลื่อนโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมูบ่ ้านรกั ษาศีล ๕” จงั หวัดเชียงราย ในรปู ของเครือขา่ ยภายใต้การออกคำส่ังและ
ประกาศจังหวดั เชยี งราย เพ่ือแต่งตง้ั คณะกรรมการ ดำเนินงาน และขบั เคล่ือนดงั นี้
๑) ประกาศจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” จังหวัด
เชียงราย
๒) ประกาศจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการสร้างความ
ปรองดองสมานฉนั ทโ์ ดยใชห้ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนา“หมู่บา้ นรกั ษาศลี ๕” จงั หวัดเชียงราย
๓) คำสั่งจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการสร้างความ
ปรองดองสมานฉนั ท์โดยใชห้ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” (ระยะท่ี ๒)
๔) คำสั่งสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการ
ดำเนินงานโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้าน
รักษาศีล ๕” (ระยะที่ ๒)
๕) คำสั่งเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินและ
ตดิ ตามโครงการหมู่บ้านรกั ษาศลี ๕
๖) คำสั่งแต่งต้งั คณะกรรมการตรวจประเมินและติดตามโครงการหมู่บ้านรักษาศลี ๕
ระดับอำเภอ รวม ๑๘ อำเภอ
สอดคล้องกับคำให้สัมภาษณ์ “โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ได้กำหนดเป็นนโยบายของ
จังหวัดเชียงราย ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ได้ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อน
โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีหน้าที่เร่งรัดให้
คณะกรรมการระดับอำเภอ ตำบล และหม่บู ้านไดป้ ฏิบัติหนา้ ท่ี ประสาน ติดตาม เรง่ ประชาสมั พันธใ์ ห้
ประชาชนได้สมัครเข้าร่วมโครงการหมูบ่ ้านรักษาศีล ๕ ให้ได้ร้อยละ ๕๐๔๕ คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย
ประกอบด้วยเจ้าคณะจังหวดั เชียงราย ท้งั ฝา่ ยมหานกิ าย และธรรมยตุ นกิ าย เจ้าคณะอำเภอทกุ อำเภอ
เจา้ คณะตำบลทุกตำบล เจ้าอาวาสทุกวัด หวั หน้าท่พี ักสงฆ์ เปน็ กลไกสำคัญในการขบั เคล่ือนโครงการ
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีบทบาทหน้าที่ส่งเสริม ช่วยเหลือให้การสนับสนุน ชี้แจง ให้ความรู้ ทำความ
๔๕ สัมภาษณ์ นางเกลยี วพรรณ์ ขำโนนงว้ิ , ผอู้ ำนวยการสำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวดั เชยี งราย,
๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๐๗
เข้าใจแก่ประชาชนผู้ท่สี มัครเข้ารว่ มโครงการหมู่บา้ นรกั ษาศลี ๕๔๖ จงั หวัดเชียงราย โดยมผี วู้ า่ ราชการ
จังหวัดเชียงราย ประธานฝ่ายฆราวาส เป็นผู้รับผิดชอบนโยบาย มีสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
เชียงราย เป็นผู้สนองงาน เชื่อมโยงประสานคณะสงฆ์ หน่วยงานภาครฐั สถานศึกษา ประชาชน๔๗ ได้
ดำเนินงานในรูปแบบของการบูรณาการความร่วมมือจากคณะสงฆ์ ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วน
ท้องถน่ิ ผู้นำชุมชน ภาคเอกชนองค์กร สมาคม มูลนิธิ และประชาชน เป็นเครอื ขา่ ยในการทำงาน เป็น
การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและการประสานงานในเครือข่ายช่วยลดภาระการทำงานและการใช้
ทรัพยากรซ้ำซ้อน ทำให้การพัฒนาสามารถดำเนินไปได้ก้าวหน้า รวดเร็ว และส่งผลต่อสังคมในวง
กว้างยิ่งขึ้น๔๘ และว่า “โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็นการรณรงค์ให้ประชาชนได้หันมานำเอา
หลักธรรมมาประพฤติปฏิบัติทำตามแนวทางพระพุทธศาสนา ให้เป็นคนดี ไม่เบียดเบียนตน และคน
อื่น ช่วยลดปัญหาสังคมกระผมยินดี นำเอานโยบายหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ มาเป็นนโยบายของอำเภอ๔๙
คณะสงฆ์ระดับอำเภอทุกอำเภอก็ได้พร้อมใจกันที่จะทำงาน “เมื่อได้รับคำสั่งจากเจ้าคณะจังหวัด
เชียงรายแล้ว จึงได้ไปจัดประชุมให้เป็นวาระประชุมของคณะสงฆ์อำเภอ เพื่อขยายผลไปยังเจ้าคณะ
ตำบล เจ้าอาวาสทุกวัด๕๐ สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในระดับ
จังหวัด ต้องประสานให้เกิดการขับเคลื่อน “จังหวัดเชียงรายมีการสร้างเครือข่าย “หมู่บ้านรักษาศีล
๕” โดยร่วมมือกันระหว่าง เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย ผู้ว่าราชการจงั หวัด เจ้าคณะอำเภอ นายอำเภอ
เจ้าคณะตำบล กำนัน เจ้าอาวาส ผู้ใหญ่บ้าน หน่วยงานอื่นๆ มีการกำหนดวัตถปุ ระสงค์ และแนวทาง
การดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ อย่างชัดเจน ทำให้การดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕
เกิดความคล่องตัว รวดเร็ว มีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล๕๑ การดำเนนิ โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕
คณะกรรมการ เครือข่าย ได้ปฏิบัติหน้าที่เชื่อมโยง ประสาน ทำกิจกรรมร่วมกันในหลายรูปแบบดังน้ี
๕๒
๔๖ สัมภาษณ์ นางสาวหน่อแกว้ อุตโน, นกั วิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนกั งานพระพทุ ธศาสนา
จงั หวัดเชยี งราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๔๗ สัมภาษณ์ นายพิสันต์ จันทรศ์ ลิ ป,์ วฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย, ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๔๘ สมั ภาษณ์ นางอทิตาธร วันไชยธนวงศ์, นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดเชียงราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕.
๔๙ สมั ภาษณ์ นายเกียรตยิ ศ เลศิ ณวรรธน์, ปลดั องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม
๒๕๖๕.
๕๐ สมั ภาษณ์ พระครูวิสุทธธิ รรมภาณี เจ้าคณะอำเภอแมส่ าย, ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๕๑ สัมภาษณ์ พระครูอุปถัมภว์ รการ เจา้ คณะอำเภอแมจ่ นั , ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๕๒ สมั ภาษณ์ พระครูประภาสพนารกั ษ์ เจ้าอาวาสวัดป่ายาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๐๘
๑. การกำหนดหมบู่ า้ นรกั ษาศลี ๕ เปน็ นโยบายของจังหวดั เชยี งราย
๒. การเสนอขออนมุ ตั ิโครงการ
๓. จัดทำคู่มือ
๔. จัดกจิ กรรมแถลงขา่ ว และลงนามบันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ(MOU)
๕. จดั กิจกรรมเสนาเก่ยี วกบั การดำเนนิ โครงการ
๖. การสรรหา “หมู่บ้านรกั ษาศลี ๕” ตน้ แบบ จังหวัดเชยี งราย
๗. การติดตามและประเมินผลโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้
หลกั ธรรม ทางพระพุทธศาสนา “หมูบ่ า้ นรักษาศีล ๕” จังหวดั เชียงราย
๘. การสรปุ และประกาศผลการเมนิ หมบู่ า้ นรักษาศลี ๕ ตน้ แบบ
๙. การมอบโล่รางวัล เกยี รติบัตร และปา้ ยหมบู่ า้ น /หนว่ ยงาน /สถานศกึ ษารักษาศลี ๕๕๓
การดำเนินโครงการเพื่อขับเคลื่อนโครงการฯ ระยะที่ ๑๕๔ การขับเคลื่อน
โครงการฯ มุ่งเน้นไปที่การชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการประชาสัมพันธ์เชิญชวนพุทธศาสนิกชน
สมคั รเขา้ โครงการฯ และการจัดทำบนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื (MOU) มกี ารดำเนินการดังนี้
๑) การแสดงธรรมเทศนา ขอความเมตตาจากคณะสงฆ์จังหวดั เชียงรายในการแสดง
ธรรมเทศนา หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ให้เพิ่มเรื่องการให้อภัย การสร้างความปรองดองความ
สมานฉันท์ พรอ้ มทัง้ ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หม่บู ้านรักษาศลี ๕” เปน็ ปริจเฉท ๑
๒) การประชาสัมพันธ์โครงการ กำหนดให้วัดทุกวัด ทั้งมหานิกายและธรรมยุต
ประชาสัมพนั ธโ์ ครงการฯ โดยการติดตงั้ ปา้ ยหน้าบรเิ วณวัด จำนวน ๒,๗๙๘ แหง่
๓) โครงการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตและพระเผยแผ่พระพุทธศาสนาประจำ
จังหวัดเชียงราย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จำนวน ๓๐๐ รูป ณวัดพระแก้ว พระอารามหลวง
ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวดั เชียงราย เพอื่ ชแี้ จงแนวทางการขบั เคล่ือนและการประชาสมั พนั ธ์เชิญ
ชวนพุทธศาสนิกชนสมคั รเข้ารว่ มโครงการฯ
๔) การประชุมเจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดเชียงราย ให้เป็นหน่วยงาน
ขับเคลื่อนการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษา
ศลี ๕” เพอ่ื ชแ้ี จงแนวทางการขับเคลื่อนและการประชาสัมพันธเ์ ชิญชวนพุทธศาสนิกชนสมัครเข้าร่วม
โครงการฯ๕๕
๕๓ สมั ภาษณ์ พระครูวิสุทธิธรรมภาณี เจา้ คณะอำเภอแมส่ าย, ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๕๔ สัมภาษณ์ พระครอู ปุ ถมั ภว์ รการ, เจ้าคณะอำเภอแมจ่ ัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๕๕ สัมภาษณ์ นายพสิ นั ต์ จนั ทรศ์ ลิ ป,์ วฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย, ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๑๐๙
๕) พิธีเปิดโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” จังหวัดเชียงราย โดยคณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายและผู้ว่า
ราชการจังหวัดเชียงราย โดยจังหวัดเชียงราย กำหนดให้ทุกหมู่บ้านสมัครเข้าร่วมโครงการฯร่วมกัน
พระสงฆ์ได้แสดงธรรม ประชาสัมพันธ์มกี ารบอกตอ่ และเชิญชวนให้เข้าร่วมโครงการหมู่บา้ นรักษาศีล
นำหลักการของศีล ๕ มาใชใ้ นชมุ ชน
๖) โครงการตรวจการคณะสงฆ์ เยี่ยมเยือนวัด และประชาชนเพื่อสร้างความ
ปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ประจำปี ๒๕๕๗
คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย โดย เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย กำหนดดำเนินโครงการตรวจการคณะสงฆ์
เยี่ยมเยือนวัดและประชาชน ประจำปี ๒๕๕๗ โดยลงพื้นที่ทุกอำเภอและได้มีการลงนามบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการดำเนินการโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะดำเนินโครงการฯ เพื่อ
ถวายเปน็ พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว และสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
และมีเจตานารมณ์ที่จะร่วมกันสร้างสังคม จังหวัดเชียงราย ให้เป็นสังคมที่มีศีล มีสุข ปรองดอง
สมานฉนั ท์ โดยใชแ้ นวทางตามหลักของ ศีล ๕ ดงั น้ี
(๑) ระดับจังหวัด บันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื (MOU) ระหว่างผู้ว่าราชการ
จังหวัดเชียงรายกับเจ้าคณะจังหวดั เชยี งราย (มหานิกายและธรรมยตุ )
(๒) ระดับอำเภอ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระยะที่ ๑ ระหว่าง
นายอำเภอทุกอำเภอกับเจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอ ในจังหวัดเชียงราย รวม ๑๘ อำเภอ ซึ่งมีผลการ
ดำเนินการ ดังน้ี
- อำเภอเมืองเชียงราย วันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗
- อำเภอเชียงของ วันท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗
- อำเภอเวยี งปา่ เปา้ วนั ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๗
- อำเภอเทงิ วนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๗
- อำเภอปา่ แดด วนั ท่ี ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗
- อำเภอพาน วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗
- อำเภอเวยี งชัย วนั ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗
- อำเภอแม่จนั วนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗
- อำเภอเชยี งแสน วันท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๕๗
- อำเภอแมส่ าย วนั ท่ี ๔ สิงหาคม ๒๕๕๗
- อำเภอแมส่ รวย วนั ที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗
๑๑๐
- อำเภอพญาเม็งราย วันท่ี ๖ สงิ หาคม ๒๕๕๗
- อำเภอเวียงแกน่ วนั ท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๕๗
- อำเภอขนุ ตาล วันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗
- อำเภอแม่ฟ้าหลวง วันท่ี ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๗
- อำเภอแม่ลาว วันท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗
- อำเภอเวยี งเชียงรุ้ง วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๗
- อำเภอดอยหลวง วนั ที่ ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๕๗
๗) โครงการอบรมพระวิทยากรแกนนำการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้
หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมบู่ า้ นรักษาศลี ๕” ระดับจงั หวดั จังหวดั เชยี งราย รว่ มกับคณะสงฆ์
จังหวัดเชียงราย สำนักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวัดเชยี งราย วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ไดจ้ ัดโครงการ
อบรมพระวิทยากรแกนนำการสร้างความ ปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
“หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ณ วัดพระแก้ว ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย คณะสงฆ์จังหวัด
เชยี งราย เป็นหน่วยงานหลักในการคดั เลือกพระภิกษทุ ่ีมีความรู้ ความสามารถและปฏิบัติงานด้านการ
เผยแผ่พระพทุ ธศาสนาตำบลละ ๑ รปู ไดร้ ่วมมือเครอื ขา่ ยระหว่างคณะสงฆ์ วฒั นธรรม ทหาร ตำรวจ
เพื่อทำความเข้าใจในการอบรมพระวิทยากรแกนนำ เข้ารับการอบรมเพื่อเป็นวิทยากรแกนนำ ขยาย
ผลไปสู่ทกุ ระดบั อย่างทั่วถึง ไดร้ บั เชิญมาร่วมเป็นวิทยากรในการถวายความรู้แด่พระวิทยากรแกนนำ
การสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ ในเรื่องการประสานกับหน่วยงานทหารกองทัพบกภาคที่ ๒ ผม
คดิ ว่าเปน็ การสรา้ งเครือขา่ ยในการทำงานท่ดี ี เพื่อกระจายงานน้ันๆ ไปยัง หน่วยงาน องค์กรต่างๆ ได้
อย่างรวดเร็ว
๘) โครงการประชุมพระสังฆาธิการระดับวัด คณ ะสงฆ์จังหวัดเชียงรายกำ หนด
ประชุมพระสังฆาธิการระดับวัดประกอบด้วยเจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสหัวหน้าที่พกั
สงฆ์ และเลขานกุ ารเจ้าคณะตำบล เพื่อทบทวนนโยบายคณะสงฆ์ และขบั เคลอื่ นโครงการฯ “หมู่บ้าน
รกั ษาศีล ๕” แบง่ ออกเป็น๕ ครั้ง ๆ ละ ๑ วัน
๙) สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย ในฐานหน่วยงานหลัก จึงได้
ดำเนินการออกหน่วยบรกิ ารจังหวัดเคลือ่ นท่ี ร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เพื่อประชาสัมพันธ์
โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ โดยการจัดนิทรรศการ “ศีล ๕” การรณรงค์การรับสมัครผู้เข้าร่วม
โครงการฯ และการแจกหนงั สือธรรมะ แผ่นซีดี แผน่ พับ เป็นต้น
๑๑๑
การดำเนินโครงการเพื่อขับเคลื่อนโครงการฯ ระยะที่ ๒ การขับเคลื่อนโครงการฯ
มุ่งเน้นไปที่การประชาสัมพันธ์เชิญชวนพุทธศาสนิกชนสมัครเข้าโครงการฯ โดยมีเป้าหมายให้ทุก
หมบู่ า้ นสมัครเขา้ ร่วมโครงการฯ และมยี อดผ้สู มคั รไมน่ อ้ ย กวา่ รอ้ ยละ ๕๐๕๖ ดังน้ี
๑) การประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการสรา้ งความปรองดองสมานฉันทโ์ ดยใช้
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” (ระยะที่ ๒) ระดับจังหวัด ณ ห้องประชุม
สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เป็นประธานการ
ประชุม
๒) การแต่งตั้งและมอบหมายข้าราชการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย
เปน็ ผู้ประสานงานประจำอำเภอทุกอำเภอ ในจงั หวัดเชยี งราย รวม ๑๘ อำเภอโดยให้มีบทบาทหน้าท่ี
ในการดำเนินงานโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
“หมู่บ้านรักษา ศลี ๕” จังหวัดเชยี งราย ดังนี้
(๑) ดำเนินงานด้านธรุ การ
(๒) จดั ประชมุ เสวนา สรา้ งความเขา้ ใจในพน้ื ทอี่ ำเภอทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
(๓) ประสานงานกับคณะสงฆ์อำเภอและนายอำเภอ เพื่อดำเนินงานการขับเคลื่อน
โครงการฯ ระยะที่ ๒ ให้เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยและบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์
(๔ ) รวบรวมใบสมัคร บัน ทึกข้อมูล นำ ส่งใบสมัครให้สำ นักงานพระพุทธศาสนา
จังหวดั เชียงราย ๕๗
๓) การขับเคล่อื นโครงการฯ ระยะท่ี ๒ ทุกอำเภอในจังหวดั เชียงราย รวม๓๒ อำเภอ
สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย โดยผูป้ ระสานงานประจำอำเภอทุกอำเภอขอความร่วมมือ
ไปยังเจ้าคณะอำเภอและนายอำเภอทกุ อำเภอ จดั ประชมุ เครอื ข่ายระดับอำเภอประกอบดว้ ย เจ้าคณะ
อำเภอ พระวิทยากรแกนนำระดับอำเภอ นายอำเภอ เกษตรอำเภอสาธารณสุขอำเภอ พัฒนาการ
อำเภอ วัฒนธรรมอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สถานศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล ผู้แทน
จากสำนกั งานพระพุทธศาสนาจงั หวัดเชียงราย เพื่อรณรงค์ให้พุทธศาสนิกชนสมัครเข้าร่วมโครงการฯ
อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ ๕๐ ของจำนวนประชากรทงั้ หมดในจังหวดั เชียงราย
๔) การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินและติดตามโครงการหมูบ่ ้านรักษาศีล ๕
จังหวัดเชียงราย คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินและติดตามโครงการ
๕๖ สมั ภาษณ์ นายพสิ นั ต์ จนั ทร์ศลิ ป,์ วัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งราย, ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๕๗ สมั ภาษณ์ นางอทติ าธร วนั ไชยธนวงศ์, นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั เชียงราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕.
๑๑๒
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ โดย รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย เป็นประธาน และ ผู้อำนวยการสำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย เป็นกรรมการและเลขานุการเพื่อทำหน้าที่ทำ ความเข้าใจ ชี้แนะ
แก้ไขปัญหา และเร่งให้มีการรับสมัครสมาชิกโครงการ“หมู่บ้านรกั ษาศีล ๕” ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ
โดยให้รายงานผลให้จังหวัดทราบ ๕๘
๕) โครงการตรวจการคณะสงฆ์ เยี่ยมเยียนวัด และประชาชน และการติดตาม
โครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ของคณะสงฆ์ ส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด
เชยี งราย ประจำปี ๒๕๕๘ คณะสงฆจ์ ังหวัดเชียงราย นำโดย เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย กำหนดดำเนิน
โครงการตรวจการคณะสงฆ์ เยี่ยมเยียนวัด และประชาชน และการติดตามโครงการ “หมู่บ้านรักษา
ศีล ๕” ของคณะสงฆ์ ส่วนราชการ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย ประจำปี ๒๕๕๘
โดยลงพื้นที่ทุกอำเภอร่วมกับคณะกรรมการตรวจประเมินและติดตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕
จงั หวดั เชียงราย สำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย สำนกั งานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรายและ
สำนกั งาน ป.ป.ช.ประจำจังหวัดเชยี งราย เพื่อติดตามรณรงคป์ ระชาสมั พันธ์โครงการ “หมู่บา้ นรักษาศลี ๕”๕๙
๖) การตรวจเยี่ยมวัดและประชุมสงฆ์คณะธรรมยุตจังหวัดเชียงราย ประจำ
พรรษากาล ๒๕๕๘ คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย นำโดยพระเทพรัตนดิลก เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย(ธ)
กำหนดออกตรวจเยี่ยมวัด และประชุมสงฆ์คณะธรรมยุตจังหวัดเชียงราย ประจำพรรษากาล ๒๕๕๘
โดยลงพนื้ ที่ ๙ อำเภอ (ทกุ เขตการปกครองคณะสงฆ์คณะธรรมยุตจังหวัดเชียงราย) ร่วมกับสำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย เพื่อปรึกษาหารือภาระกิจงานของคณะสงฆ์และติดตามโครงการ
“หมู่บา้ นรกั ษาศลี ๕” ๖๐
๗) คณะสงฆ์อำเภอเมืองเชียงราย ร่วมกับอำเภอเมืองเชียงราย เทศบาลเชียงราย
สำนักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวัดเชียงราย วฒั นธรรมอำเภอเมืองเชียงราย ได้จัดโครงการเผยแผธ่ รรม
ของพระธรรมทูตอำเภอเมืองเชยี งราย เฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เพื่อสร้างความ
ปรองดองสมานฉันทโ์ ดยใชห้ ลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา “หมูบ่ ้านรกั ษาศลี ๕” มศี ลี มสี ขุ ปรองดอง
สมานฉนั ท์ ประจำปี ๒๕๕๘ นำโดย เจา้ คณะอำเภอเมอื ง ในเขตอำเภอเมอื ง เพ่ือเผยแผห่ ลักธรรมทาง
พระพทุ ธศาสนาและรณรงค์ ประชาสัมพนั ธ์ เชิญชวนการสมคั รเข้าร่วมโครงการ “หมบู่ า้ นรกั ษาศีล ๕”๖๑
๒๕๖๕. ๕๘ สัมภาษณ์ นายพิสนั ต์ จนั ทร์ศลิ ป,์ วัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งราย, ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๕๙ สัมภาษณ์ นายเกยี รตยิ ศ เลิศณวรรธน,์ ปลดั องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม
๖๐ สัมภาษณ์ พระพุทธวิ งศ์ววิ ัฒน์ ท่ปี รกึ ษาเจา้ คณะจังหวัดเชยี งราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๖๑ สมั ภาษณ์ พระอธกิ ารเกียรติดรุ งค์ ปภงฺกโร, เจา้ อาวาสวัดป่าแฝ, ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๑๓
๘) มีประชุมเตรียมการต้อนรับคณะกรรมการติดตามประเมินโครงการ“หมู่บ้าน
รกั ษาศีล ๕” คณะสงฆจ์ ังหวัดเชยี งรายและสำนกั งานพระพุทธศาสนาจงั หวดั เชียงราย กำหนดประชุม
เตรียมการต้อนรับคณะกรรมการติดตามประเมินโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ในวันที่ ๒๓
สิงหาคม ๒๕๕๘ ณ หอประชุมสงฆ์จังหวัดเชียงราย วัดพระแก้ว พระอารามหลวง ตำบลเวียง อำเภอ
เมือง จงั หวดั เชยี งราย มรี ายละเอียดดงั น้ี
(๑) รายงานผลการรับสมัครสมาชิกโครงการ “หม่บู ้านรกั ษาศลี ๕” ของทุก
อำเภอ ในจงั หวดั เชียงราย
(๒) กำหนดแนวทาง/รณรงค์การขับเคลื่อนโครงการฯ ให้ได้ผลตาม
เป้าหมาย
(๓) กำหนดให้อำเภอ สำรวจรายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมโครงการฯ แยกเป็นราย
อำเภอ/ตำบล/หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ทมี่ ียอดสมคั รรอ้ ยละ ๕๐ ขนึ้ ไป เพือ่ เสนอช่อื ขอรับป้ายและโล่
(๔) มอบหมายภารกิจให้กับคณะสงฆ์อำเภอ หน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือ
เตรียมการต้อนรบั คณะกรรมการตดิ ตามประเมนิ โครงการฯ
๙) ประชมุ การดำเนินโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใชห้ ลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ระยะที่ ๒ ระดับจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงรายจดั ประชุม
การดำเนินโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้าน
รักษาศีล ๕” ระยะที่ ๒ ระดับจังหวัดเชียงราย ณ ห้องประชุมสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
เชียงราย โดยมีนายวินัย วิทยานุกูล รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เป็นประธานการประชุม และ
หัวหนา้ สว่ นราชการ ผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย เขต ๑-๗
และผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๑ เพื่อขอความร่วมมือจากส่วน
ราชการ สถานศึกษาหน่วยงานภาครัฐและเอกชน รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่
ทหาร ตำรวจประชาชนนกั เรยี น นกั ศึกษา สมัครเขา้ รว่ มโครงการฯ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายรอ้ ยละ ๕๐ ๖๒
๑๐) การสรรหา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ต้นแบบ ระยะที่ ๑ จังหวัดเชียงรายร่วมกบั
คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย และสำนักงานพุทธศาสนา จังหวัดเชียงราย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
เชียงราย โดยมีคณะกรรมการดำเนนิ โครงการฯ ของจังหวัดเชียงรายโดยการประสานความร่วมมือกับ
๖๒ สมั ภาษณ์ นางอทติ าธร วันไชยธนวงศ,์ นายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัดเชยี งราย, ๑๐ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕.
๑๑๔
นายอำเภอและเจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอ ของจังหวัดเชียงรายดำเนินการสรรหา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕”
ต้นแบบ๖๓
๑) ได้หม่บู า้ นรักษาศลี ๕ ตน้ แบบ
๒) ไดห้ น่วยงานรักษาศีล ๕ ต้นแบบ
๓) ไดโ้ รงเรียน (ระดบั ประถม)รกั ษาศีล ๕ ตน้ แบบ
๑๑) การสรรหา “หมบู่ า้ นรกั ษาศลี ๕” ดีเดน่ ระยะท่ี ๓ (ปี ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐)จังหวัด
เชียงราย ร่วมกับคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย และสำนักงานพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย สำนักงาน
วฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย โดยการประสานความรว่ มมือกบั นายอำเภอและเจา้ คณะอำเภอทุกอำเภอ
ของจังหวัดเชียงราย คัดเลือกหมู่บ้านรักษาศีล ๕ สถานศึกษารักษาศีล ๕ และหน่วยงานรักษาศีล ๕
ต้นแบบ ที่มีผลการดำเนินงานตามนโยบายสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕” ดเี ด่น ระยะที่ ๓๖๔
สรุปได้ว่า จากการทำงานของเครือข่ายหมู่บ้านศีล ๕ ตั้งแต่เริ่มโครงการหมู่บ้าน
รกั ษาศลี ๕ไดอ้ าศยั การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการ การติดตามการทำงาน ประสานงาน การสรรหาหม่บู ้าน
รักษาศีล ๕ ต้นแบบ ติดตามประเมินผล คณะกรรมการเครือข่ายทุกระดับ มีการติดต่อประสานงาน
ประชุมปรึกษาหารือกัน ภายใต้อำนาจหน้าที่ตามระเบยี บ คำสั่ง จึงกล่าวได้ว่า เป็นสัมพันธ์เครือข่าย
เชิงอำนาจและหน้าที่ ดำเนินการร่วมกันขับเคลื่อนให้ประชาชนนำหลักการศีล ๕ มาประยุกต์กับ
ดำรงชีวติ ซ่ึงคณะสงฆจ์ ังหวัดเชยี งราย สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชยี งราย มหี น้าทร่ี ว่ มกบั ฝ่าย
ปกครอง ในการประสาน หม่บู ้าน/ชมุ ชน เขา้ ร่วมกจิ กรรมรักษาศีล ๕ กับคณะสงฆ์ เปน็ เครือข่ายการ
ทำงานบูรณาการภารกิจที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยง ในการทำงานร่วมกัน ตามหน้าที่รับมอบหมาย
เช่น เป็นคณะกรรมการดำเนินโครงการ การจัดประชุม การจัดเวทีเสวนา การติดตามวัดประเมินผล
ภายใต้ประกาศแตง่ ต้งั คณะกรรมการโครงการหมู่บา้ นรักษาศีล ๕
๔.๓.๒ ความสมั พันธ์เชิงพน้ื ที่
การดำเนินการเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เป็นการดำเนินการตามสภาพการ
ปกครอง ๑๘ อำเภอ มีคณะสงฆ์จงั หวัดเชียงราย สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาจังหวัดเชียงราย หมู่บ้าน/
ชุมชน เครือข่ายเชิงพื้นที่ เป็นเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ในจังหวัดเชียงราย ที่ครอบคลุม ๑๘
๖๓ สัมภาษณ์ นางเกลียวพรรณ์ ขำโนนงวิ้ , ผอู้ ำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั เชียงราย,
๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๖๔ สัมภาษณ์ นายเกยี รตยิ ศ เลิศณวรรธน์, ปลดั องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม
๒๕๖๕.
๑๑๕
อำเภอ ที่สมัครเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ อาศัยพื้นที่ติดต่อประสานงานสะดวก เพื่อทำ
กิจกรรมส่งเสริมการรักษาศีล ๕ โดยอาศัยสภาพสถานทีต่ ั้งของหมูบ่ ้านรักษาศีล ๕ ในการปฏิบัติงาน
ร่วมกัน ส่งเสริมให้เกิดการขับเคลื่อนตามแนวทางการดำ เนินการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีการร่วมมือ
จากคณะสงฆจ์ ังหวัดเชียงราย สำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั เชียงราย หมู่บา้ น/ชมุ ชน องค์กรภาคี
เครือข่ายพันธมิตรอื่นๆ โครงสร้างความสมั พันธ์ขององค์กร ชุมชน และเครือข่ายเชิงพื้นที่นั้น มีความ
สะดวกในการจัดทำโครงการหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ ร่วมกัน โดยมีกระบวนการทำงานแนวดิ่ง มีการรวม
ศนู ย์กิจกรรมหม่บู า้ นรกั ษาศลี ๕ เขา้ สศู่ นู ย์กลาง คอื สำนกั งานเจา้ คณะอำเภอ และมีศูนย์ประสานงาน
ย่อยในพื้นที่คือ สำนักงานเจ้าคณะตำบล และวัด เพื่อให้เกิดการสื่อสารกิจกรรมหมู่บ้านรักษาศีล ๕
ร่วมกนั ๖๕
การดำเนินงานโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ที่ผ่านมานั้นพบว่า คณะสงฆ์จังหวัด
เชียงราย โดยเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย และผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ร่วมกับ รองผู้ว่าราชการ
จังหวัดเชียงราย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย นายกเทศมนตรีเชียงราย พร้อมด้วย
ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย ตลอดถึงภาคีเครือข่าย และหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ได้ร่วมกันดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริม
สนับสนุนและสร้างความตระหนักให้พุทธศาสนิกชนนำหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา การ
ปฏิบัติตามหลักศีล ๕ สู่ชีวิตประจำวัน เพื่อขยายผลของการรักษาศีล ๕ จากระดับบุคคลและ
ครอบครัวสู่ชุมชนระดับหมู่บ้านโดยความร่วมมือของบ้าน วัด โรงเรียน และส่วนราชการ เพื่อให้เกิด
กระแสแห่งการรณรงค์ชักชวนกัน สร้างความดีในสังคมอันจะนำมาซึ่งความสงบร่มเย็นของ
ประเทศชาติสบื ไป๖๖
เครือข่ายเชิงพื้นที่ ของหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดเชียงราย เป็นพื้นที่เป้าหมายใน
การดำเนินโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้าน
รักษาศีล ๕” พร้อมกันครอบคลุม ๓๒ อำเภอ ผลการดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ทำให้เกิด
เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ในจังหวัดเชียงราย เป็นการประสานความร่วมมือ ความสัมพันธ์การ
ดำเนนิ กิจกรรมรว่ มกันของหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง สถานศึกษา หมบู่ ้าน ประกอบด้วย คณะสงฆ์จังหวัด
เชียงราย สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย หมู่บ้าน/ชุมชน แนวทางการปฏิบัติงานภายใต้
๖๕ สมั ภาษณ์ นางอทติ าธร วนั ไชยธนวงศ์, นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดเชียงราย, ๑๐ กมุ ภาพันธ์
๒๕๖๕.
๖๖ สัมภาษณ์ นางเกลยี วพรรณ์ ขำโนนงิว้ , ผอู้ ำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั เชียงราย,
๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๑๖
โครงหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ร่วมกันเป็นภารกิจที่สำคัญของการรวมตัวกันเป็นเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศลี
๕ มีความสมั พนั ธก์ ับงาน และสมั พันธภาพระหว่างกนั ซงึ่ งาน/ภารกิจ และความเป็นภาคตี อ่ กันนน้ั ๖๗
เครือข่ายการทำ งานโครงหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดเชียงราย มีการประสานงาน
ทำความร่วมมอื แลกเปลี่ยน การติดตามและประเมินผลโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดย
ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” จังหวัดเชียงราย ในพื้นที่ทำงาน เครือข่าย
คณะกรรมการทำโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ต้องการงานด้านปริมาณ และคุณภาพ ต้องอาศัยคน
ประชาชนหน่วยงานภาครัฐสนับสนุนช่วยเหลือ สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย ในฐานะ
ผู้ดำเนินการโครงการ ได้รายงานจำนวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ และจังหวัด
เชยี งราย กำหนดดำเนนิ โครงการสร้างความปรองดองสมานฉนั ท์โดยใชห้ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
“หมู่บ้านรักษาศีล ๕” โดยกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการ ๓,๗๔๓ หมู่บ้าน จากการ
ดำเนินงานจังหวัดเชียงราย ๖๘
การขับเคลื่อนเครือข่ายและการติดประสานงานดำเนินการโดย เจ้าคณะอำเภอท้ัง
๑๘ อำเภอ ได้ร่วมมือกับนายอำเภอทั้ง ๑๘ อำเภอ โดยมีเจ้าหน้าทีส่ ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั
เชียงราย เป็นผู้ประสานงานระหว่างเครือข่ายในแต่ละอำเภอ อีกทั้งมีเครือข่ายระดับอำเภอ
ประกอบด้วย วัฒนธรรมอำเภอ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเป็นผู้ร่วม
ประสานงานร่วมดำเนินงาน ภายใต้ขอบเขตพื้นที่รับผิดชอบของแต่ละส่วนงานซึ่งสำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวดั เชียงราย เป็นผู้กำหนดพืน้ ที่รบั ผิดชอบ และประสานงานเครอื ข่าย เช่น พื้นที่
อำเภอเมืองเชียงราย มีเจ้าหน้าที่สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย เป็นผู้ประสานงาน
เครือข่าย หมู่บ้านเครือรักษาศีล ๕ ต้นแบบ ๑๒ หมู่บ้าน หน่วยงานเครือข่ายรักษาศีล ๕ ต้นแบบ ๑
หน่วย สถานศึกษาเครือข่ายรักษาศีล ๕ ๒ โรงเรียน เป็นต้น โดยแบ่งเขตรับผิดชอบในการติดต่อ
ประสานงาน ตามพ้ืนที่ปกครอง๖๙
สรุปได้วา่ การดำเนนิ การเครือข่ายหมู่บา้ นรกั ษาศลี ๕ เป็นการดำเนินการตามสภาพ
การปกครอง ๑๘ อำเภอ มีคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย
หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นจัดตั้งเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ในเชิงพื้นที่การปกครอง จำนวน ๑๘ อำเภอ
ดำเนนิ การแบ่งเขตรบั ผิดชอบ ตามเขตพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบ มีความสมั พันธ์ เชื่อมโยง ในการทำงานร่วมกัน
ตามพืน้ ทท่ี ่ีกำหนด เช่น กำหนดให้ทกุ อำเภอ ทุกตำบล ทกุ หมู่บา้ น ไดจ้ ัดทำโครงการหมู่บ้านรักษาศีล
๖๗ สมั ภาษณ์ พระครูวิสุทธธิ รรมภาณี, เจ้าคณะอำเภอแมส่ าย, ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๖๘ สัมภาษณ์ พระอธิการเกยี รติดรุ งค์ ปภงกฺ โร, เจ้าอาวาสวัดป่าแฝ, ๙ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๖๙ สมั ภาษณ์ พระอธิการประเสริฐ วรธมฺโม, เจา้ อาวาสวดั หนองออ้ , ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๑๑๗
๕ การคัดเลือกหมู่บ้าน หน่วยงาน สถานศึกษา ภายใต้การปฏิบัติตามแนวทางการดำเนินโครงการ
หมู่บ้านรักษาศีล ๕ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการประพฤติตามหลักศีล ๕ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเผยแผ่ธรรมของหน่วยอบรมประชาชนประจำ
ตำบล
๔.๓.๓ ความสัมพันธเ์ ชงิ ประเด็น
ความสัมพันธ์เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เชิงประเด็น เป็นการดำเนินการร่วมกัน
และประสานติดต่อทำกิจกรรมร่วมกันภายใต้ประเด็นที่ คณะสงฆ์จังหวัดเชียงรายสำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย หมู่บ้าน/ชุมชน เครือข่าย ได้กำหนดประเด็นร่วมกัน ในการดำเนิน
โครงการหมู่บ้านรักษาศลี ๕ ไดแ้ ก่ กิจกรรมสง่ เสริมการพัฒนาชีวติ ตามหลักศีล ๕กิจกรรมตามวิถีชาว
พุทธ และกิจกรรมส่งเสริมงานของหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต.) เชื่อมโยงหมู่บ้าน
รกั ษาศลี ๕
กิจกรรมสง่ เสรมิ การพัฒนาชีวติ ตามหลกั ศลี ๕
กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ คือ กิจกรรมที่ได้จัดเพื่อส่งเสริมให้
เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ได้ทำงานร่วมกัน ประสานแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ประสบการณ์ในการ
ปฏิบัติตน ตามหลักศีล ๕ เชื่อมโยงในแต่ละข้อเพื่อเป็นหลักประกันอันเกิดก่อให้เกิดความสงบความ
รม่ เย็นเป็นสขุ ความปรองดองสมานฉันท์ และความปลอดภยั ในดา้ นตา่ งๆ ดังทก่ี ล่าวว่า
“ ศีลข้อที่ ๑ เปน็ หลกั ประกนั ชีวิต
ศลี ข้อท่ี ๒ เป็นหลกั ประกนั ทรัพยส์ นิ
ศลี ข้อท่ี ๓ เป็นหลักประกนั ครอบครวั
ศีลข้อท่ี ๔ เป็นหลกั ประกนั สงั คม
ศีลข้อท่ี ๕ เป็นหลกั ประกนั สุขภาพ”
มีการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ ตามหลกั ศลี ๕ ไดแ้ ก่๗๐
๑) การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาชีวิตตามหลักศีลข้อที่ ๑ เช่น กิจกรรมคุ้มครอง
สิทธิเด็กและสตรี เกิดจากการทารุณกรรม ทำร้าย ข่มขืน ฆ่าฟัน กิจกรรมปล่อยนกปล่อยปลาไถ่ชีวิต
โคกระบือ ติดตั้งเขตอภัยทาน กิจกรรมรณรงค์คณุ ธรรม ๔ ประการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
กจิ กรรมรณรงค์ค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ของ คสช. กิจกรรมการกำหนดพ้ืนที่เป็นเขตอภัยทาน เป็น
ตน้
๗๐ สมั ภาษณ์ พระครสู วุ ชิ านสตุ สนุ ทร, เจา้ อาวาสวดั บ้านจ้อง, ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๑๘
๒) กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักศีลข้อที่ ๒ เช่น ๑)กิจกรรม
การติดตั้งตำรวจบ้านดูแลทรัพย์สินและป้องกันโจรภัย ๒) กิจกรรมการจัดตั้งกองทุนหมู่บ้าน ๒)
กิจกรรมอบรมการเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายบัญชีครอบครัว ๓) กิจกรรมสวัสดิการชุมชนฌาปนกิจ
สงเคราะห์ การสหกรณ์กองทนุ สจั จะออมทรพั ย์กจิ กรรมยกย่องสรรเสริญคนดี
๓) การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาชีวิตตามหลักศีลข้อที่ ๓ เช่น กิจกรรมครู
คุ้มครองสถาบันครอบครัว กิจกรรมการอบรมเยาวชนวัยเจริญพันธุ์ กิจกรรมสุขอนามัยของเยาวชน
ชุมชน กิจกรรมใหค้ วามรเู้ รื่องเอดส์ กจิ กรรมปฏบิ ตั ติ ามห้วงเวลา
๔) จัดกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาชีวิตตามหลักศีลข้อ ๔ เช่น กิจกรรมการอบรม
เรื่องเคารพต่อระเบียบของชุมชนเช่นกฎจราจร กิจกรรมปฏิบัติตนเป็นคนดีของสังคมกิจกรรมรักษา
มารยาทในที่ชุมชนเช่นการพูดการบรรยายเป็นต้น กิจกรรมปฏิบัติธรรมตามห้วงเวลากิจกรรมอบรม
สนับสนุนส่งเสริมประกวดแข่งขันทักษะการพูดเช่นการกล่าวสุนทรพจน์การอภิปรายการโต้วาที
การยอวาทีการบรรยายการไป คาถาการสวดมนต์ทำนองสรภัญญะ การร้องเพลงพม่า การร้องเพลง
ปลกุ ใจรกั ชาตศิ าสนาและพระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ต้น
๕) การจดั กจิ กรรมส่งเสริมการพัฒนาชีวติ ตามหลกั ศีลข้อที่ ๕ กิจกรรมการเดินว่ิง
ปั่นจักรยานเฉลิมพระเกียรติ กิจกรรมลดละเลิกอบายมุข ยาเสพติด กิจกรรมการอบรมการเงินลงต่อ
สิง่ เสพติดให้โทษ จดั กจิ กรรมตงั้ กลุ่มออกกำลงั กายและการแข่งขันกีฬาพืน้ บา้ นและกีฬาประเภทต่างๆ
กิจกรรมงดเหลา้ เขา้ พรรษา กิจกรรมเลิกบหุ รเี่ พอื่ ภรรยาเลกิ สรุ าเพอื่ ลกู รกั
กจิ กรรมท่เี ปน็ จดุ เน้นในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตจนเป็นต้นแบบ เชือ่ มโยมเครือข่ายท่ี
สนใจประเด็นเดียวกัน มีการจัดกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนในกลุ่มข้อมูลระหว่างสมาชกิ ทุก ๑ เดือน
ณ วดั พายัพ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ เพื่อสร้างหลักประกันให้
บังเกิดความสงบสุข และความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตยิ่งขึ้นนั้น หากทุกภาคส่วนได้มีการร่วมทำ
กิจกรรม และการมีส่วนร่วมด้วยกันก็จะยิ่งทำให้การพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ ประสบผลสำเร็จมาก
ยิ่งขึ้น หมู่บ้านที่จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยใช้หลักการศีล ๕ มาพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
สมาชิกในชุมชน ดังเช่น เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ต้นแบบ จังหวัดเชียงราย ได้มาเป็นตัวอย่าง
จำนวน ๕ หมบู่ า้ น ดังนี้
(๑) วดั นำ้ จำ อำเภอแม่สาย จงั หวัดเชยี งราย ประเดน็ เช่ือมโยงเครอื ข่ายในชุมชน จัด
กิจกรรมการปฏิบัติธรรมทุกวันอาทิตย์ มีสมาชิกเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐโรงเรียน องค์การบริหาร
ส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มาร่วมกิจกรรม และเป็นกลไกสำคัญในการประสาน
๑๑๙
เครือข่ายในชุมชนและนอกชุมชน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักศีล ๕ โดยเฉพาะกลุ่ม
ผสู้ ูงอายุ๗๑
(๒) วัดบ้านจ้อง อำเภอแม่สาย จังหวดั เชยี งราย ประเดน็ เช่ือมโยงเครือข่ายในชุมชน
ด้านการ ประยกุ ตใ์ ช้ในการประกอบกิจกรรมซ้ือขายและจำหนา่ ยผลิตภัณฑ์ด้วยความซื่อสตั ย์สุจริตต่อ
ผบู้ รโิ ภค โดยพ้ืนท่ีวดั นำ้ จำ เปน็ ศนู ย์รวมในการเรยี นรปู้ ระยกุ ต์หลกั ศลี ๕ ร่วมกัน๗๒
(๓) วัดป่ายาง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ประเด็นเชื่อมโยงเครือข่ายในชุมชน
ดา้ นพลังสามคั คขี องชาวบ้าน โดยมวี งั วัดโป่ง เปน็ ศนู ยร์ วมและเปน็ ศูนยก์ ลางในการจดั กิจกรรม ซึ่งยึด
หลัก “บวร” (บ้าน วัด โรงเรียน) และหลักศีล ๕ เข้ามาใช้ ทำให้ชุมชนเกิดความรัก ความสามัคคี
ความร่วมมือ ความเข้าใจและหวังดีต่อกัน ส่งผลให้สังคมมีความมั่นคง เกิดความสงบสุข อย่างยั่งยืน
และไม่มคี ดีความใด ๆ เกิดขึ้นในหมู่บา้ น๗๓
(๔) วดั หนองอ้อ อำเภอแม่สาย จงั หวดั เชียงราย ประเด็นเช่อื มโยงเครอื ขา่ ยในชุมชน
มีความรัก ความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีศีลธรรม เอาใจใส่ช่วยเหลือ
สังคมและส่วนรวม ทำให้สังคมมีความสงบเรยี บรอ้ ย ไม่มีปัญหาใด ๆ และไม่มีคดีความเกดิ ขึ้นภายใน
หมู่บ้านแตอ่ ย่างใด๗๔
(๕) วัดป่าแฝ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเด็นเชื่อมโยงเครือข่ายในชุมชน
เป็นหมู่บ้านที่ประยุกต์ใช้หลักศีล ๕ เป็นเหตุให้ชาวบ้านมีความสมัครสมานสามัคคีกัน ถ้อยทีถ้อย
อาศัยกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ช่วยกันปฏิบัติงานภายในหมู่บ้าน วัด และโรงเรียน โดยมีวัดเป็น
ศูนยก์ ลางในการเชอ่ื มโยงกิจกรรมตา่ ง ๆ๗๕
ประเด็นการจัดกิจกรรมตามวถิ ชี าวพทุ ธ
พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทยเนื่องจากชาวไทยนับถือ
พระพุทธศาสนามาช้านาน จนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาได้หล่อหลอมซึมซับลงในวิถีไทย
กลายเป็นรากฐานชีวิตของคนไทยในทุกด้าน ทั้งด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ภาษา ขนบธรรมเนียม
ประเพณีวัฒนธรรมไทย และศีลธรรม ตลอดจนมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัด
๗๑ สัมภาษณ์ พระอธกิ ารประเสริฐ วรธมฺโม, เจา้ อาวาสวดั หนองอ้อ, ๑๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๗๒ สัมภาษณ์ พระครูสวุ ิชานสุตสุนทร, เจา้ อาวาสวดั บ้านจอ้ ง, ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๗๓ สมั ภาษณ์ พระครปู ระภาสพนารกั ษ์, เจ้าอาวาสวดั ปา่ ยาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๗๔ สมั ภาษณ์ พระอธิการประเสริฐ วรธมโฺ ม, เจ้าอาวาสวดั หนองออ้ , ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๗๕ สัมภาษณ์ พระอธิการเกยี รตดิ รุ งค์ ปภงฺกโร, เจ้าอาวาสวัดปา่ แฝ, ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๒๐
กิจกรรมตามวิถีชาวพุทธ จึงเป็นกิจกรรมเชือ่ มความสัมพันธ์ เพือ่ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของสมาชิกใน
ชุมชน ไดแ้ ก่๗๖
๑) กิจกรรมวันสำคัญ ทางพระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วัน วิสาขบูชาวัน
อาสาฬหบูชา วันเขา้ พรรษาวันออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ
๒) กิจกรรมตามขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมไทย เช่น วันขึ้นปีใหม่วัน
ตรุษ วนั สงกรานต์ วนั ครอบครัว วันผ้สู งู อายุ วันสารท วนั ลอยกระทง การสวดมนต์ข้ามปี
๓) กิจกรรมเฉลมิ พระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ วันพ่อ
แห่งชาติ วันแม่แห่งชาติ วันพระราชสมภพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารวันพระ
ราชสมภพสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา สยามบรมราชกุมารี วันจกั รี วันฉตั รมงคล วนั ปิยมหาราช
๔) การจัดกิจกรรมส่งเสริม และทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา ได้แก่ การบรรพชา
สามเณรภาคฤดูร้อน การบวชเนกขัมมะ การบรรพชาอุปสมบทเฉลิมพระเกียรติ การอบรมเยาวชน
ภาคฤดูรอ้ น การจดั กจิ กรรมเขา้ คา่ ยพทุ ธบตุ ร
๕) กิจกรรมรณรงค์การลดละเลิกอบายมุขและสิ่งเสพติดให้โทษได้แก่การจัด
นิทรรศการการเผยแพร่การอบรมการเดินรณรงค์มาตรการการป้องกันและปราบปราม๖)การจัด
กิจกรรมทำบุญตักบาตรประจำวันวันธรรมะสวนะทำบุญกลางบ้านได้แก่การเชิญชวนประชาสัมพันธ์
รณรงค์การบนั ทึกสถติ กิ ารเข้าร่วมกิจกรรม
๗) การจัดกิจกรรมส่งเสริมความปรองดองสมานฉันท์ ได้แก่การจัดนิทรรศการการ
เผยแผ่การอบรม การรณรงค์
๘) การจัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ (๑ ) รักชาติศาสน
าพระมหากษัตริย์ (๒) ซื่อสัตย์เสียสละอดทน (๓) กตัญญูต่อพ่อแม่ผู้ปกครองครูบาอาจารย์ (๔) หา
ความรู้หมั่นศึกษาเล่าเรียน (๕) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย (๖) มีศีลธรรมมีน้ำใจและแบ่งปัน (๗)
เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (๘) มีระเบียบวินัยเคารพ
กฎหมายเคารพผู้ใหญ่ (๙) มีสติรู้ตัวรู้คิดรู้ธรรม (๑๐) รู้จักการใช้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง (๑๑)
เข้มแข็งทั้งกายและใจไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ (๑๒) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโย ชน์
ส่วนตน
๙) กิจกรรมวันเสาร์วันอาทิตย์ใกล้ชิดพระพุทธศาสนา ได้แก่การไหว้พระรับศีลการ
ฟงั ธรรมการปฏิบัติธรรมการสวดมนตก์ ารพัฒนาศาสนสถาน
๗๖ สมั ภาษณ์ พระครูอปุ ถัมภว์ รการ, เจา้ คณะอำเภอแมจ่ ัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๒๑
๑๐)การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของ
ท้องถิ่นได้แก่ การอบรมแนะนำชี้แจงทำความเข้าใจให้เห็นความสำคัญในงานศิลปะขนบธรรมเนียม
ประเพณีและวฒั นธรรมของท้องถิ่น การรณรงค์และเชิญชวนใหส้ มาชิกเข้าร่วมกิจกรรม การประกวด
แข่งขันและมอบรางวัลให้แก่สมาชิกที่มีผลการอนุรักษ์ศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
ของท้องถิ่นที่เป็นรูปประธรรมชัดเจนทำการยกย่องและประกาศเกียรติคุณให้ปรากฏชัดและ
กว้างขวางการจัดแสดงและเผยแพร่ศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของท้องถิ่นอย่าง
ตอ่ เนือ่ ง๗๗
๑๑) การจัดกลมุ่ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนของหม่บู า้ น (OTOP)
๑๒) กจิ กรรมสง่ เสรมิ การดำรงชีวติ ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๑๓) กิจกรรมมคั คเุ ทศกท์ างวัฒนธรรมประจำหมู่บ้าน และกจิ กรรมส่งเสรมิ มคั นายกนอ้ ย
๑๔) กจิ กรรมประกวดบ้านครอบครัวดีเด่นประจำหมู่บ้าน
๑๕) กิจกรรมพัฒนาวดั บา้ นโรงเรยี นและสถานทสี่ ำคญั ตามวงรอบ
จากการที่เครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ได้ดำเนินกิจกรรมสอดคล้องกับประเด็น
กิจกรรมตามวถิ ชี าวพทุ ธ ยกตวั อยา่ งเครอื ข่ายหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ ตน้ แบบ จงั หวดั เชยี งราย จำนวน ๕
หมู่บา้ น ได้นำเสนอ ๓ แห่ง ดงั น้ี๗๘
(๑) วัดน้ำจำ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเด็นเชื่อมโยงเครือข่ายในชุมชน
เน้นกิจกรรมปฏบิ ตั ิธรรมในกล่มุ ผสู้ ูงอายุ การเข้ารว่ มปฏบิ ัตธิ รรมในวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา การ
เข้ารว่ มกจิ กรรมปริวาสกรรม ปฏบิ ัตธิ รรมประจำปี๗๙
(๒) วัดบา้ นจอ้ ง อำเภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย ประเดน็ เชือ่ มโยงเครือข่ายในชุมชน
มีการปฏิบัติธรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างต่อเนื่อง วัดเชื่อมโยงกับแกนนำชุมชนและ
คณะสงฆ์ในตำบล เข้าร่วมดำเนินกิจกรรมตามหลักพระพุทธศาสนาเน้นกิจกรรม ประจำวัดแต่มีบ้าง
ครั้งสนับสนุนบคุ ลากรในการแสดงธรรม และนำประชาชนเข้ารว่ มกจิ กรรมของวดั เครอื ข่าย๘๐
๗๗ สมั ภาษณ์ นายพิสันต์ จนั ทร์ศลิ ป,์ วฒั นธรรมจงั หวดั เชียงราย, ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๗๘ สมั ภาษณ์ นางสาวหน่อแก้ว อตุ โน, นกั วิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนกั งานพระพทุ ธศาสนา
จังหวัดเชยี งราย, ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๗๙ สัมภาษณ์ นางเกลยี วพรรณ์ ขำโนนงิว้ , ผอู้ ำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั เชยี งราย, ๒๔
มกราคม ๒๕๖๕.
๘๐ สัมภาษณ์ นางอทติ าธร วันไชยธนวงศ์, นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดเชยี งราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๙.
๑๒๒
(๓) วัดปา่ ยาง อำเภอแม่จัน จงั หวัดเชยี งราย ประเดน็ เชอื่ มโยงเครือข่ายในชมุ ชน ได้
จัดกิจกรรมนำนักเรียนเข้าร่วมปฏิบัติธรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่นวันมาฆบูชา วันวิ
สาขบชู า จัดกิจกรรมสวดมนต์ทกุ วนั ศกุ ร์ จดั สวดมนต์ขา้ มปี๘๑
การขับเคลื่อนของภาคีเครือข่ายโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ดำเนินการได้เป็น
อยา่ งดี ต้องประกอบด้วยคณะทำงานโครงการหม่บู ้านรกั ษา ศีล ๕ หม่บู า้ นป่ายาง หมู่ ๒ ตำบลศรีค้ำ
อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย วัด คณะสงฆ์ ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
กำนันผู้ใหญ่บ้าน ประธานกลุ่มต่างๆ ในชุมชน สถานศึกษา ร่วมทำบันทึกข้อตกลง (MOU) ในการ
ขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ องค์ประกอบอันเป็นเเกนที่หมุนไปด้วยกันคือ บ้าน วัด
โรงเรียน คือ ใช้ศีล ๕ ในการสร้างคุณธรรม เเละส่งเสริมสัมมาชีพเเก่ชุมชนเเละโรงเรียน ผ่านทาง
อปต ซึ่งตัวบุคคลที่จะต้องขับเคลื่อนโครงการ ทั้งหน่วยงานของรัฐ วัด ชุมชน อยู่ในระดับหมู่บ้าน
ระดับตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และให้เป็นนโยบายของชาติที่ทุกคนจะต้อง
ชว่ ยกันด าเนนิ งานชว่ ยการขับเคล่ือนใหเ้ ป็นไปอย่างมรี ะบบแบบแผน
โดยมโี ครงสรา้ งการขบั เคลื่อนโครงการหมู่บา้ นรักษาศลี ๕ ได้แกพ่ ระมหาเถระเป็นที่
ปรึกษาและพระสังฆาธิการชั้นปกครอง เจ้าคณะจังหวัด / รองเจ้าคณะจังหวัดมีความมุ่งมั่นสนอง
นโยบายของโครงการฯ เพื่อดำเนินการและขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรม โดยวัด ส่วนราชการ
สถานศึกษา ชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น หมู่บ้าน องค์กร ภาคเอกชน โดยมีแนวทางการ
ดำเนินงานและ การติดตามประเมินผล ประกอบด้วยหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ วิธีการ
ดำเนินงาน ยุทธศาสตรใ์ นการดำเนินงาน เปา้ หมายโครงการ สถานท่ดี ำเนินการ ระยะเวลาดำเนินการ
งบประมาณ หน่วยงาน/บุคคลที่รับผิดชอบ การรายงานผล เกณฑ์การประเมิน เพื่อการสร้างสุขแห่ง
ประชาชนและสันติสุข ตามวัตถุประสงคข์ องโครงการดำเนนิ การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ เชิญชวน ให้
ประชาชนในจังหวดั เชียงรายสมัครเป็นสมาชิกครอบครัว หมู่บ้าน สถานศกึ ษา และหนว่ ยงานรกั ษาศีล
๕ ครอบคลุมท้งั จงั หวดั เชียงราย ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ประกอบด้วย๘๒
๑. จัดกจิ กรรมบรู ณาการโครงการ โดยเนน้ ศลี ๕ และหลกั ธรรม ๘ หวั ขอ้ คือ
๑) ศีลธรรมและวัฒนธรรม
๒) สขุ ภาพอนามยั
๓) สัมมาชีพ
๘๑ สมั ภาษณ์ นางณชั ชา กนั ทะดง, นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม ๒๕๖๕.
๘๒ สัมภาษณ์ นางอทติ าธร วันไชยธนวงศ,์ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดเชียงราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕.
๑๒๓
๔) สันตสิ ุข
๕) ศกึ ษาสงเคราะห์
๖) สาธารณสงเคราะห์
๗) กตัญญูกตเวทิตาธรรม และ
๘) สามัคคธี รรม
๒. ออกแบบกิจกรรมที่ส่งเสริมความภูมิใจให้แก่บุคคล สถาบัน สถานศึกษา และ
หน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการอย่างตอ่ เนือ่ งและยัง่ ยืน
๓. ประกาศยกยอ่ งครอบครวั /หมู่บา้ นรักษาศีล ๕ สถานศกึ ษารกั ษาศีล ๕ หนว่ ยงาน
รักษาศลี ๕ ฯลฯ
๔. ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาบุคลากรผู้ขับเคลือ่ นโครงการฯ ให้มีความรู้ เพิ่มพูน
ทักษะ มขี วญั กำลังใจ ในการปฏบิ ัตงิ านอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๕. สง่ เสรมิ การจัดสภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถนิ่ ใหเ้ ออื้ ตอ่ การด าเนนิ โครงการฯ
๖. จัดตั้งองคก์ รเครือข่ายอาสาสมัครปกปอ้ งพระพทุ ธศาสนาในทุกหมบู่ ้าน/ชุมชน
ทัง้ น้ี ทงั้ สองฝา่ ยจะประสานความร่วมมือระหว่างกันและจะสนบั สนนุ การดำเนินงาน
ตลอดจนติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามบนั ทึกข้อตกลงใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดเป็นระยะต่อไป
เป็นองค์ประกอบของของโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ โดยมีแนวทางการดำเนินงานและการติดตาม
ประเมินผลประกอบด้วยหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์วิธีการดำเนินงานยุทธศาสตร์ในการ
ดำเนนิ งานเป้าหมายโครงการ สถานทด่ี ำเนนิ การ ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณหนว่ ยงาน/บุคคล
ที่รับผดิ ชอบการรายงานผลเกณฑก์ ารประเมิน ทป่ี ระกอบไปด้วย
๑. มีความพร้อมในการดำเนินงาน โดยเฉพาะหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล
(อปต.) เป็นศนู ยข์ บั เคลื่อนโครงการหมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕
๒. การจัดโครงการธรรมสัญจร และขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อให้
คณะสงฆ์ได้มีหน้าท่ใี นการเป็นผนู้ ำในการเผยแผ่ ไปสปู่ ระชาชนและเยาวชน
๓. โครงการชุมชนุ คุณธรรมพลังบวร โดยใช้ชุมชนเปน็ ฐานในการขับเคล่ือนโครงการ
หมู่บ้านรกั ษาศีล ๕๘๓
๘๓ สมั ภาษณ์ พระครอู ุปถัมภว์ รการ, เจา้ คณะอำเภอแมจ่ ัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๒๔
๔.๓.๔ คณะสงฆ์
หน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล เป็นหน่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนาตัวอย่าง ในระดับ
ตำบลของสังคมไทย ภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม มติมหาเถรสมาคม๘๔ให้ขบั เคล่ือนโครงการ
ความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” เพื่อสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์ และประโยชน์สุขของประชาชน และเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
และให้พุทธศาสนิกชนได้น้อมนำหลักศีล ๕ มาประพฤติปฏิบัติในการดำเนินชีวิต ตามแนวทางของ
หน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล จำนวน ๘ ข้อ โดยมอบให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ร่วมกับคณะสงฆ์ หน่วยงานราชการ สถานศึกษาองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน
กำนันผู้ใหญ่บ้าน และองค์กรเครือข่ายชาวพุทธ ได้ขับเคลื่อนโครงการเพื่อสนบั สนุนนโยบายดังกลา่ ว
โดยกำหนดเป้าหมายครอบคลุมทุกหมู่บ้านทกุ ตำบลทั่วประเทศ พร้อมทั้งตั้งตัวชี้วัดให้เกิดสมั ฤทธิผล
อย่างเป็นรูปธรรมภายใน ๔ ปี (๒๕๕๗-๒๕๖๐) งานหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล
(อ.ป.ต.) มี ๘ หวั ข้อ ดังนี้๘๕
โดยมีหน่วย อ.ป.ต. ซึ่งเป็นหน่วยงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา มีกิจกรรมการบูรณาการ
กิจการคณะสงฆ์และการสร้างเครือข่ายในพื้นท่ี โดยมีกิจกรรมดงั นี้คือ๘๖
๑) ด้านศีลธรรมและวัฒนธรรม การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ศีลธรรมและวัฒนธรรม
ผ่านสื่อต่าง ๆ โครงการลานบุญลานปัญญา โครงการค่ายคุณธรรมสัญจร การประกวดสวดมนต์และ
การบรรยายธรรม จัดกิจกรรมหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อสืบทอดหลักปฏบิ ัตติ นของพระภิกษุ-สามเณร
ในตำบลศรีคำ้ และวัดในตำบลใกลเ้ คยี ง เพอ่ื อนรุ กั ษ์สืบทอดวฒั นธรรมประเพณีอนั ดีงาม เพอื่ เป็นการ
สืบศาสนทายาท ให้การศึกษาพระธรรมวินัย ฝึกอบรมพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ศลี ธรรมแก่เด็ก
เยาวชนและผู้ที่มีความสนใจ ให้ได้รับการปลูกจิตสำนึกที่ถูกต้อง โดยหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา
ให้เป็นคนดีมคี ณุ ภาพ เปน็ การยกระดับคณุ ภาพชีวิต
๒) ด้านสุขภาพอนามัย จัดสถานที่ออกกำลังกายเพื่อชุมชน โรงเรียนรู้สมุนไพร ธนาคาร
ขยะ การพัฒนาทำความสะอาด วัด บ้าน โรงเรียน ร่วมกับชุมชน การส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความ
รอบรู้ด้านสุขภาพ และมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จัดให้วัดทุกวัดในตำบลเป็นแหล่ง
ศกึ ษาพชื สมุนไพรพื้นบ้าน เพ่อื เปน็ แหลง่ อนุรักษ์ ศึกษาเรยี นรแู้ ละนำสมนุ ไพรพื้นบ้านไปใช้ประโยชน์
๘๔ มติมหาเถรสมาคม คร้ังที่ ๒/๒๕๖๔ ว่าดว้ ยเร่อื ง ให้ขับเคลื่อนโครงการความปรองดองสมานฉันท์
โดยใช้หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา “หมบู่ า้ นรักษาศลี ๕”
๘๕ สมั ภาษณ์ พระครูวสิ ทุ ธิธรรมภาณี, เจ้าคณะอำเภอแมส่ าย, ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๘๖ สมั ภาษณ์ พระครูอุปถมั ภว์ รการ, เจา้ คณะอำเภอแมจ่ นั , ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๒๕
โดยจัดสรรพื้นที่ภายในวัดและร่วมกับ อสม. ผู้สูงอายุ ในหมู่บ้านร่วมกันทำกิจกรรม จัดโครงการงด
เหล้าเข้าพรรษา งานบุญปลอดเหล้า งานศพปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่และการพนัน เพื่อเป็นกิจกรรม
การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ในการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก ร่วมกับทุกวัด ทุก โรงเรียนและอ.ส.ม.
ทกุ หมู่บ้านในตำบล๘๗
๓) ด้านสัมมาชีพ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชน อบรมประกอบอาชีพที่สุจริตจัดตั้งกองทุน
ส่งเสริมอาชีพในชุมชน จัดสถานที่ให้ประชาชนมาจำหน่ายสินค้า OTOP อบรมประชาชนเพื่อเป็น
แนวทางประกอบสมั มาชีพในการดำเนินชีวติ “หนึ่งตำบล หนึง่ ผลิตภณั ฑ์” เป็นแนวทางหนงึ่ ท่ีจะสร้าง
ความเข้มแข็ง “แก่ชุมชนให้สามารถยกระดับฐานะความเป็นอยูข่ องคนในชมุ ชนให้ดขี ึ้น โดยการผลิต
หรือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้กลายเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีจุดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของ
ตนเอง สอดคล้องกับวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพให้กลุ่มผู้สูงอายุและ
ประชาชนทว่ั ไป กิจกรรมรวมกลมุ่ ผลิตปากว่าวโคมลอย จกั สานตะกรา้ ไมไ้ ผ่ ทำผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน เพื่อ
สร้างรายได้เสริมและการจัดกิจกรรมกลุ่ม๘๘
๔) ด้านสันติสุข จัดทำข้อคิดคติธรรมสอนใจ จัดทำศูนย์ประสานงานแก้ไขปัญหาข้อยุติ
ข้อร้องเรียนต่างๆ ในชุมชน อำนวยความเป็นธรรมแก่ประชาชนอย่างจริงจัง มีลักษณะการทำงานท่ี
เน้นเชิงรุกมากกว่าเชิงรับ ทำให้ประชาชนรับทราบถึงบทบาทหน้าที่ของศูนย์ดารงธรรมอย่าง
แพร่หลายและสามารถแจ้งขอรับความช่วยเหลือเมื่อประสบปัญหาความเดือดร้อนต่างๆ ได้ทุกเรื่อง
ตลอดเวลา โดยให้องคก์ รภาคเอกชนเข้ามามีส่วนรว่ มและสนบั สนนุ การดาเนนิ งาน โดยมีการวางแผน
งานและเน้นการมี ส่วนร่วมในการผลักดันนโยบายและกิจกรรมต่าง ๆ ของทุกองค์กร เพื่อความมี
สันติสุขในชุมชน จัดกิจกรรมศูนย์เรียนรู้ ชุมชนรูปธรรมในการจัดการปัญหาผลกระทบจากเหล้า -
เบียร์ เพื่อบูรณาการแผนงานและเน้นการมีส่วนร่วมในการผลักดันนโยบายและกิจกรรมต่าง ๆ ของ
ทุกองคก์ ร ในตำบล เพ่อื ความมีสนั ตสิ ขุ ในชุมชน๘๙
๕) ศึกษาสงเคราะห์ จัดตั้งกองทุนและมอบทุนส่งเสริมการศึกษา ส่งเสริมให้มีพระครู
สอนศีลธรรมในโรงเรียน ส่งเสริมให้วัดใช้สถานที่จัดกิจกรรมในชุมชน โรงเรียนสงเคราะห์แก่ชุมชน
การศึกษาสงเคราะห์คือการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่ขาดโอกาสทางการศึกษา จัดตั้งกองทุนเพ่ือ
การศึกษาคณะสงฆ์ตำบลศรีค้ำจัดตั้งศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์จัดกิจกรรมโครงการ
๘๗ สมั ภาษณ์ พระครูอปุ ถมั ภว์ รการ, เจา้ คณะอำเภอแมจ่ ัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๘๘ สัมภาษณ์ พระครูวิสทุ ธธิ รรมภาณี, เจ้าคณะอำเภอแมส่ าย, ๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๘๙ สัมภาษณ์ พระครูประภาสพนารกั ษ์ เจา้ อาวาสวดั ป่ายาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๒๖
บรรพชา อปุ สมบท ภาคฤดูร้อน วันที่ ๑ – ๓๐ เมษายน ของทกุ ปี จัดกิจกรรมโครงการอบรมคุณธรรม
จริยธรรม แก่เยาวชนเพื่อสนับสนุนทุนการศึกษาพระภิกษุ เด็กนักเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัย
เรยี น ทุกโรงเรียนในตำบล จำนวน ๕ แห่ง ปีละ ๒๐ ทุน เพอ่ื สอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สอน
พิเศษวิชาทั่วไป จัดกิจกรรมกลุ่มนักเรียนในวันสำคัญต่างๆ เป็นการฝึกอบรมพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมและศีลธรรมแก่เด็ก เยาวชนและผู้ที่มีความสนใจ ให้ได้รับการปลูกจิตสำนึกที่ถูกต้อง โดย
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ให้เป็นคนดีมีคุณภาพ ตลอดถึงให้เห็นคุณค่า วัฒนธรรมและประเพณี
ทดี่ ีงาม๙๐
๖) สาธารณสงเคราะห์ จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในวัด จัดตั้งกองทุนสงเคราะห์ผู้
ยากไร้ จัดตั้งกองทุนการศึกษา การสาธารณสงเคราะห์ เป็นกิจกรรมที่วัดหรือพระภิกษุสงฆ์ดำเนิน
กิจการเพื่อให้เป็นสาธารณประโยชน์ในด้านสังคมสงเคราะห์ ทั้งการสงเคราะห์บุคคลและสาธารณ
สงเคราะห์ การดำเนินกิจการเพื่อช่วยเหลือเกื้อกูล ได้แก่ การที่วัดหรือคณะสงฆ์ดำเนินกิจการเอง ซ่ึง
กิจการอย่างใดอย่างหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์ให้เป็นสาธารณประโยชน์ การช่วยเหลือเกื้อกูลกิจการของ
ผู้อื่น เพื่อสาธารณประโยชน์ ได้แก่ การช่วยเหลือสนับสนุนส่งเสริมกิจการของรัฐหรือของเอกชน ๔.
การช่วยเหลือเกื้อกูลประชาชนทั่วไป ได้แก่ การช่วยเหลือประชาชนในการที่ควรช่วยเหลือ เช่น การ
จัดตั้ง หน่วยอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัย ช่วยเหลือประชาชน ทั้งด้านไฟไหม้ และน้ำท่วม พร้อม
ทั้งมอบเครื่องอุปโภคบริโภคแก่ผู้ประสบภัย หรือในยามปกติ ก็ตั้งกองทุนอาหารเลี้ยงเด็กำพร้าและ
เดก็ ด้อยโอกาส๙๑
๗) กตัญญูกตเวทิตาธรรม จัดกิจกรรมยกย่องลูกกตัญญู จัดตั้งกลุ่มจิตอาสาจัดกิจกรรม
มุทิตาปราชญ์ชาวบ้านผู้ทรงคุณค่าในท้องถิ่น โดยจัดกิจกรรมกตัญญูกตเวทิตาธรรม ในวันสำคัญ วัน
แม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ ของทุกปี เพื่อส่งเสริมการแสดงความกตัญญูกตเวทิตาธรรมของลกู หลาน
ที่มีต่อผู้เปน็ พ่อ คัดเลือกพ่อดีเด่น จัดปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา ถวายเฉลิมพระเกียรติและเพ่อื
รำลึกถึงคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คุณความดีของผู้สูงวัยภายในตำบล สืบสานประเพณี
วฒั นธรรมล้านนา ใหเ้ ป็นแบบอย่างท่ีดีต่อชนรุ่นหลัง๙๒
๙๐ สัมภาษณ์ พระครอู ปุ ถัมภ์วรการ เจา้ คณะอำเภอแม่จัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๙๑ สัมภาษณ์ นางเกลียวพรรณ์ ขำโนนงว้ิ , ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัดเชียงราย,
๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.
๙๒ สมั ภาษณ์ พระครูอุปถมั ภ์วรการ , เจา้ คณะอำเภอแม่จนั , ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๒๗
๘) สามัคคีธรรม จัดกิจกรรมเสวนาธรรม บวชป่าชุมชน ส่งเสริมการสืบสานประเพณีลง
แขกเกี่ยวข้าว อื่นๆ๙๓ดังจะเห็นได้ว่า พระสงฆ์คือผู้นําทางจิตวิญญาณของชาวบ้าน เพราะพระสงฆ์
ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดําเนินชีวิต คือเป็นผู้สั่งสอนชาวบ้านให้รู้จักผิดชอบชั่วดีโดยไม่
หวังสิ่งตอบแทน คือให้ละความชั่ว ตั้งตนอยู่ในคุณงามความดี และพัฒนาจิตของตนให้สงบสุข
นอกจากนี้พระสงฆ์ยังมีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวบ้านให้มีความเป็นอยู่ที่ดี๘.๑ จัด
กิจกรรมปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา
และทุกวนั พระใน เทศกาลเขา้ พรรษา๙๔
๔.๓.๕ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เปน็ องค์กรทก่ี ำกับดูแลความทุกขส์ ุข พัฒนาชมุ ชนให้เขม้ แข็ง เป็นสว่ นหน่ึงทจ่ี ะขบั เคลื่อน
โครงการรักษาศีล ๕ ได้เป็นอย่างดี ชึ่งในอำนาจหน้าที่หลักคือ ส่งเสริมและสนับสนุนในการจัดทำ
ประสานและบรู ณาการแผนพัฒนาทอ้ งถ่ินและวางระบบในการตดิ ตามและประเมิน ผลการดำเนินงาน
ตามแผนพัฒนาท้องถิ่น และ ดำเนินการจัดทำ แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำ และกำกับดูแลการปฏิบัติงานตามอำนาจ
หน้าที่ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้จัดแบ่งกรอบการให้บริการสาธารณะออกเป็น ๖
ดา้ น ไดแ้ ก๙่ ๕
๑. ด้านโครงสร้างพนื้ ฐาน
๒. ดา้ นงานส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ
๓. ด้านการจัดระเบียบชมุ ชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
๔. ดา้ นการวางแผน การส่งเสรมิ การลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเทย่ี ว
๕. ด้านการบริหารจดั การ และการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม
๖. ด้านศิลปวัฒนธรรม จารตี ประเพณีและภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ
๔.๓.๖ สว่ นราชการ
มีบทบาทสำคัญในภาคประชาชน โดยเฉพาะผู้นำในหนว่ ยงานราชการท่ีจะช่วยขับเคลื่อน
โครงการไดด้ ี เชน่ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ทั้งด้านงบประมาณ และ บุคลากร ในการจดั กจิ กรรมอนุรักษ์
๙๓ สัมภาษณ์ พระครปู ระภาสพนารกั ษ์ เจา้ อาวาสวัดปา่ ยาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๙๔ สมั ภาษณ์ พระครูประภาสพนารกั ษ์ เจา้ อาวาสวดั ปา่ ยาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๙๕ สัมภาษณ์ นางอทิตาธร วนั ไชยธนวงศ,์ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั เชยี งราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕.
๑๒๘
ศิลปะ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยการอบรม แนะนา
และชี้แจงทาความเข้าใจให้เห็นความสาคัญในงานศิลปะขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม
ท้องถิ่นการรณรงค์และเชิญชวนให้สมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมฯ การประกวดแข่งขันและมอบรางวัล
ให้กับสมาชิกที่มีผลอนุรักษ์ศิลปะขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นรูปธรรม
ชัดเจน ทาการยกย่องและประกาศเกียรติคุณให้ปรากฏชัดและกว้างขวาง รวมทั้งจัดการแสดงและ
เผยแพร่ศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมท้องถ่ิน กิจกรรมจัดกลุ่มผลิตภัณฑช์ มุ ชนของ
หมู่บ้าน (OTOP) กิจกรรมส่งเสริมการด ารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกิจกรรม
มัคคุเทศก์ ทางวัฒนธรรมประจาหมู่บ้านและกิจกรรมส่งเสริมมัคนายกน้อย กิจกรรประกวดบ้าน/
ครอบครวั ดเี ด่นประจำหมบู่ า้ น กจิ กรรมพฒั นาวดั บ้าน โรงเรยี น และสถานท่ีสำคญั ตามวงรอบ
๔.๓.๗ ผู้นำทอ้ งถน่ิ เช่น กำนนั ผใู้ หญบ่ า้ น ประธานกลุ่มต่างๆ ในชมุ ชน มีบทบาทสำคัญ
ในชุมชนทจี่ ะขบั เคลื่อนโครงการไปได้โดยมีรายละเอยี ดตามแผนภาพดังนี้๙๖
๙๖ สมั ภาษณ์ พระครูประภาสพนารกั ษ์, เจ้าอาวาสวดั ปา่ ยาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๒๙
แผนภาพท่ี ๔.๔ โครงสร้างองคก์ รชมุ ชน
๑๓๐
โครงการ/กจิ กรรมทหี่ มู่บา้ นดำเนินการ
โครงการหมู่บา้ นแผน่ ดนิ ธรรม แผ่นดินทอง
บา้ นปา่ ยางเป็นหมูบ่ า้ นแผน่ ดินดนิ ธรรม แผน่ ดินทอง เมื่อ ปี ๒๕๓๖๙๗
โครงการหมบู่ า้ นส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย รับรางวัลหมบู่ า้ นประชาธิปไตยตวั อย่าง
กลุ่มออมทรัพย์/กองทนุ หมู่บ้าน/กลุ่มสจั จะสะสมทรัพย์
กองทนุ หมูบ่ ้าน กล่มุ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ
กลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชน กล่มุ ผปู้ ลูกผกั ปลอดสารพิษ
กลุม่ ผู้เลีย้ งโค กระบือ กลุ่มผลิตปุ๋ยหมกั นำ้ ชวี ภาพ
แผนภาพท่ี ๔. ๕ กลมุ่ ต่าง ๆ ของชมุ ชนวดั ป่ายาง
๙๗ สัมภาษณ์ พระครปู ระภาสพนารกั ษ์, เจา้ อาวาสวดั ป่ายาง, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๓๑
การเสริมสรา้ งเครือข่ายในพื้นท่ี๙๘
หนว่ ยงานหลกั ในการพฒั นาหมู่บา้ นจำนวน ๑๐ องค์กร
คณะสงฆ์
ได้แก่ คณะสงฆ์ตำบลศรีค้ำ – คณะสงฆ์อำเภอแม่จนั
หน่วยงานภาครฐั
ไดแ้ ก่ อบต.ศรีค้ำ / รพ.สต.ศรคี ้ำ / พช. / สนง.เกษตร / ธกส.แม่จนั / สหกรณ์
การเกษตรแม่จัน
ภาคเอกชน
ไดแ้ ก่ โรงโมห่ นิ เอส สโตน จำกัด / สสส. - สคล.ภาคเหนอื ตอนบน
สถาบันการศกึ ษา
ได้แก่ โรงเรียนอนบุ าลศรีคำ้ / กศน.แมจ่ ัน
ภาคองคก์ รชุมชน
ไดแ้ ก่ กล่มุ นาแปลงใหญ่บ้านป่ายาง กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
แผนภาพท่ี ๔.๖ การเสริมสรา้ งเครือขา่ ยในพ้นื ท่ี
จะเห็นได้ว่าโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จะสัมฤทธิผลได้ต้องอาศัยการเสริมสร้างเครือข่ายในพื้นท่ี
ประกอบไปด้วย คณะสงฆ์ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ภาคองค์กรชุมชน และที่ขาดไม่ได้คือ
๙๘ สัมภาษณ์ พระครูอปุ ถมั ภ์วรการ, เจ้าคณะอำเภอแมจ่ ัน, ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๓๒
ผู้นำชมุ ชน ประชาชน ที่ได้รว่ มมือกันในการรักษาศีล ๕ ได้อยา่ งสมบูรณ์ จึงทำให้ชุมชนต้องมีผ้ำที่ตั้งตนอยู่ในศีล ๕
มีการสร้างกฎกติกาและมีการเคารพกฎกติกา
(๔) วัดหนองออ้ อำเภอแมส่ าย จงั หวดั เชียงราย ประเดน็ เชอ่ื มโยงเครอื ข่ายในชุมชน
ไดจ้ ดั แห่เทยี นเขา้ พรรษาเปน็ ประจำทุกปี มีเครอื ข่ายประชาชนเขา้ มามีสว่ นรว่ มอยา่ งมากมาย๙๙
(๕) วัดป่าแฝ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเด็นเชื่อมโยงเครือข่ายในชุมชน
การทำกิจกรรมร่วมกันในทางพระพุทธศาสนาของวัดตามวิถีชาวพุทธด้วยความร่วมมือจากบ้าน วัด
โรงเรียน เช่น การพัฒนาวัดให้สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
ภายใต้การสนับสนุนของวัด ชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาร่วมกับโรงเรียน
เป็นตน้ ๑๐๐
กจิ กรรมส่งเสริมงานของหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต)
หน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล เป็นหน่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนาตัวอย่างในระดับ
ตำบลของสังคมไทย ภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม มติมหาเถรสมาคมให้ขับเคลื่อนโครงการ
ความปรองดองสมานฉนั ทโ์ ดยใชห้ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หม่บู ้านรักษาศีล ๕” เพื่อสร้างความ
ปรองดองสมานฉันท์ และประโยชน์สุขของประชาชน และเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและให้
พุทธศาสนิกชนได้น้อมนำหลักศีล ๕ มาประพฤติปฏิบัติในการดำเนินชีวิต ตามแนวทางของหน่วย
อบรมประชาชนประจำตำบล จำนวน ๘ ข้อ โดยมอบให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติร่วมกับ
คณะสงฆ์ หน่วยงานราชการ สถานศึกษาองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน กำนัน
ผู้ใหญ่บ้าน และองค์กรเครือข่ายชาวพุทธ ได้ขับเคลื่อนโครงการเพื่อสนับสนุนนโยบายดังกล่าว โดย
กำหนดเป้าหมายครอบคลมุ ทุกหมู่บ้านทุกตำบลทว่ั ประเทศ พร้อมท้ังต้ังตวั ชีว้ ัดใหเ้ กิดสัมฤทธิผลอย่าง
เป็นรูปธรรมภายใน ๔ ปี (๒๕๕๗-๒๕๖๐) งานหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต.) มี ๘
หัวข้อ ดังน้ี๑๐๑
๑) ด้านศีลธรรมและวัฒนธรรม การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ศีลธรรมและ
วัฒนธรรมผ่านสื่อต่าง ๆ โครงการลานบุญลานปัญญา โครงการค่ายคุณธรรมสัญจร พิธีกร พิธีกรรม
แก่ชาวพุทธ จัดห้องสมุดธรรมะ การประกวดสวดมนต์และการบรรยายธรรม
๒๕๖๕. ๙๙ สมั ภาษณ์ นางอทติ าธร วนั ไชยธนวงศ์, นายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัดเชยี งราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕. ๑๐๐ สมั ภาษณ์ นางอทิตาธร วันไชยธนวงศ,์ นายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัดเชยี งราย, ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์
๒๕๖๕. ๑๐๑ สมั ภาษณ์ นายเกียรตยิ ศ เลศิ ณวรรธน์, ปลดั องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลโปง่ ผา, ๒๘ มกราคม
๑๓๓
๒) ด้านสุขภาพอนามัย จัดสถานที่ออกกำลังกายเพื่อชุมชน โรงเรียนรู้สมุนไพร
ธนาคารขยะ การพัฒนาทำความสะอาด วัด บ้าน โรงเรียน ร่วมกับชุมชน กิจกรรมหอกระจายข่าว
เพอื่ ประชาสัมพนั ธส์ ขุ ภาพประชาชน จดั ต้ังตูย้ าสามญั ประจำวดั
๓) ด้านสัมมาชีพ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชน อบรมประกอบอาชีพที่สุจริตจัดต้ัง
กองทุนส่งเสริมอาชีพในชุมชน จัดสถานที่ให้ประชาชนมาจำหนา่ ยสนิ ค้า OTOP อบรมประชาชนเพื่อ
เป็นแนวทางประกอบสัมมาชพี ในการดำเนนิ ชวี ิต
๔) ด้านสันติสุข จัดทำข้อคิดคติธรรมสอนใจ จัดทำศูนย์ประสานงานแกไ้ ขปญั หาขอ้
ยุติข้อร้องเรียนต่างๆในชุมชน โครงการสรรหาคนดีศรีพระพุทธศาสนา๕) ศึกษาสงเคราะห์ จัดต้ัง
กองทุนและมอบทุนส่งเสริมการศึกษา ส่งเสริมให้มีพระครูสอนศีลธรรมในโรงเรียน ส่งเสริมให้วัดใช้
สถานทจ่ี ัดกจิ กรรมในชุมชน โรงเรยี นสงเคราะหแ์ ก่ชุมชน
๖) สาธารณสงเคราะห์ จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในวัด จัดตั้งกองทุน
สงเคราะห์ผ้ยู ากไร้ จัดต้งั กองทุนการศึกษา
๗) กตัญญูกตเวทิตาธรรม จัดกิจกรรมยกย่องลูกกตัญญู จัดตั้งกลุ่มจิตอาสาจัด
กิจกรรมมทุ ิตาปราชญช์ าวบ้านผูท้ รงคุณค่าในทอ้ งถ่นิ
๘) สามัคคธี รรม จดั กจิ กรรมเสวนาธรรม บวชป่าชมุ ชน สง่ เสรมิ การสบื สานประเพณี
ลงแขกเกย่ี วขา้ ว อ่นื ๆ
เครอื ข่ายหมู่บ้านรักษาศลี ๕ ได้ส่งเสริมกจิ กรรมหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล
เพื่อการพัฒนาชีวิตของประชาชนประสบความเสร็จ ดังเช่นกรณีของวัดน้ำจำ อำเภอแม่สาย จังหวัด
เชียงราย ได้ดำเนินการโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันทโ์ ดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
“หมบู่ ้านรกั ษา ศีล ๕” ชาวบา้ น เปน็ สมาชิกเครือขา่ ยหมู่บ้านรกั ษาศลี ๕ ยดึ หลกั ศีล ๕ มาประยุกตใ์ ช้
ในชีวิต เปน็ เหตุใหบ้ ้านมีความสมัครสมานสามัคคีร่วมมือกันเปน็ อย่างดี โดยมีวดั น้ำจำ อำเภอแม่สาย
จังหวัดเชียงรายเป็นศูนย์กลางในการดำเนินการจัดกิจกรรม ได้มุ่งเน้นที่จะทำให้ชุมชนนั้นอยู่ได้ โดย
อาศัยความมีจิตสำนึกในการสนับสนุนงานต่างๆ โดยเฉพาะเพิ่มภาระกิจการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประชาชน เก่ยี วกับหมูบ่ ้านรักษาศีล ๕ เพ่ือใหส้ ังคมน้ันเกิดความสงบสุขและมสี ่วนร่วมช่วยกันในการ
พัฒนาองค์กร ทั้งฝ่ายภาครัฐ เอกชน ตลอดถึงชาวบ้านด้วย เชื่อมโยงส่งเสริมงานของหน่วยอบรม
ประชาชนประจำตำบล ทั้ง ๘ ดา้ น๑๐๒
๑) ด้านศีลธรรมและวัฒนธรรม วัดและชุมชนให้การส่งเสริมสนับสนุนการปฏิบัติ
ธรรมซึ่งวดั ท่ีวดั โปง่ ทกุ ปี
๑๐๒ สัมภาษณ์ นายพิสนั ต์ จันทร์ศลิ ป,์ วฒั นธรรมจังหวดั เชียงราย, ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕.
๑๓๔
๒) ด้านสุขภาพอนามัย วัดและชุมชนได้ร่วมมือจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ส่งเสริม
สขุ ภาพทางกายและทางจติ ใจ
๓) ด้านสัมมาชีพ วัดและชุมชนได้ร่วมมือกันส่งเสริมให้ใช้วัสดุที่มีทางธรรมชาติ
ไม่ฟุ้งเฟอ้ มีความพอเพียง
๔) ด้านสันติสุข วัดและชุมชน มีส่วนร่วม ความสามัคคี สันติสุขในชุมชนในการจัด
กิจกรรมต่าง ๆ
๕) ด้านศึกษาสงเคราะห์ วัดและชุมชนร่วมกันดำ เนินการมอบทุนการศึกษา เพื่อ
สรา้ งกำลังใจในการศกึ ษาแก่นักเรยี นโรงเรยี นวงั โปง่ ทกุ ปกี ารศึกษา
๖) ด้านสาธารณสงเคราะห์ วัดและชุมชนได้ร่วมมือช่วยเหลือกนั ภายในชุมชน
๗) ด้านกตัญญูกตเวทิตาธรรม วัดและชุมชนได้ให้ความร่วมมือจัดบรรพชาสามเณร
ภาคฤดรู อ้ น ทกุ ปี คร้ัง ๑๕ วัน
๘) ด้านสามคั คธี รรม วัดและชมุ ชน ได้ดำเนินกจิ กรรม รวมพลังสามคั คเี พอื่ ใหก้ ารจัด
กิจกรรมสำเร็จลลุ ่วงโดยการเฉลย่ี ความรู้ ความสามารถ ลงไปสกู่ ารปฏบิ ตั งิ านให้เป็นเปน็ รปู ธรรม
สรุป ความสัมพันธ์เชิงประเด็น เปน็ ความสมั พนั ธข์ องเครอื ขา่ ยการทำงานท่ีได้นำเอา
โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มาเป็นประเด็นหลักในการขับเคลื่อนลงไปสู่พื้นที่การทำงานระดับ
หมบู่ า้ น วัด ชมุ ชน องค์กร หนว่ ยงาน สถานศึกษา เพือ่ จดั กจิ กรรมตามประเดน็ ทไ่ี ดก้ ำหนดไว้
เครือข่ายการทำงานหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดเชียงราย ได้ดำเนินการสร้าง
ความสัมพนั ธเ์ ปน็ เครือข่าย โดยมขี ้นั ตอนดงั น้ี ๑) สร้างความตระหนัก และรวมตัวเปน็ เครือขา่ ย ๒)
สร้างพันธกรณี และการบริหารเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ๓) พัฒนาความสัมพันธ์ของเครือข่าย
หมบู่ า้ นรักษาศีล ๕ ๔) รกั ษาความสัมพันธ์ และความตอ่ เนอ่ื งของเครอื ข่ายหมู่บา้ นรักษาศลี ๕๑๐๓
๑) หลักการสร้างความตระหนัก และรวมตัวเป็นเครือข่าย ประสานงานภายใน
ชุมชนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จัดทำแผนปฏิบัติงานร่วมกัน จะเห็นได้จากคณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย
สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชยี งราย และหมู่บ้าน/ชุมชน จังหวัดเชียงราย มีแนวทางการจัดทำ
แผนปฏิบัติงานร่วมกัน ดังนี้ การจัดประชุมเพื่อชี้แจงให้ทราบนโยบายของมหาเถรสมาคมการแต่งตงั้
คณะกรรมการดำเนนิ โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จดั ทำเปน็ ประกาศจังหวัดเชียงรายประกาศแต่งตั้ง
คณะกรรมการระดับอำเภอทุก ๓๒ อำเภอ ประกาศแตง่ ต้ังคณะกรรมการระดับระดับตำบล ประกาศ
แต่งตง้ั คณะกรรมการระดบั ระดับหมู่บ้าน ในระยะเวลาการทำงานขับเคลื่อน ๔ ปีทผี่ ่านมา การบรรจุ
๑๐๓ สัมภาษณ์ นางเกลยี วพรรณ์ ขำโนนงิว้ ,ผอ.สำนักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวดั เชยี งราย, ๒๔
มกราคม ๒๕๖๕.
๑๓๕
โครงการหม่บู า้ นรกั ษาศลี ๕ เปน็ นโยบายของจังหวัดเชยี งราย การจัดประชุมตรวจการคณะสงฆ์ เยยี่ ม
เยียนวัดและประชาชน ปี ๒๕๕๗-๒๕๖๐ เพื่อขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ เพื่อสร้างความ
เขา้ ใจ ตระหนัก และร่วมแรงรวมใจกันทำงาน
๒) หลักการสร้างพันธกรณี และการบริหารเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ สร้าง
ความรู้ขยายเครอื ขา่ ย สร้างสงั คมสงบสุขรว่ มกนั คณะสงฆ์จังหวดั เชยี งราย สำนักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดเชียงราย และหมู่บ้าน/ชุมชน มีแนวทางการการสร้างพันธกรณี และการบริหารเครือข่าย
หมู่บ้านรักษา ศีล ๕ สร้างความรู้ ขยายเครือข่ายสร้างสังคมสงบสุขร่วมกัน ดังนี้ การจัดประชุมลง
บันทึกข้อตกลงทำความร่วมมือ(MOU) ระดับจังหวัด ระหว่างเจ้าคณะจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด
สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด การจัดประชุมลงบันทึกข้อตกลงทำความร่วมมือ (MOU) ระดับ
อำเภอ ระหว่างเจ้าคณะอำเภอ นายอำเภอ สำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัด การจัดประชุมลงบันทึก
ข้อตกลงทำความร่วมมือ (MOU) ระดับตำบลระหว่างเจ้าคณะตำบล กำนัน นายกองค์การบริหารส่วน
ตำบล การจัดประชุมลงบันทึกข้อตกลงทำความร่วมมือ (MOU) ระดับหมู่บ้าน ระหว่างเจ้าอาวาส และ
ผใู้ หญ่บา้ น สมาชิกองคบ์ ริหารส่วนตำบล การแบง่ งาน แจกงานกนั ทำ ประสานงานติดตามการดำเนินการ
การกำหนดใหว้ ัดและทที่ ำงานผใู้ หญ่บา้ นเป็นจดุ รับใบสมัครสมาชิกโครงการหม่บู ้านรักษาศีล ๕๑๐๔
๓) หลักการพัฒนาความสัมพันธ์ของเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕ และการใช้
ประโยชน์ การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวขับเคลื่อนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จาก
หลักการการทำงานของเครือข่าย คณะสงฆ์ สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด และหมู่บ้าน/ชุมชนมี
แนวทางการพฒั นาความสมั พนั ธ์ของเครือขา่ ยหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ และการใชป้ ระโยชนก์ ารเสริมสร้าง
กระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวขับเคลื่อนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ดังนี้ การใช้เวทีเสวนาในการทำ
โครงการตรวจการคณะสงฆ์ เยี่ยมเยือนวัด และประชาชนเพื่อสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้
หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมูบ่ า้ นรักษาศีล ๕” การแสดงธรรมเทศนาขอความเมตตาจากคณะ
สงฆจ์ งั หวดั เชยี งรายในการแสดงธรรมเทศนา หลกั การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ให้เพ่มิ เรื่องการให้อภัย
การสร้างความปรองดอง ความสมานฉันท์ พร้อมทั้งใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษา
ศีล ๕” เป็นปริจเฉท ๑ และให้วัดทกุ วัดได้แสดงพระธรรมเทศนาเรื่อง ศีล ๕ ทั้ง ๙ กัณฑ์ ซึ่งได้รับมา
จากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ โครงการแผ่เผยธรรมของพระธรรมทูตจังหวัดเชียงราย และ
พระธรรมทูตอำเภอทุกอำเภอ การอบรมพระวิทยากรแกนนำการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดย
๑๐๔ สัมภาษณ์ นายพสิ นั ต์ จันทร์ศลิ ป,์ วัฒนธรรมจังหวดั เชยี งราย, ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๑๓๖
ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ระดับจังหวัดเชียงราย เพื่อชี้แจ้งทำความ
เขา้ ใจโครงการหมู่บ้านรักษาศลี ๕๑๐๕
๔) หลักการรักษาความสมั พันธ์และความต่อเนื่องของเครือข่ายหมู่บา้ นรกั ษาศีล
๕ การพัฒนากิจกรรมส่งเสริมหมู่บ้านรักษาศีล ๕ และความเคลื่อนไหวเพื่อสร้างเครือข่ายหมู่บ้าน
รกั ษาศีล ๕ นวตั กรรมในการพัฒนา คณะสงฆจ์ งั หวดั เชยี งราย สำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวดั และ
หมู่บ้าน/ชุมชน มีแนวทางการรักษาความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของเครือข่ายหมู่บ้านรักษาศีล ๕
การพัฒนากิจกรรมส่งเสริมหมู่บ้านรักษาศีล ๕ และความเคลื่อนไหวเพือ่ สรา้ งเครือข่ายหมู่บ้านรักษา
ศีล ๕ นวัตกรรมในการพัฒนา ดังนี้ การมอบป้ายการประชาสมั พันธ์โครงการหมูบ่ ้านรักษาศีล ๕การ
คัดเลือกหมู่บ้าน สถานศึกษา หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์การสมัคร ร้อยละ ๕๐ และร้อยละ ๘๐ การมอบ
ป้ายโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ แก่หมู่บ้าน สถานศึกษา หน่วยงาน ที่ผ่านเกณฑ์การสมัครร้อยละ
๕๐ ร้อยละ ๘๐ การคัดเลือกหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ ต้นแบบ การคัดเลือกสถานศกึ ษารกั ษาศีล ๕ตน้ แบบ
การคัดเลือกหน่วยงานรักษาศีล ๕ ต้นแบบ การมอบเกียรติบัตรแก่หมู่บ้าน หน่วยงานสถานศึกษา
ตน้ แบบ การตดิ ตามวัดผล และประเมินผลหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ หนว่ ยงานรกั ษาศีล ๕ และสถานศึกษา
รักษาศีล ๕ ต้นแบบ การจัดงานประกวดนิทรรศการกิจกรรมการดำเนินโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕
การมอบโล่และเกียรติบัตรหมบู่ ้านตน้ แบบ และหน่วยงาน สถานศึกษาต้นแบบ การมอบโล่เกยี รติบัตร
หมู่บา้ นต้นแบบ ดีเด่น๑๐๖
การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนหม่บู ้านรักษาศลี ๕ ในจงั หวัดเชยี งราย
การดำเนินงานเชิงบูรณาการหลักศีล ๕ กับการดำเนินชีวติ ของประชาชน มีลักษณะ
การดำเนินงานภายใต้การจัดตั้งเครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนตามโครงการหมู่บา้ นรักษาศีล
๕ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. ด้านร่างกาย ๒. ด้านจิตใจ ๓. ด้าน
ความสมั พันธท์ างสงั คม ๔. ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม
การดำเนินการโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ได้มีการจัดกิจกรรมการพัฒนาชีวิตตามหลักศีล ๕ รวมท้ัง
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชาวบ้าน ได้ดำเนินชีวิตตามวิถีชาวพุทธ และให้หลักศีล ๕ มาใช้ใน
ชีวิตประจำวนั ดงั นี้
๑๐๕ สมั ภาษณ์ พระครวู ิสุทธิธรรมภาณี, เจ้าคณะอำเภอแมส่ าย, ๙ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕.
๑๐๖ สมั ภาษณ์ พระครูอุปถัมภ์วรการ, เจา้ คณะอำเภอแมจ่ นั , ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕.
๑๓๗
กจิ กรรมการพฒั นาชวี ิตตามหลักศลี ๕
๑. จัดกจิ กรรมการปฏบิ ัตธิ รรมทุกวนั อาทติ ย์
๒. สง่ เสรมิ ให้พทุ ธศาสนกิ ชนถอื ศีล ๕
๓. ส่งเสริมและสนบั สนุนการทำบุญตกั บาตรในวันสำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
การจดั กจิ กรรมตามวถิ ชี าวพทุ ธ
๑. การทำบญุ ตักบาตรของพุทธศาสนิกชนในทุก ๆ เชา้ ของวัน
๒. การไปวดั ทำบญุ ฟังธรรม ทกุ วนั พระ
๓. การจดั กิจกรรมปรวิ าสกรรม ทุกวันที่ ๕-๑๕ มกราคม ของทุกปี
มีความสำรวม กาย วาจาและใจมีการสร้างความดี ด้วยการไปทำบุญที่วัด ฟังเทศน์
ฟังธรรม และถือศีล ๕ เป็นปกตินิสัย มีศูนย์รวมจิตใจ คือ หลวงพ่อใหญ่ (พระพุทธศีลบัญชร) และ
พระอุโบสถ ทำให้สามารถอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ไม่มีคดีความใด ๆ เกิดขึ้นในหมู่บ้าน
ผลิตภัณฑใ์ นทอ้ งถิ่น (OTOP) บ้านดอนชมพูมผี ลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น คือ การทำปลาส้มปลาตะเพียนไร้
ก้าง โดยมีการรวมกลุ่มแม่บ้าน เพื่อจัดทำและจัดจำหน่าย รวมทั้งมีการจัดทำบัญชีแสดงรายรับ-
รายจา่ ย และแบง่ ผลกำไรให้กบั สมาชิกดว้ ยนอกจากนี้ยงั มีการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ๔ ด้าน ได้แก่๑๐๗
๑. การพฒั นาคุณภาพชีวิตด้านรา่ งกายตามหลักศลี ๕
ชาวบ้านมีการพัฒนาตนตามหลักศีล ๕ ด้วยความสังวรระวังทางกายวาจา ใจ เช่น
เปน็ ผู้มีน้ำใจ เมตตาเออื้ เฟอ้ื ต่อกนั ให้ความเคารพนับถอื ผูส้ ูงอายุ ขยนั หมน่ั เพียรเล้ยี งชีพดว้ ยการหม่ัน
ประกอบการงาน เป็นผู้ขยันไม่เกยี จครา้ นในการงาน ใชป้ ญั ญาเปน็ เครือ่ งสอดส่องอนั เป็นอบุ ายในการ
งานอาชีพนั้นให้สามารถทำได้สำเร็จ รักษาคุ้มครองโภคทรัพย์เหล่านั้นไม่ให้ถูกลักหรือทำลายไปโดย
ภัยต่างๆ คบคนดี ไม่คบคบชั่ว ดำรงตน เจรจา สนทนากับผู้มีสมาจารบริสุทธิ์ ผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา
ศลี จาคะ ปัญญา ทเ่ี หมาะตอ่ การแกไ้ ขปัญหา ละเว้นการประพฤตผิ ิดในกามสำหรับผ้มู คี ู่ครอง และละ
เว้นการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้อื่น ทั้งชาย และหญิงด้วยการใช้กำลังหรือการบีบบังคับไม่ว่าจะด้วย
วิธีการใดๆ ละเว้นการพูดเท็จ การกล่าวโกหกเพื่อหลอกลวงให้ผู้อื่นเชื่อควรกล่าวคำสัตย์ที่เป็นจริง
เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น และตนเอง ละเว้นการพูดส่อเสียด การพูดให้ร้ายแก่ผู้อื่น รวมถึงละเวน้
การพดู ยยุ งใหผ้ ู้อืน่ เกดิ ความบาดหมางกัน ละเวน้ การพูดคำหยาบ คำไมส่ ุภาพทีจ่ ะทำใหผ้ ู้อ่ืนเกิดโทสะ
เกิดความไม่สบาย ควรพูดแต่คำที่สุภาพนุ่มนวลที่ทำให้คนฟังเกิดความรู้สึกดีหรือสบายใจละเว้นการ
พูดโอ้อวด พูดเกินความเป็นจริง พูดเหลวไหลเพ้อเจ้อเพื่อให้คนอื่นหลงเชื่อหรือชื่นชอบในตัวตน
๑๐๗ สมั ภาษณ์ นางเกลียวพรรณ์ ขำโนนงิว้ , ผอู้ ำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัดเชยี งราย,
๒๔ มกราคม ๒๕๖๕.