เอกสารสรุปผลการดาเนินงาน
โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมท่ี 1 สรา้ งและพัฒนากลไกขบั เคลอ่ื น
ในระดับพื้นที่
กิจกรรมที่ 1.1 อบรมแกนนำขบั เคล่อื นหมู่บ้ำนเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนนครราชสีมา
สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน
คำนำ
กรมกำรพัฒนำชุมชน ได้ดำเนินโครงกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ 1 สรำ้ งและพัฒนำ
กลไกลกำรขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ และมอบหมำยให้สถำบนั กำรพัฒนำชุมชนได้ดำเนินกำรกิจกรรมที่ ๑.1 อบรม
แกนนำขับเคลื่อนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดผู้นำพัฒนำ (Change Leader) ที่อยู่ในชุมชน และนำ
กำรพัฒนำให้สอดคล้องกับบรบิ ทชุมชนและนำไปสู่ส่ิงท่ีชุมชนต้องกำร จำกสถำนกำรณ์ของประเทศไทยใน
ปัจจุบันต้องเผชญิ กับผลกระทบจำกวกิ ฤตกำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรน่ำ ๒๐๑๙ (COVID – ๑9)
ซง่ึ ส่งผลกระทบไปถึงวกิ ฤตทำงด้ำนเศรษฐกิจ ด้ำนกำรสำธำรณสุข ด้ำนคมนำคมและอ่ืนๆ ส่งผลให้เกิดวกิ ฤตทำง
สังคมขนำดหนักเกินไปทั่ว จึงทำให้ต้องปรบั เปล่ียนวธิ ีกำรฝึกอบรมโดยใช้ วธิ ีกำรฝึกอบรมแบบทำงไกล
(Online) ผ่ำนระบบ Zoom Cloud Meetings สถำบันกำรพัฒนำชุมชน ได้มอบหมำยให้ศูนย์ศึกษำและพัฒนำ
ชุมชนนครรำชสีมำ ดำเนินงำนโครงกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมท่ี 1 สรำ้ งและพัฒนำกลไก
ลกำรขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมที่ ๑.1 อบรมแกนนำขับเคล่ือนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ใช้รูปแบบ
ออนไลน์ จำนวน ๒ รุน่ ๆ ละ ๕ วัน โดยกำหนดให้ดำเนินกำรฝึกอบรม รุน่ ท่ี ๑ ระหว่ำงวันที่ ๖ - ๑๐ ธนั วำคม
๒๕๖๔ และรุน่ ท่ี ๒ ระหว่ำงวันท่ี ๑๓ - ๑๗ ธนั วำคม ๒๕๖๔ กลุ่มเป้ำหมำยจำนวน ๖๖๖ คน ประกอบด้วย ผู้แทน
ครวั เรอื นพัฒนำพ้ืนท่ีเรยี นรู้ “โคก หนอง นำ” , ผู้นำชุมชนของครวั เรอื นพัฒนำพื้นท่ีเรยี นรู้“โคก หนอง นำ”,
เจำ้ หน้ำท่ีพัฒนำชุมชนอำเภอเป้ำหมำย ซงึ่ บัดน้ีได้ดำเนินกำรเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว จงึ ได้จดั ทำเอกสำรรำยงำนผล
กำรฝึกอบรม เพ่ือสรุปผลกำรดำเนินงำนให้กรมฯและสถำบันกำรพัฒนำชุมชนทรำบ และใช้ประโยชน์ในส่วนที่
เก่ียวข้องต่อไป
ศูนยศ์ ึกษำและพัฒนำชุมชน
เมษำยน ๒๕๖5
สำรบัญ
คำนำ หน้ำ
สำรบัญ
สำรบัญตำรำง
บทสรุปผู้บรหิ ำร 1
ส่วนที่ ๑ บทนำ 6
๑. เก่ียวกับโครงกำร 6
๑.๑ ควำมเปน็ มำของโครงกำร 6
๑.๒. วัตถปุ ระสงค์ 6
๑.๓. กลุ่มเป้ำหมำย 6
๑.๔. วธิ กี ำรดำเนินงำน 7
๑.๕. งบประมำณดำเนินกำร 7
๑.๖. ระยะเวลำและสถำนทด่ี ำเนินกำร 7
๑.7. ผลทีค่ ำดวำ่ จะได้รบั 7
๑.8. ตัวชว้ี ัดควำมสำเรจ็ โครงกำร 7
๑.9. ขอบเขตเน้ือหำ 8
ส่วนท่ี ๒ สรุปสำระสำคัญในภำควชิ ำกำร/กิจกรรมกำรฝึกอบรม 11
๒.๑. วชิ ำ หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ 12
๒.๒. วชิ ำ ถอดรหัสพระมหำชนก 18
๒.๓. วชิ ำ ถอดบทเรยี นผ่ำนสื่อแผ่นดินไทย ตอนแผ่นดินวกิ ฤต 22
๒.๔. วชิ ำ ทฤษฎี บนั ได ๙ ข้ันสู่ควำมพอเพียง 24
๒.๕. วชิ ำ หลักกสิกรรมธรรมชำติ 27
๒.๖. วชิ ำ ถอดบทเรยี นผ่ำนสื่อ วถิ ีภูมิปญั ญำไทยกับกำรพึ่งตนเอง 29
๒.๗. วชิ ำ ฐำนกำรเรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง 35
๒.8. วชิ ำ หลักกำรออกแบบและกำรออกแบบโคกหนองนำ โมเดล เบ้อื งต้นฯ 44
๒.9. วชิ ำ กำรบรหิ ำรโครงกำรพัฒนำหมู่บำ้ นเศรษฐกิจพอเพียงและ
Work Shop กระบวนกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง 49
๒.10. วชิ ำ สุขภำพพ่ึงตน พัฒนำ 3 ขุมพลัง 54
สำรบัญ (ต่อ)
ส่วนที่ 3 หน้ำ
กำรประเมินโครงกำร 55
๓.๑ ระเบียบวธิ กี ำรประเมิน 55
3.2 วธิ กี ำรและเครอ่ ื งมือ 55
3.3 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล 55
3.4 กำรวเิ ครำะห์ข้อมูล 55
3.5 ผลกำรประเมิน 55
56
ภำคผนวก 103
ภำพกิจกรรม
สำรบัญตำรำง
ตำรำงท่ี หน้ำ
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม 56
ตำรำงที่ ๑ แสดงข้อมลู ท่วั ไปของผู้เข้ำรบั กำรฝกึ อบรม รนุ่ ที่ 1 56
ตำรำงที่ 2 ควำมคิดเห็นต่อโครงกำร รนุ่ ที่ 1 58
ตำรำงที่ 3 แสดงข้อมลู ทั่วไปของผู้เข้ำรบั กำรฝกึ อบรม รนุ่ ที่ 2 59
ตำรำงที่ 4 ควำมคิดเห็นต่อโครงกำร รนุ่ ท่ี 2 60
ส่วนท่ี 2 ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม 61
ตำรำงที่ 5 วชิ ำ หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ รนุ่ ท่ี 1 61
ตำรำงที่ 6 วชิ ำ หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ รนุ่ ท่ี 2 65
ตำรำงท่ี 7 วชิ ำ ถอดรหัสพระมหำชนก รนุ่ ที่ 1 67
ตำรำงที่ 8 วชิ ำ ถอดรหัสพระมหำชนก รนุ่ ที่ 2 69
ตำรำงท่ี 9 วชิ ำ ถอดบทเรยี นผ่ำนส่ือแผ่นดินไทย ตอนแผ่นดินวกิ ฤต รนุ่ ท่ี 1 71
ตำรำงที่ 10 วชิ ำ ถอดบทเรยี นผ่ำนส่ือแผ่นดินไทย ตอนแผ่นดินวกิ ฤต รนุ่ ท่ี 2 73
ตำรำงที่ 11 วชิ ำ ทฤษฎี บันได ๙ ขั้นสู่ควำมพอเพียง รนุ่ ที่ 1 75
ตำรำงที่ 12 วชิ ำ ทฤษฎี บนั ได ๙ ข้ันสู่ควำมพอเพียง รนุ่ ท่ี 2 77
ตำรำงท่ี 13 วชิ ำ หลกั กสิกรรมธรรมชำติ รนุ่ ท่ี 1 79
ตำรำงท่ี 14 วชิ ำ หลักกสิกรรมธรรมชำติ รนุ่ ที่ 2 81
ตำรำงที่ 15 วชิ ำ ถอดบทเรยี นผ่ำนสื่อ วถิ ีภูมิปญั ญำไทยกับกำรพึ่งตนเอง รนุ่ ท่ี 1 83
ตำรำงท่ี 16 วชิ ำ ถอดบทเรยี นผ่ำนสื่อ วถิ ีภูมิปัญญำไทยกับกำรพ่ึงตนเอง รนุ่ ท่ี 2 85
ตำรำงท่ี 17 วชิ ำ ฐำนกำรเรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง รนุ่ ท่ี 1 87
ตำรำงที่ 18 วชิ ำ ฐำนกำรเรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง รนุ่ ท่ี 2 89
ตำรำงที่ 19 วชิ ำ หลักกำรออกแบบและกำรออกแบบโคกหนองนำ โมเดล
เบอ้ื งต้นฯ รนุ่ ที่ 1 91
ตำรำงท่ี 20 วชิ ำ หลักกำรออกแบบและกำรออกแบบโคก หนอง นำ โมเดล
เบ้ืองต้นฯ รนุ่ ที่ 2 93
ตำรำงท่ี 21 วชิ ำ กำรบรหิ ำรโครงกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงและ
Work Shop กระบวนกำรพฒั นำหมู่บำ้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง รนุ่ ที่ 1 95
ตำรำงท่ี 22 วชิ ำ กำรบรหิ ำรโครงกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงและ
Work Shop กระบวนกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพยี ง รนุ่ ท่ี 2 97
ตำรำงที่ 23 วชิ ำ สุขภำพพ่งึ ตน พัฒนำ 3 ขุมพลัง รนุ่ ที่ 1 99
ตำรำงที่ 24 วชิ ำ สุขภำพพงึ่ ตน พัฒนำ 3 ขุมพลัง รนุ่ ที่ 2 101
บทสรุปผู้บรหิ ำร
กรมกำรพัฒนำชุมชน ได้มอบหมำยให้ศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ ดำเนินงำนโครงกำร
พัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมท่ี 1 สรำ้ งและพัฒนำกลไกลกำรขับเคล่ือนในระดับพ้ืนที่ กิจกรรมท่ี
๑.1 อบรมแกนนำขับเคล่ือนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกิดผู้นำพัฒนำ (Change
Leader) ท่ีอยู่ในชุมชน และนำกำรพัฒนำให้สอดคล้องกับบรบิ ทชุมชนและนำไปสู่ส่ิงท่ีชุมชนต้องกำร จำนวน
๒ รุน่ ๆ ละ ๕ วัน โดยกำหนดให้ดำเนินกำรฝึกอบรม รุน่ ท่ี ๑ ระหว่ำงวันที่ ๖ - ๑๐ ธนั วำคม ๒๕๖๔ และรุน่ ท่ี ๒
ระหว่ำงวันท่ี ๑๓ - ๑๗ ธนั วำคม ๒๕๖๔ กลุ่มเป้ำหมำยจำนวน ๖๖๖ คน ประกอบด้วย ผู้แทนครวั เรอื นพัฒนำ
พ้ืนท่เี รยี นรู้ “โคก หนอง นำ” , ผู้นำชุมชนของครวั เรอื นพัฒนำพ้ืนทเ่ี รยี นรู“้ โคก หนอง นำ”, เจำ้ หน้ำท่ีพัฒนำชุมชน
อำเภอเป้ำหมำย จำกข้อมูลท่ัวไปของผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมรุน่ ท่ี 1 จำนวน 333 คน พบว่ำผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรม
ส่วนใหญ่เป็นเพศชำย จำนวน 117 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 53.2 และหญิง จำนวน 156 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 46.8
ส่วนใหญ่มีอำยุระหว่ำง 50 – 59 ปี จำนวน 114 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 43.2 รองลงมำตำมลำดับคืออำยุระหว่ำง
40 – 49 ปี จำนวน 91 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 27.3 อำยุมำกกว่ำ 60 ปี จำนวน 58 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17.4 และ
อำยุระหว่ำง 30 – 39 ปี จำนวน 40 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12 ส่วนใหญ่กำรศึกษำระดับมัธยมศึกษำ จำนวน 201
คน คิดเป็นรอ้ ยละ 60.4 รองลงมำระดับปรญิ ญำตร ีจำนวน 89 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.7 ระดับประถมศึกษำ
จำนวน 32 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 9.6 และระดับปรญิ ญำโท จำนวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.3 ตำมลำดับ รุน่ ที่ 2
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถำม จำนวน 331 คนผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชำย จำนวน 171 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 51.7 และหญิง จำนวน 160 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 48.3 ส่วนใหญ่มีอำยุระหว่ำง 50 – 59 ปี จำนวน
130 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 39.3 รองลงมำตำมลำดับคืออำยุระหว่ำง 40 – 49 ปี จำนวน 104 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
31.4 อำยุมำกกว่ำ 60 ปี จำนวน 51 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.4 และอำยุระหวำ่ ง 30 – 39 ปี จำนวน 46 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 13.9 ส่วนใหญ่กำรศึกษำระดับมัธยมศึกษำ จำนวน 176 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 53.2 รองลงมำระดับ
ปรญิ ญำตร ี จำนวน 93 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 28.1 ระดับประถมศึกษำ จำนวน 49 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 14.8 และ
ระดับปรญิ ญำโท จำนวน 13 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.9 ตำมลำดับ จำกตำรำงส่วนท่ี 2 (รุน่ ท่ี 1) พบว่ำด้ำนควำม
คิดเห็นต่อกำรบรหิ ำรโครงกำร เมื่อพิจำรณำพบว่ำประเด็นควำมคุ้มค่ำของกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.48 อยู่ใน
ระดับ มำก รองลงมำประเด็นกำรอำนวยควำมสะดวกของเจ้ำหน้ำท่ีโครงกำร ค่ำเฉลี่ย 4.38 อยู่ในระดับ มำก
ประเด็นกำรประสำนงำนของเจำ้ หน้ำท่ีโครงกำร ค่ำเฉล่ีย 4.29 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นเนื้อหำหลักสูตรเป็น
ปัจจุบันทันต่อกำรเปลี่ยนแปลง ค่ำเฉล่ีย 4.23 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นควำมเหมำะสม สอดคล้องของเนื้อหำ
หลักสูตร ค่ำเฉลี่ย 4.22 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นระยะเวลำกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.14 อยู่ในระดับ มำก
ประเด็นกำรมีส่วนรว่ มในกำรแสดงควำมคิดเห็น ค่ำเฉลี่ย 4.07 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นเอกสำร
ประกอบกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.06 อยู่ในระดับ มำก (รุน่ ท่ี 2) พบว่ำด้ำนควำมคิดเห็นต่อกำรบรหิ ำรโครงกำร
เม่ือพิจำรณำพบวำ่ ประเด็นควำมค้มุ ค่ำของกำรฝกึ อบรม ค่ำเฉล่ีย 4.50 อยูใ่ นระดับ มำกท่ีสุด รองลงมำประเด็น
2
กำรอำนวยควำมสะดวกของเจำ้ หน้ำที่โครงกำร ค่ำเฉล่ีย 4.39 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นเนื้อหำหลักสูตรเป็น
ปัจจุบันทันต่อกำรเปล่ียนแปลง ค่ำเฉลี่ย 4.30 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นกำรประสำนงำนของเจำ้ หน้ำทโ่ี ครงกำร
ค่ำเฉลี่ย 4.29 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นควำมเหมำะสม สอดคล้องของเน้ือหำหลักสูตร ค่ำเฉลี่ย 4.27 อยู่ใน
ระดับ มำก ประเด็นระยะเวลำกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.14 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นกำรมีส่วนรว่ มในกำรแสดง
ควำมคิดเห็น ค่ำเฉลี่ย 4.12 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นเอกสำรประกอบกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.11 อยู่ใน
ระดับ มำก ส่วนที่ 2 . ควำมรู้ ควำมเข้ำใจของผู้เข้ำอบรม วชิ ำหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎี
ใหม่ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อนและหลัง โดยก่อนกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 2.57 อยู่ในระดับ ปำน
กลำง และหลักกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 3.92 อยูใ่ นระดับ มำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นเป็น
ประโยชน์ต่อกำรนำไปใชใ้ นกำรปฎิบตั ิงำน ค่ำเฉล่ีย 4.15 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นหัวข้อหลักสูตรตรง
กับวตั ถุประสงค์ในกำรจดั ฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.11 อยูใ่ นระดับ มำก ประเด็นหัวข้อสำมำรถนำไปประยุกต์ใชใ้ นกำร
ดำเนินชีวติ ได้ ค่ำเฉลี่ย 4.08 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นกำรเปิดโอกำสให้ซกั ถำม หรอื แสดงควำมคิดเห็น
ระหว่ำงกำรสอน ค่ำเฉล่ีย 3.91 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมรู้ ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร เม่ือพิจำรณำพบว่ำ
ประเด็นถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเนื้อหำได้เป็นอย่ำงดี ค่ำเฉล่ีย 4.11 อยู่ในระดับ มำก
รองลงมำประเด็นให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบัติได้จรงิ ค่ำเฉลี่ย 4.03 อยู่ในระดับ มำก
ประเด็นมีเทคนิคกำรสรำ้ งบรรยำกำศทเี่ อื้อต่อกำรเรยี นรู้ ค่ำเฉลี่ย 3.93 อยูใ่ นระดับ มำก ประเด็นตอบข้อซกั ถำม
ได้เป็นอย่ำงดีและชดั เจน ค่ำเฉลี่ย 3.83 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นตอบข้อซกั ถำมได้เป็นอย่ำงดีและชดั เจน
ค่ำเฉล่ีย 3.74 อยู่ในระดับ มำก วชิ ำถอดรหัสพระมหำชนก ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อนและหลัง
โดยก่อนกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 2.82 อยู่ในระดับ ปำนกลำง และหลักกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.23 อยู่ในระดับ
มำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นเป็นประโยชน์ต่อกำรนำไปใชใ้ นกำรปฎิบัติงำน ค่ำเฉลี่ย 4.47
อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นสำมำรถนำไปประยุกต์ใชใ้ นกำรดำเนินชวี ติ ได้ ค่ำเฉลี่ย 4.31 อยูใ่ นระดับ มำก
ประเด็นหัวข้อหลักสูตรตรงกับวัตถุประสงค์ในกำรจดั ฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.26 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นผู้เข้ำ
อบรมได้มีส่วนรว่ มในกำรแสดงควำมคิดเห็น ค่ำเฉลี่ย 4.17 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมรู้ ควำมสำมำรถของ
วทิ ยำกร เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเน้ือหำได้เปน็ อยำ่ งดี ค่ำเฉลยี่
4.33 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นให้คำแนะนำท่ีเปน็ ประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบัติได้จรงิ ค่ำเฉลี่ย 4.31
อยู่ในระดับ มำก ประเด็นมีเทคนิคกำรสรำ้ งบรรยำกำศท่ีเอ้ือต่อกำรเรยี นรู้ ค่ำเฉลี่ย 4.26 อยู่ในระดับ มำก
ประเด็นตอบข้อซกั ถำมได้เป็นอย่ำงดีและชดั เจน ค่ำเฉล่ีย 4.20 อยูใ่ นระดับ มำก และประเด็นตอบข้อซกั ถำมได้
เป็นอย่ำงดีและชดั เจนค่ำเฉลี่ย 4.19 อยู่ในระดับ มำก วชิ ำถอดบทเรยี นผ่ำนส่ือ แผ่นดินวกิ ฤติ ควำมรู้ ควำม
เข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อนและหลัง โดยก่อนกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 2.41 อยู่ในระดับ ปำนกลำง และหลักกำร
ฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.27 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นสำมำรถนำไป
ประยุกต์ใชใ้ นกำรดำเนินชวี ติ ได้ ค่ำเฉล่ีย 4.37 อยูใ่ นระดับ มำก รองลงมำประเด็นเป็นประโยชน์ต่อกำรนำไปใช้
3
ในกำรปฎิบัติงำนของทำ่ น ค่ำเฉลี่ย 4.36 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นหัวข้อหลักสูตรตรงกับวัตถุประสงค์ในกำรจดั
ฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.31 อยูใ่ นระดับ มำก และประเด็นผู้เข้ำอบรมได้มีส่วนรว่ มในกำรแสดงควำมคิดเห็น ค่ำเฉลยี่
4.27 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมรู้ ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นถ่ำยทอดควำมรู้
ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเน้ือหำได้เป็นอยำ่ งดีและประเด็นตอบข้อซกั ถำมได้เป็นอย่ำงดีและชดั เจน ค่ำเฉลย่ี
4.37 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นมีเทคนิคกำรสรำ้ งบรรยำกำศที่เอ้ือต่อกำรเรยี นรู้ ค่ำเฉล่ีย 4.30 อยู่ใน
ระดับ มำก ประเด็นให้คำแนะนำทเ่ี ปน็ ประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบตั ิได้จรงิ ค่ำเฉล่ีย 4.29 อยูใ่ นระดับ มำก และ
ประเด็นมีกำรเปิดโอกำสให้ซักถำม หรอื แสดงควำมคิดเห็นระหว่ำงกำรสอน ค่ำเฉลี่ย 4.28 อยู่ในระดับ มำก
วชิ ำทฤษฎีบันได 9 ขั้น ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อนและหลัง โดยก่อนกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 2.49
อยู่ในระดับ น้อย และหลังกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.19 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เมื่อพิจำรณำพบว่ำ
ประเด็นหัวข้อหัวข้อหลักสูตรตรงกับวัตถุประสงค์ในกำรจดั ฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.37 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำ
ประเด็ นเป็นประโยชน์ ต่ อกำรนำไปใช้ในกำรปฎิ บัติ งำนของท่ำน และประเด็ นสำมำรถนำไปประยุ กต์ ใช้ในกำร
ดำเนินชีวติ ได้ ค่ำเฉลี่ย 4.34 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นผู้เข้ำอบรมได้มีส่วนรว่ มในกำรแสดงควำมคิดเห็น
ค่ำเฉลี่ย 4.04 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมรู้ ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นถ่ำยทอด
ควำมรู้ ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเน้ือหำได้เป็นอยำ่ งดี ค่ำเฉล่ีย 4.30 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นให้
คำแนะนำท่เี ปน็ ประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบัติได้จรงิ ค่ำเฉลี่ย 4.29 อยูใ่ นระดับ มำก ประเด็นมีเทคนิคกำรสรำ้ ง
บรรยำกำศท่ีเอื้อต่อกำรเรยี นรู้ ค่ำเฉล่ีย 4.20 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นตอบข้อซกั ถำมได้เป็นอยำ่ งดีและชดั เจน
ค่ำเฉล่ีย 4.06 อยูใ่ นระดับ มำก และประเด็นตอบข้อซกั ถำมได้เป็นอย่ำงดีและชดั เจน ค่ำเฉลี่ย 4.01 อยู่ในระดับ
มำก วชิ ำหลักกสิกรรมธรรมชำติ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อนและหลัง โดยก่อนกำรฝึกอบรม
ค่ำเฉล่ีย 2.45 อยู่ในระดับน้อย และหลังกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.27 อยู่ในระดับมำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เมื่อ
พิจำรณำพบว่ำประเด็นเป็นประโยชน์ต่อกำรนำไปใชใ้ นกำรปฎิบัติงำนของท่ำน ค่ำเฉล่ีย 4.47 อยู่ในระดับ มำก
รองลงมำประเด็นเป็นสำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ในกำรดำเนินชวี ติ ได้ ค่ำเฉลี่ย 4.46 อยู่ในระดับ มำก ประเด็น
หัวข้อหลักสูตรตรงกับวตั ถปุ ระสงค์ในกำรจดั ฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.44 อยูใ่ นระดับ มำก และประเด็นผู้เข้ำอบรมได้
มีส่วนรว่ มในกำรแสดงควำมคิดเห็น ค่ำเฉลี่ย 4.31 อยู่ในระดับมำก ด้ำนควำมรู้ ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร เม่ือ
พิจำรณำพบว่ำประเด็นให้คำแนะนำท่ีเป็นประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบัติได้จรงิ ค่ำเฉลี่ย 4.43 อยู่ในระดับ มำก
รองลงมำประเด็นถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเนื้อหำได้เป็นอยำ่ งดี ค่ำเฉลี่ย 4.41 อยู่ในระดับ
มำก ประเด็นตอบข้อซักถำมได้เป็นอย่ำงดีและชัดเจน ค่ำเฉลี่ย 4.37 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นมีเทคนิคกำร
สรำ้ งบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรเรยี นรู้ ค่ำเฉล่ีย 4.30 อยูใ่ นระดับ มำก และประเด็นมีกำรเปิดโอกำสให้ซกั ถำม หรอื
แสดงควำมคิดเห็นระหวำ่ งกำรสอน ค่ำเฉลี่ย 4.26 อยู่ในระดับมำก วชิ ำถอดบทเรยี นผำ่ นสื่อ วถิ ีภมู ปิ ัญญำไทย
กับกำรพ่ึงตนเอง ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อนและหลัง โดยก่อนกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 2.87 อยู่ใน
ระดับ ปำนกลำง และหลังกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.28 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เม่ือพิจำรณำพบวำ่
4
ประเด็นสำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ในกำรดำเนินชีวติ ได้ ค่ำเฉลี่ย 4.46 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นเป็น
ประโยชน์ต่อกำรนำไปใชใ้ นกำรปฎิบัติงำนของท่ำน ค่ำเฉลี่ย 4.44 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นหัวข้อหลักสูตรตรง
กับวัตถุประสงค์ในกำรจดั ฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.37 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นผู้เข้ำอบรมได้มีส่วนรว่ มในกำร
แสดงควำมคิดเห็น ค่ำเฉล่ีย 4.15 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมรู้ ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร เมื่อพิจำรณำพบว่ำ
ประเด็นถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเนื้อหำได้เป็นอย่ำงดี ค่ำเฉล่ีย 4.39 อยู่ในระดับ มำก
รองลงมำประเด็นให้คำแนะนำท่ีเป็นประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบัติได้จรงิ ค่ำเฉลี่ย 4.38 อยู่ในระดับ มำก
ประเด็นมีเทคนิคกำรสรำ้ งบรรยำกำศท่ีเอื้อต่อกำรเรยี นรู้ ค่ำเฉลี่ย 4.28 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นตอบข้อซกั ถำม
ได้เป็นอย่ำงดีและชดั เจน ค่ำเฉล่ีย 4.21 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นมีกำรเปิดโอกำสให้ซักถำม หรอื แสดง
ควำมคิดเห็นระหว่ำงกำรสอน ค่ำเฉลี่ย 4.20 อยูใ่ นระดับ มำก วชิ ำฐำนกำรเรยี นรู้ (ฐำนฅนรกั ษ์สุขภำพ , ฐำนฅนมี
น้ำยำ , ฐำนฅนหัวเห็ด , ฐำนฅนรกั ษ์แม่ธรณี , ฐำนฅนเอำถ่ำน) ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อนและหลัง
โดยก่อนกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 2.82 อยู่ในระดับ ปำนกลำง และหลังกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.35 อยู่ในระดับ
มำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นเป็นประโยชน์ต่อกำรนำไปใช้ในกำรปฎิบัติงำนของท่ำน
ค่ำเฉล่ีย 4.44 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นสำมำรถนำไปประยุกต์ใชใ้ นกำรดำเนินชวี ติ ได้ ค่ำเฉล่ีย 4.37
อยู่ในระดับ มำก ประเด็นหัวข้อหลักสูตรตรงกับวัตถุประสงค์ในกำรจดั ฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.36 อยู่ในระดับ มำก
และประเด็นผู้เข้ำอบรมได้มีส่วนรว่ มในกำรแสดงควำมคิดเห็น ค่ำเฉลี่ย 4.31 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมรู้
ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเนื้อหำได้
เป็นอย่ำงดี ค่ำเฉลี่ย 4.42 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นให้คำแนะนำท่ีเป็นประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบัติ
ได้จรงิ ค่ำเฉล่ีย 4.41 อยู่ในระดับมำก ประเด็นมีเทคนิคกำรสรำ้ งบรรยำกำศที่เอ้ือต่อกำรเรยี นรู้ และประเด็น
ตอบข้อซกั ถำมได้เปน็ อย่ำงดีและชดั เจน ค่ำเฉลี่ย 4.39 อยูใ่ นระดับ มำก และประเด็นมีกำรเปิดโอกำสให้ซกั ถำม
หรอื แสดงควำมคิดเห็นระหว่ำงกำรสอน ค่ำเฉลี่ย 4.33 อยู่ในระดับ มำก วชิ ำหลักกำรออกแบบและกำร
ออกแบบโคกหนองนำเบื้องต้นและ Work Shop กำรออกแบบพ้ืนที่ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อน
และหลัง โดยก่อนกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 2.75 อยู่ในระดับ ปำนกลำง และหลังกำรฝกึ อบรม ค่ำเฉลี่ย 4.10 อยู่
ในระดับ มำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นเป็นประโยชน์ต่อกำรนำไปใชใ้ นกำรปฎิบัติงำนของ
ท่ำน ค่ำเฉล่ีย 4.41 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นสำมำรถนำไปประยุกต์ใชใ้ นกำรดำเนินชีวติ ได้ ค่ำเฉลี่ย
4.34 อยูใ่ นระดับ มำก ประเด็นหัวข้อหลักสูตรตรงกับวตั ถุประสงค์ในกำรจดั ฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.27 อยูใ่ นระดับ
มำก และประเด็นผู้เข้ำอบรมได้มีส่วนรว่ มในกำรแสดงควำมคิดเห็น ค่ำเฉล่ีย 4.15 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมรู้
ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร เม่ือพิจำรณำพบว่ำประเด็นให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบัติได้จรงิ
ค่ำเฉลี่ย 4.35 อยู่ในระดับ มำก รองลงมำประเด็นถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเน้ือหำได้เป็น
อยำ่ งดี ค่ำเฉลี่ย 4.31 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นตอบข้อซกั ถำมได้เปน็ อย่ำงดีและชดั เจน ค่ำเฉลี่ย 4.24 อยู่ใน
5
ระดับ มำก ประเด็นมีเทคนิคกำรสรำ้ งบรรยำกำศท่เี อื้อต่อกำรเรยี นรู้ ค่ำเฉล่ีย 4.21 อยูใ่ นระดับมำก และประเด็น
มีกำรเปดิ โอกำสให้ซกั ถำม หรอื แสดงควำมคิดเห็นระหวำ่ งกำรสอน ค่ำเฉลี่ย 4.13 อยู่ในระดับ มำก วชิ ำ พัฒนำ
3 ขุมพลัง “กำย ใจ ปัญญำ” ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ของผู้เข้ำอบรม ก่อนและหลัง โดยก่อนกำรฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย
2.45 อยู่ในระดับ ปำนกลำง และหลังกำรฝึกอบรม ค่ำเฉลี่ย 4.09 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมพึงพอใจ เมื่อ
พิจำรณำพบว่ำประเด็นเป็นประโยชน์ต่อกำรนำไปใชใ้ นกำรปฎิบัติงำนของท่ำน ค่ำเฉลี่ย 4.17 อยู่ในระดับ มำก
รองลงมำประเด็นสำมำรถนำไปประยุกต์ใชใ้ นกำรดำเนินชวี ติ ได้ ค่ำเฉลี่ย 4.11 อยู่ในระดับ มำก ประเด็นหัวข้อ
หลักสูตรตรงกับวัตถุประสงค์ในกำรจดั ฝึกอบรม ค่ำเฉล่ีย 4.13 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นผู้เข้ำอบรมได้มี
ส่วนรว่ มในกำรแสดงควำมคิดเห็น ค่ำเฉล่ีย 3.92 อยู่ในระดับ มำก ด้ำนควำมรู้ ควำมสำมำรถของวทิ ยำกร เม่ือ
พิจำรณำพบว่ำประเด็นถ่ำยทอดควำมรู้ ประสบกำรณ์จนทำให้เข้ำใจในเน้ือหำได้เป็นอยำ่ งดี ค่ำเฉล่ีย 4.12 อยูใ่ น
ระดับ มำก รองลงมำประเด็นให้คำแนะนำท่เี ป็นประโยชน์ สำมำรถนำไปปฏิบัติได้จรงิ ค่ำเฉล่ีย 4.10 อยูใ่ นระดับ
มำก ประเด็นมีเทคนิคกำรสรำ้ งบรรยำกำศท่ีเอ้ือต่อกำรเรยี นรู้ ค่ำเฉล่ีย 4.08 อยู่ในระดับมำก ประเด็นตอบข้อ
ซกั ถำมได้เป็นอย่ำงดีและชดั เจน ค่ำเฉล่ีย 3.93 อยู่ในระดับ มำก และประเด็นมีกำรเปิดโอกำสให้ซกั ถำม หรอื
แสดงควำมคิดเห็นระหว่ำงกำรสอน ค่ำเฉลี่ย 3.92 อยูใ่ นระดับ มำก
...............................................
ส่วนที่ ๑
บทนำ
๑.เกี่ยวกับโครงกำร
1.1 ควำมเปน็ มำ
ยุทธศำสตรช์ ำติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) มุ่งเน้นกำรพัฒนำประเทศไทยให้บรรลุวสิ ัยทัศน์
“ประเทศมีควำมมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจ
พอเพียง” เป็นกำรพัฒนำให้ประชำชนคนไทยมีคุณภำพชวี ติ ที่ดี มีควำมสุข สรำ้ งพ้ืนฐำนกำรพ่ึงตนเองลดควำม
เหล่ือมล้ำในระดับครวั เรอื น ชุมชน และส่งผลให้ประเทศมีควำมเข้มแข็ง ในกำรใช้ควำมสำมำรถบรหิ ำรจดั กำร
ชวี ติ และบรหิ ำรจดั กำรชุมชน ส่งเสรมิ กำรสรำ้ งรำยได้ พัฒนำเศรษฐกิจฐำนรำก ส่งเสรมิ ควำมเสมอภำคและเปน็
ธรรม
ในสถำนกำรณ์ปัจจุบัน สังคมไทยประสบปัญหำภำวะหนี้สินครวั เรอื นสูงขึ้น และจำกสถำนกำรณ์
กำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID - 19) ส่งผลกระทบต่อสุขภำพประชำชน สภำพ
เศรษฐกิจและสังคมอย่ำงรุนแรง ผู้ประกอบกำรจำนวนมำกได้รบั ผลกระทบต้องปิดกิจกำร ส่งผลให้มีคนตกงำน
เป็นจำนวนมำก ผลกระทบเปน็ ลูกโซส่ รำ้ งควำมรนุ แรงในทกุ ภำคส่วน ทัง้ เศรษฐกิจ สังคม และกำรเมือง
ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ กำรน้อมนำแนวพระรำชดำรสั ในพระบำทสมเด็จพระบรมชน
กำธเิ บศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร ไปสู่กำรปฏิบัติ เพ่ือกำรพัฒนำท่ีสมดุลเป็นธรรมและมี
ภูมิคุ้มกัน กับผลกระทบกำรเปล่ียนแปลงทั้งจำกภำยในชุมชน ประเทศและภำยนอกจำกสังคมโลก ที่จะส่งผลต่อ
ครอบครวั กำรเตรยี มควำมพรอ้ มแต่ละครวั เรอื นให้ได้รบั กำรพัฒนำ อย่ำงบูรณำกำรตำมแนวทำงเศรษฐกิจ
พอเพียงและศำสตรพ์ ระรำชำ โดยสอดคล้องกับภูมิสังคมทแ่ี ต่ละพ้ืนที่มีควำมแตกต่ำงกันของปัจจยั พื้นฐำน ด้ำน
ศักยภำพ วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม ผสมผสำนกับภูมิปญั ญำพ้ืนบำ้ นได้อย่ำงสอดคล้องกัน
กรมกำรพัฒนำชุมชน ตระหนักถึงปัญหำดังกล่ำว และมีควำมแน่วแน่ในกำรเดิ นตำมรอย
พระยุคลบำท สืบสำน รกั ษำ ต่อยอด ด้วยเชอ่ื ม่ันว่ำปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหนทำงเดียวที่จะทำให้
ประเทศชำติรอดพ้นวกิ ฤตและภัยพิบัติท้ังหลำย เกิดกำรพัฒนำท่ียั่งยืน จึงได้จัดทำโครงกำรพัฒนำหมู่บ้ำน
เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ ๑ สรำ้ งและพัฒนำกลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมท่ี ๑.๑ อบรมแกนนำ
ขับเคล่ือนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ขึ้น
๑.๒. วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือให้เกิดผู้นำพัฒนำ (Change Leader) ที่อยู่ในชุมชน และนำกำรพัฒนำให้สอดคล้องกับ
บรบิ ทชุมชนและนำไปสู่สิ่งท่ีชุมชนต้องกำร
๑.๓. เป้ำหมำย
กลุ่มเปำ้ หมำยจำกจงั หวัดนครรำชสีมำ จำนวน ๖๖๖ คน ประกอบด้วย
๓.๑ ผู้แทนครวั เรอื นพัฒนำพ้ืนทเี่ รยี นรู้ “โคก หนอง นำ” ทส่ี มัครใจเข้ำรว่ มกิจกรรมกำรพัฒนำศูนย์
เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๓๑๗ แห่ง แห่งละ ๑ คน รวมทง้ั สิ้น ๓๑๗ คน
๓.๒ ผู้นำชุ มชนของครัวเรอื นพัฒน ำพ้ืนที่เรยี นรู้ “โคก หนอง นำ” ท่ีเข้ำร่วมกิจกรรม
กำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๓๑๗ ชุมชน รวมท้ังส้ิน ๓๑๗ คน
๓.๓ เจำ้ หน้ำท่ีพัฒนำชุมชนอำเภอเป้ำหมำย ๓๒ อำเภอละ ๑ คน รวมทงั้ ส้ิน ๓๒ คน
7
๑.๔. วธิ กี ำรดำเนินงำน
ศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครำชสีมำ จัดฝึกอบรมแกนนำขับเคล่ือนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจ
พอเพียงในรูปแบบออนไลน์ เพ่ือให้กลุ่มเป้ำหมำยมีควำมรูค้ วำมเข้ำใจในหลักกำรแนวทำงพัฒนำหมู่บ้ำนตำม
หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง สำมำรถขับเคล่ือนกำรพัฒนำหมู่บ้ำนให้เป็นแหล่งเรยี นรูต้ ้นแบบรว่ มกันของ
ชุมชน โดยมีข้ันตอนกำรดำเนินงำน ดังนี้
๔.๑ ศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ จัดฝึกอบรมผู้แทนครวั เรอื นเป้ำหมำยพัฒนำพื้นที่
เรยี นรู้ “โคก หนอง นำ” ผู้นำชุมชนของครวั เรอื นเป้ำหมำย เจำ้ หน้ำท่ีพัฒนำชุมชนอำเภอเป้ำหมำย ตำมรูปแบบ
ออนไลน์ และวธิ ีกำรท่ีกำหนด โดยมุ่งเน้นกำรปรบั กรอบควำมคิด/กระบวนกำรทำงควำมคิด ( Mindset)
ให้กลุ่มเป้ำหมำยตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรทำหน้ำที่และสำมำรถนำไปปฏิบัติใชใ้ นกำรบรหิ ำรจดั กำรพ้ืนท่ี
ของตนเองได้ จำนวน ๓๓ จุด มีเจำ้ หน้ำที่โครงกำรและวทิ ยำกรประจำกลุ่มเป็นพ่ีเล้ียงและประสำนกำรฝึกอบรม
ระยะเวลำ ๕ วัน เปน็ กระบวนกำรเรยี นรปู้ ระกอบสื่อ และกำรฝกึ ปฏิบัติในพื้นทีจ่ รงิ
๔.๒ สรุปและประเมินผลกำรดำเนินงำน พรอ้ มทั้งรำยงำนผลกำรดำเนินงำนในระบบ BPM
หลังดำเนินกำรแล้วเสรจ็
๑.๕. สถำนท่ีดำเนินกำร
ศูนยศ์ ึกษำและพฒั นำชุมชนนครรำชสีมำ
๑.๖. หน่วยดำเนินกำร
จงั หวัดนครรำชสีมำ จำนวน ๓๓ จุดดำเนินกำร
๑.๗. ระยะเวลำดำเนินกำร
ดำเนินกำรในไตรมำสท่ี ๑ ( ๖ – ๑๗ ธนั วำคม ๒๕๖๔ ) จำนวน ๒ รนุ่ ๆ ละ ๕ วัน ได้แก่
รนุ่ ท่ี ๑ ระหวำงวันท่ี ๖ – ๑๐ ธนั วำคม ๒๕๖๔
รนุ่ ที่ 2 ระหว่ำงวนั ท่ี ๑๓ – ๑๗ ธนั วำคม ๒๕๖๔
๑.๘. งบประมำณ
งบประมำณ ๙๑,๐๐๐ บำท (เก้ำหมื่นหน่ึงพันบำทถ้วน)
๑.๙. ผลที่คำดว่ำจะได้รบั
ครวั เรอื นพัฒนำพ้ืนท่ีเรยี นรู้ “โคก หนอง นำ ” มีควำมรูค้ วำมเข้ำใจหลักกำรแนวทำงกำรพัฒนำหมู่บำ้ น
ตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง และสำมำรถเป็นแกนนำในกำรขับเคลื่อนกำรน้อมนำหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจ
พอเพียง และทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่กำรปฏิบัติในรูปแบบ “โคก หนอง นำ ” ในพื้นทเี่ ปำ้ หมำยได้
๑.๑๐. ตัวชว้ี ัดกิจกรรม
กลุ่มเป้ำหมำย จำนวน ๖๖๖ คน ซง่ึ ประกอบด้วย ผู้แทนครวั เรอื นพัฒนำพื้นท่ีเรยี นรู้ “โคก หนอง
นำ ” จำนวน ๓๑๗ คน ผู้นำชุมชนของครวั เรอื นพัฒนำพน้ื ท่ีเรยี นรู้ “โคก หนอง นำ ” ท่เี ข้ำรว่ มกิจกรรมกำรพัฒนำหมู่บำ้ น
เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๓๑๗ ชุมชน รวมท้ังสิ้น ๓๑๗ คน เจำ้ หน้ำที่พัฒนำชุมชนอำเภอเป้ำหมำย อำเภอ ๓๒ อำเภอ
ๆ ละ ๑ คน รวมท้ังสิ้น ๓๒ คน ได้รบั กำรพัฒนำมีควำมรูค้ วำมเข้ำใจกำรน้อมนำหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง และ
ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่กำรปฏิบตั ิในรปู แบบ “โคก หนอง นำ ”
8
2. แต่งต้ังคณะทำงำน
ตำมคำส่ังศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ ที่ 32/2564 ลงวันท่ี 26 เดือน พฤศจิกำยน
พ.ศ. 2564
3. ขอบเขตเน้ือหำและรำยชอื่ ทีมวทิ ยำกร
3.1. รำยชอ่ื วทิ ยำกร
3.1.1 วชิ ำ “หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่”
วทิ ยำกร: นำยทองคูณ บุญศร ผู้อำนวยกำรศูนยศ์ ึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ
และสิบตำรวจโทสุรยิ ำ บญุ เรอื ง นักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
ประเด็นเน้ือหำกำรเรยี นรู้
1. ส.ค.ส. ๒547 วกิ ฤตระเบดิ ส่ีลูก
2. ปรชั ญำ 3 ระบบ (ทุนนิยม สังคมนิยม พอเพียง)
3. แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมศำสตรพ์ ระรำชำ ว่ำด้วยดิน นำ้ ป่ำ คน
4. ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ โมเดล”
3.1.2 วชิ ำ “ถอดรหัสพระมหำชนก”
วทิ ยำกร: นำยสัญชยั แชจอหอ นักทรพั ยำกรบุคลชำนำญกำร
ประเด็นเน้ือหำกำรเรยี นรู้
1. ถอดบทเรยี นจำกมุมมองด้ำนกำรพัฒนำมนษุ ย์และองค์กำรอัจฉรยิ ภำพอันสรำ้ งสรรค์ของ
พระบำทสมเด็จพระเจำ้ อยูห่ ัว
2. คติธรรมกำรพัฒนำมนษุ ย์ตำมแนวทำง “กำรฟ้ ืนฟูต้นมะม่วง”
3. วธิ ี 9 อย่ำงในกำรฟ้ ืนฟูต้นมะม่วง
3.1.3 วชิ ำ “กำรถอดรหัสผ่ำนสื่อแผ่นดินไทย ตอนแผ่นดินวกิ ฤต”
วทิ ยำกร: นำงสำวศิรนิ ุช ศิรสิ ุรยิ ะ นักทรพั ยำกรบุคลชำนำญกำร
ประเด็นเนื้อหำกำรเรยี นรู้
1. ภำวะวกิ ฤตโลก สังคมไทย
2. ถ้ำเข้ำสู่ภำวะวกิ ฤตจะเอำตัวรอดอย่ำงไร
3. ทำงออกวกิ ฤต ดิน น้ำ ป่ำ คน ด้วยโคก หนอง นำ โมเดล
3.1.4 วชิ ำ “หลักทฤษฎีบนั ได 9 ขั้น สู่ควำมพอเพียง
วทิ ยำกร: นำยสัญชยั แชจอหอ นักทรพั ยำกรบุคลชำนำญกำร
ประเด็นเนื้อหำกำรเรยี นรู้
1. หลกั คิด “ปรชั ญำของเศรฐกิจพอเพียง”
2. พระรำชดำร ิ“ทฤษฎีใหม่” กำรบรหิ ำรจดั กำรตำมข้ันตอน
3. เศรษฐกิจพอเพียงควำมเข้มแข็งท่ีเปน็ รปู ธรรมตำมวถิ ีวัฒนธรรม ภูมิปัญญำและภูมิสังคม
4. กำรประยุกต์ใชห้ ลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล กลุ่ม องค์กรชุมชนและ
สังคม
9
3.1.5 วชิ ำ “หลักกสิกรรมธรรมชำติ”
วทิ ยำกร: นำยทองคณู บุญศร ผู้อำนวยกำรศูนยศ์ ึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ
และนำงสำวกำญจนำ เชดิ สูงเนิน นักทรพั ยำกรบุคลชำนำญกำร
ประเด็นเนื้อหำกำรเรยี นรู้
1. หัวใจหลักกสิกรรมธรรมชำติ “เล้ียงดินให้ดินเลี้ยงพืช” ห่มดิน “แห้งชำม นำ้ ชำม”
2. นิยำม 5
3. กำรปลกู ปำ่ 3 อย่ำง ประโยชน์ 4 อย่ำง /กำรปลูกไม้ 5 ระดับ
4. วถิ ีปฏิบัติกำรอยำ่ งเปน็ ข้ันเปน็ ตอน
5. ทำแบบคนจน (เอำม้ือสำมัคคี)
6. ข้ันตอนกำรเตรยี มและตรวจแปลง
3.1.6 วชิ ำ “ถอดบทเรยี นผ่ำนส่ือ “วถิ ีภูมิปัญญำไทยกับกำรพึ่งตนเองในภำวะวกิ ฤต
(พ่อบุญเล่ียม บุตรจนั ทรำ)
นำงสำวกำญจนำ เชดิ สูงเนิน นักทรพั ยำกรบุคลชำนำญกำร
ประเด็นเน้ือหำกำรเรยี นรู้
1. ผลกระทบจุดเปลี่ยนของสังคมไทย
2. แนวคิดในกำรพัฒนำเกษตรกรรมยง่ั ยืน
3. แนวคิดในกำรจดั กำรทรพั ยำกรธรรมชำติ
4. แนวคิดในกำรพัฒนำพึ่งพำตนเอง
5. กรณีศึกษำ “พ่อเลี่ยม บุตรจนั ทำ” ปรำชญ์ชำวบ้ำน
3.1.7 วชิ ำ “ฝึกปฏิบตั ิฐำนกำรเรยี นรู”้
วทิ ยำกร: ทีมศูนยศ์ ึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ
ประเด็นเนื้อหำกำรเรยี นรู้
1. ฐำนคนรกั พระแม่ธรณี
2. ฐำนคนรกั สุขภำพ
3. ฐำนคนมีนำ้ ยำ
4. ฐำนคนหัวเห็ด
5. ฐำนคนเอำถ่ำน
3.1.8 วชิ ำ “หลักกำรออกแบบและกำรออกแบบโคก หนอง นำ โมเดล เบอ้ื งต้น”
วทิ ยำกร : นำยปรเมศวร์ สิทธวิ งศ์ ผู้อำนวยกำรศูนย์กำรศึกษำกำรพัฒนำตำมหลักปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง
เขำใหญ่ พำโน รำม่ำ ฟำรม์
ประเด็นเนื้อหำกำรเรยี นรู้
1. หลักกำรออกแบบตำมหลกั ภูมิสังคม ดิน นำ้ ไฟ พืช คน
2. กำรสำรวจพื้นที่ก่อนกำรออกแบบ
3. ขั้นตอนกำรออกแบบโคก หนอง นำ พัฒนำชุมชนด้วยตนเอง
10
3.1.9 วชิ ำ “Work Shop กำรออกแบบพื้นท่ี” และสรปุ บทเรยี นกำรออกแบบพ้ืนที่
วทิ ยำกร : นำยปรเมศวร์ สิทธวิ งศ์ นำยปรเมศวร์ สิทธวิ งศ์ ผู้อำนวยกำรศูนย์กำรศึกษำกำรพัฒนำ ตำมหลัก
ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง เขำใหญ่ พำโน รำม่ำ ฟำรม์ และวทิ ยำกรครพู ำทำในพ้ืนท่ีประจำจุด
ประเด็นเนื้อหำกำรเรยี นรู้
1. ข้ันตอนกำรออกแบบ โคก หนอง นำ ด้วยตนเอง
2. หลักคิดพื้นฐำนกำรออกแบบตำมหลักภูมิสังคม (Geosocial)
3. กำรคำนวณกำรจดั กำรน้ำฝนในพื้นที่
4. แนวคิดกำรออกแบบและฝกึ ปฏิบตั ิกำรเขียนแบบตำมหลัก “โคก หนอง นำ”
3.1.10 วชิ ำ “ยุทธศำสตรก์ ำรขับคลื่อนปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง”
วทิ ยำกร: นำยทองคูณ บุญศร ผู้อำนวยกำรศูนยศ์ ึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ
ประเด็นเน้ือหำกำรเรยี นรู้
1. กำรกำหนดเป้ำหมำยของชวี ติ บนวถิ ีชวี ติ เศรษฐกิจพอเพียง
2. ออกแบบพ้ืนที่ชวี ติ กำรดำรงอยูบ่ นพ้ืนฐำนของกำรพึ่งตนเอง เล็ก แคบ ชดั กำรเอำม้ือสำมัคคี
และกำรเปน็ ครูพำทำ
3. กำหนดยุทธศำสตรก์ ำรขับเคลื่อนปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กำรปฏิบัติสถำนที่จรงิ
วำงแผน ขับเคลื่อนสรำ้ งสังคมอุดมสุขแบบพอเพียง จติ อำสำพัฒนำพื้นท่ี/พัฒนำชุมชน
3.1.11 วชิ ำ “พัฒนำ 3 ขุมพลัง พลังกำย พลังใจ พลังสติปญั ญำ”
วทิ ยำกร : นำงสำวเมธยำ ขะจวง นักทรพั ยำกรบุคล
ประเด็นเนื้อหำกำรเรยี นรู้
1. กำรพัฒนำพลังกำย กำรพัฒนำพลงั ใจ กำรพัฒนำพลังปญั ญำ
2. แนวคิดกำรพัฒนำเพื่อพง่ึ ตนเองของเกษตรกร
3. กรปรบั เปลี่ยนชวี ติ ตำมสถำนกำรณ์
ส่วนที่ 2
สรปุ สำระสำคัญในภำควชิ ำกำร/กิจกรรมกำรฝกึ อบรม
ศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ ดำเนินกำรฝึกอบรมตำมโครงกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจ
พอเพียง กิจกรรมที่ 1 สรำ้ งและพัฒนำกลไกลขับเคล่ือนในระดับพื้นท่ี กิจกรรม 1.1 อบรมแกนนำขับเคล่ือน
หมู่บำ้ นเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีวตั ถุประสงค์ เพ่ือให้เกิดผู้นำพัฒนำ (Change Leader) ทีอ่ ยูใ่ นชุมชน และนำ
กำรพัฒนำให้สอดคล้องกับบรบิ ทชุมชน และนำไปสู่ส่ิงท่ีชุมชน จำนวน 2 รุน่ ๆ ละ 5 วัน โดย กำหนดให้
ดำเนินกำรฝึกอบรม รุน่ ที่ 1 ระหว่ำงวันที่ 6 - 10 ธนั วำคม 2564 และรุน่ ที่ 2 ระหว่ำงวันท่ี 13 - 17 ธนั วำคม
2564 กลุ่มเป้ำหมำยจำกจงั หวดั นครรำชสีมำ จำนวน ๖๖๖ คน ประกอบด้วย ๑. ผู้แทนครวั เรอื นพัฒนำพื้นทีเ่ รยี นรู้
“โคก หนอง นำ” ท่ีสมัครใจเข้ำรว่ มกิจกรรมกำรพัฒนำศูนย์เรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๓๑๗ แห่ง แห่งละ ๑ คน
รวมทง้ั ส้ิน ๓๑๗ คน ๒. ผู้นำชุมชนของครวั เรอื นพัฒนำพ้ืนทเ่ี รยี นรู้ “โคก หนอง นำ” ทีเ่ ข้ำรว่ มกิจกรรมกำรพัฒนำ
หมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๓๑๗ ชุมชน รวมท้ังสิ้น ๓๑๗ คน ๓. เจำ้ หน้ำที่พัฒนำชุมชนอำเภอเป้ำหมำย
๓๒ อำเภอละ ๑ คน รวมท้งั ส้ิน ๓๒ คน โดยสรุปสำระสำคัญในกำรฝึกอบรมภำควชิ ำกำร และกำรจดั กิจกรรมตำม
หลักสูตร ดังน้ี
เนื้อหำหลักสูตร ประกอบด้วย 12 เน้ือหำวชิ ำหลัก 3 กิจกรรมเสรมิ คุณค่ำ ดังน้ี
เนื้อหำวชิ ำหลัก
1) หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่
2) ถอดรหัสพระมหำชนก
3) ถอดบทเรยี นผ่ำนสื่อ “ตอนแผ่นดินวกิ ฤต”
4) พัฒนำ 3 ขุมพลัง “พลังกำย พลังใจ พลังปัญญำ”
5) ทฤษฎีบันได 9 ขั้นสู่ควำมพอเพียง
6) หลักกสิกรรมธรรมชำติ
7) ถอดบทเรยี นผ่ำนส่ือ “วถิ ีภูมิปญั ญำไทยกับกำรพึ่งตนเองในภำวะวกิ ฤต”
8) หลักกำรออกแบบและกำรออกแบบโคกหนองนำ โมเดล เบ้อื งต้น
9) Work Shop กำรออกแบบพื้นทแ่ี ละสรุปบทเรยี นกำรออกแบบพื้นที่
10) เรยี นรู้ 5 ฐำนกำรเรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง
11) กิจกรรมเอำม้ือสำมัคคี
12) ยุทธศำสตรก์ ำรขับเคลื่อนปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กำรปฏิบตั ิ
กระบวนกำรเรยี นรู้
1) ใชก้ ำรฝึกอบรมรูปแบบออนไลน์ (Zoom Cloud Meetings) โดยแบง่ ผู้เข้ำรบั กำรฝกึ อบรม ออกเป็น
จุด ๆ ละ ประมำณ 15 - 33 คน รุน่ ที่ 1 จำนวน 17 จุดดำเนินกำร และรุน่ ท่ี 2 จำนวน 16 จุดดำเนินกำร ตำม
บรบิ ทของแต่ละพื้นที่ที่จงั หวดั กำหนด โดยมีเจำ้ หน้ำทพี่ ัฒนำชุมชนและครพู ำทำดูแลและอำนวยควำมสะดวกแก่
ผู้เข้ำรบั กำรฝกึ อบรมประจำจุด
12
2) ให้ผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลำง เน้นกำรเรยี นรแู้ บบมีส่วนรว่ ม
3) วทิ ยำกรให้ควำมรู้ แลกเปล่ียนประสบกำรณ์ และเติมเต็มควำมร/ู้ ฝกึ ปฏิบตั ิ
เทคนิค/วธิ กี ำร
1) บรรยำยประกอบสื่อ Power Point
2) เวทีแลกเปล่ียนเรยี นรู้
3) สื่อวดี ีทศั น์
4) แบ่งกลุ่มระดมสมองและฝกึ ปฏิบตั ิ
1. วชิ ำ “หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่”
วทิ ยำกร: นำยทองคณู บุญศร ผู้อำนวยกำรศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ
และ สิบตำรวจโทสุรยิ ำ บุญเรอื ง นักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ำรบั กำรอบรมมีควำมรู้ “หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่”
เพ่ือนำไปประยุกต์ สู่ “โคก หนอง นำ พัฒนำชุมชน”
ระยะเวลำ 4.30 ชวั่ โมง
ประเด็นเนื้อหำกำรเรยี นรู้
1. ส.ค.ส. ๒547 วกิ ฤตระเบดิ สี่ลูก
2. ปรชั ญำ 3 ระบบ (ทุนนิยม สังคมนิยม พอเพียง)
3. แนวคิดทฤษฎี นวตั กรรมศำสตรพ์ ระรำชำ วำ่ ด้วยดิน นำ้ ป่ำ คน
4. ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ โมเดล”
เทคนิค/วธิ กี ำร
1. กำรบรรยำยประกอบสื่อ PowerPoint
2. กำรตั้งคำถำมเพ่ือกำรแลกเปล่ียนประสบกำรณ์
วัสดุ/อุปกรณ์
1. ส่ือวดี ีทศั น์ ประกอบกำรบรรยำยผ่ำนระบบ Zoom Cloud Meetings
2. สื่อ Power Point
สรุปผลกำรดำเนินงำนและกำรเรยี นรู้
1. ส.ค.ส. 2547 วกิ ฤตระเบดิ ส่ีลูก
บรบิ ทกำรเปลี่ยนแปลงของโลกที่คนไทยได้เผชญิ มำแล้ว และจะรุนแรงข้ึนในทศวรรษหน้ำด้วย
ระเบิด ๔ ลูกท่ีจุดชนวนทั่วโลก ลูกท่ี ๑ วกิ ฤตเศรษฐกิจ (Economic Crisis) วกิ ฤตเศรษฐกิจ พลังงำน
นำ้ มัน กำรเงนิ ขำดแคลนปจั จยั สี่ และน้ำด่ืมนำ้ ใช้ ลูกท่ี ๒ วกิ ฤตสิ่งแวดล้อม (Environmental Crisis)
กำรเปล่ียนแปลงสภำพภูมิอำกำศโลก เชน่ โลก รอ้ น นำ้ แข็งละลำย แผ่นดินไหว อุทกภัย วำตภัยกำรสูญ
พันธขุ์ องสิ่งมีชวี ติ ลูกท่ี ๓ วกิ ฤตสังคม (Social Crisis) วกิ ฤตกำรณ์สังคม และ โรคระบำดใหม่
13
ลูกท่ี ๔ วกิ ฤตกำรเมือง (Political Crisis) ควำมขัดแย้งใน ลัทธิ ควำมเช่อื ศำสนำวัฒนธรรม สีผิว กำรเมือง
ต่อสู้แย่งชงิ ทรพั ยำกรน้ำสู่สงครำม
ท้ังนี้ จะเห็นได้ว่ำ ภัยพิบัติท้ัง 4 ประกำร ต่ำงเกิดข้ึนพรอ้ ม ๆ กันแล้วบนผืนแผ่นดินไทย สะท้อนให้เห็น
ว่ำ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ทรงเล็งเห็นและมีควำมห่วงใยถึงปัญหำเหล่ำน้ี เห็นได้จำกโครงกำรใน
พระรำชดำรติ ่ำง ๆ ของพระองค์ที่ออกมำชว่ ยเหลือประชำชนแก้ไขปญั หำ อำทิ ฝนหลวงพระรำชทำน กำรจดั กำร
ด้ำน ชลประทำนคือกำรสรำ้ งอ่ำงเก็บน้ำต่ำง ๆ กำรจดั กำรน้ำท่วม อำทิ พระรำชดำรกิ ่อสรำ้ งคันดินกั้นนำ้ ทำงผัน
น้ำ สรำ้ งเข่ือนอเนกประสงค์ โครงกำรแก้มลิง เปน็ ต้น
ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
“ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรชั ญำท่ีพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดชบรมนำถ
บพิตร ทรงชถ้ี ึงแนวทำงกำรดำรงชวี ติ และปฏิบตั ิตนของประชำชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครวั ระดับชุมชน
จนถึงระดับรฐั ท้ังในกำรพัฒนำและบรหิ ำรประเทศให้ดำเนินไปในทำงสำยกลำง โดยเฉพำะกำรพัฒนำเศรษฐกิจ
เพ่ือให้ก้ำวทันต่อโลกยุคโลกำภิวัตน์ ควำมพอเพียง หมำยถึง ควำมพอประมำณ ควำมมีเหตุผล รวมถึงควำม
จำเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อกำรกระทบใด ๆ อันเกิดจำกกำรเปล่ียนแปลงท้ังภำยใน
ภำยนอก ท้งั น้ีจะต้องอำศัยควำมรอบรูค้ วำมรอบคอบ และควำมระมัดระวังอย่ำงยิ่งในกำรนำวชิ ำกำรต่ำง ๆ มำใช้
ในกำรวำงแผนและกำรดำเนินกำร ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสรมิ สรำ้ งพื้นฐำนจติ ใจของคนในชำติ
โดยเฉพำะเจำ้ หน้ำท่ีของรฐั นักทฤษฎี และนักธรุ กิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ควำมซอ่ื สัตย์สุจรติ และ
ให้มีควำมรอบรูท้ ี่เหมำะสม ดำเนินชีวติ ด้วยควำมอดทน ควำมเพียร มีสติ ปัญญำ และควำมรอบคอบ เพื่อให้
สมดุล และพรอ้ มต่อกำรรองรบั กำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเรว็ และกว้ำงขวำง ท้ังด้ำนวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม
และ วัฒนธรรมจำกโลกภำยนอกได้เปน็ อย่ำงดี
เศรษฐกิจพอเพียง
คือ ปรชั ญำชถี้ ึงแนวกำรดำรงอยู่และปฏิบัติตน ของประชำชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครวั ระดับ
ชุมชน จนถึงระดับรฐั ท้ังในกำรพัฒนำและบรหิ ำรประเทศ ให้ดำเนินไปในทำงสำยกลำง โดยเฉพำะกำรพัฒนำ
เศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้ำวทนั ต่อโลกยุคโลกำภิวัตน์
ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงระดับท่ีหนึ่ง
เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐำนท่ีเน้นควำมพอเพียง ในระดับบุคคลและครอบครวั คือ กำรที่
สมำชิกใน ครอบครวั มีควำมเป็นอยู่ในลักษณะท่ีสำมำรถพึ่งพำตนเองได้ มีปัจจัยในกำรดำเนินชีวติ มีกำร
ช่วยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน มีควำมสำมัคคี กลมเกลียว และมีควำมพอเพียงในกำรดำเนินชีวติ ด้วยกำร
ประหยดั และกำรลด ค่ำใชจ้ ำ่ ยท่ีไม่จำเป็น ดำรงชวี ติ ได้อย่ำงมีควำมสุขทง้ั กำยและใจ
14
เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่สอง
เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้ำวหน้ำท่ีเน้นควำมพอเพียง ระดับกลุ่มหรอื องค์กร คือ เมื่อบุคคล
ครอบครวั มีควำมพอเพียงในระดับท่ีหนึ่งแล้ว ก็จะรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรอื สหกรณ์ เพ่ือรว่ มกันดำเนินงำนใน
ด้ำนต่ำง ๆ ทั้ง ด้ำนกำรผลิต กำรตลำด ควำมเป็นอยู่ สวัสดิกำร กำรศึกษำ สังคมและศำสนำ โดยได้รบั ควำม
รว่ มมือจำก หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ท้งั หน่วยรำชกำร มูลนิธแิ ละเอกชน
เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่สำม
เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้ำวหน้ำท่ีเน้นควำมพอเพียงในระดับเครอื ข่ำย คือ เม่ือมีกลุ่มหรอื
องค์กรมีควำมพอเพียงระดับที่สองแล้วก็จะรว่ มมือกับหน่วยงำนภำยนอก เพ่ือกำรสรำ้ งเครอื ข่ำย มีกำรติดต่อ
รว่ มมือกับธนำคำร และบรษิ ัทต่ำง ๆ ท้งั ในด้ำนกำรลงทนุ กำรผลิต กำรตลำด กำรจำหน่ำยและกำรบรหิ ำรจดั กำร
เพ่ือกำรขยำย กิจกรรมทำงเศรษฐกิจท่ีหลำกหลำย ให้สมประโยชน์ด้วยกันทุกฝ่ำย
ปรชั ญำ 3 ระบบ
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีเปิดโอกำสให้บุคคลท่ัวไปเลือก
ตัดสินใจดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกิจตำมควำมสำมำรถและโอกำสของตน โดยอำศัยตลำดและรำคำในกำร
เลือกโดยรฐั หรอื เจำ้ หน้ำที่จำกส่วนกลำงมีบทบำทเก่ียวข้องน้อยมำก
ข้อดี ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม : ทรพั ย์สินและปัจจัยกำรผลิตเป็นของเอกชน เอกชนเป็น
ผู้ดำเนินกำรกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ โดยผ่ำนกลไกรำคำ และมีกำไรเป็นแรงจูงใจ มีกำรแข่งขันเป็นรำกฐำน ของ
ระบบเศรษฐกิจ รฐั ไม่เข้ำแทรกแซงทำงเศรษฐกิจ มีบทบำทเพียงกำรรกั ษำควำมสงบเรยี บรอ้ ย ควำมยุติธรรม
ประชำชนสำมำรถใชค้ วำมรูค้ วำมสำมำรถ โอกำส ควำมคิดรเิ รม่ ิ ของตนในกำรผลิตและบรโิ ภคเพื่อ ประโยชน์ทำง
เศรษฐกิจของตนได้อย่ำงเต็มท่ี
ข้อเสีย ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม : เนื่องจำกควำมสำมำรถ และ โอกำสของบุคคลที่แตกต่ำงกัน
ทำให้มีระดับรำยได้แตกต่ำงกัน นำไปสู่ปัญหำกำรกระจำยรำยได้ระหว่ำงคนรวยกับคนจน กำรผลิตในระบบทุน
นิยมเป็นท่ีมำของกำรแข่งขันกันผลิต นำไปสู่กำรทำลำยทรพั ยำกรและสิ่งแวดล้อมตำมธรรมชำติจนกลำยเป็น
ปัญหำของโลกในปัจจุบนั
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีรฐั เป็นเจ้ำของปัจจัยกำรผลิต
วำงแผนและควบคุมกำรผลิตบำงประเภทโดยเฉพำะ กำรผลิตที่เป็นผลประโยชน์รว่ มกันของประชำชน เชน่ กำร
สำธำรณูปโภค ต่ำง ๆ สถำบันกำรเงนิ ป่ำไม้ เอกชนถูก จำกัดเสรภี ำพในกิจกรรมทำงเศรษฐกิจโดยเฉพำะส่วนที่
เปน็ ผลประโยชน์ของส่วนรวม ดำเนินกำรได้เพียง อุตสำหกรรมและเกษตรกรรมขนำดย่อม ทั้งนี้เพื่อแก้ไขปญั หำ
ควำมแตกต่ำงด้ำนฐำนะระหว่ำงคนรวยและคนจน
15
ข้อดี ของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม : รฐั ควบคุมกำรดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ มีกำรวำงแผน
จำกส่วนกลำง ควำมเสมอภำคด้ำนฐำนะทำงเศรษฐกิจของบุคคลในสังคม ประชำชนได้รบั สวัสดิกำรจำกรฐั บำล
กลำงโดยเท่ำเทียมกันและสำมำรถกำหนดนโยบำยเปำ้ หมำยตำมท่ีรฐั บำลกลำง ต้องกำรได้
ข้อเสีย ของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม : ประชำชนขำดแรงจูงใจในกำรทำงำนเศรษฐกิจของประเทศ
อำจเผชญิ วกิ ฤติ หำกรฐั กำหนดควำมต้องกำรผิดพลำด กำรไม่มีระบบแข่งขันแบบทุนนิยมทำให้ไม่มีกำรพัฒนา
สินค้ำ และบรกิ ำรใหม่ ๆ
ระบบเศรษฐกิจตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีมุ่งต่อศักยภำพของประเทศท่ีมีควำมสมดุลเป็นพื้นฐำน โดยให้ควำมสำคัญกับกำร
ผลิตเพ่ืออุปโภค บรโิ ภค สำรอง และแบ่งปัน หลังจำกนั้นจงึ ผลิตเพื่อกำรค้ำ ซงึ่ ประกอบด้วย 3 คณุ ลักษณะที่เปน็
ห่วงสอดรอ้ ยประสำนกันเพื่อนำไปสู่กำรปฏิบัติ ได้แก่ ควำมพอประมำณ (ควำมพอดี ไม่น้อยเกินไปและไม่มำก
เกินไป โดยไม่เบยี ดเบียนตนเองและผู้อ่ืน เชน่ กำรผลิตและกำรบรโิ ภคทีอ่ ยู่ในระดับพอประมำณ) ควำมมีเหตุผล
(กำรตัดสินใจเก่ียวกับระดับของควำมพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่ำงมีเหตุผลโดยพิจำรณำจำกเหตุปัจจัยท่ี
เก่ียวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นจำกกำรกระทำนั้น ๆ อย่ำงรอบคอบ) กำรมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
(กำรเตรยี มตัวให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนกำรต่ำง ๆ ทจี่ ะเกิดข้ึนโดยคำนึงถึงควำมเปน็ ไปได้
ของสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ท่ีคำดวำ่ จะเกิดขึ้นในอนำคตท้ังใกล้และไกล) นอกจำกคุณลักษณะ 3 ห่วงดังกล่ำวแล้ว สิ่ง
สำคัญอีกอย่ำงหน่ึงคือกำรกำหนดเง่อื นไขไว้ 2 ประกำรเพ่ือกำรตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่ำง ๆ ให้อยู่ใน
ระดับพอเพียงน้ันต้องอำศัยทั้งควำมรูแ้ ละคณุ ธรรมเปน็ พื้นฐำน น่ันคือ เง่อื นไขควำมรู้ ซงึ่ ประกอบด้วยควำมรอบ
รู้ เก่ียวกับวชิ ำกำรต่ำง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องอย่ำงรอบด้ำนควำมรอบคอบที่จะนำควำมรูเ้ หล่ำน้ันมำพิจำรณำให้เชอื่ มโยง
กัน เพ่ือประกอบกำรวำงแผน และควำมระมัดระวังในข้ันตอนปฏิบัติ และเง่อื นไขคุณธรรม ที่จะต้องเสรมิ สรำ้ ง
ประกอบ ด้วยมีควำมตระหนักในคุณธรรม มีควำมซอ่ื สัตย์สุจรติ และมีควำมอดทน มีควำมเพียร ใชส้ ติปัญญำใน
กำรดำเนินชวี ติ
ศำสตรพ์ ระรำชำ "เข้ำใจ เข้ำถึง พัฒนำ"
เข้ำใจ ศึกษำข้อมูลเพ่ือให้เข้ำใจว่ำจะให้ ควำมช่วยเหลือในเรอ่ ื งอะไรได้บ้ำง และควำมเดือดรอ้ นของ
ประชำชน เป็นอยำ่ งไร
- เข้ำใจโลก (ปัญหำ) - เข้ำใจชวี ติ (ตนเอง)
- เข้ำใจศำสตรพ์ระรำชำ (ส่ิงท่พี ่อคิด)
- บรบิ ทของชุมชน (รำกเหง้ำ)
เข้ำถึง ลงไปยังพื้นทนี่ ั้นเพื่อพบกับประชำชนผู้ได้รบั ควำมเดือดรอ้ น สรำ้ งกำรมีส่วนรว่ ม เพรำะประชำชน
เปน็ เจำ้ ของพื้นท่ี จะสำมำรถให้ข้อมูลได้ถูกต้องมำกท่สี ุด
- เข้ำถึงหลักคิด
- เข้ำถึงหลักทรงงำน
- เข้ำถึงงำนทีท่ ่ำนทำ
16
- เข้ำถึงภูมิปญั ญำของบรรพบุรษุ (ควำมร)ู้
พัฒนำ แสวงหำแนวทำงกำรแก้ไข โดยบูรณำกำรกำรทำงำนท้งั ภำครฐั และ ประชำชน สรำ้ งทีมพี่เล้ียงให้
คำแนะนำ และติดตำมสนับสนุน
- กำรพัฒนำต้องทำ “เป็นขั้น เป็นตอน”
- กำรทำแบบคนจน
- ปรบั ใช้ : ต่อยอด
แนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรม ศำสตรพ์ ระรำชำว่ำด้วย ดิน นำ้ ป่ำ คน
บรหิ ำรจดั กำรนำ้ ด้วย โคก หนอง นำ พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธเิ บศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช
บรมนำถบพิตร ในหลวงรชั กำลที่ 9 พระองค์ท่ำนทรงเคยรบั สั่งไว้วำ่ ‘น้ำคือชวี ติ ’ ดังนั้น สิ่งหน่ึงทีเ่ ปน็ ควำมพิเศษ
ของโคก หนอง นำ โมเดล ก็คือกำร วำงแผนเก็บน้ำไว้ใชต้ ลอดทัง้ ปีเพรำะหำกมีน้ำใชแ้ ล้วก็จะอยูไ่ ด้และประกอบ
อำพีช ได้ชว่ ยลดกำรเคล่ือนย้ำยถ่ิน ฐำนของประชำกร อีกท้ังยังช่วยลดควำมแออัด ลดกำรแย่งพื้นท่ีทำกินใน
เมืองใหญ่ ลดปัญหำสังคม ปัญหำยำเสพติด ปัญหำควำมสกปรก และปัญหำชนบทล่มสลำย โครงกำรใน
พระรำชดำรขิ องพระองค์ท่ำนส่วนใหญ่จงึ เป็น โครงกำรเรอ่ ื งน้ำ ดังนั้น โคก หนอง นำ โมเดล ก็เชน่ กัน ได้มีกำร
นำหลักคิดในเรอ่ ื งนี้มำปรบั ใช้ ซงึ่ ไม่เพียงจะทำให้ มีน้ำใชต้ ลอดทง้ั ปีและไม่ต้องประสบปญั หำภัยแล้งแล้ว ยังชว่ ย
ลดปรมิ ำณน้ำหลำกท่ีจะเข้ำท่วมพ้ืนที่ต่ำง ๆ และ ลดกำรเกิดตะกอนดินทับถม เพรำะมีพ้ืนท่ีกักเก็บน้ำเพียงพอ
และมีต้นไม้คอยดูดซบั นำ้ ลงสู่ใต้ดิน
“โคก หนอง นำ โมเดล” เป็นโมเดลต้นแบบที่สถำบันเศรษฐกิจพอเพียงและมูลนิธกิ สิกรรมธรรมชำติได้
น้อมนำพระรำชดำรสั ของในหลวงรชั กำลท่ี 9 ในเรอ่ ื งเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่มำใชบ้ รหิ ำรจดั กำร
น้ำและพื้นที่ทำกำรเกษตร โดยมุ่งหวังท่ีจะสรำ้ งจุดเปลี่ยนให้กับชุมชน ซงึ่ แบ่งพ้ืนที่เป็นสัดส่วน 30 : 30 : 30 :
10 กล่ำวคือ 30% แรกสำหรบั แหล่งน้ำ ท้ังกำรขุดบ่อทำหนองและกำรขุดคลองไส้ไก่ท่ีชว่ ยระบำยน้ำรอบพื้นท่ี
อีก 30 % สำหรบั ปลูกข้ำว และอีก 30% สำหรบั ไว้ทำโคกหรอื ป่ำ โดยปลูกผักไว้เป็นอำหำร ปลูกไม้ใช้สอย
ปลูกยำสมุนไพร ส่วน 10% ทีเ่ หลือ สำหรบั เปน็ ทีอ่ ยู่อำศัยและเล้ียงสัตว์
โครงกำรพัฒนำพ้ืนที่ต้นแบบกำรพัฒนำคุณภำพชวี ติ ตำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ โมเดล”
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสรมิ กำรเรยี นรกู้ ำรน้อมนำหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่กำรปฏิบัติ ในรปู แบบ
โคก หนอง นำ โมเดล
2. เพ่ือพัฒนำพื้นท่เี รยี นรชู้ ุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นำ โมเดล” ตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ระดับตำบล และระดับครวั เรอื น
3. เพ่ือฟ้ ืนฟูเศรษฐกิจท้องถิ่นและชุมชนผ่ำนกำรสรำ้ งงำนสรำ้ งรำยได้ให้แก่เกษตรกร แรงงำนและ
บัณฑิตจบใหม่ กลุ่มแรงงำน ท่ีอพยพกลับท้องถิ่นและชุมชน ที่ได้รบั ผลกระทบจำกสถำนกำรณ์ในชว่ งวกิ ฤต กำร
แพรร่ ะบำดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID - 19)
17
ข้ันตอนกำรดำเนินกิจกรรมโครงกำร
1. ฝกึ อบรมเพ่ิมทักษะกำรพัฒนำกสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบ โคก หนอง นำ โมเดล
2. พัฒนำพ้ืนที่ต้นแบบกำรพัฒนำคุณภำพชีวติ ตำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นำ โมเดล
ระดับตำบล และ ระดับครวั เรอื น
3. กระตุ้นกำรบรโิ ภคภำคครวั เรอื นและเอกชน ผ่ำนกิจกรรมกำรพัฒนำและสนับสนุนพื้นท่ีครวั เรอื น
ต้นแบบกำรพัฒนำคุณภำพชวี ติ ระดับครวั เรอื น
4. บูรณำกำรรว่ มพัฒนำพื้นท่ีระดับตำบล ต่อยอดทำงธรุ กิจ รว่ มกับภำคเอกชนในพื้นท่ี
5. พัฒนำกำรสรำ้ งมำตรฐำนผลผลิต กำรแปรรปู และกำรตลำดตำมมำตรฐำนอินทรยี ว์ ถิ ีไทย
“โคก หนอง นำ โมเดล” เป็นกำรบรหิ ำรจัดกำรพ้ืนท่ี ที่ผสมผสำนระหว่ำงเกษตรทฤษฎีใหม่เข้ำกับ
ภูมิปัญญำท้องถ่ิน ซงึ่ ทำได้ง่ำย และชว่ ยเก็บนำ้ ได้จรงิ ทำให้เกษตรกรและชำวบำ้ นมีนำ้ ใชใ้ นฤดูแล้ง พอถึงฤดูฝน
ปัญหำน้ำไหลหลำกสู่พื้นที่ด้ำนล่ำงก็บรรเทำเบำลงเมื่อคนในพ้ืนท่ีต้นน้ำกักเก็บน้ำได้ โคก สรำ้ งโคกบนพื้นที่ของ
ตนเอง จำกกำรนำดินทีไ่ ด้จำกกำรขุดหนอง นำมำถมเป็นโคกเพ่ือสรำ้ งทอี่ ยู่ อำศัย ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ รวมทัง้ ปลูก
ต้นไม้ตำมแนวทำงศำสตรพ์ ระรำชำ คือ “ปำ่ 3 อย่ำง ประโยชน์ 4 อย่ำง” เพ่ือพอกิน เพื่อใชส้ อยในครวั เรอื นหรอื
พอใช้ และเพ่ือสรำ้ งท่ีอยูอ่ ำศัยหรอื พออยู่ จำกน้ันประโยชน์อย่ำงที่ 4 คือ ชว่ ยสรำ้ งสมดุลระบบนิเวศ เพรำะใบไม้
ที่รว่ งหล่นจะชว่ ยปกคลุมหน้ำดิน ในขณะที่รำกจำนวนมำกชว่ ยดูดซบั น้ำฝน เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใต้โคกเป็นน้ำใต้ดิน
เพิ่มควำมชุม่ ชน้ื
หนอง ขุดหนอง รูปรำ่ งคดโค้งอิสระ ไม่เป็นส่ีเหลี่ยม เพื่อเก็บน้ำไว้ใช้ยำมหน้ำแล้งหรอื จำเป็น และ
สำมำรถใชเ้ ป็นที่รองรบั น้ำยำมน้ำท่วมหลำก และเป็นแหล่งท่ีอยู่อำศัยของปลำ “กำรขุดหนอง ในหลวง รชั กำลที่
9 ทรงให้หลักกำรคำนวณว่ำ โดยเฉลี่ยแล้วน้ำในหนองจะระเหยวันละ 1 เซนติเมตร ดังน้ัน 1 ปี น้ำจะระเหย
ประมำณ 3.6 เมตร เรำจึงควรขุดสระเผ่ือไว้ ให้มีควำมลึก 4-8 เมตร เพื่อให้มี น้ำพอเพียงสำหรบั กำรทำ
กำรเกษตรตลอดท้งั ปี”
นำ ยกหัวคันนำให้กว้ำงและสูงอย่ำงน้อย 1 เมตร ธรรมชำติของข้ำวจะทะลึ่งน้ำไม่จมน้ำตำย เพ่ือเพิ่ม
พ้ืนท่ีกักเก็บน้ำไว้ในนำ ขุดรอ่ งใกล้หัวคันนำ เป็นที่อยู่ของปลำ ปู ป้ ันหัวคันนำให้มีควำมกว้ำงมำกพอที่จะปลูก
ต้นไม้ พืชผัก ให้มีรำกยึดเหนี่ยวคันนำ และเพิ่มพื้นท่ที ำกิน
คลองไส้ไก่ ช่วยระบายน้ำรอบพื้นที่ โดยขุดให้มีลักษณะคดเคี้ยว เพ่ือให้น้ำไหลได้ท่ัวถึงตลอดทั้งพื้นที่
เพื่อใชท้ ำงกำรเกษตรและชว่ ยเพิ่มควำมชุม่ ชนื้ ให้กับผืนดินและต้นไม้โดยรอบ
ฝำยชะลอน้ำ ชว่ ยชะลอและกักเก็บน้ำจำกต้นน้ำไว้ในพ้ืนท่ี เพื่อไม่ให้น้ำหลำกลงมำสรำ้ งควำมเสียหำย
กับ พ้ืนท่ีลุ่มด้ำนล่ำงและชว่ ยกักตะกอนดินไม่ให้ลงมำสะสมในหนอง คลอง บึง หรอื เขื่อน นอกจำกนั้น สำหรบั
พ้ืนที่ กลำงนำ้ ฝำยชะลอน้ำยังชว่ ยยกระดับนำ้ เพื่อเก็บไว้ในพ้ืนท่ีอีกด้วย
18
สรุปผลจากการเรยี นรู้
ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรม มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับ “หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎี
ใหม่” เพ่ือนำไปประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ พัฒนำชุมชน” ได้เป็นอย่ำงดี ให้ควำมสนใจตลอดระยะเวลำของกำร
รว่ มกิจกรรม โดยประเมินได้จำกกำรรว่ มกิจกรรมอย่ำงกระตือรอื รน้ ตั้งใจฟังบรรยำย และรว่ มแสดงควำมคิดเห็น
ซง่ึ ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมจะสามารถนำควำมรูท้ ีไ่ ด้ ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั เพ่ือปรบั เปล่ียนแนวคิดในกำรดำเนิน
ชวี ติ ให้เข้ำกับสถำนนกำรณ์โลกในปัจจุบัน และสำมำรถนำควำมรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปเผยแพรใ่ ห้กับผู้ทส่ี นใจต่อไปได้
วชิ ำ “ถอดรหัสพระมหำชนก”
วทิ ยำกร : นำยสัญชยั แชจอหอ ตำแหน่ง นักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
วัตถุประสงค์
1) เพื่อให้ผู้เข้ำรบั กำรอบรมเข้ำใจถึงควำมหมำยของ คติธรรม 3 ประกำร
2) สำมำรถนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันจนเป็นวถิ ีชวี ติ สู่ควำมพอเพียง
ระยะเวลำ จำนวน 1 ชว่ั โมง (14.30 น. – 15.30 น.)
ประเด็นเนื้อหำ
1) ถอดรหัส “พระมหำชนก” จำกมุมมองด้ำนกำรพัฒนำมนุษย์และองค์กำร
2) อัจฉรยิ ภำพอันสรำ้ งสรรค์ของพระบำทสมเด็จพระเจำ้ อยู่หัวฯรชั กำลท่ี 9
3) คติธรรมกำรพัฒนำมนุษยต์ ำมแนวทำง “กำรฟ้ ืนฟูต้นมะม่วง”
เทคนิค/วธิ กี ำรสอน
1) ให้ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมชมคลิป วดี ีทศั น์ “พระมหำชนก”
2) บรรยำยประกอบ สื่อ Power point
3) ประเด็นตั้งคำถำม – คำตอบ คือ ผู้เข้ำรบั กำรอบรมได้คติธรรมใด จำกกำรถอดรหัสกำร
รบั ชมคลิปวดิ ีโอ พระรำชนิพนธเ์ รอ่ ื ง “พระมหำชนก” อย่ำงไรบ้ำง
4) กำรเติมเต็มให้ข้อคิด และข้อเสนอแนะ จำกวทิ ยำกร
วัสดุ/อุปกรณ์
1) สื่อวดี ีทัศน์ ประกอบกำรบรรยำยผ่ำนระบบ Zoom Cloud Meetings
2) ส่ือบรรยำยประกอบ Power Point
สรุปผลกำรดำเนินกำรและกำรเรยี นรู้
1. ถอดรหัส “พระมหำชนก” จำกมุมมองด้ำนกำรพัฒนำมนุษย์และองค์กำร อัจฉรยิ ภำพอัน
สรำ้ งสรรค์ ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว พระรำชนิพนธ์ “พระมหำชนก” กับแนวคิดกำรพัฒนำ
มนุษย์และองค์กำร “พระมหำชนก” ถือเป็นหนังสือตำรำช้ินเอก ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดกำรพัฒนำ
ทรพั ยำกรมนษุ ยแ์ ละองค์กำรของพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดชไวท้ ั้งอย่ำง “ชดั เจน”
และที่ “ซอ่ นเรน้ แนบนัย” ในกำรอ่ำนและตีควำมอยำ่ งแยบคำย พระรำชนิพนธ์ “พระมหำชนก” กับ
19
แนวคิดกำรพัฒนำมนุษย์และองค์กำร พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช เมื่อได้ทรง
สดับพระธรรมเทศนำชำดก เรอ่ ื งน้ีแล้วได้
ทรงบำเพ็ญวริ ยิ ะศึกษำค้นคว้ำ, แปลและดัดแปลงเป็นพระรำชนิพนธเ์ รอ่ ื ง “พระมหำชนก” ด้วยภำษำทง่ี ่ำยข้ึนแต่
วจิ ติ งดงำมย่ิง บทพระรำชนิพนธ“์ พระมหำชนก” มีกลวธิ กี ำรเขียนและกำรนำเสนอที่ซอ่ นเรน้ “คติธรรม” อันจะ
เปน็ ประโยชน์สำหรบั กำรพัฒนำทรพั ยำกรมนษุ ย์และองค์กำรไว้อย่ำงแยบยลยง่ิ นัก
คติธรรมกำรพัฒนำมนุษย์ตำมแนวทำง “กำรฟ้ ืนฟูต้นมะม่วง”
ภำวะผู้นำที่ดีย่อมแตกต่ำงจำกปุถุชนธรรมดำท่ัวไปทั้งหลำย เม่ือเห็นภัยพำล คืบคลำนเข้ำมำหรอื เห็น
ปัญหำเกิดข้ึน ปุถุชนมักจะตื่นตระหนก ร่ำรอ้ งโวยวำย กล่ำวโทษใส่รำ้ ยกัน คนเหล่ำนี้มัก “พลิกวกิ ฤตให้เป็น
หำยนะ” ในทำงตรงข้ำมผู้ท่ีมีภำวะผู้นำคือผู้ที่ต้ังอยู่ในสติสัมปชญั ญะ ใชป้ ัญญำ เรยี กระดมผู้รูม้ ำช่วยกันขบคิด
เพื่อ แสวงหำทำงออกและฟ้ ืนฟูกู้ปัญหำเหล่ำนั้น พระมหำชนก คือแบบอย่ำงแห่งภำวะผู้นำ เม่ือเห็นปัญหำ
แม้ตนเอง จะมีควำมทุกข์ใจหนักหนำกับปัญหำท่ีเกิดข้ึน แต่ก็ต้ังสติเรยี กระดมปรำชญ์รำชบัณฑิต แล้วเตือนสติ
ว่ำแทนท่ีจะ มำน่ังพร่ำบ่นเสียอกเสียใจ แต่ควรจะมำชว่ ยกันคิดและดำเนินกำร “พลิกวกิ ฤตให้กลำยเป็นโอกำส”
มำกกว่ำ ในตอนน้ีพระอัจฉรยิ ภำพของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวได้ปรำกฏให้เห็นเด่นชดั อีกครง้ั เมื่อทรง
นำเสนอ “แนวทำงกำรฟ้ ืนฟูต้นมะม่วง” อย่ำงเปน็ ระบบถูกต้องตำมหลักวชิ ำ ถึง 9 วธิ กี ำรดังปรำกฏในตอนท่ี 35
(ตอนที่ 35) “…อุทิจจพรำหมณ์มหำศำลรบี มำเฝ้ำพระรำชำ พรอ้ มด้วยลูกศิษย์สองคน คือ จำรุ เตโช
พรำหมณ์และคเชนทรสิงหบัณฑิตสองคนน้ีคนแรกชำนำญกำรปลูก คนที่สองชำนำญกำรถอนทันใดที่ มำถึง
คเชนทรสิงหบณั ฑิตก็ทรุดลงแทบพระบำทของพระรำชำแล้วทลู ว่ำ “ข้ำพระองค์ผิดไปเองเมื่อเหล่ำอมำตยข์ อให้ขำ้
พระองค์ชว่ ยเก็บมะม่วงถวำยะระอุปรำช ข้ำพระบำทจงึ นำเอำ “ยันตกลเก็บเกี่ยว” มำใชม้ ิได้คิดว่ำจะทำให้ต้น
มะม่วงถอนรำกโค่นลงมำ พระพุทธเจำ้ ข้ำขอรบั .”
พระรำชตรสั ว่ำ : อย่ำโทมนัสไปเลย อำจำรย์ผู้ดำรกิ ำรต้นมะม่วงโค่นไปแล้ว ณ บัดน้ีปัญหำคือ ฟ้ ืนฟูต้น
มะม่วงได้อย่ำงไร เรำมีวเี ก้ำอย่ำงท่ีอำจใชไ้ ด้ หน่ึง เพำะเม็ดมะม่วง สอง ถนอมรำกท่ียังมีอยู่ให้งอกใหม่ สำม ปัก
ชำ กิ่งที่เหมำะแก่กำรปักชำ สี่ เอำก่ิงดีมำเสียบยอดก่ิงของต้นไม้ท่ีมีผลให้มีผล ห้ำ เอำตำมำต่อก่ิงของอีกต้น หก
เอำก่ิงมำทำบก่ิง เจด็ ตอนก่ิง ให้ออกรำก แปด รมควันต้นทีไ่ ม่มีผลให้ออกผล เก้ำ ทำ “ชวี ำณสู งสงเครำะห์” ท่ำน
พรำหมณ์มหำศำล จงให้ พรำหมณ์อันเตวำสิกไปพิจำรณำ อุทิจจพรำหมณ์รบั สนองพระรำชโองกำร ว่ำ : ข้ำ
พระองค์ผู้ทรงภูมิปัญญำ จงให้คเชนทรสิงหบัณฑิตนำเครอ่ ื ง “ยันตกล” ไปยกต้นมะม่วงให้ต้ังตรงทันทีและจะให้
จำรุเตโชพรำหมณ์เก็บเม็ดและก่ิง ไปดำเนินกำรตำมพระรำชดำร”ิ พระรำชโปรดให้สองคนน้ันรบี ไป แต่ขอให้
พรำหมณ์มหำศำลคอยรบั พระรำชดำรไิ ป หลักกำรฟ้ ืนฟูต้นมะม่วง ด้วย 9 วธิ กี ำร สะท้อนให้เห็นถึงหลักคิดแบบ
“มนุษย์นิยม” (Humanism) และ “มนุษยธรรมนิยม” (Humanitarianism) ที่ให้ควำมเอำใจใส่ดูแลบุคลำกร
ครอบคลุมทุก กลุ่ม ไม่ว่ำจะเป็นกลุ่มคนท่ีมีผลงำนดีหรอื ยงั ไม่มีผลงำนชดั เจนก็ตำม ด้วยหลักควำมคิดพ้ืนฐำนใน
แงบ่ วกท่ีเชอ่ื ว่ำ คงไม่มีมนุษย์คนใดทอี่ ยำกเปน็ คนไม่เก่งไม่ดี
20
กำรพัฒนำมนุษย์ให้มี“ควำมเพียรที่บรสิ ุทธ”์ิ คือเรอ่ ื งของกำรบำเพ็ญควำมเพียรหรอื วริ ยิ ะบำรมี ผู้รูท้ ่ี
กล่ำวถึงคติธรรมเรอ่ ื งนี้มักจะยกเอำตอนสำคัญคือ “พระมหำชนกว่ำยน้ำ อยู่ในมหำสมุทร 7 วัน” มำเป็น
อุทำหรณ์ “…เป็นผู้มีมำนะเข้มแข็งมำแต่เด็ก... พออำยุ 16 ปีก็สำมำรถลงเรอ่ ื สำเภำ โดยอ้ำงว่ำจะมำทำกำรค้ำขำย
ทำงสุวรรณภูมิ(คือดินแดนท่ีเป็นเมืองเรำในเวลำนี้) มำตำมทำงเรอื แตก คนอื่น ๆ จมน้ำและเป็นอำหำรของปลำ
รำ้ ยถึงแก่ควำมตำยหมดสิ้น เหลือแต่พระมหำชนกองค์เดียวยังมีชวี ติ อยูใ่ นนำ้ ได้ถึง 7 วัน” ในพระรำชนิพนธพ์ ระ
มหำชนก โดยเฉพำะในตอนท่ี ๑๗ อันเป็นบทสนทนำระหว่ำงพระมหำชนกกับพระมำรดำ ซง่ึ เป็นบทที่สะท้อนถึง
“ควำมมุ่งม่ันเด็ดเด่ียว” ของพระมหำชนก
(ตอนที่ 17) “...ข้ำแต่พระมำรดำ หม่อมฉันจักไปเมืองสุวรรณภูมิ.” พระนำงตรสั ห้ำมว่ำ “ลูกรกั ช่อื ว่ำ
มหำสมุทรสำเรจ็ ประโยชน์น้อย มีอันตรำยมำกอยำ่ ไปเลย. ทรพั ย์ของพ่อมีมำกพอประโยชน์เอำรำชสมบัติ แล้ว.”
พระกุมำรทูลว่ำ : “หม่อมฉันจกั ไปแท้จรงิ .” ทูลลำพระมำรดำถวำยบังคม กระทำประทักษิณ แล้วออกไปข้ึน เรอื .”
แต่เม่ือขึ้นเรอื แล่นเรอื มำได้ 7 วัน ต้องเผชญิ กับภำวะ “เรอื แตก” “….พวกพำณิชประมำณเจด็ รอ้ ยคนขึ้นสู่เรอื .
เรอื แล่นไปได้เจด็ รอ้ ยโยชน์ใชเ้ วลำเจด็ วัน.เรอื แล่น ด้วยกำลังคล่ืนท่ีรำ้ ยกำจ ไม่อำจทรงตัวอยู่ได้แผ่นกระดำนก็
แตกด้วยกำลังคล่ืน น้ำเข้ำมำแต่ท่ีน้ัน ๆ เรอื ก็จมลง ในกลำงมหำสมุทร. มหำชนกลัวมรณภัย รอ้ งไห้คร่ำครวญ
กรำบไหว้เทวดำท้ังหลำย...” ในขณะท่ีเรอื อกำลังจะแตก ผู้คนทั่วไปกำลังแตกต่ืน เอำแต่ร่ำรอ้ ง คร่ำครวญ กรำบ
ไหว้เพรยี กหำ ควำมช่วยเหลือจำกสิ่งศักด์ิสิทธท์ิ ้งหลำย คำถำมคือพระมหำชนกมีปฏิกรยิ ำต่อเหตุกำรณ์อัน
ฉุกเฉินน่ำหวำดกลัว ต่อภัยอันมหันต์ต่อชวี ติ น้ีอย่ำงไร “...แต่พระมหำสัตวไ์ ม่ทรงกันแสง ไม่ทรงคร่ำครวญ ไม่ไหว้
เทวดำทั้งหลำย. พระองค์ทรงทรำบว่ำ เรอื จะจม จึงคลุกน้ำตำลกรวดกับเนย เสวยจนเต็มท้อง แล้วชุบผ้ำเน้ือ
เกล้ียงสองผืนด้วยน้ำมันจนชุม่ ทรงน่งุ ให้ม่ัน ทรงยนื เกำะเสำกระโดง ขึ้นยอดเสำกระโดงเวลำเรอื จม มหำชนเป็น
ภักษำแห่งปลำและเต่ำ น้ำโดยรอบมีสีเหมือนโลหิต. พระมหำสัตว์เสด็จไปทรงยืนท่ียอดเสำกระโดง ทรงกำหนด
ทิศว่ำ เมืองมิถิลำอยู่ทิศนี้ก็กระโดด จำกยอดเสำกระโดง ล่วงพ้นฝูงปลำและเต่ำ ไปตกในท่ีสุด อุสภะหน่ึง
(70 เมตร) เพรำะพระองค์มีพระกำลังมำก จำกข้อควำมทไี่ ด้แอบแฝงคติธรรมทส่ี ำคัญ ๆ หลำยประกำร คติธรรม
ทำงสติปัญญำ อำทิ ควำมมีสติสัมปชัญญะ เน้ือควำมข้ำงต้นเป็นคติธรรมเตือนใจสำธุชนให้ต้ังม่ันในกำร
มีสติสัมปชญั ญะ ท้ังในยำมปกติและแม้เมื่อมีภัยพำลบังเกิดข้ึน ก็ไม่ควรตื่นเต้นทุรนทุรำยจนเกินควร ควรต้ังสติ
ให้ ม่ันรวบรวมสัมปชญั ญะเพ่ือฝ่ำฟันผ่ำนวกิ ฤตให้ได้ฉะนั้น ผู้ใดมีสติสัมปชญั ญะ ผู้นั้นย่อมมีโอกำสรอดพ้น จำก
ภัยพำลมำกกว่ำผู้อื่น ตนเป็นที่พ่ึงแห่งตน เน้ือควำมข้ำงต้นสะท้อนถึงค่ำนิยมท่ีผู้ประพันธต์ ้องกำรส่ือให้เห็นถึง
ควำมมุ่งมั่นเด็ดเด่ียวท่ีจะพึ่งตนเองอย่ำงเข้มแข็ง ไม่ว่ำจะในยำมปกติสุขหรอื เมื่อภัยพำลมำย่ำกรำย สำธชุ นมิพึง
คร่ำครวญร่ำรอ้ งโวยวำย เรยี กรอ้ งควำมสงสำรเห็นอกเห็นใจและแบมือขอควำมชว่ ยเหลือจำกผู้อ่ืนมิว่ำจะเป็น
เพ่ือน มนุษย์องค์กร รฐั บำล หรอื ส่ิงศักดิ์สิทธทิ์ ง้ั หลำย คติธรรมอันประเสรฐิ ย่ิงที่จะชว่ ยแก้ไขจุดอ่อนท่สี ำคัญ ของ
ปุถุชน ไทยท่ัวไปในปจั จุบัน ซงึ่ กำลังถกู สั่งสอนอบรมและหล่อหลอมให้กลำยเป็นชนชำติที่ไม่ชอบกำรพึ่งตนเองได้
แต่กลับนิยมชมชอบผู้ทีจ่ ะมำแจก มำปรนเปรอ มำให้ทัง้ ในรูปของวตั ถแุ ละกำรบรกิ ำรจนสูญเสียจติ วญิ ญำณแห่ง
กำรใชค้ วำมมำนะพยำยำมของกำรยืนบนลำแข้งของตนเอง และเม่ือใดที่ถกู ตัดขำดจำกกำรให้ควำมชว่ ยเหลือ
21
หรอื เม่ือต้องผจญกับภัยพำล มหำชนเหล่ำน้ีก็มักจะออกมำคร่ำครวญ รำ่ รอ้ งโวยวำยโจมตีว่ำ “เพรำะควำมไม่เป็น
ธรรม”, “เพรำะสองมำตรฐำน”, “เพรำะโครงสรำ้ งอันเหล่ือมล้ำ” เรำจงึ ต้องผจญภัยพำลเชน่ น้ีฯลฯ สุดท้ำย ถึงท่ีสุด
หมู่ชน เหล่ำน้ีก็ก้ำวล่วงไปถึงข้ันของกำรด่ำทอส่ิงศักด์ิสิทธ“์ิ เพรำะเทวดำไม่อำรกั ษ์”พวกเรำจงึ ต้องเผชิญทุกข์
เชน่ น้ีโดย มิได้หันกลับมำมองตนเองว่ำได้ใชค้ วำมเพียรในกำรพ่ึงตนเองเพียงพอแล้วหรอื ยัง ในทำงตรงกันข้ำม
พระรำชนิพนธพ์ ระมหำชนกสะท้อนให้เห็นคติธรรมที่ว่ำเม่ือภัยมำถึง พระมหำชนก “ไม่ทรงกันแสง ไม่ทรงคร่ำ
ครวญ ไม่ไหว้ เทวดำทั้งหลำย” กล่ำวคือไม่รอ้ งให้พร่ำเพ้อคร่ำครวญร่ำรอ้ งโวยวำยเรยี กรอ้ งควำมสงสำรเห็นอก
เห็นใจและควำม ชว่ ยเหลือจำกใคร แม้แต่ส่ิงศักดิ์สิทธแิ์ ต่ตระหนักว่ำด้วยสติปญั ญำและกำรหยัดยืนด้วยตนเอง
เท่ำนั้นคือหนทำง แห่งควำมรอด กำรมีเป้ำหมำยเข็มมุ่งท่ีชดั เจนในชวี ติ ส่ิงที่ทำให้พระมหำชนกสำมำรถครอง
สติสัมปชญั ญะได้ อย่ำงดีอีกท้ังหยัดยืนด้วยควำมสำมำรถแห่งตนอย่ำงมุ่งมั่นเด็ดเดี่ยวน้ันสำเหตุสำคัญก็เนื่อง
เพรำะกำรมีเป้ำหมำยที่ชัดเจน “ฉันจักไปเมืองสุวรรณภูมิ” “ฉันจักไปแท้จรงิ ” ดังน้ัน แม้นในยำม มหันตภัยมำ
เยือนพระมหำชนกก็มิได้สะทกสะท้ำนโลเลอ่อนข้อให้แต่ยังคงยืนหยัดในเป้ำหมำยที่มุ่งมั่น“...ทรงกำหนดทิศว่ำ
เมืองมิถิลำนครอยู่ทิศนี้ก็กระโดดจำกยอดเสำกระโดงล่วงพ้นฝูงปลำและเต่ำ…” ในขณะที่ มหำชนผู้โลเลไร้
จุดหมำยมืดบอดในชวี ติ ที่แน่นอนล้วนต่ำงต้องเผชญิ กับชะตำกรรมคือกลำยเปน็ “เปน็ ภักษำแห่งปลำและเต่ำ” ไป
ดังนั้น กำรปลูกฝัง ให้คนมีเป้ำหมำยแห่งชีวติ ที่ชัดเจน ถือเป็นคติธรรมอีกข้อหน่ึงท่ีสำคัญสำหรบั กำรพัฒนำ
มนุษย์
2. คติธรรมจำกกำรถอดรหัสพระมหำชนก มี 3 ประกำร ดังน้ี
1) มีควำมเพียรท่ีบรสิ ุทธ์ิ
2) มีปัญญำที่เฉียบแหลม
3) มีกำลังกำยที่สมบูรณ์
กำรมีควำมรูป้ ัญญำ นอกจำกกำรมีสติสัมปชัญญะ, กำรยึดถือคุณค่ำแห่งกำรพึ่งตนเองและกำรมี
เป้ำหมำยในชวี ติ ท่ีชดั เจนแล้ว คติธรรมท่ีสำคัญอีกประกำรหน่ึงที่ซอ่ นเรน้ เป็นรหัสนัยอยู่ในข้อควำมข้ำงต้นของ
พระรำชนิพนธ์พระมหำชนกก็คือ “สำธุชนพึงมีปัญญำควำมรูค้ ู่กำย” ปัญญำควำมรูจ้ ะเป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์
กลำยเป็นทรพั ยำกรมนุษยท์ สี่ ำมำรถเอำตัวรอดได้อย่ำงยง่ั ยนื และสติสัมปชญั ญะภูมิปญั ญำควำมรคู้ ือ สิ่งสำคัญท่ี
จะทำให้เรำรอดพ้นภำวะวกิ ฤต
สรุปผลกำรเรยี นรู้ จำกกำรสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมในแต่ละรุน่ ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรม
ในแต่ละรุน่ ให้ควำมสนใจ ตลอดระยะเวลำของกำรรว่ มกิจกรรม โดยประเมินได้จำกกำรรว่ มกิจกรรมอย่ำง
กระตือรอื รน้ ต้ังใจฟังบรรยำย มีกำรจดบันทึก ข้อมูลควำมรูจ้ ำกวทิ ยำกรในรำยวชิ ำที่สอน มีกำรตั้งคำถำมจำก
วทิ ยำกรและกำรคำตอบจำกผู้เข้ำรบั กำรอบรมในพ้ืนทีผ่ ่ำน ระบบออนไลน์
ประเด็นต้ังคำถำม – คำตอบ คือ ผู้เข้ำรบั กำรอบรมได้คติธรรมใด จำกกำรถอดรหัสกำรรบั ชมคลิปวดิ ีโอ
พระรำชนิพนธ์ เรอ่ ื ง “พระมหำชนก” อย่ำงไรบ้ำง
คำตอบจำกพ้ืนที่ ท้งั 2 รนุ่ ดังน้ี
22
- กำรมีควำมเพียร
- กำรมีกำลังกำยแข็งแรง
- กำรมีเปำ้ หมำย
-ควำมพยำยำม วริ ยิ ะอุตสำหะ
- สติปญั ยำ ควำมรอบรู้
- ไม่ท้อถอย
- เปำ้ หมำยทชี่ ดั เจนในชวี ติ
- กำรมีสติ
- กำรรอบรู้
- กำรไม่ประมำท
– กำรมีเปำ้ หมำย
- กำรไม่ยอ่ มแพ้
- กำรมีพละกำลัง
- กำรมีควำมพยำยำม
- ตนเปน็ ท่พี ่ีงแห่งตน
คติธรรมจำกกำรดูคลิปวดี ีโอ “ถอดบทเรยี นพระมหำชนก” ทำให้ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรม เห็นถึง ภำวะผู้นำ
ที่ดีย่อมแตกต่ำงจำกปุถุชนธรรมดำทั่วไปทั้งหลำย เม่ือเห็นภัยพำลคืบคลำนเข้ำมำหรอื เห็นปัญหำเกิดขึ้น ปุถุชน
มักจะต่ืนตระหนก ร่ำรอ้ งโวยวำย กล่ำวโทษใส่รำ้ ยกัน คนเหล่ำน้ีมัก “พลิกวกิ ฤตให้เป็นหำยนะ” ในทำง ตรงกัน
ข้ำมผู้มีภำวะผู้นำคือผู้ที่ต้ังอยู่ในสติสัมปชญั ญะ ใช้ปัญญำเรยี กระดมผู้รูม้ ำชว่ ยกันขบคิดเพ่ือแสวงหำ ทำงออก
และฟ้ ืนฟูกู้ปัญหำเหล่ำนั้น พระมหำชนกคือแบบอย่ำงแห่งภำวะผู้นำ เมื่อเห็นปัญหำ แม้ตนเองจะมีควำมทกุ ข์ใจ
หนักหนำกับปัญหำทเ่ี กิดข้ึน แต่ก็ตั้งสติเรยี กระดมปรำชญ์รำชบัณฑิต แล้วเตือนสติว่ำแทนทจี่ ะมำน่ัง พรำ่ บน่ เสีย
อกเสียใจ แต่ควรจะมำช่วยกันคิดและดำเนินกำร “พลิกวกิ ฤตให้กลำยเป็นโอกำส”มำกกว่ำ ในตอนน้ี พระ
อัจฉรยิ ภำพของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวได้ปรำกฏให้เห็นเด่นชัดอีกครงั้ เม่ือทรงนำเสนอ “แนวทำงกำร
ฟ้ ืนฟูต้นมะม่วง อย่ำงเปน็ ระบบถกู ต้องตำมหลักวชิ ำกำรถึง 9 วธิ กี ำร ซง่ึ ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมได้ตระหนักถึงภำวะ
ผู้นำท่ดี ีทำ่ มกลำงปัญหำต่ำงๆท่เี กิดข้ึนและจำกกำรสอบถำมสิ่งท่ีได้จำกกำรชมคลิป พบวำ่ ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมได้
เข้ำใจถึงคุณธรรมท่ีพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดชพระรำชทำนแก่พสกนิกรไม่ว่ำจะเป็นเรอ่ ื ง
ของควำมเพียร กำรใชส้ ติปัญญำ และกำรมีกำลังกำยท่สี มบูรณ์
วชิ ำ ถอดบทเรยี นผ่ำนสื่อแผ่นดินไทย ตอน “แผ่นดินวกิ ฤติ
วทิ ยากร น.ส.ศิรนิ ชุ ศิรสิ ุรยิ ะ นักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
วัตถุประสงค์
1) เพ่ือให้ผู้เข้ำอบรมได้ชมส่ือเพ่ือสรำ้ งแรงบนั ดำลใจ
23
2) เพื่อสรำ้ งแรงบันดำลใจและตระหนักในกำรทำหลักกสิกรรมธรรมชำติ
ระยะเวลำ จำนวน 1 ชวั่ โมง (15.30-16.30 น)
ประเด็นเนื้อหำวชิ ำ
1) ควำมสำคัญของทรพั ยำกรธรรมชำติ
2) ผลกระทบจำกระบบทุนนิยม
3) ทำงออกของปญั หำคือปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง
เทคนิค/วธิ กี ำร
1) วทิ ยำกรแนะนำตัวแก่ผู้เข้ำอบรม ทักทำย
2) วทิ ยกรเกรน่ ิ นำควำมสำคัญของทรพั ยำกรธรรมชำติ
1. ชมสื่อวดิ ีทศั น์ แผ่นดินวกิ ฤติ
2. บรรยำยเพิ่มเติม แลกเปล่ียนส่ิงที่ได้จำกกำรชมสื่อ
3. ตอบข้อซกั ถำม
วัสดุ/อุปกรณ์
1) สื่อวดี ีทศั น์ “แผนดินวกิ ฤต”
2) เครอ่ ื งคอมพิวเตอร์ เครอ่ ื งฉำยและจอภำพ เข้ำระบบ Zoom Cloud Meetings
สรุปผลกำรดำเนินกำรและผลกำรเรยี นรู้
วทิ ยำกรแนะนำตัวแก่ผู้เข้ำอบรม และพูดคุยสรำ้ งบรรยำกำศให้เกิดควำมเป็นกันเอง หลังจำกน้ันได้
นำเข้ำสู่บทเรยี นด้วยกำร นำเสนอควำมสำคัญของทรพั ยำกรธรรมชำติ กำรทำธุรกิจรูปแบบทุนนิยม ซง่ึ นำมำซงึ่
กำรทำลำยทรพั ยำกรธรรมชำติอย่ำงรุนแรง ส่งผลกระทบต่อภัยพิบัติท่ีเกิดข้ึนทั่วโลก และกระทบต่อวถิ ีชวี ติ กำร
ดำรงชวี ติ ของมนุษยชำติ จำกนั้นนำชมส่ือ แผ่นดินวกิ ฤติ
จำกกำรชมสื่อวดิ ิทศั น์ มีกำรแลกเปล่ียนควำมคิดเห็นจำกผู้เข้ำอบรมถึงส่ิงท่ีได้จำกกำรชมสื่อ ส่วนใหญ่มี
ควำมคิดไปในทศิ ทำงเดียวกัน คือเรำควรต้องหันกลับมำ ให้ควำมสนใจรำกเหง้ำของเรำ ใส่ใจธรรมชำติ เรยี นรวู้ ถิ ี
ชวี ติ ตำมแนวทำงเศรษฐกิจพอเพียง ดร.เสร พี งศ์พิศ กล่ำวว่ำ ต้องจดั ระบบเศรษฐกิจท้องถิ่นเพื่อให้พ่ึงตนเองได้
ซงึ่ ร.9 ทรงสอนให้ใชเ้ ศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักศีลธรรม อะไรถกู ผิด ต้องแยกให้ออก
2) คืนสู่รำกเหง้ำ (ปู่ ย่ำ ตำ ยำย ) ทำ่ นอยูก่ ันอย่ำงไร ดำเนินชวี ติ อย่ำงไร กลับไปค้นหำอดีต
3) กลับไปหำพ้ืนฐำน Back to basic ฐำนของชีวติ จรงิ ๆ คือ ควำมเรยี บง่ำย ไม่ฟุ่มเฟือย เอำเฉพำะ
สิ่งจำเปน็ สำหรบั กำรดำรงชวี ติ
24
4) คืนสู่ธรรมชำติ ดูแลธรรมชำติ เรำต้องถอยไปต้ังหลัก และดำเนินชีวติ ตำมหลักปรชั ญำเศรษฐกิจ
พอเพียง ดร.ววิ ัฒน์ ศัลยกำธร กล่ำวว่ำ ต้อวงมีควำมรู้ และมีคุณธรรม ซงึ่ จะชว่ ยปกป้องตัวเอง ปกป้องโลก ต้อง
ปลูกธรรมมะ เสียละ แบ่งปนั ฝึกกำรให้เรม่ ิ จำกให้เล็กๆ แบง่ ปันควำมรู้ แบ่งปันอำหำร แบง่ ปันของใช้
แบ่งปันน้ำใจ ผลกำรเรยี นรขู้ องผู้เข้ำรว่ มกำรอบรม : เมื่อทุนนิยมเติบโตอย่ำงไรข้ อบเขต ควำมโลภครอบงำโลกไป
ทุกหัวระแหงมนุษยต์ ักตวงเอำ ควำมร่ำรวยจำกโลกเกินพอดี จงึ เกิดภำวะวกิ ฤติข้ึนท่วั แผ่นดินโลก รวมถึงแผ่นดิน
ไทย ท่ี ประสบภัย พิบัติที่เกิดขึ้น ส่งผลให้เกิดวกิ ฤติทำงด้ำนส่ิงแวดล้อม วกิ ฤติด้ำนสังคม วกิ ฤติด้ำนเศรษฐกิจ
และ วกิ ฤติ ด้ำนกำรเมือง หนทำงใดท่ีจะแก้วกิ ฤติแผ่นดิน ภัยพิบัติของธรรมชำติที่เกิดขึ้นจำกสภำพดิน ฟ้ำ
อำกำศ กำรทำกำรเกษตรขำดทนุ ขำดแคลน นำ้ พ้ืนที่แห้งแล้งไม่มีท่ที ำกิน และภำวะขำดแคลนส่งผลให้แรงงำน
จำกชนบท เดินทำงสู่เมืองหลวงเพ่ือ หำงำนทำแย่งชงิ กำรทำงำน อำหำรเพื่อควำมอยู่รอด แรงงำนจำกชนบทเป็น
เพียงเป็น แรงงำนรบั จ้ำง ทุนมนุษย์ของนำยจ้ำง แรงงำนชนบทไรภ้ ูมิคุ้มกันของสังคม ขำดควำมมั่นคงในชีวติ
จนกลำยเป็นภำวะของควำมยำกจนที่แท้จรงิ วกิ ฤติด้ำนเศรษฐกิจ ส่งผลให้โรงงำนขนำดใหญ่ ที่มีแรงงำนกว่ำ
4,000 คน ต้อง ปิดโรงงำน แรงงำนกว่ำ 4,000 คน ต้องตกงำน แรงงำนผู้หญิงที่สูงอำยุไม่สำมำรถไปหำงำนทำ
ที่อ่ืนได้ แรงงำนไม่ได้รบั เงนิ ชดเชยรำยได้ ขำดควำมม่ันคงในชีวติ หนทำงที่จะแก้วกิ ฤติแผ่นดิน คือ ยึดกำร
ดำเนินชวี ติ ตำมแนว หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
วชิ ำ “ทฤษฎีบันได 9 ข้ันสู่ควำมพอเพียง”
วทิ ยำกร นำยสัญชยั แชจอหอ ตำแหน่ง นักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
วัตถุประสงค์ เพ่ือสรำ้ งควำมรู้ ควำมเข้ำใจแก่ผู้เข้ำอบรมถึง “ทฤษฎีบนั ได 9 ขั้น สู่ควำมพอเพียง”
ระยะเวลำ 3 ชว่ั โมง
ประเด็นเน้ือหำวชิ ำ
1) ควำมสำคัญกำรน้อมนำปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชใ้ นกำรดำเนินชวี ติ
2.) ทฤษฎีบันได 9 ขั้น สู่ควำมพอเพียง 3) แนวทำงปฏิบัติตำมทฤษฎีบันได 9 ขั้น สู่ควำม
พอเพียง
เทคนิค/วธิ กี ำร
1) วทิ ยำกรแนะนำตัวแก่ผู้เข้ำอบรม ทกั ทำย
2) วทิ ยำกรบรรยำยให้ควำมรใู้ นหัวข้อดังน้ี
1. ควำมสำคัญกำรน้อมนำปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชใ้ นกำรดำเนินชวี ติ
2. ทฤษฎีบันได 9 ข้ัน สู่ควำมพอเพียง
3. แนวทำงปฏิบตั ิตำมทฤษฎีบันได 9 ขั้น สู่ควำมพอเพียง
3) บรรยำยประกอบส่ือวดี ีทศั น์
4.) ตอบข้อซกั ถำม
25
วัสดุ/อุปกรณ์
1). สื่อวดี ีทัศน์ ประกอบกำรบรรยำยผ่ำนระบบ Zoom Cloud Meetings
2). ส่ือบรรยำยประกอบ Power Point
สรุปผลกำรดำเนินกำรและผลกำรเรยี นรู้ วทิ ยำกรแนะนำตัวแก่ผู้เข้ำอบรม และพูดคุยสรำ้ งบรรยำกำศ
ให้เกิดควำมเป็นกันเอง หลังจำกน้ันได้ นำเข้ำสู่บทเรยี นด้วยกำร นำเสนอ ควำมสำคัญของปรชั ญำ
เศรษฐกิจพอเพียง ที่พระบำทสมเด็จพระชนกำธเิ บศรบรมนำถบพิธ ภูมิพลอดุลยเดช ในหลวง รชั กำลที่
9 ท่ีได้ทรงประทำนให้ปวงชนชำวไทยได้ใชเ้ ป็นหลัก เป็นแนวทำงในกำรดำเนินชวี ติ เพื่อให้ชวี ติ มีควำม
เป็นอยูท่ ่ดี ีแบบพอเพียง และบรรยำย ทฤษฎีบันได 9 ข้ัน สู่ควำม พอเพียง ซง่ึ มีเน้ือหำ ดังน้ี
ทฤษฎีบันได 9 ข้ันสู่ควำมพอเพียง เป็นแนวทำงท่ีใชล้ ำดับข้ันเพ่ือเดินตำมไปทีละข้ัน ค่อยๆ ก้ำวไปแบบ
ย่ังยืนและ มั่นคง ซง่ึ หำกใครทำตำมได้ รบั รองว่ำไม่มีจนแน่นอน โดยแต่ละข้ันจะมีดังนี้
บันไดข้ันที่ 1-4 คือ เศรษฐกิจพอเพียงขั้นพ้ืนฐำน ขั้นท่ี 1 พอกิน พื้นฐำนที่สุดของมนุษย์ คือ ควำม
ต้องกำรปัจจัย 4 และประกำรสำคัญที่สุดของปัจจัย 4 คือ อำหำร ขั้นท่ี 1 ของแนวทำงแก้ปัญหำที่ยั่งยืนคือ
ตอบคำถำมให้ได้ว่ำ “ทำอย่ำงไรจึงจะพอกิน” โดยให้ควำมสำคัญกับ ข้ำวปลำอำหำร ไม่ให้ควำมสำคัญกับเงนิ
ซง่ึ เป็นเพียงแค่ “ตัวกลำง” ในกำรแลกเปลี่ยนตำมมำตรฐำนสำกล โดยยึดหลักว่ำ “เงนิ ทองเป็นของมำยำ ข้ำว
ปลำสิของจรงิ ” เกษตรกรต้องเรม่ ิ จำกกำรอยู่ให้ได้โดยไม่ใชเ้ งนิ มีอำหำรพอมีพอกิน ด้วยกำรปลูกพืชผัก ผลไม้ ให้
พอกิน ชำวนำต้องเก็บข้ำวไว้ให้เพียงพอสำหรบั กำรมีกินท้ังปี ไม่ขำยข้ำวเปลือกเพ่ือนำ เงนิ ไปซ้ือข้ำวสำร
นอกจำกนั้น หัวใจสำคัญของ “พอกิน” ยังมีควำมหมำยรวมไปถึงควำมปลอดภัยในอำหำร กินอย่ำงไรให้มีสุขภำพ
ดี ไม่สะสมเอำควำมเจบ็ ไข้ได้ปว่ ยไว้ในรำ่ งกำย น่ีคือควำมหมำยของบันไดขั้นที่ ๑ ทเ่ี กษตรกร ต้องก้ำวข้ำมให้ได้
ข้ันที่ 2-4 พอใช้ พออยู่ พอรม่ เย็น เกิดข้ึนได้พรอ้ มกัน ด้วยคำตอบเดียวคือ “ปลูกป่ำ 3 อย่ำง ประโยชน์
4 อย่ำง” ซง่ึ ป่ำ 3 อย่ำงจะให้ทง้ั อำหำร เครอ่ ื งน่งุ ห่ม สมุนไพรสำหรบั รกั ษำโรค ทงั้ โรคคน โรคพืช โรคสัตว์ ให้ไม้
สำหรบั ทำบ้ำนพักท่ีอยู่อำศัย และให้ควำมรม่ เย็นกับบ้ำน กับชุมชน กับโลกใบน้ี ซงึ่ เป็นแนวทำงในกำรแก้ปัญหำ
ควำมยำกจนของเกษตรกรไทย ซงึ่ ได้รบั กำร พิสูจน์แล้วว่ำสำมำรถแก้ปัญหำได้จรงิ และยังสำมำรถย้อนกลับไป
แก้ไขปัญหำหน้ีสินซง่ึ สะสมพอกพูนจำกกำรทำเกษตรเชิงเด่ียว ปัญหำควำมเสื่อมโทรมของทรพั ยำกรปัญหำ
ควำมขำดแคลนนำภัยแล้ง ท้ังหมดล้วนแก้ไขได้ จ ำก แนวคิดป่ำ 3 อย่ำงประโยชน์ 4 อย่ำงขององค์
พระบำทสมเด็จพระเจำ้ อยูห่ ัวฯ บนั ไดข้ันที่ 5-9 เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้ำวหน้ำ
ขั้นที่ 5-6 บุญและทำน เครอื ข่ำยเศรษฐกิจพอเพียง เชอื่ ม่ันว่ำสังคมไทยเปน็ สังคมบุญ สังคมทำน ไม่เน้น
กำรแลกเปล่ียนทำงกำรค้ำ แต่เน้นกำรทำบุญ ไม่เน้นกำรสะสมเป็นของส่วนตัว แต่เน้นกำรให้ทำนและสะสมโดย
มอบให้เป็นทรพั ย์สินส่วนรวม โดยวัด หรอื ศำสนสถำนตำมแต่ละศำสนำเป็นศูนยก์ ลำงเปน็ กำรฝึกจติ ใจ ให้ละซงึ่
ควำมโลภ และกิเลสในกำร อยำกได้ใครม่ ีลดปญั หำชอ่ งว่ำงระหว่ำงชนชนั้ ตำมควำมหมำยอันลึกซงึ้ ของคำ “ยิง่ ทำ
ยิ่งได้ยิ่งให้ยิ่งมี” กำรให้ไป คือได้มำและเชอ่ื ม่ันในฤทธขิ์ องทำนว่ำทำนมีฤทธจิ์ รงิ และจะส่งผลกลับมำเป็นเพ่ือน
เปน็ กัลยำณมิตร เปน็ เครอื ข่ำยทช่ี ว่ ยเหลือกันในทกุ สถำนกำรณ์ แม้ในวนั ที่โลกน้ีประสบกับวกิ ฤตกำรณ์
26
ข้ันท่ี 7 เก็บ รกั ษำ ข้ันต่อไปหลังจำกสำมำรถพึ่งตนเองได้ พอมี พอเหลือทำบุญ ทำทำนแล้ว คือกำรรจู้ กั
เก็บรกั ษำ ซงึ่ เป็นกำรต้ังอยู่ในควำมไม่ประมำท และกำรรูจ้ ักเก็บรกั ษำ ยังเป็นกำรสรำ้ งรำกฐำนของกำรเอำตัว
รอดในเวลำเกิดวกิ ฤตกำรณ์ โดยยึดแนวทำงตำมวถิ ีชวี ติ ชำวนำสมัยก่อนซง่ึ เก็บรกั ษำข้ำวไว้ในยุง้ ฉำงเพื่อ ให้พอมี
กินข้ำมปี คัดเลือกและเก็บรกั ษำ “ข้ำวพันธุ”์ ไว้สำหรบั เป็นพันธขุ์ ้ำวในปีต่อไป ซงึ่ ผิดกับวถิ ีชำวนำในปัจจุบันที่ใช้
วธิ กี ำรขำย ข้ำวท้ังหมด แล้วนำเงนิ ท่ีขำยได้ไปซ้อื พันธุข์ ้ำวเพ่ือปลูกในปีต่อไป ส่งผลให้เกิดกำรขำดควำมมั่นคง
และ เปรยี บเสมือนกำรใช้ชีวติ อยู่บนเส้นทำงสำย ควำมประมำท เพรำะหำกเกิดภัยแล้ง น้ำท่วม ผลผลิตไม่ได้
ตำมที่ตั้งใจไว้ย่อมหมำยถึงปญั หำหน้ีสินและกำรขำดแคลนพันธขุ์ ้ำวสำหรบั ปลูกในปีต่อไป นอกจำกเก็บพันธขุ์ ้ำว
แล้ว ยังเน้นให้รูจ้ กั วธิ กี ำรถนอมอำหำร กำรสะสม อำหำรไว้กินในยำมหน้ำแล้ง ด้วยกำรแปรรูปอำหำรหลำกชนิด
อำทิ ปลำรำ้ ปลำแห้ง มะขำมเปียก พรกิ แห้ง หอม กระเทียม เพื่อเก็บไวก้ ินในอนำคต
ข้ันที่ 8 ขำย เน่ืองจำกเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใชเ่ ศรษฐกิจกำรค้ำ แต่ก็ไม่ใชเ่ ศรษฐกิจหลังเขำ กำรค้ำขำย
สำมำรถทำได้แต่ทำภำยใต้กำรรูจ้ กั ตนเอง รูจ้ กั พอประมำณ และทำไปตำมลำดับ โดยของท่ีขำย คือ ของท่ีเหลือ
จำกทุกขั้นแล้วจงึ นำมำขำย เชน่ ทำนำอินทรยี ์ ปลูกข้ำวปลอดสำรเคมี ไม่ทำลำยธรรมชำติ ได้ผลผลิตเก็บไว้พอกิน
เก็บไว้ทำพันธุ์ ทำบุญ ทำทำน แล้วจึงนำมำขำยด้วยควำมรูส้ ึกของกำร “ให้” อยำกที่จะให้สิ่งดีๆ ที่เรำปลูกเอง
เผื่อแผ่ให้กับคนอื่น ๆ ได้รบั สิ่งดี ๆ นั้น ๆ ด้วยกำรค้ำขำยตำมแนวทำงเศรษฐกิจพอเพียง จงึ เป็นกำรค้ำท่ีมองกลับ
ด้ำน “เพรำะรกั คณุ จงึ อยำกให้คุณได้รบั ในส่ิงดีๆ” พอเพียงเพื่ออุ้มชู เผื่อแผ่ แบ่งปนั ไปด้วยกัน
ขั้นท่ี 9 เครอื ข่ำย กองกำลังเกษตรโยธนิ คือกำรสรำ้ งกองกำลังเกษตรโยธนิ หรอื กำรสรำ้ งเครอื ข่ำย
เชอื่ มโยงท้ังประเทศ เพ่ือขยำยผลควำมสำเรจ็ ตำมแนวทำงเศรษฐกิจพอเพียง สู่กำรปฏิวัติแนวคิด และวถิ ีกำร
ดำเนินชีวติ ของคนในสังคมในชุมชน เพ่ือกำรแก้ปัญหำวกิ ฤติ 4 ประกำร อันได้แก่ วกิ ฤตกำรณ์ส่ิงแวดล้อมภัย
ธรรมชำติวกิ ฤติกำรณ์โรคระบำดทั้งในคน สัตว์ พืช วกิ ฤตเศรษฐกิจ ข้ำวยำกหมำกแพง วกิ ฤตควำมขัดแย้งทำง
สังคมเครอื ข่ำยกสิกรรมธรรมชำติ มูลนิธิกสิกรรมธรรมชำติได้น้อมนำศำสตร์พระรำชำมำสู่กำรปฏิบัติ
ในระยะเวลำกว่ำ ๓๐ ปีที่ผ่ำนจนได้ผลจรงิ ในกำรปฏิบัติเพ่ือ แก้ไขปัญหำท้ังด้ำนดิน น้ำ ป่ำ และคน จนพัฒนำ
เป็นหลักกำร แนวปฏิบัติตำมศำสตรพ์ ระรำชำ อย่ำงเป็นข้ันเป็นตอนเรยี กว่ำ “ทฤษฎีบันได ๙ ข้ันสู่ควำมพอเพียง
ม่ังคั่ง ยง่ั ยนื ”
สรุปผลกำรเรยี นรู้ จำกกำรสังเกตพบว่ำ ผู้เข้ำอบรมมีควำมกระตือรอื รน้ ในกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมเป็นอย่ำง
ดี ให้ควำมรว่ มมือในกำรทำกิจกรรมอย่ำงพรอ้ มเพรยี ง ตั้งใจเรยี นรูข้ ้อมูล มีกำรซักถำม และแลกเปล่ียนข้อมูล
เก่ียวกับ กำรใช้วธิ กี ำร หรอื แนวทำงเกี่ยวกับทฤษฎีบันได 9 ข้ัน ในขั้นตอนท้ัง 9 ข้ันตอน จำกกำรท่ีวทิ ยำกร
สอบถำม พบว่ำผู้เข้ำอบรมส่วนใหญ่มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ สำมำรถจดจำข้ันตอนของกำรใช้ทฤษฎีบันได 9 ขั้น
และมีควำมมุ่งมั่นที่ จะนำควำมรทู้ ไ่ี ด้ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน รวมทง้ั กำรนำไปถ่ำยทอดให้แก่ครวั เรอื นในชุมชน
ในกำรปฏิบัติตำม แนวทำงวถิ ีชวี ติ เศรษฐกิจพอเพียง โดยใชห้ ลักทฤษฎีบันได 9 ขั้นเป็นแนวทำงที่จะดำเนินชวี ติ
แต่ละขั้นๆ ให้สำเรจ็ จำกขั้นแรกๆ ไปจนถึงขั้นสุดท้ำย คือขั้นท่ี 9 อันจะส่งผลให้เกิดควำมสุขแก่ครอบครวั ตนเอง
ชุมชน สังคม และ ประเทศชำติต่อไป
27
วชิ า “หลักกสิกรรมธรรมชาติ”
วทิ ยำกร นำยทองคูณ บุญศร ตำแหน่งผู้อำนวยกำรศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครรำชสีมำ
และนำงสำวกำญจนำ เชดิ สูงเนิน ตำแหน่งนักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมรูถ้ ึงประโยชน์ของกำรปลูกต้นไม้ ตำมแนวคิด ป่ำ 3 อย่ำง
ประโยชน์ 4 อย่ำง โดยกำรปลูกป่ำ 5 ระดับ
2. จดั รูปแบบกำรปลูกให้เกิดคณุ ค่ำและบูรณำกำรในพ้ืนท่ีทำกินเดิม ให้มีสภำพใกล้เคียงกับป่ำ
3. สรำ้ งมูลค่ำต้นไม้ทำให้เป็นทรพั ย์ เพื่อออมทรพั ย์และใชแ้ ก้ปญั หำควำมยำกจน
ระยะเวลำ 4.30 ชว่ั โมง
ประเด็นเน้ือหำวชิ ำ 1) หัวใจหลักกสิกรรมธรรมำชำติ“เลี้ยงดิน ให้ดินเล้ียงพืช” ห่มดิน “แห้งชำม น้ำชำม”
- เรยี นรหู้ ลักเกษตรกรรมกับกสิกรรม
- เกษตรปลอดสำรพิษ :
2) นิยำม 5
3) กำรปลูกปำ่ 3 อย่ำง ประโยชน์ 4 อย่ำง
4) กำรปลูกไม้ 5 ระดับ
5) 10 ขั้นตอนกำรตรวจแปลง
เทคนิค/วธิ กี ำร 1) เรยี นรู้ จำกคลิป Video
2) สื่อ Power Point
3) เรยี นรจู้ ำกพ้ืนทจ่ี รงิ ของวทิ ยำกร
4) กำรเติมเต็มให้ข้อคิด และข้อเสนอแนะ จำกวทิ ยำกร
วัสดุ/อุปกรณ์ 1) ส่ือวดี ีทศั น์ ประกอบกำรบรรยำยผ่ำนระบบ Zoom Cloud Meetings
2) สื่อ Power Point
3) พ้ืนท่ีที่ดำเนินกำรตำมหลักกสิกรรมธรรมชำติ
สรุปผลกำรดำเนินกำรเรยี นรู้ วทิ ยำกรแนะนำตัวพูดคุย สรำ้ งบรรยำกำศให้เกิดควำมเป็นกันเอง ดังนี้
วทิ ยำรเกรน่ ิ นำ หลักกสิกรรมธรรมชำติ ให้ควำมสำคัญกับกำรปรบั ปรุงบำรุงดินเป็นอันดับแรก ถือเป็นหัวใจ
สำคัญ เพรำะดิน เป็นต้นกำเนิดของชวี ติ สังคมไทยในอดีต ให้ควำมสำคัญของดินด้วยควำมเคำรพ บูชำดินเสมือน
“แม่” เรยี ก “พระแม่ธรณี” กำรให้ควำมรกั และเอำใจใส่พระแม่ธรณี โดยกำรห่มดินหรอื กำรคลุมดิน ไม่เปลือยดิน
โดยใชฟ้ ำง เศษหญ้ำ หรอื เศษพืชผลทำงกำรเกษตรที่สำมำรถย่อยสลำยได้เองตำมธรรมชำติ และกำรปรุงอำหำร
เลี้ยงดินโดยกำรใส่ปุ๋ยอินทรยี ์ชวี ภำพให้ลงไปเพื่อให้เป็นอำหำรของดิน แล้วดินจะปลดปล่อยธำตุอำหำรให้พืช
โดยกระบวนกำรย่อยสลำยของจุลินทรยี ์ เรยี กหลักกำรน้ีว่ำ “เลี้ยงดิน ให้ดินเล้ียงพืช” ทำให้ดิน กลับมำมีชีวติ
พืชที่ปลูกก็จะเจรญิ เติบโตแข็งแรง ให้ผลผลิตดี รวมถึงกำรท่ีผู้ผลิตและผู้บรโิ ภคมีสุขภำพกำยที่ดี กำรปรบั ปรุง
บำรุงดินโดยอำศัยหลักกสิกรรมธรรมชำติ > ศำสตรพ์ ระรำชำ 5 ระดับ
28
- รปู้ ญั หำดินเส่ือมโทรม สำเหตุ ปัจจยั ผลกระทบทเ่ี กิดข้ึน
- โครงสรำ้ งดินดี
- กำรปรบั ปรุงบำรงุ ดิน
1. หลักกสิกรรมธรรมชำติ กำรจดั กำรดิน
- มีกำรห่มดิน ให้ปุย๋ แห้งชำม นำ้ ชำม กำรจดั กำรนำ้
- ขุดบ่อ สระ หนอง เพ่ือกักเก็บน้ำ ขุดรอ่ งน้ำและทำฝำยชะลอน้ำ กำรขุดคลองไส้ไก่ในพื้นท่ี
กำรจดั กำรศัตรพู ืชจำกพวกแมลง
- ปลูกไม้ดอกรอบ ๆ แปลง หรอื กำรเปล่ียนกลิ่นโดยใชส้ มุนไพร หรอื น้ำส้มควันไม้ กำรจดั กำร
โรคพืช
- .ใชน้ ้ำหมักสมุนไพร 7 รส ได้แก่ 1) รสจดื ชว่ ยปรบั ปรงุ บำรุงดิน ชว่ ยล้ำงสำรพิษในดิน พืชท่ีใช้
ได้แก่ รำงจดื ผักบุ้ง หน่อกล้วย ผักตบชวำ เป็นต้น
2) รสขม ชว่ ยสรำ้ งภูมิค้มุ กัน พืชที่ใช้ ได้แก่ มะขำมปอ้ ม ข้ีเหล็ก สะเดำ เปน็ ต้น
3) รสเปรย้ ี ว มีฤทธ์ิกัดกรอ่ น ช่วยย่อยสลำยอินทรยี วัตถุได้เรว็ ขึ้น พืชที่ใช้ ได้แก่
สัปปะรด มะกรดู มะนำว มะเฟือง เปน็ ต้น
4) รสฝำด ชว่ ยฆ่ำเชอ้ื รำ ฆ่ำเชอ้ื โรค พืชทีใ่ ชไ้ ด้แก่ เปลือกมังคุด ใบ ฝรง่ั ผลกล้วยดิน
เป็นต้น
5) รสเผ็ดรอ้ น ชว่ ยฆ่ำแมลง พืชท่ใี ชไ้ ด้แก่ พรกิ ขิง ข่ำ เป็นต้น
6) รสเบื่อเมำ ชว่ ยไล่แมลง พืชทีใ่ ชไ้ ด้แก่ หำงไหล สำบเสือ ซำด หรอื ชำด ใบน้อยหน่ำ
เป็นต้น
7) รสหอมระเหย ชว่ ยไล่แมลง พืชทใ่ี ชไ้ ด้แก่ ตะไคร้ กระเพรำ เปน็ ต้น
2. โครงสรำ้ งดินดี ในดิน 1 ส่วน : ต้องมีธำตุอำหำรสำหรบั พืชประมำณ 45 % มีนำ้ ใน ดินประมำณ 25 %
มีอำกำศในดินประมำณ 25 % มีอินทรยี วตั ถใุ นดินประมำณ 5 % ประโยชน์ของกำรห่มดิน
1) เป็นท่ีอยูอ่ ำศัยของจุลินทรยี ์
2) ชว่ ยเก็บควำมชนื้ และปอ้ งกันกำรระเหยของนำ้ ในดิน
3) เม่ือเน่ำเป่ อื ยจะเปน็ อำหำรของสัตว์หน้ำดิน ซงึ่ แมลงพวกนี้จะ ชว่ ยพรวนดิน และถ่ำยมูลเป็น
ปุย๋
4) เม่ือย่อยสลำยจะเป็นฮิวมัส ซงึ่ เปน็ ปุย๋ ชน้ั ดีสำหรบั พืช
- ต้นไม้เจรญิ เติบโตได้เพรำะจุลินทรยี ์ ดังนั้น ประโยชน์ของจุลินทรยี ค์ ือ
1) ชว่ ยตรงึ ไนโตรเจนท่มี ีอยูใ่ นอำกำศถึง 78 % ซงึ่ ชว่ ยให้พืช สังเครำะห์แสงได้ดี
2) ชว่ ยยอ่ ยสลำยซำกพืช ซำกสัตว์
29
3) ช่วยย่อยแรธ่ ำตุจำกหิน ลูกรงั ทรำย เช่น เหล็ก สังกะสี แมงกำนีส แคลเซียม
ฟอสฟอรสั
4) ชว่ ยสรำ้ งฮอรโ์ มนให้พืช
5) ชว่ ยผลิตสำรปอ้ งกันและทำลำยโรคพืช
ในหิน ลูกรงั ทรำย มีอำหำรสำหรบั พืชพอสมควร เพียงแต่ไม่มีจุลินทรยี ์ มำชว่ ยกันทำให้ดินมีจุลินทรยี ์
โดยกำรอยำ่ ปอกเปลือกเปลือยดิน ให้ห่มดิน
3. นำ้ คือ ชวี ติ “... หลักสำคัญว่ำ ต้องมีน้ำบรโิ ภค นำ้ ใชน้ ำ้ เพื่อกำรเพำะปลูก เพรำะชวี ติ อยูท่ ่นี ่ัน ถ้ำมีน้ำ
คนอยูไ่ ด้ ถ้ำไม่มีน้ำคนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้ำคนอยู่ได้ แต่ถ้ำมีไฟฟ้ำไม่มีนำ้ คนอยู่ไม่ได้...”
- คลองไส้ไก่ คือกำรขุดดินเป็นรอ่ งนำ้ กระจำยทัว่ พื้นท่ี เพื่อในฤดูฝน
1. รบั นำ้ ฝนลงรอ่ งเพื่อระบำยนำ้ ปอ้ งกันนำ้ ท่วม
2. นำพำน้ำลงไปในแหล่งนำ้ ที่ต้องกำร ในฤดูแล้ง สูบน้ำลงในรอ่ งกระจำยควำมชุม่ ชน้ื ทัว่ พ้ืนท่ี
4. ปลูกปำ่ 3 อยำ่ ง ประโยชน์ 4 อย่ำง เพื่อให้ พออยู่ พอกิน พอใช้ พอรม่ เย็น และยงั ให้อำกำศทีบ่ รสิ ุทธ์ิ
ให้ควำมชุม่ ชนื้ และยงั ชว่ ยอนุรกั ษ์ดินและน้ำ
ผลกำรเรยี นรูข้ องผู้เข้ำรว่ มกำรอบรม
1. ได้เรยี นรู้ เข้ำใจ กำรทำกิจกรรมโคก หนอง นำ โดยหลักกสิกรรมธรรมชำติ
2. ผู้เข้ำอบรมได้เรยี นรวู้ ธิ กี ำรปรบั ปรงุ บำรงุ ดินโดยอำศัยหลักกสิกรรมธรรมชำติ
วชิ ำ กำรถอดบทเรยี นผ่ำนส่ือ “วถิ ีภูมิปัญญำไทยกับกำรพ่ึงตนเอง”
วทิ ยำกร นำงสำวกำญจนำ เชดิ สูงเนิน ตำแหน่ง นักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
วัตถุประสงค์ 1) เพ่ือให้ผู้เข้ำอบรมได้เรยี นรจู้ ำกผู้ทีป่ ฏิบตั ิจรงิ จนเปน็ ท่ยี อมรบั
2) เพ่ือสรำ้ งแรงบนั ดำลใจในกำรประยุกต์ศำสตรพ์ ระรำชำสู่กำรปฏิบตั ิจนเป็นท่ียอมรบั
ระยะเวลำ จำนวน 1 ชว่ั โมง (15.30 - 16.30น.)
ขอบเขตเน้ือหำ
1) ประวัติส่วนตัวของพ่อเล้ียง บุตรจนั ทำ
2) กำรใชว้ ถิ ีภูมิปัญญำไทย กับกำรเอำตัวรอดอย่ำงไร
3) ทำงออกคือกำรพ่ึงตนเอง
เทคนิค/วธิ กี ำร
1) แบง่ กลุ่มมอบหมำยงำน
2) นำเสนอข้อมูลรำยกลุ่มองค์ควำมรทู้ ไ่ี ด้รบั /แนวคิดท่ไี ด้ชมคลิปจำกกำรบรรยำย
๓) รวบรวมองค์ควำมรู้ ข้อเสนอแนะ คำแนะนำจำกวทิ ยำกรมำสรปุ รำยละเอียด
๔) ชมสื่อวดี ีทศั น์
30
๕) ถอดบทเรยี นจำกส่ือในประเด็น ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้ำง และจะทำอะไรต่อไป
๖) นำเสนอ / แลกเปล่ียนเรยี นรู้
วัสดุ/อุปกรณ์
๑) สื่อวดิ ิทัศน์“ปำ่ เปน็ บำนำญชวี ติ ของพ่อเล่ียม บุตรจนั ทำ”
๒) เครอ่ ื งคอมพิวเตอร์ เครอ่ ื งฉำย และจอภำพ เข้ำระบบ Zoom Cloud Meetings
สรุปผลกำรดำเนินกำรและผลกำรเรยี นรู้ วทิ ยำกรแนะนำตัวพูดคุย สรำ้ งบรรยำกำศให้เกิดควำมเปน็ กันเอง ดังน้ี
วทิ ยำกรเกรน่ ิ นำ เป็นท่ีชดั เจนแล้วว่ำ วกิ ฤติจำกกำรระบำดของโควดิ กำลังเปล่ียนแปลงโครงสรำ้ งทำงเศรษฐกิจ
สังคม และกำรเมืองของโลกและประเทศไทย โลกจะไม่เหมือนเดิม ท่ีเรยี กว่ำ “ปรกติใหม่” (new normal)
นักวชิ ำกำรต่ำงพำกันคำดกำรณ์กำรเปล่ียนแปลงเชิงมหภำค หรอื มองเป็นผลกระทบช่ัวครำวในภำคเมือง แม้จะ
เรม่ ิ สนใจคนจนในเมือง แต่ก็เป็นกำรเน้นกำรแก้ปญั หำเฉพำะหน้ำ หำกแต่ผลกระทบดังกล่ำวจะส่งผลสะเทือนไป
ถึงชนบทซึ่งยังไม่มีกำรทำควำมเข้ำใจถ่องแท้ว่ำ ชุมชนท้องถ่ินกำลังเผชิญอะไรในวกิ ฤติโควดิ พวกเขำต้ังรบั
ปรบั ตัวอย่ำงไรภำวะปรกติใหม่ของชุมชนจะเป็นอย่ำงไรและพวกเขำจะมีส่วนกำหนดอนำคตข้ำงหน้ำได้เพียงไหน
ผลกระทบจำกกำรประเมินกลุ่มผู้ใชแ้ รงงำนที่ไปทำงำนเมืองเป็นด่ำนแรกทไ่ี ด้รบั ผลกระทบทันทอี ย่ำงรุนแรงและ
กำลังกลับไปพ่ึงชุมชนเหมือนวกิ ฤติเศรษฐกิจปี 2540 แต่ชุมชนท้องถิ่นส่วนมำกกำลังอยู่ในควำมเสี่ยงอย่ำงท่ี
เคยเจอมำก่อน เกษตรกรรมเชงิ เดี่ยวที่พ่ึงพำตลำดส่งออกต่ำงประเทศ โดยเฉพำะพืชผักผลไม้กำลังจะไม่มีตลำด
เศรษฐกิจชุมชนจะล้มเหลวอย่ำงรุนแรงยง่ิ กว่ำที่เคย ส่ิงที่ตำมมำสำหรบั รอบกำรผลิตใหม่ก็คือ ภำวะภัยแล้ง กำร
ขำดแคลนน้ำอยำ่ งรุนแรง ทำให้ท้ังเกษตรเชงิ เด่ียวและเกษตรกรรมยง่ั ยืนก็จะประสบปัญหำ ดังน้ันถึงแม้ว่ำสินค้ำ
เกษตรบำงชนิด เชน่ ข้ำว มันสำปะหลัง จะมีรำคำสูงข้ึน แต่พวกเขำก็ผลิตไม่ได้ เมื่อตลำดขนำดใหญ่ซบเซำลง
ตลำดสินค้ำอำหำรออนไลน์เติบโตขึ้น แต่นั่นก็ไม่ใชสิ่งที่ชำวบ้ำนสำมำรถเข้ำถึงและสรำ้ งโอกำสให้กับตนเองได้
มำกเท่ำกับธุรกิจอำหำรขนำดใหญ่ อีกทั้งในระบบตลำดออนไลน์ที่เรยี กรอ้ งกำรผลิตจำนวนมำก สม่ำเสมอ
แน่นอน และต้องมีเงนิ ทุนสำรองพอเพียง ชุมชนไม่ได้มีศักยภำพที่จะเข้ำถึงและต่อรองผ่ำนกลไกตลำดออนไลน์
หลัก ยังไม่นับรวมถึงระบบกำรขนส่งอำหำร เชน่ Grab, Lineman, Panda Food ฯลฯ ท่ีเหมำะสำหรบั สังคม
เมือง แต่ไม่สำมำรถเชอื่ มระหว่ำงสินค้ำชุมชนสู่ผู้บรโิ ภค น่ันเท่ำกับควำมเหล่ือมลำ้ ในโครงสรำ้ งเศรษฐกิจอำหำร
จะขยำยตัวมำกยิง่ ข้ึน
กำรปรบั ตัว โอกำส และสิ่งท้ำทำย แรงงำนท่ีหลั่งไหลกลับบ้ำนเปน็ ได้ท้งั แรงกดดัน และปจั จยั หนนุ เสรมิ
ชุมชน ในชุมชนส่วนใหญ่ท่ี พึ่งเศรษฐกิจเชงิ เดี่ยวกับตลำดภำยนอกอยู่ในภำวะอ่อนแอ ผลผลิตที่ไม่มีตลำด และ
ภำวะขำดแคลนน้ำอำจทำให้ชุมชนไม่สำมำรถเป็นหลังอิงให้กับลูกหลำนที่ไปทำงำนในเมืองได้เหมือนก่อน แต่
สำหรบั ชุมชนท่ีมีฐำนเข้มแข็ง ดูแลทรพั ยำกรธรรมชำติให้คงควำมสมบูรณ์ จัดกำรดิน น้ำ ป่ำได้ดี และมีระบบ
เศรษฐกิจกำรผลิตที่หลำกหลำย บำงท่ีมีฐำนกำรเงนิ ชุมชนท่ีเข้มแข็งกำรกลับมำของลูกหลำนคือกำรมำชว่ ยเพ่ิม
แรงงำนกำรผลิตเพื่อสรำ้ งควำมม่ันคงอำหำรและเศรษฐกิจได้มำกยิ่งข้ึน เพรำะในภำวะสังคมสูงวยั ที่ภำคเกษตร
ขำดแรงงำน เม่ือชุมชนพรอ้ ม ย่อมจะเป็นโอกำสดีทีไ่ ด้แรงงำนเพ่ิมในชุมชนเองก็มีกำรปรบั ตัวพอสมควร
31
หลำยพ้ืนท่ีหันกลับมำฟ้ ืนฐำนทรพั ยำกร กำรผลิต กำรบรโิ ภคสรำ้ ง ตลำดในชุมชน เกิดเป็นควำมมั่นคง
อำหำรและเศรษฐกิจท้องถ่ินเพื่อยืนหยัดในภำวะวกิ ฤติโดยเฉพำะชุมชนที่มีระบบกำรจดั กำรทรพั ยำกรท่ีเข้มแข็ง
มีเศรษฐกิจและกำรผลิตท่ียั่งยืนและหลำกหลำย มีฐำนกำรเงนิ ชุมชน สนับสนุน มีระบบตลำดท้องถิ่นสนับสนุน
และมีฐำนเครอื ข่ำยทำงเศรษฐกิจและสังคมด้ำนอำหำรที่เชอ่ื มโยงกับผู้บรโิ ภคอย่ำงต่อเน่ือง พวกเขำสำมำรถยนื
หยัดพึ่งตนเองด้ำนอำหำรได้มำกรองรบั แรงงำนกลับบ้ำนได้ดี แม้วกิ ฤติเศรษฐกิจโควดิ จะทำให้รำยได้ลดลงแต่ก็
ไม่ทำให้ควำมม่ันคงอำหำรชุมชนสูญเสียไป เพียงแต่ตัวอย่ำงของชุมชนที่เข้มแข็งมีไม่มำกนัก เป็นกระบวนกำรสั่ง
สมทำงภูมิปัญญำและกำรจดั กำรของชุมชนมำอย่ำงต่อเนื่องยำวนำน เกิดเป็นต้นแบบท่เี ป็นแหล่งเรยี นรูแ้ ละเป็น
ฐำนในกำรแสวงหำคำตอบถึงทิศทำงอนำคตที่พึงประสงค์ของชุมชนได้ แต่ต้นแบบเหล่ำนี้มักถูกรฐั และสังคม
เพิกเฉยทจ่ี ะนำมำขยำยผลส่งเสรมิ อยำ่ งจรงิ จงั
ท่ำมกลำงกระแสกำรปะทะกันระหว่ำงแนวคิดกำรพัฒนำกระแสหลักท่ีมุ่งเน้นกำรพัฒนำระบบเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยมที่นำเสนอโดยภำครฐั อันมีเป้ำหมำยที่กำรแสวงหำกำไรและผลประโยชน์กับแนวคิดกำรพัฒนำ
กระแสทำงเลือกท่ีมุ่งเน้นกำรพัฒนำระบบเศรษฐกิจพอเพียง หรอื พออยู่พอกิน ที่นำเสนอโดยภำคประชำชน
ที่เน้นอุดมกำรณ์กำรกลับคืนสู่รำกเหง้ำตำมวถิ ีกำรผลิตจำกวัฒนธรรมเดิม มีเป้ำหมำยท่ีกำรพึ่งตนเองเป็นหลัก
นับเป็นแนวคิดสำคัญในกำรพัฒนำชุมชนท้องถิ่น ซึ่งสะท้อนจุดเปลี่ยนในวธิ คี ิด วธิ ปี ฏิบัติอันเกิดจำก ปัญหำ
ประสบกำรณ์และกำรเรยี นรขู้ องชุมชนท้องถ่ิน ประกอบด้วยแนวคิดในกำรพัฒนำด้ำนต่ำง ๆ ดังนี้คือ
๑. ประวัติส่วนตัวของพ่อเล่ียม บุตรจันทำ ปรำชญ์ชำวบ้ำน “แห่งบ้ำนสวนฮอนซอน” รำยได้ครวั เรอื น
แม้ในอดีตของลุงเลี่ยมจะเคยล้มลุกคลุกคลำนอย่ำง “คนจน” แต่ปัจจุบันเขำ คือ “ผู้ย่ิงใหญ่” ในใจของใครหลำย
คน ชำยรำ่ งท้วม ผิวเข้มจำกกลำแดด พูดจำชดั ถ่อยชดั คำ มีผ้ำขำวม้ำพำดบ่ำ และรอยยิ้ม คือบุคลิกที่ชดั เจนของ
ลุงเลี่ยม บุตรจนั ทำ แห่งบ้ำนนำอีสำน ตำบลท่ำกระดำน อำเภอสนำมชยั เขต จงั หวัดฉะเชงิ เทรำ ลุงเลี่ยมถือเปน็
ปรำชญ์เดินดินที่คนท่ัวประเทศรูจ้ กั มำกที่สุดคนหนึ่ง และบ้ำนนำอีสำนได้กลำยเป็นพื้นที่ศึกษำดูงำนของหลำย
หน่วยงำนรวมถึงโครงกำรรกั ษ์ป่ำสรำ้ งคน ๘๔ ตำบล วถิ ีพอเพียง มีพ่ีน้อง หลำยตำบลได้ไปแวะเย่ียมเยือนลุง
เลี่ยม ได้พูดคุยกับยำยตุ๋ย (ภรรยำ) ได้อุดหนุนผลิตภัณฑ์ของครอบครวั ลุงเลี่ยม ได้พันธไุ์ ม้ติดไม้ติดมือกลับบ้ำน
หรอื บำ้ งก็ได้สูตรยำสมุนไพรลดควำมอ้วนมำเสรมิ รำยได้ครวั เรอื น แม้ในอดีตของลุงเล่ียมจะเคยล้มลุกคลุกคลำน
อย่ำง “คนจน” แต่ปัจจุบันเขำคือ “ผู้ย่ิงใหญ่” ในใจของใครหลำยคน ประวัติพ่อบุญเล่ียม บุตรจนั ทำ “ผมเป็นคน
บุรรี มั ยเ์ รยี นจบศึกษำผู้ใหญ่ระดับ ๔ จบมำก็ปลูกมันสำปะหลังอยู่อย่ำงเดียว ตั้งแต่อำยุ ๑๕ ปปี ลูกมันไม่ได้หัวมัน
ได้แต่หน้ี สุขภำพก็แย่ ครอบครวั ทะเลำะเบำะแว้ง เพรำะเป็นหน้ีแต่ก็ไม่เคยสรุปว่ำเป็นหนี้เพรำะอะไร “ปี๒๕๒๙
จงึ ขำยท่ีดินใชห้ น้ี เหลือเงนิ หนึ่งแสนบำทเอำมำซื้อ ที่ ๕๐ ไร่ และปลูกเรอื นท่ี บ้ำนนำอีสำน จงั หวัดฉะเชงิ เทรำ
แล้วก็โค่นป่ำเพ่ือลูกข้ำวกิน พอผ่ำนไปสักปีก็มีกุมำรน้อยคนที่สอง ยำยตุ๋ย (ภรรยำ) ก็พำลูกไปหำหมอแถวเขำ
ฉกรรจไ์ ปเห็นเขำขำยข้ำวโพดกัน ก็มำชวนให้ปลูก ปลูกได้ ๒-๓ ปีก็เรม่ ิ มีปญั หำเก่ำ ครอบครวั ทะเลำะกันสุดท้ำยก็
เป็นหนี้ธกส. ๑๐๐,๐๐๐ บำท เป็นหนี้รำ้ นขำยเมล็ดพันธุ์ปุ๋ย ๕๐,๐๐๐ บำท และเป็นหน้ีรำ้ นค้ำอีกรวมแล้ว
๒๐๐,๐๐๐ กว่ำบำท ผมกลำยเป็นคนเมำประจำหมู่บ้ำนเพรำะผมชอบรอ้ งเพลงในวงเหล้ำแต่ เมียกลับมำยืนชห้ี น้ำ
32
ด่ำผมยิ่งต้องเมำปลี ะ ๓๖๕ วนั และเมำอยู่ ๒ วนั คือ วนั ฝนตก และวนั ทฝี่ นไม่ตก แต่โชคดีมีบุญเก่ำ ปี ๒๕๓๙ ครู
ที่โรงเรยี น ตชด. ชวนไปสัมมนำท่ีอำเภอสนำมชยั เขต ก็คิดแต่ว่ำจะได้ไปกินเหล้ำนอกบ้ำน พอไปแล้วเหล้ำขำว
ไม่ได้ตกถึงท้องเลย จนวันสุดท้ำยผู้ใหญ่วบิ ูลย์ เข็มเฉลิม มำคุยและด่ำให้ฟังว่ำ เกษตรกรโง่ ไม่รูจ้ ักตัวเอง ผม
เถียงอยู่ในใจว่ำ ผมรูจ้ ักตัวเอง ผมคือนำยเล่ียม ๓ วันเมำ ๔ วันเมำให้เมียด่ำ และแกบอกว่ำถ้ำอยำกจะรูจ้ ัก
ตัวเองให้ลองทำบนั ทึกข้อมูลรำยจำ่ ย นี่แหละ คือ “จุดเรม่ ิ ต้นของผม เล่ียม บุตรจนั ทำ คนจน... ผู้ยง่ิ ใหญ่” กลับมำ
ก็ลงมือทำต้องใชค้ วำมอดทนสูงมำก เพรำะเมียจะด่ำก่อน หำวำ่ จบั ผิด พออำรมณ์ดีค่อยถำมต่อ ทำอย่ำงน้ีทุกวัน
จนสิ้นปีและเดือนมกรำคม ปี ๒๕๔๐ ผมเอำบัญชีมำน่ังโสเหล่กับยำยตุ๋ยถือเป็นวันท่ีทะเลำะกันอย่ำงรุนแรง
เพรำะผมมีค่ำบุหร่ ีหมื่นกว่ำบำท ค่ำเหล้ำสองหมื่นกว่ำบำท ค่ำหวย มวยตู้ เล่นไพ่ รวมแล้ว ๖๐,๐๐๐ กว่ำบำท
ส่วนของยำยตุ๋ย ก็เป็นค่ำหมู ไก่ พรกิ ทใี่ ชท้ ำกับข้ำว ๒๙,๐๐๐ บำท และของลูกสองคน ๕,๐๐๐ บำท ทำให้ ยำยตุ๋ย
ก็รสู้ ึกว่ำอยูร่ ว่ มโลกกันไม่ได้แล้ว และให้เลือก ๒ ทำง คือ ไปอยู่กับเพ่ือนกินเหล้ำ หรอื ถ้ำจะเลิกเหล้ำเลิกกำรพนนั
ผมถำมลูกว่ำ ถ้ำพ่อแม่เลิกกันลูกจะอยู่กับใครมันตอบแบบไม่คิดเลยว่ำจะอยู่กับแม่ ผมน้อยใจและหดหู่จึง
ตัดสินใจอยูก่ ับครอบครวั แล้วครอบครวั เรำจะทำอะไรกันต่อ ผมใชข้ ้อมูลมำชว่ ยตัดสินใจ คือ ข้อมูลทำไรข่ ้ำวโพด
ปี ๒๕๓๙ ผมมี กำไร ๖๕๐ บำท/ไร/่ ปีรวม ๓๐ ไร่ ได้หม่ืนกว่ำบำทยังไม่พอซอื้ กินลองคิดค่ำกินแบบถกู ๆ ๑๕ บำท/
คน/มื้อ ถ้ำ ๔ คนก็ ๖๐ บำท/ม้ือ ในหน่ึงปีต้องกิน ๑,๐๙๕ ม้ือ รวมเป็น ๖๐,๐๐๐ กว่ำบำท หมำยถึงต้องทำไร่
ข้ำวโพดให้กำไรปีละ ๖๐,๐๐๐ กว่ำบำท ผมตัดสินใจเลิกเลย เลิกที่จะทำอะไรไปขำยแล้วเอำเงนิ มำซ้ือกิน เอำ
รำยจำ่ ยที่ยำยตุ๋ยซอื้ มำดู อันไหนปลูกได้ทำได้วำงแผนปฏิรูปครอบครวั ใหม่เรม่ ิ ปลูกทุกอย่ำงท่ีกิน กินทุกอย่ำงที่
ปลูก หำบน้ำรดผักกับยำยตุ๋ยสองคน เม่ือยก็มำน่ังคนละฝำกแปลงผัก คุยกันกะหนุงกะหนิงเหมือนจบี กันใหม่ ๆ
มันออนซอนชวี ติ จรงิ ๆ ไม่ขัดใจกัน เลยชวนยำยตุ๋ยต้ังชอื่ สวนว่ำ “สวนออนซอน”
ต้ังแต่ ปี ๒๕๔๐ “ผมไปบอก ธกส. ว่ำ ต่อไปน้ีไม่มีเงนิ ชำระหนี้นะ ไม่มีไม่หนีไม่จ่ำยปฏิเสธงำนสังคม
งำน บวช งำนแต่ง มีซองมำก็ใส่ซองไป ต่ืนเชำ้ มำก็เดิน ๖๐๐ ก้ำวไปสวน ทำไปทำมำกินไม่หมด เพื่อนบ้ำนมำขอ
ซื้อ ทำให้ผมเห็นทำงรอดแล้ว และหลังจำกนั้นอีก ๖ ปี ก็ใช้หน้ีหมด “สวนออนซอนตอนนี้กลำยเป็นป่ำ ผมมี
บำนำญให้ชวี ติ ผม และยำยตุ๋ยอย่ำงน้อยคนละ ๓๐๐ ต้น ในพ้ืนท่ี ๑๓ ไร แ่ บ่งเป็นป่ำ ๔ ไร่ นำ ๕ ไร่ ท่ีเหลือก็เป็น
บ่อเปน็ คลอง ผมรสู้ ึกเสียดำยว่ำ ทำไมเรำไม่ทำอย่ำงน้ีตั้งนำนแล้วและต้ังใจว่ำจะทำอยำ่ งนี้เผยแพรใ่ ห้ทกุ คนได้รู้
พรอ้ ม ปลูกต้นไม้วันละ ๓ ต้น เหมือนกินข้ำววันละ ๓ มื้อ จนตัวเองเดินไม่ไหว แล้วดูสิ...วันน้ีผมมีอะไรถ้ำคุณ
อยำก เหมือนผมตอนนี้ ก็เลิกเหล้ำเสีย” กำรใชว้ ถิ ีภูมิปัญญำไทยกับกำรเอำตัวรอด ภูมิปัญญำเป็นองค์ควำมรูท้ ่ี
เกิดจำกกำรเก็บเก่ียวประสบกำรณ์เพื่อกำรเอำตัวรอดในกำรดำรงชวี ติ ไม่ว่ำจะเป็นภูมิปญั ญำด้ำนกำรโภชนำกำร
ด้ำนกำรรกั ษำโรค ด้ำนที่อยู่อำศัย ด้ำนเครอ่ ื งนุ่งห่ม ซง่ึ หำกพิจำรณำจะ พบว่ำบรรพบุรุษอำศัยภูมิปัญญำหรอื
ควำมรูเ้ หล่ำนั้นอยู่ในสังคมและอำศัยธรรมชำติแบบถ้อยทีถ้อยอำศัยหรอื พึ่งพำซงึ่ กันและกัน อำทิชำวบ้ำนรูจ้ กั
วธิ ใี ชป้ ระโยชน์จำกธรรมชำติส่ิงแวดล้อม นำพืชพันธสุ์ ัตวต์ ่ำง ๆ มำทำอำหำร มำใชแ้ รงงำน และมักมีวธิ สี รำ้ งควำม
สมดุลหรอื ขอบคณุ ธรรมชำติผ่ำนพิธกี รรมต่ำง ๆ
33
1.กำรตระหนักถึงควำมเชอื่ มโยงระหว่ำงตนเองกับทรพั ยำกรธรรมชำติและ สิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุที่ฐำน
ทรพั ยำกรท่ีรองรบั ควำมอยู่รอดของชุมชนท้องถิ่นเอำไว้กำลังถูกทำลำยลงเรอ่ ื ย ๆ ดังน้ัน จงึ ต้องมีกำรดูแลรกั ษำ
ระบบนิเวศน์และส่ิงแวดล้อมให้คงอยูใ่ นสภำพท่ีสมดุล
2.กำรรกั ษำฐำนชวี ติ เพื่อดำรงคุณค่ำของกำรอยู่รว่ มระหว่ำงคนกับธรรมชำติ เชน่ คนกับป่ำท่ีผูกพันธอ์ ยู่
รว่ มกันมำอย่ำงยำวนำน ได้พ่ึงพิงเป็นแหล่งอำหำร ที่อยู่อำศัย เครอ่ ื งนุ่งห่ม ยำรกั ษำโรค ฯลฯ เป็น เสมือน
ซุปเปอรม์ ำเก็ตขนำดใหญ่ทเ่ี ลี้ยงดูผู้คนมำอย่ำงยำวนำน ปำ่ จงึ เปรยี บเสมือน “ทนุ ชวี ติ และวัฒนธรรม” ของชุมชน
3.กำรสืบทอดระบบคิด จำรตี ประเพณี สังคมวัฒนธรรม ภูมิปัญญำ และองค์ควำมรูใ้ นกำรจัดกำร
ทรพั ยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมอย่ำงเป็นองค์รวม เชน่ ภูมิปัญญำของชุมชนทอ้ งถิ่นในกำรจดั กำรดิน น้ำ ป่ำ
ท่ียืนอยู่บนควำมเหมำะสม สอดคล้องกับสภำพเฉพำะของ แต่ละพื้นท่ีมีกำรจัดกำรอย่ำงเป็นองค์รวมและ
สอดคล้องกับปัญหำควำมต้องกำร เพรำะที่เกิดข้ึนจำกวถิ ีชวี ติ และกำรมีส่วนรว่ มของคนในชุมชนน้ัน ๆ
แนวคิดในกำรพัฒนำพึ่งพำตนเอง
แนวคิดกำรพ่ึงตนเองของชุมชนชนบท 5 ด้ำนคือ
1.กำรพึ่งตนเองได้ทำงเทคโนโลยี(technological self - reliance) หมำยถึง กำรมีปรมิ ำณและ
คุณภำพของเทคโนโลยีทำงวัตถุ เชน่ เครอ่ ื งมือ เครอ่ ื งจกั รกลและเทคโนโลยีทำงสังคม เชน่ กำรวำงโครงกำร
กำรจดั กำรมนุษยสัมพันธ์ เปน็ กำรรจู้ กั ใชอ้ ย่ำงมีประสิทธภิ ำพ
2.กำรพึ่งตนเองได้ทำงเศรษฐกิจ (economic self-reliance ) หมำยถึงควำมสำมำรถในกำรดำรงชวี ติ
ทำงเศรษฐกิจท่ีมีควำมม่ันคงสมบูรณ์พูนสุขพอสมควรและให้เกิดควำมสมดุลระหว่ำงอุปสงค์และอุปทำน จุด
สมดุลอยู่สูงพอสมควรถึงขั้นสมบูรณ์พูนสุขดังกล่ำว
3.กำรพ่ึงตนเองได้ทำงทรพั ยำกรธรรมชำติ(natural resource seff-reliance) ซงึ่ หมำยถึงส่ิงใด ๆ ท่ีมี
อยู่โดยธรรมชำติในชุมชนหรอื สำมำรถ หำมำได้จำกธรรมชำติมีควำมสำมำรถในกำรใช้ประโยชน์และรกั ษำ
ธรรมชำติให้ดำรงอยูไ่ ม่ให้เสื่อมสลำยไป
4.กำรพ่ึงตนเองได้ทำงจิตใจ (phychological self-reiance) หมำยถึงกำรที่สภำพจิตใจท่ีกล้ำแข็ง
พรอ้ มที่จะต่อสู้กับปัญหำอุปสรรคในกำรหำเลี้ยงชีพ กำรพัฒนำชีวติ ให้เจรญิ ก้ำวหน้ำย่ิงข้ึนในกำรปกครอง
ตนเอง ในกำรปอ้ งกันกิเลสตัณหำ ไม่ให้โลภ โกรธ หลง หรอื อยำกได้ อยำกมี จนเกินควำมสำมำรถของตนเอง
5.กำรพึ่งตนเองได้ทำงสังคม (socal self-reliance) หมำยถึง สภำวกำรณ์ที่กลุ่มคนกลุ่มหน่ึงมีควำม
เป็นปีกแผ่นเหนียวแน่น มีผู้นำที่มีประสิทธิภำพ สำมำรถนำกลุ่มคนเหล่ำน้ีปฏิบัติหน้ำที่หรอื อำจขอควำม
ชว่ ยเหลือ จำกภำยนอกได้ เปน็ กลุ่มทีม่ ีควำมรคู้ วำมสำมำรถระดับหนึ่ง ติดต่อสัมพันธก์ ันด้วยดีสม่ำเสมอ
สรุปผลจำกกำรเรยี นรู้ จำกกำรถอดบทเรยี นท้ัง ๒ รุน่ ได้ ดังน้ี
ส่ิงท่ีได้จำกกำรดูส่ือ (clip พ่อเล่ียม บุตรจนั ทำ) ท่ำนได้ข้อคิด
1. ได้ประโยชน์จำกปำ่ ในกำรดำเนินชวี ติ อย่ำงเรยี บง่ำย และเรอ่่ ื งกำรเปล่ียนควำมคิด
2. เป็นแนวในกำรสรำ้ งรำยได้ให้กับตนเอง
34
3. ปลูกต้นไม้เพ่ือกำรออมเงนิ บำนำญ และเป็นมรดกให้ลูกหลำน
4. เปน็ ต้นแบบในกำรเรยี นรใู้ ห้กับผู้อ่ืน
5. เห็นประโยชน์ของกำรทำบญั ชคี รวั เรอื น
6. น้อมนำหลักของปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียงมำใชช้ วี ติ ในครอบครวั
7. พ่ึงพำตนเองได้ในยำมเกิดวกิ ฤตและภัยพิบตั ิทำงธรรมชำติ
8. ปลูกพืชที่กินได้เป็นได้ทั้งอำหำร และยำ สรำ้ งส่ิงท่ีอยู่อำศัยให้กับตนเองเพ่ือลดค่ำใชจำ่ ยในครวั เรอื น
9. ฝำกเงนิ ในรูปแบบกำรปลูกต้นไม้ (ธนำคำรต้นไม้)
10. เดินบันได 9 ขั้นสู่ควำมพอเพียง
11. กำรทำเกษตรเชงิ เดียวไม่ยัง่ ยืน
12. กำรใช้ชีวติ ที่ประมำท ไม่มีกำรวำงแผนชวี ติ เม่ือเกิดปัญหำถึงค้นพบตัวเองท่ีเป็นคนสรำ้ งควำมไม่
พอดีกับ ตัวเอง และครอบครวั
สำมำรถจะนำไปปรบั ใชก้ ับตัวเองอย่ำงไร?
1. กำรจดั ทำบญั ชคี รวั เรอื น
2. จดั กำรทรพั ยำกรในพ้ืนทีต่ ัวเองว่ำจะนำมำใชป้ ระโยชน์ในกำรเพ่ิมรำยได้ลดรำยจำ่ ยอยำ่ งไร
3. ปลูกปำ่ 5 ระดับ วนั ละ 2 ต้น
4. นำไปปรบั ใชก้ ับตัวเองด้ำนกำรลด ละ เลิก อบำยมุขต่ำง ๆ
5. ปลูกสิ่งท่กี ิน และกินทุกอย่ำงทีป่ ลูก เพ่ือลดรำยจำ่ ย
ปิดท้ำย วกิ ฤตโควดิ นำมำสู่กำรเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เกิดพื้นที่ใหม่ท้ังท่ีเป็นโอกำสและส่ิงท้ำทำยชุมชน
ท้องถิ่น ต่ำง ๆ นักพัฒนำสังคม นักวชิ ำกำร ภำคเอกชน ภำครฐั ควรอำศัยสถำนกำรณ์นี้ กำรทบทวน
ควำมล้มเหลวครง้ั แล้วครง้ั เล่ำของวกิ ฤติเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงทบทวนควำมล้มเหลวของกำร
แก้ปัญหำเพื่อกลับไปแบบเดิมซง่ึ ได้รบั กำรพิสูจน์หลำยครง้ั ว่ำล้มเหลว ชุมชนท้องถ่ินมีแต่จะย่ิงอ่อนแอ
ลงไปเรอ่ ื ย ๆ
หำกทุกภำคส่วนของสังคมเอำจรงิ เอำจังต่อกำรปฏิรูปกำรพัฒนำใหม่อย่ำงถอนรำกถอนโคน ภำวะ
“ปรกติใหม่” ท่ีจะมำถึงยอมจะหมำยถึงกำรก่อรูปควำมเข้มแข็งของสังคมไทยจำกฐำนรำกของชุมชน แทนท่ีจะ
ปล่อยให้อนำคตวนกลับไปที่เดิม ถูกเปลี่ยนเป็นอนำคตที่มีแต่ควำมรุนแรงจำกควำมเหล่ือมล้ำ ไม่เป็นธรรมไม่
ยั่งยนื ซงึ่ น่ันหมำยถึงสังคมไทยจะไม่มีอนำคตอีกต่อไป
35
วชิ ำ “5 ฐำนกำรเรยี นรูส้ ู่เศรษฐกิจพอเพียง”
สำธติ 3 ฐำนเรยี นรู้ และเรยี นรผู้ ่ำนคลิปวดี ีโอ 2 ฐำน
วัตถุประสงค์ 1)เพื่อให้ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมรูแ้ ละเข้ำใจถึงกำรน้อมนำหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจ
พอเพียงมำปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน และสำมำรถนำมำปฏิบัติจนเปน็ วถิ ีชวี ติ
2)เพ่ือให้ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมมีทกั ษะ ควำมรใู้ นแต่ละฐำนกำรเรยี นรแู้ ละสำมำรถนำไปปฏิบตั ิได้
3)สำมำรถนำควำมรูแ้ ละเทคนิคในฐำนต่ำง ๆ ไปประยุกต์ใช้เป็นอำชีพเสรมิ ในครวั เรอื น เพื่อให้เกิด
รำยได้และพ่ึงพำตนเองได้
ระยะเวลำ จำนวน 3 ชว่ั โมง (09.00-12.00 น.)
ประเด็นเน้ือหำ 1. สำธติ กำร 3 ฐำนกำรเรยี นรู้ ได้แก่ ฐำนคนมีนำ้ ยำ - ฐำนคนรกั ษ์สุขภำพ - ฐำนคนรกั ษ์
แม่ธรณี (ทำปุย๋ แห้ง ปุย๋ นำ้ )
2. เรยี นรผู้ ่ำนคลิป วดี ีโอ 2 ฐำน ประกอบด้วย - ฐำนคนเอำถ่ำน – ฐำนตนหัวเห็ด
3. ผู้เข้ำรบั กำรอบรมสรุปผลกำรเรยี นรู้ เป็นรำยจุด
5. เทคนิค/วธิ ีกำร 1) วทิ ยำกรกล่ำวทักทักทำย และให้ควำมรูถ้ ึงที่มำของฐำนกำรเรยี นรูข้ อง ศพช.
นครรำชสีมำ ท้งั 9 ฐำน
วทิ ยำกรให้ผู้เข้ำรบั กำรฝึกอบรมเรยี นรูจ้ ำกวยิ ำกร 3 ฐำนกำรเรยี นรู้ หลังจำกน้ันให้วทิ ยำกรประจำฐำน
กำรเรยี นรูไ้ ด้เติมเต็มและตอบข้อซกั ถำม ฐำนละประมำณ 1.30 ชวั่ โมง โดยเรม่ ิ จำก – ฐำนคนมีน้ำยำ - ฐำนคน
รกั ษ์สุขภำพ - ฐำนคนรกั ษ์แม่ธรณี (ทำปุ๋ยแห้ง ปุ๋ยน้ำ) และวทิ ยำกรหลักพำเรยี นรูผ้ ่ำนคลิปเก่ียวกับกระบวนกำร
ขั้นตอนกำรทำ -ฐำนคนหัวเห็ด - ฐำนคนเอำถ่ำน (เตำเผำถ่ำนนำ้ ส้มควนั ไม้)
วัสดุ/อุปกรณ์ 1) ส่ือวดี ีทัศน์กระบวนกำร/ข้ันตอนกำรทำ
2) วสั ดุ/อุปกรณ์ ฐำนกำรเรยี นรู้ (สำธติ )
3) คอมพิวเตอร/์ เครอ่ ื งฉำยและจอภำพ ผ่ำนระบบ ZOOM CLOUD MEETINGS
ฐำนเรยี นรู้ สำธติ 3 ฐำนได้แก่
1. ฐำนเรยี นรคู้ นมีน้ำยำ
วทิ ยำกรประจำฐำน
1. นำงสำวเมธยำ ขะจวง นักทรพั ยำกรบุคคล
2. นำงสำวละเอียด สังฆรตั น์ พนักงำนสถำนท่ี
3. นำงน้ิม ดวงกระโทก พนักงำนทำควำมสะอำด
ระยะเวลำ 1.30 ชว่ั โมง
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นกำรลดรำยจำ่ ย และรกั ษำสภำพแวดล้อม
2. นำวสั ดุที่เหลือใช้ และวัสดุทมี่ ีอยูใ่ นพ้ืนท่ีมำใชป้ ระโยชน์ให้มำกขึ้น
3. เพ่ือเป็นอำชพี เสรมิ เพ่ิมรำยได้ในครวั เรอื น
36
1. กำรทำนำ้ หมักมะกรูด
วัสดุ/อุปกรณ์
1. มะกรดู สด 6 กิโลกรมั
2. นำ้ ตำลแดง (นำ้ ตำลอ้อย) หรอื ท่อนอ้อยทบุ 2 กิโลกรมั
3. นำ้ เปล่ำประมำณ 36 ลิตร
4. ถังขนำด 72 ลิตร (สำหรบั หมัก)
5. มีด
6. เขียง
ข้ันตอนกำรทำนำ้ หมักมะกรูด
1. ผ่ำมะกรูดครง่ ึ ลูกลงไปในถังสำหรบั หมักจนหมด 6 กิโลกรมั
2. โรยน้ำตำลแดง (น้ำตำลอ้อย) หรอื ท่อนอ้อยทุบประมำณ 2 กิโลกรมั โรยให้ทั่วมะกรูดท่ีผ่ำแล้ว
3. ปดิ ฝำท้งิ ไว้ 7 วัน
4. เม่ือครบกำหนด 7 วัน เปิดฝำเติมน้ำลงไปประมำณ 36 ลิตรลงไป หรอื จนเกือบเต็มถังหมัก แล้วปิด
ฝำถัง หมัก
5. หมักท้ิงไว้ 3 เดือนจงึ สำมำรถนำมำใชไ้ ด้
** หมำยเหตุ 1. อัตรำส่วนมะกรูดและนำ้ ตำลอ้อย 3 : 1
2. น้ำตำลอ้อย (น้ำตำลแดง) ลักษณะเป็นน้ำตำลที่ใชโ้ รยบนเครอ่ ื งดื่มเฉำก๊วยหรอื เติมลงในกำแฟ โดย
จะทำให้น้ำหมักมะกรูดมีควำมหอมและเป็นอำหำรของจุลินทรยี ์ในกำรย่อยสลำย หำกใชน้ ้ำตำลทรำยแดงในกำร
หมักจะทำให้เน่ำ ไม่สำมำรถนำมำใชไ้ ด้
3. น้ำหมักมะกรูด ยิ่งหมักนำนจะยิ่งมีควำมหอม แต่ต้องคอยดมกล่ินหำกว่ำกลิ่นเรม่ ิ ไม่หอมมะกรูด
ให้เติมน้ำตำลแดงลงไปประมำณ 1 กิโลกรมั ลงไป เพื่อให้เป็นกำรเลี้ยงจุลินทรยี ์และให้น้ำหมักมะกรูดมีควำม
หอมต่อไปอีกนำน
2. กำรทำน้ำด่ำง
วัสดุ/อุปกรณ์
1. ข้ีเถ้ำ 10 กิโลกรมั
2. น้ำเปล่ำประมำณ 25 ลิตร
3. ถังขนำด 72 ลิตร
ข้ันตอนกำรทำน้ำด่ำง
1. นำขี้เถ้ำ 10 กิโลกรมั เทลงในถังทเ่ี ตรยี มไว้จนหมด
2. เติมน้ำเปล่ำประมำณ 25 ลิตร ลงไป
3. กวนข้ีเถ้ำให้เข้ำกันกับนำ้
37
4. ปดิ ฝำทิง้ ไว้ 7 วัน หรอื จนกว่ำน้ำข้ีเถ้ำจะตกตะกอนใส จงึ จะสำมำรถน้ำมำใชไ้ ด้
** หมำยเหตุ 1. ขี้เถ้ำทีน่ ำมำต้องเป็นข้ีเถ้ำที่เกิดจำกกำรเผำไหม้ของไม้หรอื กิ่งไม้ต่ำง ๆ ไม่ควรนำขี้เถ้ำท่ี
เกิดจำกกำรป้ งิ ยำ่ งมำใช้ เพรำะจะทำให้น้ำด่ำงมีควำมมันและไม่สำมำรถนำมำใชไ้ ด้
2. คนสมัยก่อนมักซกั เส้ือผ้ำกับน้ำด่ำงเพรำะน้ำด่ำงมีคุณสมบัติในกำรทำควำมสะอำดขจัดครำบฝังลึก
และทำให้เสื้อผ้ำสีสว่ำงสดใส นิยมซกั ผ้ำสีขำว
3. เม่ือลองสัมผัสน้ำด่ำงจะมีควำมล่ืน ถ้ำอัตรำส่วนขี้เถ้ำที่ผสมเข้ำไปมีมำกจะยิ่งทำให้ล่ืนและทำควำม
สะอำดได้ดี
3. กำรทำนำ้ ยำเอนกประสงค์จำกน้ำหมักมะกรูดและน้ำด่ำง
วัสดุ/อุปกรณ์
1. น้ำหมักมะกรดู ประมำณ 30 ลิตร (กรองแล้ว)
2. น้ำด่ำง ประมำณ 30 ลิตร (กรองแล้ว)
3. N 70 จำนวน 2 กิโลกรมั
4. ผงข้นหรอื เกลือละเอียด จำนวน 2 กิโลกรมั
5. ไม้กวนนำ้ ยำ
6. ถังก้นเรยี บพรอ้ มฝำปดิ ขนำด 72 ลิตร หรอื ใหญ่กว่ำนั้นก็ได้
ข้ันตอนกำรทำน้ำยำเอนกประสงค์ ฯ
1. เท N 70 2 กิโลกรมั ลงไปในถัง แล้วกวนให้เน้ือแตกฟู (กวนให้เนื้อมีสีขำวขุ่นและมีควำมฟู)
2. เทผงข้นลงไป 2 กิโลกรมั แล้วกวนให้เปน็ เน้ือเดียวกัน
3. เม่ือส่วนผสมเรม่ ิ เข้ำกันแล้วและมีเรม่ ิ มีควำมฝืดให้เติมน้ำหมักลงไปก่อน 1 ขัน (เวลำเติมน้ำหมักให้
ค่อย ๆ รนิ ลง ข้ำงถังจะทำเวลำที่กวนนำ้ ยำปรมิ ำณฟองจะมีน้อย)
4. เมื่อกวนไปสักพัก เติมน้ำด่ำงลงไปอีก1 ขัน (ค่อย ๆ รนิ ข้ำงถังเชน่ กัน)
5. กวนนำ้ ยำต่อไปเรอ่ ื ย ๆ เรม่ ิ มีควำมหนืดให้เติมน้ำหมักลงไปอีก 1 ขัน สลับกับนำ้ ด่ำงไปมำจนหมด
6. กวนน้ำยำต่อไปเรอ่ ื ย ๆ ควรกวนด้วยแรงที่สม่ำเสมอและไปในทิศทำงเดียวกัน เพื่อให้น้ำยำมีควำม
หนืดและ ปรมิ ำณฟองขณะที่กวนน้ำยำมีน้อย
7. เมื่อกวนไปซกั พักหำกต้องกำรเชค็ ดูว่ำน้ำยำมีควำมเหนียวตำมที่ต้องกำรหรอื ไม่ ให้ยกไม้พำยดูว่ำ
น้ำยำไหลจำกไม้พำยลักษณะเปน็ เส้นแล้วหรอื ยงั ถ้ำเป็นเส้นและมีควำมหนืดถือวำ่ เปน็ อันใชไ้ ด้
8. ปิดฝำทิง้ ไว้ 1 คืน เพ่ือให้ฟองยุบตัวลง วนั รงุ่ ขึ้นจงึ จะสำมำรถนำมำใชไ้ ด้
** หมำยเหตุ 1.ถังควรเป็นถังก้นเรยี บ เพรำะหำกใชถ้ ังท่ีก้นนูนขึ้นมำ เวลำกวนส่วนผสมจะไม่ทว่ั ถึงและ
ไม่เป็นเน้ือเดียวกัน
2.หำกว่ำเมื่อกวนน้ำยำแล้วไม่หนืดเสียทีสำมำรถเติมผงข้นเพิ่มเข้ำไปได้ โดยค่อย ๆ เติมในปรมิ ำณท่ี
น้อยแล้วค่อย ๆ กวนต่อไปจนนำ้ ยำมีควำมหนืดเปน็ ท่พี อใจ (ต้องกวนจนผงข้น ละลำยเข้ำกับนำ้ ยำด้วย)
38
3.ไม้พำยกวนน้ำยำต้องมีขนำดทพ่ี อเหมำะกับถังกวน ไม่เล็กหรอื ใหญ่เกินไปกับขนำดถัง
4.น้ำยำเอนกประสงค์ฯ น้ี นอกจำกจะปลอดสำรเคมี ยังดีต่อดินเพรำะจะเข้ำไปชว่ ยบำรุงดิน และเพ่ิม
อำหำรให้ดิน สำมำรถน้ำไปซกั ผ้ำ ล้ำงจำน ล้ำงรถ หรอื ล้ำงห้องน้ำได้อีกทั้งหำกยัง ชว่ ยลดกลิ่นในห้องน้ำได้เป็น
อย่ำงดี
2. ฐำนเรยี นรูค้ นรกั ษ์สุขภำพ ปรุงสมุนไพร 7 นำงฟ้ำ
วทิ ยำกรประจำฐำน
1. นำงสำวนำตยำ พรหมบุตร นักวชั ำกำรพัฒนำชุมชนชำชำญกำร
2. นำงสำววรรมณี กลมนอก เจำ้ พนักงำนธรุ กำรชำนำญงำน
3. นำงวถี เทพเสนำ พนักงำนทำควำมสะอำด
ระยะเวลำ 1.30 ชว่ั โมง
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นกำรลดรำยจำ่ ย และรกั ษำสุขภำพตนเองและครอบครวั
2. นำพืชสมุนไพรอยู่ในพ้ืนทีม่ ำใชป้ ระโยชน์ให้มำกข้ึน
ส่วนผสมสมุนไพร 7 นำงฟ้ำ
ลูกใต้ใบ 1 กำมือ (ใชพ้ ืชรสขม ทุกชนิดแทนได้ เชน่ สะเดำ, บอระเพ็ด,ข้ีเหล็ก ) *กรณีกินของขมลำบำก
ใช้ 2-3 กำมือ เชน่ กะเพรำ, โหระพำ,ใบเตย ย่ำนำง ใบมะกรูด ใส่ให้มำกหน่อย /เหง้ำกระชำย(ทบุ ) 1 กำมือ/ ขิง
แก่(ทุบ) 2 หัว /ข่ำแก่(ทุบ) 2-3 หัว /หอมแดง (ทุบ) 1 กำมือ /ตะไครท้ ุบ 1 กำมือ /มะนำว 1 -2 ลูก /
มะขำมเปยี ก 1 กำป่ นั / นำ้ เปล่ำ 5 ลิตร
วธิ ตี ้ม
1.ปิดฝำหม้อ ต้มรวมกันให้น้ำเดือด
2.รอจนนำ้ เดือด สัก 15 นำที ปิดไฟ
3.ท้งิ ไว้ 5 นำที ค่อยๆ เปิดฝำหม้อ ให้น้ำที่ติดฝำหม้อไหลลงหม้อ
วธิ ดี ่ืม (ให้เติมนำ้ ตำลเล็กน้อย) เมื่อตักนำ้ ใส่ถ้วยหรอื แก้วแล้ว ให้สูดดมกล่ินสมุนไพรขณะนำ้ รอ้ น ๆ ก่อน
โดยสูดกลิ่นจนนำ้ คลำยรอ้ น แล้วค่อยด่ืมน้ำสมุนไพร ควรดื่มติดต่อกันทกุ วนั เชำ้ และเยน็ 5 วนั จะทำให้
อำกำรคล้ำยไข้หวัดระยะเรม่ ิ ต้นทุเลำลง
* หำกอยู่ในภำวะกลุ่มเสี่ยง ควรดื่มวนั ละ 3-4 แก้ว แก้วละ 250-300 ml *
* หำกติดเชอ้ื แล้ว ควรด่ืมชวั่ โมงละ 1 แก้ว *
* หำกนำมำอำบ หรอื อบ ไม่ต้องเติมน้ำตำล *
39
3. ฐำนคนรกั ษ์แม่ธรณี (ทำปุ๋ยแห้ง ปุ๋ยน้ำ)
วทิ ยำกรประจำฐำน
1. นำงสำวกำญจนำ เชดิ สูงเนิน นักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
2. นำยสัญชยั แชจอหอ นักทรพั ยำกรบุคคลชำนำญกำร
3. นำยวเิ ชยี ร เทพเสนำ คนสวน
ระยะเวลำ 1.30 ชว่ั โมง
วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจในกำรปรบั ปรงุ บำรงุ ดินโดยอำศัยหลักกสิกรรมธรรมชำติ
2. เพิ่มคุณภำพของดินและลดต้นทนุ กำรผลิต
3. เพ่ือกำรดูแลสุขภำพ และเป็นอำชพี เสรมิ เพ่ิมรำยได้เป็นกำรดูแล และกำรปรบั ปรงุ บำรงุ ดินด้วยหลัก
กสิกรรมธรรมชำติโดยกำรทำปุ๋ยอินทรยี ์ชวี ภำพ(ปุ๋ยหมักแห้ง) และ กำรทำนำ้ หมัก 7 รส ไว้ใชเ้ อง
รูปแบบ เทคนิคกำรเรยี นกำรสอน
1. บรรยำย กำรจดั กำรโรคพืช ใชน้ ้ำหมักสมุนไพร 7 รส ได้แก่
1) รสจดื ชว่ ยปรบั ปรงุ บำรุงดิน ชว่ ยล้ำงสำรพิษในดิน พืชทใ่ี ช้ ได้แก่ รำงจดื ผักบุง้ หน่อกล้วย ผักตบชวำ
เปน็ ต้น
2) รสขม ชว่ ยสรำ้ งภูมิค้มุ กันพืชทีใ่ ช้ ได้แก่ มะขำมปอ้ ม ขี้เหล็ก สะเดำ เปน็ ต้น
3) รสเปรย้ ี ว มีฤทธกิ์ ัดกรอ่ น ชว่ ยย่อยสลำยอินทรยี วตั ถไุ ด้เรว็ ขึ้น พืชท่ีใชไ้ ด้แก่ สัปปะรด มะกรูด มะนำว
มะเฟือง เปน็ ต้น
4) รสฝำด ชว่ ยฆ่ำเชอ้ื รำ ฆ่ำเชอ้ื โรค พืชทใี่ ชไ้ ด้แก่ เปลือกมังคุด ใบฝรงั่ ผลกล้วยดิบ เป็นต้น
5) รสเผ็ดรอ้ น ชว่ ยฆ่ำแมลง พืชท่ีใชไ้ ด้แก่ พรกิ ขิง ข่ำ เป็นต้น
6) รสเบือ่ เมำ ชว่ ยไล่แมลง พืชทใี่ ชไ้ ด้แก่ หำงไหล สำบเสือ ซำดหรอื ชำด ใบน้อยหน่ำ เปน็ ต้น
7) รสหอมระเหย ชว่ ยไล่แมลง พืชท่ีใชไ้ ด้แก่ ตะไคร้ กระเพรำ เป็นต้นโครงสรำ้ งดินดี ในดิน 1 ส่วน :
ต้องมีธำตุอำหำรสำหรบั พืชประมำณ 45 % มีน้ำในดิน ประมำณ 25 % มีอำกำศในดินประมำณ 25 %
มีอินทรยี วัตถใุ นดินประมำณ 5 %
2. ฝึกปฏิบัติกำรทำปุ๋ยหมักชวี ภำพ (ปุ๋ยแห้ง)
วัสดุกำรทำปุ๋ยหมักแห้ง
๑. มูลสัตว์ จำนวน 1 ถงุ ปุ๋ย
๒. แกลบดิบ จำนวน 1 ถุงปุย๋
๓. เศษใบไม้ กำกถ่ัว กำกมันส ำปะหลัง กำกอ้อย (อะไรก็ได้ท่ีมีและไม่ต้องซอ้ื หรอื ซอื้ รำคำถูก) จำนวน
1 ถงุ ปุ๋ย
๔. รำละเอียด จำนวน 2 กิโลกรมั
๕. หัวเชอื้ จุลินทรยี ์ จำนวน 1 ลิตร ผสมกับน้ำเปล่ำ 10 ลิตร
40
ข้ันตอนวธิ กี ำรทำ
1. นำส่วนผสมท้ังหมดมำคลุกเคล้ำให้เข้ำกัน
2. เกล่ียกองปุ๋ยท่ีผสมเข้ำกันแล้วออกบำง ๆ รดด้วยน้ำหมักชวี ภำพท่ีผสมน้ำเปล่ำไว้แล้วให้ ทั่วกองปุ๋ย
ให้ชุม่ หมำด มีควำมชนื้ ประมำณ 30 – 35 %
3. คลุกเค้ำให้เข้ำกันอีกครงั้
วธิ กี ำรเก็บ
1. ใส่ถงุ กระสอบกองท้ิงไว้ เว้นชอ่ งว่ำงเพ่ือระบำยอำกำศบำงส่วนระหว่ำงกอง (ถงุ )
2. กองไว้ในท่ีรม่ ใชก้ ระสอบหรอื พลำสติกคลุมกองปุ๋ยทิ้งไว้ กลับกองปุ๋ยทุก 5 – 7 วัน ท้ิงไว้ ประมำณ
3 – 4 เดือน นำไปใชไ้ ด้หรอื จบั ดู รสู้ ึกเยน็ สำมำรถนำไปใชไ้ ด้ ถ้ำยงั รอ้ นหรอื อุ่นๆ อยู่อย่ำนำไปใช้
3. กำรทำนำ้ หมัก 7 รส
วัสดุอุปกรณ์กำรทำนำ้ หมัก 7 รส
1. พืช ทีใ่ ชท้ ำนำ้ หมัก จำนวน 3 กิโลกรมั
2. ถังสำหรบั ใส่นำ้ หมัก จำนวน 1 ใบ
๓. น้ำตำลทรำยแดงหรอื กำกน้ำตำล จำนวน 1 กิโลกรมั
๔. นำ้ สะอำด จำนวน 10 ลิตร
๕. หัวเชอ้ื จุลินทรยี ์ 1 ลิตร
6. มีดโต้
ข้ันตอนวธิ กี ำรทำ
1. ถ้ำพืชท่ีจะทำเปน็ ต้นหรอื มีชน้ิ ใหญ่ให้สับหรอื หั่นให้เล็กลงแต่ไม่ให้ละเอียดมำกเกินไป (ประมำณ 2-3
น้ิว)
2. นำพืชท่เี ตรยี มไวใ้ ส่ในถังหมัก
3. นำหัวเชอื้ จุลินทรยี ์ 1 ลิตร ผสมน้ำ 10 ลิตร และกำกนำ้ ตำล หรอื น้ำตำล 1 กก.
4. นำส่วนผสมในข้อ 3 ใสในถังหมักทน่ี ำพืชใส่ไวแ้ ล้ว
5. ปิดฝำถังหมักให้สนิท หลักจำกน้ัน 7 วัน ให้เปิดฝำถังหมักระบำยอำกำศ (ถังจะบวม) แล้วปิดไว้ให้
สนิทเหมือนเดิม
6. เมื่อครบ 1 เดือน เปดิ ฝำถังระบำยอำกำศอีกครงั้ และปดิ ฝำให้สนิทเหมือนเดิม
7. เม่ือครบ 3 เดือน จงึ นำไปใชร้ ดต้นไม้ หรอื รดพื้นดินทีต่ ้องกำรปรบั ปรงุ บำรุงต่อไปอัตรำส่วนท่ใี ช้
1. ใชก้ ับต้นไม้/พืชผัก อัตรำส่วน 1 : 300 และ 2. ใชก้ ับดิน อัตรำส่วน 1 : 200
41
ฐำนเรยี นรูผ้ ่ำนสื่อวดิ ิทัศน์ จำนวน 2 ฐำนได้แก่
1. ฐำนเรยี นรูค้ นหัวเห็ด หลักสูตร กำรเพำะเห็ดนำงฟ้ำภูฎำน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรยี นเกิดกำรเรยี นรู้ เข้ำใจ วธิ กี ำรเพำะเห็ดนำงฟ้ำภูฐำน และสำมำรถนำไป
ปฏิบัติได้จรงิ
2. เพื่อชว่ ยให้ผู้เรยี นลดรำยจำ่ ย เพิ่มรำยได้ และพัฒนำต่อยอดเป็นอำชพี ต่อไปได้
ระยะเวลำ 30 นำที คำอธบิ ำยของหลักสูตร ศึกษำกระบวนกำรเตรยี มวัตถุดิบ กำรผสมก้อนเช้ือ กำร
ดูแลรกั ษำ และกำรเก็บเก่ียวผลผลิตทุก ข้ันตอนรวมถึงกำรลงมือปฏิบัติทุกขั้นตอนกำรเพำะเห็ดนำงฟ้ำภูฐำน
รำยกำรสอนและฝึกปฏิบัติ
1. ควำมรเู้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับกำรเพำะเห็ดนำงฟ้ำภูฐำน ต้นทุน กำรผลิต และควำมค้มุ ค่ำ
2. อุปกรณ์ทส่ี ำคัญในกำรเพำะเห็ดนำงฟ้ำภฎู ำน
3. ขั้นตอนกำรเตรยี มผสมวัตถุดิบในกำรเพำะเห็ดนำงฟ้ำ ภูฎำน
4. วธิ กี ำรหยอดเชอื้ เห็ด
5. ลักษณะโรงเรอื นสำหรบั เพำะเห็ด
6. กำรดูแลรกั ษำและกำรเก็บเก่ียวผลผลิต 15 นำที
7. สำธติ กำรผสมก้อนเชอ้ื เห็ด กำรหยอดเชอื้ เห็ด กำรน่ึงฆ่ำ เชอื้ ก้อนเชอื้ เห็ด พรอ้ มฝกึ ปฏิบัติ 30 นำที
รวม 1 ชว่ั โมง
1. ฐำนเรยี นรูค้ นเอำถ่ำน
วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือกำรดูแลปำ่ 3 อยำ่ งประโยชน์ 4 อย่ำง ตำมกิจกรรมของหลักกสิกรรมธรรมชำติ
2. เพ่ิมมูลค่ำสินค้ำ (ไม้เล็ก ๆ ท่จี ะตัดทิ้งนำมำเผำถ่ำนได้หรอื นำผลไม้มำเผำเปน็ ถ่ำน)
3. เพื่อกำรดูแลสุขภำพ และเป็นอำชพี เสรมิ เพ่ิมรำยได้ในอดีต
ระยะเวลำ 30 นำที สรปุ ถ่ำนเป็นท่รี จู้ กั กันในทกุ ครอบครวั สำมำรถผลิตเองได้เป็นกำรพ่ึงตนเอง แต่เตำ
ถ่ำนในอดีต เป็นเตำหลุมผีหรอื เตำดินจงึ ต้องใชไ้ ม้ใหญ่ ๆ และเลือกไม้มำทำกำรเผำถ่ำนจงึ เป็นส่วนหนึ่งของกำร
ทำลำยปำ่ ใชท้ รพั ยำกรธรรมชำติสิ้นเปลือง ม้จงึ หมดไปอยำ่ งหน้ำใจหำย ในปจั จุบนั ได้มีกำรพัฒนำเตำเผำถ่ำนใน
หลำยรูปแบบแถมยังใชไ้ ม้กิ่งเล็ก ๆ ไม้แห้ง เศษไม้ ผลไม้ ดอกไม้ และยังสำมำรถใชง้ ำนได้ในหลำยรูปแบบ ได้
ของแถมที่มำกด้วยคุณค่ำอีกด้วย เมื่อพูดถึงถ่ำนก็ต้องนึกถึงไม้ที่จะนำมำเผำตรงกับแนวพระรำชดำรสั ของ
พระองค์ท่ำนในเรอ่ ื งของ ป่ำ ๓ อยำ่ งประโยชน์ 4 อย่ำง บ้ำนเรำเจรญิ เติบโตมำด้วยภำคเกษตร กำรทำกำรเกษตร
ก็ต้อง ใชน้ ้ำ ถ้ำหมดป่ำเรำจะหมดน้ำ ต้นกำเนิดของน้ำ คือ ป่ำ ก่อนที่เรำจะเผำถ่ำนเรำจะต้องปลูกต้นไม้ให้เปน็
ต้นทุนก่อน เมื่อต้นไม้โตจะมีแขนงงอกออกมำท่ีข้ำงลำต้นเรำก็ทำกำรตัดแต่งก่ิงนำมำเป็นดอกเบี้ย ต้นทุนเรำก็
ยังอยู่เรำจะใชโ้ ดยไม่รูจ้ กั หมด เป็นกำรสะสมไปในตัว เตำเผำถ่ำนของเรำต้นทุนต่ำสำมำรถให้ผลผลิตสูงทำจำก
ถัง ๒๐๐ ลิตรที่เป็นถังเหล็ก หรอื ทำด้วยถัง ๒๐ -๓๐ ลิตรก็ได้ ทำครงั้ เดียวจะอยู่ได้ถึง ๒ -๓ ปี เป็นกำร
ประหยัดเวลำและประหยัดไม้ ในกำรเผำถ่ำนแต่ละครงั้ จะได้ของแถมทม่ี ำกด้วยคุณค่ำ เปน็ กำรสลำยตัวของ
42
สำรอำหำรที่อยู่ในเน้ือไม้สีน้ำตำลอมแดงหรอื เรยี กว่ำ วูดเวเนกำร์ หรอื น้ำส้มควันไม้ สำมำรถนำมำใชป้ ระโยชน์
ท้ังในด้ำนกำรเกษตรในครวั เรอื น ปศุสัตว์ อุตสำหกรรม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรทำเตำเผำถ่ำน ถังน้ำมัน ๒๐๐
ลิตร (ถังเหล็ก) ๑ –๒ ใบ อิฐบล็อก ๘ –๑๐ ก้อน ท่อใยหิน ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง ๔ น้ิว ยำว ๑ เมตร ดิน และ
ทรำย สังกะสีหรอื กระเบ้ือง แผ่นเรยี บ ไม้ยำวประมำณ ๔๐ – ๗๕ เซนติเมตร ๑๒ –๑๕ ท่อน ไม้หมอน ตัดไม้ยำว
๒๐ เซนติเมตร หรอื ประมำณ ๒ คืบ ๓-๕ ท่อน เพื่อเปน็ ชอ่ งระบำยอำกำศ
ข้ันตอนกำรติดตั้งเตำเผำถ่ำน 1. นำถัง ๒๐๐ ลิตร ตัดฝำด้ำนบนออกให้สำมำรถเปิดปิดและยดึ กับตัวถัง
ได้ เจำะรูทีฝ่ ำถังเปน็ รูปสี่เหลี่ยม ขนำด ๒๐x๒๐ ซม. ตรงก้นถังเจำะรูวงกลมเส้นผ่ำศูนยก์ ลำง ๔ น้ิว
2. ปูพ้ืนด้วยทรำยหรอื ดินให้มีขนำดควำมกวำ้ ง ยำวเท่ำขนำดถัง แล้วนำถังมำวำงลงไป
3. ประกอบข้องอ ๙๐ องศำ กับใยหินที่ทำหน้ำท่ีเปน็ ปล่องควัน พรอ้ มเชอ่ื มรอยต่อโดยใชด้ ินเหนียวผสม
ข้ีเถ้ำแกลบ แล้วใชก้ รวด หิน หรอื อิฐ หักรองรบั นำ้ หนักของทอใยหิน
4. หุ้มถังด้วยดินเหนียวหนำ ๓๐ ซม. หรอื ใชไ้ ม้ตีกรอบล้อมถังและถมดินลงไปให้ท่วมถัง เพ่ือเป็นฉนวน
ป้องกันควำมรอ้ น จำกนั้นใส่ตะแกรงเหล็กในถังก่อนจัดเรยี งไม้พื้นที่ไม่สดหรอื แห้งเกินไป โดยควรใช้ ฟืนที่ตัด
เก็บไวใ้ นที่รม่ ๑-๒ อำทติ ย์ เรยี งซอ้ นกันจนเต็มเตำ โดยเรยี งฟืนขนำดเล็กไวข้ ้ำงล่ำงฟืนใหญ่ไว้ ข้ำงบน
5. ทำกำรปิดฝำถัง พรอ้ มใช้ดินเหนียวผสมแกลบอุดรอยแยกถังเพื่อป้องกันไม่ให้อำกำศเข้ำตำมรอย
แยก จำกนั้นนำอิฐบล็อกมำวำงให้ตรงชอ่ งหน้ำเตำท่ีเจำะไว้ท่ีต้ังของเตำถ่ำน ควรทำหลังคำมุงกันแดดกันฝนเพื่อ
ควำมคงทนและสะดวกในกำรทำงำนหน้ำเตำ ส่วนตำแหน่งท่ีใชจ้ ุดไฟหน้ำเตำควรขุดให้ลำดเอียงเข้ำหำปำกเตำ
เล็กน้อยและควรให้อยู่ต่ำกว่ำพ้ืนเตำเพ่ือให้ควำมรอ้ นเข้ำได้ง่ำย
กำรเผำถ่ำน 1. กำรจุดไฟหน้ำเตำ ควรจุดให้ห่ำงปำกเตำประมำณ ๑ ฟุต ปล่อยให้อำกำศรอ้ นเท่ำนั้นที่
ไหลเข้ำไปในเตำ ข้ันตอนน้ีเป็นกำรอบไม้ฟืนให้แห้งควรให้ควำมรอ้ นจำกหน้ำเตำแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่เรง่ รดั
โหมไฟจนเกินไป เพ่ือให้ไม้ในเตำถูกอบแห้งอย่ำงท่ัวถึงสมำ่ เสมอซงึ่ ใชเ้ วลำประมำณ ๒ ชวั่ โมง โดยสังเกตควันสี
ขำวของควำมชน้ื จำกเนื้อไม้ที่ปำกทอ่ ใยหิน
2. กำรควบคุมไฟเตำ เม่ือไม้ฟืนภำยในเตำเรม่ ิ ติดไฟลุกไหม้ซง่ึ เป็นขั้นตอนท่ีจะกลำยเป็นถ่ำน ให้หยุด
เติมไฟจำกภำยนอกและลดชอ่ งอำกำศที่หน้ำเตำให้เล็กลงประมำณฝำขวด ปล่อยให้เตำเผำไหม้ต่อไปด้วยควำม
รอ้ นจำกภำยในเตำเท่ำน้ันโดยสังเกตดูควันท่ปี ำกท่อซง่ึ จะเปลี่ยนเป็นสีขำวอมน้ำตำลฉุนแสบตำ ให้ดักเก็บนำ้ ส้ม
ควันไม้ในชว่ งน้ีจะได้นำ้ ส้มควันไม้ทม่ี ีคุณภำพสูงอุณหภูมิทปี่ ล่องควนั จะอยูท่ ่ี ๘๒ – ๑๒๐ องศำ ขั้นตอนนี้เป็นชว่ ง
ท่ีจะทำให้ถ่ำนปลอดภัยจำกสำรทำร์ หรอื น้ำมันดินซง่ึ เป็นพิษต่อพืช ดิน รวมทั้งเป็นสำรก่อมะเรง็ จงึ เหมำะสมใน
กำรดักเก็บน้ำส้มควนั ไม้
3. กำรปิดเตำ ในชว่ งถ่ำนสุกซ่ึงเป็นชว่ งที่ไม้กลำยเป็นถ่ำนอย่ำงสมบูรณ์สังเกตว่ำควันจะเปลี่ยนเป็นสี
ขำวอมน้ำเงนิ ในชว่ งควันสีน้ำเงนิ ใส ให้ขยำยหน้ำเตำครง่ ึ หน่ึงปล่อยไวป้ ระมำณ ๓๐ –๔๕ นำที จงึ ปิดหน้ำเตำทง้ิ
ไว้อีกประมำณ ๑๕ –๒๐ นำที จงึ ปิดหน้ำเตำด้วยดินเหนียวรวมท้ังรอยรว่ั อ่ืน ๆ อย่ำให้มีควันเล็ด ลอดออกมำได้
โดยเด็ดขำด และใชผ้ ้ำห่อทรำยชุบน้ำปิดลงไปทป่ี ำกปล่อง จำกนั้นทิง้ เตำไว้ ๑ คืน ให้เย็นลงจนสำมำรถเปิดเตำ
43
ห้ำมใชน้ ้ำรดเตำ ถ่ำนออกมำได้ในเช้ำของวันถัดไป ถ่ำนคุณภำพจะมีลักษณะเป็นมันวำว แก่นไม้มักมีรอยแตก
เป็นรูปดอกไม้ หำกใชน้ ิ้วสัมผัสจะมีฝุ่นถ่ำนสีดำติดมือมำน้อยมำก เมื่อนำไปใชใ้ ห้ควำมรอ้ นสูงกำรเก็บน้ำส้มควัน
ไม้
กำรดักเก็บน้ำส้มควันไม้ ให้สังเกตสีของควันเป็นสีเหลืองน้ำตำลปนเทำ โดยกำรนำกระเบื้องเคลือบ สี
ขำวมำอังที่ปล่องไฟดูจะเป็นสีน้ำตำล จำกน้ันนำท่อไม้ไผ่ท่ีเตรยี มไว้มำวำงต่อกับปล่องควันโดยตั้งท่อไม้ไผ่ให้
เอียงชนั ขึ้นไปประมำณ ๔๕ องศำ ห่ำงขึ้นไป ๑ ข้อไม้ไผ่ ใชเ้ ล่ือยตัดเปดิ ท่อไม้ไผ่ให้เป็นรู เพื่อให้น้ำส้มควนั ไม้ หยด
ลงมำแล้วหำขวดมำรองรบั นำ้ ทีร่ ะยะห่ำงข้ึนไปอีก ๑ ข้อไม้ไผ่หรอื รำว ๔๐ ซม. ให้ติดตั้งระบบควบแน่นด้วยกำรใช้
ผ้ำชุบน้ำมำพันรอบท่อ และใชข้ วดพลำสติกบรรจุน้ำเจำะรูท่ีฝำขวดให้น้ำหยดตรงบรเิ วณท่ีพันผ้ำ เพ่ือให้ท่อเย็น
ตลอดเวลำ หมั่นตรวจควันที่ปล่องเป็นระยะเม่ือสีน้ำส้มควันไม้เข้มและมีควำมหนืดมำกจงึ หยุดเก็บน้ำส้มควันไม้
ตำรำงกำรเก็บน้ำส้มควันไม้ ๐๘.๐๐ น. เรม่ ิ จุดไฟ ๑๐.๐๐ น. ติดไฟหน้ำเตำ ๑๗.๐๐ น. เรม่ ิ เก็บน้ำส้มควันไม้
๑๘.๓๐ น. ปิดเตำ คุณภำพของเนื้อไม้ท่ีจะนำมำเผำ 1. ไม้แห้ง สำรอำหำรหมดจำกเน้ือไม้แล้ว ไม่ต้องเก็บน้ำส้ม
ควันไม้สำมำรถเผำเป็นถ่ำนได้ 2. ไม้พอหมำด ไม้ที่ตัดไว้ประมำณ ๓ –๔ สัปดำห์ คุณภำพของน้ำส้มควันไม้จะดี
3. ไม้สด ต้องจุดไฟหน้ำเตำนำนเน่ืองจำกควำมชน้ื สูง ส้ินเปลืองฟืนท่ีใชจ้ ุดหน้ำเตำ คณุ ภำพของน้ำส้มควนั ไม้ท่ีได้
พอใช้
อัตรำส่วนและกำรใชป้ ระโยชน์ ควำมเข้มข้นรอ้ ยละ ๑๐๐ แผลสด แผลถกู นำ้ รอ้ น ไฟลวก น้ำกัดเทำ้ และ
เชอื้ รำท่ีผิวหนัง ผสมนำ้ ๒๐ เทำ่ ใชร้ ดทำลำยมดปลวก ผสมนำ้ ๕๐ เทำ่ พ่นลงดินเพ่ือฆ่ำเชอ้ื โรคทท่ี ำลำยพืช หำก
ผสมเข้มข้นมำกกว่ำน้ีอำจทำให้พืชตำยได้ ผสมน้ำ ๑๐๐ เท่ำ ใช้ดับกล่ิน ห้องน้ำ ขยะ กรงสัตว์ ใชใ้ นกำรเกษตร
รำดโคนต้นไม้ รกั ษำโรครำและโรคเน่ำ รวมทั้งป้องกัน แมลงไม่ให้วำงไข่ ประสิทธภิ ำพของน้ำส้มควันไม้ท่ีควำม
เข้มข้นจะมีฤทธพิ์ อกับกำรอบฆ่ำเชอ้ื ด้วยกำรรมควันโดยผสมรดดินก่อนกำรเพำะปลูก ๑๐ วัน 45 ผสมน้ำ ๒๐๐
เท่ำ พ่นที่ใบพืชและพื้นดินรอบต้นไม้ ๗ –๑๕ วัน ใช้ขับไล่แมลง ป้องกันและกำจดั เชอื้ รำกระตุ้นควำมต้ำนทำน
และกำรเจรญิ เติบโตของพืช ผสมน้ำ ๕๐๐ เท่ำ ฉีดพ่นผลอ่อนหลังติดผลแล้ว ๑๕ วัน ชว่ ยขยำยให้ผลโตและฉีด
พ่นอีกครง้ั ก่อนเก็บ เก่ียว ๒ วัน ช่วยเพ่ิมน้ำตำลในผลไม้ ถ่ำนไม้ไผ่ ถ่ำนมีประโยชน์ต่อภำคกำรเกษตรและ
ภำคอุตสำหกรรม ในภำคกำรเกษตรเรำใชผ้ สมเป็นอำหำรสัตว์ ส่วนในภำคอุตสำหกรรมใชเ้ ป็นส่วนประกอบของ
เครอ่ ื งสำอำง สบู่ และยำสระผม ถ่ำนนอกจำกจะชว่ ยในกำรอนุรกั ษ์ทรพั ยำกรธรรมชำติทำงด้ำนพลังงำนได้อยำ่ ง
มำกมำยมหำศำลแล้ว ถ่ำนก็ยงั มีผลดีต่อโลกทั้งทำงตรงและทำงอ้อมอีกมำกมำยเหลือจะคณำนับ ไม่ใชแ่ ต่เฉพำะ
ด้ำนอนุรกั ษ์ทรพั ยำกรธรรมชำติเพียงอย่ำงเดียว ยังชว่ ยฟ้ ืนฟูเยียวยำรกั ษำสภำพที่เสียไปของอำกำศบนผิวโลก
อีกด้วย ถ่ำนมีคุณสมบัติพิเศษคือรูพรุนมำกมำย โดยเฉพำะถ่ำนไม้ไผ่จะมีรูพรุนมำกกว่ำถ่ำนท่ัวไปหลำยเท่ำตัว
รูพรนุ ทีม่ ีมำกมำยจะทำหน้ำทด่ี ูดซบั กักเก็บอำหำร เมื่อฝังหรอื ผสมถ่ำนลงไปในดินจะชว่ ยเก็บรกั ษำอำหำรและแร่
ธำตุที่พืชต้องกำรและชว่ ยให้ออกซเิ จนถ่ำยเทได้ดี ยิ่งไปกว่ำน้ันถ่ำนยังมีแรธ่ ำตุมำกมำยหลำยชนิดท่ีมีประโยชน์
ต่อพืชและเพิ่มประสิทธภิ ำพของปุ๋ยโดยเฉพำะปุ๋ยอินทรยี ์ ประโยชน์ของถ่ำนไม้ไผ่ 1. สบู่ ระงบั กลิ่นตัว กล่ินเหล้ำ
เบยี ร์ 2. ดูดสำรพิษในข้ำว 3. ล้ำงผัก โดยกำรบดถ่ำนให้เปน็ ผงผสมกับนำ้ 4. ล้ำงสำรพิษในรำ่ งกำย ถ้ำถ่ำนทไ่ี ด้
44
จำกกำรเผำมีคุณภำพดีจะมีค่ำกระแสไฟฟ้ำสูง ซึ่งถ่ำนดังกล่ำวจะนำไปทำยำสีฟัน โดยนำไปบดผสมกับเกลือ
กำรบูร พิมเสนและสำมำรถนำมำทำเปน็ สบู่ถ่ำนและหมอนถ่ำนได้.
วชิ ำกำรออกแบบพ้ืนที่เชงิ ภูมิสังคมไทยตำมหลักกำรพัฒนำภูมิสังคมอย่ำงย่งั ยืนเพื่อกำร พ่ึงตนเองและ
รองรบั ภัยพิบัติ
วทิ ยำกรผู้สอน : คุณปรเมศวร์ สิทธิวงค์ ผู้อำนวยกำรศูนย์กำรศึกษำกำรพัฒนำตำมหลักปรชั ญำ
เศรษฐกิจพอเพียง เขำใหญ่ พำโน รำม่ำ ฟำรม์
วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ผู้เข้ำอบรมทรำบถึงแนวคิดกำรออกแบบโคก หนอง นำ ตำมภูมิสังคม
2. เพื่อให้ผู้เข้ำอบรมสำมำรถคำนวณหำปรมิ ำณนำ้ ฝนในพื้นที่ของตนเองได้
เวลำสอน : 09.00 – 15.00 น.
รูปแบบกำรสอน : กำรบรรยำยให้ควำมรู้ ใชก้ รณีตัวอย่ำง และใชส้ ่ือกำรสอน
ขอบเขตเนื้อหำวชิ ำที่สอน : เปน็ วชิ ำกำรบรรยำยโดยวทิ ยำกรทีม่ ีควำมรู้ ควำมเชยี่ วชำญเฉพำะทำงในกำร
ออกแบบพ้ืนที่เพ่ือกำรจดั กำรพื้นท่ีที่ก่อประโยชน์สูงสุด รวมไปถึงกำรออกแบบพ้ืนท่ีเพื่อรองรบั ปรมิ ำณน้ำฝน
เพ่ือใชใ้ นกำรอุปโภค บรโิ ภคของเจ้ำของพื้นที่ โดยพิจำรณำกำรออกแบบตำมภูมิสังคม คือ กำรออกแบบพ้ืนที่
ท่ีสอดคล้องกับสภำพทำงกำยภำพของพื้นท่ี วถิ ีชวี ติ ค่ำนิยม ควำมหลำกหลำยของวัฒนธรรมและประเพณีท่ีอยู่
รอบ ๆ บรเิ วณน้ัน ประกอบไปด้วยแนวคิด 4 แนวคิด ดังนี้
1. แนวคิดกำรทำโคก หนอง นำ โมเดล เป็นกำรจัดกำรพ้ืนท่ีซงึ่ เหมำะกับกำรทำเกษตร (กำรจัดกำร
พ้ืนที่เพ่ือกำรกสิกรรม) แล้วมีกำรทำเกษตรแบบผสมผสำนทฤษฎีใหม่ (30 : 30 : 30 : 10) โดยยึดแผนกำร
จดั กำรน้ำของชลประทำนคือ กำรทำอ่ำงใหญ่เพ่ือเติมอ่ำงเล็กและอ่ำงเล็กเติมน้ำเข้ำสระน้ำ แต่ในพื้นที่ท่ีอยู่นอก
เขตชลประทำน เจำ้ ของพื้นที่จะต้องจดั กำรน้ำด้วยตัวเองโดยยึดหลักกำรท่ีว่ำฝนตกเท่ำไรต้องกักเก็บน้ำไว้ ให้ได้
ท้ังหมด ไม่ทิ้งกำรปลูกข้ำวและต้องปลูกป่ำ (วนเกษตร) ควบคู่กับกำรปฏิบัติงำนตำมหลักกำรทรงงำนของ
พระรำชำ คือ ต้องไม่ติดตำรำต้องมีควำมยืดหยุ่นในกำรทำงำน ทำตำมภูมิสังคมและทำแบบคนจน (ค่อย ๆ ทำ
ตำมกำลัง) ซง่ึ กำรจดั กำรพ้ืนทเ่ี หล่ำนี้แปลงเป็นคำไทยงำ่ ยๆ คือ “โคก หนอง นำ” ซงึ่ โคก หนอง นำ โมเดล น้ีแต่
ละพ้ืนท่ีจะมีสัดส่วนกำรกักเก็บน้ำ คือ พื้นท่ีโคกสำมำรถกักเก็บน้ำในพ้ืนดินได้กว่ำ 50 % ของปรมิ ำณน้ำฝนทตี่ ก
ส่วนพื้นท่ีหนองน้ำสำมำรถกักเก็บน้ำได้ท้ังหมด 100 % ของปรมิ ำณน้ำฝนท่ีตก ส่วนนำก็สำมำรถกักเก็บน้ำได้
ทั้งหมด 100 % ของปรมิ ำณนำ้ ฝนท่ตี กในพื้นท่เี ชน่ เดียวกัน มีแนวทำงกำรปฏิบัติในพ้ืนท่ีดังนี้
1) ดินที่ขุดทำหนองน้ำน้ันให้นำมำทำโคก บนโคกปลูก “ป่ำ 3 อย่ำง ประโยชน์4 อย่ำง” ตำมแนวทำง
พระรำชดำร ิ
2) หนองน้ำน้ันเพื่อให้น้ำกระจำยไปเต็มพื้นท่ีให้ขุด “คลองไส้ไก่” หรอื คลองระบำยน้ำรอบพ้ืนที่ โดยขุด
ให้คดเคี้ยวไปตำมพื้นท่เี พื่อให้นำ้ กระจำยเต็มพ้ืนท่เี พิ่มควำมชุม่ ชนื้ ลดพลังงำนในกำรรดนำ้ ต้นไม้
3) ทำฝำยทดน้ำ เพ่ือเก็บนำ้ เข้ำไว้ในพ้ืนท่ีให้มำกที่สุดโดยเฉพำะเม่ือพื้นทีโ่ ดยรอบไม่มีกำรกักเก็บนำ้ ซง่ึ
นำ้ จะหลำกลงมำยงั หนองน้ำและคลองไส้ไก่ ให้ทำฝำยทดนำ้ เก็บไวใ้ ชย้ ำมหน้ำแล้ง
45
4) พ้ืนท่นี ำนั้นให้ยกคันนำให้สูงและกว้ำงโดยสูง 1 - 1.2 เมตร ควำมกวำ้ งตำมควำมเหมำะสม เพื่อให้นำ
สำมำรถกักเก็บน้ำไว้ได้ในยำมนำ้ หลำก
5) กำรทำนำให้ทำนำน้ำลึกปลูกข้ำวอินทรยี ์พื้นบ้ำน โดยเรม่ ิ จำกกำรฟ้ ืนฟูดินด้วยกำรทำเกษตรอินทรยี ์
คืนชีวติ เล็ก ๆหรอื จุลินทรยี ์กลับคืนแผ่นดิน ข้ำวพันธุพ์ ้ืนเมืองท่ีเติบโตด้วยดินท่ีอุดมจะมีภูมิคุ้มกันต่อโรคและ
แมลง
6) ควบคมุ ปรมิ ำณน้ำในนำเพ่ือคุมหญ้ำ ทำให้ปลอดสำรเคมีได้ปลอดภัยท้ังคนปลูก คนกิน
7) บนคันนำและโดยรอบพ้ืนท่ีปลูกพืช ผัก สวนครวั เล้ียงหมู เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลำ ทำให้พออยู่ พอกิน
พอใช้ พอรม่ เย็น เป็นเศรษฐกิจพอเพียงข้ันพ้ืนฐำน ก่อนเข้ำสู่ขั้นก้ำวหน้ำ คือ ทำบุญ ทำทำน เก็บรกั ษำ ค้ำขำย
และเชอ่ื มโยงเปน็ เครอื ข่ำย
8) กำรพัฒนำแหล่งนำ้ ในพื้นที่ ทง้ั กำรขุดลอก หนอง คู คลอง เพ่ือกักเก็บน้ำไวใ้ ชย้ ำม หน้ำแล้ง และเพิ่ม
กำรระบำยนำ้ ยำมนำ้ หลำก
2. หลักกำรคำนวณเชงิ ปรมิ ำณ เป็นหลักกำรคำนวณเพ่ือหำปรมิ ำณน้ำฝนท่ีตกในพ้ืนที่ของเรำ โดยสิ่งที่
เรำใชเ้ ป็นเครอ่ ื งมือในกำรกักเก็บน้ำฝนคือ กำรขุดสระหรอื กำรขุดบ่อน้ำโดยเรำจะต้องคิดเสมอวำ่ เรำต้องกักเก็บ
น้ำฝนทุกหยดเพ่ือไว้ใช้ตลอดปีหรอื เรำต้องกักเก็บน้ำฝนในพื้นท่ีของเรำให้ได้มำกที่สุด ส่ิงที่เรำควรรูเ้ พื่อ
ประกอบกำรคำนวณกำรเก็บน้ำฝนไว้ในสระน้ำหรอื บ่อน้ำน้ัน เรำต้องรูป้ รมิ ำณน้ำฝนท่ีตกในพ้ืนท่ีของเรำให้ได้
เสียก่อน โดยใช้เครอ่ ื งมือ search engine ค้นหำปรมิ ำณน้ำฝนที่ตกในเขตพ้ืนท่ีที่ต้องกำร จำนวนพื้นท่ีที่เรำ
ต้องกำรทำโคก หนอง นำ ข้อมูลเพียง 2 อย่ำงก็ทำให้เรำทรำบแล้วว่ำเรำต้องกักเก็บน้ำเพื่อใช้ในกำรบรโิ ภค
จำนวนเทำ่ ใด หลักกำรสำคัญของโคก หนอง นำ โมเดล คือ กำรเก็บกักน้ำทีต่ กลงมำจำกฟ้ำไว้ให้ได้มำกที่สุดโดย
สำมำรถเก็บไว้ในสภำพทีอ่ ยู่ในธรรมชำติ ได้แก่
หนองน้ำ กำรขุดหนองหรอื สระเก็บน้ำที่ดี ควรมีลักษณะคดโค้ง และมีควำมต่ำงระดับลึกตื้นเพรำะกำร
ขุดหนองลงไปเปน็ รปูส่ีเหลี่ยมหน้ำตัดทำให้ปลำไม่สำมำรถวำงไข่ได้เพรำะปลำจะวำงไข่บรเิ วณตะพักส่วนควำมลกึ
ของหนองข้ึนอยู่กับปรมิ ำณน้ำฝนที่ตกในพ้ืนท่ี พระบำทสมเด็จพระเจำ้ อยู่หัว(รชั กำลที่ 9) ทรงคำนวณน้ำอย่ำง
ละเอียด พบว่ำใน 1 ปี มีวนั ทฝี่ นไม่ตก 300 วนั ซง่ึ วันทฝ่ี นไม่ตกนี้ น้ำจะระเหยไปวันละ 1 เซนติเมตร ดังนั้นใน 1
ปี น้ำจงึ ระเหยไป 3 เมตร กำรขุดบ่อจงึ ต้องขุดลึกมำกกวำ่ 3 เมตร เพ่ือให้มีน้ำเหลือพอในหน้ำแล้งหรอื ชว่ งที่ฝน
ท้งิ ชว่ ง
โคก นำดินที่ขุดจำกหนองน้ำมำทำเป็นโคก บนโคกสำมำรถปลูกป่ำ 3 อย่ำง ประโยชน์ 4 อย่ำง คือใช้
เปน็ ไม้ใชส้ อยเพื่อสรำ้ งบำ้ นเรอื นและชว่ ยสรำ้ งควำมรม่ เย็น ควำมชุม่ ชน่ื ในพ้ืนทีค่ วรปลูกป่ำเปน็ ไม้ 5 ระดับ ได้แก่
ไม้สูง ไม้กลำง ไม้เตี้ย ไม้เรย่ ี ดิน และพืชหัวใต้ดิน เพื่อให้รำกสำนกันหลำยระดับรำกพืชจะทำหน้ำทเ่ี ก็บกักน้ำไวใ้ ต้
ดิน นอกจำกนี้ควรปลูกแฝกเพื่อชว่ ยป้องกันกำรพังทลำยของหน้ำดิน ป่ำท่ีอยู่บนโคกสำมำรถกักเก็บน้ำใต้ดินไว้
ประมำณ 50% ของปรมิ ำณน้ำฝนที่ตกลงมำ ตำแหน่งของป่ำควรอยูท่ ิศตะวันตกเพื่อชว่ ยบังแสงอำทิตย์ยำมบำ่ ย
นำควรทำคันนำสูงอย่ำงน้อย 1 เมตร เพรำะเม่ือฝนตกลงในพื้นที่นำ จะสำมำรถเก็บนำ้ ได้เทำ่ กับ ควำมสูง×ควำม